The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาวิกศาสตร์ ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกศาสตร์, 2022-07-06 02:38:08

นาวิกศาสตร์ เดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

นาวิกศาสตร์ ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ภาพอนาคตของประชาคมอาเซียน :


การเปลี่ยนแปลงที่กระทบต่อประเทศไทย


(Thailand under the coming of ASEAN Community)


ภาพ อนาคตที่จะเห็นในอีกหนึ่งปีต่อ เป็นไปตามที่ตนได้ประโยชน์สูงสุด) ทำให้ภาพอนาคต
นาวาเอก กิตติพงษ์ จันทร์สมบูรณ์


จากนี้ไป ชาติสมาชิกอาเซียนรวม
ทั้งประเทศไทยคาดการณ์ว่าจะถูกขับเคลื่อนที่ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นนั้นมีตั้งแต่ภาพอนาคตอาเซียน
ที่เป็นการรวมตัวกันแบบเหนียวแน่นจนเกิดเป็นรัฐ
หนักหน่วงและรุนแรงมากขึ้นในทุก ๆ มิติ เพื่อให้ไป อาเซียนใหม่แบบสหภาพยุโรป ไปจนถึงภาพการรวมตัว
สู่ภาพเป้าหมายที่อาเซียนตั้งใจไว้ว่าจะให้เป็นประชาคม เพียงแค่เป็นสัญลักษณ์เพื่อการเก็บเกี่ยวผลประโยชน์

ที่เป็นหนึ่งเดียวในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและ ที่สมาชิกแต่ละชาติพึงหาได้ ทั้งนี้ต้นแบบเชิงอุดมคติ
สังคมที่เรียกว่าประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ที่เป็นความคาดหวังของสมาชิกในช่วงเริ่มต้นคือความ
เช่นเดียวกับรูปแบบของการรวมตัวในภูมิภาคอื่น ๆ นั้น ต้องการให้อาเซียนเป็นประชาคมแห่งการพึ่งพา
นับเป็นเป้าหมายในภาพรวม ๆ ที่ดูสวยหรู แต่ในความ ที่สมบูรณ์ แต่อุปสรรคปัญหาก็คืออาเซียนมีลักษณะ
เป็นจริงภาพอนาคตของประชาคมอาเซียนจะเป็น เฉพาะทั้งความเชื่อ โครงสร้าง การปฏิบัติ ความรับผิด
อย่างไรนั้น นับเป็นสิ่งที่ยังคาดการณ์ได้ยาก เพราะ ชอบและค่านิยมที่ไม่เหมือนภูมิภาคใดในโลก จนได้
แต่ละประเทศก็ปรารถนาให้อาเซียนเป็นตามความ รับคำจำกัดความว่าเป็นลักษณะวิถีแห่งอาเซียน

ต้องการที่แตกต่างกันไป (โดยเฉพาะความต้องการให้ (The ASEAN Way) อีกทั้งอาเซียนยังได้ร่วมกันจัดทำ

Estrella D. Solidum, The Politics of ASEAN: An Introduction to Southeast Asian Regionalism, Eastern University Press, (Singapore:2003).


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 49

กฏหมายของประชาคมคือกฏบัตรอาเซียนไว้ วัฒนธรรม การกินดีอยู่ดีบนพื้นฐานของความเสมอภาค
เพื่อประกันการเป็นประชาคมอาเซียนจะได้ไม่ผิดเพี้ยนไป และผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก เมื่อแรก

ซึ่งกฏบัตรนี้นับได้ว่าเป็นกรอบและแรงบังคับให้ ก่อตั้งในปี พ.ศ.๒๕๑๐ มีสมาชิกเริ่มแรกเพียง
ประเทศสมาชิกต้องยึดและปฏิบัติตาม ก็ยังถูกวิจารณ์ ๕ ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
ว่าจะบังคับใช้ต่อประเทศสมาชิกไม่ได้ แต่จะเป็นได้ และสิงคโปร์ ในเวลาต่อมา บรูไนดารุสซาลาม ได้เข้าเป็น
เพียงรัฐธรรมนูญแห่งความตั้งใจของอาเซียนเท่านั้น สมาชิกลำดับที่ ๖ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๗ และเวียดนามเข้า
ดังนั้นเพื่อค้นหาภาพอนาคตที่ไม่ใช่ภาพลวงตา แต่เป็น เป็นสมาชิกลำดับที่ ๗ ในปี พ.ศ.๒๕๓๘ ส่วนลาว และ
ภาพที่แท้จริงของประชาคมอาเซียนที่จะเกิดขึ้นหลัง พม่า เข้าเป็นสมาชิกพร้อมกันเมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๐ และ
ปี พ.ศ.๒๕๕๘ บทความนี้จะได้วิเคราะห์เพื่อค้นหา กัมพูชาได้เข้าเป็นสมาชิกในลำดับที่สิบเมื่อปี

ภาพอนาคตของประชาคมอาเซียนที่น่าจะเกิดขึ้นจริง พ.ศ.๒๕๔๒ ทำให้ปัจจุบันอาเซียนจึงประกอบด้วย
รวมทั้งผลกระทบและแนวทางของประเทศไทยใน ประเทศสมาชิกจำนวน ๑๐ ประเทศ รวมพื้นที่
การเข้าร่วมกับประชาคมอาเซียน ประมาณ ๔,๔๓๕,๖๗๐ ตารางกิโลเมตร และมี
ประชากรประมาณ ๕๙๐,๘๔๔ ล้านคน (ข้อมูลในปี
พ.ศ.๒๕๕๒) ปริมาณสินค้าที่มีการแลกเปลี่ยนกันมี
มูลค่า ๑,๕๓๖,๘๔๓ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สินค้าส่งออก
๘๑๐,๔๘๙ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สินค้านำเข้า

๗๒๖,๓๕๔ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และมีอาณาเขตทางบก
ติดต่อกับประเทศจีน อินเดีย บังคลาเทศและ
ปาปัวนิวกินี มีพืชเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ข้าว ข้าวโพด

มันสำปะหลัง สับปะรด ยางพารา ปาล์มน้ำมันและ

การลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) พริกไทย
เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๑ เพื่อก่อตั้ง อาเซียน หรือ สมาคม
ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South
East Asian Nations หรือ ASEAN)

ความเป็นมาของอาเซียน
อาเซียน (ASEAN) หรือสมาคมประชาชาติแห่ง

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งขึ้นจากการรวมตัวกัน
แบบอาสาหรือสมัครใจด้วยการลงนามในปฏิญญา
กรุงเทพฯ ที่วังสราญรมย์ เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐
มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกัน
ระหว่างประเทศในภูมิภาค เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพ จากวันที่เริ่มก่อตั้ง อาเซียนได้เผชิญสถานการณ์ที่
เสถียรภาพ และความมั่นคงทางการเมือง สร้างความ เปลี่ยนแปลงไปในเวทีการเมืองระหว่างประเทศจาก
เจริญทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและ สภาวะแห่งความตึงเครียดและการเผชิญหน้าในยุค



ASEAN Secretariat, Selected basic ASEAN Indicators, ASEANSTATS, 15 Feb 2011.


50 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

สงครามเย็น รวมทั้งความขัดแย้งภายในระหว่างสมาชิก ค.ศ.2020 (ASEAN Vision 2020) ซึ่งมีเป้าหมายให้

ด้วยกัน แต่ด้วยลักษณะของการรวมตัวกันแบบหลวม ๆ อาเซียนเป็นกลุ่มหุ้นส่วนที่มีความสมานฉันท์ ร่วมกัน
ได้เป็นส่วนดีให้อาเซียนค่อย ๆ เรียนรู้ในการอยู่ร่วมกัน พัฒนาอย่างเอื้ออาทรซึ่งกันและกันให้ได้ใน พ.ศ.๒๕๖๓
ในลักษณะเฉพาะของตนเองคือการไม่แทรกแซงกิจการ จากจุดเริ่มของการกำหนดวิสัยทัศน์ดังกล่าวเป็นแรงขับ
ภายในและการให้ความเคารพซึ่งกันและกัน จนนำมาสู่ ให้อาเซียนมีพัฒนาการอย่างรวดเร็วในการเตรียมตัวเข้า
ความมีเสถียรภาพ ความมั่นคงและความร่วมมือ สู่รูปแบบของประชาคมที่มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน
อย่างใกล้ชิดกันมากขึ้นมาโดยลำดับ หลังสงครามเย็น มีสันติสุขและเอื้ออาทรกัน ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๔๙
ยุติลง สภาพแวดล้อมทางความมั่นคงและการเมือง อาเซียนได้ประกาศร่างพิมพ์เขียวกฎบัตรอาเซียน

ระหว่างประเทศพัฒนาดีขึ้นมาก ทำให้สมาชิกอาเซียน (ASEAN Charter) และเร่งให้เกิดประชาคมอาเซียน
ได้คลายกังวลจากการเผชิญหน้ากันเองลงได้ ประเทศ (ASEAN Community) ใน พ.ศ.๒๕๕๘ หรือ ค.ศ.

ต่าง ๆ จึงสามารถทุ่มเทในการพัฒนาเศรษฐกิจจน ๒๐๑๕ (วันที่ ๓๑ ธันวาคม) โดยประชาคมจะ
นับได้ว่าเป็นภูมิภาคที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วยสามประชาคมเสาหลักในการขับเคลื่อน
อย่างรวดเร็ว แต่ปัจจัยที่ภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกต่าง ๓ เสาหลักได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
ตระหนักถึงความจำเป็นในการรวมตัวกันให้เข้มแข็ง อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคม
มากขึ้นเพื่อที่จะรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบต่าง ๆ สังคมและวัฒนธรรมอาเซียนที่มีเป้าหมายดังนี้
ที่เกิดขึ้นมีลักษณะเป็นปัญหาระดับภูมิภาคมากขึ้นทุกที
เช่นภัยก่อการร้าย ภัยธรรมชาติ

และอาชญากรรมข้ามชาติ รวมทั้ง
การแข่งขันทางเศรษฐกิจ การเงิน
ระหว่างภูมิภาคนั้นผลักดันให้
แต่ละภูมิภาคมีการรวมตัวกันมากขึ้น
เพราะการอยู่ตามลำพังประเทศ
เดียวย่อมเสียเปรียบกว่าภูมิภาค
ที่รวมตัวกันได้ ด้วยเหตุนี้การรวม

ตัวกันอย่างหลวม ๆ หรือเป็น
อย่างเช่นที่ผ่านมาของอาเซียนจึงไม่เพียงพออีกต่อไป ๑. แผนการตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคง
ดังนั้นจึงไม่เป็นที่น่าแปลกใจที่สมาชิกอาเซียนทั้งปวงได้ อาเซียน (ASEAN Political-Security Community:APSC)
เล็งเห็นประโยชน์จากการร่วมกันดังกล่าว และหาก มีเป้าหมายเสริมสร้างอาเซียนให้เป็นประชาคมที่มี
อาเซียนแยกกันก็จะต้องเผชิญกับความยากลำบากใน กฎเกณฑ์ ค่านิยมและบรรทัดฐานร่วมกัน มีความเป็น
การรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ปึกแผ่น ความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการ
และการเมืองของโลกมีผลกระทบต่อภูมิภาคอาเซียน รักษาความมั่นคงรอบด้าน มีพลวัตและปฏิสัมพันธ์กับ
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โลกภายนอก มีการพึ่งพาและมีบูรณาการร่วมกัน
ผลจากแรงบีบบังคับเหล่านี้ ทำให้ในปี พ.ศ.๒๕๔๐ ๒. ในส่วนของประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN

ผู้นำอาเซียนได้ร่วมกันประกาศวิสัยทัศน์อาเซียน Economic Community : AEC) มุ่งเน้นการเป็น

การประชุมผู้นำอาเซียนครั้งที่ ๒๑ กรุงพนมเปญ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ มีมติให้เลื่อนการเปิดประชาคมจาก ๑ มกราคมเป็น ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘.

นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 51

ตลาดและฐานการผลิตร่วม ( SINGLE MARKET AND ภาพอนาคตของประชาคมอาเซียนจากแรงขับเชิงบวก

PRODUCTION BASE) ที่มีการเคลื่อนย้ายสินค้า การรวมตัวกันของอาเซียนด้วยมุ่งหวังว่าประชาคม
บริการ การลงทุน เงินทุนและแรงงานฝีมืออย่างเสรี จะนำประโยชน์กลับมาสู่ประเทศสมาชิกทั้งในมิติด้าน
ด้วยการกำหนดเวลาที่ชัดเจนในการยกเลิกอุปสรรค เศรษฐกิจที่จะทำให้ประชากรของแต่ละประเทศอยู่ดีกินดี
ระหว่างกัน สร้างความเข้มแข็งต่อขีดความสามารถ จากการรวมตัวกันจะเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้ภาค
ของอาเซียนในด้านการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ให้มีการ การผลิตที่จะสามารถสร้างอำนาจต่อรองได้มากขึ้นใน
พัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ลดช่องว่างทาง ระดับโลก และยังเป็นการสร้างตลาดที่ใหญ่ขึ้นจาก
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ และให้มีการบูรณาการ จำนวนประชากรอาเซียนที่มีมากกว่า ๕๙๐ ล้านคน

เศรษฐกิจอาเซียนเข้ากับเศรษฐกิจโลกเพื่อความ กลุ่มสินค้าและบริการนำร่องที่สำคัญที่จะเกิดการรวม
สามารถในการแข่งขันกับภูมิภาคอื่น ๆ กลุ่มกัน คือ สินค้าเกษตร สินค้าประมง ผลิตภัณฑ์ไม้
๓. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ผลิตภัณฑ์ยาง สิ่งทอ ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี
(ASEAN Socio - Cultural Community: ASCC) สารสนเทศ การบริการด้านสุขภาพ ท่องเที่ยว และการขนส่ง
มีแผนให้อาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิต ทางอากาศ (การบิน) โดยกำหนดให้ปี พ.ศ.๒๕๕๘ เป็น
ที่ดี ได้รับโอกาสการเข้าถึงการพัฒนาในทุก ๆ ด้าน เน้นการ ปีที่เริ่มรวมตัวกันอย่างเป็นทางการ แต่ก็จะผ่อนปรนให้
มีความมั่นคงทางสังคม ทั้งนี้อาเซียนคำนึงถึงการที่ กับประเทศลาว กัมพูชา พม่า และเวียตนาม ส่วน
เข้าสู่การเป็นประชาคมได้นั้นต้องมีการปรับลดความ ประเทศไทยได้รับมอบหมายให้ทำ Roadmap ทาง
เหลื่อมล้ำโดยการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนา ด้านท่องเที่ยวและการขนส่งทางอากาศ (การบิน)

กลุ่มประเทศที่ล้าหลังได้แก่ กัมพูชา ลาว เมียนม่าร์ ผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ ๙ เมื่อ
และเวียดนาม (หรือเรียกว่ากลุ่ม CLMV) ไว้เช่นกัน ๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๖ ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ได้จัด
ทำข้อตกลงร่วมกัน (Mutual Recognition
Arrangements : MRAs) เกี่ยวกับ
คุณสมบัติของวิชาชีพหลักแรงงาน
เชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษ
เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย

ได้อย่างเสรีที่จะเริ่มต้นในปี พ.ศ.๒๕๕๘
ทั้งนี้ในเบื้องต้นประเทศสมาชิกตกลง
ร่วมกันแล้วว่าแรงงาน ๗ สาขาที่เปิดเสรี
ก่อนคือ วิศวกร (Engineering Services)
พยาบาล (Nursing Services) สถาปัตนิก
(Architectural Services) นักสำรวจ
(Surveying Qualifications) แพทย์
(Medical Practitioners) ทันตแพทย์
(Dental Practitioners) นักบัญชี

(Accountancy Services)



52 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ที่มาภาพ http://www.knightfrank.co.th
จากผลการวิจัยของ Osaka School of International ยังชี้ว่าประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่นอกอาเซียนจะ

Public Policy ร่วมกับ OECD และ Johns Hopkins ได้รับผลกระทบเชิงลบได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน
University เพื่อศึกษาวัดผลกระทบจากการรวมตัวเป็น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ กลุ่มประเทศอเมริกาเหนือและ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยใช้โมเดล Dynamic สหภาพยุโรป
computable general equilibrium Model (CGE) นอกจากประโยชน์ด้านเศรษฐกิจแล้วสิ่งที่จะเป็น
ซึ่งเป็นการวิเคราะห์เชิงปริมาณต่อผลกระทบต่อ ประโยชน์คือการเสริมสร้างความมั่นคงให้แก่ภูมิภาค
ความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ (Economic welfare) ประชาคมจะร่วมกันสร้างเครื่องมือต่าง ๆ ในการ
การเคลื่อนย้ายของสินค้า (Trade flows) และผลลัพธ์ ปกป้องการถูกคุกคามจากภัยรูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นภัย

ตามภาคส่วน (Sectoral output) พบว่า เมื่อมีการลด คุกคามร่วม (ASEAN Common Threats) ได้แก่
กำแพงอุปสรรคทางการค้าต่าง ๆ ลงของประชาคม ภัยจากโรคติดต่อ (Health threats and infectious
ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ แล้ว ประเทศต่าง ๆ ในอาเซียนจะได้รับ diseases) ภัยจากธรรมชาติและการทำลายสิ่งแวดล้อม
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจทุกประเทศ โดยแต่ละประเทศ และภัยจากอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
จะได้รับประโยชน์แตกต่างกันไปได้แก่ อินโดนีเซียได้รับ การก่อการร้าย โจรสลัด การค้ายาเสพติด การค้าอาวุธ
๑.๑๓ เปอร์เซ็นต์ ฟิลิปปินส์ ๒.๓๕ เปอร์เซ็นต์ การฟอกเงิน และอาญชากรรมทางระบบไซเบอร์
มาเลเซีย ๕.๖๖ เปอร์เซ็นต์ สิงคโปร์ ๘.๑๔ เปอร์เซ็นต์ การรวมตัวกันของอาเซียนจะช่วยแก้ไขปัญหาความ
และประเทศอื่น ๆ ในอาเซียนจะได้รับประโยชน์ ขัดแย้งภายในด้วยการสร้างความไว้ใจ ลดความหวาด
ทางเศรษฐกิจเฉลี่ย ๒.๓๓ เปอร์เซ็นต์ ในส่วนของ ระแวงซึ่งกันและกันให้มากขึ้น การรวมตัวกันจะทำให้

ประเทศไทย จะเป็นประเทศที่ได้รับผลประโยชน์สูง เกิดเป็นกำลังอำนาจสำหรับช่วยประเทศสมาชิกต่อต้าน

ที่สุดถึง ๙.๓๘ เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ผลการศึกษา หรือยับยั้งการถูกคุกคามจากมหาอำนาจภายนอก

Hiro Lee , Michael G. Plummer, Assessing the Impact of the ASEAN Economic Community, OSIPP Discussion Paper, 23 March 2011.

นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 53

อาเซียน เช่นปัญหาจากจีนที่คุกคามประเทศต่าง ๆ ประชาคมจะทำให้การเข้ามาของมหาอำนาจต้องผ่าน
ในกรณีของข้อพิพาทเขตแดนทางทะเลในทะเลจีนใต้ ประชาคมอาเซียนมากขึ้น การมีความสัมพันธ์แบบ
หรือการขัดกันของมหาอำนาจที่เข้ามามีอิทธิพล ทวิภาคีของสมาชิกกับประเทศมหาอำนาจจะถูกจับจ้อง
ในภูมิภาค ซึ่งหากอาเซียนสามารถประสานความร่วม จากประชาคม โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาจากนโยบาย
มือกันเป็นนโยบายต่างประเทศของภูมิภาคย่อมเกิดเป็น ต่างประเทศของประชาคมคาดว่าน่าจะเป็นนโยบาย
อำนาจต่อรองหรือสร้างความยำเกรงแก่ประเทศเหล่านี้ได้ ที่กลางกับทุกมหาอำนาจ และไม่สามารถอ้างเหตุผล
นอกจากนี้ความมั่นคงที่เกิดขึ้นจากการสร้างและพัฒนา เดิมของประเทศต่าง ๆ ว่าตนมีกองทัพที่มีความอ่อนแอ

เศรษฐกิจของสมาชิกให้มีขนาดใหญ่และเข้มแข็งมากขึ้น ทำให้จำเป็นต้องอาศัยประเทศมหาอำนาจหนุนหลังอยู่
รวมทั้งการเกื้อกูลให้ทุกประเทศสมาชิกมีระดับ เพื่อสร้างอำนาจให้แก่ประเทศของตนไปคานอำนาจกับ
เศรษฐกิจใกล้เคียงกันจะทำให้ประชาชนของประเทศ ประเทศมหาอำนาจอื่น ดังนั้นเพื่อไม่ให้เวทีประชาคม
ต่าง ๆ อยู่ดีกินดีขึ้น ประเทศที่มีเศรษฐกิจดีอยู่แล้วก็จะ อาเซียนเป็นเวทีตัวแทนของมหาอำนาจ การกำหนด
มีความมั่นคงมากขึ้นเพราะจะไม่ต้องเผชิญกับการ นโยบายต่างประเทศของประชาคมก็จะไม่เลือกเข้ากับ
เคลื่อนย้ายแรงงานผิดกฏหมาย ที่จะนำมาซึ่งความไม่ ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด
มั่นคงทางด้านสาธารณะสุขเช่นโรคติดต่อ หรือการค้า
ยาเสพติด อาวุธสงคราม และการปล้นสะดมหรือแม้แต่ ภาพอนาคตประชาคมอาเซียนจากแรงขับเชิงลบ
โจรสลัดดังที่เกิดขึ้นในช่องมะละกาเพราะความยากจน ตามหลักการจัดตั้งกลุ่มองค์กรระหว่างประเทศให้

ของชาวอินโดนีเซียในพื้นที่นั้น เกิดการรวมตัวที่เข้มแข็งได้จะต้องมีมาตรฐานและ
สภาพแวดล้อมความมั่นคงระหว่างประเทศของ หลักการร่วมกัน (Common standards of conduct
ประเทศสมาชิกอาเซียนภายหลังการรวมตัวเป็น and basic principles) อย่างเช่นประเทศสมาชิก
ประชาคมอาเซียนจะมีโอกาสที่จะมีความมั่นคงมากขึ้น สหภาพยุโรป มีค่านิยมและมาตรฐานของสังคมที่
หากอาเซียนจัดตั้งเป็นประชาคมความมั่นคงได้สำเร็จจะ เหมือนหรือใกล้เคียงกันทั้งในเรื่องสิทธิมนุษยชน
ทำให้มีการสื่อสารแบบพหุภาคีเพื่อแก้ปัญหาของคู่ เสรีภาพ และความเท่าเทียมของมนุษย์จึงสามารถรวม
ขัดแย้ง โดยจะมีอำนาจต่อรองและมีเวทีให้เกิดการ กันเป็นสหภาพยุโรปได้ง่ายแต่เนื่องจากภูมิภาคอาเซียน

