The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกศาสตร์, 2021-11-02 02:51:46

พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสิน เดือนธันวาคม ๒๕๖๓

พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย

พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช



พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์

กรุงศรีอยุธยาแตก




ปีจออัฐศก พ.ศ.๒๓๐๙






ในปีจออัฐศก พม่ายกทัพขยับเข้ามา ใกล้อยุธยาเข้าทุกท ตีปล้นสดมภ์ข่มขู่ ไทยออกสู้ดูกาลังปรปักษ์




แต่เม่อประจักษ์แน่แล้ว ก็หนีแน่วกลับบ้าน มิฉน้นก็พล่านสู่ป่า อาไศรยพงเป็นท่พ่ง สึงซุ่มซ่อนนอนดิน สินทรัพย์

ยับเยินย่อย ร่อยหรอกาลังวังชา ชาวอยุธยาบ่มีใจสู้ หดหู่ต่อปฏิปักษ์ หนักในจิตอิดระอา เพราะผู้บัญชาสูงสุด

ดุจไม้หลักปักเลน ไกวโยนโอนเอน ไม่เป็นแก้วเป็นการ ในอยุธยาวสานสมัยนั้นฯ
(พระนิพนธ์เรื่อง สามกรุง โดย น.ม.ส.พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ)







นาวิกศาสตร์ 26
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

คติไทย

ข้าศึกตีกระหน�่า เข้ามาล้อมพระนครแล้ว ก็ยังไม่รู้จักจะต่อสู้ จะยิงปืนใหญ่ก็กลัวผู้หญิงจะตกใจ แม่ทัพนายกอง
ผู้ใดคิดต่อรบก็ถูกคาดโทษ




“เม่อผู้ใหญ่หฤโหดโฉดเขลาถึงเช่นน จ่งได้เสียทีเสียวงศ์กษัตรา เสียยศเสียศักด์นัคเรศ เสียท้งพระนิเวศน์วงศา






เสียท้งตระกูลนานา เสียท้งไพร่ฟ้าประชากร สารพัดจะเสียส้นสุด ท้งการยุทธ์ก็ไม่ได้เตรียมฝึกสอน จึงไม่รู้กู้แก้พระนคร
เหมือนหนอนเบียนให้ประจ�ากรรม”
(แผ่นพับ การแสดงประกอบ แสง เสียง และฟ้อนร�า เรื่อง คติไทย ของสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ สวนอัมพร วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๓ ภาวาส บุนนาค แต่งบท)
พระราชพงศาวดาร

พม่าหักกรุงได้แล้ว ก็เร่มเผาเมืองท้งเมืองในเพลาเท่ยงคืนประมาณ ๒ ยามเศษ เพลิงไหม้ไม่เลือก ต้งแต่เหย้าเรือน



ราษฎรไปจนถึงปราสาทราชมณเฑียร เพลิงผลาญพระนครเป็นเวลานานถึงสิบห้าวัน
(พระราชพงศาวดารฉบับกรมศึกษาธิการ ร.ศ.๑๒๐)
หลังจากที่พม่าใช้เวลาล้อมเมืองอยู่นาน ๑๔ เดือน อาณาจักรอยุธยาอันมีพระมหากษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมา
ถึง ๓๔ พระองค์รวม ๕ พระราชวงศ์ ต้งม่นมีความเจริญรุ่งเรืองมายาวนาน รวมเป็นเวลาถึง ๔๑๗ ปี ต้งแต่เดือนเมษายน



พ.ศ.๑๘๙๓ จนถึงเดือนเมษายน พ.ศ.๒๓๑๐ ก็ถึงคราวดับสูญ
กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ ๒ เมื่อวันอังคาร เดือน ๕ ขึ้น ๙ ค�่า จุลศักราช ๑๑๒๙ ปีกุน นพศก เพลาค�่า ตรงกับ
วันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๓๑๐

นาวิกศาสตร์ 27
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

การรบทางเรือของพระเจ้าตากสิน
ขอบคุณ ภาพจากมูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม
ต่อมาเจ้าตาก (สิน,เจ้าตาก,พระยาตาก,พระเจ้าตากสิน,สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช) ก็กอบกู้เอกราชของสยาม

ด้วยก�าลังทางเรือ ได้กรุงศรีอยุธยากลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันศุกร์ เดือน ๑๒ ขึ้น ๑๕ ค�่า จุลศักราช ๑๑๒๙ ปีกุน





นพศก เพลาบ่าย ๑ โมงเศษ หลังจากรุงศรีอยุธยาแตกเป็นคร้งท ๒ เม่อวันท ๘ เมษายน พ.ศ.๒๓๑๐ นับว่าเป็น

พระราชภาระอันใหญ่หลวง
เรือรบเรือไล่แกล้ว การรบ
สง่าสุดยุทธนาวา แหวกเต้า
ควณคิดทิศอรณพ แนวมุ่ง

ปากอ่าวแม่น�้าเจ้า พระยา ฯ
(พระนิพนธ์เรื่อง สามกรุง โดย น.ม.ส.พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ)
พระเจ้าตากสิน สามารถกู้ชาติ นับแต่วันเสียกรุงแก่พม่าในระยะเวลาเพียง ๗ เดือน และเป็นแม่ทัพเรือ
ที่ยิ่งใหญ่ บัญชาการรบทางเรือได้อย่างยอดเยี่ยม


นาวิกศาสตร์ 28
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

ป้อมวิไชยประสิทธิ์ และบริเวณพระราชวังเดิม
พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์ ถ่ายภาพ ศุกร์ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๒๙






หลังจากท่อพยพผู้คนและทรัพย์สินลงมาทางใต้ และต้งราชธานีข้นใหม่ท่เมืองธนบุร เรียกนามว่า

กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร ทรงปราบดาภิเษก เป็นพระมหากษัตริย์ครองราชย์ ณ กรุงธนบุรี เมื่อวันอังคาร แรม ๔ ค�่า












