The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัยรวม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siri.b2522, 2022-12-04 23:27:27

หลักสูตรปฐมวัยรวม

หลักสูตรปฐมวัยรวม

ประกาศโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ )
เร่ือง ให้ใช้หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๕

ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
---------------------------------------------------------

โรงเรยี นพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกุล) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชงิ เทรา เขต ๑
ได้ดำเนินการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พทุ ธศกั ราช
๒๕๖๓ ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และเอกสารประกอบหลักสูตรข้นึ
เพอ่ื กำหนดใชเ้ ปน็ กรอบและทศิ ทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ )

โดยโรงเรยี นไดจ้ ัดทำและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคดิ หลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กำหนดมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนมีพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม
สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ังเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การ
ประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรยี นรู้
และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ

ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกุล) ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เม่ือวันท่ี ๒๒ เดือน เมษายน พ.ศ.๒๕๖๕ จึงประกาศใหใ้ ช้หลกั สูตรโรงเรยี นต้ังแต่
บัดนี้เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ เดอื น เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕

นายสมาน พัดทอง นางสิริกร บุญทัน
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้อำนวยการโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ )

โรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) โรงเรยี นพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ )

ค หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศกั ราช 256๕


คำนำ

ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐
เร่ือง ให้ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยนำหลักสูตรน้ีไปใช้ และปรับปรุงให้เหมาะสม
กบั เด็กและสภาพทอ้ งถนิ่ โรงเรยี นพระพมิ ลเสนี(พร้อม หงสกุล) จึงจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย
พุทธศักราช 256๕ โดยจัดการศึกษาระดับปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560
ปรับปรุงให้เหมาะสมกบั เด็ก สภาพทอ้ งถนิ่ สภาพสถาณการณ์ปจั จุบนั เพ่ือที่กำหนดเปา้ หมายในการพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั ให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคม และสติปัญญา ให้เป็นคนดีมีวินัย มีสำนึกความเป็น
ไทย และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อครอบครัว ต่อชุมชน ต่อสังคม และประเทศชาติในอนาคตอย่างมี
ประสิทธิภาพ และได้มาตรฐานตามจุดหมายหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ที่มีนโยบายให้มี
การพัฒนาการศึกษาปฐมวัยอย่างจรงิ และตอ่ เนอื่ ง เพ่ือสถานศกึ ษานำมาใชเ้ ป็นกรอบและทศิ ทางในการพัฒนา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และได้มาตรฐานตามจุดหมายหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
2560 ท่ีกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติในอนาคต

โรงเรยี นพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกุล) สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชงิ เทรา
เขต 1 ขอขอบพระคุณผทู้ ่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกทา่ น ภาคเครือข่ายทุกภาคส่วน รวมทง้ั คณะกรรมการสถานศกึ ษา
ขน้ั พนื้ ฐานโรงเรยี นพระพิมลเสนี(พรอ้ ม หงสกลุ ) ทม่ี ีสว่ นร่วมในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช 2565 ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 ให้มคี วามเหมาะสมต่อการนำไปใช้
จดั การศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรยี นต่อไป

โรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ )
ผ้จู ัดทำ

ก หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกุล) ระดับปฐมวยั พุทธศกั ราช 2565


สารบัญ หน้า

สว่ นที่ ข
คำนำ ค
สารบัญ 1
ประกาศโรงเรียนเร่ืองใหใ้ ช้หลักสูตร 2
ความนำ 3
ปรัชญา วสิ ัยทัศน์ หลกั การ หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั 5
แนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวยั 5
ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยโรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) 5
วิสัยทัศน์การศึกษาปฐมวัยโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) 6
พันธกจิ การศึกษาปฐมวัยโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พร้อม หงสกุล) 6
เป้าหมายการศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกุล) 7
จุดหมาย 8
พฒั นาการเด็กปฐมวัย 17
มาตรฐานลักษณะที่พึงประสงค์ 24
การจัดเวลาเรยี น / ระยะเวลาเรียน 27
การกำหนดเวลาจดั กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ตารางกำหนดหนว่ ยการจัดประสบการณ์ 29

การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ 30

สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ 38

การประเมนิ พัฒนาการ 56

การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวยั 58
59
การกำกบั ติดตาม ประเมนิ และรายงาน
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

ข หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดับปฐมวัย พุทธศกั ราช 2565


ความนำ

โรงเรียนพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ไดจ้ ัดการเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ในระดบั ปฐมวัยแบบคละ
ชัน้ เรียน ประกาศใช้หลักสูตรสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั พุทธศักราช 2556 โดยปรับปรุงให้เหมาะสมกับเด็กและสภาพ
ทอ้ งถิ่นตง้ั แตป่ ีการศกึ ษา 2556 เปน็ ต้นมาจนถงึ ปจั จบุ นั จากการใช้หลักสตู รสถานระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช 2556
โดยจัดให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 มาอย่างต่อเนื่องพบว่า หลักสูตรมีจุดดี คือเป็น
หลักสูตรที่มีความยืดหยุ่นตามบริบทของโรงเรียน แต่เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม
และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบกับรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ รวมท้ัง
กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (พ.ศ.๒๕๖๔ -๒๕๗๐)
นำไปสู่การกำหนดทักษะสำคัญสำหรับเด็กในศตวรรษท่ี ๒๑ ที่มีความสำคัญในการกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยให้มีความสอดคล้องและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทุกด้าน เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงในยุค
ปัจจุบัน และเพ่ือให้สอดคล้องหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ท่ีกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
ในอนาคต

โรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกุล) ได้ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้มีความสอดคล้องกับค่านิยมหลักของไทย
12 ประการ สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทักษะชีวิต (ระบบดูแลช่วยเหลอื ของโรงเรยี น) หลักคณุ ธรรม
ทักษะEF กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบลงมือทำ (Active Learning) ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และบูรณาการสอดคล้องกับ
หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ควบคู่กบั ระบบดูแลช่วยเหลือของโรงเรียนบูรณาการเข้าไว้ในหน่วยการเรียนรู้ต่าง ๆ จัดการ
เสริมประสบการณ์การเรียนรู้ของโรงเรียนควบคู่กับการจัดการเสริมประสบการณ์ในระบบการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม ( DLTV ) เพื่อให้สอดคล้องและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทุกด้าน ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
2560 ที่ได้มีนำมาใช้เป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยโรงเรียนพระพิมลเสนี
(พร้อม หงสกุล) พุทธศักราช ๒๕๖๕ อย่างมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานตามจุดหมายหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

สบื เนอื่ งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 ( โควิด - 19 ) ตงั้ แตป่ ีการศึกษา
๒๕๖๓ ถงึ ปีการศึกษา 256๕ ดังน้นั ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้จงึ จัดตามแนวทางของ
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ดำเนนิ การพัฒนาเด็กโดยยึดผู้เรยี นเปน็ สำคญั พฒั นา และส่งเสริมเด็กให้
มีพัฒนาดา้ นร่างกาย พัฒนาด้านอารมณ์-จิตใจ พัฒนาด้านสงั คม พฒั นาด้านสติปัญญา โดยการจดั ประสบการณ์การ
เรยี นรู้เป็นไป โดยปฏบิ ตั ิตามเกณฑ์การเปดิ เรยี นของคณะกรรมการการโรคติดต่อจังหวดั ฉะเชิงเทรา โรงเรยี นได้
ดำเนนิ การจัดทำแผนเผชิญเหตุ ประเมนิ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ปฏบิ ตั ิตามมาตรการการป้องกันการแพร่
ระบาดอย่างเครง่ ครดั จดั ประสบการณก์ ารเรยี นรหู้ นว่ ยการเรียนรู้บูรณาการกับกจิ กรรมหลกั 6 กิจกรรม เพื่อให้เดก็ ๆ
ได้รบั การพฒั นาในทุกดา้ นอย่างเตม็ ศักยภาพ คำนึงถึงพฒั นาการ และความปลอดภัยของเด็กเปน็ สำคัญ

