The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาวิกศาสตร์ ฉบับเดือน มีนาคม ๒๕๖๓

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกศาสตร์, 2022-02-17 23:02:09

นาวิกศาสตร์ มีนาคม ๒๕๖๓

นาวิกศาสตร์ ฉบับเดือน มีนาคม ๒๕๖๓


“...งานทุกอย่างท่เป็นส่วนรวม ไม่ว่าจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่ จะต้องอาศัยพลังแรง พลังความคิด


และสติปัญญาของผู้มีวิชาความรู้ด้านต่าง ๆ ร่วมกันคิด ร่วมกันทา จึงจะสาเร็จผลท่ดีได้. ทุกคนทุกฝ่าย





ท่ทางานร่วมกัน จึงควรทาใจให้เปิดกว้าง ด้วยการแลกเปล่ยนความคิดเห็นกันอยู่เสมอ เพราะการใช้

ความคิดและเหตุผลร่วมกัน จะทาให้เกิดความเข้าใจดีต่อกัน และเข้าใจตรงกันในจุดมุ่งหมายของงาน
และกระบวนการปฏิบัติ. ...”



พระราโชวาท เม่อคร้งทรงดารงพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร


ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจาปีการศึกษา ๒๕๔๘

ณ อาคารอเนกนิทัศน์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
วันเสาร์ ท ๒๗ มกราคม ๒๕๕๐ (ภาคเช้า)


นาวิกศาสตร์ นิตยสารของกองทัพเรือ มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการ และข่าวสารทหารเรือทั้งในและนอกประเทศ
ตลอดจนวิทยาการอื่น ๆ ทั่วไป และเป็นสื่อในการประชาสัมพันธ์ของกองทัพเรือ
สารบัญ ๕


บทความ




๕ เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์ ความภาคภูมิใจ
ของกรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือ และประเทศไทย

นาวาตรี ธนกิจ ศรีแสง

๑๗ ป๊อปปี้สีเลือด (ตอนที่ ๒)
พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์

๓๗ สงคราม ๙ ทัพ กับ The Art of War ของซุนวู
ถ.ถุง ๓๗

๕๑ การสร้างความร่วมมือทางทะเลต่อปัญหาข้อพิพาท
ในทะเลจีนใต้ : สิงคโปร์กับการใช้ Code for Uplanned

Encounters at Sea (CUES)
ว่าที่ นาวาโท นัฐภูมิ แพผลศิริ

๖๓ การปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่สี่
ผลกระทบต่อความมั่นคงของมนุษย์
พลเรือเอก ไพโรจน์ แก่นสาร




ปกหน้า-ปกหลัง เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์ (๒๘๘)
ออกแบบปก พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์

พิมพ์ที่ กองโรงพิมพ์ กรมสารบรรณทหารเรือ
เจ้าของ ราชนาวิกสภา
ผู้พิมพ นาวาเอก สมริทธ์ งามสวย











ข้อคิดเห็นในบทความที่นำาลงนิตยสารนาวิกศาสตร์เป็นของผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานใดของรัฐและมิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด
ได้นำาเสนอไปตามที่ผู้เขียนให้ความคิดเห็นเท่านั้น การกล่าวถึงคำาสั่ง กฎ ระเบียบ เป็นเพียงข่าวสารเบื้องต้น เพื่อประโยชน์แก่การค้นคว้า


คลังความรู้


ค่ราชนาวี

นายกกรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือโท เคารพ แหลมคม
รองนายกกรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือตรี พีระ อดุลยาศักดิ์
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ ประจำ�เดือน มีน�คม ๒๕๖๓ กรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือตรี วรพล ทองปรีชา
พลเรือตรี ธนรักษ์ เอี่ยวสานุรักษ์
๑๗ พลเรือตรี ก้องเกียรติ สัจวุฒิ
พลเรือตรี สุพพัต ยุทธวงศ์
พลเรือตรี กิตติคุณ นาคสุก
พลเรือตรี กตัญญู ศรีตังนันท์
พลเรือตรี ธีระยุทธ นอบน้อม
พลเรือตรี ทวี ทองประยูร
พลเรือตรี เอกสิทธิ์ รอดอยู่
พลเรือตรี กิตติศักดิ์ บุณย์เพิ่ม
พลเรือตรี สนทยา แสงบางมุด
พลเรือตรี ไชยา ภาตะนันท์

กรรมการและเลขานุการราชนาวิกสภา
นาวาเอก ณฐพัฒน์ ซื่อมงคล
เหรัญญิกราชนาวิกสภา
เรือเอก สุขกิจ พลัง
ที่ปรึกษาราชนาวิกสภา
พลเรือโท สุพจน์ ภู่ระหงษ์
พลเรือโท ชนินทร์ ผดุงเกียรติ
พลเรอตร อำานวย ทองรอด


พลเรอตร บัญชา บัวรอด


พลเรอตรี สิทธิชัย ต่างใจ

บรรณาธิการ
คอลัมน์ประจำา นาวาเอก ณฐพัฒน์ ซื่อมงคล
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
ว่าที่ นาวาเอกหญิง วรนันท์ สุริยกุล ณ อยุธยา
๓ ประจำากองบรรณาธิการ
นาวาเอก วชิรพร วงศ์นครสว่าง
นาวาเอก สมริทธ์ งามสวย
๗๐ นาวาเอก สุวิทย์ จันทร์เพ็ญศรี
นาวาเอก ธาตรี ฟักศรีเมือง
นาวาเอก บุญมี กาโน
นาวาเอกหญิง แจ่มใส พันทวี
นาวาโทหญิง ศรุดา พันธุ์ศรี
นาวาโทหญิง อรณัฐ โพธิ์ตาด
๘๕ เรือเอก เกื้อกูล หาดแก้ว
เรือโทหญิง สุธิญา พูนเอียด
๘๗ เรือโท อัศฐวรรศ ปั่นจั่น
๘๙ เรือโทหญิง อภิธันย์ แก่นเสน
สำานักงานราชนาวิกสภา
ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย
กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๐๗๒
๐ ๒๔๗๕ ๔๙๙๘


บรรณาธิการ แถลง







นาวาเอก ณฐพัฒน์ ซื่อมงคล
[email protected]


สวัสดีครับท่านสมาชิกและผู้อ่านทุกท่าน พบกันอีกเช่นเคยนะครับ นิตยสารนาวิกศาสตร์ฉบับเดือนมีนาคม
๒๕๖๓ นี้ ยังคงมีบทความที่หลากหลาย มากมายด้วยสาระ ความบันเทิงอย่างครบครัน โดยเริ่มจากบทความ เรื่อง
“เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์ ความภาคภูมิใจของกรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือ และประเทศไทย” เขียนโดย



นาวาตร ธนกิจ ศรีแสง บทความน้จะทาให้ทราบถึงประวัติความเป็นมาของเรือหลวงประจวบคีรีขันธ์ และ








ความสาคัญของเรือหลวงลาน อีกท้งทาให้ทราบถึงการนากระบวนการ และมาตรฐานการต่อเรือท่ท่วโลก

ยอมรับมาใช้ในการต่อเรือ และการพัฒนาขีดความสามารถด้านการต่อเรือขนาดใหญ่ของกองทัพเรือครับ



ต่อด้วยบทความ เร่อง “ป๊อปปี้สีเลือด (ตอนท่ ๒)” เขียนโดย พลเรือตร กรีฑา พรรธนะแพทย์ ซ่งในฉบับน ี ้


เสนอเป็นตอนท ๒ ครับ โดยมีเน้อหาน่าติดตามอยู่เหมือนเดิม และบทความ เร่อง “สงคราม ๙ ทพ กบ





The Art of War ของซุนวู” เขียนโดย ถ.ถุง ซ่งผู้เขียนได้อธิบาย พร้อมยกตัวอย่างการรบของฝ่ายไทย




ว่ามีการดาเนินการรบตามหลักสงครามของ ซุน ว อย่างไร และบทความเร่อง “การสร้างความร่วมมือ
ทางทะเลต่อปัญหาข้อพิพาททะเลจีนใต้ : สิงคโปร์กับการใช้ Code for Unplanned Encounters





at Sea (CUES)” เขียนโดย ว่าท นาวาโท นัฐภูม แพผลศิร และปิดท้ายด้วยบทความเร่อง “การปฎิวัต ิ



อุตสาหกรรม คร้งท่ส่ ผลกระทบต่อความม่นคงของมนุษย์” เขยนโดย พลเรอเอก ไพโรจน์ แก่นสาร ครบ






บทความน้กล่าวถึง การปฏิวัติอุตสาหกรรม คร้งท่ส ซ่งอาศัย Digital technology และ Internet เป็นพ้นฐาน





ในการสร้างนวัตกรรมต่าง ๆ ขึ้นท�างานแทนมนุษย์ เป็นยุคที่มีความเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก โดยยากต่อการคาดเดา
ว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร มีผลเป็นคุณหรือโทษต่อมวลมนุษยชาติมากกว่ากัน นอกจากบทความท่กล่าวมาแล้วน้น





นิตยสารนาวิกศาสตร์ฉบับเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ น ยังคงมีคอลัมน์ประจาให้ผู้อ่านได้ติดตามอย่างเช่นเคยครับ


ท้ายสุดน ขอให้ท่านสมาชิก และผู้อ่านทุกท่าน ได้รับความรู้ ความเพลิดเพลินจากการอ่านนิตยสารนาวิกศาสตร์
ในฉบับมีนาคม ๒๕๖๓ และพบกันใหม่ฉบับหน้า เดือนเมษายน ๒๕๖๓ สวัสดีครับ
“รุกคืบหน้า สถาปนาความมั่นคง”
Moving Forward to Ensure Sustainability
ข้อคิด คติเตือนใจ ของ ผู้บัญชาการทหารเรือ


พระมหาพิชัยมงกุฏ
























ุ์
จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ
กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
พระมหาพิชัยมงกุฏ

เมื่อวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๕ พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ ๖ พร้อมด้วย

สมเด็จพระบรมราชินี เสด็จพระราชดาเนินโดยรถยนต์





พระท่น่งไปประทับท่พระท่นั่งราชกิจวินิจฉัย นายพลเรือเอก



พระเจ้าพ่ยาเธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ ผู้ทาการแทน
เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ กราบบังคมทูลถวายรายงาน





การสร้างเรือพระท่น่งมหาจักรี และกราบบังคมทูลอัญเชิญ เรือพระท่น่งมหาจักรี ลาท่ ๒

เสด็จลงประทับในเรือพระท่น่งมหาจักรีซ่งเทียบอยู่ ได้ทรงชักชวนให้ข้าราชการแห่งราชนาวี และราชนาวีเสือป่า




ณ ท่าราชวรดิฐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงหล่งนา � ้ พร้อมใจกันสร้างข้นเม่อ พ.ศ.๒๔๖๑ เพ่อน้อมเกล้า




พระมหาสังข์ ทรงเจิมหัวเรือพระท่น่ง และทรงชักเชือกผ้า น้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า


ท่ปิดคลุมพระมหาพิชัยมงกุฏ ซ่งประดษฐานบนยอดเสา เจ้าอยู่หัว สาหรับสวมบนยอดเสากลางอันเป็นเสาใหญ่



กลางของเรือพระท่น่งมหาจักร ี สาหรับธงมหาราชที่เรือพระท่น่งมหาจักรี อันเป็นเคร่องหมาย






พระมหาพิชัยมงกุฏนั้น จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้า ท่แสดงถึงว่าเป็นเรือพระท่น่งทรง ปัจจุบันเรือพระท่น่ง






น้องยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์ มหาจักรี ลาท่ ๒ ได้ปลดระวางประจาการไปแล้ว แต่พระมหา








วรพนต ขณะดารงตาแหน่งเสนาบดกระทรวงทหารเรอ พิชัยมงกุฏน้นได้นามาจัดแสดงไว้ท่พิพิธภัณฑ์ทหารเรือ



(๑๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๓ - ๑๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๖๓) ตรงข้ามโรงเรียนนายเรือ จังหวัดสมุทรปราการ
นาวิกศาสตร์ 4
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์


ความภาคภูมิใจของกรมอู่ทหารเรือ


กองทัพเรือ และประเทศไทย



นาวาตรี ธนกิจ ศรีแสง


“...การป้องกันประเทศทางทะเลเป็นหน้าท ่ ี เป็นส่วนหน่งของการพฒนากาลงรบตามยุทธศาสตร์




โดยตรงและสาคัญท่สุดของกองทัพเรือ หน้าท่น้เป็น กองทัพเรือ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ




ภาระหน้าที่ต้องอาศัยทหารซึ่งมีความรู้ ความสามารถ ของกองทัพเรือ ในการรักษาผลประโยชน์ของชาต ิ
และเรือรบอันมีคุณภาพดีประกอบพร้อมกันไป บรรดา ทางทะเล การรักษากฎหมายทางทะเล และการปฏิบัต ิ

เรือรบท่ใช้ในราชการเป็นเรือท่สั่งท�าจากต่างประเทศ การรบผิวนา รวมท้งการค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัย




การท่ทางราชการกองทัพเรือสามารถเร่มต่อเรือยนต์ ในทะเล และสนับสนุนการปฏิบัติการทางเรืออื่น ๆ



รักษาฝั่งข้นใช้ในราชการได้เช่นน้ จึงควรจะเป็นท ่ ี คุณลักษณะทั่วไปของเรือ












นายนดและนาสนบสนนอยางยง นบวาเปนความเจรญ - ความยาวตลอดล�า ๙๐.๕๐ เมตร


ก้าวหน้าก้าวหนึ่งของกองทัพเรือ...” - ความกว้าง ๑๓.๕๐ เมตร


ความตอนหน่งจากพระราชดารัสของพระบาท - ความยาวที่แนวน�้า ๘๓.๐๐ เมตร
สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร - กินน�้าลึก ๓.๗๐ เมตร


ในการเสด็จพระราชดาเนินไปทรงวางกระดูกง เรือตรวจการณ์ - ระวางขับน�้าไม่น้อยกว่า ๑,๙๖๐ ตัน

ใกล้ฝั่ง ต.๙๑ เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๐ ณ - ความเร็วสูงสุดไม่ตากว่า ๑๓ นอต (ท Full load)




กรมอู่ทหารเรือ - ระยะปฏิบัติการไม่น้อยกว่า ๓,๕๐๐ ไมล์ทะเล (ท่ความเร็ว


กระทรวงกลาโหม อนุมัติโครงการจัดหาเรือ เดินทางไม่ตากว่า ๑๕ นอต)
ตรวจการณ์ไกลฝั่ง จ�านวน ๒ ล�า โดยกองทัพเรือจะเป็น ระบบอาวุธประจ�าเรือ
ผู้ดาเนินการต่อเรือจากแบบท กองทัพเรือ มีใช้ในราชการ - ปืนขนาด ๗๖/๖๒ มิลลิเมตร แบบอัตโนมัติ รุ่น Multi





เพ่อเป็นการพ่งพาตนเอง และพัฒนาขีดความสามารถ Feeding Vulcano Super Rapid จานวน ๑ ระบบ









ด้านการต่อเรอขนาดใหญ่ของกองทพเรอให้เพมสงขน - ปืนกลขนาด ๓๐ มิลลิเมตร แท่นเดี่ยว รุ่น Seahawk


ซึ่งกองทัพเรือได้แต่งตงคณะท�างานศึกษาแบบเรือ MSI-DS30M R จ�านวน ๒ ระบบ
ตรวจการณ์ไกลฝั่ง ที่กองทัพเรือมีใช้ในราชการ โดยมีมติ - ปืนกลขนาด ๐.๕๐ นิ้ว M2 จ�านวน ๒ กระบอก





ให้ใช้แบบเรือ ร.ล.กระบ เป็นแบบพ้นฐานในการสร้างเรือ - อาวุธปล่อยนาวิธีพ้นสู่พ้น Harpoon Block II แบบ

ลาใหม พร้อมเสนอแนะให้ปรับปรุงข้อบกพร่องในส่วน Advanced Harpoon Weapon Control System


ต่าง ๆ ที่เคยเกิดขึ้นกับเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งเดิม เพื่อให้ จ�านวน ๑ ระบบ ประกอบด้วย ๒ แท่น แท่นละ ๔ ท่อยิง
เรือลาใหม่มีคุณลักษณะท่เหมาะสมมากข้น ในการ - ระบบควบคุมบังคับบัญชาและตรวจการณ์ บริษัท



ตอบสนองภารกิจของกองทัพเรือ Thales Nederland B.V. จ�านวน ๑ ระบบ
กองทัพเรือ อนุมัติให้โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ - เครื่องยิงเป้าลวง (Decoy Launcher) ๒ แท่น
ไกลฝั่ง เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ ขีดความสามารถ (Combat Capability)
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร - สามารถออกปฏิบัติงานในทะเลอย่างต่อเน่อง ได้ไม่น้อย


โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งเฉลิมพระเกียรติฯ กว่า ๑๔ วัน โดยไม่ต้องรับการส่งกาลังบารุงเพ่มเติม


นาวิกศาสตร์ 5
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


- สามารถปฏิบัติการได้ถึงสภาวะทะเลระดับ ๕ (Sea State 5) ๒๐ มิลลิเมตร ๑ กระบอก ไม่มีดาดฟ้าจอดเฮลิคอปเตอร์





- สามารถตรวจการณ์ และพิสูจน์ทราบเป้าผิวนา และ (แต่มีพ้นท่สาหรับวางตู้คอนเทนเนอร์เอนกประสงค์)



เป้าอากาศยานได้ทั้งเวลากลางวันและกลางคืน กาลงพลประจาเรอ ๓๐ นาย (สามารถรองรบไดถง ๕๐ นาย)




- สามารถโจมตีเป้าพ้นนาในระยะพ้นขอบฟ้าได้ด้วยอาวุธ เพ่อใช้ในภารกิจคุ้มกันเรือประมงและลาดตระเวนในพ้นท ่ ี





ปล่อยน�าวิถี เขตเศรษฐกิจจาเพาะ สาหรับจุดเปล่ยนของเรือในชุดน ้ ี



- สามารถป้องกันภัยทางอากาศในระยะประชิดได้ตาม ก็คือ เรือ HMS Clyde (P257) ซึ่งเรียกได้ว่าเป็น RCB
สมรรถนะของอาวุธประจ�าเรือ 1. Modify โดยเรือมีระวางขับน�้า ๒,๐๐๐ ตัน ความเร็ว

- สามารถทาสงครามอิเล็กทรอนิกส์โดยติดต้งอุปกรณ์ สูงสุด ๒๑ นอต อาวุธประจ�าเรือ ปืนกล ๓๐ มิลลิเมตร



ESM และออกแบบให้รองรับการติดต้งเช่อมต่อการใช้งาน ๑ กระบอก ปืนกล ๒๐ มิลลิเมตร ๒ กระบอก มีสิ่งที่
ระบบเป้าลวงได้ เปล่ยนไปก็คือ มีดาดฟ้าท่สามารถรองรับเฮลิคอปเตอร์


- สามารถปฏิบัติงานร่วมกับเฮลิคอปเตอร์ขนาดไม่ตากว่า แบบ AW101(EH101) Merlin ถือได้ว่าเป็นต้นกาเนิด



๑๑.๕ ตัน ได้ทั้งกลางวันและกลางคืน ของเรือ River Class Batch II เลยก็ว่าได้ แต่การเข้า



- สามารถรองรับกาลัพลได้ไม่น้อยกว่า ๑๑๕ นาย (กาลังพล ประจาการของเรือ HMS Clyde ก็เน่นนานไปจนถึงเดือน

ประจ�าเรือ ๙๙ นาย และปฏิบัติการทางอากาศ ๑๖ นาย) มกราคม ค.ศ.๒๐๐๗



ความเหมอนทแตกตางกนของครอบครว River Class



ก่อนอ่นผู้เขียนขอเล่าประวัติความเป็นมาของ


การสร้างเรอตรวจการณ์ไกลฝั่ง (Offshore Patrol
Vessel:OPV) ชุด River Class ของราชนาวีอังกฤษ
ซึ่งเป็นจุดก�าเนิดเริ่มแรกของ ร.ล.กระบี่ และ ร.ล.ประจวบ
คีรีขันธ์ ในราชนาวีไทย ในปี ค.ศ.๒๐๐๑ กระทรวงกลาโหม
สหราชอาณาจักร มีแผนในการต่อเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง

(OPV) ช้น River Class Batch I (RCB1) โดยบริษัท
Vosper Thornycroft Shipbuilding (VT Ship- เรือ HMS Clyde ของ Royal Navy ขณะลาดตระเวน


building) เพ่อทดแทนเรือช้น Island Class จานวน

๕ ลา ซ่งประจาการอยู่ในทะเลแอตแลนติกใต้และ





หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ โดยเรือลาแรกของช้น RCB1
ทเข้าประจาการในราชนาวีอังกฤษ คอ HMS Tyne




(P281) ในเดือนมกราคม ค.ศ.๒๐๐๓ ส่วนอีก ๒ ล�า คือ
HMS Severn (P282) ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.๒๐๐๓
และ HMS Mersey (P283) ในเดือนธันวาคม ค.ศ.๒๐๐๓




ตามลาดับ โดยเรือท้ง ๓ ลาน สร้างท่อ VT Shipbuilding, แนวความคิดในการปรับปรุงเรือ OVP ชุด River Class Batch II


ู่
Southampton เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุด RCB1 ปัญหาการขาดแคลนเรือ OPV ในการใช้งานนั้นคือ






มีความยาว ๗๙.๕ ม. ระวางขับนา ๑,๗๐๐ ตัน ความเร็ว พ้นท่น่านนาสหราชอาณาจักร (UK Water) มีเรือ
สงสด ๒๐ นอต ระยะปฏบตการ ๗,๘๐๐ ไมล์ทะเล OPV ประจาการอยู่เพียง ๑ ลา (ท่เหลือประจาการใน











(ที่ความเร็ว ๑๒ นอต) อาวุธประจ�าเรือ ปืน Oerlikon อาณานคมโพ้นทะเล) อกทงยงมการเพมบทบาทใน






นาวิกศาสตร์ 6
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓






ภารกจต่อต้านการก่อการร้าย และต่อต้านการหลบหน ี สร้างแบบข้นเพ่อนาเสนอต่อกองทัพเรือของตรินิแดด












เข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย อีกท้งเรือรบผิวนา และเรือดานา และโตเบโก แต่เนองด้วยการทาสญญาทมปัญหาทาให้


ของรัสเซียยังเข้ามาลาดตระเวนในน่านนาอยู่บ่อย ๆ ไม่สามารถบรรลข้อตกลงกนได้ เป็นช่วงเวลาเดยวกนท ี ่






ความต้องการใช้เรือจึงเปล่ยนไปตามนโยบาย และ กองทัพเรือไทยต้องการเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งพอด บริษัท


ภัยคุกคาม (ซ่งเรือชุดน้สามารถใช้ในภารกิจบรรเทา อู่กรุงเทพ จากัด (บอท.) จึงได้ทาข้อตกลงกับบริษัท




สาธารณภัยได้ดีอยู่แล้ว) การปรับปรุงเรือ OPV RCB II BAE Systems ในการซ้อแบบและการปรึกษาทางด้าน

