The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาวิกศาสตร์ ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกศาสตร์, 2022-07-06 02:38:08

นาวิกศาสตร์ เดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

นาวิกศาสตร์ ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

พระบรมราโชวาท







“...ความจงรักภักดีในชาตินั้น คือความสำนึกตระหนักในความเป็นไทย ในอิสรภาพและในหน้าที่
ที่จะธำรงรักษาชาติประเทศไว้ให้เป็นอิสระมั่นคง. ตามประวัติการณ์ที่ปรากฏมา ความภักดีในชาติทำให้

คนไทยมีชีวิตจิตใจผูกพันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่แยกพวกแยกเหล่า มีปรกติสามัคคีพร้อมเพรียงกันเสมอ
ไม่ว่าจะทำการสิ่งใด...”


พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ทหารรักษาพระองค์ ในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตน และสวนสนาม
ของทหารรักษาพระองค์ วันศุกร์ ที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๒๕

บรรณาธิการ แถลง





ครับ ท่านสมาชิกฯ และผู้อ่านนิตยสารนาวิกศาสตร์ทุก ๆ ท่าน
สวัสดี ในเดือนนี้นิตยสารนาวิกศาสตร์ได้มีการปรับรูปแบบตัวอักษรของ
ชื่อนิตยสารฯ ใหม่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการราชนาวิกสภา
ในเดือนธันวาคมที่ผ่านมา โดยได้ปรับรูปแบบตัวอักษรเป็นรูปแบบที่เคยใช้มาในอดีต
เพื่อคงความเป็นเอกลักษณ์ของทหารเรือ ตัวอักษรดังกล่าว มีที่มาจากตัวอักษร
ที่ติดอยู่ท้ายเรือรบของราชนาวีไทย โดยมีต้นแบบมาจากเรือหลวงหลาย ๆ ลำ
ของราชนาวีไทย เช่น “เรือหลวงแม่กลอง” เรือครูแห่งราชนาวีไทย เป็นต้น
ตัวอักษรดังกล่าว ออกแบบโดย คุณครู พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์ ดังนั้น

เพื่อคงความเป็นเอกลักษณ์ของนิตยสารนาวิกศาสตร์ ซึ่งถือว่าเป็นนิตยสารฯ
ของทหารเรือไทย จึงได้นำเอาตัวอักษรดังกล่าวมาเป็นรูปแบบและจะใช้ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป
เรื่องที่น่าสนใจสำหรับนิตยสารฯ ในเดือนนี้ ได้แก่ ความภูมิใจแห่งราชนาวีไทย ในโอกาสที่ เรือหลวงกระบี่
ได้รับเชิญให้เข้าร่วมกิจกรรม International Fleet Reviews Sydney 2013 ณ เมืองซิดนีย์ เครือรัฐออสเตรเลีย
ร่วมกับทหารเรือหลาย ๆ ชาติ ถือว่าเป็นความภาคภูมิใจของทหารเรือไทยเป็นอย่างยิ่ง โดย นาวาตรี กำชัย เจริญพงค์ชัย
“มีดเหน็บ” ประวัติความเป็นมาและความภาคภูมิใจของนักเรียนนายเรือที่ได้มีโอกาสห้อยมีดเหน็บเป็นเครื่องประกอบ
เครื่องแบบ โดย พลเรือตรี จรินทร์ บุญเหมาะ นอกจากนี้ยังมีบทความที่น่าสนใจและคอลัมน์ประจำอย่างครบถ้วน

และตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป นิตยสารนาวิกศาสตร์ ได้เปิดคอลัมน์ประจำขึ้นมาอีก ๑ เรื่อง คือ “ราชนาวีไทย
ปลายด้ามขวาน” ซึ่งจะเป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของทหารเรือที่ได้ปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ รวมถึงเป็นช่องทางให้กับท่านสมาชิกฯ และผู้อ่านที่อยากจะส่งกำลังใจไปให้กับทหารหาญที่ปฏิบัติงาน
ในพื้นที่ดังกล่าว ก็จะส่งผ่านทางคอลัมน์นี้ได้เช่นกันนะครับ
สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการฯ ขอแก้ไขคำผิดในนิตยสารนาวิกศาสตร์ ฉบับเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ หน้า ๔๐
บรรทัดที่ ๕ ความเดิมว่า “อย่างการรบที่เกาะสีชัง วันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๘๔” เป็น “การรบที่เกาะช้าง วันที่
๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๘๔” ซึ่งกองบรรณาธิการฯ ขอกราบขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย พบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีครับ.....

























(ชวิช วงษ์รัตน์)

บรรณาธิการนิตยสารนาวิกศาสตร์

สารบัญ



นายกกรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือโท สุริยะ พรสุริยะ
รองนายกกรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือตรี พิทักษ์ พิบูลทิพย์
กรรมการราชนาวิกสภา บทความ
พลเรือตรี ไพฑูรย์ ประสพสิน
พลเรือตรี พันเลิศ แกล้วทนงค์
พลเรือตรี นฤดม ชวนะเสน ๖ รู้จัก Gwanggaeto the Great
พลเรือตรี อธินาถ ปะจายะกฤตย์ พลเรือเอก ศุภกร บูรณดิลก
พลเรือตรี ปิติ วัลยะเพ็ชร์
พลเรือตรี ปัญญา เล็กบัว ๑๖ นานาวิกาสารา ๕๖๓
พลเรือตรี นิเวช บุตรศรี
พลเรือตรี วิเลิศ สมาบัติ พลเรือโท พัน รักษ์แก้ว
พลเรือตรี ประพจน์ สีลาเขต ๒๗ คนทรง
พลเรือตรี สุพจน์ คลังวิจิตร
พลเรือตรี สมประสงค์ นิลสมัย พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์
พลเรือตรี กาญจน์ ดีอุบล
กรรมการและเลขานุการราชนาวิกสภา ๓๔ มีดเหน็บ
นาวาเอก ชวิช วงษ์รัตน์ พลเรือตรี จรินทร์ บุญเหมาะ
เหรัญญิกราชนาวิกสภา
เรือเอก ประพันธ์ ผลวงษ์ ๓๙ “ศอบอพอ ถ้อยแถลง ตอน... NCS & Supply Support”
ที่ปรึกษาราชนาวิกสภา นาวาเอก ภาวนา เจนถนอมม้า
พลเรือตรี จุมพล ลุมพิกานนท์
พลเรือตรี ช่อฉัตร กระเทศ ๔๙ ภาพอนาคตของประชาคมอาเซียน : การเปลี่ยนแปลง
นาวาเอก วิพันธุ์ ชมะโชติ
นาวาเอก ประพัฒน์ สมบุญเจริญ ที่กระทบต่อประเทศไทย (Thailand under the coming
นาวาเอก สุวิทย์ จันทร์เพ็ญศรี of ASEAN community)
บรรณาธิการ นาวาเอก กิตติพงษ์ จันทร์สมบูรณ์
นาวาเอก ชวิช วงษ์รัตน์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ ๖๒ ความภาคภูมิใจแห่งราชนาวีไทย
นาวาเอกหญิง ชัญญา ศิริพงษ์
ประจำกองบรรณาธิการ International Fleet Review Sydney 2013
นาวาเอก ก้องเกียรติ สัจวุฒิ นาวาตรี กำชัย เจริญพงศ์ชัย
นาวาเอก ธาตรี ฟักศรีเมือง
นาวาเอก โกศล อินทร์อุดม ๖
นาวาเอก ธรรมนูญ วิเศษสิงห์
นาวาโทหญิง ปานะรี คชโคตร
นาวาโทหญิง แสงแข โตษยานนท์
นาวาโทหญิง จิฑาพัชญ์ ราษฎร์นิยม
นาวาตรีหญิง กมลชนก ศิริสุนทร
เรือเอก ประมวล เผือกสง่า
เรือเอก วรวุทย์ บุญช่วยช้อย
เรือโทหญิง นิพัฒน์ เพชรศิริ
เรือตรีหญิง อาภาลัย เรืองศรี
สำนักงานราชนาวิกสภา ข้อคิดเห็นในบทความที่นำลงนิตยสารนาวิกศาสตร์เป็นของ
ถนนอรุณอมรินทร์ บางกอกน้อย กรุงเทพ ฯ ๑๐๗๐๐ ผู้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานใดของรัฐและ
โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๐๗๒, ๐ ๒๔๗๕ ๔๙๙๘ มิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด ได้นำเสนอไปตามที่ผู้เขียน
s ส่งข้อมูล/ต้นฉบับได้ที่ [email protected] ให้ความคิดเห็นเท่านั้น การกล่าวถึงคำสั่ง กฎ ระเบียบ เป็นเพียง
และ [email protected]
s อ่านบทความเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ WWW.RTNI.ORG ข่าวสารเบื้องต้น เพื่อประโยชน์แก่การค้นคว้า...

สารบัญ









คอลัมน์ประจำ




๖ รู้จัก Gwanggaeto the Great ๑๖ ๑ บรรณาธิการแถลง

๔ คุยกับกองบรรณาธิการ

๕ ภาพในอดีต

๖๑ ราชนาวีที่ปลายด้ามขวาน

๗๑ ข่าวนาวีรอบโลก

๗๖ นานาสาระ

๗๘ หนังสือน่าอ่าน

๘๐ ประทีปธรรม

๘๑ ภาพกิจกรรมกองทัพเรือ
๒๗ ๘๙ พจนานุกรมศัพท์ชาวเรือ



๙๑ สุขภาพนาวี

๙๓ สารพันสาระเพลง

๙๕ การฌาปนกิจสงเคราะห์

แห่งราชนาวี

๓๔ ๙๗ มาตราน้ำ เดือนมีนาคม ๒๕๕๗

เวลาดวงอาทิตย์ - ดวงจันทร์ ข้น - ตก
เดือนมีนาคม - เมษายน ๒๕๕๗







ปกหน้า... การเข้าตีต่อเนื่องในการยกพลขึ้นบกของทหารนาวิกโยธิน
ปกหลัง... อนุสาวรีย์ทหารนาวิกโยธิน
ในปกหน้า... พระบรมราโชวาท ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ในปกหลัง... การท่าเรือแห่งประเทศไทย
จัดพิมพ์โดย... กองโรงพิมพ์ กรมสารบรรณทหารเรือ
เจ้าของ... ราชนาวิกสภา
ผู้โฆษณา... นาวาเอก ชวิช วงษ์รัตน์

ผู้พิมพ์... นาวาเอก ก้องเกียรติ สัจวุฒิ

คุยกับกองบรรณาธิการฯ

















คนที่พากเพียรไม่หยุด แม้แต่เทวดาก็กีดกันความสำเร็จไม่ได
เทวา น อิส.สน.ติ ปุริสปรก.กมส.ส (เทวา นะ อิสสันติ ปุริสะปะรักกะมัสสะ) “






สวัสดีค่ะท่านผู้อ่านเดือนกุมภาพันธ์นี้เป็นเดือนที่มีวันสำคัญทางศาสนา กองบรรณาธิการนิตยสารนาวิกศาสตร์

จึงนำคำพระมาฝาก วันสำคัญทางศาสนาที่กล่าวถึง นั่นก็คือ “วันมาฆบูชา” เป็นวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ มีเหตุการณ์
อัศจรรย์ที่ พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าจำนวน ๑,๒๕๐ รูปมาเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์
แคว้นมคธ โดยมิได้นัดหมาย พระสงฆ์ทั้งหมดเป็นพระอรหันต์ ผู้ได้อภิญญา ๖ และเป็นผู้ที่ได้รับการอุปสมบท
โดยตรงจากพระพุทธเจ้า ในวันนี้พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดง “โอวาทปาติโมกข์” ในที่ประชุมสงฆ์เหล่านั้น ซึ่งเป็นทั้ง
หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการปฏิบัติที่นำไปใช้ได้ทุกสังคม มีเนื้อหาโดยสรุปคือ “ให้ละความชั่วทุกชนิด ทำความดี
ให้ถึงพร้อมและทำจิตใจให้ผ่องใส” (ข้อมูลจากเว็บไซต์ของกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม)
กิจกรรมของกองบรรณาธิการฯ ปี ๒๕๕๗ เพื่อคืนกำไรให้กับท่านสมาชิกฯ น่าติดตามเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่ว่า
ห้ามกะพริบตากันเลยทีเดียว ตัวอย่างเช่น กิจกรรม “บรรณาธิการสัมพันธ์” งานนี้เป็นการเชิญบรรณาธิการนิตยสาร
ในแวดวงที่เกี่ยวข้องมาพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อพัฒนาการผลิตนิตยสารของเราให้เป็นประโยชน์

ต่อท่านสมาชิกฯ ให้มากที่สุด การจัดสัมมนา “เทคนิคการเขียนและถ่ายภาพประกอบบทความ” โดยวิทยากร
ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ การจัดปาฐกถา ในหัวข้อที่อยู่ในความสนใจของสังคมในขณะนี้ ท่านสมาชิกฯ สามารถแนะนำ
เข้ามาได้นะคะว่าต้องการจะให้จัดสัมมนาในหัวข้อใดเป็นพิเศษ จากที่กล่าวมาข้างต้น ท่านสมาชิกฯ คงเห็นแล้วนะคะ
ว่ากิจกรรมปีนี้จุใจแน่นอน
สุดท้ายนี้มีข่าวฝากสำหรับผู้ที่เขียนบทความส่งมาและได้ลงตีพิมพ์ในนิตยสารตร์นาวิกศาสตร์ รวมถึงผู้ชนะ
การประกวดภาพถ่ายทางทหารเมื่อปีที่แล้วที่ยังไม่ได้รับรางวัล ขอให้ติดต่อกลับกองบรรณาธิการฯ รางวัลรอท่านอยู่
พบกันใหม่เดือนหน้า สวัสดีค่ะ






กองบรรณาธิการฯ

ภาพในอดีต




นาวาตรี สงวน เกลียวรุ่งสวัสดิ์ [email protected]



พลเรือเอก สินธุ์ กมลนาวิน
ผู้บัญชาการทหารเรือ

ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องยศ
จอมพลเรือ แด่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ณ ห้องโถงนายทหาร
เรือหลวงศรีอยุธยา
เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม
พ.ศ.๒๔๙๓



เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินจากทวีปยุโรปนิวัติพระนคร

ในวันที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ.๒๔๙๓ นั้น ทางกองทัพเรือได้จัดกระบวนเรือรับเสด็จฯ ซึ่งประกอบด้วย เรือหลวงศรีอยุธยา
เป็นเรือพระที่นั่งทรง เรือหลวงสุราษฎร์เป็นเรือพระที่นั่งรอง เรือหลวงสารสินธุ เรือหลวงทยานชล เรือหลวงคำรณสินธ ุ
เรือ ต.๔ เรือ ต.๕ เรือ ต.๖ เป็นเรือในกระบวน เรือหลวงอาดัง เป็นเรือรับราชสัมภาระ โดยมีกำหนดการคือ
เวลา ๐๓๓๐ เรือหลวงสารสินธุ เรือหลวงทยานชล และ เรือหลวงคำรณสินธุ ออกเรือไปพบกับ เรือซีแลนเดีย แล้ว
จัดกระบวนนำเข้าสู่สันดอนปากแม่น้ำเจ้าพระยา เรือหลวงรัตนโกสินทร์ และ เรือหลวงสุโขทัย ยิงสลุตถวายคำนับ
ลำละ ๒๑ นัด เวลา ๐๘๐๐ เรือ ต.๔ เข้าเทียบกราบขวาเรือซีแลนเดีย เพื่อเชิญเสด็จฯ ขึ้นเรือหลวงสุราษฎร์
เครื่องบินของกองทัพเรือ ๓ หมู่ บินทักษิณาวรรตโปรยพวงดอกไม้และข้าวตอกดอกไม้ลงบนเรือหลวงสุราษฎร์

เวลา ๐๘๓๐ เรือหลวงสุราษฎร์ ซึ่งเป็นเรือพระที่นั่งรองออกเรือ เมื่อจวนถึงป้อมพระจุลจอมเกล้า ป้อมพระจุลจอมเกล้า
ยิงสลุตถวายคำนับ ๒๑ นัด เมื่อ เรือหลวงสุราษฎร์มาถึงใกล้ เรือหลวงศรีอยุธยา เรือหลวงศรีอยุธยา ยิงสลุตถวายคำนับ
๒๑ นัด เวลา ๑๐๐๐ เรือหลวงสุราษฎร์ ทอดสมอต่อท้ายเรือหลวงศรีอยุธยา แล้ว เรือ ต.๔ เทียบ เรือหลวงศรีอยุธยา
ส่งเสด็จฯ เจ้าพนักงานพระแสงต้นเชิญพระแสงฝักทองเกลี้ยงน้อมเกล้าฯ ถวาย เวลา ๑๐๓๐ ทำพิธีทูลเกล้าฯ
ถวายเครื่องยศจอมพลเรือ ณ ห้องโถงนายทหาร เรือหลวงศรีอยุธยา จอมพล ป.พิบูลสงคราม รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงกลาโหม อ่านคำกราบบังคมทูล ในการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องยศจอมพลเรือ พลเรือเอก สินธุ์ กมลนาวิน
ผู้บัญชาการทหารเรือทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องยศจอมพลเรือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับแล้วมีพระราชดำรัสตอบ
เวลา ๑๑๓๐ เรือหลวงศรีอยุธยา ออกเรือเดินทางเข้ากรุงเทพฯ เวลา ๑๕๐๐ เรือหลวงศรีอยุธยาเข้าเทียบท่า
ราชวรดิฐ เมื่อเทียบเรือเรียบร้อยแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินจาก เรือหลวงศรีอยุธยา

ไปประทับบนพระที่นั่งราชกิจวินิจฉัย เรือหลวงแม่กลอง ยิงสลุตถวายคำนับ ๒๑ นัด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เสด็จฯ จากพระที่นั่งราชกิจวินิจฉัยโดยรถยนต์พระที่นั่งเข้าสู่พระบรมมหาราชวัง จากนั้นเสด็จฯ จากพระบรมมหาราชวัง
ไปประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เป็นอันเสร็จสิ้นพิธี



นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 5

ตอนแรก



































“แบบเรือฟริเกตที่ได้รับการคัดเลือก เป็นแบบที่ ใต้น้ำ ติดตั้งระบบอำนวยการรบและระบบอาวุธจาก
พัฒนามาจากเรือพิฆาตชั้น Kwanggaeto Class ยุโรป และสหรัฐฯ ซึ่งสามารถปฏิบัติการรบ ได้ทั้ง
Destroyer (KDX-I) ซึ่งเรือฟริเกตที่กองทัพเรือ ๓ มิติ รวมทั้งป้องกันตัวเองในระยะประชิด ตาม

จัดหามีการออกแบบและสร้างเรือโดยใช้มาตรฐาน มาตรฐานยุโรป สหรัฐฯ และกองทัพเรือที่มีใช้งานและ
ทางทหารของสหรัฐฯ และกองทัพเรือเกาหลี อีกทั้ง กำลังจัดหา”
ได้รับการรับรองแบบจากสถาบันจัดชั้นเรือซึ่งเป็น
สมาชิกของ IACS (International Association of
Classifications Society) โดยแบบเรือดังกล่าว
มีระวางขับน้ำสูงสุด ๓,๗๐๐ ตัน ความเร็วสูงสุด
ต่อเนื่อง ๓๐ นอต ระยะปฏิบัติการประมาณ ๔,๐๐๐

ไมล์ทะเล กำลังพล ๑๓๖ นาย ลักษณะของเรือ
ออกแบบโดยใช้ Stealth Technology และลด
การแพร่คลื่นแม่เหล็กตัวเรือ รวมทั้งลดการแพร่เสียง



6 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ข้อความข้างต้นผู้เขียนคัดมาจากเว็บไซต์ของ และอิทธิพลออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาล
สำนักงานจัดหายุทโธปกรณ์ทหารเรือ กองทัพเรือ เมื่อประทับใจในเรื่องราวของพระองค์ จึงได้สนใจ

เมื่อ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๖ โดยสรุปคือ แบบเรือฟริเกตใหม่ ติดตามข้อมูลที่มาที่ไปของโครงการ KDX-1 ที่ใช้
ของกองทัพเรือ จะเป็นแบบที่พัฒนามาจากแบบ พระนามของพระองค์เป็นชื่อเรือลำแรก และเมื่อ
เรือพิฆาตกองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี ชั้น Gwanggaeto กองทัพเรือได้แถลงว่า เรือฟริเกตใหม่จะใช้แบบที่
the Great (โดยทั่วไปคำสะกดจะมิใช่ “Kwanggaeto”) พัฒนามาจากเรือดังกล่าว จึงเห็นว่าหากจะจัดทำ
ซึ่งเป็นเรือตามโครงการเรือพิฆาตรุ่นแรกของประเทศ บทความเพื่อแนะนำท่านผู้อ่านให้รู้จักพระองค์ท่าน
ดังกล่าว (Korean Destroyer Experimental 1 หรือ และทราบถึงคุณสมบัติโดยสังเขปของเรือต้นแบบเรือ
KDX-1) “Gwanggaeto the Great” เป็นพระนามของ ฟริเกตใหม่ของเรา น่าจะเป็นการดี และเพื่อให้

พระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่บรรดาประชาชน บทความนี้มีความสมบูรณ์อ่านแล้วสนุก และมีสาระ
ในคาบสมุทรเกาหลียกย่อง และถวายพระราชสมัญญา มากขึ้น จึงขอนำเสนอความเป็นมาเชิงประวัติศาสตร์
“มหาราช” ต่อท้ายพระนาม และเรื่องราวเกี่ยวกับกองทัพเรือประเทศดังกล่าวด้วย
ผู้เขียนไม่ค่อยคุ้นเคยกับประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
มากนัก เคยไปเยือนเป็นระยะเวลาสั้น ๆ เพียง ๒ ครั้ง
ครั้งแรก เมื่อ ๖ ปีมาแล้ว ได้ร่วมคณะผู้บัญชาการทหารเรือ
สมัยนั้นไปเยือนตามคำเชิญของกองทัพเรือประเทศ
ดังกล่าว และอีกครั้งหนึ่งเมื่อไม่นานมานี้ ในฐานะที่
ปรึกษาบริษัทผู้ประสานงานในประเทศไทยของบริษัท

สร้างเรือที่ใหญ่ที่สุดของประเทศนั้น ที่ส่งแบบเรือฟริเกต
เข้าร่วมการคัดเลือกด้วยแต่ไม่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งจาก
การไปเป็นที่ปรึกษาบริษัทดังกล่าว และโดยพื้นฐานที่
ชอบอุปนิสัยประจำชาติที่จริงจัง เป็นนักสู้ เข้มแข็ง
กล้าหาญ เสียสละ และรักชาติอย่างถึงที่สุดของคนชาตินี้ ความเป็นมาเชิงประวัติศาสตร์
แม้บางครั้งจะดูแข็งกระด้างและก้าวร้าวไปบ้าง คาบสมุทรเกาหลี เป็นดินแดนที่มีเหตุการณ์
ประกอบกับมีเวลาอ่านหนังสือ ดูโทรทัศน์ นั่งหน้า เรื่องราวความเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องยาวนาน

จอคอมพิวเตอร์มาก จึงได้สนใจ ค้นคว้าหาข้อมูลสิ่งที่ เริ่มมาตั้งแต่เป็นดินแดนของผู้คนหลากเผ่าพันธุ์
อยากรู้อยากเห็นจากประเทศนี้อย่างจริงจัง โดยเฉพาะ จนกระทั่งรวมตัวขึ้นเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ ต่อมาถูกจีน
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และกองทัพเรือ รวมทั้งยังได้ ยึดครอง เมื่อได้เอกราชจากจีนแล้วคาบสมุทรเกาหลี
ติดตามชมภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์หลายเรื่อง ก็ประกอบด้วย ๓ อาณาจักรสำคัญ (อาณาจักรโคกูรยอ
เรื่องที่ประทับใจที่สุดคือ King Gwanggaeto the อาณาจักรแพกเจ และอาณาจักรชิลล่า) ก่อนจะรวมตัว
Great ภาพยนตร์เรื่องนี้ ยาวประมาณ ๘๐ ตอนจบ กันเป็นอาณาจักรเดียวปกครองด้วยราชวงศ์ ๒ ราชวงศ์
เป็นเรื่องของพระเจ้าควางแกโทมหาราช พระมหา (ราชวงศ์โครยอ และราชวงศ์โชซอน) ต่อมาถูกญี่ปุ่น
กษัตริย์นักรบ ตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ผจญอุปสรรคต่าง ๆ ยึดครองเป็นอาณานิคม จนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒
จนขึ้นครองราชสมบัติปกครองบ้านเมือง ทำสงคราม ตามมาด้วยสงครามเกาหลีที่ทำให้ต้องแบ่งดินแดนเป็น

และดำเนินนโยบายในการรวมชาติเผ่าพันธุ์ ขยายดินแดน ๒ ประเทศในปัจจุบัน คือ เกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 7