จลศกราช ๑๑๒๙ ซงตรงกบวนท ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๓๑๐ ขณะทมพระชนมาย ๓๔ พรรษา ทรงพระนามว่า
พระบรมราชาท่ ๔ แต่ประชาชนท่วไปนิยมขนานพระนามพระองค์ว่าสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ


สมเด็จพระเจ้าตากสิน
เม่อทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังกรุงธนบุร หรือ



พระราชวังเดิม ขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๓๑๐ เป็นพระราชวังหลวง พร้อมกับปรับปรุงป้อมวิไชยเยนทร์ และเปลี่ยนชื่อใหม่
เป็นป้อมวิไชยประสิทธิ์
สมเด็จพระเจ้าตากสิน เสด็จสวรรคต เมื่อพระชนมพรรษา ๔๘ พรรษา อยู่ในราชสมบัติ ๑๔ ปี ๔ เดือน
ด้วยพระวิริยะอุตสาหะอันแรงกล้า พร้อมด้วยความกล้าหาญอันเป็นพระอุปนิสัยของพระองค์ จึงท�าให้พระองค์


สามารถแผ่พระราชอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง มีพระบรมเดชานุภาพเป็นท่คร่นคร้ามเกรงขามของอริราชศัตร ู
ทั่วไป คณะรัฐบาลและประชาชนผู้ส�านึกในพระกรุณาธิคุณ จึงได้ยกย่องถวายพระเกียรติพระองค์ว่า มหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมีพระมหากรุณาธิคุณแก่พสกนิกรชาวไทยทั่วไปเป็นอเนกประการ ประชาชน
ชาวไทยผู้มีความจงรักภักดีต่อพระองค์จึงได้ด�าริที่จะสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชขึ้น
๑. ปราบดาภิเษก
๒. พระราชวังเดิม
นาวิกศาสตร์ 29
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

จากหนังสือ “พระราชวังเดิม พ.ศ.๒๕๔๑”


นาวิกศาสตร์ 30
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓


ู่



ในปี พ.ศ.๒๔๗๗ นายทองอย พุฒพัฒน ผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรีขณะน้น ได้เป็นผู้นาในการเสนอเร่องให้รัฐบาล
สมัยพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี สร้างพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ณ กลางวงเวียนใหญ่ จังหวัดธนบุรี ซึ่งคณะรัฐบาลก็เห็นชอบด้วย โดยแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อพิจารณา
การสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


คณะกรรมการฯ ได้ประชุมกันหลายคร้ง จนโครงการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์น้ได้เร่มข้นเม่อปี พ.ศ.๒๔๘๐



โดยหลวงวิจิตรวาทการ อธิบดีกรมศิลปากรได้มอบให้กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ และปั้นพระบรมรูปจาลองเล็ก ๆ


ขึ้น ๗ แบบในลักษณะท่าทางต่าง ๆ กัน แล้วน�าไปตั้งแสดงในงานฉลองรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ.๒๔๘๐ ซึ่งกรมศิลปากร






ได้ออกร้านเป็นประจาทกปี เพอให้ประชาชนลงมตเลอกแบบทต้องการ ผ้ใดชอบแบบใดกขอให้บรจาคโดยวธ ี






หยอดสตางค์แดงลงในหีบใต้ฐานพระบรมรูปจาลองน้นคนละ ๑ เหรียญ แบบใดได้เงินมากท่สุดก็แสดงว่าแบบน้น








ได้รับคะแนนนิยมมากท่สุด นับว่าเป็นการหากระแสประชามติท่ดีท่สุดวิธีหน่ง ปรากฏว่าแบบพระบรมราชานุสาวรีย์
ท่เป็นพระบรมรูปทรงม้า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชพระหัตถ์ขวาชูพระแสงดาบ ประดิษฐานอยู่บนแท่นฐานสูง




ดังท่เป็นของจริงอยู่ในปัจจุบันน ได้คะแนนสูงสุดคือ ๓,๙๓๒ คะแนน ซ่งศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศร คณะบด ี



คณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นผู้ออกแบบปั้น และหล่อพระบรมรูปนี้ ได้รับเงินบริจาค
จ�านวนหนึ่ง (ต่อมารัฐบาลได้มอบเงินงบประมาณในการจัดสร้างสมทบให้ ซึ่งใช้เวลานานกว่าจะลงมือสร้างได้จริง)
นอกจากจะดาเนินการรับบริจาคทุนการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ฯ ในงานฉลองรัฐธรรมนูญแล้วทางด้าน


ประชาชนก็ได้จัดงานขึ้นที่วัดอินทาราม จังหวัดธนบุรี เพื่อหาทุนสมทบในการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ฯ อีกด้วย




ดงนนคณะกรรมการการจดสร้างพระบรมราชานสาวรย์ฯ จงได้ให้กรมศลปากรปั้นตามแบบทได้รบคะแนน









สูงสุด ท้งนี้เพ่อให้เป็นไปตามมติมหาชน แต่เวลาน้นบ้านเมืองตกอยู่ในสภาวะคับขัน เน่องจากกรณีพิพาทกับ






อนโดจน - ฝรงเศส และสงครามมหาเอเชยบูรพา คณะรฐมนตรกได้เปลยนแปลงไปหลายครง ทาให้การดาเนนงาน











สร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ฯ ต้องหยุดชะงักลงชั่วคราว







ต่อมาเม่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อย การดาเนินงานก่อสร้างได้เร่มข้นอีกคร้งหน่งเม่อ พ.ศ.๒๔๙๑ นายทองอยู่















พฒพฒน์ และนายเพทาย โชตนชิต สมาชกสภาผ้แทนราษฎรจังหวัดธนบรในสมัยนน ได้รอฟื้นเรองนขน












นาเรองเสนอต่อรฐบาล จอมพล ป.พิบลสงคราม นายกรฐมนตร ซงกได้รับความเหนชอบด้วย และคณะรฐมนตร ี




ก็ได้มีมติแต่งต้งคณะกรรมการการอานวยการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ข้นเม่อวันท ๒๒ มีนาคม พ.ศ.๒๔๙๓