จึงเน้นไปยังการตรวจการณ์รวบรวมข่าวกรอง และการ เทคนิค บอท. ได้เซ็นสัญญากับกองทัพเรือ ในการสร้าง
ใช้อากาศยานไร้คนขับ ดังนั้นระบบควบคุมบังคับบัญชา ร.ล.กระบ โดยเป็นการส่งแบบและพัสดในการสร้างเรอ












และตรวจการณจงถกตดตงในเรอชดน โดยมความตองการ และสร้างโดยกรมอู่ทหารเรือ โดยราคาของเรือเม่อ





เรือ OPV ทั้งหมดจ�านวน ๙ ล�า ภายในปี ค.ศ.๒๐๑๘ เปรียบเทียบกับการสร้างท่บริษัท BAE Systems แล้ว

(ลาสุดท้ายอาจล่าช้าไปจนถึง ค.ศ.๒๐๒๑) โดยเรือชุด จะมีราคาถูกกว่าประมาณคร่งหน่ง ขณะท่อาวุธหลักของเรือ







RCB II ท้งหมด ๕ ลา ถูกสร้างข้นท่อู่ต่อเรือ BAE System, คือ ปืน ๗๖/๖๒ มิลลิเมตร ก็มีราคาแพงกว่าอีกด้วยเม่อ


Glassgow เปรียบเทียบกับเรือราชนาวีอังกฤษ ส่งน้เองเป็นข้อได้เปรียบ


ของการต่อเรือภายในประเทศไทย และยังได้รับการถ่ายทอด
เทคโนโลยีให้อีกด้วย
ภาพแสดงเรือชุด River Class ทั้งหมดของ Royal Navy
ภาพกราฟฟิคโมเดลแสดงเรือชุด River Class


เรือลาแรกของเรือในชุดน้ท่เข้าประจาการแล้ว


คือ HMS Forth (P222) ในเดือนเมษายน ค.ศ.๒๐๑๘



เรือชุด RCB II น ยังได้ถูกรับเลือกและว่าจ้างต่อเรือชุดน้จาก
ทร.บราซิล อีกจ�านวน ๓ ล�า คือ Amazonas (P120),
Apa (P121) ต่อข้นท BAE Systems, Portsmouth



และ Araguari (P122) ต่อข้นท BAE Systems,



Scotstoun โดยส่งมอบเรือ ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.๒๐๑๒
เดือนพฤศจิกายน ค.ศ.๒๐๑๒ และ เดือนมิถุนายน ค.ศ.๒๐๑๓
ตามล�าดับ จนมาถึง ร.ล.กระบี่ จริง ๆ แล้ว แบบแรกเริ่ม


เดิมทีไม่ได้ทามาเพ่อกองทัพเรือ แต่บริษัท BAE Systems ภาพแสดงเรือ BNS Araguari (P122) ของ ทร.บราซิล
นาวิกศาสตร์ 7
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓





สาหรับความแตกต่างกันของ ร.ล.กระบ และ จะออกมารับใช้ประเทศชาติด้วยการรักษาผลประโยชน์



ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ หลังจากท บอท. ได้ซ้อลิขสิทธ ์ ิ แห่งชาติทางทะเล และอวดธงราชนาวีไทยไปในน่านน�้า
(License) แบบเรอชุด Trinidad and Tobago จาก มิตรประเทศด้วยความภาคภูมิใจในเอกราช และความ

บริษัท BAE Systems โดยข้อมูลการออกแบบอยู่ใน สามารถของกองทัพเรือ รวมท้งยังทาให้อุตสาหกรรม


Tribon Model (โปรแกรมการออกแบบเรือ) ได้มีการ ต่อเรือมีความเข้มแข็งเพ่มข้น จากการสั่งสมประสบการณ์



แก้ไขส�าหรับ ร.ล.กระบี่ไว้ ๔ รายการ คือ และทักษะจนถึงวันน ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ จะเป็นส่งบ่งช ้ ี


๑. ตัด Bow Thruster ออก ความก้าวหน้าของประเทศไทยใน ด้านสมุททานุภาพ และ



๒. ออกแบบโครงสร้างลานจอดเฮลิคอปเตอร์ให้ พาณิชยนาว จากวันน้นจนถึงวันน ใครจะคิดว่า กองทัพเรือ

สามารถติดต้ง Harpoon Grid (เอาไว้สาหรับช่วย ฮ.แบบ ของไทย จะสามารถต่อเรือติดอาวุธปล่อยนาวิถีได้เอง




Super Lynx ในการลงจอดบนเรือ ) ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ทาเองท้งหมดแต่แน่นอนว่าการก้าว




๓. ตัด Main Crane ออก ในคร้งน้ไม่ใช่ก้าวแรกของกองทัพเรือ แต่จะเป็นก้าวสาคัญ
๔. ออกแบบโครงสร้างให้สามารถรองรับปืน ๗๖/๖ ที่น�าพาไปสู่มาตรฐานใหม่อย่างยั่งยืน
มิลลิเมตร
ส�าหรับ ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ นี้ จะมีการแก้ไขแบบ
เพ่มเติมโดยเฉพาะโครงสร้างตัวเรือจานวน ๓ รายการ คือ


๑.ขยายลานจอดเฮลิคอปเตอร์ด้วยการลดขนาด
ความยาวของ Superstructure และออกแบโครงสร้าง
ให้สามารถรองรับ ฮ.แบบ Seahawk ได้
๒.ออกแบบโครงสร้าง Superstructure (ด้านหลัง
ปล่องควัน) ให้สามารถรองรับการติดต้งอาวุธปล่อย ภาพแสดงโมเดล ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์

พื้นสู่พื้น (SSM) Harpoon ได้ โครงสร้างการบริหารโครงการและการด�าเนินการ
๓.ปรับฐานแท่นเคร่องจักรใหญ่ และระบบท ี ่ โครงสร้างการบรหารโครงการ ประกอบด้วยคณะกรรมการ






เก่ยวข้องให้สามารถรองรับเคร่องจักรใหญ่ Man รุ่นใหม่ได้ บริหารโครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งลาท ๒

(Man 16V28/33D STC 7,200 Kw ) (เสธ.ทร. เป็น ประธานฯ) แบ่งการบังคับบัญชาออกเป็น


จากความแตกต่างกันของเรือช้น River Class ต้งแต่ ๒ คณะกรรมการ คือ
RCB I จนถึง ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ ครอบครัว River Class ๑. คณะกรรมการตรวจรับ ๕ คณะ ประกอบด้วย

ู่
มีแผนการสร้างท้งหมด ๑๔ ลา (กาลังสร้างอย ๕ ลา) ทาให้ ๑.๑ แบบและพัสดุฯ




สร้างความมั่นใจได้ว่า เรือชุดนี้ได้มีการปรับปรุงลักษณะ ๑.๒ ระบบควบคุมบังคับบัญชาและตรวจการณ์
ของเรือให้มีประสิทธิภาพท่ดีขึ้น จากการท่ได้ปฏิบัต ิ ๑.๓ อาวุธปล่อยน�าวิถีพื้นสู่พื้น




ราชการมาเปนระยะเวลานาน และได้รบความนิยมในการ ๑.๔ ปืน ๗๖/๖๒ มิลลิเมตร และ





ใชงานของ ๓ ประเทศ อกทงยงเปนเรอเอนกประสงคทใช ้ ๑.๕ ปืนกล ๓๐ มิลลิเมตร





งานได้อย่างคล่องตัว สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามภารกิจ ๒. คณะกรรมการอานวยการ (จก.อร.เป็นประธาน)

ท่ผู้ใช้งานต้องการ ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ ซ่งถือได้ว่าเป็น โดยสายการบังคับบัญชาย่อยออกเป็น ๒ คณะคือ






เรือพ่เรือน้องของเรือในชุดน ลาล่าสุดท่มีการปรับปรุง ๒.๑ คณะกรรมการสร้างเรอ (ผอ.อรม.อร.เป็น



เรือให้มีประสิทธิภาพสูงสุดในด้านการรบยุทธวธีเรือผิวนา ประธานฯ) ซ่งมีคณะอนุกรรมการย่อย ๔ คณะ ประกอบด้วย



นาวิกศาสตร์ 8
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


๒.๑.๑ คณะอนุกรรมการฝ่ายตัวเรือ ตัวเรือ (Hull Production) การควบคุมกระบวนการ
๒.๑.๒ คณะอนุกรรมการฝ่ายกลจักร สร้างเรือ (Process Control) การรายงานความก้าวหน้า


๒.๑.๓ คณะอนุกรรมการฝ่ายไฟฟ้า ประจาเดือน (Progress Report) การติดต่อประสาน
๒.๑.๔ คณะอนุกรรมการฝ่ายควบคุมคุณภาพ งานกับฝ่ายต่าง ๆ เช่น ฝ่ายควบคุมคุณภาพ การติดตั้ง


๒.๒ คณะกรรมการติดต้งระบบการรบ และบูรณาการ ระบบอาวุธ การติดต้งระบบควบคุมบังคับบัญชา และ


ระบบการรบ (จก.อล.อร.เป็นประธานฯ) ซ่งมีคณะ ตรวจการณ์ รวมถึงบริษัทเอกชนท่มีการว่าจ้างงานภายใน
อนุกรรมการย่อย ๔ ระบบ คือ โครงการ เป็นต้น ทุก ๆ ปัญหาของกระบวนการสร้างเรือฯ


๒.๒.๑ ระบบควบคุมบังคับบัญชาและตรวจการณ์ จะถูกส่งมายัง สนง.ตกก.๒ เพ่อทาการแก้ไขปัญหาให้

๒.๒.๒ ระบบควบคุมการยิง งานน้น ๆ สามารถดาเนินการต่อไปได้ โดยจะต้องไม่ทาให้



๒.๒.๓ ระบบอาวุธปล่อยน�าวิถีพื้นสู่พื้น เกิดการล่าช้าของแผนงานหลัก (Master Plan) ท่วางไว้

๒.๒.๔ ระบบปืน ๗๖/๖๒ มิลลิเมตร ด้วยสาเหตุใด ๆ ก็ตามท่ทาให้แผนงานหลักถูกปรับเปล่ยนไป


และ ปืนกล ๓๐ มิลลิเมตร โดยอาจมีการขยายเวลาของแผนออกไป จะได้รับการ


งบประมาณโครงการเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ลาท ๒ น ี ้ อนุมัติจากประธานคณะกรรมการบริหารโครงการจัดหา



ใช้งบประมาณ ประมาณ ๕,๔๙๗.๙๓ ล้านบาท (รายละเอียด เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ลาท ๒ (เสธ.ทร.) น่นหมายถึง


ตามรูป งบประมาณโครงการเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง เกิดจากการกล่นกรองจากผู้บังคับบัญชาระดับสูงแล้ว





ล�าที่ ๒) โดยแบ่งการจัดหาออกเป็น ๒ ระยะ คือ ระยะที่ ความล่าช้าเหล่าน้นเป็นส่งท กองทัพเรือไม่ต้องการให้
๓/๑ จดหาเฉพาะระบบตวเรือ ๒,๘๔๗.๙๓ ล้านบาท เกิดข้น แต่มีการปรับเปล่ยน และเปล่ยนแปลงเพ่อให้









ระยะ ๓/๒ ระบบควบคมบงคบบญชาและตรวจการณ์ เหมาะสมกับ หลักการ เหตุผล และเวลาเพ่อให้งาน


และระบบอาวุธ ๒,๖๕๐ ล้านบาท ซ่งงบประมาณดังกล่าวอย ู่ แล้วเสร็จ และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด


ในแผนการจัดหาเรอตรวจการณไกลฝังของกองทัพเรือ โดย


มีวัตถุประสงค์ในการจัดหา คือ จัดหาเรือตรวจการไกลฝั่ง

ทดแทนเรือท่มีแผนปลดระวางประจาการ โดยมีขีดความ

สามารถในการใช้อาวุธปล่อยนาวิถีพ้นระยะขอบฟ้า



พร้อมท้งสามารถนาเฮลิคอปเตอร์ไปกับเรือได้ โดยแบ่ง


แผนการดาเนินการจัดหาเป็น ๒ ระยะ คือ ระยะท ๓ (๓/๑

และ ๓/๒ ) ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ – ๒๕๖๑ จัดหา ๑ ล�า
ทดแทน ร.ล.ตาปี ระยะท ๔ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔ ภาพแสดงการด�าเนินการในส่วนต่าง ๆ ของโครงการ


จัดหา ๑ ล�า ทดแทน ร.ล.คีรีรัฐ (ระยะที่ ๔ ยังไม่มีการ
อนุมัติงบประมาณจาก ทร.)



สานักงานสร้างเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ลาท ๒ (สนง.



ตกก.๒) หัวใจหลักของการสร้างเรือลาน จะปฏิเสธไปไม่ได้



เลยวาการประสานงานทงหมดของทงสญญา ๓/๑ สญญา







๓/๒ และสัญญาท่กองทัพเรือทากับ บอท. ผู้เขียนมีโอกาส



ท่ดีมากท่ได้มีส่วนร่วมในโครงการน ปฏิบัติหน้าท่ใน สนง.


ตกก.๒ และได้รับมอบหมายให้ดูแลในส่วนของการสร้าง ภาพแสดงงบประมาณโครงการเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ล�าที่ ๒
นาวิกศาสตร์ 9
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓






การด�าเนินการของ บริษัท อู่กรุงเทพ จ�ากัด (บอท.) ในข้อกาหนดตามมาตรฐานท LR ได้กาหนดไว้
ในฐานะคู่สัญญาของกองทัพเรือ ได้ท�าสัญญา ณ บก.ทร. นอกจากต้องมีการตรวจสอบในข้นตอนสุดท้ายของแต่ละ



เมอวนท ๑๗ กนยายน พ.ศ.๒๕๕๘ โดยมข้อตกลง กระบวนการประกอบบล็อกตัวเรือ (Subordinate, Unit









กับกองทัพเรือ ว่า บอท.เป็นผู้ส่งแบบ และพสดสาหรบ Assembly) และการต่อบล็อกตัวเรือเข้าด้วยกัน (Block


สร้างเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง จานวน ๑ ลา พร้อมเคร่องจักร Erection) แล้ว LR ยังบังคับให้ผู้ปฏิบัติงานต้องม ี

อุปกรณ์ อะไหล่ เคร่องมือ ส่วนสนับสนุน สายไฟ และ ใบ Certificated ตามกระบวนการต่าง ๆ กล่าวคือ




สายสัญญาณท่ใช้กับอุปกรณ์ ท่กองทัพเรือเป็นผู้จัดหา ช่างเช่อมต้องผ่านการสอบ (WQT : Welder Qualification
(Government Furnished Equipment : GFE) รวมถึง Test) โดยสถาบันท่ได้รับการยอมรับจาก LR และ จนท. จาก



การบริการทางเทคนิคในการออกแบบติดต้ง เช่อมต่อ LR สามารถตรวจสอบการสอบและผลสอบได้ (Witness)
การตรวจรับ การทดสอบ ทดลองอุปกรณ์การฝึกอบรม เพ่อรับรองช่างเช่อมในโครงการท้งหมด ท้งช่างเช่อม






การสนับสนุนการส่งกาลังบารุงรวมเป็นต้น โดยส่งมอบ ของกองโรงงานเรือเหล็ก อู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช


แบบแปลนรายละเอียด สาหรับการสร้างเรือและพัสด ุ กรมอู่ทหารเรือ (กรล.อรม.อร.) และบริษัทผู้รับเหมา




อปกรณ์ท่ใช้ในการสร้างเรอในลักษณะ Package Deal นอกกองทัพเรือ รวมถึงการออกบัตรประจาตัวช่างเช่อม




และอ่น ๆ ท่เก่ยวข้องให้ กองทัพเรือดาเนินการสร้าง หรือ Welder Card เพ่อระบุตัวตนผู้สอบผ่าน และ


เรอตรวจการณ์ไกลฝั่งให้เพียงพอและสอดคล้องกับ วิธีการเช่อมจะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน Standard


แผนงานสร้างเรือ (Ship Construction Plan) รวมท้งส่งมอบ Welding Code Steel AWS D1.1M 2006 (ผนวก


แบบรายละเอียดท่ใช้ในการสร้างเรือจริง As Built Drawing) ๑๙ แนวทางการสรางเรอ หน้า ๔๓) ได้รับการรบรองโดย






โดยใช้แบบเรือ ร.ล.กระบ เป็นแบบพ้นฐานในการปรับเรือ LR ในส่วนของการตรวจสอบแบบไม่ทาลาย (NDT) ของ

การส่งมอบแบบและพัสด โดยแบบเรือดังกล่าวมีต้นแบบ กองควบคุมคุณภาพอู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่

มาจากแบบเรือของบริษัท BAE Systems Surface Ship ทหารเรือ (กคภ.อรม.อร.) จนท.ต้องได้รับการอบรม
จากัด สหราชอาณาจักร ซ่งเป็นผู้ขายได้ลิขสิทธ์ในการใช้ Certificated ระดับ ๒ ในทุกกระบวนการ MT PT VT





แบบเรือดังกล่าว โดย บอท. ระบุอีกว่าสิ่งของที่ขายตาม RT และ UT ส่วนการตรวจสอบในข้นตอนสุดท้ายท่ใช้
สญญาจะต้องเป็นของแท้ ของใหม่ไม่เคยใช้งานมาก่อน กระบวนการ RT หรือ X-Ray นั้น ทางโครงการใช้บริษัท


และไม่เป็นของเก่าเก็บ จนกระท่งส่งมอบ ณ อู่ราชนาว ี จากภายนอก (Third Party) เป็นผู้ตรวจสอบ ซ่งมีใบ



มหิดลอดุลยเดช อร. (อรม.อร.) และในสัญญาดังกล่าว Certificated จากสถาบัน ท่น่าเช่อถือเป็นผู้รับรองให้เท่าน้น

ยังมีเอกสารแนบท้ายสญญาซงมีรายละเอียดในการสร้างเรือฯ มีการรับรองกระบวนการเช่อม WPS : Welding





มีท้งส้น ๓๑ ผนวก (Annex) Procedure Specification ในโครงการ โดย WPS

มาตรฐานงานสร้างเรือ จะระบุวิธีการเชื่อม การใช้กระแสไฟในการเชื่อม การใช้

การออกแบบและการสร้างเรือฯ น้นต้องเป็นไปตาม ลวดเช่อม ความเร็วในการเช่อม ระยะห่างและมุมบากใน





มาตรฐานของสมาคมจัดช้นเรือ (Classification Society ) การรองรับการเช่อมระหว่างแผ่นเหล็ก เป็นต้น ซ่ง WPS น ้ ี


และ บ.BAE System โดยใช้สมาคมจัดชั้นเรือ Lloyd’s มีตราประทับจาก LR เพ่อเป็นหลักในการอ้างอิงการเช่อม

Register (LR) เข้ามาตรวจสอบไม่ตากว่า ๖๐ คร้ง (Visits) รวมถึงเป็นการรักษามาตรฐานการเช่อมให้งาน





แบบในการสร้างจะได้รับการอนุมัติจาก LR และ บ.BAE ออกมาดีท่สุด บริเวณท่มีการเช่อมจะต้องได้รับการ





System ท้งน้จะเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้เรือ จัดการช้นงาน และอุปกรณ์รวมถึงอุปกรณ์นิรภัยประจาตัว

โดยกองทัพเรือ ของผ้ปฏบัตงาน ให้เป็นระเบยบและปลอดภัยอย่เสมอ




นาวิกศาสตร์ 10
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓






เพราะความปลอดภัยมีความสาคัญต่อชีวิตผู้ปฏิบัต ิ โครงการเรอตรวจการณ์ไกลฝั่ง ลาท ๒ ได้นา





งานมาก รวมถึงเป็นส่งท่บ่งบอกถึงมาตรฐานในการ เทคโนโลยีท่มาใช้ในกระบวนการควบคุมคุณภาพ ท้งการ

จัดการโครงการน นอกจากน้แล้วยังมีการติดป้าย ใช้การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ (Tribon) การตัด



ประกาศท่ประกอบไปด้วย WPS และแบบต่าง ๆ ของงาน แผ่นเหล็กด้วยเคร่องตัด CNC การตรวจสอบกระบวน




ท่กาลังปฏิบัติอยู่ รวมถึงป้ายคาเตือนความปลอดภัย การประกอบ (Fit np) สามารถตรวจสอบกลับได้ง่าย

ู่



เพ่อให้ผู้ปฏิบัติงานระลึกถึงกระบวนการในส่งท่ทาอย และ การทดสอบแบบไม่ทาลาย (NDT) ด้วยวิธ VT MT PT RT



ความปลอดภัยท่ต้องมาเป็นอันดับแรก มีการติดบัตรช่าง และ UT ซ่งนามาใช้ท้งหมดในโครงการน ถือได้ว่าเป็นไป






เชื่อม หรือ Welder Card ที่ผ่านการทดสอบตาม WQT ตามมาตรฐานสากลท่ท่วโลกให้การยอมรับ เนื่องจากการ



ไว้อีกด้วย เพ่อป้องกันการนาช่างเช่อมท่ไม่ได้ผ่านการ บังคับใช้มาตรฐานที่ LR ก�าหนด ส่วนเทคโนโลยีปัจจุบัน







ทดสอบมาปฏิบัติงาน อุปกรณ์ทใช้งานต้องได้รับการ ท่จะนามาใช้แพร่หลายในอนาคต ผู้เขียนคิดว่าเป็นการ







ตรวจสอบใหมมาตรฐาน กลาวคอ ตองมการวดเทยบหรอ ทดสอบแบบไม่ทาลายโดยวิธ Phased Array Ultrasonic






การ Calibration จะได้รับการตรวจสอบจาก กคภ.อรม. Test : PAUT คล่นเสียงความถ่สูงแบบจัดเรียงเฟส



อร. เพ่อให้ม่นใจได้ว่าอุปกรณ์ทุกช้นได้มาตรฐาน เช่น (PAUT) ถกนามาใช้ในโครงการนเพอตรวจหาความ








ตเชอม ตลบเมตร กลอง Total Station เปนต้น ถาอปกรณ ์ บกพร่อง (Flaw) ของส่วนประกอบในโครงสร้าง และ









น้น ๆ ผ่านเกณฑ์ก็ให้มีสติกเกอร์รับรองติดท่อุปกรณ์น้น ๆ งานท่อ เช่น รอยแตก รอยร้าว การตรวจสอบความ



ไม่ต่อเน่อง (Discontinuity) ของงานเช่อม การวัดความหนา

การตรวจสอบการสึกกร่อน เป็นต้น ระบบคล่นเสียง
ความถ่สูงแบบจัดเรียงเฟสใช้หัวตรวจท่มีส่วนประกอบ



หลากหลาย ซ่งถูกกระตุ้นโดยลาพังภายใต้การควบคุม

ภาพแสดงการประกอบบล็อกตัวเรือ (Block Erection) เข้าด้วยกัน
ภายในอู่แห้ง
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ หัวตรวจ PAUT ประกอบไปด้วย

ตัวแปรสัญญาณคล่นความถ่สูงอันขนาดเล็กจานวนมาก


แต่ละอนสามารถสนได้เองโดยลาพง และสร้างลาแสง








โฟกัสของคล่นเสียงความถ่สูง โดยการกระตุ้นส่วน




ภาพแสดงการประกอบบล็อกตัวเรือ (Block Erection) เข้าด้วยกัน ประกอบแต่ละช้นในลักษณะท่ถูกควบคุมลาแสงของคล่น