มีความพยายามที่จะรวมประเทศทั้งสอง แต่ยังไม่สำเร็จ อาณาจักรโชซอนโบราณ (Ancient Choson)
ซึ่งเรื่องราวความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว สามารถเรียบเรียง เมื่อประมาณ ๒,๓๐๐ ปี ก่อนคริสต์ศักราช ดินแดน

เป็นยุคต่าง ๆ ได้ดังนี้ คาบสมุทรเกาหลีตกเป็นเมืองขึ้นจีน เมื่อ ๑๐๙ ปี
ยุคแรกเรียกว่า “ยุคเผ่า” ซึ่งเผ่าพันธุ์ต่าง ๆ ก่อนคริสต์ศักราช เมื่อจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ หรือกวนอู่ตี้
ที่ปรากฏได้แก่ เผ่าโชซอนโบราณ ตั้งถิ่นฐานอยู่ทาง แห่งราชวงศ์ฮั่นยกทัพเข้ายึดครองดินแดนของ
ภาคเหนือ เรืองอำนาจในช่วงก่อนคริสต์ศักราช อาณาจักรโชซอนโบราณ และแบ่งเกาหลีเป็น ๔ มณฑล
๔๐๐ - ๓๐๐ ปี ส่วนเผ่าอื่นได้แก่ เผ่าพูยอ เผ่าโคกูรยอ คือ นังนัง (Nangnag) ชินบอน (Chinbon) อิมดุน
เผ่าโอกจอ เผ่าทงเย ที่อยู่ใต้ลงมาจากแม่น้ำยาลู จนถึง (Imdun) และฮยอนโท (Hyonnt’o) จีนปกครอง
บริเวณตอนกลาง และเผ่าสามฮั่น คือ มาฮั่น ชินฮั่น มณฑลนังนังอย่างจริงจังเพียงมณฑลเดียว มณฑลที่

และพยอนฮั่น ที่อยู่ทางภาคใต้ของคาบสมุทร เหลือจึงทยอยแยกตัวเป็นเอกราช ซึ่งต่อมาใน ค.ศ.๓๑๓
ชนเผ่าโคกูรยอได้เข้ายึดมณฑลนังนังกลับคืนได้




































แผนที่เกาหลียุคเผ่า (ก่อนคริสต์ศักราช ๔๐๐ - ๓๐๐ ปี)
แผนที่เกาหลียุคสามก๊ก
ตามตำนานซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีของเกาหลี ได้กล่าว
ถึงกำเนิดของชนชาติตนว่า เจ้าชายฮวางวุง (Hwanung) หลังจากแยกตัวขับไล่จีนสำเร็จในครั้งนั้น เกาหลี
โอรสของเทพสูงสุดบนสวรรค์ลงมาสร้างเมืองที่ภูเขา ได้เข้ายุคที่เรียกว่า “ยุคสามก๊ก” ดินแดนสมัยนั้นได้ถูก
แทแบ็ก (Taebaek) ได้แต่งงานกับหญิงที่มีกำเนิด แบ่งเป็น ๓ อาณาจักรด้วยกัน คือ อาณาจักรโคกูรยอ
จากหมี มีโอรสชื่อ ตันกุน (Tangun) ต่อมาเป็นผู้ก่อตั้ง (Goguryeo Kingdom) - ทางภาคเหนือ เผ่าโคกูรยอ



8 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

เริ่มเข้มแข็งมากหลังจากขับไล่ราชวงศ์ฮั่น และสามารถ ต่อมาอาณาจักรพัลแฮได้ถูกราชวงศ์เหลียวของ

ขยายอำนาจเข้ายึดครองมณฑลนังนังจากจีนได้ ตามที่ มองโกลตีจนแตก ประชาชนพากันอพยพลงใต้จนถึง
กล่าวมาแล้ว อาณาจักรต่อไปคืออาณาจักรแพกเจ บริเวณอาณาจักรโคกูรยอเดิม ได้สถาปนาอาณาจักร
(Baekje Kingdom) ยึดครองโดยชนเผ่าแพกเจ ซึ่งเป็น ใหม่แล้วให้ชื่อว่า “อาณาจักรโคกูรยอใหม่” เชื้อพระวงศ์
เผ่าย่อยของเผ่าพูยอที่อพยพลงใต้เข้าครองอาณาจักร ที่เป็นผู้นำได้สถาปนาตัวเองเป็นกษัตริย์พระนามว่า
อื่นรวมทั้งอาณาจักรเดิมของเผ่าฮั่น ตั้งเป็นอาณาจักร พระเจ้ากุงเย ส่วนอาณาจักรรวมชิลล่าได้มีการก่อกบฏ
เมื่อ ค.ศ.๒๓๔ และสุดท้าย คือ อาณาจักรชิลล่า (Silla โดยหัวหน้า คือ คยอน ฮวอน แล้วไปตั้งถิ่นฐานที่
Kingdom) ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของ บริเวณอาณาจักรแพกเจเดิม โดยให้ชื่อว่า “อาณาจักร

คาบสมุทร อาณาจักรนี้เดิมไม่เข้มแข็งมากนัก ได้ดำเนิน แพกเจใหม่” และสถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์พระนามว่า
นโยบายเป็นมิตรกับโคกูรยอมาโดยตลอด แต่ต่อมาเมื่อเกิด พระเจ้าคยอน ฮวอน การก่อกบฏนี้ได้ทำให้อาณาจักร
สงครามระหว่างโคกูรยอกับแพกเจ อาณาจักรชิลล่า รวมชิลล่าเกิดความระส่ำระส่ายมาก จึงถือเป็น
จึงได้เข้มแข็งขึ้น จนสามารถยึดครองลุ่มแม่น้ำต่าง ๆ “ยุคสามอาณาจักรยุคหลัง” (สามอาณาจักรยุคแรก คือ
ทางใต้จากแพกเจได้ ยุคสามก๊ก)
เมื่ออาณาจักรชิลล่าเข้มแข็งขึ้น อาณาจักรแพกเจ ยุคต่อมาคือ “ยุคอาณาจักรโครยอ” (Goryeo :
จึงหันไปผูกมิตรกับอาณาจักรโคกูรยอ ส่วนอาณาจักร ค.ศ.๙๑๘ – ๑๓๙๒) วังฮูมาสถาปนาตนเองเป็น
ชิลล่าหันไปผูกมิตรกับราชวงศ์สุย และราชวงศ์ถังของจีน กษัตริย์แทโจแห่งราชวงศ์โครยอ เมื่อ ค.ศ.๙๔๓
ี้
กองกำลังผสมระหว่างจีนกับชิลล่ายึดครองอาณาจักร อาณาจักรน เจริญสูงสุดในสมัยกษัตริย์มุนจง (Munjong
แพกเจได้เมื่อ ค.ศ.๖๖๐ และยึดครองอาณาจักร : ค.ศ.๑๐๔๖ - ๑๐๘๓) ยุคนี้เป็นยุคที่ส่งเสริมพระพุทธ
โคกูรยอได้ใน ค.ศ.๖๖๘ โดยจีนเข้ามาปกครองโคกูรยอ ศาสนา มีการทำสงครามกับพวกญี่ปุ่น และมองโกล
ในช่วงแรก ต่อมาอาณาจักรชิลล่ากับราชวงศ์ถังเกิด ถูกจีนควบคุมในสมัยราชวงศ์หยวน จนเมื่ออำนาจของ
ขัดแย้งกัน ชิลล่าจึงเข้ายึดโคกูรยอจากจีนและเข้าปกครอง ราชวงศ์หยวนอ่อนแอลง อาณาจักรโครยอต้องพบกับ

คาบสมุทรเกาหลีอย่างเด็ดขาด เมื่อ ค.ศ.๗๓๕ เกาหลี ปัญหาโจรสลัดญี่ปุ่น และการรุกรานของราชวงศหมง

ในยุคนี้เรียก “ยุคอาณาจักรเอกภาพชิลล่า” ในที่สุดทำให้ฝ่ายทหารมีอำนาจมากขึ้น จนนำไปสู่การ
ขณะที่อาณาจักรโคกูรยอและอาณาจักรแพกเจ ยึดอำนาจของนายพล อีซองกเย (Lee Seong-gye)

ถูกอาณาจักรชิลล่าตีจนแตกพ่ายไปนั้น ได้มีกลุ่มคน และสถาปนาราชวงศ์ใหม่ขึ้น เมื่อ ค.ศ.๑๓๙๒
กลุ่มหนึ่งรวบรวมชาวบ้านที่เป็นชาวโคกูรยอ อพยพขึ้น “ยุคราชวงศ์โชซอน” (ค.ศ.๑๓๙๒ – ๑๙๑๐) เริ่ม
เหนือก่อตั้งอาณาจักรใหม่เรียกว่า “อาณาจักรพัลแฮ” ตั้งแต่กษัตริย์แทโจ (Taejo : ครองราชย์ ค.ศ.๑๓๙๒ -
(Balhae Kingdom) ส่วนทางใต้อาณาจักรชิลล่าได้รวม ๑๓๙๘) แห่งราชวงศ์โชซอน หรือนายพล อีซองกเย ได้
แผ่นดินอาณาจักรโคกูรยอ อาณาจักรแพกเจเข้ากับ ครองอำนาจ ยุคนี้ได้มีการส่งเสริมลัทธิขงจื๊อให้เป็นลัทธิ
อาณาจักรเดิมของตน แล้วเรียกใหม่ว่า “อาณาจักรรวม ประจำชาติ และเริ่มลดอิทธิพลของพุทธศาสนา ต่อมา
ชิลล่า” ในยุคนี้จึงมี ๒ อาณาจักรที่อยู่ทางเหนือ คือ ในรัชสมัยกษัตริย์เซจงมหาราช (Sejong the Great of
อาณาจักรพัลแฮที่สืบต่อจากอาณาจักรโคกูรยอเดิม Joseon : ครองราชย์ ค.ศ.๑๔๑๘-๑๔๕๐) ทรง
และทางใต้มีอาณาจักรรวมชิลล่าที่รวมอาณาจักรโคกูรยอเดิม ประดิษฐ์อักษรฮันกึล (Hangeul หรือ Hangul) ขึ้นใช้

อาณาจักรแพกเจเดิม และอาณาจักรชิลล่าเดิมเข้าเป็น แทนอักษรจีน เกาหลีมีความขัดแย้งกับชาติตะวันตก
อาณาจักรเดียว จึงเรียกยุคนี้ว่า “ยุคอาณาจักรเหนือใต้” โดยเฉพาะเรื่องศาสนาคริสต์ และความแตกแยกในหมู่


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 9

ขุนนางทำให้ราชวงศ์นี้เสื่อมลง จนถูกญี่ปุ่นยึดครอง ผลจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ เกาหลีได้เข้าสู่
และล้มล้างระบอบกษัตริย์ไปในที่สุด “ยุคการถูกแบ่งแยกประเทศ” เมื่อ ค.ศ.๑๙๔๘ โดยมี

“ยุคอาณานิคมของญี่ปุ่นและสงครามโลก” เส้นขนานที่ ๓๘ องศา เป็นเส้นแบ่ง เกิดเป็นสอง
เริ่มเมื่อ ค.ศ.๑๙๑๐ โดยญี่ปุ่นได้ผนวกเกาหลีเป็นดินแดน ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจ และการปกครองต่างกัน
ของตนตามสนธิสัญญาการรวมญี่ปุ่น-เกาหลี ซึ่งสนธิ คือประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และประเทศ
สัญญานี้เป็นที่ยอมรับของญี่ปุ่นฝ่ายเดียว แต่ไม่เป็นที่ สาธารณรัฐประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) ซึ่งยิ่งไป
ยอมรับในเกาหลี เพราะถือว่าไม่มีการลงนามของ กว่านั้น ด้วยลัทธิอุดมการณ์ และความขัดกันของ
กษัตริย์ เกาหลีถูกญี่ปุ่นปกครองจนกระทั่งญี่ปุ่น มหาอำนาจ ที่ต่างหนุนหลังสงครามระหว่างประเทศ
เป็นฝ่ายแพ้สงคราม เมื่อ ค.ศ.๑๙๔๕ ในระหว่างการ ใหม่เชื้อสายเดียวกันทั้งสอง ได้ระเบิดขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน

ปกครองของญี่ปุ่น มีการสร้างระบบคมนาคมแบบ ค.ศ.๑๙๕๐ การสงครามดำเนินไป จนมีข้อตกลงหยุดยิง
ตะวันตก แต่ส่วนใหญ่เพื่อประโยชน์ทางการค้าของ เมื่อ ๒๗ ก.ค.๑๙๕๓
ญี่ปุ่นมากกว่าประโยชน์ของชาวเกาหลี ญี่ปุ่นล้มล้าง สาธารณรัฐเกาหลียุคปัจจุบัน นับว่าเป็นประเทศ
ราชวงศ์โชซอน ทำลายพระราชวัง ปรับปรุงระบบภาษี พัฒนาที่ก้าวไปไกลมาก นับเป็นประเทศลำดับต้น ๆ
ให้ส่งข้าวจากเกาหลีไปญี่ปุ่น ทำให้เกิดความอดอยากใน ของโลกในทุกด้าน รวมทั้งความแข็งแกร่งทางทหารและ
เกาหลี มีการใช้แรงงานทาสในการสร้างถนนและทำ ความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม อู่ต่อเรือ
เหมืองแร่ ที่ใหญ่ที่สุดและอีกสองแห่งที่ถูกจัดลำดับไม่เกินที่สิบ
ของโลกอยู่ในประเทศนี้ อย่างไรก็ดีแม้ความพยายามใน
การรวมประเทศยังดำรงอยู่ แต่ไอคุกรุ่นของการเตรียม

การทำสงครามขนาดใหญ่ การแสดงความพร้อม
(Show of Force) เพื่อป้องปรามอีกฝ่าย ทั้งในรูปแบบ
ของการแสดงกำลังทางเรือ (Naval Presence) และ
การฝึกร่วม/ผสมกับชาติพันธมิตรยังปรากฏให้เห็น
เป็นเนืองนิจ คาบสมุทรแห่งนี้ยังนับว่าเป็นจุดยุทธศาสตร ์
ที่มีความอ่อนไหวจุดหนึ่งของโลก


พระเจ้าควางแกโทมหาราช (Gwanggaeto the
Great)
พระเจ้าควางแกโทมหาราช (Gwanggaeto the
Great เกาหลี : ครองราชย์ ค.ศ.๓๙๑ - ๔๑๒) ทรงเป็น
กษัตริย์องค์ที่ ๑๙ แห่งราชวงศ์โคกูรยอ ประสูติเมื่อปี
ค.ศ.๓๗๔ เดิมชื่อ เจ้าชาย Dam Deok เป็นพระ
ราชโอรสใน พระเจ้าโคกุกยาง (Gogugyang : ครองราชย์
ค.ศ. ๓๘๔ – ๓๙๑) ขึ้นครองราชย์ เมื่อ ค.ศ.๓๙๑
รัชสมัยของพระองค์อาณาจักรโคกูรยอมั่นคง และเจริญ

รุ่งเรืองในทุก ๆ ด้าน ประชาชนมีความสงบสุข


10 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

อยู่ดีกินดี ขอบเขตดินแดนกว้างใหญ่ไพศาล ไม่มียุคไหน พสกนิกรจากภัยสงครามและการถูกรุกราน พระองค์
ในประวัติศาสตร์เกาหลีเทียบเท่า อาณาจักรโคกูรยอ ตระหนักดีว่า การสงครามเพื่อรวมอาณาจักรต่าง ๆ

สมัยนั้นเป็นศูนย์กลางอำนาจอย่างแท้จริง มีอิทธิพล ในคาบสมุทรให้เป็นหนึ่งเดียว เป็นที่ยอมรับแก่สากล
เป็นที่ยอมรับทั่วเอเซียตะวันออก ทรงให้เรียกรัชสมัย โลกเท่านั้น ที่จะนำมาซึ่งความเจริญและความสันติสุข
ของพระองค์ว่า “ยองนัค” (Yeongnak) ซึ่งแปลว่า แก่ประชาชนของพระองค์และภูมิภาคได้ และการจะ
สันติสุขชั่วนิรันดร์ บางครั้งจึงมีผู้เรียกพระองค์ว่า ชนะสงครามได้นั้น ต้องเสริมสร้างกำลังทหาร ดังนั้น
“พระเจ้ายองนัคมหาราช” ส่วนคำว่า Gwanggaeto เมื่อขึ้นครองราชย์ดำรงตำแหน่งเป็นจอมทัพ สิ่งแรกที่
the Great หรือ Gwanggaeto-wang หมายถึง ทรงดำเนินการ คือ การสร้างหน่วยทหารม้าสำหรับการ
มหาราชผู้ขยายดินแดน พระองค์เสด็จสวรรคต ขณะมี บุกทะลุทะลวง และกองเรือใหญ่เพื่อควบคุมทะเล และ

พระชนม์ได้ ๓๙ พรรษา ทรงครองราชย์ได้ ๒๒ ปี ขยายอำนาจกำลังรบจากทะเลขึ้นสู่ฝั่ง พระองค์
พระราชโอรสขึ้นครองราชย์สืบต่อมาทรงพระนามว่า สามารถรวมอาณาจักรต่าง ๆ ให้เป็นหนึ่งเดียวอย่าง
พระเจ้าชังซู (Jangsu) เด็ดขาดในปี ค.ศ.๓๙๙ เมื่ออาณาจักรชิลล่าร้องขอให้
พระเจ้าควางแกโทมหาราช ทรงประสูติในช่วง โคกูรยอช่วยป้องกันการรุกรานจากแพกเจ ซึ่งโคกูรยอ
ระยะเวลาที่อาณาจักรโคกูรยอยังไม่เข้มแข็งเหมือน สามารถเอาชนะยึดเมืองหลวงของแพกเจหรือกรุงโซล
ที่เคยเป็นมา โดยก่อนหน้านั้น เมื่อ ค.ศ.๓๗๑ พระเจ้า ในปัจจุบันได้ในที่สุด มีผู้กล่าวว่า พระเจ้าควางแกโท
คึนโชโก (Guenchogo) แห่งแพกเจได้ยกทัพเข้ารุกราน มหาราช ทรงเป็นกษัตริย์นักปกครองที่เป็นที่รักของ
และกระทำทารุณกรรมต่อพระเจ้าโคกุกวอน ประชาชน เป็นนักบริหารที่สามารถจัดการปัญหาต่าง ๆ
(Gogugwan ครองราชย์ ค.ศ.๓๓๑ - ๓๗๑) และ ทั้งภายในและภายนอกประเทศได้เป็นอย่างดี

กษัตริย์องค์ต่อ ๆ มารวมทั้งพระบิดาของพระเจ้ายองนัค อาณาจักรแผ่ขยายประมาณสองในสามของคาบสมุทร

พระองคจึงยึดถือหลักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เกาหลีในปัจจุบัน ลึกขึ้นเหนือไปดินแดนแมนจูเรียบาง
แบบโดดเดี่ยว เสริมสร้างกำลังทหาร และฟื้นฟูความ ส่วนของรัสเซียที่ติดทะเล และชั้นในของมองโกเลีย
แข็งแกร่งภายใน ขณะที่อาณาจักรแพกเจ ได้ทวีความ บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองแผ่อิทธิพลเป็นที่ยอมรับทั่วเอเซีย
โดดเด่นแผ่อำนาจอิทธิพลไปทั่วคาบสมุทร และบางส่วน ตะวันออก รวมทั้งเป็นทหารที่เชี่ยวชาญยุทธวิธีการรบ
ของจีนรวมทั้งมีความใกล้ชิดกับ Wa (ญี่ปุ่น) และ ของทหารม้า และการปฏิบัติการทางเรือ ทรงโปรดที่จะ
หมู่เกาะต่าง ๆ บริเวณใกล้เคียง อาณาจักรโคกูรยอ นำทัพและนำกองเรือเข้าต่อสู้กับข้าศึกด้วยพระองค์เอง

ขณะนั้นจึงถูกล้อมกรอบด้วยอำนาจของแพกเจด้านทิศ แต่ผู้เขียนยังเห็นเพิ่มเติมว่าพระองค์ทรงเป็น
ใต้และตะวันตก ต้องคอยผูกมิตรกับเพื่อนบ้านที่เหลือ นักยุทธศาสตร์ที่รู้จักใช้หลักสามเหลี่ยมสงคราม
โดยเฉพาะจะต้องหลีกเลี่ยงปัญหากับมองโกลและจีนที่ (Trinity of War) ของ Von Clausewitz ที่ว่าด้วย
อยู่ทางเหนือด้วย สาเหตุสำคัญที่ทำให้อาณาจักรแพกเจ ความสัมพันธ์ ของรัฐบาล ทหาร และประชาชน ก่อนที่
มีความเข้มแข็งดังกล่าวได้นั้นก็คือ การรู้จักใช้ทะเล และ เจ้าของหลักการจะเกิดประมาณกว่า ๑,๐๐๐ ปี เสียอีก
การมีนาวิกานุภาพ ที่เหนือกว่า พระเจ้าควางแกโทมหาราช เสด็จสวรรคตจากการ
จากการที่ไม่ได้ถูกจัดอันดับให้สืบสันติวงศ์ตั้งแต่ต้น ประชวรด้วยโรคร้าย เมื่อพระชนม์มายุได้ ๓๙ พรรษา
ประกอบกับพระนิสัยที่รักการต่อสู้ ชอบการผจญภัย ชัยชนะและความแข็งแกร่งทางทหาร ได้นำมาซึ่ง
มีความเมตตากรุณา ไม่ถือพระองค์ จึงมีโอกาสใกล้ชิด สันติสุขต่อภูมิภาคอีกนับร้อยปี ซึ่งผลงานต่าง ๆ

ประชาชน ได้เห็นถึงความยากลำบากทุกข์เข็ญของ ที่กล่าวมาได้ถูกบันทึกไว้ในหลักศิลาจารึก ที่ปัจจุบันได้


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 11

ศิลาจารึกของพระเจ้าควางแกโทมหาราช ทางเข้าหลุมฝังพระศพของพระเจ้าควางแกโทมหาราช
ถูกประดิษฐานไว้ ณ สุสานส่วนพระองค์เมืองจี๋อัน กองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี
(Ji’an) ชายแดนจีน-เกาหลีเหนือ ตลอดระยะเวลา กองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี (Replublic Of
ประวัติศาสตร์อันยาวนานของเกาหลีที่มีพระมหา Korean Navy/ROKN : Korean : เป็นเหล่าทัพที่เก่า
กษัตริย์ปกครองประเทศถึงปี ค.ศ.๑๙๑๐ นั้น มีพระมหา แก่ที่สุดของประเทศ ปัจจุบันมีกำลังประจำการ

กษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นมหาราช ๒ พระองค์ ประมาณ ๖๘,๐๐๐ นาย (รวมนาวิกโยธิน ๒๗,๐๐๐ นาย)
อีกพระองค์ คือ พระเจ้าเซจงมหาราช (Sejong the เรือประเภทต่าง ๆ ๑๗๐ ลำ อากาศยานทั้งเครื่องบิน
Great) แห่งราชวงศ์โชซอน พระนามของพระองค์ได้ถูก และเฮลิคอปเตอร์ รวม ๗๐ เครื่อง กิจหลักที่ได้รับมอบ
นำไปใช้เป็นชื่อเรือลำแรก ตามโครงการเรือพิฆาต คือ การปฏิบัติการทางเรือ และการขยายอำนาจกำลังรบ
เกาหลีรุ่นล่าสุด (KDX-3) ด้วย “ROKS. Sejong the จากทะเลขึ้นสู่ฝั่ง รวมทั้งการเตรียมกำลังสำหรับ
Great” (DDG 991) การปฏิบัติการดังกล่าว



















เรือพิฆาต ROKS Sejong the Great (DDG 991) เรือดำน้ำ Type-209 ชั้น Chang Bogo ลำที่ ๑ ชื่อ Chang Bogo
(SS-061) ของกองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี

12 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ปัจจุบันชื่อ Cheonghaejin ยังใช้เป็นชื่อหน่วย
ปราบปรามโจรสลัดบริเวณชายฝั่งโซมาเลียที่ไปร่วม

ปฏิบัติการผสมกับ Combined Task Force 151
ส่วนชื่อของท่านแม่ทัพ ชัง โบโก ได้ใช้เป็นชื่อเรือดำน้ำ
Type 209 ลำแรกตามโครงการ Korean Attack
Submarine รุ่นแรก (KSS-1) ด้วย นอกจากนี้ในสมัย
ราชวงศ์ Goryeo ยังมีกล่าวถึงการใช้ปืนประจำเรือเป็น
ครั้งแรก ซึ่งออกแบบโดย Choi Moosun (ถูกใช้เป็นชื่อ
เรือดำน้ำ Type 209 ลำที่ ๓ ด้วย) และการใช้กำลัง
เรือดำน้ำ Type-209 ชั้น Chang Bogo ลำที่ ๒ ชื่อ Lee Chung ทางเรือเข้ายึดเกาะ Tsushima ในการปราบสลัดญี่ปุ่น
(SS-062) ของกองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี
ในปี ค.ศ.๑๓๘๙ และ ๑๔๑๙


