เจรจามากกว่าการใช้กำลังทหาร อีกทั้งการที่ประเทศ ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างด้าน
สมาชิกมีการเชื่อมโยงทางด้านสังคมและเศรษฐกิจซึ่ง การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและศาสนาที่ฝังรากลึกมา
กันและกันมากขึ้นย่อมทำให้คู่ขัดแย้งแต่ละฝ่ายต่างต้อง เป็นเวลาช้านานจนบางครั้งได้ก่อให้เกิดเป็นปัญหา
คิดให้มากในการใช้วิธีที่รุนแรงเข้าแก้ปัญหา ซึ่งจะมีผล ความขัดแย้งระหว่างกันอยู่เนือง ๆ เช่น พม่า ลาว
กระทบต่อเศรษฐกิจและประชาชนของตนที่ทำงานใน กัมพูชาและเวียดนามยังคงมีการปกครองที่มีความเป็น
ประเทศคู่ขัดแย้ง นอกจากนี้สภาพแวดล้อมแบบเดิมที่ ประชาธิปไตยและเศรษฐกิจน้อยกว่าประเทศอื่น ๆ มาก
ประเทศสมาชิกชักนำมหาอำนาจเข้ามาสนับสนุน ดังนั้นการเป็นอาเซียนถูกมองว่าเป็นประชาคม
ประเทศตนอย่างชัดเจนเพื่อคานอำนาจกับประเทศ ตามสภาพทางภูมิภาค (Community of region)
สมาชิกอื่น หรือเลือกมหาอำนาจหนึ่งมาคานอำนาจกับ เพราะยึดจากสภาพทางภูมิศาสตร์ที่อยู่ในภูมิภาค





อีกมหาอำนาจเช่นเวียดนามใช้รัสเซียและสหรัฐฯ เดยวกนมากกวาเกิดจากการร่วมกนด้วยมิติทางการเมือง

มาคานอำนาจกับจีนที่คุกคามตนเองจากกรณีการอ้าง เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรม ส่งผลให้สมาชิกของ
สิทธิอธิปไตยเหนือทะเลจีนใต้ หลังการรวมตัวเป็น อาเซียนไม่สามารถสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน
54 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ได้อย่างสนิทใจและขาดความรู้สึกในความเป็น กระทบในเชิงลบ เช่นผลจากการไหลเข้าของแรงงาน

ประชาคม (A sense of community) หากมองโลก และสินค้าราคาถูกไปยังประเทศที่มีเศรษฐกิจดีกว่า
ในแง่ร้ายมาก ๆ ก็คาดได้ว่าจะเป็นการยากของอาเซียน ทำให้แรงงานและสินค้าของประเทศเหล่านี้ตกงานหรือ
ในการสร้างกฏบัตร หลักนิยม หรือค่านิยมที่เป็นที่ สินค้าขายไม่ได้
ยอมรับอย่างแท้จริงได้ โดยเฉพาะค่านิยมและหลักการ อุปสรรคจากการขาดศูนย์กลางและผู้นำก็เป็น
พื้นฐานที่ประกาศในกฎบัตรอาเซียนซึ่งมีการลงนามไป อีกปัจจัยที่จะทำให้การเกิดประชาคมอาเซียนสำเร็จได้ยาก
แล้วเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๐ ว่าจะสร้างเป้าหมายและ ในช่วงต้น ๆ ของการก่อตั้งอาเซียนขึ้นนั้นมีประเทศที่
อัตลักษณ์ของอาเซียนนั้นอาจจะเป็นเพียงตัวอักษรเท่านั้น เป็นแกนกลางหลักของอาเซียนหรือ “strategic

นอกจากนี้จากหลักการพื้นฐานที่สมาชิกอาเซียน centrality” ได้แก่อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย
ยึดถืออย่างเหนียวแน่นมาตั้งแต่ก่อตั้งอาเซียนในปี แต่ในระยะต่อมาทั้งสามประเทศเผชิญปัญหาภายในทั้ง
พ.ศ.๒๕๑๐ นั้นได้แก่การไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการ ปัญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจจนไม่มีศักยภาพเป็น
ภายในของแต่ละประเทศ และการเคารพในอำนาจ ผู้นำที่เข้มแข็งได้ ทำให้อาเซียนตกอยู่ในสภาพที่ไร้แกนนำ
อธิปไตยที่จะละเมิดมิได้โดยประเทศอื่น ๆ จะเป็น ในการขับเคลื่อนประชาคมในด้านต่าง ๆ ให้เป็นรูปธรรม
อุปสรรคสำคัญในการที่จะสร้างกฎหรือหลักการ และคาดว่าสภาพหลังจาก พ.ศ.๒๕๕๘ ก็คงจะไม่มี
ในลักษณะที่จะต้องเข้าไปเป็นกรอบให้สมาชิกต้องยึด ประเทศแกนนำที่มีความพร้อมเป็นผู้นำให้แก่อาเซียนได้
และยอมดำเนินการตามด้วยการทิ้งค่านิยมเดิมเกี่ยวกับ ซึ่งการขับเคลื่อนอาเซียนให้เป็นประชาคมที่สมบูรณ์ได้
การไม่แทรกแซงกิจการภายในและการยึดหลักอำนาจ นั้นนอกจากจะต้องการความร่วมมืออย่างมากจาก

อธิปไตย ซึ่งสุดท้ายแล้วประชาคมอาเซียนก็เป็นเพียง สมาชิกแล้ว การมีประเทศแกนนำในการชักพาประเทศ
การบูรณาการแบบนามธรรมทั้งชื่อและรูปแบบอย่างลึก อื่น ๆ เข้ามาร่วมมือกันก็เป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จที่
ซึ้งเท่านั้น จึงไม่แปลกที่ผลสำรวจประชาชนทั่วไป สำคัญ
ส่วนใหญ่ของแต่ละประเทศไม่ทราบหรือรู้จักประชาคม ภาพอนาคตของอาเซียนในการเป็นประชาคม

อาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทย ดังนั้นการลงนามใน เราสามารถนำภาพอนาคตของประชาคมอาเซียน
กฏบัตรที่ร่างโดยคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๐ ท่าน จึงเกิดขึ้น ทั้งสองภาพมาวิเคราะห์ผ่านกระบวนการการเกิด
ได้โดยง่ายไม่มีเสียงท้วงติงหรือต่อต้านแต่อย่างใด ทั้ง ๆ ประชาคมได้คือ การเกิดประชาคมความมั่นคงนั้นมักจะ

ที่กฎบัตรนี้จะเป็นกฏหมายทีมีผลกระทบต่อประชากร เริ่มมาจากการที่กลุ่มของรัฐต่าง ๆ พึ่งพาทางการเมือง
กว่า ๕๙๐ ล้านคน นอกจากนี้ยังเป็นไปได้ว่าใน และเศรษฐกิจในระดับสูงจนก่อเกิดเป็นนิสัยแห่งความ
ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ที่กฏบัตรมีผลใช้บังคับจะมีการต่อต้าน ไว้เนื้อเชื่อใจ (Habit of trust) จากการเปรียบเทียบ
ขึ้นอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะกับประเทศที่ได้รับผล ภาพของประชาคมอาเซียนจากแรงขับเชิงบวกและ


Cosma Milton Obote Ochieng, The EU-ACP Economic Partnership Agreements and the Development Question: Constraints and Opportu-
nitiesPosed by Article XXIV and Special and Differential Treatment Provisions of the WTO, 10 JIEL(2007) อ้างใน Chun Hung Lin , EU-Style
Integration? Future of Southeast Asian Countries After ASEAN Charter.
๖ Adler,Emanuel,Barnett,Security Communities , Cambridge University Press , (Cambridge:998).
๗ ดร.นพดล กรรณิกา ศูนย์วิจัยเอแบคนวัตกรรมสังคม การจัดการและธุรกิจ (Social Innovation Management and Business Analysis, ABAC-SIMBA)
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อ้างใน มติชน ๒๕ มี.ค.๕๕ http:matichon.co.th

Rizal SUKMA, Jakarta Paper presented at A Seminar on “ ASEAN Cooperation: Challenges and Prospects in the Current International Situ-
ation” New York, 3 June 2003.



นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 55

เชิงลบแล้ว จะเห็นได้ว่าการเกิดประชาคมที่แท้จริงนั้น เทียบกับการรวมตัวของอาเซียนโดย คารล์ ดัทช

เป็นไปได้น้อยมาก หากจะเป็นได้ก็เพียงการเป็น (Karl Deutsch) ให้คำจำกัดความประชาคมความ
๑. ประชาคมสมประโยชน์ร่วม (common มั่นคงว่า “กลุ่มประเทศที่มีการเชื่อมรวมตัวกันด้วย
interests community) ด้วยความแตกต่างที่กล่าวแล้ว ความรู้สึกของความเป็นประชาคม (Sense of
ในเบื้องต้น ทำให้ผลประโยชน์ร่วมกันได้กับสมาชิก community) ด้วยการจัดตั้งเป็นสถาบันทั้งที่เป็น
ทั้งหมด ๑๐ ประเทศนั้นหาได้ยากมาก ส่วนใหญ่จะเป็น ทางการและไม่เป็นทางการ มีการผลักดันให้เกิดขึ้น
ผลประโยชน์ของบางประเทศ เช่นประเทศไทยจะได้ ในทางปฏิบัติ มีความเข้มแข็งและครอบคลุมกว้างขวาง
ประโยชน์ร่วมกับการเชื่อมโยงคมนาคมทางบกกับ ที่เพียงพอจะประกันการเกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ

ประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ พม่า ลาวกัมพูชา และ อย่างสันติ และสมเหตุสมผล ระหว่างสมาชิกของ
เวียดนาม แต่ประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน ประชาคมที่มีระยะเวลาอันยาวนาน” ทั้งนี้ในการเป็น
จะไม่ได้ประโยชน์ หรือแม้แต่การเปิดเสรีทางการค้า ประชาคมความมั่นคงได้จะต้องประกอบด้วยลักษณะ
ประเทศที่มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจจะหาประโยชน์ ต่าง ๆ ดังนี้ ๙
ได้มากกว่าประเทศที่ล้าหลัง ดังนั้นประชาคมที่เกิดขึ้น ๑. สมาชิกไม่มีการแข่งขันกันสร้างกำลังทางทหาร
จะเป็นประชาคมสมประโยชน์ของบางประเทศเท่านั้น ๒. ไม่มีการขัดแย้งที่ต้องใช้กำลังทหารระหว่างรัฐ
๒. อาเซียนใหม่จะเป็นประชาคมแห่งการแสดง โดยเด็ดขาด
ที่ประชาคมสามารถออกกฏระเบียบและแนวทาง ๓. มีองค์กรหรือสถาบันที่เป็นทางการและไม่เป็น
มากมาย แต่จะไม่มีสมาชิกใดปฏิบัติตาม และมีตัวแสดง ทางการในการจัดการเพื่อป้องกัน ลด จัดการและแก้

จากประเทศนอกอาเซียนเข้ามาแสดงบทบาทในเวทีนี้ ปัญหาความขัดแย้งและภาวะไร้ระเบียบระหว่างสมาชิก
อย่างสนุกสนาน โดยเฉพาะจีน และสหรัฐฯ ดังนั้นภาพ ๔. มีการเชื่อมรวมทางด้านเศรษฐกิจในระดับสูง
หลังปี พ.ศ.๒๕๕๘ เราจะได้เห็นสัญญาลักษณ์และ ๕. ไม่มีปัญหาขัดแย้งด้านการแบ่งเขตแดนระหว่าง
คำสวย ๆ ว่าประชาคมอาเซียนถูกนำไปใช้ในการสร้าง รัฐสมาชิก
ภาพลักษณ์และใช้เป็นข้ออ้างที่แต่ละประเทศจะเลือก จะเห็นได้ว่าการเกิดประชาคมความมั่นคงจะต้องมี
มาสนับสนุนผลประโยชน์เชิงบวกที่ประเทศตนเองจะได้ รากฐานจากผลประโยชน์พื้นฐานที่ชัดเจนของสมาชิก
รับเท่านั้น และมีระยะเวลานานในการรวมกลุ่มกันเพื่อที่จะหลีก

สรุปภาพอนาคตของประชาคมอาเซียนจะเป็นเพียง เลี่ยงการเกิดสงครามความขัดแย้งต่าง ๆ ซึ่งจะแตกต่าง
ประชาคมแห่งการสมประโยชน์ร่วม ส่วนที่ไม่มี จากการรวมกลุ่มของรัฐต่างๆ เพื่อสร้างอำนาจ หรือ
ประโยชน์แก่ประเทศตนก็จะไม่ปฏิบัติตามโดยประเทศ คานอำนาจหรือเพื่อสร้างสถานการณ์เชิงข่มขู่ต่อภัย
นั้น ๆ ก็จะมีการออกข้อยกเว้น ข้อห้ามของประเทศตน คุกคามและการโจมตีจากภายนอก ซึ่งจะเรียกการรวม
รวมไปถึงการเพิกเฉยต่อข้อตกลงต่าง ๆ ตัวแบบนี้ว่าระบอบความมั่นคง (Security Regime)
หากพิจารณาการรวมตัวกันของอาเซียนในด้าน
วิเคราะห์ประชาคมอาเซียนด้านความมั่นคง ความมั่นคงแล้ว อาเซียนยังขาดปัจจัยการเป็น
การพิจารณาว่าประชาคมความมั่นคงของอาเซียน ประชาคมในหลายองค์ประกอบเช่นอาเซียนคงมีการ
จะเกิดขึ้นจริงหรือไม่นั้นจะต้องศึกษาหลักการของ เสริมสร้างกองทัพด้วยการจัดหายุทโธปกรณ์เชิงแข่งขัน

ประชาคมความมั่นคงว่ามีลักษณะอย่างไร แล้วเปรียบ กันที่ค่อนข้างสูง ถึงแม้จะมีการปฏิเสธว่าการจัดหา

Rizal ,Opcit.


56 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

๑๐
ภาพ เรือดำน้ำ KD ‘Tun Razak’ หลังจากการปล่อยลงน้ำที่อู่ Navantia สเปน และภาพเรือดำน้ำลำแรกชั้น ๖๓๖ ระวางขับน้ำ ๓,๑๐๐ ตัน
ที่เป็น ๑ ใน ๖ ลำ ที่เวียดนามซื้อจากรัสเซียคาดว่าจะเดินทางมายังเวียดนามใน ม.ค.๒๕๕๗
อาวุธเพื่อการรองรับภัยคุกคามรูปแบใหม่หรือเพื่อ
ชดเชยกับการขาดการพัฒนากองทัพในช่วงที่ประเทศ
ต่าง ๆ เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ ดังนั้นเมื่อช่วงหลายปีที่

ผ่านมาประเทศต่าง ๆ มีการจัดหาทั้งเรือรบ เรือดำน้ำ
และเครื่องบินรบสมรรถนะและราคาสูงจำนวนมาก
มาเลเซียจัดหาเรือดำน้ำดีเซลชั้น SCORPENE สองลำ
และเรือดำน้ำใช้แล้ว AGOSTA 70 B อีกหนึ่งลำเป็นเงิน
ไม่ต่ำกว่า ๙๙๐ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในขณะที่
สิงคโปร์มีการจัดหาเรือดำน้ำชั้น Västergötland-
class (A 17) จำนวนสองลำ และเรือดำน้ำมือสองอีกสี่ การทดสอบยิงจรวดนำวิถีระยะไกล Yakhont ระยะ ๓๐๐ กม.
๑๑
ลำมาก่อนหน้านี้แล้ว ส่วนเวียดนาม อินโดนีเซียและ ของกองทัพเรือ อินโดนีเซียในมหาสมุทรอินเดีย
ไทยต่างก็มีแผนที่จัดหาเรือดำน้ำเช่นกัน พม่ากำลังซื้อ ประเทศ ๒๐๐๐ ๒๐๐๙ เพิ่มขึ้น (%)

เครื่องขับไล่ ไอพ่น MiG - 29 20 ลำจากรัสเซียเป็นเงิน
๖๐๐ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพราะประเทศไทยมีการ อินโดนีเซีย ๒.๐ ๔.๗ ๑๓๕
จัดหาฝูงบินขับไล่เข้าประจำการจากสวีเดน เวียดนาม ๑.๒ ๒.๔ ๑๐๐
สถานการณ์การเสริมสร้างกองทัพของประเทศใน มาเลเซีย ๒.๐ ๓.๙ ๙๕
อาเซียนย่อมหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่าประเทศเหล่านี้มีนัยยะ ไทย ๒.๖ ๔.๙ ๘๘
แห่งการถ่วงดุลระหว่างกันด้วย นอกจากนี้ประเทศใน
อาเซียนยังจะมีการใช้กำลังรบเข้าแก้ปัญหาทั้งไทยกับ สิงคโปร์ ๕.๙ ๗.๗ ๓๑

กัมพูชา ไทยกับพม่า มาเลเซียกับอินโดนีเซียโดยปัญหา ตารางค่าใช้จ่ายด้านการป้องกันประเทศในภูมิภาค
หลักคือขัดแย้งทางเขตแดน การรวมตัวกันจึงจะเป็น เอเชียน ค.ศ.๒๐๐๐ - ๒๐๐๙
เพียงระบอบความมั่นคงของอาเซียนเท่านั้น (หน่วยเป็นดอลลาร์สหรัฐฯ) ๑๒
๑๐ New Straits Times, 9 October 2008. และ http://www.vietnambreakingnews.com/2013/11/russia-hands-over-first-submarine-to-vn/
๑๑ Viva News ( http://defense-studies.blogspot.com/2011/05/how-asean-can-avoid-arms-race.html)
๑๒
Stockholm International Peace Research Institute (SIPRI), SIPRI Military Expenditure Database (http://milexdata.sipri.org)
นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 57

นอกจากสิ่งยืนยันว่าการเกิดประชาคมความมั่นคง การบรรเทาภัยพิบัติ (The Use of ASEAN Military
ของอาเซียนที่แท้จริงนั้นค่อนข้างยากตามเหตุผลที่ Assets and Capacities in Humanitarian
กล่าวแล้วนั้น อาเซียนก็ยังมีความหวังในเชิงบวกอยู่บ้าง Assistance and Disaster Relief)
จากการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ๓. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ

อาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ของอาเซียน (ASEAN Defence Industry
ADMM) ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญตามวิสัยทัศน์ของ Cooperation)
เสาประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และ เช่นเดียวกันกับการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม
การประชุม ASEAN Concord II (Bali Concord II) อาเซียนและประเทศคู่เจรจา (ADMM-Plus) อีก ๘
ในปี ค.ศ.๒๐๐๓ ที่ได้ผลักดันให้เกิดการประชุมนี้ขึ้นจริง ประเทศ ได้แก่ เครือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐ
ผลจากการที่ รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนมาพบกัน ประชาชนจีน สาธารณรัฐอินเดีย ประเทศญี่ปุ่น
ครั้งแรกใน เดือนพฤษภาคม ค.ศ.๒๐๐๖ และจากผลของ ประเทศนิวซีแลนด์ สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)

การประชุม ADMM ที่ผ่านมา มีการสร้างความเป็น สหพันธรัฐรัสเซีย และสหรัฐฯ โดยเมื่อ ๑๒ ตุลาคม
รูปธรรมในการเป็นประชาคมด้านความมั่นคงมากขึ้น พ.ศ.๒๕๕๓ รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและประเทศ
ด้วยการยินยอมที่จะรวมตัวกันในด้านการปฏิบัติการ คู่เจรจาได้เห็นชอบในการดำเนินการด้านความร่วมมือ
ที่ไม่ใช่การปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสงครามคือ เพื่อความมั่นคง ๕ ด้าน คือ
๑. ความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียนกับ ๑. การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและ
องค์กรภาคประชาสังคม ในด้านความมั่นคงรูปแบบ บรรเทาสาธารณภัย (Humanitarian Assistance and
ใหม่ (ASEAN Defence Establishments and Civil Disaster Relief: HA/DR)
Society Organizations Cooperation on Non- ๒. ความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security
Traditional Security) ๓. การแพทย์ทหาร (Military Medicine)

๒. การใช้ทรัพยากรและศักยภาพทางทหาร ๔. การต่อต้านการก่อการร้าย (Counter
อาเซียนในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และ Terrorism)


58 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

๕. การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace สินค้าอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นไปตามงานวิจัยที่กล่าวไว้

Keeping Operations) แล้วข้างต้นว่าประทศไทยจะได้รับประโยชน์ทาง
โอกาสและสิ่งท้าทายทางเศรษฐกิจต่อประเทศไทย เศรษฐกิจสูงที่สุด
จากการเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน พิจารณาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่จะมีการ
การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือที่เรียกกัน เปิดเสรีภาคบริการ ซึ่งในเบื้องต้นจะต้องลดหรือยกเลิก
ติดปากว่า AEC ซึ่งเป็นเสาหลักหนึ่งที่มีอิทธิพลและ ข้อจำกัดในภาคบริการใน ๔ สาขาเร่งรัดได้แก่
มีผู้คนรู้จักมากที่สุดจนเป็นที่สับสนและเข้าใจกันผิด ๆ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม สุขภาพ ท่องเที่ยว และการ
ว่าประชาคมอาเซียนคือ AEC นั้น จะส่งผลกระทบ ขนส่งทางอากาศ นอกจากนี้ยังมีการผ่อนปรนการถือ