โดยมีพระยารามราชภักด ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นประธาน รัฐบาลได้ต้งงบประมาณไว้เป็นจานวนเงิน
๕๐๐,๐๐๐ บาท (ห้าแสนบาทถ้วน) พร้อมกันน้นก็ได้เปิดการเร่ยไรจากประชาชนเพ่อสมทบทุนในการสร้าง




พระบรมราชานุสาวรีย์ฯ คณะกรรมการฯ ได้มอบหมายให้กรมศิลปากร เป็นเจ้าหน้าท่ฝ่ายพระบรมรูป และ
ม้าพระที่นั่งทรง ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี เจ้าหน้าที่ของกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ และด�าเนินการปั้น

ในการก่อสร้าง กรมศิลปากรได้ออกแบบ และปั้นหล่อพระบรมรูป ออกแบบแท่นฐาน เรียบเรียงคาจารึก
กรมโยธาธิการตกแต่งบริเวณวงเวียนใหญ่ และบริษัทสหการก่อสร้าง จ�ากัด ก่อสร้างแท่นฐาน
๓. งานฉองรัฐธรรมนูญ
๔. ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี
๕. วัดอินทาราม
นาวิกศาสตร์ 31
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่วงเวียนใหญ่

ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี ปั้นพระบรมรูปในลักษณะทรงม้า ก่อนท�างานปั้นพระบรมรูปของจริง ศาสตราจารย์
ศิลป์ พีระศรี ได้ท�ารูปจ�าลองด้วยปูนพลาสเตอร์ขนาด ๓ ใน ๔ ของคน การขยายรูปจริง อาจารย์สิทธิเดช แสงหิรัญ
ได้ช่วยปั้นพระองค์ของพระบรมรูป และช่วยปั้นม้าทรง ส่วนพระเศียร ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี ได้ปั้นด้วยตนเอง



ส่วนม้าพระท่น่งทรง ได้ปั้นถอดแบบมาจากม้าตัวจริงของทหารท่ขอยืมมาจากกรมทหาร เพ่อทาการปั้น




แบบเดียวกับพระบรมรูป ท้งพระบรมรูป และม้าพระท่น่งทรง ต้องแบ่งปั้นเป็นท่อน เป็นตอน เป็นส่วน ๆ กันไป





แล้วจึงประกอบกันเข้าในภายหลังอีกคร้งหน่ง โดยเฉพาะในตอนท่สาคัญท่ต้องใช้ความประณีตในการปั้นคือ

ตอนพระเศียร และพระพักตร์ต้องให้เหมือนกับของจริง
ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี ปั้นพระบรมรูป แล้วเสร็จเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๔๙๔




คณะกรรมการฯ ได้กาหนดพิธีวางศิลาฤกษ์ และเททองส่วนพระเศียรเม่อวันท ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๔
เริ่มด�าเนินการสร้างแท่นฐาน สร้างถนน และวงเวียน ตกแต่งบริเวณสถานที่ให้แลดูสวยงามยิ่งขึ้น








เมอทกอยางเรยบรอยแลว ทางคณะกรรมการฯ จงไดกาหนดพธเปดพระบรมราชานสาวรยสมเดจพระเจาตากสน











มหาราช ในวันท ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๗ โดยกราบบังคมทูลฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช


รัชกาลท ๙ เสด็จพระราชดาเนินมาทรงกระทาพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช





พร้อมท้งจัดให้มีงาน มหรสพสมโภชเป็นเวลา ๒ วัน ๒ คืน ประชาชนต่างก็พากันมาถวายบังคมพระบรมรูป
อย่างเนืองแน่นเป็นประวัติการณ์
พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เป็นพระบรมรูปทรงม้าพระท่น่งออกศึก ทรงฉลองพระองค์



กษัตริย์นักรบ ทรงพระมาลา พระหัตถ์ซ้ายทรงบังเหียน พระหัตถ์ขวาชูพระแสงดาบข้นเหนือพระเศียร พระพักตร์ผิน



ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มุ่งสู่เมืองจันทบุร นากาลังเข้ารุกไล่ข้าศึกเพ่อกู้ชาติบ้านเมือง ม้าศึกอยู่ในอิริยาบถ






ท่กาลังจะเผ่นทะยานไปข้างหน้า พระบรมรูปหล่อด้วยสาริด ประดิษฐานบนแท่นฐานสูง ทรงสี่เหล่ยมผืนผ้า
มนมุมทั้งสองด้าน สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก
๖. ส�าริด
นาวิกศาสตร์ 32
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

ความสูงของพระบรมราชานุสาวรีย์ประมาณ ๑๕ เมตร
แท่นฐานสูง ๘.๙๐ เมตร กว้าง ๑.๘๐ เมตร ยาว ๓.๙๐ เมตร
จากแท่นที่ม้าศึกยืนถึงพระหัตถ์ขวาที่ชูพระแสงดาบ ๔.๒๐ เมตร
จากพื้นล่างสุดถึงแท่นที่ม้าศึกยืน ๙.๙๐ เมตร



ท่แท่นฐานสูง มีรูปปั้นนูนสูง (High Relief) หล่อด้วยสาริด ตามความหมายทางประวัติศาสตร์ท้ง ๒ ด้าน

ด้านละ ๒ รูป
นาวิกศาสตร์ 33
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

ด้านซ้าย รูปบน
































ด้านซ้าย รูปล่าง

ด้านซ้ายของแท่นฐาน
รูปบน เป็นรูปราษฎรทุกวัย มีเด็ก ผู้หญิง ชายฉกรรจ์ และคนชราในอาการโศกเศร้า หมดหวัง เมื่อกรุงศรีอยุธยา

เสียแก่พม่าครั้งที่ ๒ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๐
รูปล่าง เป็นรูปสมเด็จพระเจ้าตากสิน และทหารไทยชักชวนราษฎรรวมก�าลังกันต่อสู้กู้อิสรภาพ