เรือดำน้ำ Type-209 ชั้น Chang Bogo ลำที่ ๓ ชื่อ Choi Moosun
(SS-063) ของกองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี

แม้ว่ากองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลีจะมีอายุครบ
๖๘ ปี ในวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ แต่ตาม
ประวัติศาสตร์โดยรวมของประเทศ ได้มีการกล่าวถึง

การใช้กำลังทางเรือมาตั้งแต่ยุคสามก๊กแล้ว นับตั้งแต่
การปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบกด้วยกำลังรบยกพล
ขึ้นบก ๔๐,๐๐๐ นาย ของพระเจ้าควางแกโทมหาราช
ในการเอาชนะแพกเจ เมื่อปลายศตวรรษที่ ๔ การจัดตั้ง
หน่วยชองแฮจิน (Cheonghaejin) บนเกาะชองแฮ
(Cheonghae) หรือเกาะวันโด (Wando) บริเวณ
ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรเกาหลี
ของแม่ทัพ ชัง โบโก (Jang Bogo) แห่งอาณาจักรเอกภาพ
ชิลล่า ในการป้องกันเส้นทางการค้ากับจีนและกับญี่ปุ่น

ตลอดจนเอาชนะโจรสลัดในทะเลเหลืองในศตวรรษที่ ๙ อนุสาวรีย์ พลเรือเอก Yi Sun-Shin


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 13

Geobukseon หรือ Turtle Ship เรือรบเกาหลียุคโบราณ

ยุคราชวงศ์โชซอน นอกจากในช่วงต้น ๆ ที่มีการใช้
กำลังทางเรือในการปราบโจรสลัดญี่ปุ่นแล้ว ในช่วงปี

ค.ศ.๑๕๙๒-๑๕๙๘ เมื่อญี่ปุ่นได้ยกทัพเข้ามารุกราน
กำลังทางเรือเกาหลีภายใต้การบังคับบัญชาของ พลเรือเอก
Yi Sun-shin ได้เข้าต่อสู้ และสามารถเอาชนะกองเรือใหญ่
ญี่ปุ่นได้หลายครั้ง จากการใช้ยุทธวิธี “เรือเต่า”
(Turtle Ship) สำหรับเรือเต่า ก็คือเรือไม้ที่มีเกราะ
เหล็กแหลมติดครอบด้านบนในลักษณะกระดองเต่า
และสามารถใช้ปืนได้รอบตัวนั่นเอง พลเรือเอก Yi เรือพิฆาต ROKS Munma the Great

เป็นแม่ทัพเรือที่ได้รับการยกย่องมาก อนุสาวรีย์แสดง (DDH-976)
ความกล้าหาญและเป็นนักรบของท่านตั้งเด่นเป็นสง่า ตั้งแต่ปลายราชวงศ์โชซอน จนกระทั่งถูกญี่ปุ่นยึด
ที่ใจกลางกรุงโซล และที่อื่นอีก นอกจากนี้ยังได้ใช้ชื่อ ครองเรื่อยมา จนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ห้วงเวลา
ท่านเป็นชื่อเรือพิฆาตลำแรกตามโครงการ KDX-2 ดังกล่าว ไม่ปรากฏความเคลื่อนไหวกำลังทางเรือที่
“ROKS Chungmugong Yi Sunshin” (DDH-975) สำคัญแต่อย่างใด แต่ไม่นานหลังจากประเทศได้รับ
เอกราชเมื่อ ๑๕ สิงหาคม ค.ศ.๑๙๔๕ แล้ว ใน ๑๑
พฤศจิกายน ของปีเดียวกัน กองทัพเรือสาธารณรัฐ
เกาหลีได้กำเนิดเป็นทางการ โดยแปรสภาพมาจากหน่วย
ยามฝั่งในสมัยนั้น (Korean Coast Guard) ผู้บัญชาการ
ทหารเรือท่านแรก คือ พลเรือโท Son Won-il ซึ่งเป็น

อดีตกัปตันเรือสินค้า และเป็นผู้มีส่วนในการจัดตั้ง
หน่วยยามฝั่งดังกล่าว (ชื่อของท่านถูกใช้เป็นชื่อเรือดำน้ำ
Type 214 ตามโครงการ KSS-2) และต่อมาในปี
ค.ศ.๑๙๔๙ เรือรบลำแรกได้ขึ้นระวางประจำการ
เรือพิฆาต ROKS Chungmugong Yi Sun-Shin เดิมเป็นเรือตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำเก่าของ
(DDH-975)

14 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา (PC-823) ขนาด ๖๐๐ ตัน
ที่รัฐบาลเกาหลีใต้ซื้อต่อมาจากตลาดเอกชน และให้ชื่อ

ใหม่ว่า “ROKS Baekdusan” (PC 701) เรือนี้คล้าย
กับเรือชั้นเรือหลวงสุครีพ ของกองทัพเรือไทยในอดีต















เรือหลวงประแสถูกพายุหิมะและคลื่นซัดเกยตื้นที่ชายฝั่งเกาหลี
เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.๒๔๙๔
เรือดำน้ำ Type 214 ชื่อ ROKS Son Won-il (SS 072)




















ROKS Baekdusan” (PC 701)




เมื่อเริ่มต้นสงครามเกาหลีในปี ค.ศ.๑๙๕๐ ของทหารเรือซึ่งหมายรวมถึงนาวิกโยธินด้วยจนกระทั่ง
ด้วยกำลังพลประมาณ ๗,๐๐๐ นาย รวมมีเรือไม่กี่ลำ ถึงทุกวันนี้ คือการปฏิบัติการร่วมสะเทินน้ำสะเทินบก
แต่ด้วยการปฏิบัติการผสมกับกองทัพเรือสหประชาชาติ ที่อินชอน (Incheon) ของ พลเอก ดักลาส
รวมทั้งกองทัพเรือไทย ทำให้กองทัพเรือเกาหลีใต้ แมคอาเธอร์ (Douglas McArthur)
สามารถควบคุมทะเลที่ต้องการไว้ได้ ส่งผลถึงการรบ
เป็นส่วนรวม ทำให้เกิดการหยุดยิง หลังจากที่ทำ (อ่านต่อฉบับหน้า)
สงครามกันมา ๓ ปี กองทัพเรือไทยสูญเสียเรือฟริเกต
๑ ลำ คือ เรือหลวงประแส ลำแรก จากภารกิจยิงฝั่งใน

การรบครั้งนี้ ส่วนเรื่องที่ยังยึดถือเป็นบทเรียนในการรบ


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 15

นานาวิกาสารา ๕๖๓





พลเรือโท พัน รักษ์แก้ว




สาราหนึ่ง ศักราชใหม่การบินทหารเรือ
ยานพาหนะที่ไม่มีคนขับโดยใช้คลื่นวิทยุควบคุม ก้องโลก) ใน ค.ศ.๑๙๔๔ กองทัพเรือสหรัฐมีโครงการ
การเดินทางได้รับการค้นคิดและประดิษฐ์ขึ้นนานมาแล้ว ชื่อ Anvil เสริมสร้างเครื่องบินทิ้งระเบิด B - ๒๔

คือ ใน ค.ศ.๑๘๙๘ นายเทสลา (Nikola Tesla) (Liberators) ที่มีลูกระเบิดเต็มระวางบิน ขึ้นจาก
ชาวอเมริกันได้จดลิขสิทธิ์บัตรเรือยนต์ควบคุมโดย ฐานทัพในอังกฤษ โดยมีนักบินเพื่อไปทิ้งระเบิดยัง
คลื่นวิทยุ ( a wirelessly remote-controlled เยอรมนี นักบินจะใช้ร่มชูชีพออกจากเครื่องบินบนพื้นที่
power boat) ระหว่างสงครามโลกครั้งแรก มีการสร้าง ปลอดภัย แล้วปล่อยให้เครื่องบินเดินทางต่อไปโดย
เครื่องบินปีกสองชั้นไร้คนขับร่วมกับระบบไยโรได้สำเร็จ เครื่องควบคุมการบินอัตโนมัติอย่างไร้คนขับ
แต่ไม่มีการใช้เครื่องบินเช่นนี้ในสงคราม ระหว่าง แต่โครงการล้มเหลวเพราะเครื่องบินระเบิดกลางทาง
สงครามโลกครั้งที่สอง บริษัท Radioplane ในสหรัฐฯ สูญเสียนักบิน ชื่อ Joseph Kennedy พี่ชายของเรือโท
ได้สร้างเครื่องบินไร้คนขับ สำหรับเป็นเป้าฝึกยิง จอห์น เอฟ เคนเนดี ผู้ต่อมาเป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ
อากาศยาน (มาริลีน มอนโร ได้ทำงานบริษัทนี้จนช่างภาพ ระหว่างสงครามเวียดนาม สหรัฐฯ ใช้เครื่องบิน

กองทัพบกไปสะดุดตาพบเธอจนกลายเป็นดาราภาพยนต์ ไร้คนขับในงานลาดตระเวนหาข่าวทางอากาศ แต่ไม่ได้ผล


16 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

มากนักเพราะภูมิประเทศรกทึบในเวียดนาม อิสราเอล การฝึกนักบินนาวีบิน ขึ้น - ลง เรือบรรทุกเครื่องบิน

ใช้ Drone ในการทำสงครามกับกลุ่มประเทศอาหรับ เป็นการฝึกที่ยากลำบากและเสี่ยงมากในวงการบิน
ครั้งที่ ๔ (พ.ศ.๒๕๑๖) อย่างได้ผลเพราะภูมิประเทศ ที่ใช้เวลานานนับเป็นปี ๆ ด้วย การคิดและทำให้เครื่องบิน
เป็นทะเลทราย (คำว่า Drone หมายความถึง เครื่องบิน ไร้คนขับสามารถบิน ขึ้น - ลง ก็ยากและใช้เวลานาน
ไร้คนขับ unmanned aerial vehicle หรือ ยานควบคุม เช่นกัน สหรัฐฯ นาวีได้คิดค้น สร้าง ทดลองและทดสอบ
การบินระยะห่าง remotely piloted vehicle เครื่องบินต้นแบบ และอุปกรณ์ที่จำเป็นในเครื่องบิน
แต่เรียกกันสั้น ๆ และเข้าใจกันดีว่า Drone) ด้วยความ และในเรือที่จะทำให้โครงการ “ระบบเครื่องบินไร้คนขับ”
ได้เปรียบที่มีขนาดเล็ก บินได้เงียบ ยากต่อการตรวจจับ (Unmanned Aircraft System) ร่วมกับเรือเป็นเวลา

โดรนจึงได้รับการพัฒนาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น บินได้ไกลขึ้น หลายปี ทั้งบนบกและในเรือ
สูงขึ้น บินได้เป็นวัน ๆ ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับหาข่าว
สื่อสารที่ให้ภาพข่าวสารที่ต้องการบนพื้นโลกได้
ตามเวลาจริง จนกระทั่งสามารถติดตั้งอาวุธโจมตี
ภาคพื้นดินได้ใกล้เคียงกันกับเครื่องบินที่ใช้คนขับ ซีไอเอ
(Control Intelligence Agency : CIA) ของสหรัฐฯ
ใช้โดรนในสงครามอัฟกานิสถานสังหารผู้นำ ผู้ก่อการร้าย
เป็นประจำจนเรียกกันว่า Drone War
นับตั้งแต่สองพี่น้องตระกูล Wright ออกแบบ เครื่องบินไร้คนขับ X - 47B

และสร้างเครื่องบินมีเครื่องยนต์บินสู่อากาศได้สำเร็จที่ ในเดือน ธันวาคม ๒๕๕๕ เครื่องบินไร้คนขับ
รัฐแคโรไลนาเหนือ สหรัฐอเมริกา ใน ค.ศ.๑๙๑๑ ปีกเหมือนค้างคาว รหัส X - 47B ที่ทหารเรือสหรัฐฯ
ทหารเรือสหรัฐก็คิดเสมอมาที่จะใช้เครื่องบินกับเรือ ให้ชื่อเล่นว่า “เจ้าหมาเค็ม” (Salty Dog) ได้ทดลอง
ในการสงคราม ระหว่างสงครามโลกครั้งแรกใช้เครื่องบิน และทดสอบการบินขึ้นลงกับเรือบรรทุกเครื่องบิน
จากเรือในการตรวจกระสุนตกเท่านั้น สงครามโลก ลำใหญ่ USS Harry S. Truman เป็นเวลาสองสัปดาห์
ครั้งที่สองมีการยุทธทางเรือที่แตกหักในสงครามทางเรือ โดยในขั้นตอนสุดท้ายให้นักบินบนเรือควบคุมการบินขึ้น
ระหว่างกองเรือบรรทุกเครื่องบินของสหรัฐกับญี่ปุ่น และบินลงดาดฟ้าเรือ โดยใช้ตะขอท้ายเครื่องบินเกี่ยวลวด

ซึ่งฝ่ายสหรัฐมีชัยชนะอย่างเบ็ดเสร็จแล้วมีกองเรือ ขึงขวางดาดฟ้าเรือได้สำเร็จและปลอดภัยหลายครั้ง
บรรทุกเครื่องบินหลายกองเรือที่ร่วมสงคราม ในขั้นต่อไปที่จะเป็นขั้นบรรลุความเป้าหมาย คือ การให้
และเหตุการณ์สู้รบตลอดมา เช่น ในสงครามเกาหลี เครื่องบินขึ้นและลงเรือด้วยตัวเครื่องบินเอง
สงครามเวียดนาม วิกฤติการณ์ในโคโซโว เป็นต้น ในวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เจ้าหมาเค็ม
เมื่อเครื่องบินไร้คนขับถือกำเนิดขึ้นมา ทหารเรือ X - 47B บินขึ้นจากสถานีบินนาวี ที่แม่น้ำ Patuxent
สหรัฐฯ ก็มีเครื่องยิงส่งเครื่องบินสู่อากาศแล้วรับกลับ ในรัฐแมรี่แลนด์ บินออกทะเลไกล ๑๓๐ กิโลเมตร
โดยบินชนตาข่ายที่ขึงรองรับ แต่จุดหมายสุดท้ายอยู่ที่ จากฝั่งเวอร์จิเนีย มุ่งไปยังเรือบรรทุกเครื่องบิน USS
การให้โดรนบินขึ้นและลงกับเรือบรรทุกเครื่องบิน George H.W. Bush ตามเวลานัด ๑๓๔๐ (เวลาท้องถิ่น)
เหมือนเครื่องบินที่บินโดยนักบิน ซึ่งทหารเรือสหรัฐฯ เมื่อเครื่องบินเข้าใกล้เรือเป็นครั้งแรก นักบินควบคุม

เชื่อว่าจะเป็นความก้าวหน้าทางอากาศนาวีที่สำคัญ การบินบนดาดฟ้าเรือ ยกเลิกการบินลงพื้น บังคับ
ต่อการปฏิบัติการของกองเรือบรรทุกเครื่องบิน เครื่องบินเงยหัวสู่อากาศบินวนรอบเรือ ในการบิน


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 17

เข้าหาเรือตามแผนครั้งที่สอง X - 47B ร่อนสู่ดาดฟ้าเรือ และกรมศิลปกรซึ่งเห็นว่า ต้องตรวจค้นเรือ และหาก

อย่างนิ่มนวลแล้วหยุดอยู่กับที่ด้วยลวดเกี่ยวตะขอ พบวัตถุโบราณใด ๆ ก็จะยึดคืน
ท้ายเครื่องบิน ทั้งนี้ตั้งแต่ออกบินจากฝั่ง มีเครื่องบินขับไล่ ปรากฏว่า นายเรือของเรือลำนี้เป็นชาวออสเตรเลีย
F - 18 สองลำ บินประกบ X - 47B เฝ้าดูอากัปกริยา อ้างว่าเรือจอดอยู่น่านน้ำสากลที่เรือใด ๆ มีเสรีในการ
ของเครื่องบินไร้คนขับที่บินเข้าสู่ตำบลที่นัดพบกับเรือ เดินเรือ และวัตถุใด ๆ ใต้น้ำที่งมมาได้ก็จะเป็นกรรมสิทธิ์
อย่างแม่นยำ ด้วยระบบเดินอากาศ GPS ที่ติดตั้งอยู่ ของผู้ค้นหาและงมได้ ฝ่ายไทยโต้แย้งว่า ตำบลที่จอดเรือ
ทั้งบนเครื่องบินและในเรือ อยู่ในน่านน้ำอาณาเขตและประเทศไทยได้ ออกประกาศ
ขณะที่เครื่องบินหยุดนิ่งอยู่บนดาดฟ้าเรือ รัฐมนตรี ว่า ก้นอ่าวไทย (ประมาณ ระยอง - ประจวบครีขันธ์)

ทบวงทหารเรือ นายมาบัส (Ray Mabus) บอกกับนักข่าว เป็นอ่าวประวัติศาสตร์ เป็นน่านน้ำอาณาเขต (หลาย
ว่า “วันนี้ คุณเห็นอนาคต” (You saw the future ประเทศเฉย ๆ หรือไม่ยอมรับประกาศนี้) ฝ่ายไทย
Today) พลเรือตรี วินเตอร์ (Mat Winter) กล่าวว่า ขอตรวจค้นเรือและหากตรวจพบวัตถุโบราณจาก
เป็นเหตุการณ์สำหรับ “หน้าประวัติศาสตร์” (history ใต้ท้องทะเลจะต้องยึดคืน แต่ทางเรือไม่ยินยอม
books) ในประวัติการบินทหารเรือสหรัฐ ๑๐๒ ปี ฝ่ายไทยโดยหน่วยสงครามพิเศษทางเรือและ
นับตั้งแต่เครื่องบินปีกสองชั้นได้บินขึ้นลงเป็นครั้งแรก ตำรวจน้ำ ได้ยื่นคำขาดห้ามเรืองมของ เคลื่อนย้ายเรือ
บนเรือ นายพลวินเตอร์ บอกกับนักข่าวว่า เบื้องหลัง และให้ทางเรือคืนของที่งมได้แก่ฝ่ายไทย การเจรจา
การสาธิตในวันนี้ ได้มาจากเทคโนโลยีในห้องแล็ป ดำเนินการไปเป็นสัปดาห์ โดยฝ่ายไทยเฝ้าระวังไม่ให้
เครื่องบินจำลอง และการบินจำลอง ที่ใช้เวลาหลายปี เรืองมของออกเดินเรือด้วยบรรยากาศตึงเครียด

ซึ่งกว่าที่เครื่องบินไร้คนขับจะปฏิบัติการในการบิน ในที่สุด วันที่ ๗ - ๙ กุมพาพันธ์ ๒๕๓๖ หน่วยสงคราม
ตรวจการณ์และโจมตีได้จริงคงเป็น ๘ ปีข้างหน้า พิเศษทางเรือได้ขึ้นตรวจค้นเรือพบเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องบินไร้คนขับจากเรือจะเปิดศักราชใหม่ สวรรคโลก จำนวน ๑๐,๒๘๗ ชิ้น จึงยึดส่งต่อให้
ในการรบทางเรืออย่างแน่นอน โดยภารกิจที่ “เป็นไป กรมศิลปกรเก็บรักษาเป็นสมบัติของชาติต่อไป
ไม่ได้” (Impossible Mission) จะเป็นไปได้ เพราะ ทางเรือออสเตรีย ไทด์ ได้เดินทางออกจากน่านน้ำไทย
เครื่องบิน “ล่องหน” ได้ดีและไม่กลัวตาย แล้วก็ออกข่าวว่า ฝ่ายไทยละเมิดกฏหมายระหว่าง
อีก ๘ ปีข้างหน้า หากมีสถานีบินโดรนนาวี ประเทศ Law of the Sea แล้วก็ยังปฏิบัติการงมของ

ที่เกาะช้าง และเกาะสมุยจะเสริมปฏิบัติการทางเรือของ ใต้ทะเลต่อไปตามอาชีพของตน ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๕๕
ทหารเรือไทย ได้เยอะเลย สำนักพิมพ์ Harper Collins (Australia) ได้พิมพ์
หนังสือชื่อเรื่อง “Treasures of the Deep” เขียนโดย
สาราสอง นักงมของใต้ทะเลชาวต่างชาติกับ Captain Mike Hatcher ออกจำหน่าย เป็นเรื่องราว
ทหารเรือไทย เกี่ยวกับการงมวัตถุโบราณใต้ทะเล ที่เริ่มเรื่องที่เหตุการณ ์
ปลายปี พ.ศ. ๒๕๓๕ มีเรือต่างชาติรูปร่างล่ำสัน ใต้เกาะจวง
คล้ายเรือลากจูงลำใหญ่ ชื่อ Australia Tide ชักธงชาติ กัปตันแฮตเชอร์ เกิดในสถานเด็กกำพร้าในอังกฤษ
ปานามา มาจอดทอดสมอทางด้านทิศใต้ของเกาะจวง เมื่ออายุ ๑๔ ปี ได้เดินทางมายังออสเตรเลียและได้งาน
ห่างจากฝั่งสัตหีบราว ๖๐ ไมล์ทะเล ชาวประมงที่แล่นผ่าน ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ จนโตขึ้นได้เป็นทหารเรือ แฮตเชอร์

เรือนี้ไปมา รู้ว่าเรือลำนี้ค้นหาและรวบรวมวัตถุโบราณ เกษียนงานทหารเรือใน พ.ศ.๒๕๑๓ แล้วได้ตั้ง บริษัท
ใต้ทะเล จนความทราบถึงฐานทัพเรือสัตหีบกองทัพเรือ งมสมบัติใต้ทะเลจากซากเรือจมที่เป็นเรือตั้งแต่


18 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ยุคโบราณ จนถึงเรือที่จมในสงครามครั้งที่สอง สมบัติที่ได ้ แห่งโลกตะวันออก เรือเต็กซิงเป็นเรือใบจีนลำใหญ่

มีตั้งแต่วัตถุโบราณ สินค้า เงินทอง แร่ ยาง ฯลฯ ที่มี บรรทุกผู้โดยสาร ๑,๖๐๐ คนกับ ลูกเรือ ๒๐๐ คน
ราคา อย่างแร่ดีบุก เคยมีราคาถึง ๔๓,๐๐๐ ดอลล่าร์ ออกเรือจากจีนใน พ.ศ.๒๓๕๖ ไปยังจาการ์ตาของ
สหรัฐต่อตัน วัตถุโบราณบางชิ้น ราคา ๕,๐๐๐ ดอลล่าร์ อินโดนีเซีย เรือเต็กซิงแล่นหนีการปล้นจากโจรสลัด
ออสเตรเรีย (๑๕๗,๐๐๐ บาท) พื้นที่ทำงานของแฮตเธอร ์ จนไปชนหินโสโครกในทะเลจีนใต้จมลงในน้ำลึก ๓๐
อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมตร พร้อมด้วยเครื่องปั้นดินเผาจีนสีน้ำเงินและสีขาว
ในเดือน มกราคม ๒๕๓๕ เพื่อนชาวอเมริกันผู้เป็น จำนวน ๓๕๐,๐๐๐ ชิ้น เรืออังกฤษที่ผ่านมาได้ช่วยชีวิต
ครูสอนดำน้ำที่พัทยาโทรศัพท์บอกแฮตเธอร์ว่า คนบนเรือเต็กซิงได้ ๑๙๐ คน สมบัติที่งมได้ออกประมูล

ชาวประมงได้ลากอวนจับปลานอกฝั่งตะวันออกใน ขายได้เงินหลายล้านดอลล่าร์เป็นเงินก้อนโตที่สุดของ
อ่าวไทยได้เครื่องปั้นดินเผาโบราณติดอวนขึ้นมา เป็น แฮตเธอร์
เครื่องปั้นดินเผาสวรรคโลก ยุคกรุงศรีอยุธยา จากซาก หนังสือของแฮตเธอร์กล่าวถึง การงมของจาก
เรือใบจมบริเวณน้ำลึก ๖๐ เมตร ซึ่งรู้กันมานานแล้วว่า เรือจม ๘๐ ลำ ซึ่งนับได้ว่า เขาเป็นนักล่าสมบัติใต้ทะเล
เรือใบหลายลำที่บรรทุกเครื่องดินเผานี้จากปากน้ำ ที่ประสบความสำเร็จคนหนึ่งของโลก แต่ที่เขาทำ
เจ้าพระยาได้จมลง เมื่อแล่นพ้นสัตหีบ ขณะมุ่งหน้า ไม่สำเร็จและช้ำใจก็ที่นอกฝั่งสัตหีบ ซึ่งทหารเรือไทย
แหลมญวนสู่ประเทศจีน ซึ่งคลื่นลมแรงหน้ามรสุม รักษาสมบัติของชาติส่วนหนึ่งเอาไว้ได้ ที่บอกนัย
แฮตเธอร์ได้นำเรือออสเตรเรีย ไทด์ ที่มีนักประดาน้ำ ประการหนึ่งด้วยว่า การขโมยของใต้ทะเลเป็นภัย
๖ คนประจำเรือ มางมของจากซากเรือจมดังกล่าว คุกคามยามสงบประการหนึ่งที่ทหารเรือ “มีงานเข้า”