อย่างไรต่อประเทศไทย โดยให้เริ่มพิจารณาจากเป้าหมาย หุ้นของนักลงทุนอาเซียน ให้ได้สูงถึง ๗๐ เปอร์เซ็นต์ใน
หลักของการเป็นประชาคมอาเซียน ที่จะให้เกิดการ ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ส่วนในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ในด้านโลจิสติกส์
สร้างเป็นตลาดและเป็นฐานการผลิตเดียว การร่วมกันที่ จะเปิดให้นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นได้ถึง ๗๐ เปอร์เซ็นต์
จะทำให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าบริการ การลงทุน เงินทุน ส่วนสาขาอื่น ๆ จะต้องดำเนินการในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ซึ่ง
และแรงงานระหว่างประเทศในอาเซียนอย่างเสรี เป็นปีเป้าหมายที่จะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ซึ่งหมายความว่า อาเซียน ๑๐ ประเทศจะรวมกันเป็น พิจารณาศักยภาพของประเทศไทยในภาคบริการและ
หนึ่งเดียว ฉะนั้นการค้าขายสินค้าและบริการแต่ละ การท่องเที่ยว และการบริการด้านสุขภาพจะได้เปรียบ
ประเทศสมาชิกจะขยายกว้างขึ้น ทั้งนี้ปี พ.ศ.๒๕๕๒ ประเทศอื่น ๆ จึงเป็นส่วนที่จะเป็นโอกาสที่ดีเมื่อมีการ
ข้อมูลการส่งออกจากประเทศไทยไปยังประเทศ เปิดเสรีภาคบริการในอาเซียนภาคนี้ประเทศไทยจะได้

ในอาเซียนมากที่สุดถึง ๒๑.๓ เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าการ รับประโยชน์มาก แต่ในด้านการเปิดเสรีด้านการลงทุน
ส่งออกทั้งหมด และสินค้าส่งไปต่างประเทศรองลงมา นั้นประเทศไทยมีศักยภาพในด้านภาคเกษตร เกษตร
ได้แก่ สหรัฐฯ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น ขณะที่การนำเข้า แปรรูป ประมง รับเหมาก่อสร้าง และเหมืองแร่ ที่
ของไทยจากต่างประเทศในอันดับแรกได้แก่ ญี่ปุ่น ประเทศไทยค่อนข้างจะได้เปรียบประเทศอื่น ๆ จึงเป็น
๑๘.๗ เปอร์เซ็นต์ รองลงมาคือจากอาเซียน ๑๘.๕ โอกาสเช่นกันที่นักลงทุนของไทยจะไปแสวงหาโอกาส
เปอร์เซ็นต์ จากจีน ๑๒.๗ เปอร์เซ็นต์ จากสหภาพยุโรป ในประเทศในอาเซียนอื่น ๆ
๑๓
๘.๘ เปอร์เซ็นต์ ฉะนั้นเมื่ออาเซียนรวมตัวเป็นตลาด ผลกระทบจากการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีนั้น
เดียวในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ก็คาดว่าการค้าของไทยใน ประเทศไทยอาจจะได้รับผลกระทบจากการเข้ามาของ
อาเซียนด้วยกันเองจะมีจำนวนมากขึ้น จึงเป็นความ แรงงานทักษะสูงแต่ราคาถูกในภาคต่าง ๆ มากขึ้น
ท้าทายต่อศักยภาพของประเทศไทยที่จะแข่งขันใน ซึ่งจะทำให้คนไทยหลายอาชีพจะหางานได้ยากหรือมี
ตลาดที่ใหญ่และจะรุนแรงขึ้น อย่างน้อยก็จะต้อง ค่าตอบแทนที่ต่ำลง โดยเฉพาะในเบื้องต้นที่มีการค่อย ๆ
พิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้รักษาตลาดเดิมในอาเซียนที่ ขยายการเคลื่อนย้ายแรงงานโดยเริ่มจากด้านวิศวกรรม
มีคู่แข่งเข้ามามากขึ้น ขณะเดียวกันก็จะเป็นโอกาสใน สถาปนิก พยาบาล และการสำรวจ ก่อนจะขยายกว้าง
การส่งสินค้าเข้าไปในตลาดใหม่ที่เปิดกว้างขึ้น สินค้าไทย ไปถึงแพทย์ ทันตแพทย์ รวมถึงนักบัญชี นักกฎหมาย
ที่ได้เปรียบประเทศอื่น ๆ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ยาง และอื่น ๆ และเมื่อถึงปี พ.ศ.๒๕๕๘ จะมีการเปิดเสรี
เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วนอุปกรณ์และส่วนประกอบ แรงงานเต็มที่ ก็จะมีผลกระทบกว้างขวางต่อแรงงาน

คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ส่วนกลุ่มสินค้าที่ต้องปรับตัวรับ ของไทยค่อนข้างสูง เนื่องจากแรงงานของไทยนั้น ถึงจะ
การแข่งขันทางการค้าที่มีมากขึ้นคือ สินค้าเกษตรและ มีความสามารถในด้านวิชาชีพ แต่คนไทยส่วนมากยังมี
๑๓
กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ , Thailand trading report. .
นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 59

อุปสรรคในด้านการใช้ภาษาสากลที่ไม่เพียงพอที่จะไป ดำรงชีวิต และปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์และกฎหมายเดิม
หาโอกาสในตลาดแรงงานในประเทศอาเซียนอื่น ๆ ของแต่ละประเทศ ที่มีผลกระทบในเชิงบวกและเชิงลบ

นอกจากนี้แรงงานเถื่อนที่อยู่ในไทยจำนวนนับสิบล้าน ต่อแต่ละประเทศในลักษณะต่าง ๆ กันออกไป
ในปัจจุบันที่ทุก ๆ ฝ่ายต่างไม่พยายามเข้าไปแก้ปัญหา ในส่วนของประเทศที่มีศักยภาพเอื้ออำนวยก็จะได้
จะแปรสภาพเป็นแรงงานถูกกฎหมาย และต่อไป เปรียบในการที่จะแสวงหาประโยชน์จากอาเซียนได้มาก
นายจ้างจะไม่สามารถกดขี่ค่าแรงและสวัสดิการได้อีก และหากประเทศที่ไม่มีการเตรียมการที่ดีหรือสภาพ
ต่อไป ถึงเวลานั้นประเทศไทยจะดำเนินการอย่างไร ของประเทศมีความเสียเปรียบประเทศอื่น ๆ อยู่มาก
เพราะต้นทุนของสินค้าจะสูงมากขึ้น ปัญหาอีกประการ ก็จะได้รับผลกระทบในทางลบมากเช่นกัน และเมื่อผล
คือเมื่อมีการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ย่อมมีจำนวนของ กระทบที่จะเกิดจากการเป็นประชาคมอาเซียนไม่เป็น

แรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีเศรษฐกิจต่ำกว่าเข้า ไปในทิศทางที่ดีดังที่รัฐบาลทุกประเทศพยายาม
มาประเทศไทยจำนวนมาก หากประเทศไทยไม่ได้ ประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนของตนในช่วงก่อนปี
เตรียมระบบจัดการและเตรียมเจ้าหน้าที่ไว้เพียงพอแล้ว พ.ศ.๒๕๕๘ แต่กลับเกิดมีผลกระทบเชิงลบต่อประชาชน
ปัญหาแรงงานเถื่อนก็จะมีมาก และอาจจะนำไปสู่ มาก ๆ ก็จะทำให้ประชาชนออกมาต่อต้านการเป็น
ปัญหาด้านความมั่นคงที่ซับซ้อนทั้งในด้านอาชญากรรม ประชาคมอาเซียนมากขึ้น ในส่วนของประเทศไทยนั้น
การแพร่กระจายของโรคติดต่อ และปัญหาทางสังคม ผลการวิจัยชี้ว่าจะเป็นประเทศที่จะได้รับผลประโยชน์
อื่น ๆ อีกมาก ทางเศรษฐกิจสูงที่สุด ดังนั้นเพื่อเตรียมรับมือกับภาพ
ผลกระทบเชิงลบและสร้างสภาพให้เอื้อประโยชน์ตาม
สรุป ผลการวิจัยนั้น รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมี

จะเห็นได้ว่าการจัดตั้งประชาคมอาเซียนนั้นได้ใช้ การดำเนินการในลักษณะเชิงรุก โดยต้องเตรียมทั้งภาค
ต้นแบบจากรูปแบบการรวมตัวของประเทศในภูมิภาค เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมทั้งมิติความเจริญมั่งคั่ง
ยุโรป แต่อนาคตภาพของประชาคมอาเซียนที่เกิดขึ้น และความมั่นคง โดยเฉพาะประเทศไทยต้องสร้าง
จริงในปี พ.ศ.๒๕๕๘ จะไม่เป็นเช่นเดียวกับสหภาพ ภาคเอกชนของคนไทยที่แท้จริงให้เข้มแข็งและต้อง
ยุโรป ถึงแม้แนวคิดการจัดตั้งจะยึดรูปแบบและแรง จับตาการเข้ามาของกลุ่มทุนนอกอาเซียนที่จะเข้ามา
บันดาลใจจากการรวมตัวกันของประเทศในกลุ่มยุโรป แสวงประโยชน์ด้วยการอ้างเป็นบริษัทของประเทศไทย
ด้วยเหตุผลที่ลักษณะของทั้งสองภูมิภาคมีความแตก นอกจากนี้สิ่งสำคัญที่สุดคือการปรับปรุงระบบงานของ

ต่างกันอย่างมาก โดยเฉพาะสมาชิกอาเซียนไม่ได้มีพื้น ภาครัฐหากเป็นเช่นปัจจุบันจะเป็นอุปสรรคมากสุด
ฐานทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจที่ใกล้เคียงกัน โดยภาครัฐต้องปรับเปลี่ยนระบบงานให้มีความโปร่งใส
ทำให้การรวมตัวกันของอาเซียนมีลักษณะเฉพาะที่จะ มีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานสากลพร้อมที่จะขับเคลื่อน
เป็นอุปสรรคในการเป็นประชาคมตามที่วาดภาพไว้ใน ประเทศไปสู่เวทีประชาคมอาเซียนเพื่อประโยชน์ต่อ
กฎบัตร เพราะประเทศต่าง ๆ ยังเข้าใจว่าการเกิด ประเทศไทยและประชาคมอาเซียน ในส่วนของภาค
อาเซียนนั้นนับเป็นโอกาสที่จะแสวงหาเข้าสู่ประเทศ ความมั่นคง กองทัพจะต้องขยายขีดความสามารถให้
ตนเองได้มากขึ้น รวมทั้งประเทศไทยก็คาดหวังเช่นนี้ สามารถปฏิบัติการระหว่างประเทศได้ โดยเฉพาะการ
ซึ่งจะไม่เป็นผลดีต่อการร่วมมือกันเพราะการรวมตัว ปฏิบัติการด้านที่ไม่ใช่สงครามและการปฏิบัติการในการ
เป็นประชาคมอาเซียนจำเป็นต้องมีการสร้างกรอบหรือ รักษาความมั่นคงทางทะเล ซึ่งก็คือกองทัพเรือจะมี

กฏระเบียบต่าง ๆ ที่จะเข้ามาปรับเปลี่ยนทั้งวิถีการ ภารกิจที่เพิ่มมากขึ้นจากการเกิดประชาคมอาเซียน


60 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

กองบรรณาธิการฯ





































วันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๒ ทหารนาวิกโยธินฝึกพลขึ้นบกภายใต้รหัสฝึก “ทักษิณ ๑๒” ณ หาดบ้านทอน
จังหวัดนราธิวาส รถสะเทินน้ำสะเทินบกหมายเลข ๑๐๑ นำเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วย
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินขึ้นฝั่ง...

และเมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอทั้งสองพระองค์ เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด “ค่ายจุฬาภรณ์”
การจัดตั้งหน่วยทหารนาวิกโยธิน ณ ค่ายจุฬาภรณ์ จังหวัดนราธิวาส แห่งนี้ คือหนึ่งในก้าวสำคัญที่กองทัพเรือ
ได้รับมอบหมายภารกิจในการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนใต้ในเวลาต่อมา
จากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ กองทัพเรือเป็นหน่วยงานหนึ่งที่ได้รับมอบหมาย
ให้ทำหน้าที่ในพื้นที่รับผิดชอบ ภายใต้หน่วยงานที่มีชื่อว่า “หน่วยเฉพาะกิจนาวิกโยธิน กองทัพเรือ”
นอกจากกำลังพลจากหน่วยบัญชาการนาวิกโยธินแล้ว ยังมีกำลังพลจากนักถอดทำลายอัมภัณฑ์ หรือ EOD

กรมสรรพาวุธทหารเรือ หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง กรมแพทย์ทหารเรือ ทัพเรือภาคที่ ๒ ส่วนหน้า
และหน่วยสนับสนุนอื่น ๆ อีกหลายหน่วยงานของกองทัพเรือ
การเดินทางเพื่อร่วมแก้ปัญหาความไม่สงบด้วยยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” คือสิ่งที่
เหล่าทหารเรือแห่ง ราชนาวีที่ปลายด้ามขวาน.. ยึดมั่นในการทำหน้าที่อย่างสุดกำลัง










นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 61

ความภาคภูมิใจแห่งราชนาวีไทย





International Fleet Review Sydney 2013



นาวาตรี กำชัย เจริญพงศ์ชัย

ภาพ : นาวาโท จิระวัฒน์ อภิภัทรชัยวงศ์ นาวาตรี กำชัย เจริญพงศ์ชัย
เรือเอก มัชฌิม เชาวน์สังเกต พันจ่าเอก ฐิติกร จันทร์วิเศษ Australian Defence Force





































เมื่อ กองทัพเรือไทยได้ส่ง เรือหลวงกระบี่ ไปเข้าร่วมตาม
ช่วงวันที่ ๓ - ๑๑ ตุลาคม ค.ศ.๒๐๑๓
เครือรัฐออสเตรเลีย ได้จัดงานสวนสนาม
ทางเรือนานาชาติ ที่มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า คำเชิญของกองทัพเรือออสเตรเลีย ซึ่งการที่กองทัพเรือ
ได้ตัดสินใจส่ง เรือหลวงกระบี่ เป็นตัวแทนของ
International Fleet Review 2013 ขึ้นที่เมืองซิดนีย์ กองทัพเรือไทย ก็เนื่องจากเรือหลวงกระบี่เป็นเรือรบ
เมืองท่าสำคัญทางทหารเมืองหนึ่งของออสเตรเลีย ต่อใหม่ลำล่าสุด ในโครงการ “เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง

เนื่องจากว่าเป็นเมืองที่มีฐานทัพเรือที่สำคัญทางฝั่ง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้า
ตะวันออกของออสเตรเลียตั้งอยู่ คือ H.M.A.S. Kattabul อยู่หัว” และที่สำคัญเป็นเรือรบที่มีขนาดใหญ่ มีระบบ
หรือเรียกอีกอย่างว่า Fleet Base East โดยในงานนี้ อำนวยการรบอันทันสมัย ที่ต่อเองโดยกองทัพเรือไทย


62 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ความภาคภูมิใจแห่งราชนาวีไทย





International Fleet Review Sydney 2013

















































กับอู่เรือเอกชนในประเทศ ภายในพื้นที่อู่ราชนาวีมหิดล กองทัพเรือ เพื่อบันทึกภาพกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน
อดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ ที่อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี งานสวนสนามทางเรือในครั้งนี้ ซึ่งผมก็ได้ใช้โอกาสนี้
ในการนี้กองทัพเรือได้พิจารณาแล้ว ว่าการนำ เรือหลวง อย่างคุ้มค่า คือได้เก็บภาพบรรยากาศของงานที่สำคัญ ๆ
กระบี่ ไปอวดธง จะทำให้นาวีจากทั่วโลก ได้ประจักษ์ เพื่อเก็บไว้เป็นประวติศาสตรของกองทัพเรือ และเผย


ในความสามารถในการต่อเรือของคนไทย ว่าสามารถ แพร่ให้สู่สาธารณชนได้รับรู้จริง ๆ แล้วงานสวนสนาม
ต่อเรือรบขนาดใหญ่ได้เอง ผมโชคดีที่มีโอกาสได้ไปเข้า ทางเรือ เป็นเพียงแค่หนึ่งในไฮไลท์สำคัญของการจัดงาน
ร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ ในฐานะสื่อของกองทัพเรือ ใน ในครั้งนี้ เนื่องจากว่า ยังมีกิจกรรมที่สำคัญอีกหลายอย่าง
นามของคณะกรรมการจัดทำสารคดี และสื่อโทรทัศน์ ตลอดห้วงระยะเวลามากกว่า ๑ เดือน ทั้งก่อนและ


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 63

หลังการสวนสนาม เนื่องจากกองทัพเรือออสเตรเลีย ได้ ๙. International Fleet Review Sailing
เชิญกองทัพเรือจากทั่วโลก ๒๐ ประเทศ และมีเรือรบ Regatta การแข่งขันเรือใบทั่วไปในอ่าวซิดนีย์

เข้าร่วมถึง ๔๑ ลำ นอกจากนี้ยังมีเรือใบขนาดใหญ่ ที่ได้กล่าวไปแล้วว่าในการเดินทางมายัง
มีรูปทรงอย่างโบราณ ชาวตะวันตก เรียกว่า Tall Ship ซิดนีย์ครั้งนี้ จะมีการฝึกที่สำคัญอยู่ ๒ รายการ คือ
อีก ๑๖ ลำ เรือกลไฟ อีก ๑ ลำ เรือตรวจการณ์ชายฝั่ง การฝึก Triton Centenary 2013 (TC13) เป็นการฝึก
๑ ลำ และเรือสนับสนุนการปฏิบัติการไกลฝั่ง (Offshore การปฏิบัติการทางเรือในสาขาต่าง ๆ แบบพหุภาคี
Support Vessel : OSV) ๑ ลำ อากาศยาน ๖๐ ลำ ประกอบด้วยเรือรบจำนวน ๔๑ ลำ จาก ๒๐ ประเทศ
วงดนตรีทหาร ๑๐ วง และทหารเรือกว่า ๘,๐๐๐ นาย การฝึกนี้แบ่งออกเป็น ๒ ช่วง ช่วงแรกฝึกเมื่อเรือต่าง ๆ
จากทั่วโลก ซึ่งในเมื่อมีทหารเรือเข้าร่วมงานในครั้งนี้เป็น เดินทางถึงเมือง Crains เครือรัฐออสเตรเลีย ซึ่งเป็น

จำนวนมาก ทางออสเตรเลียจึงได้ถือโอกาสจัดงานต่าง ๆ จุดนัดพบแรกหรือ First Port of Call และทำการตรวจ
เพิ่มเติมเข้ามา เพื่อให้การเดินทางมาร่วมงานของทหารเรือ คนเข้าเมือง ศุลกากรและสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว


นานาชาติได้เกิดประโยชน์คุ้มค่าที่สุด ซึ่งอีเว้นท์ต่าง ๆ โดยจะฝึกไปตลอดเส้นทางเดนเรอจากเมอง Crains

ที่จัดขึ้นก็ได้แก่ ไปตามชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก จนถึงทางใต้ของ
๑. การฝึก Triton Centenary 2013 (TC13) ออสเตรเลียซึ่งห่างจากเมืองซิดนีย์ประมาณ ๑๐๐ ไมล์
การฝึกการปฏิบัติการทางเรือในสาขาต่าง ๆ แบบพหุภาคี ทะเล และเดินทางกลับมายัง Port Kembla ซึ่งเป็นจุด
๒. การฝึก ASEAN Defence Ministers’ พักก่อนเข้าเมืองซิดนีย์
Meeting-Plus (ADMM-Plus) Maritime Security
Field Training Exercise การฝึกทางด้านการรักษา

ความมั่นคงทางทะเล
๓. งานประชุม RAN Sea Power Conference 2013
๔. งานนิทรรศการ Pacific 2013 International
Maritime Congress and Exposition
๕. International Fleet Review 2013 หรือพิธี
สวนสนามทางเรือนานาชาติ ซึ่งมีกิจกรรมต่อเนื่องทั้งวัน
๖. Ship Open Day ซึ่งก็คือวันที่เรือของกองทัพเรือ

ทุกชาติ เปิดให้ประชาชน และนักท่องเที่ยวที่อยู่ใน
ซิดนีย์ ได้ขึ้นเยี่ยมชมเรือทั้งเรือใบและเรือรบ
๗. International Navy Parade การเดิน
พาเหรดของกองทัพเรือนานาชาติ ซึ่งมีแถวทหาร
ยาวเหยียดหลายกิโลเมตร
๘. Sydney Auckland Tall Ships Regatta การ
แข่งขันเรือใบ ซึ่งไม่ใช่เรือใบสมัยใหม่อย่างในปัจจุบัน การฝึกในช่วงแรกนี้ เรือหลวงกระบี่ได้ร่วมฝึกกับ
แต่เป็นเรือใบรูปทรงโบราณ เส้นทางการแข่งขันตั้งแต่ เรือ H.M.A.S. Parramatta ของกองทัพเรือออสเตรเลีย
อ่าวซิดนีย์ ถึง โอ๊คแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ และ KD Jebat ของกองทัพเรือมาเลเซีย การฝึก

ประกอบด้วยการฝึกการปฏิบัติการทางเรือในสาขาต่าง ๆ


64 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

เช่น การแปรกระบวน การฝึกนำเรือเข้าสถานี รวมถึง การฝึกประกอบไปด้วย การฝึกตรวจค้นด้วยเรือเล็ก
การรักษาสถานีที่กำหนด การสื่อสาร การสั่งการ โดย เรือหลวงกระบี่ร่วมฝึกกับเรือ KD Jebat ของ

การรายงานต่าง ๆ การใช้บรรณสารและเอกสาร กองทัพเรือมาเลเซีย และเรือ JS Makinami ของ
ประกอบการฝึก ในระหว่างเรือเดินทั้งกลางวันและ กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น โดยมีคณะ
กลางคืน ซึ่งการฝึกในช่วงแรกนี้เป็นไปด้วยความ ทำงานของผู้เชี่ยวชาญ (Expert Working Group) และ
เรียบร้อย ผู้แทนจากเรือต่าง ๆ ที่เข้าร่วมการฝึกฯ ร่วมเป็น
สำหรับการฝึกในช่วงที่ ๒ จะมีขึ้นหลังจากงาน ผู้สังเกตการณ์การฝึกในทะเล ระหว่างการเดินทางจาก
สวนสนามทางเรือนานาชาติเสร็จสิ้นแล้ว น่าเสียดาย Port Kembla ไปยัง Jervis Bay เรือที่เข้าร่วมการฝึก
เป็นอย่างยิ่งที่กองทัพเรือของเราไม่ได้เข้าร่วม เนื่องจาก ๑๑ ลำ ได้ถูกแบ่งออกเป็น ๓ หมู่เรือ ซึ่ง เรือหลวงกระบี่