ภายในอู่แห้ง เสียงความถ่สูง สามารถใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์นาทาง
นาวิกศาสตร์ 11
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓





และใช้กวาดหาเหมอนเป็นไฟค้นหาผ่านโลหะ หรอวตถ ุ จะเรียกว่า ใบ Request For Inspection (RFI) ส่วน

ท่ถูกตรวจสอบ วิธีการน้จะสร้างมุมมองสอง และสามมิต ิ จนท.จาก LR จะมาตรวจสอบท้ายท่สุดในส่วนของ



ท่แสดงขนาด และตาแหน่งของรอยร้าวท่ตรวจพบใน โครงสร้างตัวเรือ ระบบขับเคล่อน และระบบไฟฟ้า








มมมองแบบเป็นแผ่นบางผ่านวตถ เพราะเราสามารถ ซ่งใบ RFI น้จะมีผลต่อการตรวจรับงานว่าจ้างในโครงการน ้ ี

















ควบคม และบงคับมม และโฟกัสของลาแสงได วธีนจงมี ทาให้มนใจได้ว่า ร.ล.ประจวบครขันธ์ จะเป็นเรอทได้



ประสิทธิภาพมากในแง่ของความเร็ว และการตรวจหา รับการตรวจสอบคุณภาพทเข้มข้นรัดกุม ซงถือได้ว่า

รอยร้าว กระบวนการควบคุมคุณภาพมีประสิทธิภาพเป็นไปตาม
มาตรฐานสากล เพื่อประโยชน์สูงสุดของกองทัพเรือ

จากการท่ใช้มาตรฐานของ LR มากาหนดมาตรฐาน



ในการสร้างเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ลาท ๒ น้จาเป็นจะ



ต้องมีการ Shipyard Standard รวมถึง Facility ของ
อู่เรือ โดยกรมอู่ทหารเรือต้องพัฒนาศักยภาพให้ได้ตาม
มาตรฐาน Shipyard Standard ซึ่งประกอบด้วยสาขา


ภาพแสดงการวัดความลึกของช้นงานจากเคร่อง PAUT ความลึกจาก ตัวเรือ กลจักร ไฟฟ้า และการควบคุมคุณภาพ เม่อม ี


พื้นผิว ๕.๑๓ มิลลิเมตร การดาเนินการจัดทา Shipyard Standard ข้นมาแล้วต้อง





การควบคุมคุณภาพมิติของเรือ (Accuracy Control) มีการนาไปใช้งานในการต่อเรือลาต่อ ๆ ไปท่กองทัพเรือจะ
เร่องน้อาจเป็นของใหม่สาหรับใครหลาย ๆ คน แต่การตรวจ สร้างข้น รวมถึงส่งอานวยความสะดวก (Facility) ของอู่เรือ






สอบมิติของตัวเรือได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีโดยตรงจาก ที่ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพดีกว่าที่เคยเป็น


โครงการเรือฟริเกตสมรรถนะสูง (ร.ล.ภูมิพลอดุลยเดช) มาตรฐานของบุคลากรท่เคยผ่านงานท่ได้รับการ
ณ อู่ แดวู ชิปบิวดิ้ง แอนด์ มารีน เอ็นจิเนียริ่ง (Daewoo รับรองจาก LR สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เอง จะท�าให้บุคลากร
Shipbuilding and Marine Engineering - DSME) ในกรมอู่ทหารเรือมีประสบการณ์ และเคยชินในการ


สาธารณรัฐเกาหล ถูกนามาใช้ในโครงการน้ในช่วงของ ทางานท่เป็นมาตรฐาน ในอนาคตต่อไปต้องบังคับใช้ให้



การประกอบบล็อกตัวเรือ (Block Erection) เข้าด้วยกัน ได้กบทกหน่วยในกรมอ่ทหารเรอ สร้างมาตรฐานของ






ในอู่แห้ง และการติดต้งระบบขับเคล่อน (Shaft กรมอู่ทหารเรือขึ้นมาเอง ให้มีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับ

Alignment) โดยใช้กล้อง Total Station เป็นหลัก มาตรฐานสากลหรือดีกว่า แล้วนาข้อบกพร่องท่มีอยู่

ในการตรวจสอบ (ซ่งในอดีตใช้กล้อง Thodolite) มาปรับแก้ และบันทึกไว้เป็นแนวทางการแก้ไขในอนาคต




ในการตรวจสอบ ซ่งทาให้ได้มิติเป็นไปตามมาตรฐาน การทางานอย่างจริงจัง อนาคตของกรมอู่ทหารเรือก็จะ



และเกณฑ์ททาง LR กาหนดไว้ โดยเฉพาะความยาว เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานตามสากล
ของตัวเรือตามมาตรฐานสามารถผิดพลาดได้ ๙๐ องค์ความรู้ใหม่ของศาสตร์การต่อเรือ
มิลลิเมตร แต่ ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ มีความยาวที่เกินมา ร.ล.ภูมพลอดุลยเดช ซงเป็นเรือฟริเกตสมรรถนะ




แค่ ๑๐ มิลลิเมตร หรือ ๑ เซนติเมตร จากความยาวเรือ สูงของกองทัพเรือไทยลาใหม่ล่าสุด ณ อู่ DSME
ทั้งหมด ๙๐,๕๐๐ มิลลิเมตร หรือ ๙๐.๕ เมตร หลาย ๆ ท่านได้สัมผัส และช่นชมการกลับมาเข้าประจาการ



งานควบคุมคุณภาพ โดย กคภ.อรม.อร. เป็นผู้ ของเรือรบไทยสัญชาติเกาหล กล่าวคือ การต่อ




ควบคุมการปฏิบัติ การด�าเนินการทุกอย่างที่ได้กล่าวไป ร.ล.ภมพลอดลยเดช ในสญญาได้ให้การถ่ายทอด
ทั้งหมด จะต้องมีหลักฐานในการตรวจสอบ โดยเอกสาร เทคโนโลยีการต่อเรือมาด้วย โดย อร. ได้ท�าการคัดเลือก
นาวิกศาสตร์ 12
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓






ผู้ท่มีคุณสมบัติตามท อร.กาหนด ส่งไปศึกษาตามสาขา กลับได้เห็นศักยภาพของ อรม.อร. ที่มีการบริหารจัดการ

วิชาต่าง ๆ ที่เรียกว่า On The Job Training (OJT) ณ อู่ ด้านความปลอดภัยรวมทั้ง Security ได้เป็นอย่างด ดังจะ

DSME ซ่งผู้เขียนเองได้มีโอกาสไปศึกษาในหัวข้อ Hull เห็นได้จากการที่ อรม.อร. ได้จัดท�าคู่มือความปลอดภัย
Production และข้อมูลท่ได้จากการศึกษาจะเปรียบ งานสร้างเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งข้นมาโดยเฉพาะ อีกท้ง



เสมือนท่ปรึกษาของโครงการต่อเรือ ตกก.๒ ในทุก ๆ ด้าน ยังได้กวดขันเร่องอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (PPE)


เพ่อเป็นข้อมูลในการประกอบการตัดสินใจของ สนง. เช่น หมวกนิรภัย แว่นนิรภัย ถุงมือนิรภัย รองเท้านิรภัย






ตกก.๒ เพ่อให้ได้แนวทางท่ดีท่สุด ท้งด้านเทคนิค และ และอุปกรณ์เฉพาะทางของแต่ละสาขาท่มาปฏิบัติงาน








วัสด ตัวอย่างเช่น การเลือกใช้แผ่นเหล็กของโครงสร้าง เปนตน ซงถาไมเปนไปตามขอกาหนดของความปลอดภย



ตัวเรือในโครงการต่อเรือ ตกก.๒ นี้ มีที่มาเดียวกันกับ จะไม่ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติงานน้น ๆ ในส่วนของการ

ร.ล.ภูมิพลอดุลยเดช คือ บริษัท พอสโค (POSCO) จาก ปฏิบัติงานภายในเรือ (ช่วงระยะเวลา Erection จนถึง
อุตสาหกรรมโพฮัง สาธารณรัฐเกาหลี เป็นต้น ส่งมอบเรือ) ผู้ปฏิบัติงานทุกคน (ไม่ยกเว้นผู้เยี่ยมชมเรือ)
สาหรับโครงการน้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีจาก จะต้องแลกบัตรก่อนลงไปปฏิบัติงานภายในเรือ ซ่งจะถูก



บ.BAE System อันประกอบด้วย การศึกษาดูงาน ตรวจสอบอุปกรณ์ PPE ก่อน เม่อปฏิบัติงานแล้วเสร็จ


ณ สหราชอาณาจักร ในส่วนของการออกแบบกระบวน จะต้องมาแลกบัตรคืน ท้งน้เพ่อเป็นการตรวจสอบให้แน่ใจ


การสร้างเรือทั้งหมดจนถึงสาธิตเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ใช้ใน ว่าไม่มีผู้ใดติดอยู่ภายในเรือ ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของ







การสร้างเรือ โดย บ.BAE System จัดให้ม On-Site ผ้ปฏบตงานทงหมด เป็นการยกระดบมาตรฐานในด้าน



Engineer มาเพ่อให้คาปรึกษาโครงการอย่างใกล้ชด ความปลอดภัยในการทางาน และจะเป็นบรรทัดฐานของ


(เป็นระยะเวลา ๓๖ เดือน) มีการจัดอบรมให้ความรู้เก่ยวกับ อร. ต่อไปในอนาคตอีกด้วย หน่วยงานท่รับผิดชอบใน



กิจกรรมท่สาคัญในกระบวนการสร้างเรือ รวมถึง On the ส่วนน คือ แผนกนิรภัยการช่างและความปลอดภัย



Job Training (OJT) ทุกระบบที่ติดตั้งในเรือโดยวิศวกร กองจัดการ อรม.อร.
ของบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์นั้น ๆ

ภาพการสวมใสอปกรณนรภยส่วนบคคล (PPE) ของ จนท.แผนกนรภย ั






มาตรการรักษาความปลอดภัย
ความปลอดภยในการทางานต้องมาเป็นท่หนึงเสมอ




(Safety First) หลังจากผู้เขียนกลับมาจาก OJT มีความ
คิดว่า ถ้ามีโอกาสกลับมาต่อเรือจะสนับสนุนให้มีการ

เข้มงวดกวดขันเร่องความปลอดภัย ซ่งเม่อโอกาสน้นมาถึง ภาพแสดงคู่มือความปลอดภัยงานสร้างเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง



นาวิกศาสตร์ 13
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓



การส่งเสริมอุตสาหรรมพาณิชยนาวี (EEC) กรมอู่ทหารเรือ และภาคเอกชนท่เข้ามามีส่วนร่วมใน

เศรษฐกิจเป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนา โครงการ มีประสบการณ์ในการสร้างเรือรบขนาดใหญ่



ประเทศไทย เพราะฉะน้นการเติบโตภายใต้โครงสร้างการ ท่มีความซับซ้อน และรายละเอียดการสร้างซ่งต้องใช้







พัฒนาที่เข้มแข็ง ซึ่งในช่วงหลายปีที่ผ่านมาประเทศไทย เทคนคเฉพาะ ซงมความแตกต่างกบเรอสนค้า หรอเรอ








ห่างหายจากการลงทุนโครงการใหญ่ ๆ มาหลายปี แต่วันน ี ้ พาณชยมาก ทาใหประเทศไทยมขดความสามารถในการ






แนวโน้มอุตสาหกรรมท่วโลก เร่มเปล่ยนทิศทางอีกคร้ง ต่อเรือรบเพ่มข้น สามารถพ่งพาตนเองได้อย่างสมบูรณ์


ซ่งในแต่ละประเทศมีการแข่งขันทางอุตสาหกรรมกัน ในอนาคตอันใกล้นี้
สูงมาก จึงเป็นปัจจัยส�าคัญที่ผลักดันให้ประเทศไทยต้อง


ยกระดับประเทศใหมเพื่อความอยูรอด และเพื่อเปนการ


สร้างความเจริญคร้งใหม่ของประเทศ ซ่งในปัจจุบัน

รัฐบาลได้วางนโยบายในการวาง โครงการพัฒนาระเบียง
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) ได้กลายเป็นการ

ลงทุนขนาดใหญ่ เพ่อยกระดับการพัฒนาประเทศไปสู่


ยค “ไทยแลนด์ ๔.๐” เพอให้ไปถงจดม่งหมายนน








จึงต้องมีการกาหนดเป้าหมายพ้นฐานนาร่อง ใน ๓ จังหวัด



คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุร และระยอง อีกท้งยังได้กาหนด



เป้าหมายอุตสาหกรรมท่ได้รับการส่งเสริมเพ่อให้เกิด ภาพแสดงแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรองรับการลงทุนใน EEC


การลงทุนอย่างเป็นรูปธรรม ท้งน้แผนการพัฒนาโครงสร้าง จากส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ

พ้นฐานท่เก่ยวข้องกับการส่งเสริมอุตสาหกรรม ความภาคภูมิใจ



พาณิชยนาวี คือ โครงการพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง ระยะ ปัจจุบัน กรมอู่ทหารเรือได้ทาการส่งมอบ


ท ๓ โครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ ให้กับกองทัพเรือ เม่อวันท ๒๗





ระยะท ๓ และการพัฒนาท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ โดยเฉพาะ กันยายน ๒๕๖๒ ณ ท่าเรือแหลมเทียน ฐานทัพเรือสัตหีบ

ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบน้น จะได้รับการส่งเสริมให้เป็น โดยได้รับมอบภารกิจแรก คือ การฝึกภาคทะเลของ
ท่าเรือสาหรับจอดเรือสาราญท่ทันสมัย ได้มาตรฐาน นักเรียนจ่า ในห้วง ก.พ. – มี.ค. ๖๓ และการฝึกภาคทะเล



ระดับโลก สามารถรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรม ต่างประเทศของนักเรียนนายเรือ ในห้วง มี.ค.- เม.ย.๖๓
ต่อเรือ และการประกอบแท่นขุดเจาะนามัน ซ่งหน่วยงาน นับเป็นความภาคภูมิใจท่เรือรบท่สร้างโดยคนไทย








ทเกยวข้อง คอ กองทพเรอ แนนอนวาการขยายทาเรอจะ ได้มีโอกาสไปอวดธงราชนาวีในต่างประเทศอีกคร้ง
















ทาให้มีการขนส่งสินค้าทางทะเลเพ่มมากข้น เรือพาณิชย์ ส่งท่คาดหวังเม่อเรือข้นประจาการแล้ว ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์




ที่จะเข้า - ออกประเทศไทย ก็จะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย จะเป็นเรือท่มีความสมบูรณ์แบบ ไม่เกดปัญหาใหญ่ท่ต้อง

ผลพลอยได้ท่จะตามมาก็คือ การซ่อม และสร้างเรือ ทาให้กลับมาแก้ไขอีก อย่างไรก็ตามการต่อเรือรบ



จะทาให้เกิดการจ้างงานเพ่มมากข้น องค์ความรู้ทางด้าน ท่มีความต่อเน่อง ทาให้เราได้เห็นความแตกต่างกัน





การต่อเรือ และสร้างเรือจะมีการพัฒนาต่อยอดได้ใน ของมาตรฐานท่สูงข้นตามลาดับ ประสบการณ์ของ









อนาคต จะทาให้ประเทศไทยมีศักยภาพพร้อมรองรับ ผ้ปฏิบตงานทสงขนจากการทมีการต่อเรออย่างต่อเน่อง






อุตสาหกรรมพาณิชยนาวีอย่างยั่งยืน ซึ่งโครงการต่อเรือ ซ่งสะท้อนการทางาน และผลลัพธ์ของโครงการน ้ ี





ตรวจการณ์ไกลฝั่ง (ตกก.๒) จะทาให้กองทัพเรือโดย ได้เป็นอย่างด ผู้เขียนมีข้อสังเกตว่าส่อสังคมออนไลน์
นาวิกศาสตร์ 14
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


ภาพเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ล�าที่ ๒ ขณะออกจากอู่แห้ง อรม.อร.
เมื่อวันที่ ๑๓ พ.ย.๒๕๖๑








ท่มีการพูดถึงโครงการน มีกระแสตอบรับท่ดีจากการ ทุก ๆ ท่านท่ได้มีส่วนร่วมในโครงการน คงจะมีความรู้สึก





สนทนาเก่ยวโครงการน อีกท้งยังให้การสนับสนุน ติดตาม ไม่ต่างกันกับผู้เขียน เพ่อสืบสานพระราชดารัสของ




ประชาสัมพันธ์โครงการอย่างกว้างขวาง ท้งน้เน่องมาจาก พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ความภาคภูมิใจที่มีร่วมกันในการสร้างเรือล�านี้ ที่คนไทย มหาราช บรมนาถบพิตร เรื่องการต่อเรือรบ ที่พระองค์
สามารถต่อเรือรบขนาดใหญ่ใช้เองได้ อีกทั้งยังท�าให้เกิด ทรงมีต่อกองทัพเรือ นามาสู่โครงการเรือตรวจการณ์

การจ้างงานในวงกว้างอีกด้วย ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ไกลฝั่งลาท ๒ ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ประกอบกับ



ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ จะได้รับเสียงตอบรับท่ดีจากผู้ใช้งาน พระปรีชาสามารถในด้านการต่อเรือ และกิจการนาว ี


และประชาชนท่วไปท่ติดตามข่าวสารของโครงการน ี ้ ของพระองค์ท่านท่ทรงเล็งเห็นถึงการสร้างเรือรบ


สาหรับผู้เขียนแล้วถือเป็นความภาคภูมิใจ และเป็นเกียรต ิ ใช้เอง และซ่อมบารุงได้เองอย่างมีประสิทธิภาพ










สงสดทได้มีโอกาสร่วมงานในโครงการน โดยเฉพาะ นามาสู่การพัฒนาตนเองอย่างย่งยืนของกรมอู่ทหารเรือ

ผู้เขียนซ่งเป็นชาวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์โดยกาเนิดได้ และกองทัพเรือ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อ


มีโอกาสสร้าง ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ มีความรู้สึกทุกคร้งเม่อ ข้าราชการกองทัพเรือ และบุคคลากรในอุตสาหกรรม

ได้เห็นช่อเรือ หรือเม่อข้นไปปฏิบัติงานบนเรือลาน ้ ี ต่อเรือในประเทศไทยอย่างหาที่สุดมิได้




เสมือนว่าได้ทางานอยู่ท่บ้านเกิด ทาให้เกิดความรู้สึกอบอุ่น “เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์ ความภาคภูมิใจของกรมอ ู่




และต้นตันเกินคาบรรยายท่ไม่สามารถพูดออกมาได้ รวมถึง ทหารเรือ กองทัพเรือ และประเทศไทย”


นาวิกศาสตร์ 15
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


อ้างอิง
HMS Forth : ที่มา
https://en.wikipedia.org/wiki/HMS_Forth_(P222)#/media/File:HMS_Forth_formally_gets_commis-

sioned_into_the_Royal_Navy_13042018_MOD_45164104.jpg
HMS Clyde : ที่มา
http://www.seaforces.org/marint/Royal-Navy/Patrol-Vessel/P-257-HMS-Clyde.htm
เรือชุด RB1 : ที่มา
http://www.seaforces.org/marint/Royal-Navy/Patrol-Vessel/River-class.htm
จุดก�าเนิดของเรือชุด River Class : ที่มา
https://www.naval-technology.com/projects/river_class/

การปรับปรุงเรือ RCB1 : ที่มา
https://www.savetheroyalnavy.org/improving-the-capability-of-a-future-opv-squadron-part-2/
คุณสมบัติเรือชุด RCB2 และราคา : ที่มา
http://ukarmedforcescommentary.blogspot.com/2014/10/opvs-that-come-with-lots-of-questions.html
เรือชุด River Class มีทั้งหมด ๑๔ ล�า : ที่มา
https://www.baesystems.com/en/product/offshore-patrol-vessels
การขึ้นระวางประจ�าการ HMS Forth : ที่มา
https://www.naval-technology.com/news/british-royal-navy-commissions-first-river-class-opv-hms-forth/
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อีอีซี : ที่มา https://www.eeco.or.th/โครงการ/การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน



การพัฒนาท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ : ท่มา https://www.eeco.or.th/โครงการ/การพัฒนาโครงสร้างพ้นฐานท่าเรือ
พาณิชย์สัตหีบ


แผนพัฒนาโครงสร้างพ้นฐานรองรับการลงทุนใน EEC จาก สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ : ที่มา http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6382




























นาวิกศาสตร์ 16
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


นาวิกศาสตร์ ๑๗
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


ป๊อปปี้ สีเลือด







ตอนที่ ๒ พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์





๑๐. รบกันที่อีปร์ครั้งแรก




การพ่ายแพ้ท่แม่นามาร์น (Marne) น้น ทาให้เยอรมันต้องเปล่ยนตัวแม่ทัพ จาก นายพลโมลเก้ เป็น นายพล





ฟัลเก้นไฮน์ (Erich von Falkenhyn) แผนการรบจึงได้เปล่ยนไปด้วย เม่อกาลังฝ่ายพันธมิตรยึดอยู่ทางปีกซ้าย


ด้านชายทะเล นายพล ฟัลเก้นไฮน์ จึงตกลงใจท่จะทะลวงแนวรบของพันธมิตรเสียก่อนท่จะต้งตัวติด และในท่สุดก็เลือก


โจมตีที่เมืองอีปร์ ซึ่งเป็นแนวรบของกองทัพอังกฤษ ที่เพิ่งเคลื่อนย้ายมาจากแม่น�้าเอสน์
การสู้รบในทุ่งฟลานเดอร์ส ได้อุบัติขึ้นแล้วเป็นครั้งแรกที่เมืองอีปร์ (Ypres)



วันท่ ๑๒ ตุลาคม ค.ศ.๑๙๑๔ เป็นวันเดียวกบท่กองทัพเยอรมันยึดเมืองลิล (Lille) ของฝร่งเศสได้ นายพล ฟัลเก้นไฮน์




ได้ส่งกาลังจานวนมหาศาลเข้าโจมตีเมืองอีปร์ โดยมุ่งหมายจะตีให้ถอยร่นไปทางช่องแคบ เพ่อเข้ายึดครองบริเวณ

ชายทะเล ตัดการลาเลียงทหารและยุทธสัมภาระจากอังกฤษ แต่เยอรมันต้องประสบความล้มเหลวท่จะเข้ายึด

และกวาดต้อนกองทหารพันธมิตร ณ ที่แห่งนี้
การรบครั้งแรกที่อีปร์นั้น เป็นการรบที่นองเลือดและทารุณ ทุกคนต้องการ “ชัยชนะ” ลืมนึกถึงค�าว่า “ตาย”
ทั้ง ๆ ที่ทหารที่จมอยู่ในโคลนก�าลังจะตาย บ้านเมืองพังพินาศ สถาปัตยกรรมสมัย Gothic ถูกท�าลายย่อยยับ ผู้คน
หนีกระเจิง ตึกรามบ้านช่องแปรสภาพเป็นกองอิฐ และซากหักพัง บ้านเมืองมีแต่เด็กก�าพร้า และแม่หม้ายคุ้มดีคุ้มร้าย
ซึ่งหมดทางหนี

อีปร์ เป็นเมืองแรกท่ระงมไปด้วยเสียงกร้วโกรธสาปแช่ง และเคียดแค้นต่อสงครามอันเลวร้าย น่าขนพอง