โดยอ้างว่า มีนักประดาน้ำทหารเรือไทยมาร่วมทำงาน ที่ต้องทำ
นอกเวลาด้วย (The crew was a team of off-duty
Thai navy officers supple was menting their สาราสาม โรงเรียนแห่งเก่าชื่อใหม่ของทหารเรือ
wages by doing a bit of moonlighting as โรงเรียนนาวิกเวชกิจ**
salovrs.) ผู้เขียนขับรถผ่านหน้า “โรงเรียนพยาบาล” ที่ชื่อ
นักประดาน้ำของเรือทำงานหามรุ่งหามค่ำอยู่ ๘ วัน โรงเรียนทำด้วยรูปปั้นตัวใหญ่บนแผ่นปูนแผ่นใหญ่
บางเวลาอากาศเลวร้าย กระแสน้ำแรง แต่ก็ได้ถ้วย ชาม ที่คงสร้างป้ายโรงเรียนมานานแล้ว ก็สังเกตเห็นข้างบน

แจกัน รูปปั้นรูปคน รูปสัตว์ ฯลฯ จากท้องทะเลชักรอก ป้ายโรงเรียนพยาบาลมีชื่อ “โรงเรียนนาวิกเวชกิจ”
ขึ้นสู่เรือเป็นจำนวนมากดังกล่าว แต่แล้วเรือออสเตรเลีย ที่ทำด้วยเหล็กดัดโปร่ง ๆ ซึ่งหากขับรถอยู่บนถนนใหญ่
ก็ถูกล้อมด้วยเรือทหารเรือไทยที่บอกว่า วัตถุจาก ที่ห่างออกไป ก็อาจมองไม่เห็นชื่อโรงเรียนชื่อใหม่นี้
ใต้ทะเลเป็นสมบัติของรัฐบาลและประเทศไทย ถามไถ่คนหลายคนรวมทั้งนักเรียนที่เดินอยู่
รวมทั้งอ้างว่า เรือประดำน้ำอยู่น่านน้ำอาณาเขตไทย แถวนั้นพอได้ความว่า หลักสูตรโรงเรียนพยาบาลเดิม
เรือออสเตรเลียถูกบังคับให้คืนของที่งมได้แก่เจ้าหน้าที่ไทย ที่เรียนสองปีมาแต่เดิมนั้น ทางกระทรวงสาธารณสุข
ซึ่งกัปตันแฮตเธอร์กล่าวในหนังสือว่า อาชีพงมของ ไม่รับรองหลักสูตร โดยหลักสูตรพยาบาลของกระทรวง
ใต้ทะเลของเขา มีทั้งโชคร้ายและโชคดี เรียนสี่ปีได้รับปริญญาจึงต้องปรับหลักสูตรอนุโลม
เหตุการณ์โชคดีที่สุดของแฮตเธอร์มีขึ้นในปี ตามหลักสูตร ระดับรองหลักสูตรพยาบาลของกระทรวง

พ.ศ.๒๕๔๒ เมื่อเขาพบซากเรือใบในจีน ชื่อ เต็กซิง จึงเรียก “โรงเรียนพยาบาล”ไม่ได้ ต้องเปลี่ยนชื่อ
(Tek Sing) ซึ่งเขาเปรียบเสมือนเรือ ไททานิก Titanic โรงเรียน “คิดออกมาได้เป็น นาวิกเวชกิจ” ความต่อมา


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 19

ที่ได้ทราบไม่ค่อยจะลงตัวว่า ผู้สำเร็จการศึกษา “นาวิก เสนารักษ์ ในอดีต ซึ่งไม่ทราบว่า “โรงเรียนเสนารักษ์”

เวชกิจ” จะเจาะเลือด ฉีกยา ปฐมพยาบาล ฯลฯ เปลี่ยนชื่อโรงเรียนและหลักสูตรเหมือนของทหารเรือ
ได้เหมือนผู้จบโรงเรียนพยาบาลหรือไม่ แต่ที่แน่นอน หรือไม่
ก็คือ ให้ได้รับการศึกษาและการฝึก “ส่งต่อ” ผู้ป่วย การแพทย์ทหารเรือมีเป็นหลักฐานในนาม
ไปยังแหล่งพยาบาล ทราบว่ามีผู้จบการศึกษาหลักสูตร “กองแพทย์” ในรัชกาลที่ ๕ ซึ่งขณะนั้นนอกจาก
ใหม่นี้แล้ว ๒ รุ่น แต่จะเรียกว่า “จ่าพยาบาล” หรือ หน่วยเรือแล้ว ทหารเรือยังมีหน่วยบกตามป้อมที่ปากน้ำ
“จ่าเวชกิจ” และมีอัตรา “จ่าเวชกิจ” ในเรือ ไม่ทราบได้ และแม่น้ำเจ้าพระยา กับกองทหารตามหัวเมืองชายทะเล
ฝั่งตะวันออกของอ่าวสยาม ตั้งแต่ ชลบุรี บางพระ

บางละมุง ลงไปจนถึงแหลมงอบและประจันตคีรี (เกาะกง)
นายแพทย์ใหญ่และหมอคนสำคัญเป็นชาวฝรั่ง เวลาเรือ
ออกทะเลจะมีนายแพทย์ลงเรือไปด้วย อย่างเมื่อ
เรือมกุฏราชกุมาร (ลำแรก) ในบังคับบัญชาของเสด็จเตี่ย
กรมหลวงชุมพรฯ ไปฝึกภาคทะเลต่างประเทศครั้งแรก









เมื่อผู้เขียนเข้ามาเป็นทหารเรือ ก็ต้องพบกับ
จ่าพยาบาลตั้งแต่เริ่มแรก ในการตรวจสุขภาพ ที่หลัง
จากนั้นก็พบอีกเมื่อป่วยไข้ เมื่อผู้เขียนมาเป็นนักเรียน
นายเรือปีที่สอง พ.ศ.๒๔๙๔ ที่เกล็ดแก้ว เป็นไข้
มาลาเรียต้องนอน “โรงหมอ” จ่าพยาบาลเป็นผู้เอายา
ควินิน น้ำใสสีฟ้าเข้ม รสข๋มปี๋มาให้กินตามเวลาจนหายไข ้
ก็นึกถึงบุญคุณของจ่าพยาบาลตั้งแต่นั้นมา พอเป็น

เรือเอกไปเรียนและฝึก “ทหารร่มและการรบพิเศษ”
กับทหารบก ใน พ.ศ.๒๕๐๖ เป็นเวลา ๓ เดือน
สามสัปดาห์สุดท้ายไปฝึกในป่า บริเวณทุ่งแสลงหลวง
จังหวัดพิษณุโลก ที่ปัญหาฝึกสุดท้าย ๗๒ ชั่วโมง
ได้เดินทางออกจากที่พัก ซึ่งสร้างไว้ในป่า เข้าเมือง
เพื่อจับรถไฟกลับโรงเรียนที่ลพบุรี วันสุดท้ายจับไข้ อนุสรณ์เสนารักษ์ ภาพวาดโดย เหม เวชกร
มาลาเรียอีก นอนซมบนรถไฟ นายสิบเสนารักษ์ ของนักเรียนนายเรือใน ร.ศ. ๑๒๖ ( พ.ศ.๒๔๕๐ ) เป็น
เอาผ้าขนหนูสีกระดำกระด่างชุบน้ำจากกระติกน้ำ เวลา ๕๑ วัน มีนายแพทย์ประจำโรงเรียนนายเรือชื่อ
มาคอยเช็ดตัว เช็ดหน้าให้ ซึ่งยังคิดว่า หากป่วยในเรือ ว่าที่นายเรือตรี นายบุญ ลงประจำเรือไปด้วย ซึ่งไม่ทราบ

คงเป็น จ่าพยาบาลที่ใช้ผ้าขนหนูที่สีขาวกว่าในรถไฟ ว่า เป็นหมอแผนไทยหรือแผนฝรั่ง แต่คงต้องมีจ่าพยาบาล
มาถึงวันนี้ก็นึกนึงบุญคุณของจ่าพยาบาลและนายสิบ ติดเรือไปด้วย


20 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

การมีหมอ มีพยาบาลก็เพื่อรองรับผู้ป่วยทหารเรือ บรรเทาให้ทันการได้” (“เมื่อธนบุรีรบ” ของ พลเรือเอก

เป็นสำคัญ เรือฝึกนักเรียนที่เรียนอยู่ในวัยหนุ่ม ไม่มี จิตต์ สังขดุลย์) ทหารที่เสียชีวิตในการรบที่เกาะช้าง
ผู้ป่วยมากนัก แต่เมื่อเกิดการรบย่อมมีผู้บาดเจ็บล้มตาย เป็นของเรือธนบุรี ๒๐ นาย เรือสงขลา ๑๔ นาย และ
ที่ต้องดูแลกันอย่างทันท่วงที การรบสมัยใหม่ของ เรือชลบุรี ๒ นาย รวม ๓๖ นาย ส่วนผู้บาดเจ็บทั้งเจ็บ
ทหารเรือไทย ได้แก่ การรบที่ปากน้ำเจ้าพระยาใน มากและเจ็บน้อยมากกว่าจำนวนผู้เสียชีวิต
ร.ศ. ๑๑๒ ระหว่างหมู่เรือรบฝรั่งเศสกับหมู่เรือรบไทย ส่วนการรบทางบกของทหารนาวิกโยธิน กองพล
และป้อมที่ปากน้ำ ทหารไทยบนเรือ ๕ ลำ ตาย ๘ นาย จันทบุรีในบังคับบัญชาของ นาวาตรีทองหล่อ ขำหิรัญ
บาดเจ็บ ๓๕ นาย และทหารที่ป้อมผีเสื้อสมุทร บาดเจ็บ ได้รุกเข้ายึดไพริน ของกัมพูชาในเดือนมกราคม

๖ นาย ผู้คนบาดเจ็บล้มตาย เกิดจากปืนใหญ่ประจำ พ.ศ.๒๔๘๔ “การปฏิบัติการครั้งนี้ มีผู้ได้รับบาดเจ็บ
เรือรบฝรั่งเศส และจากปืนเล็กของทหารในที่สูงบนเรือ ๗ นาย สาหัส ๑ นาย” (รายงานการยุทธของ พล.
ฝรั่งเศสยิงลงมา ไม่มีหลักฐานว่าการรักษาพยาบาล จันทบุรี ลงวันที่ ๑๘ ก.พ. ๘๔ ของนาวาตรี ทองหล่อ
ผู้บาดเจ็บจากการรบ กระทำกันอย่างใด แต่ขณะนั้น ขำหิรัญ) ส่วนการปะทะในตำบลที่อื่น เช่น ที่บ้านป่าง
มีรถไฟรางระหว่างสมุทรปราการกับกรุงเทพฯ แล้ว สะลามีทหารเสียชีวิต ๔ นาย ที่บ้านกุมเรียงลาง เสียชีวิต
คงใช้ทั้งรถไฟและเรือส่งผู้บาดเจ็บมายังโรงพยาบาล ๒ นาย ที่ย่อมต้องมีแพทย์และพยาบาลไปกับหน่วย
ที่กองแพทย์ในกรุง ทหารในสนามเคียงบ่า เคียงไหล่กับพลรบ
การรบต่อจาก ร.ศ. ๑๑๒ ก็เป็นการรบทางเรือ ในสงครามเอเชียบูรพา ทั้งหน่วยเรือและหน่วยบก
ที่เกาะช้าง ระหว่างหมู่เรือฝรั่งเศสกับ หมู่เรือไทยใน ได้รับความเสียหายบาดเจ็บล้มตายที่ได้รับการดูแล

วันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๘๔ ตามที่ทราบกันอยู่ จากแพทย์และพยาบาล ตลอดจนในปัจจุบันที่ทหาร
นายแพทย์หมู่เรือ นาวาตรีอัชฌา พัฒนวิบูลย์ บนเรือ นาวิกโยธินปฏิบัติการอยู่ในสามจังหวัดภาคใต้ก็ดี
ธนบุรี เสียชีวิตพร้อมกับผู้บังคับการเรือในหอรบ ตั้งแต่ เป็นที่มาของการแพทย์และพยาบาลของทหารเรือ
การเริ่มต้นการรบ ท่านคงไม่ได้รักษาพยาบาลใคร ซึ่งไม่มีโอกาส “ส่งต่อ” ผู้ป่วยไปยังแหล่งพยาบาลอื่น
มือรองของท่านบนเรือธนบุรี และเรือตอร์ปิโดใหญ่ มากนัก
๒ ลำ ที่อาจเป็นนายทหารพยาบาลและจ่าพยาบาล จาก “โรงเรียนพยาบาล” ถึง “โรงเรียนนาวิกเวชกิจ”
ย่อมมีงานเกินมือ “ทหารบาดเจ็บได้มารวมกันอยู่ที่หน้า ต้องมีคุณภาพที่ดีขึ้น มิฉะนั้นจะเปลี่ยนไปทำไม และ

ห้องพยาบาลแน่นไปหมด เหลือมือเจ้าหน้าที่จะจัดการ เพียง “ส่งต่อ” จะพอหรือไม่


สาราที่สี่ เครื่องกากี ใช้แต่งทำการงาน หรือเดินทางไกล
และไปมาโดยธุระปรกติของตน
ข้อ - ชื่อบังคับทหารเรือ
บทที่ ๓๐๑
แจ้งความ
ว่าด้วยการแต่งกายเครื่องกากี
ที่ ๔๒/๐๕๕๘๕

แผนกปกครอง
วันที่ ๑๓ สิงหาคม พระพุทธศักราช ๒๔๕๘


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 21

ด้วยการที่มีข้อไขพระราชกำหนด เครื่องแต่งตัว จะแต่งไปเข้าที่ประชุมชนอันควรแต่งกายให้เป็นสง่างาม

ทหารเรือ พ.ศ.๒๔๕๘ ขึ้นใหม่ ให้นายทหารแต่งเครื่อง ไม่ได้ เพราะถ้าไปเช่นนั้น ต้องถือว่าได้เดินทางไกล
กากีได้มากขึ้นนั้น ก็เพื่อประสงค์จะให้ความสะดวก ถึงที่สุดแล้ว จึงได้ไปด้วยธรรมดาสุภาพบุรุษหาไปในที่
สบายแก่นายทหารในเขตร์อันสมควรและเพื่อจะทำให้ อย่างนั้นทั้งเหงื่อทั้งไคลไม่ ย่อมอาบน้ำล้างหน้า
รายจ่ายเปลืองน้อยลงด้วย เพราะไม่เปรอะเปื้อนเร็ว ให้สะอาดก่อน และเมื่อเช่นนั้น แล้วก็มีเวลาพอที่จะ
เหมือนเครื่องขาว แต่ที่ว่าเขตร์อันสมควรคืออะไรนั้น แต่งตัวให้งดงามได้เหมือนกัน
เป็นการยากที่จะจดลงเป็นลายลักษณ์อักษรให้เป็น ๓.) ที่ว่ากิจธุระปรกติของตนนั้น คือ เช่นการไปมา
ประโยคสั้น แล อมความพอที่จะไม่ให้เกิดความเข้าใจ จากที่ทำการระหว่างบ้านเรือน การไปซื้อข้าวของ

ผิดหรือมีความเห็นโต้แย้งได้ต่าง ๆ กัน ๆ ไป ข้าพเจ้า ตามข้างหอ การไปหาญาติเพื่อนฝูง นอกจากเวลาที่
เรียบเรียงอยู่หลายวันก็ไม่สำเร็จ นอกจากจะต้องเป็น จะต้องแสดงความเคารพต่อเจ้าของบ้านเป็นพิเศษ
ข้อความยืดยาวจนน่าเกลียด แม้กระนั้นก็ยังไม่ปราศจาก กล่าวคือไม่ใช่การเยี่ยมคำนับ ไม่ใช่เวลาเข้าประชุม
ความโต้เถียงให้สิ้นเชิงได้ เพราะที่จะพรรณาการทุกสิ่ง รับแขกหรือมีการงานพิธี เหล่านี้เป็นต้น เพราะการรับแขก
ทุกอย่างซึ่งอาจมีในชีวิตมนุษย์ว่าการใดแต่งอย่างใดนั้น หรือมีการงานพิธีอย่างนั้น ไม่ใช่กิจธุระของตน เป็นกิจธุระ
ก็เป็นการพ้นวิไสยที่บุคคลธรรมดาจะทำได้ ครั้นจะขีด ของเจ้าของบ้านและเป็นกาละที่ควรแต่งกายให้สง่า
ลงไปเป็นอย่างเดียวกับระเบียบสำหรับจ่าและพลทหาร งดงาม การส่วนบ้านอย่างนี้ฉันใด การที่มีประชุมชน
ก็ดูเป็นการบีบคั้นเกินไปสำหรับนายทหารผู้ควรจะมี ทำการนักขัตฤกษ์ตามวัดวาอาราม หรือการดูมหรสพ
ความคิด ข้าพเจ้าเห็นว่า แท้จริงเขตร์ความสมควรของ ในโรงละคร หนัง ฯลฯ อย่างธรรมดาก็ฉันนั้น ด้วยว่า

การนี้มีอย่างใด ข้าพเจ้ารู้สึกอยู่ในใจดี แลเชื่อด้วยว่า เป็นธรรมดาแต่งกายอย่างนั้น ประชาชนย่อมแต่งกาย
นายทหารส่วนข้างมากคงจะมีความรู้สึกเช่นกัน เพราะ ให้สุภาพหรืองดงามยิ่งกว่าปรกติ เพราะฉะนั้นฝ่าย
ย่อมเป็นความรู้สึกอันเป็นธรรมดาของสุภาพบุรุษอยู่แล้ว นายทหารผู้มีเกียรติยศก็ควรต้องแต่งกายให้งดงามเป็น
จึงได้เรียบเรียงลงไว้ในตารางการแต่งกายของนายทหาร สง่าแก่เกียรติยศของตน
ชั้นสัญญาบัตร ท้ายพระราชกำหนดในช่องหมายเหตุ การที่ต้องชี้แจงมาทั้งนี้ เป็นการฟั่นเฝือน่าเบื่อหน่าย
สำหรับการนี้แต่สั้น ๆ ว่า “เครื่องกากีนั้น สำหรับใช้ แก่ผู้ที่รู้รักษาตัวอย่างแล้ว แต่ทั้งนี้เพราะมีนายทหาร
แต่งทำการงาน หรือเดินทางไกล และไปมาโดยธุระ เห็นผิด ๆ กันขึ้น จึงจำเป็นต้องอธิบายและโดยมากนัก

ปรกติของตน” จะยกเอาเหตุเฉพาะการขึ้นเถียงเสียด้วยว่าการนั้น
ทั้งนี้ควรจะแจ่มแจ้งพออยู่แล้ว แต่บัดนี้ปรากฎว่า การนี้ก็มิได้มีข้อห้ามปรากฏชัดแจ้งในกฏข้อบังคับ
มีผู้เข้าใจผิดกันต่าง ๆ นานา จึงจำเป็นต้องอธิบาย คือ แท้จริงกฎข้อบังคับจะมีไปทุกสิ่งทุกอย่างไม่ได้ ต้องอาไศรย
๑.) ข้อที่ว่าแต่งทำงานนั้น เห็นจะเป็นความสว่าง ความรู้สึกพอสมควรและความนิยมของชนหมู่มากด้วย
อยู่แล้ว ไม่ต้องอธิบาย และในส่วนเครื่องแต่งกายขาวหรือกากีนี้ความมุ่งหมาย
๒.) ข้อเดินทางไกลนั้น หมายความว่าเดินทางเรือ ของพระราชกำหนดนิยมว่าเครื่องกากีเป็นเครื่องสดวก
รถไฟ ฯลฯ ไปหัวเมือง หรือจากหัวเมืองเข้ามากรุงเทพฯ เครื่องขาวเป็นเครื่องงาม จึงยังบังคับอยู่ดังว่ามาแล้ว
เป็นต้น แต่ถ้าจะถือเอาความข้อนี้ไปลบล้างอื่น ๆ ถ้าการอย่างใดเป็นที่สงไสยว่าควรแต่งอย่างใดใน
เสียหมด เช่น สมมุติว่า นายทหารแต่งเครื่องกากีจาก ๒ อย่างนี้ ก็ควรแต่งขาวไว้นั่นแหละเป็นไม่พลาด.

เมืองสมุทรปราการ แล้วไปเฝ้าออกขุนนางทั้งเครื่องกากี (พระนาม) บริพัตร
โดยอ้างว่าเดินทางไกล ดังนี้หาได้ไม่ เช่นเดียวกันกับ นายพลเรือเอก เสนาบดี


22 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ไม่น่าเชื่อว่าการชี้แจงว่า เมื่อใดควรแต่งเครื่องแบบ เครื่องแบบทหารเรือทั่วโลกเอาแบบอย่างจาก

สีกากีหรือสีขาว ได้ออกเป็นข้อบังคับทหารเรือ และ ทหารเรืออังกฤษทั้งสิ้น เพราะหลังจากรบกันเต็มอิ่ม
ไม่น่าเชื่อว่าองค์เสนาบดีกระทรวงทหารเรือได้ทรงร่าง บนทวีปยุโรปแล้ว มหาอำนาจในยุโรปก็ออกทะเล
ข้อบังคับนี้ด้วยตัวท่านเอง ล่าอาณานิคม อังกฤษผู้เป็น “จ้าวทะเล” ทำได้ยิ่งกว่าใคร
สร้างจักรภพอังกฤษไปทั่วโลกจน “ดวงอาทิตย์ไม่ตกดิน”
บนจักรภพอังกฤษ ทหารเรืออังกฤษเริ่มมีและใช้เครื่องแบบ
เป็นหลักฐาน ซึ่งชาติอื่นเอาแบบอย่าง โดยยึดถือ
เครื่องแบบ “สีดำเมืองหนาว สีขาวเมืองร้อน” ไม่มีสีอื่น

แต่ทหารเรือบางชาติเห็นว่าชุดสีขาวเปอะเปื้อนง่ายจากเรือ
จีงใช้ชุดสีอื่นเป็นชุดปฏิบัติงาน เช่นสีกากี สีหมอก สีฟ้า
สีน้ำเงิน ฯลฯ ซึ่งทหารเรือไทยเลือกใช้ชุดสีกากี
เมื่อทหารเรืออังกฤษพาทหารบกออกล่าเมืองขึ้น
ทหารบกอังกฤษก็ใช้เครื่องแบบอันสง่างามเฉิดฉายที่ใช้
รบกันฉันท์สุภาพบุรุษในยุโรปนั่นเองออกรบแล้วก็พบว่า
ต้องการเครื่องแบบที่มีสีสรรกลมกลืนกับภูมิประเทศ
อย่างพรางตัว ซึ่งที่ตะวันออกกลางอันเป็นพื้นที่ทะเลทราย
ก็ต้องการเครื่องแบบสีทราย ในชั้นแรกก็ใช้ผ้าสีขาว

ของคนพื้นเมืองนั้นเอง ย้อมด้วยโคลน ออกมาเป็น
สีทรายเรียกว่าสี “กากี” khaki อันเป็นภาษาอาหรับ
แปลว่า “ขี้ฝุ่น” ซึ่งต่อมาโรงงานทอผ้าในเมืองแมนเชสเตอร ์
จึงได้ย้อมและผลิตผ้าสีกากีให้ทหารบกใช้แทนผ้า
ย้อมโคลนที่ต้องการด่วนในชั้นแรก ในสนามรบ
พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ ๕ ทรงเห็นตำรวจ
ที่สิงคโปร์ใช้เครื่องแบบสีกากีและเห็นดีที่จะให้ตำรวจ

“พลตระเวน” ใช้ชุดสีกากี จึงมีการสั่งผ้าสีกากีจาก
สิงคโปร์ให้ตำรวจได้ใช้ ส่วนทางทหารเรือที่มี “รากหยั่ง
ลงแล้ว” ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ที่ก่อนหน้านั้น แต่งตัวกัน
อย่างไม่ uniform เท่าใด ก็ได้ออก “พระราชกำหนด
เครื่องแต่งตัวทหารเรือ” ร.ศ. ๑๒๔ (พ.ศ.๒๔๔๘)
ที่เลียนแบบทหารเรืออังกฤษ “สีดำเมืองหนาว สีขาว
เมืองร้อน” มีเสื้อ ๓ อย่างเท่านั้นเอง
อย่างที่ ๑ เสื้อสักหลาด รูปฟรอกโค้ด....คือ
เสื้อใหญ่คลุมเข่า

อย่างที่ ๒ เสื้อน้อยสักหลาด.......คือเสื้อทูนิก
ปัจจุบันเป็นเสื้อคอแบะใช้เมืองหนาว


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 23

อย่างที่ ๓ เสื้อขาวรูปราชเปแตนท์.....เสื้อนอกขาว เครื่องสะดวก เครื่องขาวเป็นเครื่องงาม” ดังนั้น สีกากี