นาวิกศาสตร์ 34
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

ด้านขวา รูปบน
































ด้านขวา รูปล่าง



ด้านขวาของแท่นฐาน
รูปบน เป็นรูปสมเด็จพระเจ้าตากสิน กับทหารไทยท�าการต่อสู้ขับไล่ข้าศึก
รูปล่าง เป็นรูปราษฎรกรุงศรีอยุธยา มีความสุขที่กอบกู้อิสรภาพได้แล้ว


นาวิกศาสตร์ 35
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

ด้านหน้าของแท่นฐาน








มแผ่นป้ายสารด จารึกข้อความเทดพระเกยรต และประวัติการสร้างพระบรมราชานสาวรย์ฯ มลานกว้าง

โดยรอบแท่นฐาน ด้านหน้ามีแท่นตั้งกระถางธูป มีบันไดขึ้นลงทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
ข้อความที่จารึกด้านหน้าของแท่นฐาน
อนุสาวรีย์นี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์
เฉลิมพระบรมราชกฤดาภินิหาร
แห่ง
สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช
พระองค์ผู้ทรงเป็นมหาวีรบุรุษของชาติไทย
ประสูติ พ.ศ.๒๒๗๗ สวรรคต พ.ศ.๒๓๒๕
รัฐบาลไทยพร้อมด้วยประชาชนชาวไทย

ได้ร่วมกันสร้างขึ้นประดิษฐานไว้
เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๗
เพื่อเตือนใจให้ประชาชนชาวไทยร�าลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ
ที่ได้ทรงเพียรพยายามปราบปรามอริราชศัตรู
กอบกู้เอกราชของชาติไทยให้กลับคืนคงด�ารงอิสรภาพสืบมา



พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแห่งน มีความสง่างามมาก สมพระเกียรติท่พระองค์

ได้ทรงเพียรพยายามปราบปรามอริราชศัตร กอบกู้เอกราชของชาติไทย ให้กลับคืนดารงอิสรภาพคืนมาตราบจน


ทุกวันนี้
นาวิกศาสตร์ 36
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

เพื่อเป็นการน้อมร�าลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทางราชการได้ก�าหนดให้วันที่
๒๘ ธันวาคม ซึ่งตรงกับวันที่พระองค์ทรงปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ครองราชย์ ณ กรุงธนบุรี เมื่อวันที่ ๒๘
ธันวาคม พ.ศ.๒๓๑๐ เป็น “วันสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” ส่วนราชการและประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า


ได้นาเคร่องสักการะ ดอกไม้ ธูปเทียน ไปถวายบังคม ณ พระบรมราชานุสาวรีย์ของพระองค์ท่านท่วงเวียนใหญ่

กรุงเทพมหานคร เป็นประจ�า ในวันที่ ๒๘ ธันวาคม ของทุก ๆ ปีเสมอมา
พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแห่งนี้ ออกแบบทั้งสิ้นโดย ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี
นอกจากจะเป็นผู้ออกแบบแล้ว ยังเป็นผู้ด�าเนินการจัดสร้างนับตั้งแต่เบื้องแรก


พระบรมราชานุสาวรีย์ฯ แห่งน้นับว่าเป็นท่น่าสนใจมาก เพราะได้รับการวิพากษ์วิจารณ์มากในทางเส่อมเสีย

ของส่วนปลีกย่อย โดยบุคคลผู้มีอคติเป็นการส่วนตัวต่อศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี
ท�าไมศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี จึงได้ออกแบบลักษณะของม้าทรงให้เป็นไปดังที่ปรากฏอยู่

นาวิกศาสตร์ 37
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

ลักษณะม้าทรงของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช



ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศร ได้แถลงเหตุผลลบล้างคากล่าวหาไว้ในบทความเร่อง “ลักษณะม้าทรงของอนุสาวรีย์
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” ดังนี้



“ข้าพเจ้าคิดว่าคงไม่เคยมีงานศิลปะช้นใดท่สร้างข้นในประเทศไทยจะประสบการวิพากษ์วิจารณ์มากมาย








เหมือนอนุสาวรียของสมเด็จพระเจาตากสิน...แนนอนทีเดียวเราสามารถจะท�ามาในทาตาง ๆ ใหเปนที่ถูกใจนักวิจารณ ์
ทั้งหลายได้มากมายหลายท่า แต่เป็นผลงานของเรา จึงเป็นธรรมดาอยู่เองที่จะต้องท�าไปตามความคิดของเราเอง
ส่วนสัด


......เพ่อให้สอดคล้องกับความจริงในประวัติศาสตร์ เราจึงจาต้องทาม้าให้มีลักษณะเป็นม้าไทย ไม่ใช่ม้าอาหรับ




ม้าออสเตรเลีย ม้านอร์แมน หรือม้าพันธุ์อ่นใดเลย ถึงเราจะได้ทาม้าให้มีขนาดค่อนข้างใหญ่ในเม่อเปรียบเทียบ


กับม้าไทยธรรมดาแล้วก็ตาม แต่ถึงกระน้น ส่วนสัดระหว่างพระบรมรูปกับม้าทรงก็ยังไม่เหมือนกับส่วนสัดท่เคยเห็น
ในอนุสาวรีย์ขี่ม้าในยุโรปและอเมริกา
อากัปกิริยา


.......คนส่วนมากก็ใคร่จะเห็นม้าในลักษณะท่กาลังยกขาก้าวเดินเหมือนกับม้าตามแบบฉบับของกรีก และโรมัน







เราขอยาอีกคร้งหน่งว่าศิลปินแต่ละคนมีความคดเห็นเป็นของตนเอง ถ้าไม่เช่นน้นก็คงเป็นการพอเพียงท่จะ




ทาแบบพิมพ์ของรูปท่ถือเป็นแบบฉบับไว้ และหล่อให้เหมือนกันทุกรูปต่อไป แต่ท่ข้าพเจ้าคิดทาอนุสาวรีย์
สมเด็จพระเจ้าตากสินในลักษณะขององค์วีรบุรุษไทย มิใช่ลักษณะของจักรพรรดิโรมัน ข้าพเจ้าสร้างมโนภาพให้เห็น

พระองค์ในลักษณะเปี่ยมด้วยมนุษยธรรมอย่างแท้จริง เพ่อกอบกู้อิสรภาพของชาติไทย ในยามท่ความหวังท้งหลาย


ดูเหมือนจะสูญไปแล้วจากจิตใจของชาวไทยทั้งมวล......