อยา่ งไรกต็ ามหากทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง เหน็ ความสำคัญ เห็นคณุ คา่ ของการศึกษาปฐมวัย รว่ มกันทำงานอย่าง
ตอ่ เนอ่ื งและเป็นระบบ รว่ มกันสง่ เสรมิ สนบั สนนุ เด็กปฐมวยั เดก็ ปฐมวยั จะได้รับการพฒั นาและเป็นประชากรทม่ี ีคณุ ค่า
ต่อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติต่อไป

1 หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวัย พทุ ธศักราช 256๕


ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั

การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๖ ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม บนพ้ืนฐาน
การอบรมเล้ียงดู และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตาม
ศักยภาพภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอ้ืออาทร และความเข้าใจของทุกคน
เพ่ือสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และ
ประเทศชาติ

วิสยั ทศั น์

หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเดก็ ทุกคนให้ไดร้ บั การพัฒนาด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และ
สติปัญญาอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรยี นร้อู ย่างมีความสุขและเหมาะสมตามวัย มีทกั ษะ
ชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และสำนึกความเป็นไทย โดยความร่วมมือ
ระหวา่ งสถานศกึ ษา พอ่ แม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝา่ ยที่เกย่ี วขอ้ งกบั การพัฒนาเดก็

หลักการ

เด็กทุ กคนมีสิท ธิ์ที่ จะได้รับ การอบรมเลี้ยงดูและส่งเส ริมพั ฒ นาการตาม อนุ สัญ ญ าว่าด้วยสิทธิเด็ ก
ตลอดจนไดรับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับผู้สอน
เด็กกับผู้เล้ียงดูหรือผู้ที่เกี่ยวข้องในการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนา และให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย เพ่ือให้เด็กมี โอกาส
พฒั นาตนเองตามลำดบั ขน้ั ของพฒั นาการทกุ ด้าน อยา่ งเป็นองค์รวม มีคุณภาพ และเตม็ ตามศกั ยภาพโดยมหี ลักการดงั นี้

๑. สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรแู้ ละพฒั นาการท่ีครอบคลุมเดก็ ปฐมวยั ทุกคน
๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บคุ คลและวถิ ชี วี ิตของเด็กตามบรบิ ทของชุมชน สังคม และวฒั นธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นอย่างมีความหมายและมีกิจกรรมท่ี
หลากหลาย ไดล้ งมอื กระทำในสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้ เหมาะสมกบั วยั และมีการพกั ผอ่ นท่เี พียงพอ
๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชวี ิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เปน็ คนดี มวี นิ ยั และมคี วามสขุ
๕. สร้างความรู้ ความเข้าใจและประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่
ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย................................................................................

๒ หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกุล) ระดับปฐมวัย พุทธศกั ราช 256๕


แนวคดิ การจัดการศึกษาปฐมวัย

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช๒๕๖๐ พฒั นาขนึ้ บนแนวคดิ หลักสำคญั เก่ยี วกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย
โดยถอื ว่าการเล่นของเด็กเปน็ หัวใจสำคัญของการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ภายใตก้ ารจัดสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อื้อตอ่ การ
ทำงานของสมอง ผ่านสือ่ ทต่ี ้องเอื้อใหเ้ ด็กได้เรยี นร้ผู า่ นการเล่นประสาทสมั ผสั ท้งั หา้ โดยครูจำเป็นต้องเข้าใจและยอมรบั
วา่ สังคมและวฒั นธรรมที่แวดลอ้ มตวั เด็กมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และการพฒั นาศักยภาพและพัฒนาการของเด็กแตล่ ะคน
ทง้ั นี้ หลักสตู รฉบับนีม้ ีแนวคิดในการจัดการศึกษาปฐมวัย ดังนี้