คอปิดที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ส่วนต่ำกว่าสัญญาบัตรก็เป็น เป็นสี “คลุกฝุ่น” ไม่ใช่สีเครื่องแบบนายทหารเรือและ
ชุดกะลาสี เอาไว้ทำงาน
ทหารเรือในโลกที่เลือกใช้สีกากีเป็นเครื่องแบบนั้น
รู้ดีว่า กากีเป็นชุดสำหรับทำงาน แม้ว่าจะเป็นชุด
เสื้อนอกก็ตาม ดังเช่น ชุด Service Dress Khaki
ที่คนไทยเรียกว่า “ชุดเบลาส์” ที่ใช้เสื้อนอกของทหารเรือ
สหรัฐฯ นั้น ระบุเอาไว้ว่า “เป็นชุดเพิ่มเติม สำหรับ

ใช้กับอากาศอุ่น (Warm weather ไม่ใช่อากาศร้อน)
โดยปกติจะใช้แทนชุดปกติขาวบนเรือหรือบนฝั่ง
ในเวลางาน เมื่อชุดสีขาวไม่เหมาะสม ชุดนี้อาจ
ถูกกำหนดเป็นเครื่องแบบประจำวันก็ได้ (เรือรบสหรัฐฯ
และหลายชาติ ออก Order of the Day ทุกวัน ที่อาจ
ระบุเครื่องแบบของวันนั้น และอาจใช้สำหรับนายทหาร
การ์ดรูปเครื่องแบบทหารเรือ สมัยโบราณ ในกล่องยาซิกาแรต แต่งบนฝั่ง เมื่ออยู่กับหน่วยทหารถืออาวุธ (Troops
(Cigarette Card) : ของสะสมสมัยรัชกาลที่ ๕
Under Arms) หรือเมื่อทำหน้าที่ นายทหารยามบนฝั่ง”
ดังนั้น นายทหารยุค รัชกาลที่ ๕ จึงใช้เสื้อสีขาว ชุดเบลาส์กากีนี้ถูกยกเลิกการนัดหมาย การแต่งกายใน

ราชเปแตนท์และกะลาสีใช้ชุดขาวไปทำงานกันทุกวัน พ.ศ.๒๕๓๙ เพราะเห็นว่ามีเสื้อนอกสีดำและขาวสองตัว
ซึ่งเรือยุคนั้นเป็นเรือกลไฟใช้ถ่านหินเปรอะเปื้อนผ้า เป็นการเพียงพอแล้วและตู้เสื้อผ้าในเรือคับแคบ
สีขาวได้ง่าย จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๕๘ ขณะที่ พลเรือเอก ใครผู้ใดจะใช้เบลาส์กากีเป็นส่วนตัวก็ใช้ได้ นอกจากนี้
สมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์ ได้ออกเสื้อกันลม (Wind Breaker) แบบเสื้อแจ็กเก็ตให้ใช้
พินิตทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดี กระทรวงทหารเรือ หากใครรู้สึกหนาวขณะ warm weather
จึงได้ออกพระราชกำหนด ฉบับที่สองให้มี “เครื่อง ทหารหญิงสหรัฐใช้ชุดกากีด้วย เป็น Working
กากี” เพิ่มเข้ามาสำหรับนายทหาร เป็น เสื้อกากีรูป Khaki หรือ Summer Khaki มีทั้งกระโปรงและกางเกง

ราชเปแตนท์แบบเสื้อนอกขาวใหญ่ปัจจุบันนั่นเอง ทหารเรือหญิงไทยเริ่มมีและใช้เครื่องแบบใน พ.ศ.๒๔๙๖
แต่เป็นสีกากี พ.ศ.๒๔๙๖ ได้เปลี่ยนเป็นเสื้อนอก เลือกใช้สีน้ำเงินดำกับขาวอันเป็นสีทหารเรือ ดูดีกว่าสี
คอแบะแบบอเมริกา กับเสื้อเชิรต์กากีแขนยาว ส่วนกะลาสี “ขี้ฝุ่น” ของทหารชายในปัจจุบัน
ก็มีสีกากีด้วย ส่วนต้นตำรับทหารเรืออังกฤษยัง “ขาว ข้อบังคับทหารเรือ แจ้งความ ว่าด้วยการแต่ง
เมืองร้อน” อย่างเดียวดังเดิม คงจะเป็นเพราะเชื่อว่า เครื่องกากี พ.ศ.๒๔๔๘ แจ้งถึงว่า เหตุใดจึงมีชุดสีกากี
เรือของเขาสะอาดดี เพิ่มจากชุดสีขาว บอกนัยว่า วันใดจะรับแขก วันใด
ชุดสีกากี ไม่ว่าจะเป็นเสื้อนอกหรือเสื้อเชิร์ต จะออกงาน วันใดจะแสดงเหล่าทัพและความเป็นทหารเรือ
“สำหรับใช้แต่งทำการงาน หรือเดินทางไกล และไปมา “ก็ควรแต่งขาวไว้นั่นแหละเป็นไม่พลาด” กับบอกนัยว่า
โดยกิจธุระปรกติของตน” เท่านั้น แต่ “บัดนี้ ปรากฏว่า สีของเครื่องแบบทหารเรือ Tropical คือ สีขาว ไม่ใช่สี

มีผู้เข้าใจผิดกันต่าง ๆ นานา” จนเสนาบดีกระทรวงร่าง กากี และตัวข้อบังคับเองเป็นอมตะ เพราะบอกนัยตาม
“ข้อบังคับ” ชี้แจงเอง สรุปได้ว่า “เครื่องกากีเป็น ขนบธรรมเนียมของทหารเรือสากลทั่วโลก


24 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

สาราห้า ขอลา ท่าช้าง** ที่สร้างขึ้นใหม่ในภายหลังที่ได้มาจากผลพวงการประชุม
ผู้เขียนเป็นนักเรียนเตรียมนายเรือรุ่นที่ ๑๓ APEC ในกรุงเทพเมื่อครั้งที่แล้ว
(พ.ศ.๒๔๙๑ - ๒๔๙๒ ) ที่มีจำนวนเพื่อนร่วมรุ่น ๙๐ คน เมื่อมีคำว่า “กิจการ” มาพ่วงกับคำว่า “สโมสร”
ลาไปเฝ้าเง็กเซียนแล้ว ๖๐ คน เหลืออยู่ ๓๐ คน อะไร ๆ ก็พ่วงมาด้วย
ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ผู้เขียนได้รับมอบจากเพื่อนให้เป็น การติดต่อขอใช้ห้อง สินธูทัศนา ๓ ที่เคยเสียเงินราว
“ประธานจัดงานรุ่น” ซึ่งเพื่อนผลัดกันจัดงานรุ่น ๓,๐๐๐.- บาท ได้รับแจ้งว่าเป็นเงิน ๒ หมื่นกว่าบาท

ที่จัดกันมาแล้วเกือบ ๒๐ ปี ที่ห้อง สินธุทัศนา ๓ ของ ลด ๓๐ เปอร์เซ็น ในฐานะที่เกิดมาเป็นทหารเรือ
ราชนาวีสโมสร ท่าช้าง โดยปกติก็จัดงานในวันเสาร์ จะเป็นเงิน ๑๕,๐๐๐.- บาทเศษ ซึ่งเมื่อคิดดูแล้ว
หรืออาทิตย์ เวลา ๑๑๐๐ - ๑๔๐๐ โดยหลีกเลี่ยง เลี้ยงรุ่นในปัจจุบันที่รวมทั้งครอบครัวด้วยจะมาชุมนุมกัน
ผู้ใช้บริการห้องในวันราชการ ซึ่งจะเสียค่าใช้ห้องและ ไม่เกิน ๕๐ คนที่ตีออกมาแล้ว แต่ละคนจะเสียเงิน
บริการ ๒,๐๐๐ - ๓,๐๐๐ บาท ต่อครั้ง เฉพาะค่าใช้ห้อง คนละกว่า ๓๐๐.- บาท เลยต้อง
ตึกราชนาวีสโมสรนั้น เดิมอยู่ด้วยกันกับ ถอยออกมา ดูเหมือนว่าห้องจะได้รับการปรับปรุงให้
กรมสวัสดิการทหารเรือ เมื่อมีการปรับปรุงตึกและห้องหับ “สินธุทัศนา” ได้ดียิ่งขึ้น ค่า “สินธุทัศนา” จึงต้อง
เมื่อ ๓๐ กว่าปีมาแล้ว เกิดห้องใช้สอยขึ้นใหม่หลายห้อง เพิ่มขึ้นด้วย
มีการประกวดการตั้งชื่อห้องแล้วก็ได้ชื่อห้องที่คล้องจอง อาศัยบารมีดั้งเดิมของเพื่อนคนหนึ่งจึงได้ขอใช้

มีความหมายดี คือ ห้องนาวีสันต์ ห้องพันธ์ุประดู่ และ “สังคีตนาวีสโมสร” ของกองดุริยางค์ทหารเรือที่ติด
ห้องสินธูทัศนา สำหรับห้องสินธูทัศนา ที่เป็นส่วนตึก คลองมอญ ได้ “ทัศนา” คลองแทนแม่น้ำ ด้วยความ
๓ ชั้น ริมแม่น้ำเจ้าพระยาและมองเห็นทิวทัศน์แม่น้ำ เมตตาของนักดนตรีทหารเรือ ทำให้ “เลี้ยงรุ่น” กันได้
จึงมีห้องสินธุทัศนา ๑,๒ และ ๓ ห้องสินธูทัศนา ๑ ซึ่งในปีต่อ ๆ มาก็คงต้องขอความเมตตาจากเจ้ากรมบ้าง
อยู่ชั้นล่างได้ชมวิวแม่น้ำเจ้าพระยาและฟังเสียง ผู้อำนวยการกองกันบ้าง ต่างกรมต่างกอง ขอใช้สโมสร
เครื่องยนต์ เรือหางยาวไปด้วยได้บรรยากาศไปแบบหนึ่ง หรือแหล่งชุมชนของท่านมาจัดงานอย่าง “เลี้ยงรุ่น”
ส่วนสินธูทัศนา ๒ และ ๓ มองเห็นแม่น้ำได้กว้างไกล ของบรรดาบำนาญทหารเรืออย่างเตรียมนายเรือรุ่นของ

สวยดี ขาดเสียงเรือหางยาว ผมต่อไป
ไม่รู้ว่าใครเปลี่ยนชื่อ “ห้องพันธุ์ประดู่” เป็น เพราะเพียงไปนั่งเฉย ๆ ในห้อง โดยไม่รวมค่ากิน
“ห้องชมประดู่” ขาดการคล้องจองชื่อกับอีกสองห้อง ค่าดนตรีก็ต้องจ่ายแล้วสามร้อยกว่าบาท “มันชัก
และ “ราชนาวีสโมสร” ก็มีชื่อใหม่เป็น “กิจการราชนาวี เรือโบตไม่ขึ้นครับผม”
สโมสร” คล้าย ๆ “กิจการหอประชุมกองทัพเรือ”


** หมายเหตุ สาราสาม และสาราห้า กองบรรณาธิการได้ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้ว เมื่อได้ข้อมูลเพิ่มเติมจะนำมาแจ้งให้ท่านผู้อ่านทราบ
ในโอกาสแรก ทั้งนี้ ราชนาวีสโมสร ได้มีการปรับราคาค่าใช้ห้องเมื่อ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๖













นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 25

กองทัพเรือได้ดำเนินการจัดตั้ง กองทุนน้ำใจไทยเพื่อผู้เสียสละในจังหวัดชายเเดน
ภาคใต้และพื้นที่รับผิดชอบกองทัพเรือ เพื่อให้การช่วยเหลือกำลังพลของกองทัพเรือ
และครอบครัวของกำลังพลที่เสียชีวิตหรือทุพพลภาพจากการปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่

จังหวัดชายเเดนภาคใต้ และพื้นที่รับผิดชอบกองทัพเรือให้สามารถดำรงชีพ ตลอดจน
มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีเกียรติในสังคมได้ต่อไป จึงขอเชิญท่านผู้มีจิตศรัทธาบริจาค
เงินในบัญชี

“เงินกองทุนน้ำใจไทยเพื่อผู้เสียสละในจังหวัดชายเเดนภาคใต้และพื้นที่รับผิด
ชอบของกองทัพเรือ” เลขที่บัญชี ๑๑๕ - ๒ - ๑๗๐๘๗ - ๒ ธนาคาร
ทหารไทย สาขากองบัญชาการกองทัพเรือ

กรุณาส่งใบโอนเงิน (โดยเขียนชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์) ส่งมาที่ กรมการเงิน
ทหารเรือ หมายเลขโทรสาร ๐๒๔๗๕ ๕๕๕๗ หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่

กรมกิจการพลเรือนทหารเรือ โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๐๑๓

















ปัญหาชิงรางวัล เสื้อโปโลสำนักงานราชนาวิกสภา จำนวน ๓ รางวัล


คำถาม...


กิจกรรมสวนสนามทางเรือนานาชาติ International Fleet Review 2013

จัดขึ้นเนื่องในโอกาสใด และ กองทัพเรือไทย ส่งเรือหลวงอะไรไปร่วมพิธี


กรุณส่งคำตอบมาที่ [email protected]

หรือสำนักงานราชนาวิกสภา ถนนอรุณอมรินทร ์
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐

“คนทรง”





พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์




เ จเรทหารเรือ อาคาร ๓ จนลูกศิษย์ล้อผมว่า “ผมเป็น


รื่อง “คนทรง” หรือ “ร่างทรง” ที่ผมจะเล่า
ให้ฟังเรื่องนี้เป็นเรื่องของ “การทรงเจ้าเข้าผี” หรือ “การ นายธงเสด็จเตี่ย” เกษียณอายุราชการเมื่อ ๑ ตุลาคม
ประทับร่างทรง” มิได้เกี่ยวกับเรื่องของ “ผู้ทรง” ซึ่งเป็น พ.ศ.๒๕๓๖
ชื่อเรียกสั้น ๆ ย่อ ๆ ของ “ผู้ทรงคุณวุฒิกองทัพเรือ” เรื่องทรงเจ้าเข้าผีนี้ เป็นเรื่องที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
แต่อย่างใด แต่เดิมนั้น “ผู้ทรง” คือพวกนายทหารที่ และเป็นอาชีพที่ขัดกับพระบรมราชโองการ ซึ่งประกาศ
“ประจำกองบัญชาการกองทัพเรือ” หรือเรียกกันสั้น ๆ ห้ามไม่ให้ชาวไทย และชาวจีนทรงเจ้าในที่ต่าง ๆ
ว่าพวก “ประจำ” เรียกกันเล่น ๆ เป็นภาษาอังกฤษว่า มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ๑๒ มกราคม พ.ศ.๒๔๓๔ จนถึง

พวก “P.J.” บ้าง พวก “N.J.O” บ้าง P.J. คือ ปัจจุบัน แต่ก็ยังมีสำนักทรงเจ้าเข้าผีหลายแห่งตั้งแต่
“Prajum” (ประจำ) “N.J.O” คือ “No Job Officer” สมัยโบราณกาลมาจนถึงปัจจุบัน มีคนทรงเป็นทั้งชาย -
(นายทหารที่ไม่มีงานทำ) ต่อมาภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเรียก หญิง และกะเทย มีผู้คนนิยมเลื่อมใสตลอดมาทั้งหญิง
ให้น่าฟังเสียใหม่ว่า “ผู้ทรงคุณวุฒิกองทัพเรือ” เมื่อวันที่ ทั้งชาย ตั้งแต่วัยหนุ่มสาวจนถึงวัยชรา มีหลายระดับ
๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๖ ผมเคยเห็นนายทหารเรือชั้นผู้ใหญ่ ใหญ่มาก ๆ คนหนึ่ง
ผมเป็นพลเรือตรี ผู้ชำนาญการกองทัพเรือ ๑ ปี นั่งพนมมือไหว้อยู่ต่อหน้าคนทรงก็มี
แล้ว เป็น P.J. อยู่ ๒ ปี ตลอดเวลา ๓ ปี ช่วยปฏิบัติ ผมขอนำเอาบทความจากหนังสือพิมพ์ “เดลินิวส์”
ราชการเป็นที่ปรึกษากรมจเรทหารเรือจนเกษียณอายุ ฉบับที่ ๑๗,๑๒๔ วันเสาร์ที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๙
ราชการ ๓ ปีที่ช่วยราชการกรมจเรทหารเรือ ผมนั่ง เรื่อง “พระพยอมจี้รัฐตีทะเบียนสำนักทรงเจ้า” มาให้

ทำงานอยู่หน้าพระรูปกรมหลวงชุมพรฯ ที่กรม อ่านกันดังต่อไปนี้


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 27

เรื่องของคนทรงหรือเรื่องการประทับร่างทรง มากับตัวเอง และมีท่านที่นับถือได้เล่าให้ฟัง มักจะมี

จะเชื่อได้หรือไม่นั้นผมขอให้ความเห็นแค่เพียงสั้น ๆ ว่า สิ่งที่ทำให้เกิดความไม่เชื่อถือ ดังที่เล่าสู่กันฟังดังต่อไปนี้
“ไม่เชื่ออย่าลบหลู่” สำหรับตัวผมเองเท่าที่ได้ประสบ


28 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ที่กองบัญชาการกองทัพเรือ พระราชวังเดิม ธนบุรี


เรื่องที่ ๑ ผมมีอันเป็นไปที่จะต้องไปถ่ายรูปภายใน มีนายทหารเรือหญิงอยู่คนหนึ่ง ทั้งหมดนั่งพนมมือแต้
“ศาลเจ้าตาก” หรือ “ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน ไหว้จ่าที่อยู่บนเตียง มีเสียงผู้หญิงคนหนึ่งร้องบอกผมว่า
มหาราช” ที่อยู่ในพระราชวังเดิมธนบุรี ในตอนสาย ๆ “เร็ว ๆ เข้า เจ้าตากจะประทับทรงแล้ว” ผมไม่สนใจ
ของวันหนึ่ง พอเดินขึ้นไปบนศาลก็ต้องชะงัก เพราะ ถ่ายรูปจนเสร็จแล้วเดินลงจากศาล นึกอยู่ในใจว่า
ด้านซ้ายมือมีทหารเรือชายหญิงจำนวนหนึ่งนั่งกันอยู่เต็ม ที่ศาลเจ้าตากไม่มีป้ายเขียนไว้ว่า “ห้ามเข้าทรง” หรือ

บนเตียงที่มีคนเอามาถวายเจ้าตาก มีจ่าทหารเรือชาย “ห้ามประทับทรง” ที่สำคัญคือ “เป็นเวลางาน”
นายหนึ่งนั่งขัดสมาธิท่าทางเคร่ง ที่พื้นศาลหน้าเตียงมี การงานไม่ทำ มานั่ง “ทรงเจ้าเข้าผี” ในเวลางาน
ทหารเรือชายหญิงหลายคนนั่งพับเพียบอยู่ จำได้ว่า เจ้านายไม่รู้ไม่เห็นบ้างหรืออย่างไร


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 29

พระบวรราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
ที่กรมแพทย์ทหารเรือ


เรื่องที่ ๒ ในการเข้าทรง “พระปิ่นเกล้า” หรือ ที่ประทับร่างทรงอยู่นั่นเอง ตัวเองก็ยังไม่รู้ว่าชื่ออะไร
“พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว” ซึ่งชาวบ้าน แล้วจะให้ผมเชื่อได้อย่างไร
ในหมู่การทรงเจ้าเข้าผีเรียกกันติดปากว่า “เสด็จปู่” เรื่องที่ ๓ เป็นเรื่องของการเข้าทรง “เสด็จปู่” คนเดิม
คนทรงเป็นผู้หญิง พอเสด็จปู่เข้าทรงแล้วผมกล้า ๆ เมื่อประทับทรงแล้ว ผู้คนก็พากันมาถามเรื่องโชคลาภ
กลัว ๆ เข้าไปถามเสด็จปู่ว่า “เจ้าฟ้าจุฑามณีคือใคร” เรื่องยศถาบรรดาศักดิ์ เรื่องคู่ครอง แต่ที่ถามกันมากคือ
เสด็จปู่นั่งคิดอยู่สักครู่ก็ตอบผมว่า “ลูกหลานข้าเองละวะ” เรื่องโรคภัยไข้เจ็บ เป็นโรคกันต่าง ๆ สารพัดโรค เสด็จปู่
ผมได้แต่คิดอยู่ในใจว่า “เออลูกก็ไม่ลูก หลานก็ไม่หลาน ก็สั่งให้รักษากันไป ต่าง ๆ นานา ตอนลงท้ายนี่สิสำคัญ
แล้วจะเป็นลูกหรือหลานกันแน่ล่ะ” แต่ที่สำคัญที่สุด คือ “ไปดื่มเป๊ปซี่เสกซะ” เรียกว่าเป๊ปซี่เสกรักษาได้ทุกโรค
ผมว่าคนทรงหรือร่างทรงเสด็จปู่อ่อนวิชาประวัติศาสตร์ ปรากฏว่าหลังบ้านเสด็จปู่คนทรงมีขวดเป๊ปซี่เปล่าวาง

เอามาก ๆ เพราะ “เจ้าฟ้าจุฑามณี” นั้นคือ “พระบาท อยู่เป็นลัง ๆ กองพะเนิน เป๊ปซี่ของเสด็จปู่ขายดี
สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว” หรือ “เสด็จปู่”


30 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

พระอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์
กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ที่ฐานทัพเรือกรุงเทพ วังนันทอุทยาน


เรื่องที่ ๔ นายทหารผู้ใหญ่รุ่นครูท่านหนึ่งเล่าให้ฟังว่า ท่านหญิงเริงฯ ยกมือชี้หน้าเลย “ฉันไม่เชื่อ ไม่ใช่พ่อฉัน”
มีทหารในหน่วยของท่าน หากินด้วยการรับจ้างเข้าทรง เพราะเสด็จพ่อของท่าน (กรมหลวงชุมพรฯ) จะไม่เรียก
กรมหลวงชุมพรฯ ท่านทราบเรื่องเข้า ก็เข้าไปห้ามและ ท่านว่า “ท่านหญิงเริง” ต้องเรียกว่า “หญิงปุ๊” หรือ
ไล่ไม่ให้เข้าทรงในหน่วยทหารของท่าน ให้ไปหากินที่อื่น “ลูกปุ๊” เพราะชื่อเล่นของท่านหญิงเริงฯ คือ “ปุ๊”
ถ้าห้ามไม่ฟังท่านจะเตะคนทรงให้ คนทรงเลยต้อง เรื่องที่ ๖ มีพิธีการพิธีหนึ่ง ระหว่างทหารเรือกับ
ล้มเลิกการเข้าทรงแล้วเดินหนีไป ต่างจังหวัด พวกเราต้องไปค้างคืนหนึ่งคืนที่ต่างจังหวัด
เรื่องที่ ๕ หม่อมเจ้า เริงจิตรแจรง อาภากร ก่อนจะถึงวันพิธีในคืนวันนั้น ผมนั่งกินข้าวอยู่ติดกับ
พระธิดาของกรมหลวงชุมพรฯ ไปดูการเข้าทรง ร่างทรงของกรมหลวงชุมพรฯ เป็นผู้ชายวัยกลางคน
กรมหลวงชุมพรฯ พอเข้าทรงเสร็จคนทรงก็หันมาทัก ผมคุยกับร่างทรงตอนที่ยังไม่ได้เข้าทรงถึงการศึกษาว่า

ท่านหญิงเริงฯ “อ้าว! ท่านหญิงเริงก็มาด้วยเรอะ” ร่างทรงเรียนจบอะไรมา ร่างทรงตอบว่า “เรียนจบชั้น


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 31

ป.๔” ผมถามต่อไปว่า “ทำไมจึงไม่เรียนต่อ” ร่างทรง เป็นกรมหลวงชุมพรฯ จะต้องแต่งเครื่องแบบพลเรือเอก

ตอบว่า “เสด็จพ่อไม่ให้เรียน” (หมายถึงกรมหลวง แล้วจึงจะเข้าทรง อย่างนี้ตอนก่อนเข้าทรงเป็น
ชุมพรฯ ไม่ให้เรียน) อ้าว! ไม่ให้เรียนต่อก็ไปโทษเสด็จพ่อ กรมหลวงชุมพรฯ ยังเป็นคนธรรมดาแต่งเครื่องแบบ
กรมหลวงชุมพรฯ ท่านส่งเสริมการศึกษาจะตายไป พลเรือเอก ตำรวจก็น่าจะจับได้แล้วเพราะเป็นทหารปลอม
เรื่องที่ ๗ ต่อจากเรื่องที่ ๖ พอกินข้าวอิ่มเรียบร้อย เรื่องที่ ๑๐ เป็นเรื่องของคนทรงกรมหลวงชุมพรฯ
สักครู่ก็ได้ยินเสียงตะโกนว่า “เสด็จพ่อประทับทรง ได้เมียน้อย คนทรงคนหนึ่งอ้างว่า กรมหลวงชุมพรฯ
แล้วไปเฝ้าเสด็จพ่อกันหน่อย” ผมจำใจต้อง “ตามไปดู” สั่งให้หญิงสาวคนหนึ่งที่มาเฝ้าร่างทรงกรมหลวงชุมพรฯ
พร้อม ๆ กับเพื่อนทหารเรืออีกสองสามคน เพื่อนผม ต้องเป็นเมียน้อยของร่างทรง หญิงสาวคนนั้นก็เชื่อ

คนหนึ่งมันยุผม “ไหนเข้าทรงแล้วลองส่งภาษาฝรั่ง คนทรงเลยได้เมียน้อยไปหนึ่งคน
กับท่านซิ ท่านเป็นนักเรียนอังกฤษท่านต้องพูดภาษา เรื่องที่ ๑๑ คนทรงคนหนึ่ง เป็นคนทรงกรมหลวง
อังกฤษได้” ผม “เฮ้ย! เดี๋ยวโดนถีบออกมา พวกที่ ชุมพรฯ เมื่อประทับร่างทรงแล้วได้เขียนข้อความสั้น ๆ
นับถือเขาก็มี” เพื่อนอีกคนหนึ่งมันยุอีก “ลองให้เสด็จเตี่ย ไว้ ๕ – ๖ บรรทัด ด้วยลายมือที่ไม่ใช่ลายพระหัตถ์ของ
ท่านร้องเพลงของท่านซิ ทหารเรือเองยังร้องเพี้ยน ๆ กรมหลวงชุมพรฯ ลงท้ายด้วยการลงชื่อ “ชุมพร”
ไม่ค่อยจะเหมือนกัน” ผมปฏิเสธอีก เพราะเกรงว่า แทนที่จะเป็นพระนาม “อาภากร” ดังในรูป
เสด็จเตี่ยจะร้องไม่ได้ สักครู่มีคนเข้าไปเฝ้า รักษาโรค
เป็นโรคอะไรมาร่างทรงก็ว่าคาถาพึมพำที่เราฟังไม่รู้เรื่อง
ลงท้าย “เพี้ยง! ทรงพระเจริญ” เราก็สะดุ้งเลย อ้าว!