องค์พระเจ้าตากสิน และม้าทรงอยู่ในอาการท่เคร่งเครียด พระองค์ทรงกระชับบังเหียนเพ่อจะรุดไปข้างหน้า และ

ม้าทรงก็ต่นเต้น คึกคัก พร้อมท่จะโผนไปข้างหน้าเช่นกัน เม่อเป็นดังน้น ห และหางท่ชันจึงสอดคล้องกับความ






ตื่นคะนองของสัตว์” ฯลฯ
นาวิกศาสตร์ 38
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

กว่าศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี จะหาม้าเป็นหุ่นปั้นส�าหรับม้าทรงของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก็ต้องใช้
เวลานานหลายเดือน พลตรี พนัส เกตุมั่นกิจ ได้เล่าไว้ว่า
ม้าที่เป็นหุ่นส�าหรับปั้นตัวแรก เป็นม้าจากประเทศออสเตรเลีย ของกองพันทหารม้า บางกระบือ (ม.พัน ๑ ร.อ.)





มีนิสัยดุร้ายมาก ช่อ “มังกรไฟ” มีนายสิบผู้หน่งจูงม้าตัวน้ไปท่กรมศิลปากรทุกวัน ไปเช้าเย็นกลับ เพ่อให้ศาสตราจารย์
ศิลป์ฯ ดู ได้เบี้ยเลี้ยงวันละ ๒๐ บาท ท�าเช่นนี้อยู่หลายวัน ปรากฏว่าศาสตราจารย์ ศิลป์ฯ ไม่ชอบใจ จึงสั่งให้หาม้า
ตัวใหม่ เอาม้าไทยแท้ ๆ
เวลาผ่านไปอีกนานเป็นเดือน จึงได้ม้าของนายพันโทผู้หน่ง เป็นม้าท่มีถ่นกาเนิดจากจังหวัดราชบุร เป็นม้าไทยแท้





สีน�้าตาลแกมเทา (ตามภาษาม้าเรียกว่าสีเขียวอ่อน) ขนรอบ ๆ คอเป็นสีขาวเส้นเล็ก ๆ เหมือนใส่สายสร้อย ปรากฏว่า


ศาสตราจารย์ ศลป์ฯ ชอบใจม้าตวน้มาก ม้าตวนจึงเป็นแบบให้ศาสตราจารย์ ศลป์ฯ ปั้นเป็นม้าทรงของ





สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
นาวิกศาสตร์ 39
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

อธิบายเชิงอรรถ

๑. ปราบดาภิเษก คือพระราชพิธีอภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์หลังรบชนะข้าศึก


๒. พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิม คือ พระราชวังกรุงธนบุรี เป็นพระราชวังหลวงของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตั้งอยู่ริมฝั่ง








แม่นาเจ้าพระยา บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่ ในพ้นท ๆ เคยเป็นท่ต้งของป้อมวิไชยเยนทร์ ท่สร้างข้นในสมัย

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้โปรดให้สร้างพระราชวังน้ข้น ภายหลังจากท ี ่


ทรงกอบกู้เอกราชให้ชาติไทยเมื่อปีพุทธศักราช ๒๓๑๐


ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จข้นครองราชสมบัต ได้ทรงย้ายราชธานีมาอยู่
ฝั่งพระนคร โดยสร้างพระบรมมหาราชวังขึ้นเป็นที่ประทับ พระราชวังกรุงธนบุรีจึงได้ชื่อว่า พระราชวังเดิม


































พระราชวังเดิม
พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์ ถ่ายภาพ มิถุนายน ๒๕๒๓








นาวิกศาสตร์ 40
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

ต�าหนักเก๋งสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ท้องพระโรง





































ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ต�าหนักเก๋งคู่หลังเล็ก ต�าหนักเก๋งคู่หลังใหญ่

นาวิกศาสตร์ 41
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ในศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระราชวังเดิม ธนบุรี
พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์ ถ่ายภาพ ธันวาคม ๒๕๓๗


นาวิกศาสตร์ 42
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ในศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระราชวังเดิม ธนบุรี
หลังจากที่มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม ได้ท�าการบูรณะพระราชวังเดิมแล้ว





นาวิกศาสตร์ 43
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

๓. งานฉลองรัฐธรรมนูญ
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร





และเร่มจัดงานฉลองรัฐธรรมนูญเป็นคร้งแรกในวันท ๑๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๕ ในปีแรกกาหนดจัดงาน ๓ วัน
โดยจัดขึ้นที่ท้องสนามหลวง ส�าหรับในปีต่อ ๆ มา สถานที่จัดงานก็เปลี่ยนไปตามความเหมาะสม ได้แก่ วังสราญรมย์
สวนลุมพินี สวนอัมพร เขาดินวนา ช่วงเวลาของการจัดงานอยู่ในระหว่างวันที่ ๘ - ๑๔ ธันวาคมของทุกปี ส่วนราชการ

และเอกชนได้ “ออกร้าน” จัดสร้างอาคารร้านต่าง ๆ โดยส่อความหมายของ “รัฐธรรมนูญ” เป็นหลัก ตลอดจน
มีมหรสพ ลิเก ละคร โขน งิ้ว ภาพยนตร์ ฯลฯ เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ หรูหรา สนุกสนาน





กิจกรรมหลักอย่างหน่งของงานฉลองรัฐธรรมนูญ คือ “การประกวดนางสาวสยาม” ซ่งเร่มมีข้นเป็นคร้งแรก
ในงานฉลองรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๔๗๗ นางสาวสยามคนแรก คือ “นางสาว กันยา เทียนสว่าง” การแต่งกายของ
ผู้เข้าประกวดนางสาวสยามในปี พ.ศ.๒๔๗๗ - พ.ศ.๒๔๘๑ แต่งกายชุดไทย ห่มสไบเฉียง นุ่งซ่นกรอมเท้า หลังจากน้น