การฝึกจะเน้นหนักไปที่การปฏิบัติการรบในสาขาต่าง ๆ อยู่ในหมู่เรือ Commanding Task unit 628.5.2
ทั้งการรบผิวน้ำ การระดมยิงฝั่งด้วยกระสุนจริง การฝึก (CTU628.5.2) มีเรือ H.M.A.S. Parramatta ของ
ป้องกันภัยทางอากาศ และอาวุธต่อต้านเรือผิวน้ำ กองทัพเรือออสเตรเลียเป็นเรือหัวหน้า และมีเรือ RSS
ซึ่งกองทัพอากาศออสเตรเลียได้จัดเครื่องบินขับไล่ Endeavour ของกองทัพเรือสิงคโปร์ เป็นเรือร่วมในหมู่เรือ
F-18 Hornet และ BAE 127 Hawk พร้อมทั้งเครื่องบิน รวม ๓ ลำ ในระหว่างการเดินเรือนี้ก็ยังได้ฝึกการตรวจค้น
Boeing 737 AEW&C E7 ในการแจ้งข้อมูลข่าวสาร ด้วยเรือเล็กอีก ๓ เที่ยว ทำให้ชุดตรวจค้นของ เรือหลวง
ทางอากาศ เข้าร่วมการฝึกด้วย ด้านการฝึกป้องกันภัย กระบี่มีประสบการณ์เพิ่มมากขึ้น เสร็จสิ้นการฝึก ก็เป็น
ใต้น้ำ กองทัพเรือออสเตรเลียได้นำเรือดำน้ำชั้น Collins กิจกรรมในส่วนของการสวนสนามทางเรือนานาชาติ
H.M.A.S. Farncomb เข้าร่วมการฝึกด้วย ซึ่งจะมีการ International Fleet Review 2013

ใช้โซนาร์ และเฮลิคอปเตอร์ตรวจการณ์เรือดำน้ำที่ จุดประสงค์ของการสวนสนามก็เพื่อเฉลิมฉลอง
ประจำอยู่บนเรือบางลำในการฝึก ส่วนเรือที่ไม่ได้นำ วันครบรอบ ๑๐๐ ปี ที่กองเรือรบของออสเตรเลีย
อากาศยานตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำ มาร่วมด้วย นำโดย เรือ H.M.A.S. Australia เรือธงต่อใหม่จากอังกฤษ
ทางออสเตรเลียก็ได้ส่งเฮลิคอปเตอร์จากฝูงบิน และเรือรบอีก ๖ ลำ คือ H.M.A.S. Sydney H.M.A.S.
816SQN มาสนับสนุนด้วย จึงนับว่ากองทัพเรือ เราได้ Melbourne H.M.A.S. Encounter H.M.A.S. Parramatta
พลาดโอกาสอันดีไปอย่างน่าเสียดาย H.M.A.S. Warrego และ H.M.A.S. Yarra เดินทางเข้าสู่
การฝึกอีกรายการคือ การฝึกภาคสนามของ Farm Cove อ่าวซิดนีย์เป็นครั้งแรก เมื่อวันเสาร์ที่ ๔

ADMM-Plus (ASEAN Defence Ministers’ Meeting ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๑๓ ซึ่งกองเรือนี้มีความสำคัญตรงที่
– Plus Maritime Security Field Training ประกอบด้วยเรือรบรุ่นใหม่ ทันสมัยและใหญ่กว่าเรือ
Exercise) เป็นการฝึกการรักษาความมั่นคงทางทะเล ของกองทัพเรือออสเตรเลียเดิม ที่มีแต่เรือเก่า ซึ่งเอาไว้
ของกองทัพเรือ ๑๓ ประเทศ ในกลุ่มประเทศอาเซียน ในภารกิจป้องกันชายฝั่ง และเป็นเรือฝึก ทำให้กองทัพเรือ
ซึ่งในครั้งนี้มีทั้งหมด ๑๑ ประเทศ ที่ส่งเรือรบเข้าร่วม ออสเตรเลีย มีขีดความสามารถในการป้องกันประเทศ
การฝึก ณ อ่าว Jervis และสนามฝึกทางทะเลด้าน ได้อย่างแท้จริง และสามารถทำสงครามทางเรือได้
ตะวันออก ก่อนเวลาที่จะถึงพิธีสวนสนามทางเรือ ดังนั้น จึงถือได้ว่าเหตุการณ์ในครั้งนั้นมีความสำคัญ
นานาชาติที่ซิดนีย์ โดยการฝึกในครั้งนี้ กองทัพเรือ ต่อเครือรัฐออสเตรเลียเป็นอย่างมาก
มาเลเซียเป็นเจ้าภาพร่วมกับกองทัพเรือออสเตรเลียซึ่ง สำหรับใน ๑๐๐ ปีถัดมานี้ กองทัพเรือออสเตรเลีย

เป็นเจ้าของสถานที่การฝึก ได้จัดเรือ H.M.A.S. Sydney H.M.A.S. Darwin


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 65

H.M.A.S. Perth H.M.A.S. Parramatta H.M.A.S. หรือผู้แทนของกองทัพเรือนานาชาติ สำหรับกองทัพเรือไทย

Bundaberg H.M.A.S. Diamantina และ H.M.A.S. Yarra ผู้บัญชาการทหารเรือ ได้กรุณาให้ พลเรือเอก พิจารณ์
เป็นกองเรือเกียรติยศ เปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของ ธีรเนตร ผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ เป็นผู้แทน พร้อมด้วย
เรือทั้ง ๗ ลำ ที่เดินทางเข้ามาในอ่าวซิดนีย์เป็นครั้งแรก นาวาเอก อภิชัย สมพลกรัง ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารเรือ
พร้อมด้วยเรือต่าง ๆ ทั้งของออสเตรเลีย และ ประจำกรุงแคนเบอร์รา เครือรัฐออสเตรเลีย เข้าร่วมเป็น
ของประเทศต่าง ๆ อีก ๑๙ ประเทศ รวม ๔๐ ลำ เกียรติในงานนี้ นายกเทศมนตรีนครซิดนีย์ Clover
เข้าร่วมในครั้งนี้ด้วย และหนึ่งในนั้นก็คือ เรือหลวง Moore ผู้ว่าการรัฐนิวเซาท์เวลส์ Barry O’Farrell และ
กระบี่ ของกองทัพเรือไทย นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย Tony Abbott

ช่วงเวลาของการเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี
แห่งการเข้ามาในอ่าวซิดนีย์เป็นครั้งแรกของกองเรือรบ
ของออสเตรเลีย เริ่มต้นขึ้นในวันที่ ๓ ตุลาคม เมื่อเรือใบ
เริ่มเคลื่อนตัวเข้ามาจอดเทียบท่า และทิ้งสมอ
ในอ่าวซิดนีย์ ทางด้านเรือรบได้ออกเดินทางจากอ่าว
Jervis Bay พร้อม ๆ กัน เพื่อประกอบกำลัง เป็นรูป
กระบวน Formation India Foxtrot Romeo หรือรูป
กระบวน IFR เพื่อถ่ายภาพทางอากาศ หรือ Photo
Exercise (PHOTEX) โดยเรือหลวงกระบี่ และ เจ้าฟ้าชายแฮรี่ แห่งเวลส์

เรือตรวจการณ์ของกองทัพเรือไมโครนีเซีย ปาปัวนิวกีนี
และตองกา อีก ๔ ลำ ได้แยกกระบวนเพื่อเดินทางเข้า
จอดเรือ ในอ่าวซิดนีย์ในช่วงค่ำของวันนั้นเอง ส่วนเรือ
ลำอื่น ๆ ยังคงเดินเรือในรูปกระบวน IFR และจอดเรือ
ทิ้งสมอบริเวณด้านนอกของอ่าวซิดนีย์ เพื่อรอการเดิน
ทางเข้าอ่าวซิดนีย์เป็นกระบวนเรือขนาดใหญ่ในช่วงเช้า
ของวันที่ ๔ ตุลาคม เมื่อเช้าของวันที่ ๔ ตุลาคม มาถึง

เรือรบจากชาติต่าง ๆ เริ่มเคลื่อนตัวตามเข้ามาสมทบจน
กระทั่งครบทุกลำ โดยเฉพาะเมื่อเรือรบลำสำคัญทั้ง ๗ ลำ ฯพณฯ Quentin Bryce ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ แห่งสมเด็จ
แล่นเข้ามาในอ่าว ได้มีการยิงสลุตจำนวน ๒๑ นัด และ พระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ ๒ แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ และ
เมื่อเรือทุกลำเข้าจอดในอ่าวซิดนีย์ ค่ำคืนนั้นก็สว่างไสว ไอร์แลนด์เหนือ ขณะกำลังตรวจแถวทหารกองเกียรติยศ
ไปด้วยแสงไฟประดับจากเรือรบทั้ง ๔๑ ลำ ที่เข้าร่วมพิธี สำหรับบุคคลสำคัญที่กองทัพเรือออสเตรเลียให้
ในเวลา ๑๐.๐๐ นาฬิกา ของออสเตรเลีย วันที่ ๕ เกียรติต้อนรับด้วยทหารกองเกียรติยศ คือ นาวาเอกหญิง
ตุลาคม ประธานในพิธีสวนสนามทางเรือนานาชาติ Marie Bashir ผู้ว่าราชการรัฐนิวเซาท์เวลส์ และ เจ้าฟ้า
และบุคคลสำคัญที่ได้รับเชิญต่างทยอยกันขึ้นเรือ ชายแฮร์รี่แห่งเวลส์ และสุดท้ายคือประธานในพิธี
H.M.A.S. Leeuwin ซึ่งทำหน้าที่เป็นเรือประธาน โดยมี ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ แห่งสมเด็จพระราชินีนาถ

พลเรือโท Ray Griggs ผู้บัญชาการทหารเรือออสเตรเลีย เอลิซาเบธที่ ๒ แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และ
มารอต้อนรับแขกรับเชิญในงานได้แก่ ผู้บัญชาการทหารเรือ ไอร์แลนด์เหนือ ฯพณฯ Quentin Bryce ซึ่งเมื่อท่านได้


66 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

เรือประธานแล่นผ่าน เรือหลวงกระบี่ ซึ่งอยู่ต่อ

จากเรือ H.M.S. Daring ของสหราชอาณาจักร กำลังพล
ประจำเรือแต่งกายเครื่องแบบหมายเลข ๙ หรือชุดบลู
แถวรายกราบ พร้อมเพรียง และงามสง่า เมื่อเรือ
ประธานแล่นผ่าน ก็มีการสั่งทำความเคารพเช่นเดียวกับ
เรือของชาติต่าง ๆ จนเรือประธานผ่านไปจึงได้เลิกแถว
รายกราบ และกำลังพลทั้งหมด ทั้งกำลังพลประจำเรือ
H.M.A.S. Leeuwin เรือประธาน
และกำลังพลของหมู่เรือฝึกหลักสูตรประกาศนียบัตร
ขึ้นแท่นรับความเคารพแล้ว ก็เดินลงมาทักทายทหารใน บัณฑิต ของโรงเรียนนายเรือ ได้รวมตัวกันที่หัวเรือ
กองเกียรติยศอย่างเป็นกันเองด้วยสีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส เพื่อถ่ายภาพหมู่เป็นที่ระลึก

แล้วจึงขึ้นเรือ จากนั้นเรือได้เคลื่อนตัวออกจากท่าเทียบ
เรือ Garden Island อ่าว Woolloomooloo เพื่อ
ตรวจเรือที่เข้าร่วมสวนสนาม
เมื่อเรือ H.M.A.S. Leeuwin แล่นสู่กลางอ่าวซิดนีย์
ได้หันหัวเรือมุ่งสู่สะพาน Harbour Bridge เรือรบ ๗ ลำ
ของออสเตรเลียที่ได้กล่าวไว้ ได้แล่นเป็นรูปกระบวน
เรียงตามกันหรือ Formation 1 แล่นขนานกับเรือ
ประธาน เพื่อทำความเคารพประธานในพิธี จากนั้นจึง
แล่นลอดสะพาน Harbour Bridge ออกไปในขณะ เรือ James Craig

เดียวกัน เครื่องบินรบ และเฮลิคอปเตอร์แบบต่าง ๆ
อาทิ เครื่องบิน P-3 Orion F-18 Hornet เฮลิคอปเตอร์
Sea Hawk จำนวน ๖๐ ลำ ก็แล่นผ่านบริเวณอ่าว
ซิดนีย์ มุ่งไปยังสะพาน Harbour Bridge นับเป็นภาพ
การบินของอากาศยานที่ตื่นตาตื่นใจมากที่สุดในชีวิต
ของผม หลังจากนั้น เรือประธานได้กลับลำ และเริ่มเดิน
เรือผ่านเรือของชาติต่าง ๆ เพื่อรับความเคารพไปรอบ

อ่าวซิดนีย์ เมื่อเรือประธานผ่านเรือแต่ละลำ จะมีการสั่ง
แถวรายกราบ กำลังพลในชุดทูนิค หรือชุดบลูจะยืน เรือกลไฟ Lady Hopetoun
เรียงแถวไปตามกราบเรือหันหน้าไปทางเรือประธาน เมื่อเรือประธานได้แล่นผ่านและรับความเคารพ
หลังจากนั้นจะสั่งถอดหมวก และชูหมวกออกไปด้าน จากเรือรบนานาชาติแล้ว ก็ถึงคิวของเรือใบรูปทรงโบราณ
หน้าศีรษะ เมื่อมีการสั่งทำความเคารพเป็นเสียง “ฮิป ฮิป” ทั้ง ๑๖ ลำ ทยอยกันแล่นผ่านเรือประธานเพื่อแสดง
จากผู้สั่งการ ประจำเรือที่เหลือก็จะส่งเสียง “ฮูเร่” ดัง ๆ ความเคารพ ซึ่งการแล่นผ่านของเรือใบรูปทรงโบราณ
พร้อมกัน พร้อมกับหมุนหมวกที่ถืออยู่เป็นรูปวงกลม นั้นน่าดูน่าชมมาก เพราะกำลังพลของเรือใบแต่ละลำ
๑ รอบ และกระทำเช่นนี้ไปจนเรือประธานผ่านเรือไป จะปีนขึ้นสู่ยอดเสา ตามแบบฉบับการแสดงความเคารพ
เรียบร้อย ของเรือใบ เป็นภาพที่ไม่อาจจะหาดูได้ง่ายนัก และเมื่อเรือใบ



นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 67

ทั้งหมดแล่นผ่านไปแล้ว จึงปิดท้ายด้วยการแล่นผ่าน คือ ภาพเรือแล่นผ่าน Sydney Opera House และ

แสดงความเคารพของเรือกลไฟ ซึ่งเป็นเรือเครื่องจักรไอน้ำ สะพาน Harbour Bridge ที่เป็นฉากหลัง ผมและ
ที่มีอายุมากกว่า ๑๐๐ ปี และเป็นเรือลำเดียวที่อยู่ใน ช่างภาพลงเรือเล็กของ เรือหลวงกระบี่ แล่นตามถ่ายภาพ
เหตุการณ์ที่เรือรบของออสเตรเลียเข้ามาในอ่าวซิดนีย์ เรือหลวงกระบี่ในขณะเข้าจอดไปตลอดทาง ด้วยสภาพ
เป็นครั้งแรกเมื่อ ๑๐๐ ปีที่แล้ว ที่ยังหลงเหลืออยู่และ อากาศที่เป็นใจ น้ำในอ่าวที่นิ่งสงบ ทำให้เราได้ภาพ
ใช้งานได้ เมื่อเรือแล่นผ่านประธาน ก็มีการชักหวูดด้วย อย่างที่ต้องการ ซึ่งภาพนี้ ผมเชื่อว่า จะถูกเก็บไว้เป็น
ไอน้ำพร้อมกับปล่อยไอน้ำพวยพุ่งออกมาจากหวูด ประวัติศาสตร์จนชั่วลูกชั่วหลาน
สร้างเสียงหัวเราะและรอยยิ้มจากผู้ชมที่อยู่รอบอ่าว

เป็นการปิดท้ายการสวนสนามทางเรือนานาชาติที่น่ารัก
สมกับเป็นประเทศที่เป็นกันเอง อย่างออสเตรเลีย
โดยแท้จริง
ก่อนอาทิตย์อัสดง มีการแสดงการบินพลาดแผลง
จากฝูงบิน Navy Squirrel Display Team และฝูงบิน
Roulettes แห่งกองทัพอากาศออสเตรเลีย สะกดทุก
สายตาของคนโดยรอบอ่าวซิดนีย์ ยามค่ำคืนท้องฟ้า
เหนืออ่าวซิดนีย์ ตระการตาไปด้วยแสงจากพลุหลากสี JS Makinami กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น
และภาพยนตร์ที่ฉายลงบนหลังคาSydney Opera หลังจากที่เรือจอดเทียบเรือ JS Makinami ของ

House เพื่อเฉลิมฉลองเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่ ญี่ปุ่นเรียบร้อยแล้ว ในวันที่ ๖ และ ๗ ตุลาคม เป็นวันที่
๑๐๐ ปีจะมีสักครั้ง เป็นการเสร็จสิ้นการสวนสนามทาง เรือเกือบทุกลำ เปิดให้ประชาชนได้เยี่ยมชมเรือ
เรือนานาชาติอย่างยิ่งใหญ่ สมเกียรติของกองทัพเรือ อย่างใกล้ชิด โดยมีการจำหน่ายบัตรเข้าชมในราคา
ออสเตรเลีย ๓ ดอลลาร์ออสเตรเลีย ผ่านทางระบบออนไลน์ซึ่ง
บัตรนั้นขายหมดเกลี้ยง เมื่อได้เวลาเยี่ยมชมเรือ ผู้คน
หลากเชื้อชาติจากทั่วโลก ต่างหลั่งไหลกันเข้ามาเยี่ยมชม
เรือนับหมื่นคน ถนนหน้าอ่าว Woolloomooloo

แออัดไปด้วยผู้คน การเยี่ยมชมเรือเป็นไปอย่างเชื่องช้า
เนื่องจากว่าการขึ้นลงเรือรบนั้น ไม่ใช่เรื่องที่ทำได้ง่าย
สำหรับบุคคลธรรมดาที่ไม่ได้เป็นชาวเรือ การก้าวเดิน
ขึ้นลงบันไดแต่ละขั้น และช่องทางเดินที่เดินได้ทีละคน
ทำให้เสียเวลาในการเยี่ยมชมเรือแต่ละลำค่อนข้างมาก

เรือหลวงกระบี่ ขณะจอดอยู่ที่ท่าเรือ Garden Island แต่ถึงกระนั้น งานก็ผ่านไปได้ด้วยดี
อ่าว Woolloomooloo สำหรับ เรือหลวงกระบี่นั้น ได้เปิดให้คนไทยและ
เช้าวันที่ ๖ ตุลาคม เรือหลวงกระบี่มีกำหนดเข้า ชาวต่างชาติได้เยี่ยมชมเรือทุกวันที่เรือจอด เนื่องจาก
จอดเทียบท่า Garden Island อ่าว Woolloomooloo คนไทยในออสเตรเลีย โดยเฉพาะในซิดนีย์นั้นมีเป็น

ในฐานทัพเรือ H.M.A.S. Kattabul เปิดโอกาสให้ผมและ จำนวนมาก และแต่ละคนอาจจะติดงาน ติดเรียนทำให้
ช่างภาพสารคดีกองทัพเรือ ได้เก็บภาพประวัติศาสตร์ ไม่สามารถมาชมเรือในวันที่กำหนดได้ จึงได้มีการขอ


68 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ความอนุเคราะห์จากกองทัพเรือออสเตรเลีย ให้คนไทย ภาคภูมิใจในชาติ ที่เราได้แสดงออกให้ชาวโลกได้เห็น
ได้ขึ้นเยี่ยมชม เรือหลวงกระบี่ เป็นพิเศษซึ่งทาง ไม่เพียงเท่านั้น เมื่อแถวทหารเรือไทย เดินผ่านไป

กองทัพเรือออสเตรเลียก็เข้าใจ และอนุญาตให้ประชาชน ยังที่ใด ผมซึ่งเดินตามแถวไปตลอดทาง ก็ได้ยินเสียง
ชาวไทยได้ขึ้นเยี่ยมชมเรือ ภายใต้กรอบเวลาและกติกา ชาวต่างชาติหลายคนพูดขึ้นว่า ไทยแลนด์ ผมคาดเดาว่า
ที่กำหนด ซึ่งทำให้ในแต่ละวัน มีผู้เข้าเยี่ยมชม เรือหลวง เค้าคงจำได้จากธงราชนาวีเป็นแน่แท้เพราะชุดของ
กระบี่เป็นจำนวนหลักร้อยคน บางวันอาจจะถึง ๔๐๐ - ทหารเรือแต่ละชาตินั้นคล้าย ๆ กันหมด แต่ก็มีบ้างที่
๕๐๐ คน เลยทีเดียวซึ่งทุกคนต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ไม่รู้จัก มีชาวต่างชาติอยู่คนหนึ่ง พูดขึ้นว่า H.T.M.S.
ภูมิใจมาก ๆ คนไทยเก่ง สามารถต่อเรือรบได้ทัดเทียม Krabi, Hong Kong? ผมจึงแก้ต่างให้ว่า Thailand
กับประเทศมหาอำนาจเลยทีเดียว ต้องนับว่าคนไทยในซิดนีย์นั้นมีเยอะมาก เพราะ

ไฮไลท์สำคัญอีกอย่างหนึ่ง คือการเดินพาเหรด ตลอดทางจะมีคนไทยมาเฝ้ายืนดู ปรบมือ ส่งเสียงกรี๊ด
ของทหารเรือนานาชาติ ไปบนถนน George Street และตะโกนว่า ไทยแลนด์ ตลอด ๒ ข้างทาง และเมื่อ
ตั้งแต่ The Rock ไปจนถึงศาลากลาง (Sydney Town แถวทหารเรือไทยเดินมาถึง Town Hall ก็มีหนุ่มคนไทย
Hall) ซึ่งบริเวณนั้น ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และ พร้อมกับชาวต่างชาติคนหนึ่ง ยืนอยู่หน้าแผงกั้นถนน
บุคคลสำคัญต่าง ๆ จะรอรับความเคารพอยู่หน้าศาลากลาง และนำธงไตรรงค์ออกมาโบกสะบัด เพื่อให้รู้ว่านี่คือคนไทย
มาเพื่อเชียร์ทหารเรือไทย ซึ่งทำให้ ณ ที่ตรงนั้น
มีธงชาติไทยสองผืนโบกสะบัดอยู่กลางจตุรัสที่มีความ
สำคัญมากในซิดนีย์ นั่นก็คือ ธงไตรรงค์และธงราชนาวี
นอกเหนือไปจากธงชาติออสเตรเลีย