สยองเกล้า เป็นเคราะห์กรรมของเมืองอีปร์ ที่เป็นเมืองที่น่าพิสมัยทางการทหาร



ผู้คนล้มหายตายจากไปอย่างน่าเวทนา คล่นทหารเยอรมันในเคร่องแบบสีเทาทมึน ไหลหล่งเข้าหากระสุนปืนของ
ทหารอังกฤษ ขณะเดียวกัน ทหารอังกฤษที่ขดตัวซ่อนอยู่ในสนามเพลาะ ก็ถูกกระสุนปืนใหญ่ของเยอรมันยิงฉีกกระจุย
เป็นชิ้น ๆ

ตอนน้น ประเทศอังกฤษผลิตกระสุนปืนใหญ่ได้ เดือนละ ๖,๐๐๐ นัด อีกไม่ถึง ๑ ปีก็จะผลิตได้ถึง ๑,๒๐๐,๐๐๐ นัด




ต่อเดือน ฝร่งเศสก็จะผลิตอาวุธใหม่ข้นมาอีกเช่นเดียวกับฝ่ายเยอรมัน อาวุธและกระสุนเหล่าน้ ก็อาจจะนามาใช้ฆ่า
ผู้คนให้ล้มตาย และทุพพลภาพได้อีกเป็นล้าน ๆ คน และสามารถท�าให้เมืองชนบททั้งเมือง จมหายวับไปกับสงคราม
นาวิกศาสตร์ 18
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


นายพล ฟัลเก้นไฮน์ ผู้หญิงอังกฤษช่วยกันผลิตกระสุนปืนใหญ่
GERMAN CHIEF OF THE GENERAL STAFF

Erich Von Falkenhyn


คู่ต่อสู้ทั้ง ๒ ฝ่าย ต่างฝ่ายต่างก็กลัวกระสุนของข้าศึกด้วยกันทั้งคู่ ต่างฝ่ายต่างขุดสนามเพลาะลึกลงไป ลึกลงไป
ทุกที ขณะที่ขุดสนามเพลาะ ที่ตั้งปืนใหญ่ก็เพิ่มจ�านวนมากขึ้น การกระหน�่ายิงอย่างหนักหน่วงจากทั้ง ๒ ฝ่าย ท�าให้
ผืนแผ่นดินตอนกลาง ระหว่างแนวรบพรุนไปด้วยหลุมระเบิด หลุมโคลน มากมายมหาศาล ท�าให้ก�าลังทหารที่จะเข้า
ห�้าหั่นกันนั้น ต่อสู้กันอย่างแสนล�าบาก เมื่อบุกเข้าไปก็จะพบแต่ลวดหนามของข้าศึก และตรงนั้นเอง เขาก็จะถูกโขลก

ย่อยยับจากปืนกลที่ระดมยิงประสานกันอย่างหนาแน่น
ด้วยเหตุนี้ ทหารราบจึงไม่ได้ประชิดกับทหารราบ ไม่มีผลแพ้ชนะอย่างเด็ดขาด ณ ที่แห่งนี้ มีแต่ยันกัน อยู่ด้วย


การละเลงเลือด ทรมานด้วยกันท้ง ๒ ฝ่าย น่แหละคือ สงครามท่เขารู้จัก...หลุมโคลน...ตัวแมลง...หนูตัวอ้วน ๆ

ที่สมบูรณ์จากซากศพ...เป็นการต่อสู้ที่ไร้ประโยชน์ที่สุด เลวร้ายที่สุด ขณะนั้นสถานการณ์เช่นนั้น มันได้ครอบคลุมไป
ทั่วทุ่งฟลานเดอร์ส


มูลค่าของการรบคร้งแรกท่อีปร์ ก็คือ ทหารเยอรมัน ๑๓๐,๐๐๐ ศพ ทหารอังกฤษ ๖๐,๐๐๐ ศพ และทหารฝร่งเศส




พอ ๆ กัน ทหารบาดเจ็บประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ คน จากส่งเหล่าน้มิได้ทาให้แนวรบต้องเปล่ยนไปแต่อย่างใดเลย

นอกเสียจากว่า บรรดานายพลต้องการแต่เพียง “กระสุนมากขึ้น” เท่านั้น
นี่คือ การรบครั้งแรกที่ อีปร์



นาวิกศาสตร์ 19
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


CLOTH HALL แห่งเมืองอีปร์ สถาปัตยกรรมสมัยกลาง สร้างขึ้นในระหว่างปี ค.ศ.๑๒๐๑-๑๓๐๔





















CLOTH HALL แห่งเมืองอีปร์ กองอิฐในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ถูกทำาลายในระหว่างปี ค.ศ.๑๙๑๔-๑๙๑๘
(ภาพถ่ายในปี ค.ศ.๑๙๑๖)























CLOTH HALL แห่งเมืองอีปร์ ที่ซ่อมแซมแล้ว เมื่อปี ค.ศ.๒๐๑๑



นาวิกศาสตร์ 20
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


๑๑. อีปร์ รู้จักไอพิษเป็นครั้งแรกในการรบครั้งที่ ๒



เช้าวันหน่งในฤดูใบไม้ผลิของวันท่ ๒๒ เมษายน ค.ศ.๑๙๑๕ ณ เมืองอีปร์ วันน้นอากาศแจ่มใส ทหารฝ่ายพันธมิตร

พากันนั่ง นอน อาบแสงแดดยามเช้าอย่างเป็นสุข ลมอ่อน ๆ โชยพัดผ่านแนวรบมาจากด้านสนามเพลาะของฝ่ายทหาร

เยอรมัน พวกเขาได้ลืมความน่ากลัวน่าสยดสยอง และลืมรสชาติท่เกิดจากปืนใหญ่บิกเบอร์ธา (Big Bertha) ของเยอรมัน
เสียสิ้น ถึงแม้เพิ่งจะถูกโจมตีอยู่เมื่อไม่กี่วันมานี้ก็ตาม
แต่แล้วเมื่อได้เวลา ๕ โมงตรง เสียงปืนครกก็ค�ารามขึ้นท�าลายความเงียบสงบชั่วครู่นั้น เสียงหวีดหวิวของกระสุน
นัดนั้นดังขึ้นมาจากทางด้านแนวรบของฝ่ายเยอรมัน แล้วก็ระเบิดตูมปรากฏเป็นกลุ่มควันขึ้นที่บริเวณหมู่บ้านลังมาร์ค

(Langemarck) กลุ่มควันสีเขียว - เหลือง ผสมกลมกลืนกันเข้าแล้วม้วนตัวกล้งไปตลอดแนวรบเป็นระยะทางกว่า ๕ ไมล์
ทหารบางคนถึงกับหลงใหลในความงาม และสีสันอันน่าประหลาดของกลุ่มควันน้น ในขณะเดียวกัน ทหารบางคนก ็

รู้สึกหวาดกลัว
กลุ่มควันประหลาดนั้น ม้วนตัวต�่ามองดูคล้ายกับกลุ่มหมอกที่ต้องประกายแสงแวววาว แล้วก็พัดผ่านพวกทหาร
พันธมิตร นรกชัด ๆ มันท�าให้เขาส�าลักดิ้นทุรนทุราย ล้มตายอย่างทุกข์ทรมาน เกิดความโกลาหลอลหม่าน บ้างก็ตาย
ไปทีละน้อย ๆ พวกที่เหลือรอดมาได้ก็พิกลพิการ
เยอรมันได้นำาไอพิษมาใช้ในสงครามเป็นครั้งแรกที่เมืองอีปร์




อาวุธมหาประลัยท่เยอรมันนามาใช้ในการรบคร้งน้ คือ ไอพิษของธาตุคลอรีน ซ่งหนักกว่าอากาศ สามารถเร่ยราด



ไปตามพื้นดิน และสนามเพลาะ โดยลมพัดพา เมื่อทหารสูดเข้าไป ก็จะเกิดอาการส�าลัก และแสบนัยน์ตา ก๊าซคลอรีน
จะเป็นพิษต่อเยื่อบุทางเดินของลมหายใจ ตั้งแต่จมูกลงไปถึงปอด หายใจไม่ออก และตายไปในที่สุด ถ้ารอดตายมาได้
ก็หมายถึงระบบประสาทถูกท�าลาย
ทหารพากันทิ้งแนวรบหนีเตลิด ในที่สุดกองทัพเยอรมันก็เข้ายึดพื้นที่ได้ในระยะแรกนี้
อีปร์แหลกลาญแค่นี้ยังไม่พอ
























ปืนใหญ่บิกเบอร์ธา (Big Bertha) หน้ากากป้องกันไอพิษ
ของเยอรมัน ของทหารเยอรมัน






นาวิกศาสตร์ 21
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


การรบครั้งที่ ๒ ที่อีปร์ (ภาพเขียน)





































บทเรียนจากการรบครั้งที่ ๒ ที่อีปร์ ทำาให้ทหารฝ่ายพันธมิตรรู้จักการใช้หน้ากากป้องกันไอพิษ




นาวิกศาสตร์ 22
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


๑๒. ถล่มเยอรมันที่เมสซีน (Messines)



การสู้รบแบบนองเลือดท่ แวร์เดิง (Verdun) ชายแดนของประเทศฝร่งเศส ระหว่างวันท่ ๒๑ กุมภาพันธ์



ค.ศ.๑๙๑๖ – วันท่ ๑๘ ธันวาคม ค.ศ.๑๙๑๖ ทาให้ทหารฝร่งเศสถึงกับขวัญเสีย เกิดความหวาดกลัวต่ออานุภาพ
ของปืนใหญ่เฮาวิทเซอร์ (Howitzer) ๔,๐๐๐ กระบอกของฝ่ายเยอรมันที่ระดมยิงมายังป้อมแวร์เดิง ถึงกับเกิดจลาจล
ขึ้นในกองทัพ พยายามขัดค�าสั่งผู้บังคับบัญชา แต่แล้วก็ต้องทนสู้ ถึงแม้จะต้องดื่มปัสสาวะแทนน�้า และกินเนื้อม้าเน่า
เป็นอาหารแล้วก็ตาม ทั้งนี้ก็เพื่อต้องการรักษาป้อมแวร์เดิง ไว้ให้ได้นั่นเอง พลเอก เปแตง (General Henri Philippe
Petain) ผู้บัญชาการป้อมแวร์เดิง ได้สั่งแก่ทหารของเขาที่รบกับเยอรมันไว้ว่า
“THEY SHALL NOT PASS”

ในการรบที่แวร์เดิง มีศพทหารฝรั่งเศส และทหารเยอรมันรวมกันได้ ๑ ล้านศพ ฝรั่งเศสคงรักษาป้อมแวร์เดิงไว้ได้
และทหารเยอรมันก็ผ่านป้อมนี้ไปไม่ได้
พลเอก เซอร์ เฮก (General Sir Douglas Haig) แม่ทัพอังกฤษได้ทราบข่าวการเสียขวัญ และการจลาจลในกองทัพ
ฝรั่งเศส จึงมีความเห็นว่า ควรจะเปิดฉากการบุกเยอรมันครั้งใหญ่ ท�าการตีโต้ตอบเสียก่อนที่กองทัพเยอรมันจะบดขยี้
ทหารฝรั่งเศส
ชั่วระยะเวลา ๒ เดือน จากวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ค.ศ.๑๙๑๖ ถึงวันที่ ๑๔ กันยายน ค.ศ.๑๙๑๖ ในการรบที่แม่น�้า
ซอมม์ (Somme) ทหารปืนใหญ่อังกฤษใช้กระสุนปืนใหญ่ไป ๖.๕ ล้านลูก
ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.๑๙๑๗ กองทัพของอังกฤษท่ฟลานเดอร์ส โดยมีพลเอก เซอร์ เฮก เป็นแม่ทัพ ได้ม ี

แผนการณ์ที่จะกวาดล้างทหารเยอรมันให้หมดไปจากประเทศฝรั่งเศส และให้หมดไปจากสมรภูมิฟลานเดอร์ส บริเวณ






ชายฝั่งทะเลเหนือด้วย ท้งน้ เพ่อกาจัดฐานทัพเรือดานาของเยอรมันท่เมืองบรูก (Bruges) และยึดเมืองออสเทนด์ (Ostend)



กับเซบรูเก้ (Zeebrugge) เอาไว้ให้ได้ด้วย
แผนการณ์ระยะแรก คือ โจมตีแนวสันเขาเมสซีน (Messines ridge) ซึ่งเป็นส่วนที่ชันที่สุด อยู่ทางใต้ของเมือง

















อปร์ เมอจดการสาเรจแล้วจงบกตะลุยขนไปทางเหนอ การเตรยมการโจมตครงน ทางกองทพองกฤษได้เตรยมการ



ล่วงหน้าไว้อย่างรอบคอบ พิถีพิถันแล้ว เป็นเวลานาน
ในระหว่างนั้น กองทัพที่ ๒ ของอังกฤษในบังคับบัญชาของ เซอร์ เฮอร์เบิร์ต พลัมเมอร์ (Sir Herbert Plumer)
ได้ด�าเนินการท�าสงครามใต้ดิน (Underground War) โดยลอบขุดอุโมงค์เข้าไปใต้พื้นดินลึก ๒๕ – ๓๐ เมตร เป็นทาง
ยาวถึง ๘,๐๐๐ เมตร จนไปถึงบริเวณข้างใต้ที่ตั้งกองทหารเยอรมัน แล้วเอาดินระเบิดหนัก ๙๕,๐๐๐ ปอนด์ ยัดไว้
ในอุโมงค์นั้น พอถึงรุ่งเช้าวันที่ ๗ มิถุนายน ค.ศ.๑๙๑๗ เวลา ๐๓๑๐ ก็กดสวิทช์ไฟฟ้าระเบิดขึ้น มันเป็นการระเบิดที่






























ยงใหญ พลงขนจากใตพนดน ตรงกองทหารขาศก ทงดน ทงหน ทงทราย รวมทงมนษยในเครองแบบสเทาทอยทนนดวย









ปลิวว่อนข้นไปในอากาศ แผ่นดินส่นสะเทือนราวแผ่นดินไหว เปลวไฟจับท้องฟ้าแดงฉาน กลุ่มควันโขมง เสียงระเบิดดัง
กึกก้องได้ยินไปถึงกรุงลอนดอน ซึ่งอยู่ห่างออกไป ๑๖๐ กิโลเมตร (๑๐๐ ไมล์) ทหารเยอรมันตาย ๑๐,๐๐๐ คน และ
บาดเจ็บเกลอนกลาด ทรอดมาได้กหลงใหลเลอะเลือน พูดจาไม่เป็นภาษามนุษย์ และทหารกองทัพท ๒ ของเซอร์ พลัมเมอร์

















กเขาประจญบานทนท จบเชลยศกเยอรมนไดเปนพน ๆ คน กวาดลางขาศกออกจากบรเวณสนเขาเมสซนเปนผลสาเรจ










กองทัพเยอรมันต้องล่าถอยไป
นาวิกศาสตร์ 23
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


ปืนใหญ่ Howitzer ของเยอรมัน ยิงถล่มทหารฝรั่งเศสที่แวร์เดิง




































การรบที่แวร์เดิง




นาวิกศาสตร์ 24
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


พลเอก เปแตง เซอร์ เฮอร์เบิร์ต พลัมเมอร์

General Henri Philippe Petain Sir Herbert Plumer

THEY SHALL NOT PASS




































“จะผ่านแวร์เดิงได้ ก็ต้องข้ามศพข้าไปก่อน”

แล้วทหารเยอรมันก็ไม่สามารถข้ามศพทหารฝรั่งเศส ๒ คนนี้ไปได้



นาวิกศาสตร์ 25
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓




การรบที่แม่นาซอมม์


นาวิกศาสตร์ 26
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


พลเอก เซอร์ เฮก แม่ทัพอังกฤษ
General Sir Douglas Haig




































ถล่มเยอรมันที่เมสซีน




นาวิกศาสตร์ 27
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


๑๓. อีปร์แหลกอีกเป็นครั้งที่ ๓
หลังจากการสู้รบที่เมสซีนแล้วอากาศก็เริ่มร้อนจัด ท้องฟ้าปราศจากเมฆหมอก แผนการตีโต้ตอบครั้งยิ่งใหญ่ของ
พลเอก เซอร์ เฮก ก็เริ่มขึ้นในวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ค.ศ.๑๙๑๗ นับเป็นการสู้รบครั้งที่ ๓ ที่ อีปร์ ก�าลังทหารของอังกฤษ
แข็งแกร่งที่สุด ฝึกไว้อย่างเยี่ยมที่สุดที่เคยรบมา บรรดาอาวุธยุทโธปกรณ์ก็ได้สะสมเอาไว้กองเป็นภูเขาเลากา สิ่งต่าง ๆ
เหล่านี้เตรียมไว้เพื่อการบุกครั้งนี้โดยเฉพาะ กองทัพอังกฤษเข้าโจมตีพร้อม ๆ กันทั้ง ๘ แห่ง อย่างดุเดือด รุนแรง และ
กล้าหาญ กองทหารปืนใหญ่ระดมยิงอย่างหนักหน่วงป่นแผ่นดินเป็นผุยผง บดขยี้สนามเพลาะของเยอรมันแหลกลาญ
หกสัปดาห์ต่อมา กองทัพอังกฤษก็รุกคืบหน้าไปได้ ๕ ไมล์ และนับตั้งแต่นั้นมาอากาศก็เปลี่ยนแปลง ฝนเริ่มเทลงมา



อย่างหนักสู่ยุทธภูมิทุ่งฟลานเดอร์ส หลุมระเบิดทุกหลุม กลับเต็มเปี่ยมไปด้วยนา และในไม่ช้าสนามรบก็แปรสภาพ


เป็นทะเลโคลนเหม็นเน่าคลุ้ง การลาเลียงเป็นไปอย่างทุลักทุเลเต็มทน กระสุนปืนและยุทธสัมภาระต้องขนข้นบน





















หลงมา ทงคน ทงมา - ลา และรถถง จมอยในโคลน บางก็ล้มตาย หายไปในนา อยกนอยางส้นหวง กองทหารชางตองสราง




ถนนช่วคราวข้น โดยใช้แผ่นไม้กระดานปูบนพ้น บางทีก็ใช้ไม้กระดานทอดข้ามหลุมบ่อ เพ่อให้มีประสิทธิภาพในการรบ

ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้
“สมรภูมิ ฟลานเดอร์ส กลายเป็นปลักนรก”



ในท่สุดก็ต้องอาศัยโชคจากเทวดาฟ้าดินเข้าช่วย ในการรบท่เมืองเมแนง (Menin) วันท่ ๒๐ – ๒๕ กันยายน
ค.ศ.๑๙๑๗ และในการรบท่ป่าอาร์กอน (Argonne) วันท่ ๒๖ กันยายน – ๓ ตุลาคม ค.ศ.๑๙๑๗ ก็สามารถ



สู้รบกันได้ท่ามกลางผงฝุ่นท่ตลบจนมองแทบไม่เห็นตัว ถึงแม้ฝนโปรยปรายลงมาบ้าง แต่ผืนแผ่นดินก็ยังอยู่

ในสภาพท่ดเพราะถึงฤดใบไม้ผลแล้ว การสู้รบในช่วงสดท้ายอย่ในระหว่างวนท ๒๖ ตลาคม – ๖ พฤศจิกายน










ค.ศ.๑๙๑๗ จบลงท่หมู่บ้านแห่งหน่งช่อปาซองเดล (Passchendaele) และนับเป็นการสู้รบคร้งท่ ๓










ท่เมืองอีปร์ด้วย เหตุน้จึงเรียกการสู้รบคร้งท่ ๓ ท่เมืองอีปร์น้ว่า “การรบท่ปาซองเดล” ความสูญเสีย




ครั้งนี้นาความขมข่นมาสู่ท่านแม่ทัพ พลเอก เซอร์ เฮก เป็นอย่างย่ง ทหารอังกฤษตายไป ๒๔๐,๐๐๐ คน
ฝ่ายทหารเยอรมันตายพอ ๆ กัน และถูกจับเป็นเชลยศึก ๓๗,๐๐๐ คน ตลอดเวลา ๔ เดือนที่สู้กัน ยังตัดสินไม่ได้ว่า
ใครแพ้ใครชนะ เพียงแต่ได้ผืนแผ่นดินคืนมานิดเดียวเท่านั้นเอง เมืองอีปร์สมกับเป็น
“เมืองมรณะจริง ๆ”
การรบที่ปาชองเดล
นาวิกศาสตร์ 28
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


อีปร์แหลกเป็นครั้งที่ ๓




นาวิกศาสตร์ 29
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


ปลอกกระสุน ที่ทหารปืนใหญ่ของฝรั่งเศสยิงไป ๒.๗ ล้านนัด
ในการรบที่อาราส เมื่อเดือน เมษายน ค.ศ.๑๙๑๗


































การรบที่อาราส




นาวิกศาสตร์ 30
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


พลเอก ลูแดนดอร์ฟ
GERMAN GENERAL Erich Ludendorft



๑๔. การรบที่ลุ่มแม่นาลีส์


แผนการรบในปี ค.ศ.๑๙๑๘ ของฝ่ายเยอรมัน เป็นแผนของ พลเอก ลูแดนดอร์ฟ (General Erich Ludendorft)

นายพลลูแดนดอร์ฟ มีความเห็นว่า จะต้องตีฝ่าทางด้านแนวรบของอังกฤษ ทาให้เกิดช่องโหว่ข้นเสียก่อน แล้วจึงส่งกาลัง


เข้าไปยึดหัวหาด บริเวณช่องแคบอังกฤษ ต่อจากนั้น จะข้ามช่องแคบไปท�าลายประเทศอังกฤษให้ออกจากสงครามไป
เสียก่อน แล้วจึงหันกลับมาเผด็จศึกกับประเทศฝรั่งเศสในภายหลัง เยอรมันได้จัดตั้งกองพลพิเศษขึ้นเพื่อใช้ส�าหรับบุก

อังกฤษโดยเฉพาะ คัดเลือกแต่บรรดาทหารหาญท่มีร่างกายแข็งแรงบึกบึนท่สุด กระหายสงครามท่สุด เรียกกองพล


นี้ว่า “กองพลพายุ” (STORM TROOPER, STURMTRUPPEN) ใช้ในการเข้าจู่โจมเป็นหน่วยแรก เพื่อหาก�าลังที่เป็น


จุดอ่อนของอังกฤษ แล้วเข้าตีและทาลายกองทหารปืนใหญ่ของอังกฤษ อาวุธของกองพลพายุมีท้งหน้ากากป้องกัน
ไอพิษ ปืน MAUSER KAR 98AZ ปืนกลมือ BERGMANN MP18/1 (SUBMACHINE - GUN) ลูกระเบิดมือ (STICK GRENADE)


มีดพกใช้ในการต่อสู้ตัวต่อตัวกับข้าศึกเม่อเผชิญหน้ากันในสนามเพลาะ แผ่นป้ายติดเส้อรูปหัวกะโหลกกระดูกไขว้

(DEATH’S HEAD BADGE) แผนโจมตีครั้งน้เรียกว่า “แผนไมเคิล” (Michael) เลือกโจมตีจุดอ่อนท่สุดของ

กองทัพพันธมิตรที่ลุ่มแม่น�้าซอมม์ (Somme) ซึ่งมีพลตรี เซอร์ เกาจ์ (General Sir Hubert Gough) เป็นแม่ทัพที่ ๕