๑. แนวคิดเกยี่ วกบั พัฒนาการเดก็ พัฒนาการของมนษุ ยเ์ ป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขึน้ ต่อเนื่อง

ในตัวมนุษยเ์ รม่ิ ตั้งแตป่ ฏิสนธไิ ปจนตลอดชีวิต พัฒนาการของเด็กแตล่ ะคนจะมีลำดบั ขัน้ ตอนลกั ษณะเดยี วกัน แต่อตั รา
และระยะเวลาในการผา่ นขน้ั ตอนตา่ งๆอาจแตกตา่ งกนั ได้ขั้นตอนแรกๆจะเปน็ พน้ื ฐานสำหรับพัฒนาการข้ันตอ่ ไป
พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคมและสตปิ ญั ญา แตล่ ะสว่ นสง่ ผลกระทบซึง่ กันและกนั เมื่อด้านหน่ึงกา้ วหน้า
อีกด้านหนึง่ จะก้าวหนา้ ตามด้วยในทำนองเดียวกนั ถ้าดา้ นหน่ึงดา้ นใดผดิ ปกตจิ ะทำให้ด้านอน่ื ๆผิดปกติตามด้วย แนวคิด
เกย่ี วกับทฤษฎีพัฒนาการด้านรา่ งกายอธิบายวา่ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กมีลักษณะตอ่ เน่ืองเป็นลำดบั ช้ัน
เด็กจะพัฒนาถงึ ขั้นใดจะต้องเกดิ วฒุ ภิ าวะของความสามารถดา้ นนัน้ ก่อน สำหรับทฤษฎีดา้ นอารมณ์ จติ ใจ และสังคม
อธิบายวา่ การอบรมเล้ยี งดูในวัยเดก็ ส่งผลตอ่ บคุ ลิกภาพของเด็ก เม่ือเติบโตเปน็ ผใู้ หญ่ ความรักและความอบอนุ่ เป็น
พนื้ ฐานของความเช่ือม่ันในตนเอง เด็กทไี่ ดร้ บั ความรักและความอบอนุ่ จะมคี วามไวว้ างใจในผูอ้ ่นื เห็นคณุ คา่ ของตนเอง
จะมีความเชื่อมน่ั ในความสามารถของตน ทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนได้ดี ซึ่งเป็นพ้ืนฐานสำคัญของความเป็นประชาธิปไตยและ
ความคดิ ริเริม่ สร้างสรรคแ์ ละทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาอธิบายวา่ เด็กเกิดมาพร้อมวุฒิภาวะ ซึง่ จะพัฒนาขึน้ ตามอายุ
ประสบการณ์ รวมทง้ั ค่านยิ มทางสงั คมและสงิ่ แวดล้อมท่ีเด็กได้รบั

๒. แนวคิดเกยี่ วกบั การเล่นของเด็ก การเล่นเปน็ หวั ใจสำคัญของการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ การเลน่

อย่างมจี ุดมุ่งหมายเปน็ เครอ่ื งมือการเรยี นรู้ข้นั พนื้ ฐานท่ีถือเปน็ องคป์ ระกอบสำคัญในกระบวนการเรียนรขู้ องเด็ก ขณะที่
เดก็ เลน่ จะเกิดการเรียนรู้ไปพรอ้ มๆกันดว้ ย จากการเลน่ เด็กจะมโี อกาสเคลื่อนไหวสว่ นต่างๆของร่างกาย ได้ใช้ประสาท
สมั ผัสและการรบั รู้ผอ่ นคลายอารมณ์ และแสดงออกของตนเอง เรียนร้คู วามรู้สกึ ของผู้อ่ืน เด็กจะร้สู ึกสนุกสนาน
เพลิดเพลิน ไดส้ งั เกต มโี อกาสทำการทดลอง คิดสรา้ งสรรค์ คดิ แก้ปญั หาและคน้ พบด้วยตนเอง การเล่นชว่ ยให้เดก็ เรยี นรู้
สิ่งแวดล้อม และช่วยใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คมและสติปัญญา ดังน้ันเด็กควรมโี อกาสเลน่
ปฏิสัมพนั ธก์ ับบคุ คล สิง่ แวดลอ้ มรอบตวั และเลือกกจิ กรรมการเลน่ ด้วยตนเอง