นี่ท่านเป็นเจ้าจะให้คนธรรมดา “ทรงพระเจริญ” ของจริงต้อง “อาภากร”
ได้อย่างไร คนต่อไปเป็นอาซิ้ม ไม่รู้ว่าไปหกล้มหกลุก
มาจากไหนแข้งขาไม่ดี เสด็จพ่อก็ท่องคาถาพึมพำอีก
พอจะจับได้ว่าเป็นคาถาเดียวกันรักษาได้ทุกโรค แล้วก็
“เพี้ยง! ทรงพระเจริญ” อีก แล้วจะให้ผมเชื่อได้อย่างไร
เรื่องที่ ๘ ตอนที่มีชื่อ “พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะ
แพทย์” ปรากฏอยู่ในหนังสือที่วางขายตามท้องตลาด ไม่ใช่ “ชุมพร”

เกี่ยวกับเรื่องของกรมหลวงชุมพรฯ โดยที่ผมไม่เคยรู้ เรื่องที่ ๑๒ ชายคนหนึ่งไม่พอใจในนามสกุลของ
เลยว่า เรื่องที่ผมเขียนไปอยู่ตามหนังสือเหล่านั้น ตนเอง จึงไปหาคนทรง ซึ่งเป็นคนทรงกรมหลวงชุมพรฯ
ได้อย่างไร ท่านที่นับถือท่านหนึ่งบอกผมว่า “คุณกรีฑา แล้วขอให้ตั้งนามสกุลให้ใหม่ คนทรงกรมหลวงชุมพรฯ
นี่กว้างขวางจริงนะ กรมหลวงชุมพรฯ ยังรู้จัก” ผมเป็นงง ก็ตั้งให้จนกระทั่งเป็นที่พอใจ แล้วชายคนนั้นก็อ้างด้วย
ไต่ถามดูก็ได้ความว่า คนทรงกรมหลวงชุมพรฯ คนหนึ่ง ความภูมิใจว่า “กรมหลวงชุมพรฯ ประทานนามสกุล”
พอเข้าทรงเป็นกรมหลวงชุมพรฯ แล้วได้เอ่ยถึงชื่อผม ความจริงแล้วจะต้องบอกว่า “คนทรงตั้งนามสกุลให้จึง
แสดงว่ากรมหลวงชุมพรฯ ก็รู้จักผมด้วย กรมหลวงชุมพรฯ จะถูกต้อง”
สิ้นพระชนม์เมื่อ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๖ ผมเกิด เรื่องที่ ๑๓ สำนักทรงแห่งหนึ่งบอกว่า “ในชาติก่อน”
๑๘ กันยายน พ.ศ.๒๔๗๖ พระองค์ท่านรู้จักผมได้อย่างไร กรมหลวงชุมพรฯ เป็น

เรื่องที่ ๙ ที่ศาลกรมหลวงชุมพรฯ แห่งหนึ่ง - เจ้าชายของ “พระนางจามเทวี” แห่งอาณาจักร
และเป็นสำนักทรงเจ้าเข้าผีด้วย ก่อนที่คนทรงจะเข้าทรง หริภุญไชย


32 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

- “สมเด็จพระเอกาทศรถ” ศึกษาหาความรู้จาก หนังสือ บทความ และเรื่องราว

เมื่อสิ้นพระชนม์แล้วเป็น ต่าง ๆ ตลอดจนเรียนรู้ สอบถามจากหลานปู่หลานตา
- “พระสยามเทวาธิราช” ของพระองค์ท่านอีกมาก
“ท่านเชื่อหรือไม่” “BELIEVE IT OR NOT” ประการที่สี่ เป็นประการสำคัญ คือ “ผมไม่ชอบ”
ผมเคยให้สัมภาษณ์ทางหนังสือพิมพ์ ผมมีความคิดว่า ผมชอบที่จะเป็นคนธรรมดา ๆ คนหนึ่ง ที่รักเคารพ
“ถ้ากรมหลวงชุมพรฯ มาประทับร่างทรงจริง” ร่างทรงนั้น นับถือ และศรัทธาในกรมหลวงชุมพรฯ มากกว่า
จะต้องพูดภาษาอังกฤษได้ เพราะกรมหลวงชุมพรฯ ผมเคยสนใจเรื่องทรงเจ้าเข้าผีอยู่พักหนึ่งเพราะ
ทรงศึกษาวิชาการทหารเรือ จบจากประเทศอังกฤษ “ความอยากรู้อยากเห็น” และ “ตามไปดู” จึงได้

ใช้เวลานานประมาณ ๖ ปี ประสบการณ์ในเรื่องคนทรงมาพอสมควร แต่เรื่องของ
แต่มีบางคนคิดลึกซึ้งมากไปกว่าผมอีกคือ การทรงเจ้าเข้าผีที่ผม “อยากรู้อยากเห็น” และ “ตาม
คุณกิตติ วัฒนะมหาตย์ คุณกิตติฯ เรียนจบวิชาเอก ไปดู” นั้น ไม่แน่จริงสักราย ดังได้เล่าให้ฟังแล้วแต่ตอนต้น
โบราณคดี ที่ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ระหว่าง แล้วจะให้ผมเชื่อได้อย่างไร
ปี พ.ศ.๒๕๒๖ – ๒๕๓๔ ได้ศึกษาเกี่ยวกับพิธีกรรม วันหนึ่งผมเดินอยู่แถวป้ายรถเมล์ท่าช้าง ราชนาวี
เทววิทยา และมายาศาสตร์ คุณกิตติฯ ได้ให้สัมภาษณ์ สโมสร เจอหนังสือเล่มหนึ่งที่ร้านขายหนังสือ “แบกะดิน”
หนังสือ “๑๐๘ เทพแห่งสวงสวรรค์” ฉบับ “กรมหลวง ชื่อหนังสือ “คู่มือร่างทรง” รวบรวมการปฏิบัติและ
ชุมพรเขตอุดมศักดิ์” เดือน ตุลาคม ๒๕๔๔ ตอนหนึ่งว่า พิธีการต่าง ๆ ในการทรงเจ้าเข้าผี ราคาเล่มละไม่กี่บาท
วิธีดูร่างทรงกรมหลวงชุมพรฯ จริงหรือไม่นั้น เลยซื้อมาอ่านเล่น ปรากฏว่าผมอ่านแล้วไม่รู้เรื่อง

ประการแรกทีเดียวก็คือ “กรมหลวงชุมพรฯ ท่านเป็น แสดงว่าคนอย่างผมเป็นคนทรงไม่ได้ สิ่งที่ได้จาก
นักเรียนนอกจบจากอังกฤษ ท่านต้องพูดภาษาอังกฤษ หนังสือเล่มนี้ คือได้รู้ว่า การทรงเจ้าเข้าผีก็เป็น
ด้วยสำเนียงของชาวอังกฤษสมัยนั้น” ถ้าพูดอังกฤษได้ วิทยาการอย่างหนึ่งถึงกับมีตำรา มีคู่มือให้ศึกษากัน
แต่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษในสมัยนั้น ก็เป็นอันว่า “เสร็จ” ท่านผู้ใดสนใจอยากจะเป็นคนทรงก็มาขอยืมไปอ่านกันได้
สอบตกแล้ว และปัจจุบันการทรงเจ้าเข้าผี ก็ได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ
มีผู้สนิทสนมกับผมคนหนึ่งบอกผมว่า ผมน่าจะเป็น มีผู้ทำมาหากินด้วยการเป็นคนทรงจนเป็นอาชีพที่มั่นคง
ร่างทรงกรมหลวงชุมพรฯ ได้ เพราะรู้เรื่องกรมหลวง ก็มีจำนวนมาก ยิ่งได้ชื่อว่า “กรมหลวงชุมพรฯ” หรือ

ชุมพรฯ ดี ผมตอบว่า ผมเป็นไม่ได้หรอก เพราะ “เสด็จเตี่ย” ด้วยแล้ว ยิ่งนับว่าเป็นเจ้านายที่มีคนทรง
ประการที่หนึ่ง การทรงเจ้าเข้าผี ยังเป็นการไม่ชอบ มากที่สุด และมีความก้าวหน้าจนถึงขนาดมีผู้แต่งเพลง
ด้วยกฎหมาย คือ เป็นเรื่องที่ผิดกฎหมาย สดุดีกรมหลวงชุมพรฯ นิยมร้องกันในหมู่สำนักทรง
ประการที่สอง ผมพูดภาษาอังกฤษไม่เก่ง รู้ภาษา เท่าที่ทราบในขณะนี้ก็มีเพลง “วันเกิด ๑๙ ธันวา” และ
อังกฤษงู ๆ ปลา ๆ (Snake ๆ Fish ๆ) ทั้ง ๆ ที่เคยไปอยู่ เพลง “มาร์ชเสด็จเตี่ยกรมหลวงชุมพร” เรื่องที่ผม
ที่ออสเตรเลียมา ๑๗ เดือน เล่าสู่กันฟังนี้ เป็นเรื่องที่ผมประสบมาด้วยตนเอง และมี
ประการที่สาม ผมยังมีความรู้เกี่ยวกับกรมหลวง ผู้ที่นับถือที่เชื่อถือได้เล่าให้ฟัง ใครจะเชื่อเรื่อง “คนทรง”
ชุมพรฯ น้อยมาก มีผู้คนมาถามผมเกี่ยวกับเรื่องของ ก็เชื่อต่อไป ผมห้ามไม่ได้ แต่ขอเตือนสติว่า อย่าได้เชื่อ
กรมหลวงชุมพรฯ หลายราย ทั้งตัวต่อตัว ทางจดหมาย จนหลงงมงายถึงกับ “ถูกหลอกจนหมดเนื้อหมดตัว”

ทางโทรศัพท์ ผมก็ตอบได้บ้างตอบไม่ได้บ้าง เรื่องของ ดังที่พระพยอมท่านได้กล่าวไว้ก็แล้วกัน
กรมหลวงชุมพรฯ ที่น่ารู้น่าศึกษามีอีกมากมาย ผมยังต้อง


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 33

มีดเหน็บ






พลเรือตรี จรินทร์ บุญเหมาะ



นายร้อยห้อยกระบี่

เมื่อสมัยผู้เขียนอยู่ในวัยเด็กช่วงประถมศึกษาปีที่ ๗ นายร้อยตำรวจ และยังมีความเข้าใจกันว่าขณะเป็น
และอาศัยอยู่ในบ้านบริเวณอำเภอบางกอกน้อยซึ่งพื้นที่ นักเรียนอยู่ก็ให้ใช้กระบี่สั้น เมื่อจบการศึกษาเป็น
ส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้นานาพันธุ์ มีโอกาสบ่อยครั้ง นายทหารสัญญาบัตรแล้วจึงได้รับกระบี่ยาวต่อไป
ช่วงเย็นวันศุกร์สุดสัปดาห์ได้เห็นนักเรียนนายร้อย ผู้เขียนจึงมีความตั้งใจว่าสักวันหนึ่งผู้เขียนจะต้อง

แต่งชุดเขียวคอแบะ ราว ๒ - ๓ คน เดินทางกลับ เข้าศึกษาในโรงเรียนเหล่าและเป็น “นายร้อยห้อยกระบี่”
บ้านสวน ซึ่งอยู่บริเวณละแวกเดียวกันกับผู้เขียน ให้จงได้
นอกจากเครื่องแบบ ซึ่งดูเข้มทะมัดทะแมงแล้ว ยังมีสิ่ง นายเรือห้อยมีดเหน็บ ๒

ที่น่าประทับใจคือมีดสั้นที่คาดห้อยเอวด้านซ้ายยาว หลายปีผ่านไป ผู้เขียนได้เติบโตขึ้นและสอบได้
เกือบเรี่ยหัวเข่าที่แกว่งไปมาขณะก้าวขาเดิน ผู้เขียนได้ เข้ารับการศึกษาในโรงเรียนเตรียมทหารที่ถนนพระราม ๔
สอบถามความเป็นมาของมีดดังกล่าวกับผู้ใหญ่ก็ได้ ในปี พ.ศ.๒๕๑๖ โดยในปีแรกยังไม่มีการแบ่งแยกว่า
ความโดยสังเขปในตอนนั้นว่า มีดนั้นเรียกว่า “กระบี่สั้น” นักเรียนต้องเข้าศึกษาในโรงเรียนเหล่าใดจนกว่าจะจบ
เป็นส่วนประกอบเครื่องแบบของนักเรียนเหล่าทุกเหล่าทัพ การศึกษาในปีที่ ๑ เสียก่อน ในช่วงเรียนอยู่โรงเรียน
คือ นักเรียนนายร้อย นายเรือ นายเรืออากาศ และ เตรียมทหารนั้นทุก ๆ เย็นวันศุกร์มักมีรุ่นพี่ทั้ง ๔ เหล่า


๑. เครื่องแบบปกติกากีแกมเขียวคอแบะ
๒. ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ มีกฎกระทรวงว่าด้วยเครื่องแบบทหารเรือเรียกมีดเหน็บนักเรียนนายเรือว่ากระบี่นักเรียนนายเรือ อย่างไรก็ตามคำว่ามีดเหน็บ
ในทางปฏิบัติก็ยังคงเรียกกันว่ามีดเหน็บอยู่เหมือนเดิม


34 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ที่กำลังศึกษาในโรงเรียนเหล่าของตัวเองขณะนั้น

แวะเวียนมาเยี่ยมที่โรงเรียนเตรียมทหารอยู่เสมอ
เป็นโอกาสให้ผู้เขียนได้สอบถาม สังเกตเห็นความแตกต่าง กระบี่สั้นนักเรียนนายร้อย
และความเหมือนของรูปพรรณสัณฐานของกระบี่สั้น
และวิธีการคาดที่พี่ ๆ แต่ละเหล่าได้ปฏิบัติอยู่ คือ
นักเรียนนายร้อย นายเรืออากาศ นายร้อยตำรวจ
ปล่อยสายกระบี่ค่อนข้างยาวจนปลายฝักกระบี่อยู่ราว
บริเวณน่อง อีกทั้งด้ามกระบี่ที่หัวช้างก้มหน้าเล็กน้อย มีดเหน็บนักเรียนนายเรือ

แต่สำหรับนักเรียนนายเรือแล้ววิธีการคาดกลับแตกต่าง
ไปจาก ๓ เหล่าที่กล่าวอย่างสิ้นเชิง กล่าวคือ นักเรียน
นายเรือคาดโดยให้ชายเสื้อคลุมแทบไม่เห็นสายกระบี่เลย กระบี่สั้นนักเรียนนายเรืออากาศ
หัวช้างอยู่เกือบระดับเดียวกับเอวผู้คาด และช้างที่
ด้ามกระบี่ นั้นตั้งตรง หรือเงยหน้าขึ้นเล็กน้อย
ในด้านรูปพรรณสัณฐาน กระบี่สั้นของทั้ง ๔ เหล่า
มีมิติที่ใกล้เคียงกัน ด้ามเป็นหัวช้างเหมือนกันโดย
หัวช้างของนักเรียนนายร้อย และนายร้อยตำรวจปลายงวง
ปัดเฉียงไปทางแก้มซ้ายของช้าง ในขณะที่ของนักเรียน กระบี่สั้นนักเรียนนายร้อยตำรวจ

นายเรือ และนักเรียนนายเรืออากาศปลายงวงอยู่ใน กระบี่สั้น และมีดเหน็บของนักเรียน ๔ เหล่าทัพ
ปากช้าง ใบมีดของทั้ง ๔ เหล่ามีลักษณะเดียวกันคือ ความเป็นมาของมีดเหน็บ

เป็นสีเงิน มีคมด้านเดียว และปลายเรียวแหลมปาดโค้งขึ้น ‘มีดเหน็บ’ตรงกับคำศัพท์ ‘Dirk’ ในภาษาอังกฤษ
ทางด้านสันมีด ฝักมีดของนักเรียนนายร้อย และ มีการนำมาใช้อย่างแพร่หลายในหมู่ชาวเรือชาติยุโรป
นายร้อยตำรวจเป็นโลหะสีเงินหุ้มด้วยปลอกโลหะซึ่งมี ราวช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๗ – ๑๘ มีการกล่าวอ้างจาก
ลายโค้งเว้าเหมือนกันที่ตอนปลายและโคนฝัก ที่ต่างกัน เอกสารหลายฉบับว่า ต้นกำเนิดมาจากประเทศอังกฤษ
คือปลอกดังกล่าวนี้รวมทั้งส่วนหัวช้างของนักเรียนนายร้อย ในยุคเรือใบ ซึ่งในสมัยนั้นนักเรียนนายเรือเข้ารับการฝึก

ทำจากทองเหลืองของนายร้อยตำรวจเป็นโลหะสีเงิน และศึกษาในเรือตั้งแต่อายุ ๑๒ – ๑๓ ปี ด้วยร่างกาย
ฝักของนักเรียนนายเรือและนักเรียนนายเรืออากาศ ที่ค่อนข้างเล็กจึงยังไม่สามารถใช้ดาบหรือกระบี่ยาว
เหมือนกันทุกประการ คือ ทำด้วยหนังสีดำ ปลอกหุ้ม ได้อย่างสะดวก ด้วยเหตุนี้กองทัพเรืออังกฤษจึงจ่าย
ทั้งส่วนปลายและโคนฝักทำด้วยทองเหลืองที่มีลายโค้งเว้า มีดเหน็บ (รูปที่ ๑) ให้นักเรียนนายเรือเหล่านี้ใช้เป็น
เหมือนกัน หัวช้างทำด้วยทองเหลืองเช่นกัน อาวุธประจำกาย โดยแบบมาตรฐานของมีดเหน็บได้รับ
จากการพูดคุยกับพี่ ๆ นักเรียนเหล่าทำให้ผู้เขียน การกำหนดขึ้นโดย British Admiralty ในปี พ.ศ.๒๓๔๖
ได้ทราบข้อมูลใหม่ด้วยความประหลาดใจว่ากระบี่สั้น
ที่นักเรียนเหล่าต่าง ๆ คาดประกอบเครื่องแบบนั้น
นักเรียนนายเรือเรียกว่า “มีดเหน็บ” และผู้เขียน

ก็ตัดสินใจเลือกที่จะเป็น “นายเรือคาดมีดเหน็บ”
เมื่อจบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหาร
มีดเหน็บนักเรียนนายเรืออังกฤษต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙

นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 35

ในราชนาวีอังกฤษสมัยนั้น การคาดมีดเหน็บถือว่า แจกมีดเหน็บให้ใช้ประกอบเป็นส่วนหนึ่งของเครื่อง

เป็นสัญลักษณ์ของผู้ฝึกเป็นนายทหาร (Officer in แบบอีกต่อไปจนกระทั่งปัจจุบัน มีดเหน็บเป็นอาวุธ
Training) และอาจถือได้ว่าอยู่ในสถานะเทียบเท่า ประจำกายที่นักเรียนนายเรืออังกฤษในอดีตได้ใช้มาเป็น
นายทหารประทวนชั้นพันจ่า (Warrant Officer) เวลายาวนาน เพื่อใช้สำหรับการรบ และปฏิบัติงาน ใน
มีดเหน็บเป็นรูปแบบของอาวุธที่อยู่กึ่งกลางระหว่าง เรือ เป็นสัญลักษณ์แห่งเกียรติยศและความภูมิใจ
กระบี่ (Sword) สำหรับนายทหาร และดาบโค้งใบกว้าง ซึ่งต่อมาทหารเรือชาติต่าง ๆ ได้รับเอาไปเป็นธรรมเนียม
(Cutlass) สำหรับพันจ่า ซึ่งธรรมเนียมปฏิบัติของ ปฏิบัติอย่างแพร่หลาย
อังกฤษในขณะนั้นมีเพียงนายทหารและนักเรียนนายเรือ ในยุคเรือใบนั้นนอกจากอังกฤษแล้วชาติเดินเรือ

เท่านั้นที่คาดกระบี่และมีดเหน็บประกอบกับการแต่ง ต่าง ๆ ก็ได้รับเอาขนบธรรมเนียมการคาดมีดเหน็บ
เครื่องแบบ มาใช้กับทั้งนายทหารและนักเรียนนายเรือ เช่น เยอรมัน
เมื่อปี พ.ศ.๒๓๔๐ มีการประท้วงครั้งใหญ่ในกองเรือ รัสเซีย ฝรั่งเศส อิตาลี เป็นต้น ซึ่งมีดเหน็บของชาติอื่น ๆ
ของราชนาวีอังกฤษ เพื่อตอบโต้ต่อมติของรัฐสภา นอกจากอังกฤษ มักมีลักษณะเป็นมีดปลายแหลมสองคม
ให้งดจ่ายเงินเดือนแก่ข้าราชการกองเรือ ในคราวนั้น ฝักกระบี่มีห่วงร้อยสาย ๒ วง เรียงอยู่ข้างเดียวกัน ใน
นายทหารเรือได้รับคำสั่งให้คาดกระบี่ซึ่งปกติอยู่ที่ระดับ ขณะที่อังกฤษเป็นมีดคมเดียวและมีห่วงร้อยสาย ๒ วง
สะโพกให้มาอยู่ที่ระดับเอว ซึ่งถือว่าเป็นการดูหมิ่นเกียรติ อยู่ตรงข้ามกัน
อันเป็นการแก้แค้นของรัฐสภาต่อกองทัพเรือ อีกราว
๑๕๐ ปีต่อมา (ประมาณปี พ.ศ.๒๔๙๐) เกิดการ

ประท้วงในลักษณะเดียวกันเกิดขึ้นอีกในกองเรือ
เนื่องจากสภาผู้แทนราษฎรได้มีมติตัดเงินเดือนของ
ลูกเรือลง ๑ ชิลลิ่งต่อสัปดาห์ อันส่งผลกระทบ
ต่อความเป็นอยู่และครอบครัวของลูกเรือ และหลัง
เหตุการณ์ครั้งนี้นักเรียนนายเรืออังกฤษก็ไม่ได้รับการ
























การคาดมีดเหน็บของนักเรียนนายเรืออังกฤษ (ซ้าย) ในปี พ.ศ.๒๓๔๙
และนักเรียนนายเรือเยอรมัน (ขวา) ในปี พ.ศ.๒๔๓๓ มีดเหน็บของทหารเรือชาติต่าง ๆ ในอดีต



36 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ในยุคปัจจุบันขนบธรรมเนียมการคาดมีดเหน็บ

ประกอบเครื่องแบบ นักเรียนนายเรือของประเทศต่าง ๆ
ทั่วโลกได้ยกเลิกไปเกือบหมด โดยยังคงเหลือเพียงไม่กี่
ประเทศรวมทั้งประเทศไทยที่ยังคงรักษาขนบธรรมเนียม
นี้ไว้ แต่บางประเทศเช่นรัสเซียกลับมีระเบียบปฏิบัติ
ที่ต่างออกไปกล่าวคือ นักเรียนนายเรือที่สำเร็จการ
ศึกษาจะได้รับมีดเหน็บคนละหนึ่งเล่ม ใช้ประกอบ
เครื่องแบบนายทหารสัญญาบัตร ซึ่งยังคงถือปฏิบัติ