หลังเสร็จสิ้นการเดินพาเหรด ทหารเรือไทยพากัน
เดินย้อนกลับไปอีกหลายกิโลเมตร เพื่อไปยัง Sydney
Opera House และร่วมกันบันทึกภาพไว้เป็นที่ระลึกว่า
ครั้งหนึ่งทหารเรือไทยได้มาถึงยังที่แห่งนี้ และจะเป็น
แรงบันดาลใจให้กับคนรุ่นหลัง ๆ ต่อไป เพื่อนำเรือมา
สำหรับกองทัพเรือไทยเราจัดกำลังพลจาก อวดธงราชนาวีในต่างประเทศอย่างเช่นในครั้งนี้

เรือหลวงกระบี่ และกำลังพลของหมู่เรือฝึกฯ จำนวน วันสุดท้ายของการเทียบท่าในซิดนีย์มาถึง เช้าวันที่
๘๐ นาย เข้าร่วม ทั้งหมดแต่งกายด้วยเครื่องแบบ ๑๑ อากาศขมุกขมัว ฝนตกสลับกับแดดออก ในวันนั้น
หมายเลข ๙ ที่กระเป๋าเสื้อด้านซ้าย ประดับธงชาติ เรือหลวงกระบี่ออกเรือจากท่าเทียบเรือเป็นลำแรก
ออสเตรเลียเล็ก ๆ เพื่อแสดงความเคารพต่อประเทศ คนไทยจำนวนหนึ่ง และท่านผู้ช่วยทูตฯ พร้อมครอบครัว
เจ้าภาพ หน้าแถว นำด้วยนายทหารประทวนสวมชุด มารอส่ง เรือหลวงกระบี่ และได้นำธงไตรรงค์
กะลาสีของออสเตรเลีย ถือป้าย เขียนว่า H.T.M.S. KRABI ธงราชนาวี และธงสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิม
ถัดมาเป็น นาวาตรี ณัฐพงษ์ วงศ์ทองศรี เป็นผู้ถือ พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช
ธงราชนาวีนำแถวทหารทั้งหมด ซึ่งเราเป็นกองทัพเดียว ที่ ๒๕๕๔ มาโบกสะบัดเป็นกำลังใจให้กับ เรือหลวงกระบี่
นำธงราชนาวีมาแสดงต่อสายตาของนานาชาติและ ในการเดินทางต่อจากนี้

ประชาชนชาวซิดนีย์ (ประเทศอื่น ๆ ใช้ธงชาติ หรือไม่ เมื่อเรือลากจูง ดึงท้าย เรือหลวงกระบี่ออกไปพ้น
ได้ใช้ธงชาติประกอบขบวนพาเหรดด้วย) นับเป็นความ จากท่าเรือ เรือหลวงกระบี่ก็กลับลำ และมุ่งหน้าออก


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 69

จากอ่าวซิดนีย์ เสร็จสิ้นภารกิจในการร่วมเป็นหนึ่งใน เท่านั้น ที่จะทำให้งานนี้เกิดขึ้นได้หรือไม่ได้ แต่หากเกิด

กำลังทางเรือนานาชาติ ในงานสวนสนามทางเรือ ขึ้นได้ ย่อมเป็นผลดีต่อกองทัพเรือและประเทศไทย
นานาชาติ ซิดนีย์ ออสเตรเลีย อย่างสวยงาม แต่ภารกิจ อย่างไม่ต้องสงสัย เพราะการแสดงแสนยานุภาพทาง
ของ เรือหลวงกระบี่ยังไม่จบ นั่นก็คือการฝึกนายทหาร ทหารด้วยการจัดงานสวนสนามทางเรือนานาชาติ
นักเรียนต่อไปจนกลับถึงประเทศไทย และการอวดธง ย่อมแสดงให้เห็นว่าประเทศนั้นมีความพร้อมทางด้าน
ในเมืองท่าอื่น ๆ คือ บริสเบน และดาร์วิน เครือรัฐ กำลังรบ และแรงสนับสนุนจากทหารเรือพันธมิตร
ออสเตรเลีย จาการ์ตา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย และ มากมาย ส่วนในด้านอื่น ๆ ก็มี อาทิเช่น ส่งเสริมการ
สาธารณรัฐสิงคโปร์ ซึ่งภารกิจทั้งหมดกินเวลาทั้งสิ้น ท่องเที่ยว สามารถนำเงินตราเข้าประเทศได้อย่าง

๗๔ วัน ขณะนี้ผ่านไปครึ่งทางแล้ว ภารกิจอันมีค่ายิ่งนี้ มหาศาลเลยทีเดียว
ก็จะสำเร็จลุล่วง ซึ่งจะเป็นการการันตีได้เป็นอย่างดีว่า
คนไทยต่อเรือรบได้ฝีมือดี ไม่น้อยหน้าประเทศใดเช่นกัน รายชื่อประเทศและเรือรบที่เข้าร่วมในงานสวนสนาม
สิ่งหนึ่งที่จะเป็นเครื่องยืนยันได้เป็นอย่างดีว่า ทางเรือนานาชาติ
เรือหลวงกระบี่นั้น พร้อมรับทุกภารกิจ และมีความ ๑. ประเทศไทย : เรือหลวงกระบี่
คงทนทะเลก็คือช่วงที่เรือฝึก Triton Centenary ช่วงที่ ๑ ๒. เครือรัฐออสเตรเลีย : HMAS , HMAS Broome , HMAS Bundab-
erg , HMAS Darwin , HMAS
บริเวณตอนใต้ของออสเตรเลีย ซึ่งมีคลื่นในระดับ Diamantina , HMAS Farncomb , HMAS Gascoyne , HMAS
Sea State 5 อยู่หลายวัน ท้องทะเลเต็มไปด้วย Huon , HMAS Labuan ,
คลื่นหัวแตก เป็นฝอยน้ำและฟองขาว ความสูงคลื่น HMAS Leeuwin , HMAS Parramatta , HMAS Perth , HMAS
Shepparton , HMAS Stuart ,
ประมาณ ๒.๕ - ๕ เมตร ฝอยน้ำคลื่นซัดสาดถึงเสา HMAS Success , HMAS Sydney , HMAS Tarakan , HMAS
กระโดงเรือ เรือเอียงทางข้างกว่า ๓๐ องศา การเคลื่อนที่ Tobruk , HMAS Yarra
ไปข้างหน้าแต่ละเมตร หัวเรือต้องมุดคลื่นอยู่ตลอดเวลา ๓. ประเทศสหรัฐอเมริกา : USS Chosin
๔. สหราชอาณาจักร : HMS Daring
แต่เรือและกำลังพล ก็ยังสามารถปฏิบัติภารกิจเคียงข้าง ๕. ประเทศญี่ปุ่น : JS Makinami
ไปกับเรือรบขนาดใหญ่ระดับเกือบหมื่นตันได้สำเร็จ ๖. สาธารณรัฐฝรั่งเศส : FNS Vendemiaire
ดังนั้นจึงเชื่อได้ว่า เรือหลวงกระบี่ ฝีมือคนไทยลำนี้ ๗. ราชอาณาจักรสเปน : SPS Cantabria
ต่อออกมาได้มาตรฐานจริง ๆ ๘. สาธารณรัฐประชาชนจีน : Qingdao
๙. สาธารณรัฐอินเดีย : INS Sahyadri
หลังเสร็จสิ้นการบันทึกภาพในมหานครซิดนีย์ ๑๐. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย : KRI Sultan Iskandar Muda
ผมกลับมาคิดทบทวนว่า ประเทศไทยเอง ก็น่าจะจัด ๑๑. ประเทศมาเลเซีย : KD Jebat






งานสวนสนามทางเรอนานาชาตไดบางเหมอนกน ๑๒. สาธารณรัฐสิงคโปร์ : RSS Endeavour
๑๓. บรูไนดารุสซาลาม : KDB Darulaman
โดยอาศัยวาระที่ธงราชนาวีไทยจะมีอายุครบ ๑๐๐ ปี ๑๔. ประเทศนิวซีแลนด์ : HMNZS Te Mana
ใน พ.ศ. ๒๕๖๐ คืออีก ๔ ปีข้างหน้านับจากกำเนิดธง ๑๕. ประเทศแคนาดา : HMCS Algonquin , HMCS Protecteur
ราชนาวี ตามพระราชบัญญัติแก้ไข พระราชบัญญัติธง ๑๖. ประเทศปาปัวนิวกินี : HMPNGS Rabaul , HMPNGS Dreger
๑๗. สหพันธรัฐรัสเซีย : RFS Varyag , RFS Boris Butoma
พ.ศ.๒๔๖๐ โดยเปลี่ยนจาก “ธงทหารเรือ” เป็น ๑๘. สหพันธรัฐไมโครนีเซีย : FSS Micronesia
“ธงราชนาวี” นับจากนั้นเป็นต้นมา อีกทั้งในด้าน ๑๙. ราชอาณาจักรตองกา : VOEA Save
ประวัติความเป็นมา และเกียรติภูมิของทหารเรือเราเอง ๒๐. สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย : NNS Thunder
ก็ไม่ได้ยิ่งหย่อนไปกว่าใครในภูมิภาค ในแง่เหตุผล
ความเหมาะสมนั้นมีอยู่แล้ว เพียงแต่ปัจจัยแวดล้อมอื่น ๆ


70 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗


ข่าวนาวรอบโลก




พลเรือตรี จรินทร์ บุญเหมาะ [email protected]


รัฐสุลต่านโอมาน

การทดสอบยิงอาวุธปล่อยนำวิถี VL MICA



































บริษัท BMDA ประกาศผลการยิงอาวุธปล่อยนำวิถี VL MICA รุ่นใช้งานทางทะเล ซึ่งทำการทดสอบบนเรือ
คอร์เวต RNOV Al Shamikh ของกองทัพเรือโอมาน เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ซึ่งการยิงทดสอบครั้งนี้ประสบความสำเร็จด้วยดี โดยการยิงสกัดเป้าหมายซึ่งเป็นอาวุธปล่อยนำวิถีในระยะห่าง
๒๐ กิโลเมตร
อาวุธปล่อยนำวิถี VL MICA แต่ละลูกได้รับการบรรจุอยู่ในท่อยิงที่มีผนังสองชั้น มีการผนึกและปรับความ
กดอากาศ มีช่องสำหรับการระบายก๊าซร้อนออกทางด้านบนขณะทำการยิง ใต้ดาดฟ้าที่บรรจุลูกอาวุธปล่อยเป็นส่วนของ
ระบบควบคุมและจ่ายพลังงานไฟฟ้า และเชื่อมต่อเข้ากับชุดท่อยิงผ่านทางระบบจัดการด้านยุทธการ ซึ่งทำหน้าที่
ป้อนข้อมูลต่าง ๆ ให้แก่อาวุธปล่อย

ระบบ VL MICA บนเรือ Al Shamikh ประกอบด้วยอาวุธปล่อยนำวิถีจำนวน ๑๒ ลูก ซึ่งเชื่อมต่อเข้ากับเรดาร์
Thales Nederland TACTICOS CMS และ SMART – S Mk 2E/F – band 3D โดย CMS ทำหน้าที่ประเมินภัย
ที่เกิดขึ้น และสั่งการยิงผ่านทางแผงควบคุม โดยใช้ข้อมูลการพิสูจน์ทราบเป้าจากเรดาร์ติดตามเป้า 3D



นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 71

จากการแถลงของบริษัท BMDA การยิงทดสอบอาวุธปล่อยนำวิถี VL MICA เป้าหมายซึ่งบินในระดับต่ำได้ถูก

สกัดกั้นและทำลายอย่างสมบูรณ์ โดยเป็นการจำลองสถานการณ์ของการถูกยิงด้วยอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่พื้นซึ่ง
บินเรี่ยผิวน้ำเข้าสู่เรือ

เครือรัฐออสเตรเลีย
เรือยกพลขึ้นบกชั้น Canberra


































เรือยกพลขึ้นบกบรรทุกเฮลิคอปเตอร์มีอู่น้ำ (Landing Helicopter Dock : LHD) ของกองทัพเรือออสเตรเลีย
ชั้น Canberra ลำแรกจากจำนวนที่สั่งต่อ ๒ ลำ ได้รับการตรวจรับในท่าเรือ (Harbour Acceptance Test)
เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖

หลังจากการสิ้นสุดการตรวจรับในท่าเรือ มีการออกแล่นเรือทดสอบในทะเลเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ และ
กำหนดส่งมอบเรือในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ในช่วงเวลาเดียวกันนี้เรือลำที่ ๒ ซึ่งได้รับการตั้งชื่อว่า Adelaide
ต่อแล้วเสร็จที่อู่บริษัท Navantia เมือง Ferrol ทางภาคเหนือของสเปน ตัวเรือส่งออกจากสเปน
ด้วยเรือขนส่งขนาดหนักชื่อ Blue Marlin เมื่อต้นเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ กำหนดเดินทางถึงเมือง Williamtown
ประเทศออสเตรเลียต้นเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๗ เพื่อทำการต่อเรือส่วนที่เหลือจนแล้วเสร็จสมบูรณ์
เรือ Adelaide กำหนดส่งมอบให้แก่กองทัพเรือออสเตรเลีย ในช่วงไตรมาสที่ ๓ ของปี พ.ศ.๒๕๕๘ ลูกเรือ
จะได้รับการฝึกที่ศูนย์ของบริษัท BAE System ที่เมือง Mascot กรุง Sydney ซึ่งการฝึกมีการนำเอาเครื่องจำลอง
มาใช้เป็นหลัก โดยเน้นหลัก ๆ ไปที่การปฏิบัติการในทุกสาขาของเรือ LHD อาทิเช่น การอาวุธ การเดินเรือ การกล
และการป้องกันความเสียหาย เป็นต้น ในส่วนของเรือ Canberra ลูกเรือได้ผ่านการฝึกต่าง ๆ ไปกว่าร้อยละ ๖๐

ของหลักสูตร ในด้านการกลนั้น ระบบทั้งหมดได้รับการจำลองขึ้นเกือบทั้งหมด ทำให้ไม่มีความจำเป็นต้องลงฝึก
ในเรือจริง ซึ่งตามปกติเรือขนาดดังกล่าวนี้ฝ่ายช่างกลจำเป็นต้องรับการฝึกในเรือเป็นเวลาถึง ๑๘ เดือน แต่ด้วย
เครื่องจำลองช่วยลดเวลาลงเหลือเพียง ๙ เดือนเท่านั้นด้วยบรรยากาศการฝึกที่เสมือนจริง


72 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

โครงการเรือดำน้ำชั้น Collins




































ออสเตรเลียและสวีเดนได้เสร็จสิ้นในการทำข้อตกลงด้านทรัพย์สินทางปัญญา โดยฝ่ายหลังยินยอมให้ กองทัพเรือ
ออสเตรเลียใช้แบบของเรือดำน้ำชั้น Collins ในการต่อเรือ ซึ่งแถลงการณ์ดังกล่าวนี้มีขึ้นที่การประชุมทางทะเล
นานาชาติในแปซิฟิกประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖ (Pacific 2013 International Maritime Conference)
เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖

ข้อตกลงข้างต้นนี้นำไปสู่การต่อเรือดำน้ำใหม่ขึ้นทดแทนกองเรือดำน้ำชั้น Collins จำนวน ๖ ลำ ที่ประจำการ
อยู่ใน กองทัพเรือออสเตรเลียขณะนี้ โดยใช้แบบเรือดำน้ำ Collins ที่วิวัฒนาการขึ้นจากเดิมโดยไม่ต้องออกแบบเรือ
ขึ้นมาใหม่ทั้งหมด ทั้งนี้เรือที่ประจำการอยู่ในปัจจุบันจะครบกำหนดปลดระวางในปี พ.ศ.๒๕๖๘
ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ กระทรวงกลาโหมออสเตรเลียได้ออกสมุดปกขาวซึ่งมีข้อความตอนหนึ่งระบุให้ กองทัพเรือ
ออสเตรเลียทำโครงการต่อเรือดำน้ำแบบธรรมดาที่มีขีดความสามารถสูงจำนวน ๑๒ ลำ เพื่อเข้าประจำการ
ทดแทนเรือดำน้ำชั้น Collins ในการนี้รัฐบาลพรรค Liberal – National ที่ได้รับการเลือกตั้งใหม่ได้สัญญาที่จะให้
เริ่มโครงการนี้ในต้นปี พ.ศ.๒๕๕๘ เพื่อมิให้เกิดช่องว่างในขีดความสามารถในการปฏิบัติการของเรือดำน้ำ
ข้อตกลงจัดทำขึ้นในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ระหว่างองค์การจัดหาพัสดุ กระทรวงกลาโหมอออสเตรเลีย
(Australian Defence Material Organization) กับสำนักงานบริหารพัสดุ กระทรวงกลาโหมสวีเดน (Försvarets

Materelverk : FMV) เพื่อร่วมกันจัดทำโครงการจัดหาเรือดำน้ำในอนาคตของออสเตรเลียที่มีชื่อว่า Sea 1000
Future Submarine ซึ่งรวมถึงความช่วยเหลือทั้งด้านการปรนนิบัติบำรุง และการสนับสนุนอื่น ๆ ให้แก่กองเรือดำน้ำ
Collins อีกด้วย
จากแหล่งข่าวที่เชื่อถือได้กล่าวว่า ข้อตกลงทางด้านทรัพย์สินทางปัญญาฉบับนี้ยังเกี่ยวข้องกับประเด็นที่ตกค้าง
การหารือกันอยู่เดิม และยังยกเลิกข้อจำกัดบางประการในการใช้เรือดำน้ำชั้น Collins ที่ประจำการอยู่ในปัจจุบัน



นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 73

อนึ่งข้อหารือในครั้งนี้ยังเพิ่มความยุ่งยากมากขึ้น เมื่อบริษัท HDW เรียกร้องให้บริษัท Kockums ซึ่งเป็นเจ้าของ
แบบเรือ ให้ขจัดเงื่อนไขที่ต้องให้รัฐบาลสวีเดนต้องให้ความเห็นชอบก่อนทุกครั้ง ในการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาที่
เกี่ยวกับเรือดำน้ำชั้น Collins
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา มีการหารือกันที่กรุงซิดนีย์ ระหว่างผู้บริหารระดับสูงของออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร

และสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เพื่อหาแนวทางในการที่ทั้งสองประเทศหลังจะถ่ายทอด
ประสบการณ์ด้านการออกแบบและต่อเรือดำน้ำให้แก่ออสเตรเลีย ซึ่งในกรณีดังกล่าวนี้ นาย David Hatcher
ผู้อำนวยการภูมิภาค องค์การค้าและลงทุนด้านการป้องกันประเทศและความมั่นคงแห่งสหราชอาณาจักรกล่าวว่า
ประสบการณ์ของสหราชอาณาจักรในเรื่องเรือดำน้ำ ไม่ว่าจะมองในแง่มุมใด นับว่าสอดคล้องกับความต้องการของ
ออสเตรเลียมากกว่าของสหรัฐอเมริกา ซึ่งสหราชอาณาจักรมีความยินดีที่จะแบ่งปันความรู้นี้ให้กับประเทศที่อยู่ใน
บริบทเดียวกัน


สหราชอาณาจักร
การทำสัญญาผลิตอาวุธปล่อยนำวิถี Sea Ceptor




บริษัท BMDA ได้รับ

สัญญามูลค่า ๑๒,๘๐๐
ล้านบาท จากกระทรวง
กลาโหมสหราชอาณาจักร
ให้ทำการผลิตอาวุธ
ปล่อยนำวิถีป้องกันภัย
ทางอากาศแบบเป็นพื้นที่
แบบ Sea Ceptor ให้แก่

กองทัพเรือสหราชอาณาจักร
ซึ่งอาวุธดังกล่าวนี้มีพื้นฐาน
มาจากอาวุธปล่อยนำวิถี
ต่อสู้อากาศยานแบบ
รวมการ Common Anti – air Modular Missile (CAMM) โดยกำหนดให้นำมาใช้ในชุดแรกในปี พ.ศ.๒๕๕๙
กับเรือฟริเกต Type 23 เพื่อทดแทนกับอาวุธปล่อยนำวิถียิงทางดิ่งแบบ GWS 26 Mod 1 Seawolf ที่ใช้ประจำการ
อยู่ในปัจจุบัน อีกทั้งมีแผนนำไปติดตั้งกับเรือรุ่นใหม่ Type 26 Global Combat Ship ด้วยเช่นกัน
สัญญาที่ทำขึ้นครอบคลุมถึงการผลิตอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งอาวุธปล่อยนำวิถี Sea Ceptor
บนเรือ รวมทั้งอมภัณฑ์ CAMM อาวุธปล่อยนำวิถีดังกล่าวนี้มีระยะยิงไกลกว่า ๒๕ กิโลเมตร นำวิถีด้วยเรดาร์แบบ

Active และสามารถปรับแก้ขีปนะระหว่างช่วงกลางของการเดินทาง อาวุธปล่อยสามารถเข้าต่อตีหลายเป้าหมาย
พร้อม ๆ กันได้ในทุกสภาพอากาศ
บริษัท BMDA กล่าวว่าสายการผลิตที่เกิดขึ้นนี้ มีส่วนช่วยสนับสนุนสหราชอาณาจักรทั้งด้านความมั่นคง และ
ยังมีศักยภาพเหลือในการส่งออก โดยการประกอบขั้นสุดท้ายจะดำเนินการที่โรงงานเมือง Lostock ซึ่งมีการ
จ้างงานฝีมือด้านเทคโนโลยีชั้นสูงถึง ๒๕๐ อัตรา



74 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

สหพันธรัฐรัสเซีย
การนำเรือดำน้ำชั้น Yasen ลำแรกเข้าประจำการ



































บริษัท United Shipbuilding Coorporation (USC) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของรัสเซียแถลงข่าวปฏิเสธการมีปัญหา
ข้อขัดข้องกับโครงการต่อเรือดำน้ำโจมตีพลังงานปรมาณูลำแรกชั้น Yasen (Project 885M) ซึ่ง USC ยืนยันว่า
เรือดำน้ำชื่อ Severodvinsk ได้ขึ้นระวางประจำการในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ตามกำหนด
ตามเอกสารที่แจกจ่ายแก่สื่อมวลชน USC แถลงว่าการทดสอบเรือสิ้นสุดเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ก่อนที่
กองทัพเรือรัสเซียจะตกลงใจรับเรือดังกล่าว ซึ่งการทดสอบประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี เรือสามารถทำความเร็ว