นาวิกศาสตร์ 31
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓




ก่อนเวลา ๐๕๐๐ ของวันท่ ๒๑ มีนาคม ค.ศ.๑๙๑๘ ฝ่ายเยอรมันก็เร่มเบิกทางด้วยการสาดกระสุนเข้าใส่ด้วยปืนใหญ่




ไม่ตากว่า ๖,๐๐๐ กระบอก ติดตามด้วยไอพิษ หวังบดขย้ และทาลายสนามเพลาะของฝ่ายพันธมิตรให้เป็นผุยผง ฝ่ายอังกฤษ

ยิงโต้ตอบด้วยปืนใหญ่ ๒,๕๐๐ กระบอก ทาให้ยุทธบริเวณมืดมัวไปด้วยควันปืน และไอพิษ กว่าทหารอังกฤษ
ในแนวหน้าจะมองเห็นตัวข้าศึก ก็ถูกทหารพายุ ล้อมจับและพ่ายแพ้ไปในท่สุด “แผนไมเคิล” ทาให้



กองทัพเยอรมันบุกเข้าไปจนถึงใกล้เมืองอามีนส์ (Amiens) ของฝร่งเศส การรบได้ยุติลงเม่อวันท่ ๕ เมษายน ค.ศ.๑๙๑๘


และแล้วการไล่ต้อนทหารอังกฤษก็ได้หยุดชะงักลงอย่างน่าประหลาด โดยไม่ทันที่จะยึดเมืองอามีนส์ ๓ ปีเศษที่รบกัน


อยู่แต่ในสนามเพลาะ ได้ทาให้ทหารเยอรมันเบ่อสงคราม ถึงแม้เยอรมันจะมีชัยในคร้งน้ แต่ก็อาจกล่าวได้ว่า แผนไมเคิล








ไม่ประสบผลสาเร็จเท่าใดนัก เพราะชัยชนะเหนือพ้นท่อันว่างเปล่าของฝร่งเศส ๑,๒๕๐ ตารางไมล์น้น ทาให้ยืดแนวรบ
ของเยอรมันออกไปอีกถึง ๕๐ ไมล์ และไม่สามารถบดขย้กองทัพอังกฤษได้สมหวัง ในสัปดาห์ต่อมา นายพล ลูแดนดอร์ฟ

จึงได้วางแผนบุกแบบสายฟ้าแลบอีกเป็นค�ารบสอง คือ เปิดการโจมตีกองทัพอังกฤษผู้ที่เคยพ่ายแพ้มาแล้วที่เมืองอีปร์
สนามรบเก่าแก่และด้งเดิมแห่งทุ่งฟลานเดอร์ส แผนการบุกคร้งน้เรียกว่า “แผนยอร์ซ” (Operation George) แต่เพ่อ




ความเหมาะสมกับแผนการใหญ่โตที่วางไว้ จึงเรียกชื่อใหม่ว่า “แผนยอร์ซเยท”(Operation Georgette) ชาวอังกฤษ
เรียกการรบครั้งนี้ว่า การรบที่ลีส์ (Lys) ซึ่งเป็นชื่อของแม่น�้าที่อยู่ทางเหนือของแม่น�้าซอมม์ (Somme) และอยู่ทางใต้
ของเมืองอีปร์ นายพล ลูแดนดอร์ฟ เลือกโจมตีที่แนวรบของอังกฤษตรงนี้ก็เพราะเห็นว่าเป็นจุดที่อยู่ใกล้กับช่องแคบ
อังกฤษ ถ้ากองทัพเยอรมันขย้กองทัพอังกฤษท่น่ได้ก็จะทาให้ใกล้เมืองท่าต่าง ๆ ท่ช่องแคบเข้าไปอีก ดีกว่าท่เมืองอามีนส์






เสียอีก วันที่ ๙ เมษายน ค.ศ.๑๙๑๘ ได้เปิดฉากการรบด้วยการระดมยิงของปืนใหญ่อย่างหนักหน่วงเป็นเวลา ๒ วัน



เต็ม ๆ แล้วจึงส่งทหารบุกเข้ามาทางกองทัพอังกฤษ ซ่งมีแต่ทหารโปรตุเกส ท่ข้นกับกองทัพอังกฤษ พวกทหารโปรตุเกส
ขวัญเสียพากันทิ้งอาวุธหนีกระเจิดกระเจิงจากแนวรบ ทหารเยอรมันก็มุ่งหน้าไปทางแม่น�้าลีส์ ท�าให้ทหารอังกฤษจาก
แนวหน้าที่กะปลกกะเปลี้ยอยู่แล้ว ต้องถอยร่นลงมาด้วย กองทัพเยอรมันรุกคืบหน้าไปได้ถึง ๑๐ ไมล์ นายพล เซอร์ เฮก
แม่ทัพใหญ่ของอังกฤษต้องปลุกใจให้ทหารอังกฤษทาการต่อต้านอย่างเข้มแข็ง เพราะว่าไม่มีหนทางเลือก นอกจาก

จะต้องสู้ สู้ทุกคน สู้จนคนสุดท้าย และสู้จนวาระสุดท้าย วันที่ ๑๒ เมษายน ค.ศ.๑๙๑๘ เครื่องบินของกองทัพอังกฤษ
ก็เข้าโจมตีสกัดก้นการบุกรุกของกองทัพหน้าเยอรมัน ทาให้เยอรมันต้องเช่องช้าลงในวันท่ ๑๓ และ ๑๔ เมษายน





ค.ศ.๑๙๑๘ แล้วอีก ๒ วันต่อมาก็กลับบุกรุกหนักเข้ามาอีก ตอนน้ นายพล เซอร์ เฮก ก็ได้เรียกร้องต่อ จอมพล เฟอร์ดินัง ฟอซ
(Marshal Ferdinand Foch) ของฝร่งเศส จอมพลพิเศษ แห่งกองทัพพันธมิตร ให้รีบส่งกาลังทหารฝร่งเศสเข้ามาเสริม



กาลังรบของอังกฤษโดยด่วน จอมพล ฟอซ เตรียมกาลังทหารฝร่งเศสไว้เรียบร้อยแล้ว แต่ยังไม่ทันได้ส่งเข้าแนวรบ



พอดีกับท่กองทัพเยอรมันหันไปเข้าโจมตีทางเหนือบุกเข้าทางด้านกองทัพเบลเยียม ซ่งไม่ได้สู้รบเลยตลอดมา


ต้งแต่ปี ค.ศ.๑๙๑๔ ทหารเบลเยียมจึงต่อสู้ตีกองทัพเยอรมันแตกกระจายไป ตอนน้ทหารอังกฤษจากการรบ





ตามหมู่บ้านเล็ก ๆ ในการรบท่ปาชองเดล ก็ได้กลับมาสมทบแนวรบด้านน้ พร้อมท่จะรับมือกับทหารเยอรมันต่อไปได้อีก
หลังจากที่ประสบความล้มเหลว เยอรมันก็พยายามใหม่ ในวันที่ ๒๕ เมษายน ค.ศ.๑๙๑๘ ตอนนั้น จอมพล ฟอซ ได้ส่ง

กาลังทหารฝร่งเศส ๗ กองพลเข้าสู่สมรภูมิ ทาให้กองทัพเยอรมันในทุ่งฟลานเดอร์ส ต้องประสบกับความผิดหวัง



ในการรบ ไม่เป็นไปตามท่ได้คาดคะเนไว้ และต้องล่าถอยจากแนวรบไปเม่อวันท่ ๒๙ เมษายน ค.ศ.๑๙๑๘







ฝ่ายกองทัพอังกฤษเม่อได้กาลังทหารฝร่งเศสมาสมทบก็สามารถรักษาพ้นท่บริเวณช่องแคบอังกฤษไว้ได้



การรบท่แม่นาลีส์เป็นการพ่ายแพ้คร้งใหญ่ของเยอรมัน ย่งกว่าการรบท่อามีนส์เสียอีก ความล้มเหลวในคร้งน้ทาให้








พลเอก ลูแดนดอร์ฟ ต้องเปล่ยนแผนหันไปบุกเข้าประเทศฝร่งเศสทันทีโดยเลือกหนทางเข้าเล่นงานด้าน เชอแมง เด ดามส์
(Chemin des Dames) อยู่ทางเหนือของแม่น�้าเอสน์ (Aisne)
นาวิกศาสตร์ 32
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


จอมพล ฟอช จอมพล เปอร์ซิ่ง
MARSHAL Ferdinand Foch GENERAL John Joseph Pershing



















พลตรี ลิกเกต
MAJOR GENERAL Hunter Liggett

๑๕. กองทัพเยอรมันถูกขับออกจากทุ่งฟลานเดอร์ส

ในเดือนกันยายน ตุลาคม และพฤศจิกายน ค.ศ.๑๙๑๘ กองทัพเยอรมัน ก็ถูกกองทัพฝ่ายพันธมิตรตีถอยร่น

ตลอดแนวรบ นับต้งแต่เมืองแวร์เดิงไปจนจรดทะเลเหนือ พลตรี ลิกเกต (Major General Hunter Liggett) แม่ทัพที่ ๑








ของอเมรกน ซงรบตาแหน่งต่อจาก พลเอก เปอร์ซง (General John Joseph Pershing) ได้กวาดล้างกองทพ



เยอรมันออกจากลุ่มนาเมิส (Meuse) และป่าอาร์กอน (Argonne Forest) และในท่น้เองได้ทาให้สิบโท ยอร์ค (Corporal



Alvin C.York) แห่งกองทัพอเมริกัน กลายเป็นวีรบุรุษขึ้นมา โดยสามารถฆ่าทหารเยอรมัน ๓๒ คน จับทหารเยอรมัน
ได้ถึง ๑๓๒ คน จากป่าอาร์กอน ยึดปืนกลได้ ๓๕ กระบอก กองทัพอเมริกันก็ตีตะลุยไปจนถึงเมืองเซอดอง (Sedan)
ยอร์คได้รับรางวัล Medal of Honor ทางด้านมณฑลอเรน (Lorraine) กองพลทหารราบท่ ๗ ของสหรัฐฯ ก็ยึดคืนมาได ้


กองทัพเบลเยียม อังกฤษ และฝร่งเศส ซ่งอยู่ทางปีกซ้ายสุดของแนวรบ นับต้งแต่เมืองนิวปอร์ต ชายทะเลเหนือ



ไดไล่ต้อนกองทัพเยอรมัน กวาดล้างออกจากทุ่งฟลานเดอร์ส จนหมดส้น กองทัพเยอรมันถูกไล่โจมตีทุกด้าน ทหารถอยหน ี

อย่างไม่เป็นกระบวน ฝ่ายพันธมิตรยึดเสบียง และอาวุธใหญ่น้อยได้มากมาย จับเชลยได้หลายพันคน แล้วแนวรบ
ของเยอรมันก็หยุดชะงัก จนกระทั่งเวลา ๐๕๐๐ ของวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ค.ศ.๑๙๑๘ ฝ่ายเยอรมันจึงลงนามยอมรับ
การยอมแพ้อย่างเด็ดขาด
นาวิกศาสตร์ 33
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


เยอรมนีจำานน




นาวิกศาสตร์ 34
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


กลับบ้านเก่า


































ร่างของทหารอังกฤษนิรนาม ส่งกลับบ้านเกิด จากฝรั่งเศสไปอังกฤษ

































ที่รอดตายก็สะบักสะบอมจากการรบ





นาวิกศาสตร์ 35
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


Medal of Honor


























สิบโท ยอร์ค แห่งกองทัพบกสหรัฐอเมริกา
U.S.ARMY CORPORAL Alvin C.York


๑๖. ฟลานเดอร์สหลังสงคราม
เมื่อสงครามยุติลง สมรภูมิฟลานเดอร์สก็เตียนโล่งไปประดุจท้องนา บ้านเมือง ถนนหนทางถูกท�าลายเรียบ
แปรสภาพไปจนแทบจะจาสภาพเดิมไม่ได้เลยว่า อะไรเป็นอะไร การยุทธ์ท่นองเลือดและอุดมด้วยซากศพในสงครามโลก


ครั้งที่ ๑ ไม่มีที่ใดอีกแล้วที่จะเทียมเท่าการรบในแนวรบด้านฝรั่งเศสที่ แวร์เดิง (Verdun) แม่น�้าซอมม์ (Somme)



และสมรภูมิฟลานเดอร์ส (Flanders) ส่งใหม่ท่เกิดข้นอย่างมากมายท่วฟลานเดอร์ส หลังสงคราม คือ หลุมฝังศพ



ของทหารผู้สละชีพ สงครามโลกคร้งท่ ๑ ยุติลงแล้วหลังจากท่รบราฆ่าฟันกันมาถึง ๔ ปี บรรดาทหารท้ง ๒ ฝ่าย


ที่เข้าห�้าหั่นกัน ๖๖ ล้านคน ได้กลายเป็นศพไปถึง ๙ ล้านศพ และอีก ๓๐ ล้านเป็นคนพิการ ในจ�านวนนี้ตายเสียมาก
ต่อมาก ณ ทุ่งฟลานเดอร์ส สมรภูมิเลือด
(จบตอนที่ ๒ โปรดติดตามตอนที่ ๓ ตอนจบ)
นาวิกศาสตร์ 36
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


สงคราม ๙ ทัพ กับ The Art of War


ของซุนว ู



โดย ถ.ถุง





ื เมืองระนองจนถึงเมืองนครศรีธรรมราช ทพท ๒ มี
เม่อวันท่ ๑๔ และ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ผู้เขียน กาลังพล ๑๐,๐๐๐ คน ยกเข้ามาทางเมืองราชบุร ี




ได้เข้าร่วมกิจกรรมการว่งตามภูมิประเทศ “Siam Trial 2019” (ด่านบ้องต) เพ่อท่จะรวบรวมกาลังพลกับกองทัพท่ต ี











ณ อทยานประวตศาสตรสงคราม ๙ ทพ จงหวดกาญจนบุรี หัวเมืองปักษ์ใต้แล้วค่อยเข้าโจมตีกรุงรัตนโกสินทร์



โดยในคืนวันท่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๒ มีการจัดแสดง (กรุงเทพฯ) พร้อมกัน ทัพท่ ๓ มีกาลังพล ๓๐,๐๐๐ คน


แสงสีเสียงเก่ยวกับการรบท่ทุ่งลาดหญ้า ในสงคราม ๙ ทัพ เข้ามาทางหัวเมืองฝ่ายเหนือต้งแต่เชียงแสน เชียงใหม่ ลาพูน




โดยมีประชาชนเข้าร่วมชมอย่างมากมาย และการแสดง ลาปาง ตีต้งแต่หัวเมืองฝ่ายเหนือลงมาสมทบกับทัพท่ ๙


สร้างความประทับใจอย่างมาก สงคราม ๙ ทัพ เป็นสงคราม ท่ยกเข้ามาทางด่านwแม่ละเมา เพ่อตีเมืองตาก กาแพงเพชร





ระหว่างพม่ากับไทย ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น พิษณุโลก นครสวรรค์ ทัพท่ ๔ มีกาลังพล ๑๑,๐๐๐ คน
เม่อปี พ.ศ.๒๓๒๘ โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า เป็นทัพหน้าเข้าทางด่านเจดีย์สามองค์ (ปัจจุบันอยู่ใน

จุฬาโลกมหาราช ได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นราชธาน ี อ.สังขละบุรี จว.กาญจนบุรี) แล้วไปลาดหญ้าของเมือง
แทนกรุงธนบุรีในปี พ.ศ.๒๓๒๕ ขณะเดียวกันกับ กาญจนบุรี ทัพท่ ๕ มีกาลังพล ๕,๐๐๐ คน เข้าทางด่านเจดีย์



ฝ่ายพม่า พระเจ้าปดุงก็ได้บรมราชาภิเษกข้นเป็นกษัตริย์ สามองค์ เป็นทัพหนุนมุ่งเข้าตีกรุงเทพฯ เม่อทัพท่ ๔









องวะ และได้ทาสงครามตเมืองต่าง ๆ ได้รบชยชนะ เปิดทางได้แล้ว ทัพท่ ๖ มีกาลังพล ๑๒,๐๐๐ คน เป็น


จนรวบรวมได้เป็นปึกแผ่นแล้ว จึงได้ยกกาลังเข้าต ี ทัพหน้าท่ ๑ ของทัพหลวงท่จะเข้าตีกรุงเทพฯ ทัพท่ ๗




กรุงรัตนโกสินทร์ มีกาลังพลประมาณ ๑๔๔,๐๐๐ คน มีกาลังพล ๑๑,๐๐๐ คน เป็นทัพหน้าท่ ๒ ของทัพหลวง

แบ่งกาลังออกเป็น ๙ ทพ ประกอบด้วย ทัพที่ ๑ ท่จะเข้าตีกรุงเทพฯ ทัพท่ ๘ เป็นทัพหลวง พระเจ้าปดุง




มีท้งทัพบก ทัพเรือ กาลังพล ๑๐,๐๐๐ คน เรือกาปั่นรบ เป็นแม่ทพ มกาลงพล ๕๐,๐๐๐ คน ยกเข้ามาทาง









๑๕ ลา ยกมาตีหัวเมืองประเทศราชทางปักษ์ใต้ต้งแต่ ด่านเจดีย์สามองค์เพ่อรอสมทบกับทัพเหนือและใต้

นาวิกศาสตร์ 37
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓



จุดมุ่งหมายคือ กรุงเทพฯ และ ทัพที่ ๙ มีกาลังพล สงคราม ๙ ทัพ กับ The Art of War ของ Sun Wu


๕,๐๐๐ คน เข้ามาทางด่านแม่ละเมา แม่สอด แล้วมา บทท่ ๑ การวางแผน ประเดนหลก คือ “ต้อง


บรรจบทัพหลวงท่กรุงเทพฯ ด้วยเช่นกัน ประมาณตัวเอง ข้าศึก ตรวจสอบสถานการณ์






สาหรับกองทัพไทย รวบรวมกาลังพลได้ประมาณ แล้วจึงวางแผน” การทาสงครามเป็นเรองทต้อง










๗๐,๐๐๐ คน แบ่งกาลังออกเป็น ๔ ทัพ ประกอบด้วย ระมดระวง เพราะสงครามเป็นเรองสาคญอย่างยง

ทัพที่ ๑ มีก�าลังพล ๑๕,๐๐๐ คน ให้ยกไปรับทัพพม่า ของชาติ เป็นเร่องเก่ยวกับความเป็นและความตาย












ทางเหนอทเมองนครสรรค ทัพท่ ๒ มกาลงพล ๓๐,๐๐๐ คน เป็นหนทางท่จะอยู่รอด หรือพังพินาศ ดังน้น จึงต้อง


ทพนีเป็นทพใหญ มีกรมพระราชวังบวรมหาสุรสงหนาท ศึกษาให้รู้แจ้งเห็นจริง ต้องประเมินและตรวจสอบ ท้ง




เป็นแม่ทัพ ยกกาลังไปรับทัพหลวงของพระเจ้าปดุงท ี ่ ๕ ปัจจัยให้ถี่ถ้วน ได้แก่ คุณธรรม สภาพอากาศ พื้นที่










เข้ามาทางด่านเจดย์สามองค์ ทัพท่ ๓ มกาลงพล ๕,๐๐๐ คน การรบ แม่ทพ และกฎระเบยบ ฝ่ายใดมกฎระเบยบ


ยกไปรับทัพพม่าท่จะมาจากทางใต้ท่เมืองราชบุรี และ ในการปฏิบัติเข้มงวดกว่า ฝ่ายใดมีก�าลังและอาวุธท ี ่


ทัพท่ ๔ มีกาลงพล ๒๐,๐๐๐ คน เป็นทพหลวง โดยม ี เหนือกว่ากาลังพลฝ่ายใดได้รับการฝึกมาดีกว่ากัน ฝ่ายใด



พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มีการให้รางวัลและการโทษชัดเจนกว่ากัน ถ้าฝ่ายใด






เป็นแม่ทัพคอยเป็นกาลังหนุน เม่อทัพไหนเพล่ยงพลา รู้ปัจจัยดังกล่าวท้งหมด ฝ่ายน้นก็จะเป็นฝ่ายชนะ ซ่งท้ง ๕





ก็จะคอยเปนก�าลังหนุนได้ทันท่วงที ปัจจัยน้ในการวางแผนจาเป็นต้องรู้ และสามารถรู้ได้ด้วย



ซึ่งการรบไทยกับพม่าครั้งนี้ พื้นที่การรบที่ส�าคัญ การประมาณสถานการณ์ ท่สาคัญการประมาณสถานการณ์
ก็คือ ทุ่งลาดหญ้า เป็นการรบระหว่างทัพที่ ๔ และ ๕ ท่ถูกต้องหรือใกล้เคียง จาเป็นต้องมีการข่าวกรองท่ด ี





ของพม่ากับทัพท่ ๒ ของไทย ผลการรบกองทัพไทย ในสงคราม ๙ ทัพ ฝ่ายไทยมีการข่าวกรองท่ด ี
โดยสมเด็จวังหน้าพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวร รับรู้การเคล่อนทัพของพม่า โดยจัดพวกกองมอญออกไป

มหาสุรสิงหนาท เป็นแม่ทัพได้รับชัยชนะ ทาให้ ลาดตระเวน และสืบทราบว่าฝ่ายพม่ายกทัพมารวมพล





ทพท ๖ ทพท ๗ และทพท ๘ ของพม่าต้องถอยทพ ทเมืองเมาะตะมะ เพอเตรยมยกมาตกรงรัตนโกสนทร์

















กลับไป จากน้นกองทัพไทยก็ไปปราบทัพพม่าท่เหลืออ่น ๆ โดยแบ่งทัพออกเป็น ๕ ทาง ท้งด้านทิศเหนือ ทิศตะวันตก



จนพ่ายแพ้ถอยทัพกลับไปท้งหมด ดังน้นในบทความน ้ ี และทิศใต้ โดยให้มาบรรจบท่กรุงเทพฯ กาลังพลท้งส้น





จะวิเคราะห์เก่ยวกับการทาสงครามของกองทพไทย ๑๔๔,๐๐๐ คน (ประมาณข้าศึก) และเมื่อทราบข่าวแล้ว






และกองทัพพม่า ว่าเป็นไปตามตาราพิชัยสงคราม พระบาทสมเดจพระพทธยอดฟ้าจฬาโลกมหาราช ทรง

“The Art of War” ของ ซุน ว ปราชญ์ชาวจีนได้แต่งไว้ เรียกประชุม (วางแผน) พระบรมวงศานุวงศ์ และขุนนาง

เม่อประมาณ ๕๐๐ ปี ก่อน ค.ศ. โดยในหนังสือประกอบด้วย ประมาณกาลังพลแล้วมีเพียง ๗๐,๐๐๐ คน น้อยกว่า

๑๓ บท ได้แก่ บทท่ ๑ การวางแผน บทท่ ๒ ค่าใช้จ่าย ฝ่ายพม่าครงหนง (ประมาณตนเอง) ทงนในสมยก่อน
















ในการทาสงคราม บทท่ ๓ โจมตีโดยใช้อุบาย บทท่ ๔ ต้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา หากกาลังน้อยกว่าจะวาง







การวางกาลังทหารให้เข็มแข็ง บทท่ ๕ พลานุภาพ บทท่ ๖ กาลังต้งรับในพระนครเป็นหลัก แล้วรอให้นาหลากมา