ชุดผู้เข้าประกวดกประหยดมากข้น นุ่งน้อยห่มน้อยทุกทีจนเป็นชุดวบ ๆ แวม ๆ ดังท่เห็นอยู่ในปัจจุบัน ในปี



พ.ศ.๒๔๘๒ ได้เปล่ยนช่อประเทศสยาม เป็น ประเทศไทย จึงได้เปล่ยนเป็น การประกวดนางสาวไทย นับว่าเป็น
กิจกรรมหลักที่จัดต่อเนื่องมา ถึงแม้ว่างานฉลองรัฐธรรมนูญจะเลิกราไปแล้ว
จนถึงช่วงสงครามโลกคร้งท ๒ พ.ศ.๒๔๘๔ และในปี พ.ศ.๒๔๘๕ เกิดนาท่วมใหญ่ในพระนคร งานฉลอง







รัฐธรรมนูญ จึงหยุดชะงักลง แล้วกลับมาจัดอีกคร้งในปี พ.ศ.๒๔๘๖ แต่คร้งถึงปี พ.ศ.๒๔๘๙ เกิดเหตุการณ์


ู่




พระบาทสมเดจพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รชกาลท ๘ เสดจสวรรคต บ้านเมืองไม่อยในสภาวะท่จะจัดงานร่นเรง


เฉลิมฉลองได้อีกต่อไป งานฉลองรัฐธรรมนูญจึงส้นสุดลงอย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ.๒๕๐๑ กลายเป็นวันสาคัญ


แห่งความหลัง ที่ได้ลืมเลือนไปตั้งแต่นั้นมา
นางสาวสยาม ๕ พ.ศ.
แถวหลัง จากซ้าย
๑. มยุรี วิชัยวัฒนะ พ.ศ.๒๔๘๐
๒. วงเดือน ภูมิรัตน์ พ.ศ.๒๔๗๙
๓. พิศมัย โชติวุฒิ พ.ศ.๒๔๘๑
แถวหน้า จากซ้าย
๔. กันยา เทียนสว่าง พ.ศ.๒๔๗๗
นางสาวสยามคนแรก
๕. วณี เลาหเกียรติ พ.ศ.๒๔๗๘


*โปรดสังเกตการแต่งกาย ของผู้เข้าประกวดนางสาวสยาม ปี พ.ศ.๒๔๗๗ - พ.ศ.๒๔๘๑ ผู้เข้าประกวดแต่งกายด้วยชุดไทย
ห่มสไบเฉียง นุ่งซิ่นยาวกรอมเท้า

นาวิกศาสตร์ 44
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

๔. ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี
ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี คือใคร
ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี เป็นชาวเมืองฟลอเรนซ์ (Florence) ประเทศอิตาลี นามเดิมคือ คอร์ราโด เฟโรจี



(Corrado Feroci) เกิดเม่อวันท ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๔๓๕ ในตระกูลพ่อค้า ณ ตาบล ซานตา ยิโอวานน ี

(Santa Giovanni) เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ท่านเป็นคนรักศิลปะมาตั้งแต่เยาว์วัย
เมื่อท่านเรียนจบการศึกษาชั้นประถม และมัธยมแล้ว ในปี พ.ศ.๒๔๕๐ ท่านเข้าศึกษาต่อที่สถาบันศึกษาศิลปะ
ชั้นสูงของฟลอเรนซ์ (Accademia di Belle Arti di Firenze) ท่านศึกษาศิลปะ ทฤษฎีศิลปะโดยทั่วไป และเลือกวิชา


ประติมากรรมเป็นวิชาเอก จนกระท่งสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ๗ ปี ในปี พ.ศ.๒๔๕๗ เม่ออายุได้ ๒๓ ปี หลังจากน้น


ก็สมัครสอบเข้าเป็นศาสตราจารย์ประจ�าสถาบันการศึกษาที่ท่านเรียนมา ได้รับเกียรติเป็นศาสตราจารย์ (Professor)
แต่เมื่ออายุยังน้อย โดยที่มีผลงานดีเด่นหลายชิ้น ท่านได้ท�างานในต�าแหน่งนั้นเรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ.๒๔๖๕
นาวิกศาสตร์ 45
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

ในวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ.๒๔๖๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงรับศาสตราจารย์



ศิลป์ พีระศร เข้ามาทาราชการในเมืองไทย เน่องจากขณะน้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์




ให้ช่างปั้นเข้ามาทางานศิลปะประเภทน้ในเมืองไทย โดยทรงคัดเลือกศิลปินอิตาเลียน ๒๐๐ คน ท่มีผลงานของตน
เข้ามาให้ทรงพระราชวินิจฉัย

ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศร จึงได้เข้ามารับราชการในประเทศไทย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
โดยเป็นช่างปั้นกรมศิลปากร กระทรวงวัง เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ.๒๔๖๖ อายุขณะนั้นย่างเข้า ๓๒ ปี และได้น�า
ภรรยาซึ่งท�าการสมรสใหม่ ๆ มาด้วย ท่านเป็นคนรักสงบ ชอบใช้ชีวิตอย่างสันโดษ รักธรรมชาติ เป็นคนตรงต่อเวลา


รับราชการด้วยความขยันขันแข็ง และซ่อตรง ใช้ชีวิตของการเป็นครูในวิชาประติมากรรม ทาให้กิจการช่างปั้นหล่อ
ของกรมศิลปากรเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว จัดวางหลักสูตรวิชาจิตรกรรม ประติมากรรมขึ้น และสร้างต�าราเรียน







เม่อเกิดสงครามโลกคร้งท ๒ ในปี พ.ศ.๒๔๘๕ ท่านต้องเปล่ยนสัญชาติเป็นไทย เปล่ยนช่อและนามสกุลเป็น