และปฏิบัติตามข้อกำหนดได้อย่างครบถ้วน อนึ่งในวันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖ หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์เกี่ยวกับ
ทางทหารชื่อ Promyshlenny Kuryer (VPK) ได้รายงานว่า กองทัพเรือรัสเซียจะไม่นำเรือ Severodvinsk
ขึ้นระวางประจำการก่อนสิ้นปี พ.ศ.๒๕๕๖ นอกจากนั้น VPK ยังอ้างข้อมูลจากแหล่งข่าวระดับสูงใน กองทัพเรือรัสเซีย
ที่ไม่เปิดเผยนามว่า มีแรงเสียดทานสูงเกิดขึ้นระหว่างเพลาขับและแบริ่งที่รองรับเพลาเมื่อมีการเร่งความเร็วเรือ
ซึ่งปัญหานี้ตรวจพบจากการทดสอบเมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ และ กองทัพเรือรัสเซียต้องการ
เลื่อนกำหนดรับเรือออกไปจนถึงต้นปี พ.ศ.๒๕๕๗ หลังจากปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้รับการแก้ไขแล้ว
Severodvinsk เป็นลำแรกของเรือชั้น Yasen ที่มีแผนสั่งต่อขึ้นจำนวน ๖ ลำ โดยให้อู่ต่อเรือ Sevmash
Shipyard เป็นผู้ดำเนินการ เรือได้ทำการทดสอบยิงอาวุธปล่อยนำวิถีแบบร่อน 3M54 และ 3M14 Klub (SS – N
– 27 ‘Sizzler’) ต่อเป้าหมายในทะเลและบนฝั่งเมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๕ และยิงทดสอบอาวุธปล่อยนำวิถี 3M55 Oniks

(SS – N – 26 ‘Strobile’) ในปี พ.ศ.๒๕๕๖
เรือชั้น Yasen อีก ๒ ลำ คือ Kazan และ Novosibirsk กำลังอยู่ระหว่างต่อขึ้นที่อู่ Sevmash ในขณะนี้






นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 75

นานาสาระ








นาวาโทหญิง แสงแข โตษยานนท์
ดูก่อนกิน


ภัยร้ายจากเครื่องปรุงริมทาง





กระทะดำ ๆ


สังเกตไหมว่ากระทะในร้านอาหารตามสั่ง
มักเป็นกระทะที่ใช้จนดำปี๋ แต่มันไม่ใช่สีของกระทะ
หรอกที่ดำ มันเป็นสีของอาหารก้นกระทะที่ผ่านการผัด
การทอดมานานมากจนติดอยู่บนกระทะต่างหาก
เพราะร้านอาหาร ส่วนใหญ่มักจะไม่ล้างกระทะก่อน

ทำเมนูถัดไป บางร้านยังดีที่ใช้น้ำพอราด ๆ ให้หน่อย
ถ้าหนักกว่านั้นยังมีกลิ่นเหม็นไหม้ติดมาด้วย เราเลย
อยากให้เลือกร้านที่กระทะสะอาดสักนิด อาหารจะ
ได้รสชาติดีมากขึ้นและคุณเองก็ปลอดภัยอีกด้วย
ส่วนวิธีล้างกระทะให้ไม่เหลือรอยไหม้นั้นก็แสนจะง่าย
เพียงแค่นำเกลือมาโรยบนรอยไหม้ทิ้งไว้ ๓๐ นาที
ตะเกียบเก่า แล้วล้างตามปกติ แค่นี้กระทะก็จะใหม่ขึ้นแล้ว
หลายสมัย


เกือบจะแทบทุกร้านในไทยที่ใช้ตะเกียบเก่า ๆ
จะเปลี่ยนใหม่ทีก็นานเป็นปีเลยทีเดียว ลูกค้าอย่างเรา ๆ
เลยต้องทนใช้ตะเกียบเก่า ๆ ไป แต่คงไม่มีใครทันได้คิด
หรอกว่า ไอ้เจ้าตะเกียบเก่าเนี่ยมันมีเชื้อราสะสมอยู่
เป็นจำนวนมาก ยิ่งบางร้านจะล้างเฉพาะที่ลูกค้าใช้แล้ว

อันที่ไม่ใช้ก็ตั้งคาไว้แบบนั้น ถามหน่อยว่าเจอลม เจอฝุ่น
มาทั้งวันแล้วมันจะไม่มีเชื้อโรคเลยก็คงเป็นไปไม่ได้ ทางที่ดี
ควรเลือกร้านที่ใช้ตะเกียบแบบเป็นซองใช้แล้วทิ้ง ถ้าหาก
ต้องไปกินร้านที่ไม่มีจริง ควรล้างด้วยน้ำเปล่า หรือ
เช็ดด้วยผ้าสะอาด ๆ สักหน่อยก็จะดีมาก



76 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

พริกป่นเหม็นหืน น้ำปลาผสม


เราไปกินอาหารก็มักจะเจอกับเจ้าปัญหา หรือของแท้
พริกป่นเก่า เหม็นหืน อาจเลวร้ายจนถึงขั้นขึ้นรา น้ำปลาเป็นเครื่องปรุงรสที่ร้านอาหารแทบทุกร้าน
เพราะตามร้านมักจะซื้อมาทีละมาก ๆ แล้ว ต้องมี หลายคนอาจคิดว่าน้ำปลาคงไม่ต่างกันมากนัก
เก็บไว้นาน ๆ กินเข้าไปอาจจะไม่รู้สึกอะไร น้ำปลาแบบไหนก็คงเหมือนกัน แต่รู้หรือไม่ว่าน้ำปลา

รสชาติก็ไม่ต่างอะไรมากนัก แต่หากกินเข้าไป มันมีทั้งน้ำปลาแท้และน้ำปลาเทียม เราเลยสรรหาวิธี
มาก ๆ จนเกิดการสะสมในร่างกายอาจเสี่ยง ดูน้ำปลามาฝาก น้ำปลาแท้ต้องมีความใส คือตั้งทิ้งไว ้
ต่อการเป็นโรคมะเร็งตับได้ ถ้าหากคุณแม่ให้นมลูก นาน ๆ ก็ไม่ขุ่น สีก็ต้องมีสีน้ำตาลอ่อน ๆ ทิ้งไว้นานสีจะ
ยิ่งไม่ควรกินเพราะเป็นอันตรายต่อเด็กโดยตรง ไม่เปลี่ยน และต้องไม่มีเม็ดเกลือตกผลึก เพราะน้ำปลา
สำหรับวิธีที่ทำให้พริกป่นหอมขึ้นก็แสนจะง่าย ที่ดีจะถูกหมักจนเกลือตกผลึกแล้วกรองเอาเม็ดเกลือออก
เพียงนำพริกแห้งไปตากแดดให้แห้งก่อนที่จะ จึงไม่ควรตกผลึกอีก สำหรับผู้ที่แพ้ผงชูรส ควรเลือก
นำไปคั่ว และเมื่อตำพริกที่คั่วแล้วเสร็จให้เก็บไว้ แบบไม่เติมผงชูรส ซึ่งก็น่าจะมีปริมาณผงชูรสต่ำกว่า

ในขวดโหลปิดฝาให้สนิท แค่นี้ก็จะเก็บกลิ่นหอม เ พ ร า ะ ว่ า น้ ำ ป ล า
ของพริกได้นานขึ้น ธรรมชาติเองก็มีสารที่มี
โครงสร้างเหมือนผงชูรส
อยู่ในปริมาณหนึ่ง


















น้ำตาลทรายสดใหม่ น้ำส้มสายชู
สังเกตกันสักนิด
น้ำตาลทรายเป็นสารสร้างความหวานที่เชื่อว่า
คนกินก๋วยเตี๋ยวหรืออาหารที่ต้องใช้เครื่องปรุงจะต้องเติม ตามร้านอาหารมักจะใช้น้ำส้มสายชูปลอม
เราอาจเคยเห็นน้ำตาลทรายตามร้านอาหารมีเศษผง ในการทำอาหารหรือใส่ไว้ในพวงเครื่องปรุง วันนี้
อันไม่พึงประสงค์ปนอยู่ด้วย นั่นบ่งชี้ถึงอันตรายได้ เราเลยมาบอกวิธีการดูน้ำส้มสายชูง่าย ๆ เริ่มกันที่
เราไม่สามารถรู้ได้ว่าน้ำตาลทรายถูกปนเปื้อนไปด้วย การดมกลิ่นก่อนเลย หากดมกลิ่นดูแล้วกลิ่นไม่ฉุน
อะไรบ้าง และมีสารอะไรในน้ำตาลทรายนั้น ทางที่ดี แสดงว่าเป็นของปลอมหรือของผสม เพราะของแท้

หากต้องกินอาหารนอกบ้านให้สังเกตน้ำตาลทรายที่มี กลิ่นจะฉุนมาก ต่อกันด้วยการมองดูว่าน้ำส้ม
เม็ดน้ำตาลขาวสะอาด การเก็บรักษาน้ำตาลทราย ที่อยู่เหนือพริกขุ่นไหม แล้วพริกในน้ำส้มสายชูมี
ก็เพียงแค่นำใส่ขวดแก้วฝาเกลียวหรือฝาแก้วอัดให้แน่น เนื้อพริกซีดหรือเปื่อยยุ่ยไหม ถ้าใช่แสดงว่านั่นเป็น
กันมดและฝุ่นละอองไม่ให้เข้าไปในน้ำตาลทราย ของปลอม

ที่มา : แม่บ้าน. “ House Hold Hints” soawapa. ๕๓๒ , ก.ย. ๒๕๕๖


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 77

หนังสือน่าอ่าน




นาวาตรี ยงยุทธ มีชัย [email protected]



ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๗ นี้ ขอแนะนำ 6 หนังสือ “เหตุใดพม่าจึงต้องเผา
ฉบับ กรุงศรีอยุธยา” เป็นหนังสือแนวประวัติศาสตร์ กล่าวถึงมูลเหตุแห่งการเสียกรุง การแตกแยก
ซึ่งความสามัคคี การทรยศขายชาติ และในการสงครามของพม่า มีมูลเหตุผลสำคัญอย่างไร ถึงกับต้องเผาทำลาย
กรุงศรีอยุธยา ให้สิ้นซาก 6 หนังสือ “เรื่อง (ไม่)ลับ ฉบับวังหลวง” เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับภายในราชสำนัก ซึ่งดูจะเป็น
เรื่องลี้ลับและปกปิดสำหรับราษฎรทั่วไป น้อยคนนักที่จะได้รับรู้เรื่องราวความเป็นไปของเจ้านายในราชวงศ์จักรี
ซึ่งล้วนแล้วแต่มีอิทธิพลต่อการปกครองและการเปลี่ยนแปลงประเทศเป็นอย่างมาก 6 หนังสือ “จากนักวิทย์..
สู่ชีวิตทหารรับจ้าง” เป็นเรื่องราวของนิสิตทุน พสวท. ว่าที่ดอกเตอร์นักวิทยาศาสตร์ ที่มีแรงบันดาลใจและแนวคิด
การเปลี่ยนแปลงบางอย่าง โดยได้ลงมือกระทำเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น ตามแรงปรารถนา แม้จะพบกับ

อุปสรรคมากมาย แต่ด้วยแรงสนับสนุนจากทุกภาคส่วน ทำให้เขาได้เดินทางไปสู่จุดมุ่งหมายด้วยความสำเร็จในที่สุด


| เรื่องราวทางประวัติศาสตร์หลายร้อยปีที่ผ่านมา สยาม
ถูกชาติเพื่อนบ้านรุกราน เข้ามาปล้น ฆ่า แล้วเผา พลเมือง

ที่เหลือจากการถูกฆ่า ก็จะจับไปเป็นเชลยใช้แรงงานเยี่ยงทาส
ในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๓๑๐ พระเจ้าปดุงหรือ
พระเจ้ากรุงอังวะกษัตริย์พม่า ได้มีรับสั่งให้ปล้นตั้งแต่หัวเมืองและ
ไล่ไปจนถึงเกาะกรุงศรีอยุธยา เพื่อเก็บทรัพย์และจับเชลยไปกรุงอังวะ
พม่าซึ่งคราวยกทัพมารบกับสยามจึงดำเนินการเยี่ยงโจร โดย
ไม่ต้องการบ้านเมืองไว้เพื่อเป็นเกียรติยศเหมือนคราวแรก
การสงครามในครั้งนี้พม่าใช้เวลายาวนาน จึงเปรียบเสมือนการค้า

ที่ต้องลงทุนในเบื้องต้น และจะต้องมีผลกำไรในเบื้องปลาย
ด้วยวัตถุประสงค์ดังนี้ เมื่อปล้น ฆ่า จนหนำใจแล้ว พม่าจึงเผากรุงฯ
มูลเหตุแห่งการเสียกรุงฯ ทั้ง ๒ ครั้งก็เพราะสยามไม่สามัคคี มีคน
ขายชาติ ดังที่ปรากฏในพงศาวดาร
เหตุใดพม่าจึงต้องเผากรุงศรีอยุธยา หนังสือเล่มนี้ จะทำให้ผู้อ่านได้รับความรู้ทางประวัติศาสตร์


ลำจล ฮวบเจรญ. กรงเทพฯ, ชาติไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และในขณะเดียวกันก็มีผู้อ่าน


ดวงกมล พบลชซง, ๒๕๕๒. จำนวนมาก เกิดคำถามที่เหมือน ๆ กัน คือ เหตุใดเมื่อพม่ามา



๒๙๙ หน้า. ราคา ๒๓๙ บาท ปล้นทรัพย์แล้ว จับชาวสยามไปเป็นเชลยแล้ว เหตุใดจึงต้องเผา
เลขเรียกหนังสือ ๙๕๙.๓๐๓ ล๓๓๑ห กรุงศรีอยุธยาด้วย ทั้ง ๆ ที่เราไม่เคยไปรังแกพม่าเลย ซึ่งจะคลาย
ปริศนาจากเรื่องราวทั้งหมดได้จากในหนังสือเล่มนี้
78 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

| ความเปลี่ยนแปลงแห่งยุคสมัย มิอาจทำให้ความสนใจ
ของผู้คนที่มีต่อประวัติศาสตร์ราชวงศ์ลดน้อยถอยลงไป
กลับยิ่งทวีความสนใจใฝ่หาที่จะสืบค้นเรื่องราว ความเป็นไป
ของชนชั้นปกครอง ในยุคที่พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจ
สิทธิ์ขาดโดยสมบูรณ์ในพระราชอาณาจักรสยาม เรื่องราว

ในราชสำนักจึงเป็นเรื่องปกปิดสำหรับประชาชนทั่วไป ที่จะ
ได้ทราบเรื่องราวของเจ้านายในพระราชวงศ์ ซึ่งได้มีบทบาท
ต่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศเสมอมา ดังที่
ได้ปรากฏในพงศาวดาร หรือเรื่องเล่าลือต่าง ๆ จึงได้รับการ
กล่าวขานอยู่เสมอ จึงยากที่จะเชื่อใจว่าสิ่งใดเท็จสิ่งใดจริง

เรื่อง (ไม่) ลับ ฉบับวังหลวง หนังสือเล่มนี้ ได้เก็บเกี่ยวบางเรื่องราวในประวัติศาสตร์
คมกฤช บัวคำ (ใบลาน) . กรุงเทพฯ, ฐานบุ๊คส์, ของพระราชวงศ์จักรีมาเล่าเรียงให้ผู้อ่านได้ย้อนรำลึกถึง
ภาพเหตุการณ์แห่งอดีต ที่ส่งผลโดยตรงมาจนถึงยุคสมัย
๒๕๕๓. ๓๒๘ หน้า. ราคา ๒๒๕ บาท ปัจจุบัน เรื่องราวทางประวัติศาสตร์นี้ จึงเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้อ่าน
เลขเรียกหนังสือ ๙๕๙๓ ค๑๔๕ร สนใจ หลงใหลและพยายามติดตามเพื่อสืบค้นหา ข้อเท็จจริง
เพื่อให้ได้ข้อสรุปต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตอยู่เสมอ ๆ


| เรื่องราวการเดินทางของ จุฬา พิทยาภินันท์ นิสิตทุน

พสวท. ว่าที่ดอกเตอร์นักวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีแรงบันดาลใจ
ในการเปลี่ยนแปลงบางอย่างตามที่เขาได้คิดไว้ และได้ลงมือทำ
ด้วยการเดินหน้าผลักดันการตรวจสอบเครื่องมือ จีทีสองร้อย
ไปจนถึงการตัดสินใจออกนอกประเทศไปตายเอาดาบหน้า
ด้วยการเป็นทหารรับจ้างที่ประเทศฝรั่งเศส อันเป็นเส้นทาง
ที่มิอาจรู้ด้วยว่าจะได้มีโอกาสกลับมาประเทศไทยอีก แม้จะ
พบกับอุปสรรคมากมายด้วยวัยและประสบการณ์ทำให้ท้อแท้

แต่ก็มีผู้ที่คอยให้การสนับสนุน ช่วยประคับประคองให้ได้
ก้าวเดินหน้าต่อไปจนพบกับความสำเร็จในที่สุด
จากนักวิทย์... สู่ชีวิตทหารรับจ้าง หนังสือเล่มนี้ จะช่วยเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ผู้อ่าน
จุฬา พิทยาภินันท์. กรุงเทพฯ, โพสต์ พับลิชชิ่ง, ให้กล้าลงมือสร้างความเปลี่ยนแปลงด้วยตัวคุณเอง หรือ

๒๕๕๕. ๓๒๐หน้า. ราคา ๒๙๕ บาท อย่างน้อย ก็ควรให้การสนับสนุนช่วยเหลือส่งเสริมแก่ผู้ที่กล้า
เลขเรียกหนังสือ ๙๒๖ จ๖๗๘จ ลงมือทำ และด้วยแรงสนับสนุนคนละเล็กละน้อย อาจจะ
ทำให้ประเทศชาติได้พัฒนาก้าวหน้าต่อไปในอนาคต


...หนังสือน่าอ่าน ทั้ง ๓ เล่ม สามารถติดต่อขอยืมได้ที่ ห้องสมุดกลางกองทัพเรือ (อาคารราชนาวิกสภา) หมายเลข
โทรศัพท์ ๐ ๒๔๗๕ ๔๙๘๘ นอกจากนี้ กองห้องสมุด กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ยังได้จัดหาหนังสือที่น่าสนใจ
ไว้ให้บริการอีกเป็นจำนวนมาก โดยท่านสามารถสืบค้นได้ที่ www.navedu.navy.mi.th และติดต่อขอยืมได้ที่
ห้องสมุด พลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) อาคารสถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง กรมยุทธศึกษาทหารเรือ
หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๓๖




นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 79

ประทีปธรรม







กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ





























เรื่อง เบรกมือ


เบรกเป็นเครื่องมือสำหรับห้ามล้อรถยนต์ โดยทั่วไปมี ๒ ลักษณะ คือ

๑. เบรกหลัก หรือเบรกเท้า เป็นเบรกที่ใช้ขณะรถวิ่งแล้วต้องการให้รถหยุด
๒. เบรกสำรอง หรือเบรกมือ ใช้ขณะรถจอดอยู่กับที่เป็นส่วนใหญ่
ในการใช้เบรก โดยเฉพาะเบรกมือนั้น มีบางครั้งที่ผู้ขับขี่ขับรถไปโดยลืมปลดเบรกมือ บางรายกว่าจะรู้ตัว
รถก็วิ่งไปหลายกิโลเมตรแล้ว ทำให้ผ้าเบรกไหม้มีกลิ่นเหม็น สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง เกิดความสึกหรอ
ของเครื่องยนต์มากกว่าปกติ
ในการดำเนินชีวิตประจำวัน มีพฤติกรรมบางอย่างที่คล้ายการลืมปลดเบรกมือ นั่นคือ บางคนมีความ
กระตือรือร้นขยันออกกำลังกายทุกเช้าเย็นเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง ขณะเดียวกันก็สูบบุหรี่ ดื่มเหล้าหรือเที่ยวกลางคืน

ดึก ๆ ดื่น ๆ ไปด้วย เมื่อพฤติกรรมสวนทางกันเช่นนี้ จึงเป็นการยากที่จะให้สุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
ตามที่ต้องการได้ มิหนำซ้ำบางรายนอกจากสุขภาพจะไม่แข็งแรงแล้ว ยังอาจทำให้ร่างกายเสื่อมโทรมมากกว่าเดิมอีก
ทั้ง ๆ ที่ออกกำลังกายอยู่สม่ำเสมอ การกระทำอย่างนี้จึงไม่ต่างไปจากคนขับรถขณะที่เท้าเหยียบคันเร่งเพื่อให้รถวิ่ง
ไปข้างหน้า แต่มือก็ดึงเบรกมือขึ้นไว้ตลอดทาง ทำให้เครื่องยนต์สึกหรอเร็วกว่าปกติและชำรุดเสียหายในที่สุด
ผู้รักชีวิต เป็นห่วงสุขภาพแล้วหมั่นออกกำลังกาย นับว่าเป็นเรื่องดี น่ายกย่อง แต่อย่าลืมปลดเบรกมือด้วยการ
ลด ละ เลิกบุหรี่ สุรา ยาเสพติด ตลอดจนอบายมุขทุกชนิดเสียบ้าง เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องบั่นทอนสมรรถภาพ
ของร่างกายและจิตใจอย่างมาก จะบั่นทอนเกิดความเสียหายอย่างไร ขอให้นึกถึงตอนขับรถยนต์แล้วลืมปลดเบรกมือ
ก็จะทราบว่าเกิดความเสียหายเช่นเดียวกัน



80 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

ภาพกิจกรรม






































พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย ผบ.ทร. เป็นประธานในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน ณ ท้องพระโรง
พระราชวังเดิม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ เมื่อ ๓ ธ.ค.๕๖



































ผบ.ทร. เป็นประธานในพิธีประดับเครื่องหมายยศให้แก่นายทหารสัญญาบัตรที่ได้รับการเลื่อนยศเป็น ว่าที่ น.อ. และว่าที่ น.ท. วาระ ต.ค.๕๖
ณ ห้องเจ้าพระยา หอประชุม ทร. เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ เมื่อ ๑๑ ธ.ค.๕๖





นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 81

พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย ผบ.ทร. รับมอบใบประกาศเกียรติคุณในการ ผบ.ทร. และคณะ เดินทางไปตรวจเยี่ยมกำลังพล บก.นรข. เพื่อบำรุงขวัญ
จัดนิทรรศการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พร้อมรับฟังการบรรยายสรุปปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน โดยมี พล.ร.ต.อารักษ์
พระเจ้าอยู่หัว ซึ่งจัดขึ้นเมื่อ ๑๓ - ๒๐ ก.ค.๕๖ จาก พล.อ.วิเชียร ศิริสุนทร แก้วเอี่ยม ผบ.นรข. ให้การต้อนรับ ณ บก.นรข. อ.เมืองนครพนม จ.นครพนม
ผอ.ศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและความมั่นคง เมื่อ ๑๖ ธ.ค.๕๖
ศูนย์บัญชาการทางทหาร บก.ทท. ณ ห้องรับรอง บก.ทท.เมื่อ ๑๒ ธ.ค.๕๖



















ผบ.ทร. เป็นประธานประกอบพิธี “เกี่ยวข้าววันพ่อ” ประจำปี ๒๕๕๖ ผบ.ทร. เป็นประธานในพิธีเปิดแพรและเบิกพระเนตร พระรูป พลเรือเอก
ณ ศูนย์การเรียนรู้ทฤษฎีใหม่ ศฝท.ยศ.ทร. อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เมื่อ ๑๙ ธ.ค.๕๖ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
ณ ที่พักสงฆ์หาดทรายแดง อ.คลองใหญ่ จ.ตราด เมื่อ ๑๙ ธ.ค.๕๖






















ผบ.ทร. เป็นประธานในพิธีลงนามในสัญญาจัดซื้อแบบแปลนรายละเอียด และพัสดุ ผบ.ทร. เป็นประธานในพิธีวางพานพุ่มสักการะ พระบรมราชานุสาวรีย์
สำหรับการสร้างเรือตรวจการณ์ปืน (ตกป.) ตามโครงการจัดหา เรือตรวจการณ์ปืน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ประจำปี ๒๕๕๖ ณ บริเวณท่าเทียบเรือ บก.ทร.
และเป็นผู้ลงนาม ฝ่าย ทร.ร่วมกับ นายสัญชัย จงวิศาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร พระราชวังเดิม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ เมื่อ ๗ ธ.ค.๕๖
บริษัท มาร์ซัน จำกัด ณ ห้องรับรอง บก.ทร. พระราชวังเดิม เขตบางกอกใหญ่
กรุงเทพฯ เมื่อ ๒๐ ธ.ค.๕๖

82 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

พล.ร.อ.จักรชัย ภู่เจริญยศ ปธ.ที่ดิน ทร.และ รอง ผบ.ทร. ตรวจงาน รอง ผบ.ทร. ต้อนรับคณะเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการรวมใจไทยเป็นหนึ่ง ทร.
โครงการและตรวจที่ดิน ทร. พื้นที่ รพ.สมเด็จพระปิ่นเกล้า พร. เขตธนบุรี กรุงเทพฯ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ จำนวน ๔๐ คน ในโอกาสที่เข้าร่วมกิจกรรม ทัศนศึกษา นอกสถานที่
และพื้นที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า ฐท.กท. อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ ณ ห้องรับรอง อาคาร บก.ทร. วังนันทอุทยาน เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ
เมื่อ ๑๒ ธ.ค.๕๖ เมื่อ ๑๗ ธ.ค.๕๖





















รอง ผบ.ทร. เป็นประธานในงานแถลงข่าวโครงการรวมใจไทยเป็นหนึ่ง ทร. พล.ร.อ.ชัยวัฒน์ เอี่ยมสมุทร ปธ.คปษ.ทร. เป็นประธานในการมอบรางวัล
ประจำปี ๒๕๕๗ ณ ห้องชมชลธี หอประชุม ทร. เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ และให้โอวาทแก่กำลังพลที่เข้าร่วมวิ่งแข่งขันเพื่อสุขภาพ ครั้งที่ ๔ ณ ฐท.กท.
เมื่อ ๑๗ ธ.ค.๕๖ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ เมื่อ ๑๗ ธ.ค.๕๖






















พล.ร.อ.ไกรสร จันทร์สุวานิชย์ ผช.ผบ.ทร. เป็นประธานการประชุมรับทราบ พล.ร.อ.ทวีวุฒิ พงศ์พิพัฒน์ เสธ.ทร. เป็นประธานในพิธีมอบทุนการศึกษา
แนวทางการดำเนินการของกิจการปลดหนี้สิน ประจำปี งป.๕๗ ณ ห้องประชุม และประกาศนียบัตรบุตรข้าราชการและลูกจ้าง ทร. โครงการ “วัยรุ่นรอบรู้ธรรมะ”
บก.ทร. วังนันทอุทยาน ชั้น ๖ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ เมื่อ ๒๓ ธ.ค.๕๖ ครั้งที่ ๕ ประจำปี ๒๕๕๖ ณ ห้องอเนกประสงค์ อาคารนันทอุทยานสโมสร ชั้น ๒
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ เมื่อ ๓ ธ.ค.๕๖



นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 83

พล.ร.อ. ทวีวุฒิ พงศ์พิพัฒน์ เสธ.ทร. เป็นผู้แทน ผบ.ทร. รับการ พล.ร.อ.พิจารณ์ ธีรเนตร ผบ.กร. เป็นประธานเปิดกิจกรรมปล่อยเต่าทะเล
เยี่ยมคำนับจาก พล.ท.Dato’Seri Pangklima Haji Ahmad Hasbullah bin Haji คืนสู่ธรรมชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาส
Nohd Nawawi รอง ผบ.ทบ. มาเลเซีย ณ ห้องรับรองแขกชาวต่างประเทศ ขว.ทร. มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๖ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ โดยมี

บก.ทร. วังนันทอุทยาน เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ เมื่อ ๑๘ ธ.ค.๕๖ พล.ร.ต.ลือชัย รุดดิษฐ์ ผบ.สอ.รฝ. ประธานจัดงานฯ ให้การต้อนรับ
ณ บริเวณศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล สอ.รฝ. อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เมื่อ ๔ ธ.ค.๕๖


















ผบ.กร. เป็นประธานประดับเครื่องหมายยศให้แก่นายทหารสัญญาบัตร พล.ร.อ.พจนา เผือกผ่อง ปธ.คพท.ทร. พร้อมคณะฯ ร่วมกับนายกรีฑา
ที่ได้รับการเลื่อนยศสูงขึ้น ณ สโมสรสัญญาบัตร กร. อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี สพโชค รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน นายสยามรัฐ
เมื่อ ๖ ธ.ค.๕๖ สุทธานุกูล กรรมการผู้จัดการบริษัท เอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์ จำกัด
ร่วมพิธีเปิดศูนย์ฝึกปฏิบัติ รร.ทักษะพิพัฒน์ เพื่อสร้างพนักงานขับรถขนส่งคุณภาพ
ณ ศูนย์ฝึกปฏิบัติ รร.ทักษะพิพัฒน์ อ.บ้านหมอ จ.สระบุรี เมื่อ ๒ ธ.ค.๕๖




















พล.ร.ท.เริงฤทธิ์ บุญส่งประเสริฐ ผบ.ฐท.สส. เป็นประธานในพิธีเปิดการ พล.ร.ท.วีระพันธ์ สุขก้อน ผบ.ทรภ.๑ เป็นประธานในพิธีบำเพ็ญกุศล
แข่งขันกีฬาภายใน ฐท.สส. ประจำปี ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๑ ณ สนามฟุตบอล เพื่อถวายเป็นพระกุศลและถวายอภิสัมมานะสักการะแด่ สมเด็จพระญาณสังวร
ฐท.สส. อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เมื่อ ๑๑ ธ.ค.๕๖ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ณ ศาลาการเปรียญวัดสัตหีบ
อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เมื่อ ๒๙ พ.ย.๕๖

84 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

พล.ร.ท.ชุมพล วงศ์เวคิน ผบ.ทรภ.๒ ในฐานะ ผอ.ศรชล.เขต ๒ เป็นประธาน พล.ร.ท.ธราธร ขจิตสุวรรณ ผบ.ทรภ.๓ และ พล.อ.ธนพล บุณโยปัษฎัมภัมภ์
การประชุมศูนย์ประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ประธานมูลนิธิเพื่อสังคมไทย เป็นประธานร่วมในการจัดพิธีมอบพระพุทธรูป

เขต ๒ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ ณ โรงแรมพาวีเลี่ยน อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา ประจำห้องเรียน ในโครงการพุทธธรรมนำปัญญา ให้กับโรงเรียนต่าง ๆ ในพื้นที่
เมื่อ ๒๔ ธ.ค.๕๖ จ.ภูเก็ต และ จ.พังงา ณ วัดท่าเรือ อ.ถลาง จ.ภูเก็ต เมื่อ ๒๐ ธ.ค.๕๖



















พล.ร.ท.รุ่งศักดิ์ เสรีสวัสดิ์ ผบ.รร.นร. เป็นประธานเปิดกิจกรรมและมอบ พล.ร.ท.สนธยา น้อยฉายา ผบ.นย. ให้การต้อนรับ พล.ร.อ.ธนะศักดิ์
อุปกรณ์ทำความสะอาดใหญ่ Big Cleaning Day ณ ลานสวนสนาม รร.นร. ปฏิมาประกร ผบ.ทสส. เดินทางมาตรวจเยี่ยมบำรุงขวัญกำลังพล ฉก.นย.ทร.
จ.สมุทรปราการ เมื่อ ๑๖ ธ.ค.๕๖ ณ ค่ายจุฬาภรณ์ จ.นราธิวาส เมื่อ ๑๘ ธ.ค.๕๖























พล.ร.ท.สุริยะ พรสุริยะ จก.ยศ.ทร. เป็นประธานในพิธีประดับยศนายทหาร พล.ร.ท.พลเดช เจริญพูล จก.สพ.ทร. เป็นประธานในพิธีประดับ
สัญญาบัตร สังกัด ยศ.ทร. ที่ได้รับพระราชทานยศสูงขึ้น ณ ห้อง ๕๐๓ อาคาร เครื่องหมายยศ ให้แก่นายทหารสัญญาบัตร สังกัด สพ.ทร. ที่ได้รับการเลื่อนยศ
สรส.ยศ.ทร. อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม เมื่อ ๑๒ ธ.ค.๕๖ สูงขึ้น ณ บก.สพ.ทร. เขตบางนา กรุงเทพฯ เมื่อ ๑๒ ธ.ค.๕๖



นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 85

พล.ร.ท.ม.ล.อนุนพนันท์ นวรัตน์ จก.อร. และคณะฯ ร่วมตักบาตรทำบุญ พล.ร.ต.สุทธิชัย ชีพชล จก.สก.ทร. เป็นประธานในพิธีประดับยศ
ในกิจกรรม “ร้อยรวมดวงใจ เทิดไท้องค์ราชัน” เฉลิมพระเกียรติพระบาท นายทหารสัญญาบัตร สังกัด สก.ทร. ที่ได้รับการเลื่อนยศสูงขึ้น รวมจำนวน ๖ นาย
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ณ ห้องรับรอง สก.ทร. เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ เมื่อ ๔ ธ.ค.๕๖
๒๕๕๖ ณ หอประชุม ทร. เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ เมื่อ ๔ ธ.ค.๕๖





















พล.ร.ต.อธินาถ ปะจายะกฤตย์ จก.อล.ทร. เป็นประธานในพิธีประดับยศ พล.ร.ต.สุชีพ หวังไมตรี ผบ.กตอ.กร. ให้เกียรติบรรยายพิเศษในหัวข้อ












นายทหารสญญาบตร สงกด อล.ทร. ทไดรบการเลอนยศสงขน ณ หองประชม ๑ ความสำคัญของเทคโนโลยีทางทหาร ให้กับผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรยุทธวิธี



บก.อล.ทร. อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ เมื่อ ๔ ธ.ค.๕๖ เรือผิวน้ำ ณ ห้องวิจารณ์การฝึก กฝร. อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เมื่อ ๑๗ ธ.ค.๕๖










พล.ร.ต.ลือชัย รุดดิษฐ์ ผบ.สอ.รฝ. ร่วมเป็นเกียรติในพิธีสงฆ์วันคล้าย พล.ร.ต.ธานี ผุดผาด ผบ.กฝร. ให้เกียรติบรรยายพิเศษในหัวข้อ
วันสถาปนา ศฝ.สอ.รฝ. ณ หอประชุม ศฝ.สอ.รฝ. อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เมื่อ ๑๒ ประสบการณ์ ในการปฏิบัติราชการ ให้กับผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรยุทธวิธี
ธ.ค.๕๖ เรือผิวน้ำ ณ ห้องวิจารณ์การฝึก กฝร. อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เมื่อ ๑๘ ธ.ค.๕๖



86 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

พล.ร.ต.ปิติ วัลยะเพ็ชร์ จก.กพร.ทร. ผู้แทน ทร. ร่วมกับเอไอเอส พล.ร.ต.เจริญศักดิ์ มารัตนะ ผบ.ฐท.กท. เป็นประธานในพิธีประดับยศ ให้แก่
“จัดโครงการรวมใจ ร่วมต้านภัยหนาว” นำผ้าห่มกันหนาวมอบให้กับประชาชน นายทหารสัญญาบัตร สังกัด ฐท.กท. ที่ได้รับการเลื่อนยศสูงขึ้น ณ ห้องรับรอง
ผู้ประสบภัยหนาวในพื้นที่ อ.เชียงของ และ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย เมื่อ ๑๘ ชั้น ๓ ฐท.กท. เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ เมื่อ ๑๑ ธ.ค.๕๖
- ๑๙ ธ.ค.๕๖





















พล.ร.ต.ปัญญา เล็กบัว จก.สบ.ทร.และคณะ ร่วมแสดงความยินดีเนื่อง พล.ร.ต.พิเชฐ ตานะเศรษฐ จก.ขว.ทร. เป็นประธานพิธีประดับ
ในวันคล้ายวันสถาปนา สบ.ทอ. ประจำปี ๕๖ เมื่อ ๒๔ ธ.ค.๕๖ ณ ห้องโถง อาคาร ๑ เครื่องหมายยศ ให้กับนายทหารสัญญาบัตร สังกัด ขว.ทร. ที่ได้รับการเลื่อนยศสูงขึ้น
กปพ.สบ.ทอ. โดยมี จก.สบ.ทอ.และคณะให้การต้อนรับ ณ ห้องรับรองแขกชาวต่างประเทศ ขว.ทร.บก.ทร. วังนันทอุทยาน เขตบางกอกน้อย
กรุงเทพฯ เมื่อ ๔ ธ.ค.๕๖






















พล.ร.ต.ช่อฉัตร กระเทศ ผบ.วทร.ยศ.ทร และคณะฯ นักศึกษา วทร. พล.ร.ต.มิ่ง อิ่มวิทยา จก.วศ.ทร. และคณะนายทหารชั้นผู้ใหญ่ตรวจเยี่ยม
รุ่นที่ ๔๖ ได้เดินทางไป มอบทุนการศึกษา อุปกรณ์กีฬา ให้แก่ นักเรียน นรข. เขตนครพนม เพื่อติดตามและรับทราบปัญหา อุปสรรค ข้อขัดข้อง
รร.บ้านสบรวบ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย เมื่อ ๑๖ ธ.ค.๕๖ ในการสนับสนุนการส่งกำลังบำรุงสายวิทยาศาสตร์ และเยี่ยมชุดปฏิบัติงาน
ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ดับเพลิง ณ นรข. เขตนครพนม จ.นครพนม เมื่อ ๑๓ ธ.ค.๕๖


นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 87

พล.ร.ต.มนต์ชัย กาทอง จก.กรง.ฐท.สส. ร่วมประชุมกับวิทยาลัยเทคนิค พล.ร.ต.รัตนะ วงษาโรจน์ ผบ.พล.นย. เป็นประธานในพิธีเปิดการฝึก
สัตหีบ เพื่อแนะนำคณะกรรมการประสานความร่วมมือทางวิชาการ กรง.ฐท.สส. เป็นหน่วยกรมผสม ประจำปี งป.๕๗ เพื่อทบทวน และพัฒนาองค์ความรู้
ชุดใหม่ และสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ทางด้านการฝึกอบรม และวิจัย ด้านยุทธวิธีให้กับกำลังพลให้เกิดความชำนาญในการรบระดับกรมผสม
ณ ห้องประชุมวิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เมื่อ ๔ ธ.ค.๕๖ ณ พัน.ร.๗ กรม ร.๓ พล.นย. ค่ายมหาสุรสิงหนาท อ.เมืองระยอง จ.ระยอง
เมื่อ ๒๓ ธ.ค.๕๖




















พล.ร.ต.ชาติชาย ศรีวรขาน ผบ.กทบ.กร. เป็นประธานในพิธีบวงสรวง พล.ร.ต.สมภพ สุวิทยาลังการ ผบ.กบร.กร. ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ
พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และภาคเอกชนเข้าร่วมจัดกิจกรรมปลูกป่าชายหาดเฉลิมพระเกียรติ
และพระอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล ๕ ธันวามหาราช
เกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา กทบ.กร. ณ บริเวณพื้นที่ ปากคลองบางไผ่ อ.บ้านฉาง จ.ระยอง เมื่อ ๓ ธ.ค.๕๖
ณ บก.กทบ.กร. อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ เมื่อ ๑๒ ธ.ค.๕๖



















พล.ร.ต.สมประสงค์ นิลสมัย จก.ขส.ทร. เป็นประธานเปิดโครงการ พล.ร.ต.รัษฎางค์ ธีรเนตร ผบ.กฟก.๒ กร. เป็นประธานในพิธีบวงสรวง
“ตรวจสภาพรถยนต์ ก่อนเทศกาลปีใหม่” จำนวน ๒๔ รายการ ให้กับข้าราชการ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพร
และบุคคลทั่วไป โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพื่อเตรียมความพร้อมในการเดินทาง เขตอุดมศักดิ์ เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ ๑๙ ธันวาคม ณ ศาลเสด็จกรมหลวง
ณ ลานจอดรถ อาคารนันทอุทยานสโมสร ฐท.กท. เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ชุมพรเขตอุดมศักดิ์ อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ เมื่อ ๑๙ ธ.ค.๕๖
เมื่อ ๑๖ - ๒๐ ธ.ค.๕๖


88 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

พจนานุกรม




พลเรือเอก ไพศาล นภสินธุวงศศัพท์ชาวเรือ





model basin อ่างทดลองเรือ ที่ปลายเชือกนำ
monkey island ตำแหน่งใช้เดินเรือและติดตั้ง
เข็มทิศอยู่เหนือห้องถือท้ายหรือห้องแผนที่
monkey spars เสากลมขนาดเล็ก
ส่วน monkey drill เป็นคำสแลง หมายถึง การ

ฝึกพลศึกษามักเป็นการฝึกออกกำลัง
monsoon ลมมรสุมมอนซูน
เป็นลมมรสุมประจำฤดู เกิดขึ้นบริเวณละติจูด
เฉพาะในมหาสมุทรอินเดีย ทะเลจีนใต้และชายฝั่ง
แอฟริกาตะวันตก
ถังหรืออ่างขนาดใหญ่ ใช้สำหรับทดสอบแบบจำลอง moor ๑. ผูก ๒. จอดทอดสมอ
ของเรือ เพื่อประมาณความเร็ว กำลังงาน และ ๑. ผูกเรือเข้ากับท่าเทียบหรือ เข้ากับทุ่น
คุณสมบัติทั่ว ๆ ไปของเรือในทะเล ๒. จอดทอดสมอโดยใช้สมอสองตัว โดยปรับแต่ง
moderate speed ความเร็วปานกลาง ให้เรืออยู่กึ่งกลางระหว่างสมอทั้งสอง

ความเร็วสูงสุดที่อนุญาตให้เดินเรือในขณะมีหมอก mooring ๑. การผูกเรือ ๒. การทอดสมอเรือ
กำหนดไว้ในกฎการเดินเรือสากล เป็นความเร็วที่เรือ ๑. การผูกเรือให้มั่นคงกับท่าเทียบ หรือทุ่น
สามารถหยุดได้ในระยะครึ่งหนึ่งของทัศนวิสัย ๒. การทอดสมอสองตัวต่อเข้ากับโซ่เส้นเดียว
modification การปรับปรุง โดยใช้กุญแจกลสี่ขา (mooring swivel)
เมื่ออุปกรณ์ได้รับการเปลี่ยนแปลง เรียกว่า mooring buoy ๑. ทุ่นผูกเรือ ๒. ทุ่นทอดประจำท ี่
เครื่องมือนั้นได้รับการปรับปรุงแก้ไข การเปลี่ยนแปลง
ครั้งแรกเป็น Mod - 1

mole กำแพงกันคลื่น (sea wall)
โครงสร้างใกล้ฝั่งขนาดใหญ่ เป็นเนินดิน หรือการ
ก่ออิฐหรือหินก้อนใหญ่ใช้เป็นเขื่อนกันคลื่น (break
water) หรือเท่าเทียบ
monkey เล็ก/สั้น
ภาษาชาวเรือ monkey เมื่อเป็นคำอุปสรรค
(prefix) มีความหมายเล็กหรือสั้น เช่น ๑. ทุ่นกลมขนาดใหญ่ ยึดให้อยู่กับที่โดยใช้สมอ
monkey block รอกเดี่ยวขนาดเล็ก ที่มีน้ำหนักมากและแข็งแรงหลายตัว
monkey fist ดิ่งส่งเชือก ปมเชือกถ่วงน้ำหนัก ๒. ทุ่นทอดประจำที่จะมีหมายเลขกำกับและ




นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 89

แสดงเครื่องหมายไว้ที่แผนที่ท่าเรือ ปกติมักอยู่กึ่งกลาง motor torpedo boat เรือยนต์เร็วตอร์ปิโด
ของที่จอดเรือ
mooring line เชือกผูกเรือ
เชือกที่ใช้ผูกเรือกับท่าเทียบ

mop ใช้ถูพื้น
ไม้ยาวที่มีก้อนเส้นด้าย (สวบ) หรือผ้าที่ปลาย
มีประโยชน์มากสำหรับใช้งานในเรือ
morning call book สมุดปลุกตอนเช้า
สมุดจดสถานที่ของคนที่ต้องการให้ปลุกก่อน
แตรปลุก เช่น ต้นหน สหโภชน์
morning colors ธงขึ้นตอนเช้า เรือยนต์ขนาดใหญ่ความเร็วสูงมีตอร์ปิโดและปืน