จุดอ่อนจุดแข็ง บทท่ ๗ การดาเนินกลยุทธ์ บทท่ ๘ กองทัพพม่าก็จะเลิกทัพไปเอง แต่ในคร้งน้ได้ปรับแผนใหม่



การปรับเปล่ยนยุทธวิธี บทท่ ๙ การเดินทัพ บทท่ ๑๐ ให้ยกทัพออกไปต้งรับนอกพระนคร ๓ ทัพ อีกหน่งทัพ









พ้นท่การรบ บทท่ ๑๑ พ้นท่แตกต่าง ๙ ประการ เป็นทัพหลวง ไว้เป็นกาลังสนับสนุนกองทัพท้งสาม





บทท่ ๑๒ โจมตีด้วยไฟ และบทท่ ๑๓ การใช้สายลับ เพ่อ ได้ตลอดเวลา ตรงกับหลักการออมกาลัง และความอ่อนตัว
เป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อไป ตามหลักการสงคราม นอกจากน้การให้ กรมพระราชวัง

นาวิกศาสตร์ 38
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


(ร.๑) ไปตีเมืองเชียงใหม่ได้รับชัยชนะ และไปตีพม่าท ่ ี

เขาชะงุ้ม และปากแพรกจนแตก พม่ายอมแพ้ พ.ศ.๒๓๒๐

ยกทัพไปสบทบเจ้าพระยาจักรี (ร.๑) ตีเมืองนครจาปาศักด ิ ์
เมืองอัตบือ สุรินทร์ สังขะ ขุขันธ์ ไว้ได้ท้งหมด พ.ศ.๒๓๒๑

ร่วมกับสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (ร.๑) ยกทัพเรือ
จากกัมพูชาไปตีเมืองเวียงจันทน์ และหัวเมืองต่าง ๆ

ในแควนลาวจนจรดตงเกยของญวน เป็นตน นอกจากน ี ้




กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ยังเป็นผู้ท่มีความคิด


สร้างสรรค์อย่างดีเลิศ ได้แก่ การดาริให้จัดต้งกองโจร








คอยตกองลาเลียงพม่าท่ตาบลพไคร้ ไม่ให้พม่าสงลาเลยง

กันได้ และการใช้ลูกปืนไม้ยิงหอรบพม่าจนหักพังลงมา


ส่วนความเด็ดขาดน้น ได้ส่งประหารพระยาสีหราชเดโช


พระยาท้ายนา และพระยาเพชรบุรี ท่ทรงแต่งต้งให้เป็น




นายทัพกองโจรคร้งแรก แต่พระยาท้งสามย่อท้อต่อการรบ
และหนีไปต้งค่ายท่อ่น สาหรับแม่ทัพหลวงของทัพ






ท้งสองฝ่าย ฝ่ายพม่า พระเจ้าปดุง ได้อานาจมาจากการแย่งชิง
ภาพที่ ๑ พระอนุสาวรีย์กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ราชสมบัติกันเอง และพวกหัวเมืองต่าง ๆ ก็แข็งข้อ
ณ อุทยานประวัติศาสตร์สงครามเก้าทัพ พระเจ้าปดุงต้องใช้เวลาปราบถึง ๓ ปี (พ.ศ.๒๓๒๕ - พ.ศ.๒๓๒๘)
จังหวัดกาญจนบุรี จึงรวบรวมได้ นับได้ว่าเป็นแม่ทัพท่เก่งกาจสามารถมาก

ที่มา : www.pantip.com



คนหน่ง ท้งน้กองทัพท้ง ๙ ทัพ ประกอบด้วยหลายเช้อชาต ิ



บวรมหาสุรสิงหนาท (ดูภาพท่ ๑) เป็นแม่ทัพหลัก ยกทัพไป และชนเผ่า เช่น พม่า รามัญ ไทยใหญ่ ยะไข่ เป็นต้น







ต้งรับท่กาญจนบุรี ซ่งถือเป็นพ้นท่การรบท่สาคัญท่สุด แม้จะมีกาลังมากกว่าฝ่ายไทย แต่การฝึกระเบียบวินัย



เพราะทัพหลวงของพระเจ้าปดุงต้องผ่านทางน้ เป็นไปตามหลักท ่ ี และขวัญก�าลังใจอาจสู้ฝ่ายไทยไม่ได้ เนื่องจากถูกบังคับ


ซุน วู กล่าวไว้ว่าแม่ทัพฝ่ายใดมีความสามารถมากกว่า มารบ สงบอกเหตทสงเกตได้ เช่น เมอกองทพหลวง








จะเป็นผู้ชนะ เน่องจากกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ของพระเจ้าปดุงยกมาถึงเมืองเมาะตะมะ ปรากฏว่า


ได้ทรงร่วมทาศึกกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ทัพท่ ๑ ยังเตรียมเสบียงไว้ไม่พร้อม จนโดนส่งประหารชีวิต

จุฬาโลกมหาราช ขับไล่อริราชศัตรู ปกป้องราชอาณาจักร ซ่งผลกระทบต่อมาก็คือ เม่อทัพหลวงเคล่อนทัพมาถึง



มาโดยตลอด ได้ทรงทาสงครามท้งทางบกและทางเรือ แนวชายแดน เกือบถึงด่านเจดีย์สามองค์ พระเจ้าปดุงถามว่า


ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ถึง ๑๖ คร้ง เช่น เสบียงเพียงพอหรือไม่ ปรากฏว่าแม่ทัพตอบว่าอยู่ได้อีก


พ.ศ.๒๓๑๐ ตีค่ายโพธ์สามต้น พ.ศ.๒๓๑๒ ร่วมยกทัพกับ ๑ เดือน ท้งท่ความจริงไม่มีเสบียงเพียงพอ แต่เพราะกลัว


พระยาอภัยรณฤทธ์ (ร.๑) ไปปราบกรุงกัมพูชา ตีได้เมือง ถูกประหารชีวิตจึงโกหกไป ส่งผลให้กองทัพพม่าต้องขาด

เสียมราฐ พ.ศ.๒๓๑๓ ร่วมกับทัพหลวงยกทัพไปปราบชุมนุม เสบียงอย่างหนักตลอดการรบ ขณะฝ่ายไทย พระบาท

เจ้าพระฝาง ตีได้เมืองสวางคบุรี ได้หัวเมืองเหนือท้งหมด สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงเคยเป็น






พ.ศ.๒๓๑๕ ยกทพไปปราบพม่าทยกมาตเมองลบแล แม่ทัพสาคัญ ต้งแต่สมัยอยุธยาและสมัยกรุงธนบุรี มีไพร่พล



หรืออุตรดิตถ์ พ.ศ.๒๓๑๗ ร่วมยกทัพกับเจ้าพระยาจักร ี ซ่งเป็นคนเก่าแก่ร่วมรบกันมา จึงรู้ใจและรู้ฝีมือเป็นอย่างด ี
นาวิกศาสตร์ 39
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓




เสบียงให้เพียงพอสาหรับกองทัพไว้ท่เมืองเมาะตะมะ

(ดูภาพท่ ๒) เพ่อสนับสนุนให้ทัพท่ ๔ ทัพท่ ๕ ทัพท่ ๖




ทัพท่ ๗ และทัพท่ ๘ (ทัพหลวง) ท่จะเดินทาง



เข้ากรุงเทพฯ ทางด่านเจดีย์สามองค์ แต่เมื่อทัพที่ ๘ ของ
พระเจ้าปดุงยกไปถึงเมืองเมาะตะมะ ปรากฎว่าทัพที่ ๑


ไม่สามารถเตรียมเสบียงไว้ให้พร้อม แม่ทัพท่ช่อว่า

“แมงยีแมงข่องกยอ” จึงถูกส่งประหาร ทาให้กองทัพ



พม่าไม่พร้อมเร่องเสบียงต้งแต่ก่อนเดินทัพ ซ่งเร่องน ้ ี


ฝ่ายไทยได้ทราบจากการข่าว กรมพระราชวงบวรมหา

สุรสิงหนาท จึงได้ดาริให้ต้งกองโจรข้น ทาหน้าท่ตีกอง







ลาเลียงเสบียงพม่าท่พุไคร้ แม้คร้งแรกแม่ทัพกองโจร


จะไม่ต้งใจทาจนถูกประหาร แต่เม่อต้งพระองค์




เจ้าขุนเณร เป็นนายทัพกองโจร คมทหาร ๑,๘๐๐ คน


ไปตีตัดเสบียงพม่าได้ทาการประสบความสาเร็จ ได้
ช้าง ม้า และเสบียงจากฝ่ายพม่าอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้
กองทัพพม่าขาดแคลนเสบียงอย่างหนัก ทหารออนลา


เสียขวัญ เจ็บป่วยล้มตาย และทะเลาะเบาะแว้งกัน

อีกท้งการรบท่สมรภูมิทุ่งลาดหญ้าใช้เวลารบกันนาน

ภาพที่ ๒ เมืองเมาะตะมะและเส้นทางการเดินทัพพม่า ๕ เส้นทาง เนองจากทพท ๔ และทัพท่ ๕ ของพม่าไม่สามารถ






ที่มา : เว็บไซด์ www. rb-history.blogspot.com/




เคลอนทพเดนหน้าได้ (สงครามยืดเย้อ) หากพจารณา


จึงทรงจัดแม่ทัพนายกองได้อย่างเหมาะสม อีกส่วนหนึ่ง เส้นทางการลาเลียงเสบียง หรือการส่งกาลังบารุงแล้ว






ทุกคนในสมัยน้นคงพร้อมและอยากจะออกรบ เน่องจากยัง ฝ่ายไทยก็ทาได้ง่ายและเร็วกว่า (ท้งทางบกและ



เจ็บแค้นพม่า ตั้งแต่สมัยเสียกรุงครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ.๒๓๑๐ ทางนา) เพราะถือเป็นการยุทธ์เส้นใน ส่วนทัพพม่า

บทที่ ๒ ค่าใช้จ่ายในการท�าสงคราม ประเด็นหลัก เป็นการยทธ์เส้นนอก จึงเสียเปรียบฝ่ายไทยอย่างชัดเจน






คือ “ต้องเอาชัยชนะในการทาสงครามอย่างรวดเร็ว อกทงยงไม่ปรากฏ หรอกล่าวไว้ว่า พม่าแต่งกองโจร

อย่ายืดเยื้อ” การท�าสงครามขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจ กล่าวคือ มาปล้นเสบียงฝ่ายไทยอีกด้วย ฝ่ายไทยเม่อเห็นว่า
การทาสงครามโดยท่วไปต้องใช้รถม้า ๑,๐๐๐ คัน รถสนับสนุน ฝ่ายพม่าอ่อนแอลงมากแล้ว ในเดือนสาม ปีมะเส็ง



หุ้มเกราะ ๑,๐๐๐ คัน ทหารพร้อมเกราะ ๑๐,๐๐๐ คน และ (พ.ศ.๒๓๒๘) ทัพท่ ๒ ของกรมพระราชวังบวร


ต้องขนเสบียงอีกหนึ่งพันลี้ ค่าใช้จ่ายทั้งในประเทศ และ มหาสุรสิงหนาท จึงเข้าตีทัพท่ ๔ และทัพท่ ๕ ของ

ในสนามรบ ถ้าสงครามยืดเย้อจะเกิดปัญหาตามมา ได้แก่ พม่า ฆ่าฟันพม่าล้มตายเสียเป็นอันมาก ที่เหลือตายแตก
เศรษฐกิจ ทรัพยากรของชาติจักขาดแคลน กาลังทหาร หนีกลับไป กองโจรของพระองค์เจ้าขุนเณรพบเข้า









จะอ่อนล้า เสียขวัญ และอาวุธต่าง ๆ จะไม่มีประสิทธิภาพ กตซาเตมฆ่าฟันพม่า และจบส่งมาถวายอกกมาก ใน





หลักการของ ซุน วู เรื่องนี้นั้น ในสงคราม ๙ ทัพ พงศาวดารพม่ากล่าวว่า เม่อไทยตค่ายพม่าแตกครงน้น



พม่าทราบดีว่าเสบียงเป็นเร่องสาคัญ พระเจ้าปดุงจึง พม่ากาลังอดอยากอิดโรย ถูกไทยฆ่าตายเสียบ้าง





ส่งให้ทัพท่ ๑ มีหน้าท่หลักอย่างหน่งก็คือ รวบรวม จับได้บ้าง เสียท้งนายไพร่ประมาณ ๖,๐๐๐ คน คร้น

นาวิกศาสตร์ 40
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


พระเจ้าปดุงทราบว่ากองทัพหน้าแตกกลับไป ก็เห็นว่าจะ สงครามกองโจรน้ในการโจมตีพม่าอย่างจริงจัง เห็นได้




ทาการต่อไปไม่สาเร็จ ด้วยกองทัพพม่าท่ยกมากับ จากการที่กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ประหาร
พระเจ้าปดุงทางด่านเจดีย์สามองค์ ขัดสนเสบียงอาหาร ๓ พระยาแม่ทัพกองโจร ท่จะไม่ต้งใจรบ และแต่งต้ง



และผู้คนเจ็บไข้ล้มตายลงด้วยกันทุก ๆ ทัพ จึงส่งให้ พระองค์เจ้าขุนเณร เป็นแม่ทัพกองโจรแทน และออก



เลิกทัพกลับไปเมืองเมาะตะมะในท่สุด สาหรับหลักการ ปฏิบัติการแย่งชิงเสบียงอาหาร และยุทโธปกรณ์ของพม่า




เอาชนะสงครามอย่างรวดเรวน มบนทกกล่าวไว้ว่า รบกวน รังควาน ทาลายกองเกวียน กองช้าง กองม้า




เม่อคร้งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ท่น�าเสบียงมาจากเมืองเมาะตะมะ เมืองทวาย และตะนาวศร ี



มหาราช ได้ทรงทราบถึงข้อราชการท่กรมพระราชวัง พระองค์เจ้าขุนเณรนากาลังเข้าไปทางบกและทางนา





บวรมหาสุรสิงหนาท ส่งมาแจ้งสถานการณ์รบท่ลาดหญ้า แทรกซึมเข้าไปในพ้นท่ต้งของข้าศึก และอาศัยภูมิประเทศ



แล้ว ก็ทรงวิตกว่าจะเอาชนะข้าศึกไม่ได้โดยเร็ว คร้นถึง สภาพดินฟ้าอากาศในขณะน้นบุกเข้าโจมตีทาลาย และ



วันอาทิตย์ เดือนยี่ ขึ้น ๙ ค�่า จึงเสด็จทรงเรือพระที่นั่ง จับกุมก�าลังทหารของพม่า ท�าให้ข้าศึกพะวักพะวน ต้อง

บัลลังก์บุษบกพิศาล พร้อมกระบวนเรือต่าง ๆ และกาลังพล ดึงกาลังมารักษาพ้นท่ส่วนหลังมากข้น รวมท้งยังเป็น





ประมาณ ๒๐,๐๐๐ คน เสด็จยาตราทางชลมารค การทาลายขวญกาลงใจของพม่าให้ลดถอยในการส้รบ





จากกรุงเทพฯ ไปเมืองกาญจนบุรี เม่อเสด็จถึงค่าย ได้ด้วย การตีตัดเสบียงจึงเป็นการโจมตีท่ยุทธศาสตร์


ลาดหญ้า กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทได้กราบทูลว่า ของฝ่ายพม่าอย่างแท้จริง ในทางกลับกันหากฝ่ายไทย
ทัพพม่าใกล้แตกแล้ว อย่าทรงวิตกกังวลเลย ขออาสา ไม่มีด�าริการตั้งกองโจรตีตัดเสบียง ฝ่ายไทยอาจไม่ได้รับ








เอาชนะสงครามพม่าครงน และทูลเชญเสด็จกลบเพอ ชัยชนะในสงคราม ๙ ทัพก็อาจเป็นได้ และการขาดเสบียง


จะได้บัญชาการรบในทางอ่น ซ่งพระองค์ก็เห็นชอบ คร้นพลบคา � ่ ของกองทัพพม่าส่งผลให้ทัพที่ ๖ ทัพที่ ๗ และทัพที่ ๘

จึงเสด็จกลับกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นทัพหลวง และมีก�าลังพลรวมกันถึง ๗๓,๐๐๐ คน

บทท่ ๓ โจมตีโดยใช้อุบาย ประเด็นหลัก คือ ถอยกลับไป โดยฝ่ายไทยไม่ต้องรบปะทะ เป็นไปตามท ่ ี
“ชนะสงครามด้วยนโยบายและอุบาย” การเอาชนะ ซุน วู กล่าวได้ “เอาชนะข้าศึกได้โดยไม่ต้องรบ”
สงครามอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด คือ “การเอาชนะข้าศึก หลักการใช้อุบายของฝ่ายไทยด้วยการส่งทูตงะการ





โดยไม่ต้องรบ ถือเป็นส่งท่ยอดเย่ยมท่สุด” ดังน้นจึงต้อง (ถูกไทยจับไว้ในสงครามคร้งก่อน) ไปพบพระเจ้าปดุง



โจมตีข้าศึกท่ยุทธศาสตร์ของข้าศึก หนทางท่สอง คือ โดยขอให้ยกเลิกการรบ พระเจ้าปดุงถามว่า “กรุงเทพฯ เตรียม


การทาลายพันธมิตรของข้าศึกด้วยการทูต หรือโดดเด่ยว การรบอย่างไร?” ทูตงะการตอบว่า “เราจับพม่าได้ ๓ คน
พันธมิตร หนทางที่สาม คือ ใช้ก�าลังทหารรบในสนามรบ แล้วถามว่า พม่ายกทัพอย่างไร? พม่าตอบว่า ยกมา ๔ ทาง


และหนทางท่เลวร้ายท่สุด คือ การเข้าไปโจมตีข้าศึก ทางละ ๓๐,๐๐๐ คน รวม ๑๒๐,๐๐๐ คน บวกกับทัพหลวง




ท่เมือง การท่จะเอาชนะข้าศึกตามท่กล่าวมาน้น สิ่งที่ ๑๐๐,๐๐๐ คน รวมท้งส้น ๒๒๐,๐๐๐ คน และบอกไปอีก


สาคัญท่เน้นในบทน้อีก คือ “รู้เขา รู้เรา รบร้อยคร้ง ว่าฝ่ายไทยจัดทัพอย่างไรบ้าง” โดยเฉพาะทด่านเจดีย์สามองค ์






ก็ไม่แพ้” ถ้ารู้เราไม่รู้เขา โอกาสแพ้ชนะเท่ากัน ถ้าไม่รู้เขา ท�าให้พระเจ้าปดุงตกใจ ซึ่งจริง ๆ แล้ว ฝ่ายไทยส่งทูตไป
ไม่รู้เรา รบไปก็แพ้ทุกสนามรบ เพ่อทาให้พม่าเกิดความกังวล รีบส่งกองทัพไปเสริมเพ่อให้





ในสงคราม ๙ ทัพ การโจมตีที่ยุทธศาสตร์ของข้าศึก ขาดเสบียงหนักมากข้น จนอดอยากถึงข้นขนาดฆ่าช้างม้า

คือ การตีตัดเสบียง หากสามารถทาได้ ฝ่ายไทยก็จะ ต้มรองเท้าหนังกินกันเลยทีเดียว




ได้รับชัยชนะ เพราะกองทัพพม่ามีไพร่พล ช้าง ม้า จานวนมาก หลักการใช้อุบายมีเหตุการณ์หน่งท่มีความสาคัญ

จึงต้องการเสบียงมากตามไปด้วย และฝ่ายไทยก็ใช้ คือ ท่เมืองถลาง คุณหญิงจันและคุณมุก รู้ข่าวว่าพม่า
นาวิกศาสตร์ 41
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


ภาพวาดการรบของคุณหญิงจันและคุณมุกที่เมืองถลาง ภาพวาดการซุ่มโจมตีเสบียงของฝ่ายพม่าของพระองค์เจ้าขุนเณร
ที่มา : www.oknation.com ที่มา : www.photoontour.com



กาลังขาดแคลนเสบียงอาหาร เน่องจากล้อมเมืองถลาง ขอเพ่มวีรกรรมของพระองค์เจ้าขุนเณร นอกจาก


ไว้แต่ยังตีไม่ได้ จึงได้ปรึกษากับกรมการเมืองออกอุบาย วีรกรรมท่สร้างไว้ในสงครามเก้าทัพคร้งน้แล้ว ในสมัย



คัดเลอกผู้หญิงอายกลางคน ประมาณ ๕๐๐ คนเศษ รัชกาลท่ ๓ ซ่งเกิดกบฏเจ้าอนุเวียงจันทน์ข้นในปี




แต่งกายเป็นทหารชาย เอาทางมะพร้าวมาตกแต่งถือต่าง พ.ศ.๒๓๖๙ เอกสารของเจ้าพระยาบดนทร์เดชา ในชอ




เป็นอาวุธเพ่อลวงพม่า เม่อจัดแจงแต่งเสร็จแล้ว “อานามสยามยุทธ” ได้กล่าวถงบทบาทของพระองค์


คุณหญิงจันและคุณมุก ก็แต่งตัวเป็นแม่ทัพจัดขบวนทัพ เจ้าขุนเณรไว้อีกว่า ได้โปรดเกล้าฯ ให้กรมหม่นนเรศร์โยธ ี





สลับผู้ชายกับผู้หญิง เพ่อให้ดูว่ามีร้พลมากแล้วยกออก กรมหม่นเสนีย์บริรักษ์เป็นแม่ทัพใหญ่ นากาลังเข้า




จากค่ายทาทีว่าจะเข้าตีค่ายพม่า ฝ่ายพม่าเห็นอย่างน้น ประชิดทหารลาวท่ค่ายส้มป่อย เจ้าหน่อคาแม่ทัพใหญ่
ก็ยกพลออกจากค่าย มาจัดขบวนทัพเตรียมรับศึก ค่ายส้มป่อย นาทหารเข้าตีค่ายทหารไทย ยังไม่แพ้ชนะ









คณหญงจนกสงให้ยงปืนใหญ่พระพรณไปยงทพพม่า กันท้งสองฝ่าย ฝ่ายไทยเสียเปรียบจึงถูกทหารลาวล้อมไว้





จนแตกกระจัดกระจายบาดเจ็บล้มตายไม่น้อย ที่เหลือก็ ฝ่ายพระองค์เจ้าขุนเณร ซ่งเป็นแม่ทัพนายกองโจร



หนีกลับเข้าค่าย พอได้เวลาคา คุณหญิงจันและคุณมุกก็พา ยกกองทัพพม่าทวายไทยไปซุ่มตีกองลาเลียงลาวอยู่ใน


พวกผู้หญิงกับผู้ชายท่มีอายุออกมานอกค่าย เข้าท่ซุ่มซ่อน ป่าหลังค่ายทุ่งส้มป่อย ขณะน้นพลทหารลาวในค่าย

รุ่งขึ้นก็ยกขบวนเข้าค่ายท�าอย่างนี้ทุก ๆ วัน (เหมือนกับ ทุ่งส้มป่อยออกเท่ยวหาเผือกมันกินเจ็ดคน กองโจรไทย


กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ทาท่ทุ่งลาดหญ้า) ม้าเร็วข่ม้าเข้าล้อมจับได้ท้งเจ็ดคน จึงคิดได้เป็นกลอุบาย



ตลอดเวลา ๓ - ๔ วน เพอลวงพม่าว่าฝ่ายไทยมกาลง อย่างหนึ่ง จึงเรียกลาว ๗ คน ที่จับมาได้นั้นเข้ามาตรัสว่า