นายศิลป์ พีระศรี เพื่อให้รอดพ้นจากการควบคุมตัวของญี่ปุ่นในประเทศไทย
ในปี พ.ศ.๒๔๗๖ ท่านได้ก่อต้งโรงเรียนศิลปากร และเป็นผู้ริเร่มก่อต้งมหาวิทยาลัยศิลปากร ยกฐานะโรงเรียน



ศิลปากรขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๘๖ โดยจัดตั้งคณะจิตรกรรม และประติมากรรม
ขึ้นเป็นคณะวิชาแรก
ในปี พ.ศ.๒๔๙๒ ท่านได้เดินทางกลับสู่ประเทศอิตาลี เนื่องจากความจ�าเป็นในการครองชีพ และได้เดินทางกลับ



สู่ประเทศไทยอีกคร้งหน่งในปี พ.ศ.๒๔๙๓ หลังจากท่ทางราชการได้ปรับเงินเดือนของท่านให้เหมาะสมกับ
ความเป็นอยู่ ในการกลับมาครั้งนี้ท่านมิได้น�าภรรยาซึ่งมีบุตร ๒ คน ที่เป็นชายชื่อรามาโน (RAMANO) กับที่เป็นหญิง
ชื่ออิสเบลลา (ISABELLA) กลับมาด้วย ท่านได้สมรสใหม่กับนางสาวมาลินี เคนนี แต่ไม่มีบุตรด้วยกัน


ท่านได้ใช้ชีวิตของการเป็นครูประสิทธิประสาทวิชาความรู้ทางศิลปะในเมืองไทย และทาประโยชน์อันย่งใหญ่
ให้แก่ทางราชการหลายต่อหลายแห่งด้วยกัน ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี เป็นครู และพรหม แห่งศิษย์อย่างแท้จริง
กล่าวคือให้ความรู้อย่างเต็มที่ไม่ปิดบังวิชา รักศิษย์เช่นเดียวกับรักบุตรของตน
ท่านเป็นศิลปินแบบฮิวแมนนิสต์ (Humanist) ในสมัยเรอเนสซองส์ (Renaissance) คือ ไม่ได้รู้แค่ในสาขาเดียว
ท่านรู้และสามารถเขียน ออกแบบ การแกะสลัก การพิมพ์ภาพศิลปะ มีความรู้ในด้านมนุษยศาสตร์ เป็นนักวิจารณ์ศิลปะ
เป็นนักประวัติศาสตร์อีกด้วย



ผลงานของท่านที่ปรากฏในเมืองไทยได้แก่
- พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า
- พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่สวนลุมพินี
- อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ที่นครราชสีมา
- พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่วงเวียนใหญ่
- พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่สุพรรณบุรี
- และที่อื่น ๆ อีกหลายแห่ง






นาวิกศาสตร์ 46
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

อนุสาวรีย์ ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี

ณ ลานอาจารย์ ศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ



ู่

เม่อศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศร ยังมีชีวิตอย ท่านได้เขียนบทความไว้ใน ข้อคิดเห็นในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาต ิ
ครั้งที่ ๑๒ มีใจความตอนหนึ่งว่า
“ชีวิตที่สลาย
อาณาจักรพินาศ
ผลประโยชน์ของบุคคลมลายสิ้นไป
แต่ศิลปะเท่านั้น
ที่ยังคงเหลือเป็นพยาน
แห่งความเป็นอัจฉริยะ

ของมนุษย์ตลอดกาล”
ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี ถึงแก่กรรมที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๐๕ อายุได้ ๗๐ ปี

นาวิกศาสตร์ 47
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

พระอุโบสถหลังเก่าวัดอินทาราม


๕.วัดอินทาราม

วัดอินทาราม กับ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช












วัดอินทาราม เป็นพระอารามหลวงชนตร ชนดวรวหาร ตงอย่ทถนนเทอดไทย แขวงบางยเรอ เขตธนบร ี


กรุงเทพมหานคร
วัดอินทาราม เป็นวัดโบราณมีมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมทีเป็นวัดราษฏร์ เรียกช่อว่าวัดบางย่เรือนอก


วัดสวนพลู และวัดบางยี่เรือไทย
เม่อคร้งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงสถาปนากรุงธนบุรีข้นเป็นราชธาน ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดน้ข้นใหม่













ทั้งหมด ขยายที่ทางไวเปนอันมาก แลวไดทรงสถาปนาขึ้นเปนพระอารามหลวงชั้นเอกพิเศษ เพื่อใชเปนที่ทรงประกอบ


พระราชกุศลใหญ่ ๆ สาคัญหลายคร้ง เช่น งานออกเมรุถวายพระเพลิงศพสมเด็จพระพันปีหลวง กรมพระพิทักษ์
เทพามาตย์ พระราชชนนี ในวันพฤหัสบดี แรม ๕ ค�่า เดือน ๖ พ.ศ.๒๓๑๘ ซึ่งเป็นงานใหญ่โต มีการละเล่นมหรสพ
ต่าง ๆ จ�านวน ๕๒๒ โรง แสดงรวมประมาณ ๒๙ วัน กับโปรดให้นิมนต์พระสงฆ์ฝ่ายวิปัสสนาธุระมาอยู่ประจ�าวัดนี้
และโปรดให้ข้าละอองธุลีพระบาทปฏิบัติอุปถัมภ์พระสงฆ์ทุกรูป
ในสมัยกรุงธนบุรี วัดอินทารามจึงเป็นวัดใหญ่ และมีความเจริญรุ่งเรืองมาก


ในสมัยรัชกาลท ๑ เม่อ พ.ศ.๒๓๒๕ สมเด็จพระเจ้าตากสินสวรรคต พระบรมศพของสมเด็จพระเจ้าตากสิน

พร้อมด้วยกรมหลวงบาทบริจา (พระนางสอน) พระอัครมเหสีของพระองค์ท่าน ได้ถูกน�ามาประดิษฐาน (ฝัง) ไว้ที่วัดนี้