มาจนถึงปัจจุบันนี้



















นักเรียนนายเรือญี่ปุ่นก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ เล็กน้อย (บน)
นักเรียนนายเรือรัสเซียที่เพิ่งจบการศึกษาดื่มแชมเปญแช่มีดเหน็บ และนักเรียนนายเรือไทย (ล่าง) ในช่วงประมาณปี พ.ศ.๒๔๕๒
ที่ได้รับแจกจากแก้วขนาดใหญ่ มีดเหน็บนี้ใช้ประกอบการแต่งเครื่องแบบ ต่างใช้มีดเหน็บเป็นส่วนประกอบของเครื่องแบบ
ของนายทหารเรือรัสเซียดังภาพทางขวามือ


มีดเหน็บทหารเรือในเอเชีย มีดเหน็บของนักเรียนนายเรือไทยและนักเรียน
โรงเรียนนายเรือญี่ปุ่นตั้งขึ้นเป็นหลักเป็นฐานเมื่อปี นายเรือญี่ปุ่นมีความคล้ายคลึงกันมากแทบจะเป็น
พ.ศ.๒๔๓๖ ส่วนโรงเรียนนายเรือไทยสถาปนาขึ้นในปี ฝาแฝด เนื่องจากใช้ต้นแบบจากอังกฤษเหมือนกัน

พ.ศ.๒๔๔๒ โดยทั้ง ๒ โรงเรียนต่างได้นำเอาแนวทาง กล่าวคือ ยาวหัวจรดปลายเมื่ออยู่ในฝักประมาณ ๔๐
การเรียนการสอนจากโรงเรียนนายเรืออังกฤษ เซนติเมตร (อังกฤษ ๔๖ เซนติเมตร) ใบมีดปลายแหลม
มาเป็นต้นแบบ นอกจากการเรียนการสอนแล้ว ยาว ๒๕ เซนติเมตร คมด้านเดียว ฝักเป็นหนังสีดำหุ้มด้วย
ขนบธรรมเนียมอย่างหนึ่งที่ต่างนำมาใช้เหมือนกันคือ ปลอกทองเหลืองที่ปลายและโคนฝัก ซึ่งมีลายโค้งเว้า
การคาดมีดเหน็บของนักเรียนนายเรือ ซึ่งโรงเรียน เหมือนกันทั้งไทยและญี่ปุ่น ต่างกันเพียงปลอกทองเหลือง
นายเรือไทยเริ่มใช้ประกอบเครื่องแบบในปี พ.ศ.๒๔๔๘ ของญี่ปุ่นแต่งเป็นลายเส้นกับรูปดอกเบญจมาศ ส่วนของ
หลังจากที่ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ไทยผิวเรียบ มีห่วงร้อยสายมีด ๒ วงอยู่ตรงข้ามกัน
อาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์สำเร็จ ติดอยู่ที่ปลอกทองเหลืองตรงโคนฝัก กระบังมือทั้งไทย
การศึกษาจากอังกฤษ และทรงจัดระเบียบโรงเรียน และญี่ปุ่นเหมือนกันไม่ว่าลวดลาย รูปทรงและความโค้ง

นายเรือใหม่ ด้ามมีดหุ้มหนังกระเบนและรัดพันด้วยเส้นลวดทองเหลือง


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 37

เหมือนกัน ส่วนโคนด้ามของไทยมีปลอกสวมรูปหัวช้าง แก่ฝ่ายศัตรูได้ไม่แพ้กับทหารตัวใหญ่ที่มีกระบี่หรือดาบ

ของญี่ปุ่นเป็นรูปดอกเบญจมาศ ต้นแบบที่มาจาก อยู่ในมือ
อังกฤษเป็นหัวสิงโต ภาพรวมลักษณะเหมือนกัน เมื่อระยะเวลาผ่านไป มีดเหน็บเหล่านี้นอกจาก
โดยต่างกับไทยและญี่ปุ่นในรายละเอียดปลีกย่อย ใช้เป็นอาวุธแล้ว ยังได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งเกียรติยศ
เท่านั้น ของผู้คาด ทำนองเดียวกันกับกระบี่ของนายทหาร
ตัวมีดได้รับการตกแต่งอย่างวิจิตรบรรจงเพิ่มความสง่างาม
ให้แก่นักเรียนนายเรือผู้คาดมีดเหน็บนี้ และขนบธรรมเนียม
การคาดมีดเหน็บนี้ก็ได้แพร่หลายไปในกองทัพเรือทั่ว

ยุโรปและเกือบทั่วโลกในเวลาต่อมา โดยมีการคาด
ทั้งนักเรียนนายเรือและนายทหารด้วยเช่นกันใน
บางประเทศ
เมื่อยุคเรือใบผ่านไป นักเรียนนายเรือได้เปลี่ยน
รูปแบบการฝึกหัดศึกษาจากบนเรือมาอยู่บนบก จึงไม่ต้อง
มีส่วนร่วมกับการรบบนเรืออีกต่อไป ความจำเป็นต้องมี
มีดเหน็บเป็นอาวุธประจำกายจึงหมดไปโดยปริยาย
ส่งผลทำให้ชาติเดินเรือส่วนใหญ่ยกเลิกการให้นักเรียน
นายเรือคาดมีดเหน็บเป็นส่วนประกอบของเครื่องแบบ
มีดเหน็บนักเรียนนายเรืออังกฤษ สำหรับชาติที่ยังถือธรรมเนียมปฏิบัตินี้อยู่ ถือว่า

มีดเหน็บเป็นสัญลักษณ์แห่งนักรบยุวชนทหารเรือ
ที่ทำให้ระลึกถึงเกียรติยศ และความภาคภูมิใจของ
เปรียบเทียบมีดเหน็บนักเรียนนายเรือ ญี่ปุ่น ไทย และอังกฤษ
นักเรียนนายเรือในอดีต ที่ได้เข้ามีส่วนร่วมรบเคียงบ่า
สัญลักษณ์แห่งนักรบยุวชนทหารเรือ เคียงไหล่กับทหารทุกคนบนเรือ และช่วยกระตุ้นเตือน
มีดเหน็บนักเรียนนายเรือกำเนิดขึ้นจากความ ให้ผู้คาดมีความฮึกเหิม มุ่งมั่นที่จะเป็นนายทหารที่ดี
จำเป็นของราชนาวีอังกฤษในยุคเรือใบ ซึ่งจำเป็นต้อง มีความรู้ ความสามารถ มีความกล้าหาญ เช่นเดียวกับ
จัดหาอาวุธมีดที่มีขนาดเหมาะสมให้กับนักเรียนนายเรือ นักเรียนนายเรือในสมัยก่อน

สำหรับเป็นอาวุธประจำกาย เนื่องจากนักเรียนเหล่านี้
เริ่มเข้าฝึกหัดศึกษาตั้งแต่อายุน้อยเพียง ๑๒ - ๑๓ ปี บรรณานุกรม
เท่านั้น ด้วยร่างกายที่เล็กทำให้การพกพากระบี่หรือดาบ - โรงเรียนนายเรือ, ๑๐๐ ปีการเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดโรงเรียน
นายเรือ, นายวิทย์ พริ้นติ้งแอนด์มัลติมีเดีย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.๒๕๔๙
อาจทำได้ไม่สะดวก ทั้งนี้การรบสมัยนั้นมีโอกาสอยู่เสมอ - Dean, Lt., Eta Jima : Hollowed Halls, Proceeding, March,
ที่เรือคู่ปรปักษ์จะเข้าเทียบกันเพื่อให้ลูกเรือปีนข้าม 1983.
กราบเรือของอีกฝ่าย และเข้าตะลุมบอนกันโดยการใช้ - Mervyn Mitton, British Midshipman’s Dirk, www, 25 August
2011.
กระบี่หรือดาบเป็นอาวุธ การต่อสู้ดังกล่าวนี้ไม่มีข้อ - RusNavy.com, Naval Dirk: the Gleam of Fame , www, 20 October
ยกเว้นแม้กระทั่งนักเรียนนายเรือก็ต้องเข้าร่วมด้วย 2013.
เช่นกัน นักเรียนร่างเล็กเหล่านี้พร้อมด้วยมีดเหน็บ - The Gray Monk, Weapons of honour and war, www, 3 March

ที่แหลมคมในมือ สามารถทำความบาดเจ็บล้มตาย 2007.
- www.germannavydaggers.com, 2005

38 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ศอบอพอ ถ้อยแถลง


ตอน.... NCS & Supply Support



นาวาเอกหญิง ภาวนา เจนถนอมม้า



ก ยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ที่จัดหาเพื่อเตรียมไว้ใช้งานนั้น
องทัพเรือ มีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือและ
ป้องกันราชอาณาจักร ซึ่งจากหน้าที่ดังกล่าว จึงมี ส่วนใหญ่เป็นพัสดุที่มีราคาสูงต้องสิ้นเปลืองงบประมาณ
ความจำเป็นที่จะต้องมียุทโธปกรณ์อันประกอบด้วย มากกว่างบประมาณที่จะนำไปใช้ในกิจกรรมอื่น ๆ

เรือรบ เครื่องบิน และระบบอาวุธทั้งปวงที่จะใช้ ของประเทศ และประการสำคัญก็คือ ยุทโธปกรณ์
เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุภารกิจที่ได้ ส่วนใหญ่จำเป็นต้องจัดหามาจากต่างประเทศซึ่ง
รับมอบหมาย นอกจากจะใช้เงินเป็นจำนวนมากแล้ว ยังจะต้อง


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 39

เสียเวลาในการจัดหาค่อนข้างยาวนานอีกด้วย ดังนั้น ท่านผู้อ่านได้รับทราบถึงแรงบันดาลใจที่ข้าพเจ้าเขียน

เมื่อกองทัพเรือได้ยุทโธปกรณ์มาใช้งานแล้ว จึงจำเป็น บทความนี้
ต้องบำรุงรักษาให้มีสภาพใช้งานได้ และมีอายุการใช้งาน ตามอัตราเฉพาะกิจหมายเลข ๓๓๑๒ ศูนย์บริหาร
นานที่สุดเท่าที่ขีดความสามารถของยุทโธปกรณ์นั้น ข่าวสารการพัสดุ กรมพลาธิการทหารเรือ ได้รับมอบ
มีอยู่ ซึ่ง เรือ เครื่องบิน อาวุธและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ ภารกิจ “วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา รวบรวม ตรวจสอบ
จะสามารถปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพได้นั้น จัดระเบียบ ดำเนินกรรมวิธีข้อมูล และนำเสนอข้อมูล
จำเป็นต้องเตรียมการสนับสนุนด้านต่าง ๆ ไว้อย่าง พัสดุทุกประเภทที่เกี่ยวกับการส่งกำลังให้กับหน่วย
พร้อมเพรียง เพื่อให้ยุทโธปกรณ์ที่มีอยู่นั้นมีความ ในกองทัพเรือ” โดยเน้นความรับผิดชอบและหน้าที่

พร้อมใช้ (Availability) ที่สำคัญที่สุดไว้ด้วยคือ การวางแผน อำนวยการ
นานเป็นปี ที่ข้าพเจ้าจะขอโอกาสเสนอความคิด ประสานงาน กำกับการ และดำเนินการวิเคราะห์
ความเห็นสักครั้ง ในครั้งที่แล้วเมื่อเดือนมีนาคม ออกแบบ และพัฒนาข้อมูลพัสดุเกี่ยวกับการส่งกำลัง
พ.ศ.๒๕๕๔ ข้าพเจ้าได้นำเสนอความคิดเห็นในชื่อเรื่อง การรายงานสถานภาพพัสดุ และระบบสมุดรายการ
“ศอบอพอ ถ้อยแถลง ตอน...กระทรวงทหารต้องมี พัสดุทุกสายยุทธบริการ และรวมเน้นถึงการกำกับดูแล
สต็อก” ข้าพเจ้าได้กล่าวถึง “อัตรา COSAL” ซึ่งหน่วยใช ้ การบริหารจัดการด้านการส่งกำลังของหน่วยเทคนิค
ที่สำคัญก็คือ หน่วยเรือที่จะต้องมีการสะสมรายการ ต่าง ๆ ให้เป็นไปตามนโยบายการจัดทำสมุดรายการ
และปริมาณชิ้นส่วนซ่อมอุปกรณ์หรือยุทโธปกรณ์ สิ่งอุปกรณ์ทางทหารตามคำสั่งกระทรวงกลาโหม
ไว้เพื่อใช้ในการซ่อมบำรุงอุปกรณ์หรือยุทโธปกรณ์ (เฉพาะ) ที่ ๗/๒๕๒๕ หลักการบริหารงานพัสดุภายใน

บนเรือนั้น ๆ ภายในขีดความสามารถของหน่วยหรือ กองทัพเรือตามระเบียบกองทัพเรือว่าด้วยการพัสดุ
เจ้าหน้าที่ของหน่วยเอง ทั้งนี้ หน่วยที่รับผิดชอบในการ พ.ศ.๒๕๕๓ และนโยบายและคำแนะนำการจัดทำอัตรา
รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ มาจัดทำเป็นสมุดอัตราพัสดุ พัสดุประจำหน่วยเพื่อการกำหนดปริมาณพัสดุคงคลัง
ประจำเรือแต่ละลำ ก็คือ ศูนย์บริหารข่าวสารการพัสดุ ของกองทัพเรือตามคำสั่งผู้บัญชาการทหารเรือ ท้ายใน
กรมพลาธิการทหารเรือ (ศบพ.พธ.ทร.) อย่างไรก็ดี บันทึกคณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนาการ
การจัดทำสมุดอัตราพัสดุประจำเรือ รวมทั้งการปรับปรุง ส่งกำลังของกองทัพเรือ ลงวันที่ ๓๐ กันยายน
ข้อมูลต่าง ๆ ให้สมุดอัตราพัสดุประจำเรือทรงคุณค่า พ.ศ.๒๕๒๙ อย่างเคร่งครัดด้วย

และมีประโยชน์ต่อการส่งกำลังบำรุงเรืออยู่เสมอ ขึ้นอยู่กับ ท่านผู้อ่านหลายท่านที่เคยได้อ่านบทความ
ความร่วมมือร่วมใจของหน่วยเทคนิค หน่วยใช้เรือ และ ของข้าพเจ้าที่ผ่านมาบ้างแล้ว ก็คงจะแลเห็นถึง
หน่วยเรือนั้น ๆ ด้วย ความเกี่ยวข้องว่า บทความที่เสนอภายใต้ชื่อ “ศอบอพอ
ในโอกาสที่ศูนย์บริหารข่าวสารพัสดุ กรมพลาธิการ ถ้อยแถลง” จะจัดเสนอเป็นตอน ๆ ตราบเท่าที่ข้าพเจ้า
ทหารเรือ มีอายุครบรอบ ๒๓ ปี และย่างก้าวเข้าไปสู่ ยังคงอยู่ในราชการกองทัพเรือ โดยแต่ละตอนจะ
ปีที่ ๒๔ นี้ ข้าพเจ้าขอเสนอความคิดเห็นในบทความชื่อ เกี่ยวข้องกับภาระหน้าที่ของ ศบพ.พธ.ทร. และ
“ศอบอพอ ถ้อยแถลง ตอน... NCS & Supply ทุกบทความจะจบลงภายในฉบับนั้น ๆ จึงไม่มีตอนจบ
Support” รวมทั้งทุกตอนจะไม่มีกำหนดวาระออกที่แน่นอน ทั้งนี้
ก่อนอื่น ข้าพเจ้าขอทบทวนบทบาทหรือภาระ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของเนื้อหาและโอกาส

หน้าที่ของหน่วยงานที่ข้าพเจ้าประจำการอยู่อย่าง ที่ข้าพเจ้าจะได้รับ
ภาคภูมิด้วยนี้ก่อน รวมทั้งข้าพเจ้าประสงค์จะเรียนให้ ที่เกริ่นขึ้นในช่วงต้น ข้าพเจ้าก็อาจเข้าตำรา


40 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

“สอนหนังสือสังฆราช” จึงต้องขออภัยทุกท่านที่เข้าข่าย Numbering) พัสดุทั้งปวงในระบบการส่งกำลัง ที่เป็น

เป็นผู้รอบรู้เรื่องราวที่จะกล่าวต่อไปนี้ในระดับที่ดีมาก รูปแบบเดียวกัน (Uniform) ของประเทศในกลุ่มนาโต
อยู่แล้ว และขอโอกาสเปิดรับทราบความคิดเห็นเล็ก ๆ ระบบ NCS นี้ ถูกออกแบบมาเพื่อให้เกิด
น้อย ๆ ต่อไปนี้ของข้าพเจ้า ที่อาจจะไม่ถูกต้องตรงกับ ประสิทธิภาพสูงสุดในการสนับสนุนการส่งกำลังบำรุง
ความรอบรู้ที่ท่านมีอยู่ ข้าพเจ้าเพียงขอแสดงความ และเพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารข้อมูล
ปรารถนาดีต่อกองทัพเรือไว้ ณ ที่นี้ เท่านั้น แต่ถ้าหาก สิ่งอุปกรณ์ทางทหาร ระบบนี้จึงได้รับการยอมรับจาก
พอจะมีประโยชน์และสามารถนำความคิดเห็นนี้ไป ผู้ลงนามทั้งหมดในฝ่ายพันธมิตร เพื่อใช้เป็นการพิสูจน์ทราบ
ขยายผลใช้ให้เกิดผลดีต่อกองทัพเรือได้ ข้าพเจ้ามี สิ่งอุปกรณ์ร่วมกัน

ความยินดีและขอมอบคุณความดีเหล่านั้น แด่.........
• พลเรือโท อนันต์ จันทรกุล
• พลเรือตรี ชัด สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง
• พลเรือตรี จำลอง ปั้นประดิษฐ์
• พลเรือตรี ประสิทธิ์ บุญธรรม และ
• นาวาเอก ประเก็บ อนันตสุข
คุณครูผู้อบรมสั่งสอนศาสตร์ด้านนี้แก่ข้าพเจ้า
ก่อนพรรณนาในสาระ “NCS & Supply Support”
ข้าพเจ้าขอแยกกล่าวเป็น ๒ คำก่อน หลังจากนั้นก็จะขอ

พรรณนาต่อไปว่าเอามากล่าวร่วมกันทำไม คำทั้งสองนี้
เกี่ยวก้อยกันแล้วจะบังเกิดเรื่องดี ๆ ขึ้นมากเพียงใด
คำแรก “NCS” เป็นคำย่อในภาษาอังกฤษ
ย่อมาจากคำเต็ม NATO Codification System เป็น ระบบ NCS ยึดถือระบบการกำหนดหมายเลข
ระบบที่คิดค้นและยอมรับใช้กันในประเทศต่าง ๆ สิ่งอุปกรณ์ของรัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกา (The United
ในกลุ่มนาโต ( North Atlantic Treaty Organization: States Federal Catalog System) ซึ่งหน่วยงาน
NATO ) รวมทั้งได้รับการยอมรับใช้กันในประเทศที่เป็น ฝ่ายพลเรือนของประเทศในกลุ่มนาโตจำนวนหนึ่งได้ใช้เป็น

พันธมิตรกับประเทศกลุ่มนาโต เช่น ประเทศไทย แนวทางด้วยเช่นกัน
ก็เป็นหนึ่งในประเทศพันธมิตรนอกกลุ่มนาโตที่ใช้ระบบ วัตถุประสงค์หลักของระบบ NCS คือ
NCS ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ นับเป็นเวลาที่นานมากว่า ๑) เพิ่มประสิทธิผลในระบบการส่งกำลังบำรุง
๓๐ ปีแล้ว กรมส่งกำลังบำรุงทหาร กองบัญชาการ (To increase the effectiveness of the logistic
กองทัพไทย กำหนดเรียกขาน “NATO Codification system)
System” เป็นภาษาไทยว่า “ระบบการกำหนดหมายเลข ๒) ช่วยให้เกิดความง่ายและสะดวกต่อการดูแล
ประจำสิ่งอุปกรณ์ทางทหารของนาโต” ข้อมูล (To facilitate data handling)
ระบบการกำหนดหมายเลขประจำสิ่งอุปกรณ์ ๓) ลดค่าใช้จ่ายในการส่งกำลังบำรุงของประเทศ
ทางทหารของนาโต (NCS) เป็นระบบร่วมในการพิสูจน์ ผู้ใช้ระบบ NCS (To minimize logistics costs of

ทราบ (Identification) การจัดประเภท (Classification) user nations)
และการกำหนดหมายเลขประจำสิ่งอุปกรณ์ (Stock ๔) เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติด้านการส่ง


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 41

กำลังบำรุง (To increase efficiency in logistics ความเข้าใจร่วมกันแบบ ASEAN understood

operations) โดยปริยายด้วยอย่างแน่นอน”
สำหรับคำที่สอง “Supply Support” ข้าพเจ้า
และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หลักของระบบ NCS ขอกล่าวย้อนไปถึงความหมายของคำว่า “Logistics
จะกำหนดให้รายการพัสดุ (Item of Supply : IOS) Support” หรือ “การสนับสนุนทางการส่งกำลังบำรุง”
แต่ละรายการมีความเป็นหนึ่งเดียว (Unique) ๔ ประการ ซึ่งหมายถึงการเตรียมการสนับสนุนด้านต่าง ๆ หรือ
คือ สาขาต่าง ๆ ไว้อย่างพร้อมเพรียง เพื่อให้ยุทโธปกรณ์
“A unique Item Name, ที่มีอยู่มีความพร้อมใช้

A unique Classification, ประกอบกับความเชื่อมั่นที่ว่า การสนับสนุน
A unique Identification, ทางการส่งกำลังบำรุงที่ทำให้ยุทโธปกรณ์ดังกล่าว
A unique NATO Stock Number” สามารถใช้ได้ตลอดวงรอบอายุการใช้งาน (Life Cycle)
กองทัพไทยของเราเป็นสมาชิกและใช้ระบบ NCS อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดนั้น จำเป็นต้อง
ในการกำหนดหมายเลขประจำสิ่งอุปกรณ์ทางทหาร นำเอาสาขาต่าง ๆ ของการส่งกำลังบำรุงมาผสมผสาน
ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๕ ซึ่งระบบ NCS จะทำให้รายการ ให้เกิดความกลมกลืนและสอดคล้องกัน หรือกล่าว
พัสดุทุกรายการที่ต้องจัดให้มีการสะสมในคลังพัสดุ อีกนัยหนึ่งคือ นำเอาสาขาต่าง ๆ ของการส่งกำลังบำรุง
ไม่ว่าจะเป็นคลังของกองทัพบก คลังของกองทัพเรือ มาสนธิกันอย่างเหมาะสม ซึ่งการดำเนินการในลักษณะนี้
หรือ คลังของกองทัพอากาศ จะถูกเรียกขานด้วย คือ Integrated Logistics Support หรือ ILS นั่นเอง

หมายเลขประจำพัสดุ ( NATO Stock Number: NSN) “Integrated Logistics Support : A composite
เลขหมายเดียวกันหากเป็นพัสดุที่มีคุณลักษณะและ of all the support considerations necessary to
คุณสมบัติ (Characteristics) เดียวกัน รวมทั้งจะได้รับ assure the effective and economical support
การระบุหรือเรียกขานด้วยหมายเลข NSN ที่ถูกกำหนดขึ้น of a system for its life cycle. It is an integral
โดยประเทศสมาชิกในระบบ NCS ที่เป็นเจ้าของ part of all other aspect of system acquisition
แบบผลิต (Drawing) สำหรับพัสดุรายการนั้น กล่าวคือ and operation.” (Joint Pub 1 - 02)
“ทุกเหล่าทัพและทุกประเทศที่เป็นสมาชิกระบบ ระบบ ILS มีไว้เพื่อทำให้เกิดความมั่นใจว่า

NCS จะมีความเข้าใจตรงกันเสมอว่า หมายเลข NSN ใด ความน่าเชื่อถือและความสามารถในการบำรุงรักษา
คือพัสดุอะไร และมีคุณลักษณะอย่างไร รวมทั้งรายการ (Reliability & Maintainability) จะได้รับการพิจารณา
พัสดุนั้นอ้างถึงหมายเลขผลิตภัณฑ์ (Part Number : ในช่วงระหว่างขั้นการออกแบบและขั้นการพัฒนา
P/N) ของผู้ผลิตรายใดบ้าง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ระบบ และการดำเนินการดังกล่าวจะต้องมีความรอบคอบ
NCS ช่วยให้เกิดความเข้าใจกันแบบ International ในการเลือกชิ้นส่วนต่าง ๆ วัสดุ และการบรรจุหีบห่อ
understood ในกลุ่มประเทศทั้งหลายจำนวน ๖๕ ของชิ้นส่วน เพื่อดำรงไว้ซึ่งประสิทธิผลทางด้านยุทธการ
ประเทศ (๒๘ NATO nations, ๓๗ Sponsored และสามารถสนับสนุนในช่วงเวลาปฏิบัติการได้
Non - NATO nations) กันทีเดียว เช่นนี้แล้ว สรุปว่า ILS คือ กระบวนการที่นำมาใช้เพื่อให้เกิด
หากประเทศทั้ง ๑๐ ในอาเซียนได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก ความมั่นใจว่าบรรดาองค์ประกอบของการสนับสนุน