ไพร่พลมากไม่กล้าบุกเข้าโจมตี เป็นการหน่วงทัพไว้ให้ “กูจับมึงท้ง ๗ คนน้ได้ โทษมึงถึงตายท้งส้น แต่กูจะไม่ฆ่า




ขาดเสบียง จนกองทัพพม่าอ่อนกาลังลง ประกอบกับ จะยกโทษให้พ้นความตายทั้ง ๗ คน แต่จะยึดพวกมึงไว้

ได้ข่าวว่าทัพพม่าที่กาญจนบุรีโดนไทยตีแตกแล้ว ฝ่ายพม่าก็ ๖ คนก่อน แล้วจะให้พวกไทยแต่งตัวเหมือนลาวปลอม


ย่งระสาระสาย คุณหญิงจันและคุณมุกเห็นว่าเป็นโอกาสด ี หาบคอนแทนพวกมึงท้ง ๖ คน รวมเป็น ๗ คน ท้งพวกมึง




จึงส่งให้โจมตีทัพพม่าจนแตกพ่ายลงเรือหนีกลับไป ทาให้ คนหน่ง จะให้พวกมึงพาพวกไทย ๖ คน เข้าไปในค่าย


ทัพท่ ๑ ของพม่าพ่ายไทยไปอีกทัพหน่ง หลังจากเสร็จส้นแล้ว ในเวลาวันน้ อย่าให้ลาวในค่ายรู้เหตุการณ์ได้ ถ้าสาเร็จ





พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ประสงค์ของกูแล้ว กูจะปูนบาเหน็จให้ถึงขนาดกับ





จึงทรงโปรดเกล้าฯ คุณหญิงจันเป็นท้าวเทพกษัตรี และ ความชอบของมึง ซ่งจะรับอาสาทาการตามกูส่งน้ได้
คุณมุกเป็นท้าวศรีสุนทร หรือไม่ได้ ว่ามา” ฝ่ายลาว ๗ คน ก็พร้อมใจกันขอรับ
นาวิกศาสตร์ 42
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓




อาสาปฏิบัติทาตาม พระองค์เจ้าขุนเณรจึงตรัสรับสง ที่ตายก็มาก ที่เหลือตายก็มี ด้วยเชิงศึก และปฏิบัติการ



พระณรงค์สงคราม ให้เป็นแม่กองอาทมาฎทะลวงฟัน แบบกองโจรของพระองค์เจ้าขุนเณรในคร้งน้ ได้แก้


คุมพลทหาร ๕๐๐ คน ถืออาวุธส้น และมีคบเพลิงสาหรับ สถานการณ์ท่เพล่ยงพลาของฝ่ายไทยให้กลับเป็น





ทุกคนไว้สาหรับเผาค่ายลาว ให้ยกไปซุ่มอยู่ตามชายป่า ฝ่ายบดขย้ข้าศึกจนซมซานแตกทัพไปอย่าง งง ๆ ว่าเกิด



ห่างค่ายลาวประมาณ ๔๐ - ๕๐ เส้น (๑ เส้นเท่ากับ อะไรข้น ด้วยความดีความชอบในคร้งน้ กรมพระราชวังบวรฯ

๔๐ เมตร) ถ้าเห็นลาวพาไทย ๖ คนเข้าไปในค่าย และ ในรัชกาลท่ ๓ ซ่งเป็นแม่ทัพหลวง ได้ตรัสกับแม่ทัพ


เผาค่ายเจ้าหน่อคาได้แล้ว ให้พระณรงค์สงครามยกทัพ นายกองว่า “พระองค์เจ้าขุนเณร เขาเคยได้ทาการศึก






อาทมาฎรีบเร่ง ต้อนพลโห่ร้องกระหนาสาทับหนุนเน่องกัน สงครามชานิชานาญมาต้งแต่คร้งแผ่นดิน พระบาทสมเด็จ






เข้าไปหักค่าย เผาค่ายลาวให้สว่างข้น พลทหารลาว พระพุทธเจ้าหลวง (ร.๑) แต่คร้งท่านเสด็จไปตีพม่าท ี ่




เจ้าหน่อคาก็จะตกใจพะว้าพะวัง ท้งข้างหน้าและข้างหลัง เขาชะงุ้มราชบุรี คร้งน้นเจ้าขุนเณรเขาได้เป็นนายทัพ

ก็จะถอยทัพล่าไปเอง ไทยอยู่ในท่ล้อมก็จะออกได้แล้วจะ กองโจรไปตีกองล�าเลียงพม่า เขาเคยมีชัยชนะมาแล้ว”
เป็นทัพกระหนาบด้วย ฝ่ายพระองค์เจ้าขุนเณรเอง บทท่ ๔ การวางกาลังทหารให้เข้มแข็ง ประเด็นหลัก


คุมทหารอาทมาฎ ๕๐๐ คน ถืออาวุธสั้นยาวครบทุกคน คือ “ข้าศึกมีก�าลังที่เข็มแข็ง ต้องหลบซ่อน รอโอกาส


ยกไปซุ่มแอบอยู่ตามชายป่าข้างทิศใต้ ห่างค่ายลาวข้าศึก ท่จะเอาชนะข้าศึก” ในบทน้การวางกาลังทหารในการ

ที่ทุ่งส้มป่อยประมาณ ๕๐ เส้น ครั้นทหารไทยลาว ๖ คน ท�าสงครามนั้น ถ้าข้าศึกมีก�าลังเข้มแข็งอย่าไปปะทะ ให้

กบลาว ๑ คน รวมเป็น ๗ คน แต่งเป็นลาวหาบคอน ต้องด�ารงสภาพด้วยการหลบซ่อนไว้ก่อน รอจนกว่าจะถึง

พากันเดินไปถึงประตูค่ายเจ้าหน่อคาก็เป็นเวลาเย็นจวน เวลาท่ข้าศึกจะมีจุดอ่อน หรือจุดล่อแหลม จากน้นจึง


จะค�่า เห็นนายประตูก�าลังรับประทานข้าวอยู่ จึงชักดาบ เข้าโจมต การรบให้ชนะให้ใช้กาลังพลเหมือนสายนา









ออกฟันนายประตูตายพร้อมกัน ๔ คน แล้วจึงวิ่งเข้าค่าย ท่เช่ยวกรากไหลจากท่สูงลงสู่ท่ตา ซ่งจะมีอานุภาพ



ได้ก็ไล่ฟันลาวไปจนถึงกลางค่าย บ้างก็นาคบเพลิงเผาค่าย รุนแรงยากที่จะต้านทานได้



ขนหลายแห่ง พลทหารลาวในค่ายจะจบไม่ถนดเพราะ ในสงคราม ๙ ทัพ ฝ่ายพม่ามีก�าลังพลมากกว่าไทย

แต่งกายเป็นลาวเหมือนกัน ต่างคนต่างก็ตกใจ หารู้ว่า ถึง ๒ เท่า โดยเฉพาะทิศทางเข้าท่ด่านเจดีย์สามองค์

เหตุมาแต่ทางไหน บ้างเข้าดับไฟ บ้างไล่ติดตามค้นหา มีกาลังพลรวมถึง ๘๙,๐๐๐ คน ฝ่ายไทยทัพท่ ๒ มีกาลังพล



ผู้ร้ายภายในค่ายเป็นอลหม่าน พระองค์เจ้าขุนเณรและ ๓๐,๐๐๐ คน กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท จึงทรง









พระณรงค์สงครามท้งสองกองท่ซุ่มอยู่น้น คร้นเห็น เลือกเดินทัพ (ดาเนินกลยุทธ์) ไปต้งท่ทุ่งลาดหญ้า ซงเปน





แสงไฟสว่างข้นท่ค่ายลาวจึงยกพลโห่ร้องเข้าตีค่ายลาว พ้นท่ทเหมาะสมท่จะตงทัพรับกองทัพพม่า ซ่งอันท่จริง







พลทหารไทยพังค่ายเข้าไปในค่ายได้ ไล่ฆ่าฟันลาวตาย กองทัพท่เผชิญหน้ากันท่ทุ่งลาดหญ้าน้นฝ่ายพม่า







เป็นกอง ๆ ช้างในค่ายซ่งตกนามันอยู่น้น คร้นเห็นแสงไฟ เป็นทัพท่ ๔ และทัพท่ ๕ มีกาลังพลรวมประมาณ





สว่างก็ตกใจแตกปลอกออกไล่แทงผูคนล้มตาย แล้วแล่น ๑๖,๐๐๐ คน หากพระองค์จะนาทัพจานวน ๓๐,๐๐๐ คน





เข้าป่าไปในคาวันน้น ฝ่ายพระยาไชยสงคราม ท้าวสุวรรณ ซ่งเป็นก�าลังท่มากกว่าเข้ารบแตกหักก็อาจจะชนะได้



และท้าวหม ทงสามนายคมพลทหารลาว ๑,๐๐๐ คน แต่พระองค์เป็นนักรบท่มองการณ์ไกล (สมัยน้เรียกว่า





อยู่รักษาค่ายท่ทุ่งส้มป่อย เห็นฝ่ายไทยโจมตีเข้ามาในค่ายได้ “มี วิสัยทัศน์”) หากชนะเพียงทัพที่ ๔ และทัพที่ ๕ ต้อง






โดยเร็ว ดังน้นก็ตกใจจะรวบรวมทหารให้เป็นหมวด สูญเสียกาลังพลไปส่วนหน่ง หากรบกับทัพท่ ๖ ทัพท่ ๗ และ








เป็นกอง ออกต่อส้กไมได้ดวยรพลแตกตนตกใจมากจะกดไว้ ทัพที่ ๘ ของพม่าที่มีมากกว่า อีกประมาณ ๗๓,๐๐๐ คน
ไม่อยู่ จึงปล่อยให้แตกแหกค่ายหนีไปซ่อนภายในป่า ฝ่ายไทยคงจะต้องแพ้อย่างแน่นอน จึงทรงเลือกทาการ

นาวิกศาสตร์ 43
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓



รบยืดเย้อ ไม่เข้าปะทะข้าศึกในทันที แต่รอเวลาจน กองโจร ที่กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ด�าริให้ตั้ง





ฝ่ายพม่าขาดเสบียง ทหารอ่อนล้า อ่อนแรง และป่วยล้มตาย กองโจรข้น ทาหน้าท่ตีกองลาเลียงเสบียงพม่าท่พุไคร้



ก่อนจานวนหน่ง จนถึงเวลาท่เหมาะสมจึงนากาลัง พระองค์เจ้าขุนเณรเป็นนายทัพกองโจร คุมทหาร ๑,๘๐๐ คน


เข้าโจมตี และได้รับชัยชนะในที่สุด จากนั้นก็เดินทัพเพื่อ คอยตีตัดเสบียงฝ่ายพม่ามาอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้
กลับกรุงเทพฯ ระหว่างทางต้องผ่านเมืองราชบุรี ซึ่งทัพ กองทพพม่าขาดแคลนเสบยง ทหารอ่อนล้า เสยขวญ




ที่ ๓ ของไทย มีก�าลังพล ๕,๐๐๐ คน ตั้งทัพอยู่แต่ไม่รู้ เจ็บป่วยล้มตาย และทะเลาะเบาะแว้งกันอีกด้วย ส่งผลให้

ว่าทัพที่ ๒ ของพม่า ก�าลังพล ๑,๐๐๐ คน ได้ตั้งทัพที่ ขีดความสามารถของกาลังรบฝ่ายพม่าลดลงทุกวัน
บริเวณเขางูแล้ว กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท จนถึงวันศุกร์ เดือน ๓ แรม ๔ คา กรมพระราชวังบวร


จึงได้น�าทัพ ตีทัพที่ ๒ ของพม่าจนแตกพ่ายอีก แล้วจึง มหาสุรสิงหนาท ทรงสังเกตเห็นว่า ฝ่ายพม่ากาลังอ่อนลง


เดินทัพกลับพระนคร ล่วงเวลาได้ ๗ วัน กรมพระราชวัง มากแล้ว จึงให้แม่ทัพนายกองท้งปวงยกพลบุกค่ายพม่า
บวรมหาสุรสิงหนาท ได้ทรงปรึกษาหารือ (ประมาณ ทุกทัพทุกกอง (ฝ่ายริเร่มในการรบ) นาเอาปืนใหญ่ลากล้อ


สถานการณ์) กับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ออกมายิงค่ายพม่าทุกค่าย ทุกหอรบ จนค่ายพม่าพังทลาย
จุฬาโลกมหาราช ว่าฝ่ายไทยยังไม่ได้รับชัยชนะเด็ดขาด ลงมาหลายแหง ฝ่ายพม่าก็ยิงปืนใหญ่ตอบโต้ สู้กันจนค�่า

เน่องจากยังมีทัพพม่าท่ด้านทิศเหนือและทิศใต้อยู่ จาเป็น พม่าก็ต้านไม่ไหวท้งค่ายหนีไป กองทัพไทยเคล่อนพล






ต้องท�าลาย และขับไล่ออกไปจากราชอาณาจักรให้หมด เข้าค่ายพม่า จับเชลยและบรรดาเคร่องศัตราวุธได้เป็นอันมาก
ดังน้น อีก ๒ สัปดาห์ต่อมา พระบาทสมเดจพระพุทธยอดฟ้า และทัพไทยยังได้ไล่ตีพม่าไปจนถึงชายแดน


จุฬาโลกมหาราช จึงทรงเคล่อนทัพ (ท้งทางบกและ บทท่ ๖ จุดอ่อนและจุดแข็ง ประเด็นหลัก คือ



ทางเรือ) ขึ้นไปท�าศึกกับพม่าทางด้านทิศเหนือ เข้าตีทัพ “หลีกเล่ยงจุดแข็งข้าศึกและโจมตีจุดอ่อน” ต้องเป็นฝ่าย





ท่ ๓ ของพม่าท่เมืองลาปาง ท่บ้านระแหง แขวงเมืองตาก ควบคุมสถานการณ์ มิใช่ถูกควบคุมสถานการณ์โดยข้าศึก



















ทปากพงแถวลานาน่าน ผลการรบทพไทยได้รบชยชนะ ร้ท่ ร้เวลาทจะเข้าโจมต เมอข้าศึกหยดพกให้ก่อกวน






ทัพท่ ๓ ของพม่าแตกไปอีกทัพหน่ง คงเหลือทัพพม่า ข้าศึกอ่มหนาให้อดยาก ข้าศึกต้งม่นทาให้เคล่อนย้าย


ด้านทิศใต้เท่าน้น จากท่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าฝ่ายไทยเป็นฝ่าย ท�าการรบให้ไร้รูปแบบ



วางกาลัง และดาเนินกลยุทธ์ต่อฝ่ายพม่าอยู่ตลอดเวลา ในสงคราม ๙ ทัพ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท


ทาให้ได้เปรียบในการท�าสงครามครั้งนี้ ท่านทรงเป็นฝ่ายควบคุมสถานการณ์อย่างแท้จริง เพราะ


บทท่ ๕ ใช้พลานุภาพ ประเด็นหลัก คือ “ใช้กาลังรบ ขณะต้งค่ายท่ทุ่งลาดหญ้ากาญจนบุรีน้น หากเปรยบเทยบ





ท่แข็งแกร่งท่สุดเข้าทาการรบและโจมตีข้าศึก ถือเป็น กาลังของท้งสองฝ่ายท่เผชิญหน้ากันน้น จะเห็นได้ว่า







หนทางท่มีประสิทธิภาพมากท่สุด” แม่ทัพต้องรู้ว่า ทัพที่ ๒ ของฝ่ายไทย มีก�าลังพล ๓๐,๐๐๐ คน ขณะที่



เม่อไหร่ควรใช้กาลงรบตามแบบ และเม่อไหร่ควรใช้กาลง ฝ่ายพม่า ทัพท่ ๔ มีกาลังพล ๑๑,๐๐๐ คน เป็น







รบนอกแบบ ในสงครามมีการใช้กาลังรบเพียงสองแบบ ทัพหน้า และทัพที่ ๕ มีก�าลังพล ๕,๐๐๐ คน เป็นทัพ

คือ ก�าลังรบตามแบบและนอกแบบ โดยทั่วไปแล้วจะใช้ หนุนเข้าตีกรุงเทพฯ ซึ่งฝ่ายไทยมีก�าลังที่เหนือกว่า แต่













กาลังรบกันตามแบบ ใช้กาลังนอกแบบจะทาให้ได้รับ กรมพระราชวงบวรมหาสรสงหนาท กไมเลอกทจะเขาทาการ
ชัยชนะ ดังน้นผู้เช่ยวชาญในการสงคราม ต้องรู้จัก รบแตกหัก เพราะอาจทรงทราบดีว่า ถ้าเข้าตีไปแล้วอาจ


การผสมผสาน และพลกแพลงในการใช้กาลงจะทาให้ จะชนะทัพที่ ๔ และ ๕ ได้ (ชนะทางยุทธวิธี แต่แพ้ทาง




ใช้ก�าลังได้อย่างหลากหลายไร้รูปแบบ ยุทธศาสตร์ เหมือนการรบของญ่ปุ่นท่เพิร์ล ฮาเบอร์




ในสงคราม ๙ ทัพ สงครามนอกแบบก็คือ สงคราม ในสงครามโลกคร้งท่ ๒) แต่ทางด่านเจดีย์สามองค์ยังม ี
นาวิกศาสตร์ 44
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓





ทัพที่ ๖ ทัพที่ ๗ และทัพที่ ๘ อีก ซึ่งมีก�าลังเหนือกว่า กาวิละก็ออกมาตีขนาบอีกด้านหน่ง รบกันต้งแต่เช้าจนเท่ยง


ฝ่ายไทย แม้จะมีกาลังหนุนเป็นทัพหลวง อีก ๒๐,๐๐๐ คน ทัพท่ ๓ ของเจ้าเมืองตองอูก็แตกพ่ายถอยหนีกลับไป

ถ้ารบกันจริงอาจจะไม่ได้ชัยชนะอย่างเด็ดขาด และอาจ เชียงแสน ผลท่สุดฝ่ายไทยได้รับชัยชนะ ท้งน้พระยากาวิละ








ต้องสูญเสียกาลังพลจานวนมาก จึงใช้การรบแบบ ถือเป็นแม่ทัพท่เก่งกาจมาต้งแต่สมัยกรุงธนบุรี เม่อคร้ง

กองโจร ก่อกวนข้าศึกให้ต้องระวังตลอดเวลา รวมท้ง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา

คอยตีตัดเสบียงข้าศึก (จุดอ่อนข้าศึก) ทาให้ฝ่ายพม่า จักรี (ร.๑) และเจ้าพระยาสุรสีห์ (กรมพระราชวังบวร





อดอยาก ซ่งถือเป็นการโจมตีทางยุทธศาสตร์อันจะนาไป มหาสุรสิงหนาท) ยกทัพข้นตีนครเชียงใหม่คร้งน้นพระยา

สู่ชัยชนะท่เด็ดขาดและแน่นอนกว่า ขอถ้างถึง อาจารย์ กาวละได้นาเสบียงอาหาร และไพร่พลเข้าร่วมสมทบกับ


ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ เล่าในรายการ “ประวัติศาสตร์ไทย กองทัพพระเจ้าตากสินมหาราช ข้นมาตีนครเชียงใหม่


ในพงศาวดารพม่า” ว่า พม่าขาดแคลนเสบียงอย่างหนัก ในปี พ.ศ.๒๓๑๗ ฝ่ายโปมะยง่วน เจ้านครเชยงใหม่



ขนาดฆ่าม้า ต้มรองเท้าหนัง เส้อเกราะหนังเป็นอาหาร ไม่สามารถตานทานได พาพวกหลบหนออกไปทางประต ู



โดยคร้งหน่งฝ่ายอังวะได้ลาเลียงเสบียงเป็นการใหญ่ ช้างเผือก ฝ่ายไทยได้รับชัยชนะแล้วทรงสถาปนาพระยา



เพ่อป้องกันการถูกปล้น โดยใช้ช้างศึก ๖๐ เชือก กาวิละขึ้นเป็นเจ้านครล�าปาง และให้เจ้าหนานธัมมลังกา



ขนเสบียง และมีไพร่พลคุมกันหลายร้อยคน ทว่าก็ยัง เปนพระยาอปราชนครล�าปาง ข้นตรงตอกรงธนบุร เขาสยค









ถูกกองโจรของพระองค์เจ้าขุนเณรปล้นชิงและทาลาย รัตนโกสินทร์ เม่อคร้งพระยากาวิละยังตีเมืองเชียงแสนได้











ได้จนหมดสิ้น เปนชวงเวลาทสมเดจเจาพระยามหากษตรยศก (ร.๑) ได ้
บทท่ ๗ การดาเนินกลยุทธ์ ประเด็นหลัก คือ ปราบดาภิเษกข้นเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี พระยา




“ฉกฉวยโอกาสท่จะเป็นฝ่ายได้ประโยชน์ในการดาเนิน กาวิละที่นาไพร่พลและเชลยลงไปเฝ้า ได้รับการสถาปนา



กลยุทธ์” เคล่อนทัพเม่อได้เปรียบ ให้เคล่อนทัพอย่าง ข้นเป็น พระยาวชิรปราการ เจ้านครเชียงใหม่ ด้วยพระปรีชา



รวดเร็วดั่งสายลม โจมตีเหมือนดั่งสายฟ้าฟาดและไฟ สามารถและพระเดชานุภาพในการรบ ทรงสามารถขยาย
ในสงคราม ๙ ทัพ การดาเนินกลยุทธ์ที่สาคัญอีก ขอบขณฑสมาแผ่นดินล้านนาออกไปอย่างกว้างใหญ่




ครั้งหนึ่งก็คือ การตีทัพที่ ๓ ของพม่า ก�าลังพลประมาณ ไพศาล กอปรกับความจงรักภักดีท่ทรงถวายต่อพระบรม

๓๐,๐๐๐ คน มีเจ้าเมืองตองอูเป็นแม่ทัพ แบ่งกาลัง ราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก




ออกเป็น ๒ ทพย่อย ทพแรกเดนทางจากเชยงแสน มหาราช จึงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระนามข้นเป็น



เข้าทางแจ้ห่ม ส่วนอีกทัพ กาลังพล ๑๕,๐๐๐ คน “พระบรมราชาธิบดี ศรีสุริยวงศ์อินทรสุรศักด์ สมญา


ยกมาทางเชียงใหม่เคล่อนทัพเพ่อเข้าตีลาปาง แต่เข้าต ี มหาขัตติยราชชาติราไชยสวรรย์ เจ้าขัณฑสีมา พระนคร




ไม่แตกเพราะพระยากาวละเจ้าเมองลาปางต่อส้อย่าง เชียงใหม่ราชธานี” เป็น พระเจ้าประเทศราช ปกครองล้านนา


แข็งขัน เจ้าเมืองตองอูจึงเข้าล้อมเมืองไว้ พระบาทสมเด็จ ๕๗ หัวเมือง ได้แก่ นครเชียงใหม่ และหัวเมืองเหนือ



พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รับส่งให้เคล่อนทัพ ท้งหมด



จากปากพิงไปโจมตีทัพพม่าท่เมืองตองอู โดยวางแผนการ บทท่ ๘ การปรับเปล่ยนยุทธวิธ ประเด็นหลัก คือ