ต่อมาเม่อมีการถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว ได้นาพระบรมอัฐิบรรจุไว้ในเจดีย์กู้ชาติท้ง ๒ พระองค์ ส่วนพระสรีรางคาร


(เถ้าอัฐิ) ของสมเด็จพระเจ้าตากสิน ได้น�าไปบรรจุไว้ในพระพุทธรูปประจ�ารัชสมัยของพระองค์ท่าน คือ พระพุทธรูป
ฉลองพระองค์
นับแต่ส้นสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินแล้ว วัดอินทารามก็ขาดการปฏิสังขรณ์ เสนาสนะชารุดทรุดโทรมลง



ตามลาดับ คร้นถึงสมัยรัชกาลท ๓ พระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) ต้นตระกูลศรีเพ็ญ ได้ทาการปฏิสังขรณ์ และสร้างอาคาร




เสนาสนะต่าง ๆ ขึ้นใหม่ เสร็จแล้วได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ อีกครั้งหนึ่ง


พระองค์ทรงรับไว้ และพระราชทานเป็นพระอารามหลวงช้นตร ชนิดวรวิหาร และได้พระราชทานนามว่าวัดอินทาราม
จึงได้เรียกว่า วัดอินทารามวรวิหาร ตั้งแต่บัดนั้นจนมาถึงปัจจุบัน
ครั้นสิ้นบุญวาสนาของพระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) ที่ได้ทะนุบ�ารุงตลอดมาแล้ว วัดอินทารามก็ได้ทรุดโทรมลงอีก
เพราะขาดผู้บ�ารุง


ถึงสมัยรัชกาลท ๕ เม่อ พ.ศ.๒๔๔๘ ทางราชการนิมนต์ให้พระทักษิณคณิสรย้ายจากวัดโพธินิมิตรมาปกครอง

ได้เริ่มสร้าง และปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุต่าง ๆ ให้เจริญขึ้นเป็นล�าดับ พร้อมกับได้จัดการศึกษา และจัดการปกครองวัด
ให้เป็นระเบียบเรียบร้อยยิ่งขึ้น
นาวิกศาสตร์ 48
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

พระประธานภายในพระอุโบสถหลังเก่า
ภายในองค์บรรจุพระบรมราชสรีรางคารของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ไว้ที่ฐานตรงผ้าทิพย์

สิ่งส�าคัญในวัดอินทารามที่เกี่ยวข้องกับสมเด็จพระเจ้าตากสิน มีดังนี้
ู้

พระประธานภายในพระอุโบสถหลังเก่า ปางตรัสร (The Enlightenment) หรือ ปางสมาธ (The Meditation)
ขนาดหน้าตักกว้าง ๔ ฟุต ๘ น้วคร่ง ภายในองค์บรรจุพระบรมราชสรีรางคารของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


พระพุทธรูปปางนี้นิยมสร้างเป็นพระประธาน
พระเจดีย์กู้ชาติ ๒ องค์ อยู่ด้านหน้าพระอุโบสถหลังเก่า
องค์ด้านตะวันออก มียอดเป็นบัวกลุ่มเถา ๗ ชั้น เป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
องค์ด้านตะวันตก มียอดเป็นปล้องไฉน ๑๓ ปล้อง เป็นที่บรรจุพระอัฐิสมเด็จกรมหลวงบาทบริจา (พระนางสอน)
พระอัครมเหสี

พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินขณะทรงศล ประดิษฐานอยู่ในพระวิหารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ซึ่งเป็นที่เสด็จมาทรงศีลเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
พระแท่นบรรทมของสมเด็จพระเจ้าตากสิน และพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสิน ขณะทรงศีล ประดิษฐาน

อยู่ในพระวิหารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
พระบรมรูปทรงม้า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หน้าพระวิหารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

นาวิกศาสตร์ 49
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

พระเจดีย์กู้ชาติ ๒ องค์

องค์ซ้าย มียอดเป็นปล้องไฉน ๑๓ ปล้อง บรรจุพระอัฐิสมเด็จกรมหลวงบาทบริจา พระอัครมเหสี
องค์ขวา มียอดเป็นบัวกลุ่มเถา ๗ ชั้น บรรจุพระบรมอัฐิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

นาวิกศาสตร์ 50
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

พระวิหารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

นาวิกศาสตร์ 51
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินขณะทรงศีล
ภายในพระวิหารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

นาวิกศาสตร์ 52
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

พระแท่นบรรทม ภายในพระวิหารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช




































พระบรมรูปทรงม้าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หน้าพระวิหาร


นาวิกศาสตร์ 53
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓

๖. ส�าริด หรือ สัมฤทธิ์ คือ โลหะเจือชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยทองแดงกับดีบุก ประสมกัน เรียกว่า ทองสัมฤทธิ์ หรือ
ทองบรอนซ์ (Bronze) โบราณเขียนว่า ส�าริด


เอกสารประกอบการเขียน
๑. นาวิกศาสตร์ ธันวาคม ๒๕๓๕ เรื่อง “พระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” โดย
นาวาเอกหญิง รัชนี ชีวะเกตุ
๒. หนังสือ “อนุสาวรีย์” ตอน “พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี” โดย ถาวร จารุกิตติชัย

๓. หนังสือ “มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม “พระบรมราชานุสาวรีย์”
๔. หนังสือ “สาระน่ารู้กรุงธนบุรี” ของมูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานพระราชวังเดิม
๕. นาวิกศาสตร์ มิถุนายน ๒๕๑๖ เรื่อง “ดูศิลป” โดย ชเล (นาวาโท กรีฑา พรรธนะแพทย์)
๖. หนังสือ “พระอารามหลวงแห่งราชอาณาจักรสยาม” โดย ล�าจุล ฮวบเจริญ
๗. หนังสือ “วัดอินทารามวรวิหาร” (บางยี่เรือ ธนบุรี) ของวัดอินทาราม
๘. หนังสือ “ย้อนกาลผ่านอดีต” โดย ปางบรรพ์ ตอน “ม้าทรงสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช”




นาวิกศาสตร์ 54
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version