ใช้ระบบ NCS ด้วยกันแล้ว ความเข้าใจกันแบบ ทั้งปวงได้ดำเนินการอย่างถูกต้องเกี่ยวกับ การวางแผน
International understood นี้ย่อมหมายรวมถึงเป็น การดำเนินการให้ได้มาซึ่งยุทโธปกรณ์ระบบต่าง ๆ


42 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

และการทำให้ระบบนั้นสามารถดำรงอยู่ (ใช้งานได้) hire the military and civilian personnel with

คำว่า “การสนับสนุนทางการส่งกำลัง” หลายคน the skills needed to operate and maintain the
อาจเข้าใจไม่ตรงกัน หากกล่าวถึงคำว่า “Supply system.
Support” หลายคนจะรู้จักคำนี้ โดยเฉพาะนักส่ง ๗. Support Equipment - All equipment
กำลังบำรุง (Logistician) แต่ เพื่อความเหมาะสมจึงขอ (mobile and fixed) are required to support the
ใช้คำว่า “การสนับสนุนทางการส่งกำลัง” ที่มีความหมาย operation and maintenance of the system. An
ตรงกับคำว่า “Supply Support” เพื่อเป็นการทบทวน example would be aircraft handling gear on a
ความเข้าใจให้ตรงกัน ขออ้างถึงตำรา PIC (Principles carrier or test equipment.

of Inventory Control, January 2002) ซึ่งจัดทำโดย ๘.Training and Training Support -
กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา (United States Navy Everything required in training the people in
Supply Corps. School) ที่กล่าวว่า Supply how to operate and maintain system.
Support เป็นองค์ประกอบ ๑ ในจำนวน ๑๐ องค์ ๙. Facilities - Permanent, semi - permanent,
ประกอบ ของระบบ ILS ดังนี้ or temporary property assets needed to
๑. Maintenance Planning - Process for support the systems. Include maintenance
developing maintenance concepts and shops, storage facilities, runways piers, fuel
requirement for the life of the system. depot, etc.
๒. Supply Support – Buy, catalog, receive, ๑๐. Design Interface - Relationship

store, transfer, issue and dispose of all between logistics related design parameters to
secondary items needed to support the readiness and support requirements. What
system. does it cost to run the system and do we
๓. Technical Data – Scientific, engineering, have everything we needed to perform our
or technical information recorded in any non- mission?
computer form (manuals, drawings). เพื่อยืนยันความหมายในทัศนะของแหล่งอื่น
๔. Computer Resource Support - Facilities, นอกเหนือจากกองทัพเรือสหรัฐฯ ข้าพเจ้าได้ค้นพบ

hardware, system software, software ความหมายในสารานุกรมสาธารณะ (free encyclopedia)
development, support tools, documentation, ซึ่งรวบรวมคำศัพท์ต่าง ๆ พร้อมความหมาย และ
and people needed to support embedded
computer system.
๕. Packing, Handling, Storage, and
Transportation - All methods used to ensure
that system equipment and support items is
preserved, packaged, handled, and transported
properly. Include all Hazardous Material

(HAZMAT) shipping and packaging requirements.
๖. Manpower and Personne - Identify and


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 43

เปิดโอกาสให้ผู้สนใจทั่วโลกเข้าเรียกดูและเพิ่มเติม (repairable items) เป็น repair parts (items that

ความหมายให้ได้ความที่สมบูรณ์กันอย่างกว้างขวาง are non - repairable and are discarded when
โดยขณะนี้ได้ให้ความหมายของ “Supply Support” that they fail) และเป็น consumable parts (items
ไว้ดังนี้ that are consumed when used, such as gasket
“Supply Support encompasses all material or adhesives) อย่างไรก็ดี บางตำราใช้คำ
management actions, procedures, and “spare and repair parts” ในความหมายเดียวกับ
techniques used to determine requirements “spare parts” นี้ ดังนั้น ในที่นี้ข้าพเจ้าขอกำหนดใช้
to: คำ “อะไหล่และชิ้นส่วนซ่อม” ในความหมายของ

• Acquire support items and spare parts. “spare parts”
• Catalog the items. การกำหนดความต้องการอะไหล่และชิ้นส่วนซ่อม
• Receive the items. ทั้งในแง่ของจำนวนรายการ (range : number of
• Store and warehouse the items. different of each items) และในแง่ของปริมาณของ
• Transfer the items to where they are- แต่ละรายการ (depth : scale or quantity of each
needed. item) เพื่อดำเนินการจัดหาเข้ามาสำรองหรือเตรียมไว้
• Issue the items. สำหรับสนับสนุนงานซ่อมบำรุงต่าง ๆ นั้น ในทางปฏิบัติ
• Dispose of secondary items. แม้จะไม่มีสูตรสำเร็จใด ๆ ที่สามารถจะชี้เฉพาะรายการ
• Provide for initial support of the system. และปริมาณที่ถูกต้องตามที่จะเป็นจริงในอนาคตได้

• Acquire, distribute, and replenish- แต่ก็ยังมีวิธีการหรือขั้นตอนที่จะประมาณการขึ้นด้วย
inventory.” การใช้ประสบการณ์ (past experience) และ/หรือ
จากคำอธิบายข้างต้น ข้าพเจ้าขอสรุปว่า ข้อมูลสถิติ (statistical data) ในการกำหนดความต้องการ
“Supply Support” หมายถึง กิจกรรมและ งานซ่อมบำรุงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อที่จะ
การจัดการทั้งปวงเกี่ยวกับการจัดหาและการสนับสนุน ประมาณการ (estimate) รายการและปริมาณ
พัสดุให้ได้ตามที่ต้องการ และหากสังเกตจะพบว่า ความต้องการใช้อะไหล่และชิ้นส่วนซ่อมสนับสนุนงาน
กิจกรรมของ Supply Support จะเกี่ยวข้องกับพัสดุ ซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ อย่างเพียงพอต่อเนื่อง

ประเภทพัสดุรอง (Secondary Items) และพัสดุ ตลอดช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ในอนาคต (given period of
ประเภทชิ้นส่วนซ่อม ( Parts ) ที่มีผลโดยตรงต่อการ time in the future)
ดำเนินการเพื่อซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์หลัก (Primary โดยการประมาณการนี้ อยู่ภายใต้สมมติฐานที่ว่า
Items ) หรือที่เรียกกันง่าย ๆ ทั่วไปว่า “Equipment” ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการประมาณการความต้องการ
และขอสรุปได้อีกนัยหนึ่งว่า Supply Support คือ อะไหล่และชิ้นส่วนซ่อม ได้แก่ การใช้ยุทโธปกรณ์
การบริหารจัดการด้านพัสดุรองและชิ้นส่วนซ่อมเพื่อ (equipment usage), ความสามารถในการซ่อมบำรุง
ให้การใช้พัสดุหลักเป็นไปอย่างสมบูรณ์ตลอดอายุการใช้ (maintenance capabilities) ตลอดจนปัจจัย
งานพัสดุหลักนั้น ๆ สนับสนุนอื่น ๆ เหล่านี้เป็นไปอย่างคงที่ จึงกล่าวได้ว่า
คำว่า “spare parts” โดยทั่วไปจะใช้เป็นคำรวม ระดับความเชื่อถือได้ของข้อมูลที่ได้รับย่อมขึ้นกับการ

ที่หมายถึง รายการชิ้นส่วนซ่อม (parts) ที่ต้องการใช้ใน คำนึงถึงหรือการพิจารณาถึงความผันแปรของปัจจัย
การซ่อมบำรุง ไม่ว่ารายการนั้นจะเป็น spares ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเหล่านี้ โดยเฉพาะ การเปลี่ยนแปลง


44 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

การใช้ยุทโธปกรณ์ (fluctuation in equipment Provisioning and Supply Support จึงเป็น

usage) สภาพแวดล้อม (environmental conditions) การดำเนินการที่ครอบคลุมการซ่อมบำรุงทั้งระดับ
และ อายุการใช้งานที่ผ่านมาของยุทโธปกรณ์ (equipment บนเรือ (On board) และระดับบนบก (Ashore base)
age) ด้วย PTD หมายถึง เอกสารข้อมูลซึ่งโดยทั่วไปจัดทำขึ้น
แน่นอนว่า... ทุกวิธีการประมาณการมีความ โดยผู้ผลิตยุทโธปกรณ์เพื่อให้หน่วยผู้ใช้ยุทโธปกรณ์
คลาดเคลื่อนได้ การประมาณการได้ใกล้เคียงที่สุด ทราบรายการและจำนวนความต้องการครั้งแรกของ
เท่านั้นที่สามารถกระทำได้ และควรเผื่อชดเชย ชิ้นส่วนซ่อม ที่จะต้องจัดหาเข้ามาในช่วงแรกสำหรับ
ความคลาดเคลื่อนไว้ด้วย ดังนั้น การกำหนด “enough การซ่อมบำรุงเมื่อเริ่มใช้งานยุทโธปกรณ์ดังกล่าว

- safety level quantity” จึงเป็นความจำเป็นอีก “Provisioning Technical Documentation is
ประการหนึ่ง
ขออ้างถึงข้อมูลทางวิชาการใน Principles of
Inventory Control ซึ่งจัดทำโดย US Navy Supply
Corps School อีกครั้ง ที่กล่าวไว้ว่า
“Provisioning is the process of determining
the Range and Depth of repair parts which are
required to support an end item at each
maintenance level for a specified initial period

of time.
Range - Number of different items (parts)
installed in a system.
Depth - Number of the same part
installed in a system.
Specified initial period of time - normally
two years.”

ดังนั้น การจัดทำ Provisioning and Supply
Support จึงเป็นขั้นตอนในการกำหนดรายการและ
จำนวนชิ้นส่วนซ่อม ตลอดจนเครื่องมือเครื่องทดสอบ
ต่าง ๆ ที่ต้องการใช้ในการซ่อมบำรุงทุกระดับการซ่อมบำรุง the information supplied by the manufacturer
(Maintenance Level) ได้แก่ การซ่อมบำรุงระดับ and used by the Navy for the identification,
หน่วยผู้ใช้ (Organizational Level) การซ่อมบำรุง selection, cataloging, and determination of
ระดับกลางหรือหน่วยงานสนับสนุน (Intermediate initial requirements of support items to be
Level) และการซ่อมบำรุงระดับโรงงาน (Depot procured through the provisioning process”
Level) ทั้งนี้หมายรวมทั้งการซ่อมบำรุงป้องกัน COSAL (Coordinated Shipboard Allowance

(Preventive Maintenance) และการซ่อมบำรุงแก้ไข List) เป็นทั้งเอกสารทางเทคนิคและทางการส่งกำลัง
(Corrective Maintenance) ฉะนั้น การจัดทำ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลทางเทคนิคของอุปกรณ์และ


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 45

รายการชิ้นส่วนซ่อม และข้อมูลทางการส่งกำลัง “The COSMAL provides a Stock Number

ที่จะระบุให้ฝ่ายสนับสนุนทราบรายการและจำนวน Sequential Listing (SNSL) with allowances for
ชิ้นส่วนซ่อมที่มีความจำเป็นต้องจัดให้มีไว้ในห้องพัสดุ all ships/shops supported. In order for the
บนเรือ รวมถึงรายการและจำนวนครุภัณฑ์อื่น ๆ COSMAL to provide the parts support needed,
ที่จำเป็นจัดให้มีไว้ใช้ปฏิบัติงานบนเรือด้วย accurate configuration data is needed on the
อ้างถึงใน NAVSEA Logistics Support system supported. The COSMAL usually
Engineering Activity ซึ่งจัดทำโดยกองทัพเรือสหรัฐฯ computes allowance to support a minimum
เมื่อ ปี ค.ศ.๑๙๘๕ กล่าวไว้ว่า “ The COSAL is a mandatory 2 - year period.”

supply management document because it ดังนั้น จึงพอสรุปได้ว่า ความมุ่งหมายของการ
tells the supply officer how much and what จัดให้มีปริมาณเริ่มแรกของรายการอะไหล่และ
kind of material to stock in the storerooms, ชิ้นส่วนซ่อม (Initial Spares) ก็คือ เพื่อให้เพียงพอ
and the allowance of equipage items that สนับสนุนการใช้ยุทโธปกรณ์ในช่วงเวลาหนึ่งจนกว่าจะมี
must be carried aboard ship ” ข้อมูลหรือประสบการณ์เพียงพอที่จะประมาณการและ
และอ้างถึงใน Principles of Inventory จัดให้มีรายการอะไหล่และชิ้นส่วนซ่อมเข้ามาเพิ่มเติมได้
Control ซึ่งจัดทำโดย US Navy Supply Corps. อย่างเพียงพอต่อเนื่องต่อไปได้ และปริมาณเริ่มแรกนี้
School เมื่อ January 2002 ก็กล่าวไว้ทำนองเดียวกันว่า อย่างน้อยต้องเพียงพอสนับสนุน (sustain) การซ่อมบำรุง
“COSAL serves several purpose: ในช่วงเวลาหนึ่ง รวมกับช่วงเวลาที่รอคอยเนื่องจาก

๑. Configuration Index (A Complete listing การจัดหา ซึ่งโดยทั่วไป รายการอะไหล่และชิ้นส่วนซ่อม
of all equipment currently installed onboard ที่สำคัญ (major spare parts) มักใช้เวลาในการจัดหา
the ship) ประมาณ ๑๘ - ๒๔ เดือน ฉะนั้น หากปริมาณเริ่มแรก
๒. Allowance Lists (Individual APL’s for ที่กำหนดขึ้น มีไม่เพียงพอ (insufficient) ยุทโธปกรณ์
each (equipment) is installed onboard the ที่มีอยู่ย่อมจะมีโอกาสที่จะไม่ได้รับการสนับสนุน
ship) and รายการอะไหล่และชิ้นส่วนซ่อมอย่างเพียงพอก็ได้
๓. Required Repair Part (A Complete หากพิจารณาถึงภาระหน้าที่ของศูนย์บริหาร

listing of all material required to support the ข่าวสารการพัสดุ กรมพลาธิการทหารเรือ และ
equipment installed onboard the ship.) ” ความจำเป็นที่ต้องเน้นการกำกับดูแลการบริหารจัดการ
COSMAL (Coordinated Shore - based ด้านการส่งกำลังของหน่วยเทคนิคต่าง ๆ ให้เป็นไปตาม
Material Allowance List) เป็นเอกสารทางการ นโยบายการจัดทำสมุดรายการสิ่งอุปกรณ์ทางทหาร
ส่งกำลัง ซึ่งให้ข้อมูลเกี่ยวกับรายการชิ้นส่วนซ่อมพร้อม ตามคำสั่งกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ๗/๒๕๒๕
ปริมาณที่เพียงพอเหมาะสมที่จะสนับสนุนทั้งเรือ หลักการบริหารงานพัสดุภายในกองทัพเรือตามระเบียบ
และโรงงานต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง โดยทั่วไปจะแสดง กองทัพเรือว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๕๓ และนโยบาย
เป็นปริมาณความต้องการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง และคำแนะนำการจัดทำอัตราพัสดุประจำหน่วย
ไม่น้อยกว่า ๒ ปี ข้าพเจ้าขออ้างถึงใน Principles of เพื่อการกำหนดปริมาณพัสดุคงคลังของกองทัพเรือ

Inventory Control ซึ่งจัดทำโดย US Navy Supply ตามคำสั่งผู้บัญชาการทหารเรือท้ายในบันทึกคณะกรรมการ
Corps School เมื่อ January 2002 อีกครั้ง ที่กล่าวว่า ปรับปรุงและพัฒนาการส่งกำลังของกองทัพเรือ ลงวันที่


46 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๙ อย่างเคร่งครัด มาประกอบ ส่งกำลังบำรุงของกองทัพเรือ และจะต้องกำหนด

กับคำพรรณนาความหมายของคำว่า “NCS” และคำว่า หลักนิยมให้ทั้งหน่วยสนับสนุนทุกระดับและหน่วย
“Supply Support” ที่กล่าวมาแล้วทั้งหมด ท่านคง ผู้เบิกหรือหน่วยผู้ใช้พัสดุทุกหน่วยคำนึงถึงการใช้พัสดุ
เห็นคล้อยกับข้าพเจ้าว่า หากนำเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับ ที่มีสะสมอยู่ในคลังพัสดุขณะนั้น ก่อนการพิจารณา
ทั้งสองคำมาใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างกลมกลืนกันได้ จัดหาเพิ่มเข้ามาอีกโดยไม่จำเป็น ได้แก่ การยอมรับใช้
ย่อมจะบังเกิดประโยชน์ต่อระบบส่งกำลังบำรุงของ พัสดุที่มีหมายเลข NSN อื่นที่ระบบ NCS ได้ระบุว่า
กองทัพเรือในภาพรวมเป็นอย่างมากทั้งด้านประสิทธิภาพ สามารถใช้แทนซึ่งกันและกันได้ (interchangeable)
และด้านประสิทธิผล หรือได้ระบุว่าใช้แทนกันได้ (substitute) รวมทั้ง

• อย่างไรที่เรียกว่ากลมกลืน ? การยอมรับใช้พัสดุที่มีหมายเลขผลิตภัณฑ์ (Part
• แล้วในปัจจุบันกองทัพเรือมิได้นำมาใช้หรือ ? Number) อื่นใดที่ระบบ NCS ระบุอ้างถึงหมายเลข
• หรือปัจจุบัน กองทัพเรือนำมาใช้แล้ว แต่ยังไม่ NSN เดียวกัน
กลมกลืน ? ประการที่สามของความกลมกลืน คือ การกำหนด
ในความเห็นของข้าพเจ้า ปัจจุบันกองทัพเรือ ความต้องการพัสดุ (Requirement Determination)
นำมาใช้แล้ว แต่ยังมิได้นำทั้งสองคำมาใช้ได้อย่าง โดยเฉพาะการกำหนดความต้องการอะไหล่และ
กลมกลืน และยังมีความจำเป็นต้องเพิ่มความสมบูรณ์ ชิ้นส่วนซ่อมตามอัตรา COSAL ทั้งในแง่ของจำนวน
ของการใช้ประโยชน์ให้สมประโยชน์ของแต่ละคำ รายการและในแง่ของปริมาณของแต่ละรายการ
ทั้งนี้หน่วยที่เกี่ยวข้องทุกหน่วยทุกฝ่ายจะต้องดำเนินการ จะต้องเกิดจากความร่วมมือของหน่วยเทคนิค กับ

ตามบทบาทและภาระหน้าที่ต่อกันอย่างเต็มที่ที่สุด ศูนย์บริหารข่าวสารการพัสดุ กรมพลาธิการทหารเรือ
ประการแรกของความกลมกลืน คือ ความเข้าใจกัน เพื่อที่จะประมาณการรายการและปริมาณความต้องการ
แบบ International understood ในที่นี้คือ ใช้อะไหล่และชิ้นส่วนซ่อมสนับสนุนงานซ่อมบำรุง
การยอมรับและใช้ระบบ NCS อย่างจริงจัง ต้องยอมรับ ยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ อย่างเพียงพอต่อเนื่องตลอดช่วงเวลา
แนวความคิดของการกำหนดหมายเลข NSN สำหรับ หนึ่ง ๆ ในอนาคต บันทึกไว้ในสมุดอัตราพัสดุประจำเรือ
รายการพัสดุทุกรายการที่จะเข้ามาอยู่ในระบบส่งกำลัง อันจะเป็นแนวทางสำหรับหน่วยเบิกใช้คิดคำนวณหา
บำรุงของกองทัพเรือ ซึ่งเป็นภาระงานของการสนับสนุน จำนวนที่ขอเบิก และสำหรับหน่วยคลังระดับต่าง ๆ

ทางการส่งกำลัง (Supply Support) ของแต่ละหน่วย ที่สนับสนุนใช้เป็นแนวทางในการตรวจจ่ายและเสนอขอ
เทคนิคที่รับผิดชอบการกำหนดปริมาณพัสดุคงคลัง ให้หน่วยเทคนิคจัดหาพัสดุคงคลังระดับต่าง ๆ ได้ไว้
ที่เรียกกันว่า COSMAL รวมถึงรายการอะไหล่และ อย่างเพียงพอต่อเนื่อง
ชิ้นส่วนซ่อมที่กำหนดเป็นอัตรา COSAL ไว้ให้หน่วยเรือ ประการสุดท้ายของความกลมกลืน คือ นอกเหนือ
ถือเป็นเกณฑ์สะสมบนเรือนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง จากการจัดทำสมุดอัตราพัสดุทั้งประจำหน่วยและ
ประการที่สองของความกลมกลืน คือ เมื่อให้ ประจำเรือแล้ว ควรให้มีการกำหนดปริมาณพัสดุคงคลัง
ความสำคัญต่อการกำหนดหมายเลข NSN แล้ว ของกองทัพเรือ สำหรับพัสดุในอัตราซึ่งหน่วยเทคนิค
ทุกหน่วยที่เกี่ยวข้องกับรายการพัสดุที่อยู่ในภาระ พิจารณาให้หน่วยผู้ใช้มีไว้เพื่อปฏิบัติการการฝึก และ
รับผิดชอบการสนับสนุนทางการส่งกำลังของทุกหน่วย สำรองสงครามซึ่งกองทัพเรือกำหนดความเร่งด่วน

เทคนิค จะต้องเรียกขานหรือระบุรายการพัสดุแต่ละ ในการสะสมไว้เป็นอันดับแรก โดยสมควรถือระดับ
รายการด้วยหมายเลข NSN ในทุกแง่มุมของระบบ สะสม ๔๕ วันที่หน่วยใช้หรือที่คลังย่อย รวมถึง


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 47

การสะสมยุทโธปกรณ์สำรองเพื่อการระดมสรรพกำลัง ดังนั้น ประสิทธิภาพและความรอบคอบในกิจกรรม

และการสะสมวัตถุยุทธศาสตร์ที่หายากไว้ตั้งแต่ Provisioning ที่จะกำหนดรายการพัสดุพร้อมหมายเลข
ยามปกติ ควรให้หน่วยเทคนิคพิจารณากำหนดตาม NSN และปริมาณพัสดุคงคลังเริ่มแรก โดยเฉพาะ
ความจำเป็น และตามสถานะงบประมาณที่จะสนับสนุน รายการอะไหล่และชิ้นส่วนซ่อมที่จำเป็นต้องจัดหาเพื่อ
ได้โดยให้ประสานการพิจารณากับกรมส่งกำลังบำรุง สะสมเป็นพัสดุคงคลังของกองทัพเรือทุกรายการ
ทหารเรือ และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ทั้งนี้ จึงมีผลโดยตรงต่อความพร้อมใช้ (Availability)
เพื่อให้การกำหนดปริมาณพัสดุคงคลังของกองทัพเรือ เรือรบ เครื่องบิน และระบบอาวุธทั้งปวงที่กองทัพเรือ
เพื่อการระดมสรรพกำลัง เป็นไปตามแผนเตรียมพร้อม ใช้เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุภารกิจ

ด้านการระดมสรรพกำลังเพื่อการทหารของกองทัพเรือ ที่กองทัพได้รับมอบหมาย……
พ.ศ.๒๕๔๘ เกี่ยวกับการส่งกำลังบำรุง ขอขอบคุณคณะกรรมการราชนาวิกสภาและ
ท่านสังเกตจะพบว่า NSN เป็นตัวการสำคัญ กองบรรณาธิการนิตยสารนาวิกศาสตร์ ที่ให้โอกาส
ที่เชื่อมโยงการใช้ประโยชน์จากระบบ NCS เข้ามา ข้าพเจ้าเสนอความคิดเห็นในฉบับนี้.....
เพิ่มประสิทธิภาพให้แก่กิจกรรม Supply Support
อ้างอิง
• Defense Logistics Services Center, An • NATO Group of National Directors of
Introduction to the Federal Catalog System; Codification, Guide to the NATO Codification
September 1978. System; May 1997.

• Department of the Navy, NAVSEA • กรมยุทธศึกษาทหาร กองบัญชาการทหาร
Logistics Support Engineering Activity; January สูงสุด, พจนานุกรมศัพท์ทหารอังกฤษ – ไทย ฉบับใช้
1985. ร่วมสามเหล่าทัพ พ.ศ.๒๕๔๔ (แปลจาก Joint Pub 1-
• คณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนาการ 02, DoD Dictionary As Amended by JMGTM -
ส่งกำลังของ ทร., บันทึกเรื่องนโยบายและคำแนะนำ 085-97); ๒๕๔๔.
การจัดทำอัตราพัสดุประจำหน่วยเพื่อการกำหนด • Department of the Navy, Naval Supply
ปริมาณพัสดุคงคลังของ ทร.; กันยายน พ.ศ.๒๕๒๙. Systems Command, PIC (Principles of

• James V. Jones, Integrated Logistics Inventory Control); 2002.
Support Handbook. Second edition. California: • Brenda Eddy and Steven Arnett. A
Mc graw – Hill, Inc; 1994. Bridge to Global Logistics Knowledge, the
• Department of the Navy, Navy Ship DISAM Journal, Full 1998 (Revised March
Parts Control Center, SPCCINST 4441.170A CH- 2003); 2003.
1, COSAL Use and Maintenance Manual; June 1995.













48 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗


Click to View FlipBook Version