เข้าตีเมืองลาปางไว้ก่อนล่วงหน้า และส่งข่าวลับไปแจ้งให้ “รบเพ่อชนะและใช้กาลังทหารให้อ่อนตัว” ดังน้น ผู้นา






พระยากาวิละเพื่อทราบและปฏิบัติตามแผน จนได้เวลา ต้องพิจารณาว่าในสถานการณ์น้น ยุทธวิธีอะไรเหมาะสม
กองทัพไทยโดยเจ้าฟ้ากรมหลวงเจษฎากับเจ้าพระยา กับสถานการณ์ในสนามรบมากท่สุด ซุน วู เน้นอีกว่า







เสนา ยกทัพถึงเมืองล�าปางได้นากาลังท้งหมดบุกประชิด ยุทธวิธีท่จะรบให้ชนะ ต้องอ่อนตัว ทาให้เหมือนสายนา



เข้าโจมตีทัพพม่าอย่างรวดเร็ว ขณะท่ทหารของพระยา ท่ไม่มีรูปแบบ ไปได้ทุกท ี ่
นาวิกศาสตร์ 45
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


อย่างไม่เป็นกระบวนท่ากลับไปยังเมืองทวาย ทัพไทยจับ
ช้าง ม้า เชลย และได้ศาสตราวุธจานวนมาก


บทท่ ๙ การเดินทัพ ประเด็นหลัก คือ “การเลือก



ท่ต้งท่เหมาะสมและโจมตีข้าศึกได้ตามสถานการณ์ และ
ตามพ้นท่ท่จะดาเนินกลยุทธ์” โดยท่วไปแล้ว ในสนามรบ





และพ้นท่ ทุกกองทัพมักชอบท่สูงมองเห็นได้ไกล พยายาม










ภาพวาดการเคลื่อนทัพในสมัยสงครามเก้าทัพ ต้งม่นกองทัพให้ใกล้นา มีหญ้าและเสบียงเพยงพอ กาลงพล



ที่มา : www.manager.com ไม่มีโรคภัย ส่งเหล่าน้จะนาไปสู่ชัยชนะ

ในสงคราม ๙ ทัพ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ในสงคราม ๙ ทัพ ทัพไทยเดินทัพมาต้งรับพม่าท ่ ี



จุฬาโลกมหาราช ปรับการวางกาลังจากในอดีตท่ต้งรับ ทุ่งลาดหญ้าได้ก่อน ต้งทัพหลวงอยู่ท่เชิงเขาบรรทัด แล้ว





ในพระนครเป็นหลัก แล้วรอให้นาหลากมา กองทัพพม่าก ็ ให้กองหน้าต้งค่ายข้นหลายค่าย ชักปีกกาถึงกันทุก ๆ ค่าย




จะเลิกทัพไปเอง เป็นให้ยกทัพออกไปต้งรับนอกพระนคร เพ่อสกัดก้นมิให้พม่าลอบเข้าตีด้านหลัง แล้วให้ขุด





๓ ทัพ อีกหน่งทัพเป็นทัพหลวง ไว้เป็นกาลังสนับสนุน สนามเพลาะ ปักขวากหนามป้องกันข้าศก จากน้นกให้

กองทัพท้งสามได้ตลอดเวลา นอกจากจะออมกาลังแล้ว พระมหาโยธาคุมกองมอญ ๓,๐๐๐ คน ยกไปขัดตาทัพอย ู่



ยังอ่อนตัวสามารถไปสนับสนุนทัพของไทยทัพใดทัพหน่ง ท่ด่านกรามช้าง ฝ่ายทัพพม่าเดินทางผ่านแขวงเมืองไทรโยค








ท่อาจเพล่ยงพลาได้ สาหรับทัพพม่าแยกกันออกเป็น ตัดลงมาทางริมนาแควใหญ่ท่ท่ากระดาน แล้วเดินทางริมนา


๕ ทิศทาง และระยะทางไกลกันมากจึงมีโอกาสท่จะ ต่อจนถึงด่านกรามช้าง เห็นกองมอญของพระมหาโยธา


ให้การสนับสนุนกันเป็นไปได้ยาก รวมท้งเร่องการข่าว มีกาลังน้อยกว่าจึงเข้าตีทันที จนทัพกองมอญถอย









การตดต่อสอสารก็ยากดวยเช่นกน อกทงการออกไปตงรบ ไปท่ทุ่งลาดหญ้า ทัพพม่าไล่ติดตามจนเห็นทัพของ









ท่กาญจนบุรี ทาให้ทัพของพม่าไม่มีโอกาสท่จะสะสม กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ทัพพม่าจึงต้งค่าย
เสบียงได้อย่างพอเพียง เพราะเส้นทางจากเมาะตะมะถึง เผชิญหน้าอยู่ยังไม่เข้าโจมตีรอให้ทัพที่ ๕ ซึ่งติดตามมา



ด่านเจดีย์สามองค์ มีบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาชาวบ้าน อีกทัพหน่งเข้ามาเพ่มเติมกาลัง รวมแล้วประมาณ ๑๕,๐๐๐






อยู่น้อยมาก การสะสมเสบียงทาได้ลาบาก แม้พระเจ้าปดุง คน ส่วนทพหลวงของพระเจ้าปดง ตงค่ายอย่แนวต่อ




จะส่งสะสมเสบียงระหว่างการเคล่อนทพ เน่องจากการ ชายแดนบริเวณด่านเจดีย์สามองค์คอยฟังข่าวจากทัพหน้า







เตรียมเสบียงท่เมาะตะมะไม่สามารถเตรียมการได้อย่าง การต้งค่ายเผชญหน้ากันน้น (กองทัพอย่หางกันประมาณ


พอเพียง การขาดเสบียงถึงข้นท่ทหารพม่าต้องหาขุด ๒.๘ ก.ม.) ท้งสองฝ่ายได้ออกรบกันหลายคร้ง ทหารบาดเจ็บ




หัวเผือก มัน กินกันเลยทีเดียว ล้มตายกันท้งคู่แต่ก็ไม่ตีค่ายแต่ละฝ่ายให้แตกได้ จนในท่สุด













อีกคร้งหน่งของการปรับเปล่ยนยุทธวิธี ได้แก่ หลังจาก กรมพระราชวงบวรมหาสรสงหนาท จงดารใหตงกองโจรขนมา



ทัพท่ ๒ ได้รับชัยชนะท่ทุ่งลาดหญ้าแล้ว กรมพระราชวัง ทาการตีตัดเสบียงฝ่ายกองทัพพม่า จนฝ่ายพม่าขาดเสบียง


บวรมหาสุรสิงหนาท รับส่งให้พระยากลาโหมราชเสนากับ อีกทั้ง เจ็บป่วย โรคภัย อ่อนก�าลังลงแล้ว ทัพไทยจึงบุก


พระยาจ่าแสนยากร คุมกองทัพกลับลงมาทางบก และเม่อ ตีทัพพม่า (ทัพท่ ๔ และ ๕) ทุกค่ายทุกกองจนแตกพ่ายไป



ทราบข่าวว่า (การข่าวดีกว่า) กองทัพพม่ามาต้งค่ายอยู่ท ี ่ ดังน้น การเดินทัพจึงเป็นกลยุทธ์ท่สาคัญมากอีกประการหน่ง ึ



ด้านนอกเขางู จึงให้ยกทัพเข้าตีค่ายพม่าทันที ตามหลักการ ท่ต้องดาเนินให้รวดเร็วและทันเวลา



“รบให้ชนะทาให้เหมือนสายนาท่ไม่มีรูปแบบ ไปได้ทุกท่” บทท่ ๑๐ พ้นท่การรบ ประเด็นหลัก คือ “การเข้าถึง












รบพุ่งกันถึงข้นตะลุมบอน ฝ่ายพม่าสู้ไม่ได้ จึงแตกทัพหน ี พ้นท่เป็นส่งสาคัญท่จะช่วยในการปฏิบัติการ และจาเป็น
นาวิกศาสตร์ 46
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓




ู้






อย่างยงทแม่ทัพผชาญฉลาดจะตองร” รู้เขารู้เรา รบร้อยคร้ง กว่ามาก (การยุทธ์เส้นนอก) กองทัพไทยจึงชิงความได้เปรียบ
ชนะร้อยคร้ง รู้ฟ้ารู้ดิน จะชนะอย่างสมบูรณ์ หากแม่ทัพ ในการใช้พื้นที่การรบ สามารถสกัดกั้นทัพฝ่ายพม่าให้อยู่


ดูแลกาลังพลอย่างเช่นลูกน้อย แม้จะต้องเดินฝ่าหุบเหว บนเขา แม้ทัพพม่าจะได้เปรียบด้านความสูง สามารถใช้
ท่ลึก พวกเขาก็พร้อมท่จะเดินตาม ถ้าดูแลเขาอย่างบุตรชาย ปืนใหญ่ยิงใส่ค่ายฝ่ายไทยได้ แต่กรมพระราชวังบวรมหา



เขาก็พร้อมท่จะตายพร้อมแม่ทัพ ให้คานึงถึงคุณธรรมในการ สุรสิงหนาท ก็ใช้ความเด็ดขาดประกาศว่า “หากใคร ถอยหน ี


ปกครองทหาร การปกครองทหารต้องมีท้งพระเดชพระคุณ หรือไม่ยอมสู้รบให้ลงโทษอย่างหนัก โดยจับตัวใส่ครก



สมรภูมิทุ่งลาดหญ้าเป็นพ้นท่ท่สมเด็จพระพุทธ ขนาดใหญ่และโขกให้ร่างแหลกละเอียด” และพระบาท

ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช น่าจะทรงรู้จักเป็นอย่างดเพราะ สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ก็เสด็จมาท ่ ี
เคยเป็น “หลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี” ในรัชสมัยของ ทุ่งลาดหญ้าด้วย เป็นการสร้างขวัญกาลังใจให้ทัพไทย

สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ ระหว่างปี พ.ศ.๒๓๐๑ - พ.ศ.๒๓๑๐ ได้เป็นอย่างดี การต้งทัพอยู่ได้รอเวลาท่เหมาะสม ทัพพม่า


โดย“ยกกระบัตรหรือยุกรบัตร” เป็นตาแหน่งท่ได้รับแต่งต้ง ั ขาดเสบียงจนอ่อนล้าก่อน อีกท้งเม่อทัพหน้า คือ ทัพท่ ๔





จากพระเจ้าแผ่นดิน โดยเลือกจากผู้ท่เป็นขุนนาง หรือผู้ม ี และ ๕ ติดอยู่ท่ช่องเขา ทาให้ทัพท่ ๖ และ ๗ ของพม่า






ตระกูลจากราชสานัก ในพระไอยการอาญาหลวงระบ ุ กไมสามารถเดนทางมาเพมเตมกาลง หรอขยายพนทการรบได ้














ไว้ว่า “..ถ้าจะต้งยกกระบัตรให้ต้งผู้มีตระกูลอันเป็นราชการ เช่นเดียวกับทัพท่ ๘ ของพระเจ้าปดุง แม้จะยกทัพเลย

รู้ขนบธรรมเนียมในเมืองหลวงไป...” ยกกระบัตรถูกส่งไป ด่านเจดีย์สามองค์เข้ามาแล้ว แต่ก็ต้องหยุดทัพไว้ด้วย
ควบคุมดูแลหัวเมืองอย่างใกล้ชิด แม้ว่าเมืองน้น ๆ จะม ี เช่นกัน เม่อทัพไทยโจมตีทัพพม่าท่ทุ่งลาดหญ้าแตก



เจ้าเมือง กรมการเมือง ตลอดจนผู้ปกครองระดับท้องถ่น ประกอบกับกองทัพขาดแคลนเสบียงอาหาร ไพร่พลเจ็บป่วย

อันประกอบด้วย หม่น แขวง พัน ทาหน้าท่ดูแลอยู่แล้วก็ตาม ล้มตายเป็นจานวนมาก ขวัญกาลังใจก็ไม่มี พระเจ้าปดุง









จาเมองต้องรายงานราชการทกอย่างใหยกกระบตรทราบ จึงส่งให้ถอยทัพกลับไปท่เมืองเมาะตะมะในท่สุด






อีกท้งยกกระบัตรต้องดาเนินการในการจัดเก็บส่วย บทท่ ๑๑ พ้นท่แตกต่าง ๙ ประการ ประเด็นหลัก



ต่าง ๆ ส่งเมืองหลวง และมีหน้าท่ในการส่งการเก่ยวกับ คือ “ใช้มาตรการต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับพ้นท่ท่แตกต่างกัน






ศึกสงคราม การก่อสร้าง ปฏิสังขรณ์วัดและกาแพงเมือง ๙ ประการ สภาพจิตใจของมนุษย์ธรรมดา หนทางแห่ง


การขุดคลอง ฯลฯ (ทาให้รู้เส้นทางต่าง ๆ ได้) นอกจากน ี ้ ชัยชนะในการทาสงครามเป็นส่งท่แม่ทัพต้องรู้แจ้งเห็นจริง”







ยกกระบัตรยังมีหน้าท่ในการตัดสินคดีความ ร่วมกับ ลักษณะภูมิประเทศในพ้นท่การรบ มีภูเขาท่ก้นระหว่าง

เจ้าเมือง ปลัดเมือง และกรมการพิจารณาคดีท่ไม่ใช่ความ ชายแดนไทยกับพม่าด้านจังหวัดกาญจนบุรี คือ เทือกเขา


อุกฉกรรจ์มหันตโทษ ส่วนคดีอุกฉกรรจ์มหันตโทษน้น ตะนาวศรี แนวเทือกเขาท่อยู่ทางตะวันตกสุดน้น ถูกตัดจาก


เจ้าเมืองจะต้องส่งไปชาระยังกรุงศรีอยุธยา ดังกาหนดไว้ ชายฝั่งตะนาวศรี โดยรอยเล่อนเจดีย์สามองค์ ส่วนทาง





ในพระไอยการอาญาหลวงว่า “...อน่งราษฎรจะร้องทุกข์ ตะวันออกของเทือกเขาตะนาวศรีน้น เป็นหุบเขาสาละวิน
ก็ให้ร้องฟ้องแก่ยุกรบัตร ก็ให้ยุกรบัตรเอาคดีอันเขามา และทแยงไปทางตะวันออก เทือกเขาตะนาวศรีปกคลุมไปด้วย


ร้องฟ้องนั้น ให้พิจารณาจงเป็นสัจเป็นธรรมให้เห็นผิด ป่าไม้เป็นบริเวณกว้าง มีแม่นาแควใหญ่ และแควน้อย


และชอบ...” สาหรับการต้งทัพท่ทุ่งลาดหญ้า การเดินทัพ ไหลตัดผ่าน ในบริเวณน้มีลักษณะเป็นแนวลาดเขา เล็ก ๆ


ของไทยใช้ทัพบกร่วมกับทัพเรือ จึงสามารถเดินทัพได้อย่าง สลับหุบเขาแคบ ๆ ซึ่งมักจะกว้างเพียงราว ๒ กิโลเมตร

รวดเร็ว และกาลังพลไม่เหน่อยล้ามาก ประกอบกับเป็นการ และถัดออกไปทางตะวันออกอีกน้น มีเพียงลาดเขาโดด ๆ





เดินทัพเส้นใน ซ่งมีระยะทางส้นกว่า ส่วนพม่าเดินทาง อันเป็นจุดท่เทือกเขาตะนาวศรีส้นสุดลง ในท่ราบลุ่ม


ทางบกผ่านด่านเจดีย์สามองค์อย่างเดียวมีระยะทางไกล ภาคกลางของประเทศไทย ระดับความสูงเฉลี่ยของ
นาวิกศาสตร์ 47
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓



เทือกเขาตะนาวศรีในฝั่งพม่าจะสูงกว่าฝั่งไทย โดยมียอดเขา ในสงคราม ๙ ทัพ ไม่ปรากฎหลักฐานว่าฝ่ายใดฝ่ายหน่ง

หลายยอดที่สูงถึง ๑,๐๐๐ เมตร ขณะที่ฝั่งไทยยอดเขา ได้ใช้ไฟโจมตีกองทัพของอีกฝ่ายหน่ง แต่ประเด็น



สูงสุดสามารถวัดได้ราว ๘๐๐ เมตร จุดสูงท่สุดใน ในการทาสงครามของพระเจ้าปดุงท่ต้องการเข้ามาต ี













เทือกเขาตะนาวศรีน้นอยู่ในเทือกเขาบีล็อกตอง อ.สวนผ้ง กรงรตนโกสนทร พอสรปไดดงน ๑) พระเจาปดุง ตองการ






จังหวัดราชบุรี ซ่งสูงท่สุดท่ ๒,๒๓๑ เมตร สาหรับพ้นท ่ ี จะแผ่เดชานภาพ เช่นเดยวกบวรกษตรย์พม่าองค์ก่อน





จังหวัดกาญจนบุรี (ดูภาพท่ ๓) จึงเป็นภูเขาสูงและมีแม่นา ้ � ได้แก่ พระเจ้าบุเรงนอง พระเจ้าอลองพญา และพระเจ้า














หลายสาย พนทท่เป็นท่ราบ หรือพนทการเกษตรจึงมีน้อย มงระ ทเคยรบชนะไทยมาแลว และ ๒) เพอให้เปนทเกรงขาม










การหาเสบยงในสมยกอนจงคอนขางลาบาก ประกอบกบ แก่ประเทศราชท้งหลาย เช่น มอญ ไทยใหญ่ และยะไข่ เป็นต้น







ภูเขามีป่ารก โอกาสท่จะเกิดโรคภัยจึงเกิดข้นได้ง่าย การเดิน พระเจ้าปดุงหลังจากพ่ายแพ้ในสงครามเก้าทัพคร้งน้แล้ว



ทัพของพม่าจากเมืองเมาะตะมะ เพ่อเข้าทางด่าน ยังได้พยายามส่งกองทัพมาตีกรุงรัตนโกสินทร์ อีกถึง


เจดีย์สามองค์ กับเข้าทางด่านแม่ชะเมาจึงต้องข้ามนา ๕ คร้ง ตลอดระยะเวลา ๑๗ ปี (พ.ศ.๒๓๒๘ - พ.ศ.๒๓๔๕)



เดินเรียบฝั่ง และเดินลัดเลาะเขาเป็นหลัก จึงถูกจากัด แต่ก็พ่ายแพ้ทุกคร้งไป อีกท้งยังส่งผลให้รัฐมอญ กะเหร่ยง











ไม่สามารถเดินทัพขนาดใหญ่ได้พร้อมกัน (เส้นทางการว่ง และยะไข่ ก่อกบฎขนหลายครง เพอต่อต้านการขดรด
Siam Trial 2019 บริเวณทุ่งลาดหญ้า เป็นท่ราบ สลับกับ ภาษี และเสบียงเพ่อใช้ในการสงครามอยู่ตลอดเวลา


แม่น�้า และภูเขา ที่ผู้เขียนถ่ายไว้ในเช้าวันที่ ๑๕ ธันวาคม พระเจ้าปดุงสวรรคตในปี พ.ศ.๒๓๖๒ รวมระยะเวลา
พ.ศ.๒๕๖๒) พระเจ้าปดุงจึงแบ่งกองทัพออกเป็น ๙ ทัพ การครองราชย์ประเทศพม่านานถึง ๓๗ ปี




เพ่อให้เข้าถึงกรุงเทพฯ ได้อย่างรวดเร็ว สาหรับกองทัพ สาหรับอารมณ์โทสะของพระเจ้าปดุงน้น ในสงคราม


ไทยจากกรุงเทพฯ ถึงกาญจนบุรี เป็นพ้นท่ราบและม ี ๙ ทัพ ได้ถูกบันทึกไว้ว่า ทัพที่ ๑ ซึ่งมีทั้งทัพบก ทัพเรือ

แม่นาหลายสาย จงสามารถเดินทัพได้สะดวกกว่า อีกท้ง มีอีกหน้าท่หน่ง คือ การจัดหาเสบียงไว้ให้ทัพใหญ่ของพม่า





กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ได้ใช้มาตรการอย่างน้อย ที่จะมารวมพลที่เมืองเมาะตะมะ แต่แม่ทัพที่ ๑ แมงยีแมง

สองพ้นท่ คือ ในพ้นท่ยุทธศาสตร์อย่าโจมตี ถ้าข้าศึก ข่องกยอ ไม่อาจจัดหาเสบียงได้เพียงพอ จึงถูกส่งประหาร






ยึดครองพ้นท่ได้แล้ว ซ่งการต้งทัพเผชิญหน้ากันท ่ ี ชีวิตก่อนหน้านั้น ขณะที่ตั้งทัพอยู่ที่เมาะตะมะได้ ๕ วัน






ทุ่งลาดหญ้า ก็ไม่ทรงเร่งรีบโจมตีตามท่ ซุน วู กล่าวไว้ แต่กองทัพยังไม่สามารถข้ามแม่นาคง ไปฝั่งเมาะลาเลียงได้



เพราะหากเร่งโจมตีจะต้องสูญเสียกาลังพลเป็นอย่างมาก พระองค์ทรงถามแม่ทพนายกองกไม่มใครกล้าตอบ


อีกพ้นท่หน่ง คือ พ้นท่ก่งกลาง ให้แสวงหาเสบียง ซ่งใน เพราะรู้ถึงอารมณ์โทสะของพระเจ้าปดุง เม่อไม่มีใครตอบ








พ้นท่น้กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ได้ใช้มาตรการ พระองค์จึงได้พุ่งพระแสงหอกใส่แม่ทัพนายกองทันที



ตีตัดเสบียงจากแนวหลังของข้าศึกจนได้ผลสาเร็จตามท ่ ี ทาให้แม่ทัพคนหน่งได้รับบาดเจ็บด้วย ต่อมาด้วยอารมณ์


กล่าวไปแล้ว โทสะนี้ส่งผลให้นายทัพนายกองขวัญเสีย ถึงขนาด
บทท่ ๑๒ โจมตีด้วยไฟ ประเด็นหลัก คือ “ใช้ไฟช่วย กล้าโกหกว่าเสบียงพอเพียงต่อการรบได้อีก ๑ เดือน ซึ่ง


ในการโจมตี” เข้าโจมตีด้วยไฟในฤดูกาลทเหมาะสม และ ในความเป็นจริงทหารพม่าอดอยากต้งแต่เร่มเดินทัพแล้ว






ในวันเวลาท่กระทาได้ ถ้าไฟไหม้เหนือลม อย่าโจมตีใต้ลม บทท่ ๑๓ การใช้สายลับ หรือจารชน ประเด็นหลัก
เข้าสู่สงครามด้วยความระมัดระวัง อย่าทาสงครามถ้า คือ “เข้าใจสถานการณ์ข้าศึกโดยการใช้สายลับ


ไม่เกิดประโยชน์กับประเทศชาติ แม่ทัพไม่ควรทาสงคราม หรือจารชน” สถานการณ์ข้าศึกได้มาจากคนที่ใช้ให้เป็น

เพราะอารมณ์โทสะ แม่ทัพต้องมีสติอย่เสมออย่าเอา สายลับมี ๕ ประเภท ได้แก่ สายลับท้องถ่น สายลับจากคนใน



เร่องส่วนตัวมาอ้างเหตุ แล้วก่อสงครามกับประเทศอ่น ๆ สายลับจากฝ่ายข้าศึก สายลับเดนตาย และสายลับเป็นข่าว
นาวิกศาสตร์ 48
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version