การชักธงชาติ (ราชนาวี) ขึ้นที่ท้ายเรือและธงฉาน กลเป็นอาวุธ ปัจจุบันมักจะถูกแทนที่ด้วยการติดตั้ง
ขึ้นที่หัวเรือ เวลา ๐๘๐๐ ตรงตามเวลาท้องถิ่น ซึ่ง อาวุธปล่อยนำวิถี
เรือทุกลำที่จอดอยู่ในท่าเรือจะต้องปฏิบัติตรงกัน motor whaleboat เรือไว
ตามเรือที่อาวุโสที่สุดในขณะนั้น และมักชักธงบลูปีเตอร์
(P:papa) ขึ้นที่แขนพรวนเสาหน้าก่อน ๕ นาที ซึ่ง
ถือเป็นการระวังธง ส่วนธงลงตอนเย็น (evening
colors) เกิดขึ้น แต่ละวันเมื่อดวงอาทิตย์ตก
morning orders คำสั่งเช้า
ตารางปฏิบัติซึ่งติดประกาศในแต่ละวันบนเรือ

เป็นส่วนหนึ่งของตารางปฏิบัติประจำวัน
morning watch มอร์นิ่งวอตช์
ยามผลัดตั้งแต่เวลา ๐๔๐๐ – ๐๘๐๐ (กองทัพเรือ
สหรัฐฯ)
morse code รหัสมอร์ส เรือยนต์ดีเซลขนาดเล็ก หัวแหลมท้ายแหลม
รหัสสั้นและยาว (dots and dashes) ใช้ในการ บางครั้งถ้าผูกไว้ในสภาพพร้อมหย่อนจากเรือใหญ่เรียกว่า
สื่อสารทางวิทยุและทางทัศนสัญญาณ เรือช่วยชีวิต

mothball fleet กองเรือนอกประจำการ mount ๑. (gun) แท่นปืน ๒. เตรียมขึ้นสู่เรือ
เป็นคำสแลงเรียกบรรดาเรือนอกประจำการ ๑. ระบบส่วนสนับสนุนปืน กลไกสำหรับการหัน
แต่เก็บรักษาไว้ในสภาพดี อุปกรณ์ส่วนใหญ่ของเรือ และกระดก และกลไกปืนถอยและต้านปืนถอย
ถอดออกเก็บไว้ เรือเหล่านี้เมื่อมีจำนวนมากมักจอดเทียบ ๒. หน่วยทหารบกหรือนาวิกโยธินรวมพลจัด
รวมกัน ซึ่งเรียกกันว่า mothball fleet กองเรือ กำลังและเตรียมขึ้นสู่เรือ
นอกประจำการ mouring badge แถบไว้ทุกข์
motor launch เรือยนต์ แถบสีดำกว้างสามนิ้วติดที่แขนเสื้อด้านซ้ายของ
เรือยนต์แข็งแกร่งขนาดใหญ่ของเรือใหญ่ เสื้อนายทหารเป็นสัญลักษณ์ของการไว้ทุกข์
ใช้สำหรับขนส่งทหารกราบปล่อยและบรรทุกของ



90 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

สุขภาพนาว ีี





เรือตรีหญิง อาภาลัย เรืองศรี



การปฐมพยาบาลเพอลดไข้


ไข้ หมายถึง การที่อุณหภูมิของร่างกายสูงเกินกว่า
ระดับปกติ ในผู้ใหญ่สูงกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซียส

โดยวัดทางปาก ในเด็กเล็กสูงกว่า ๓๗.๘ องศาเซลเซียส
โดยการวัดทางทวารหนัก ในบางคนอาจมีอาการ
ผิวหนังร้อน หน้าแดง ปวดศีรษะ ปวดตามตัว เบื่ออาหาร
ไม่มีแรง หรือหนาวสั่นร่วมด้วย อ่อนเพลีย ซึม ในเด็ก
ที่อายุต่ำกว่า ๖ ปี อาจมีอาการชักได้ เมื่อมีไข้สูงหรือ
มีประวัติเคยชักมาก่อน
การวัดทางทวารหนัก มักใช้ในเด็กเล็กหรือทารก
แรกเกิด โดยใช้ปรอทสำหรับวัดทางทวารหนักเท่านั้น
ทาวาสลีนบริเวณกระเปาะ ใช้มือผู้วัดจับขาเด็ก

ทั้ง ๒ ข้างขึ้น สอดเข้าทวารหนักลึกประมาณ ๑ – ๒
เซนติเมตร วัดนาน ๑ – ๒ นาที






การใช้ปรอทวัดไข้
ก่อนวัดปรอททุกครั้ง ต้องสลัดปรอทให้อยู่ต่ำกว่า

๓๕ องศาเซลเซียส
การวัดทางปาก
อมปรอทไว้ใต้ลิ้น
ปิดปากสนิททิ้งไว้
เป็นเวลา ๑ – ๒
นาที ไม่ควรวัดหลัง
ดื่มน้ำร้อนหรือดื่ม การวัดทางรักแร้ การวัดทางรักแร้ กระเปาะปรอท
น้ำเย็นใหม่ ๆ ควร ต้องอยู่ด้านในบริเวณกลางรักแร้ วัดนาน ๓ – ๕ นาที
รออย่างน้อย ๑๕ ถ้าวัดทางรักแร้ค่าที่ได้จะน้อยกว่าความเป็นจริง

นาที จึงจะเริ่มวัด ต้องบวกเพิ่มอีก ๐.๕ องศาเซลเซียส



นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๖ เล่มที่ ๑๑ พฤศจิกายน 91 91
นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

การปฏิบัติตัวเมื่อมีไข้
๑. เช็ดตัวลดไข้ เพื่อเป็นการถ่ายเทความร้อน

ออกจากร่างกาย ถ้ามีอาการปวดศีรษะและหน้าผาก
วิธีการเช็ดตัวลดไข้
¥ เตรียมน้ำสำหรับเช็ดตัวไม่ควรใช้น้ำร้อนหรือ
เย็นจัดเช็ดตัว ให้ใช้น้ำประปาธรรมดา
¥ ควรเตรียมผ้าอย่างน้อย ๒ ผืน
¥ ใช้ผ้าชุบน้ำบิดหมาด ๆ เช็ดบริเวณใบหน้าให้ทั่ว
วางพักบริเวณคอ เปลี่ยนผ้าถูตัวชุบน้ำบ่อย ๆ เช็ดซ้ำ ๆ

๓ – ๔ ครั้ง เพราะบริเวณคอเป็นที่รวมของหลอดเลือด
และความร้อน ช่วยให้ความร้อนถ่ายเทได้ดี ถ้ามี
อาการหนาวสั่นควรหยุดเช็ดตัว
¥ ในเด็กโต ควรวางกระเป๋าน้ำแข็งบริเวณศีรษะ ๓. ให้ดื่มน้ำมาก ๆ ประมาณ ๒,๕๐๐ – ๓,๐๐๐
เพื่อให้เกิดความสบายและลดความร้อน มิลลิลิตรต่อวัน ยกเว้นในรายที่เป็นโรคไต โรคหัวใจ
¥ ใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดบริเวณอก พักไว้สักครู่ แล้วเปลี่ยน ๔. ให้นอนพักมาก ๆ ในห้องที่มีอุณหภูมิไม่สูง
ผ้าใหม่ เพื่อให้ความร้อนถ่ายเทได้ดี อากาศถ่ายเทได้สะดวกและอากาศบริสุทธิ์ เพื่อให้
¥ ใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดแขนทีละข้าง โดยลูบจากปลายแขน ร่างกายได้พักผ่อนลดกิจกรรมในการใช้พลังงานลง
เข้าหาหัวใจ พักผ้าบริเวณข้อพับ รักแร้ สักครู่ ทำซ้ำ เป็นการลดการใช้ออกซิเจน และลดการเผาผลาญ

๒ – ๓ ครั้ง อาหารของร่างกาย
¥ เช็ดบริเวณขาทีละข้าง โดยเช็ดจากปลายขาเข้าหา ๕. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ต่อร่างกาย
หัวใจ พักผ้าบริเวณข้อพับใต้เข่า ฝ่าเท้า ขาหนีบ ย่อยง่ายและให้พลังงานสูง เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก เป็นต้น
ทำซ้ำ ๆ ๒ – ๓ ครั้ง ๖. สังเกตความผิดปกติ เช่น อาการหนาวสั่น
¥ เช็ดตัวบริเวณด้านหลัง โดยให้ตะแคงตัว เริ่มเช็ด อาการเพ้อ ชัก เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทัน
จากบริเวณต้นคอเข้าหาหัวใจ แล้วเช็ดตัวให้แห้ง
ใส่เสื้อผ้าที่ไม่หนา ที่มา : กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
กรุงเทพมหานคร
¥ ประเมินหลังจากเช็ดตัว ๓๐ นาที วัดอุณหภูมิ
ของร่างกายว่าลดลงหรือไม่ ถ้าไม่ลดลง ควรพิจารณา
พบแพทย์
๒. ให้ยาลดไข้ตามความเหมาะสม เช่น ในเด็ก
ให้ยาพาราเซตามอลน้ำเชื่อมขนาดตามอายุของเด็ก
(๑๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม) ผู้ใหญ่ให้ยาพาราเซตามอล
ชนิดเม็ด (๕๐๐ มิลลิกรัม) ๑ – ๒ เม็ด ห่างกันทุก
๔ ชั่วโมง หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีส่วนผสมของ
แอสไพริน เพราะจะทำให้เกิดผลข้างเคียง และ

โรคแทรกซ้อนจากยาได้


92 92 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

สารพัน





สาระเพลง
สีแสด
[email protected]



มาสร้างความสุขด้วยการร้องเพลงกันเถอะ (๕)




ฉบับนี้เห็นทีจะต้องขอจบเรื่องการร้องเพลง การหายใจและกังวานเสียง การหายใจมีความสำคัญ

ด้วยการสรุปหลักการ และตอบคำถามของท่านผู้อ่าน มากต่อการร้องเพลง ถ้าหายใจไม่ถูกต้องก็จะทำให้
ที่ว่าจะลดความตื่นเต้นประหม่าในการร้องเพลง ปริมาณลมไม่พอเพียงในการประคองเสียงร้องให้สั้นยาว
ได้อย่างไร ? แล้วละครับ ตามวรรคตอนของเพลง ส่งผลเสียต่อคุณภาพเสียงและ
หลักสำคัญที่นักร้องทั่วไปถือปฏิบัติเพื่อให้การ การถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของเพลง การหายใจ
ร้องเพลงเกิดความไพเราะน่าฟังนั้น ได้แก่ เสียงร้อง ในการร้องเพลง ต่างกับการหายใจเข้าออกปกติในชีวิต
ที่กังวาน สดใส ทำนองร้อง/จังหวะ และอักขระวิธี ประจำวันตรงที่ในการร้องเพลงต้องหายใจลึกกว่า
ที่ถูกต้อง รวมถึงการสื่อสารอารมณ์ความรู้สึกของเพลง เพราะต้องใช้ปริมาณลมมากกว่า
ได้เหมาะสมตามเจตนารมณ์ของผู้ประพันธ์เพลง โพรงจมูก ช่องปาก/คอ และช่องอกเป็นส่วนสำคัญ
จึงขอสรุปสาระสำคัญย่อ ๆ ทั้ง ๔ หัวข้อดังนี้ครับ ในการขยายเสียงให้มีความก้องกังวาน ถ้าเรารู้จักใช้

เสียงร้องที่กังวาน สดใส ก่อนจะเริ่มร้องเพลง ความก้องกังวานของเสียงให้ถูกต้องก็จะทำให้เพลง
ต้องมีท่าทางการยืนที่ถูกต้อง ยืนตัวตรง ยกอก มีความไพเราะน่าฟังมากขึ้น การสร้างความกังวาน
ปล่อยหัวไหล่และแขนไปตามสบายตามแนวลำตัว ของเสียงทำได้ไม่ยาก เพียงแต่เราต้องฝึกฝนและมีสมาธิ
ไม่เกร็ง วางขาทั้งสองข้างเป็นรูปตัว V ห่างกันประมาณ ในการส่งลมและเสียงไปยังตำแหน่งที่ทำให้เกิดเสียงกังวาน
ความกว้างของหัวไหล่ การทิ้งน้ำหนักลงที่กลางเท้า ตามที่เราต้องการ คือโพรงจมูก ช่องปาก/คอ หรือ
ทั้งสอง จะทำให้ยืนได้อย่างมั่นคงและสมดุล ส่งผลให้ ช่องอก ซึ่งแต่ละที่จะสร้างความกังวานของเสียงต่างกัน
เคลื่อนไหวร่างกายและอวัยวะต่าง ๆ ได้คล่องตัว แต่ถ้าร่างกายและอวัยวะต่าง ๆ ที่ใช้ในการร้องของเรา

ขณะเปล่งเสียงร้อง พยายามผ่อนคลาย กล้ามเนื้อคอ ไม่ผ่อนคลาย และการหายใจของเราก็ไม่ถูกต้อง
ลิ้น ปาก และขากรรไกร เพราะการเกร็งจะทำให้ ความกังวานของเสียงจะเกิดยาก
เสียงร้องขาดความไพเราะ ไม่น่าฟัง ควรเปิดคอให้กว้าง ทำนองร้อง/จังหวะ การจะร้องทำนองและจังหวะ
พอประมาณ วางลิ้นให้ราบแนบฐาน เปิดปากพร้อม ๆ ให้ถูกต้องนั้นเป็นสิ่งที่ต้องมีการฝึกฝน ซึ่งสามารถฝึกได้
กับยกขากรรไกรบน ด้วยการยกแก้มขึ้นเล็กน้อย จากการฟังนักร้องต้นแบบ หรือฝึกด้วยการเล่นเปียโน
คล้าย ๆ กับการยิ้มเล็ก ๆ ทิ้งขากรรไกรล่างลง จะช่วย แล้วร้องตาม ขณะร้องให้นึกถึงทำนองและจังหวะในใจ
ทำให้เนื้อเสียงที่เปล่งออกมามีความกลมกล่อมและ ล่วงหน้าแล้วบรรจงออกเสียงอย่างนุ่มนวล โดยไม่เค้น
นุ่มนวลน่าฟัง ไม่แบนหรือบาง คุณภาพของเสียงร้อง หรือกระแทก ขณะเดียวกันก็วางลิ้นให้ราบไม่กระดก
จะดีได้ต้องพยายามรักษาตำแหน่งของอวัยวะการ ไปปิดช่องคอ เพียงเท่านี้ก็จะช่วยให้ท่านร้องตรงเสียง
และ
ออกเสียงให้เปิดกว้างและผ่อนคลายตลอดเวลาครับ โปร่งใสได้ ส่วนเรื่อง อักขระวิธี มี ๔ เรื่องใหญ่ ๆ



นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 93

ที่ควรเอาใจใส่ คือ การออกเสียงสระ พยัญชนะ กล้ามเนื้อร่างกายหลายส่วน การพักผ่อนอย่างเพียงพอ
เสียงวรรณยุกต์ และการร้องออกเสียงต่อเนื่องกัน การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และการรับประทาน
การตีความเพลง ผู้ร้องควรจะพิจารณาเนื้อหา อาหารที่ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ จะทำให้ร่างกายเรา

สาระของเพลง ความเป็นมาและจุดประสงค์ของผู้แต่ง แข็งแรงสมบูรณ์ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
ว่าต้องการสื่ออารมณ์ความรู้สึกและความหมายอะไร และการสูบบุหรี่ การตะโกนหรือร้องเพลงเสียงดังเกินไป
ให้เข้าใจก่อนขับร้อง การแบ่งวรรคตอน/ประโยคเพลง อาจทำให้เส้นเสียงอักเสบและเสียหายได้ ก่อนร้องเพลง
การขึ้นลงของทำนองเพลง คำหนักคำเบาเป็นอย่างไร ไม่ควรรับประทานอาหารอิ่มเกินไป และควรดื่มน้ำ
และจะเลือกใช้เทคนิค การร้อง น้ำเสียง และลีลา ให้พอเพียง
อย่างไรให้เหมาะสมกับเนื้อหาความหมายของเพลง ทั้งหมดนั้นเป็นสรุปย่อ ๆ ที่ผมได้นำเสนอทั้ง
นอกจากหลักการร้องเพลงทั้ง ๔ ข้อแล้ว ผมยังได้ ๔ ตอนครับ รายละเอียดสามารถย้อนกลับไปอ่าน

นำเสนอเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ดังนี้ครับ ในแต่ละตอนได้ สิ่งที่ผมอยากเน้นย้ำก็คือ นักร้องเป็น
การเลือกเพลง ควรเลือกเพลงให้เหมาะสมกับ สื่อกลางระหว่างผู้ประพันธ์เพลงและผู้ฟัง นักร้อง
ตัวเอง ดูว่าเราชอบร้องเพลงสไตล์ไหน เสียงเราเป็น ที่เข้าใจความหมายของบทเพลง การเปล่งเสียงคำร้อง
อย่างไร เสียงต่ำหรือเสียงสูง เพลงไทยหรือเพลงสากล ที่ชัดถ้อยชัดคำและทำนองที่ถูกต้อง รวมถึงลีลาที่เหมาะสม
และ จะใช้ร้องในงานอะไร เป็นต้น จะทำให้การสื่อสารอารมณ์ความรู้สึก และเนื้อหาที่
ลีลา ท่าทาง การร้องเพลงต่อหน้าผู้ฟังต้องดูดี ผู้ประพันธ์เพลงบรรจงสร้างสรรค์ได้ส่งถึงผู้ฟังอย่าง
และสง่างาม ศีรษะตั้งตรง ยืดอก ไม่ห่อไหล่ ถ้าลักษณะ ครบถ้วนสมบูรณ์ ที่สำคัญคือ ร้องด้วยใจ จิตนาการ
การยืนหรือการเคลื่อนไหวของเราผิดที่ผิดทางจะทำให้ และความรู้สึก บทเพลงไม่ว่าจะดีเลิศอย่างไร หากคน
เสียงเพลงลดความไพเราะลง การเคลื่อนไหวร่างกาย ร้องไม่ดี เพลงที่ว่าดีจะลดคุณค่าลงทันทีครับ

ระหว่างการร้องเพลงนั้นทำพองาม ไม่ควรมากเกินไป สำหรับคำตอบที่ว่าจะลดความตื่นเต้นประหม่า
อาจใช้มือและแขนเพื่อย้ำอารมณ์เพลงให้ดูเป็นธรรมชาติ ในการร้องเพลงได้อย่างไรนั้น ผมเชื่อว่าการฝึกฝนเยอะ ๆ
จะช่วยทำให้การสื่ออารมณ์ความรู้สึกของเพลงมี และการได้ออกเวทีบ่อย ๆ จะทำให้เราลดความตื่นเต้น
อรรถรสขึ้น ประหม่าลงได้ เพราะว่าความรู้ความเข้าในบทเพลง
การใช้ไมโครโฟน ไมโครโฟนเป็นอุปกรณ์ที่ช่วย ที่เกิดจากการฝึกฝนจะทำให้เราเกิดความชำนาญและ
ในการขยายเสียงร้อง ปรับความถี่เสียงบางช่วง และ มั่นใจในการควบคุมเสียงร้อง การจดจำทำนองเพลง
เพิ่มความกังวานของเสียงให้เหมาะสมกับห้องที่แสดง และเนื้อร้องได้ดีขึ้น ยิ่งได้มีโอกาสได้ร้องต่อหน้า

ดนตรี แต่ไม่ช่วยเปลี่ยนคุณภาพเสียงของนักร้องให้ดีขึ้น ผู้คนบ่อย ๆ ยิ่งจะทำให้คุ้นเคยกับการร้องเพลงในที่
การฝึกเทคนิคการร้องเพลงเพื่อให้ร้องเพลงได้ไพเราะ สาธารณะมากขึ้น และถ้าได้เห็นรอยยิ้ม ความสุข และ
เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องฝึกฝนและเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ เสียงปรบมือของผู้ฟังที่ให้กำลังใจ และ ชื่นชมเพลง
และต่อเนื่อง การถือไมโครโฟน ให้จับหลวม ๆ ใต้ส่วน ของเรา ก็ยิ่งจะทำให้เรามีกำลังใจ และมีความมั่นใจ
ที่รับเสียง ไม่กำตรงส่วนที่รับเสียง และ ควรเอียงให้ได้ ในการร้องเพลงมากขึ้น... แทบไม่อยากวางไมค์เลย
มุมองศาที่รับเสียงพอดี ร้องเบาให้ใกล้ไมค์ ร้องดังห่างไมค์ อย่างไรก็ดี การตื่นเต้นประหม่าเป็นธรรมดาของนักร้อง
และ ที่สำคัญไม่ควรหันไมค์ไปทางลำโพงขณะไมค์เปิด มากน้อยต่างกันไป ก่อนจะร้องเพลงแต่ละครั้ง การหายใจ
เพราะจะทำให้เสียงหวีดหอน ซึ่งจะทำลายประสาทหู ลึก ๆ กับการมีสมาธิอยู่กับเพลงและสิ่งที่ต้องการจะพูด
และทำให้ลำโพงเสียหายได้ จะบอกผู้ฟัง จะช่วยให้เราถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึก

การดูแลสุขภาพ สุขภาพร่างกายที่ดีจะทำให้มี ของเพลงได้เป็นธรรมชาติขึ้น และจะช่วยให้เราลืม
สุขภาพเสียงที่ดีด้วย เพราะการร้องเพลงต้องใช้ ความตื่นเต้น และลดความประหม่าลงได้ครับ


94 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

การฌาปนกิจ



สงเคราะห์แห่งราชนาวี




























รายชื่อสมาชิกการฌาปนกิจสงเคราะห์แห่งราชนาวี ที่ถึงแก่อนิจกรรมและถึงแก่กรรม
จำนวน ๔๒ ศพ ศพที่ ๑๕๐๑๘ - ๑๕๐๕๙













































นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 95

นาวิกศาสตร์ในนามของกองทัพเรือขอแสดงความอาลัยในมรณกรรมของสมาชิกที่กล่าวนามเป็นอย่างยิ่ง











96 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

การฌาปนกิจ



สงเคราะห์แห่งราชนาวี




























รายชื่อสมาชิกการฌาปนกิจสงเคราะห์แห่งราชนาวี ที่ถึงแก่อนิจกรรมและถึงแก่กรรม
จำนวน ๔๒ ศพ ศพที่ ๑๕๐๑๘ - ๑๕๐๕๙













































นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ 95

นาวิกศาสตร์ในนามของกองทัพเรือขอแสดงความอาลัยในมรณกรรมของสมาชิกที่กล่าวนามเป็นอย่างยิ่ง











96 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗


Click to View FlipBook Version