๓. แนวคิดเกยี่ วกบั การทำงานของสมอง สมองเป็นอวยั วะท่มี ีความสำคัญที่สุดในร่างกายของคนเรา

เพราะการท่ีมนุษย์สามารถเรียนรสู้ ิ่งตา่ งๆได้น้นั ต้องอาศัยสมองและระบบประสาทเปน็ พื้นฐานการรับรู้ รบั ความรูส้ ึกจาก
ประสาทสมั ผสั ทัง้ ห้า การเช่ือมโยงตอ่ กนั ของเซลลส์ มองสว่ นมากเกิดข้นึ ก่อนอายุ ๕ ปี และปฏสิ ัมพนั ธ์แรกเร่ิมระหว่าง
เด็กกบั ผใู้ หญ่ มผี ลโดยตรงตอ่ การสร้างเซลลส์ มองและจดุ เช่ือมต่อ โดยในช่วง ๓ ปแี รกของชีวิต สมองเจรญิ เตบิ โตอยา่ ง
รวดเรว็ มาก มีการสร้างเซลล์สมองและจุดเชือ่ มต่อขน้ึ มามากมาย มีการสรา้ งไขมันหรือมันสมองหุ้มลอ้ มรอบเส้นใยสมอง
ดว้ ย พอเดก็ อายุ ๓ ปี สมองจะมขี นาดประมาณ ๘๐ % ของสมองผู้ใหญ่ มีเซลล์สมองนบั หม่ืนลา้ นเซลล์ เซลลส์ มองและ
จุดเชื่อมตอ่ เหลา่ นีย้ ิง่ ได้รับการกระตุ้นมากเท่าใด การเชื่อมต่อกันระหว่างเซลล์สมองยง่ิ มีมากข้นึ และความสามารถ
ทางการคิดย่ิงมีมากข้ึนเทา่ นน้ั ถา้ หากเด็กขาดการกระตนุ้ หรือส่งเสริมจากส่ิงแวดลอ้ มท่เี หมาะสม เซลล์สมองและจุดเชื่อม
ต่อทสี่ รา้ งขน้ึ มาก็จะหายไป เดก็ ทไ่ี ดร้ ับความเครยี ดอยตู่ ลอดเวลาจะทำให้ขาดความสามารถท่ีจะเรยี นรู้ อยา่ งไรก็ตาม
ส่วนต่างๆของสมองเจริญเติบโตและเริ่มมีความสามารถในการทำหน้าที่ในช่วงเวลาตา่ งกัน จึงอธิบายไดว้ ่าการเรยี นรู้
ทกั ษะบางอยา่ งจะเกดิ ขน้ึ ได้ดีที่สุดเฉพาะในช่วงเวลาหน่ึงท่ีเรียกว่า”หนา้ ต่างของโอกาสการเรียนร”ู้ ซง่ึ เป็นชว่ งที่พ่อแม่ ผู้
เลีย้ งดูและครูสามารถช่วยให้เด็กเรียนรแู้ ละพัฒนาสิ่งนั้นๆไดด้ ีทีส่ ดุ เมือ่ พน้ ช่วงน้ไี ปแลว้ โอกาสนน้ั จะฝกึ ยากหรือเด็กอาจ
ทำไม่ไดเ้ ลย เช่น การเชอ่ื มโยงวงจรประสาทของการมองเห็นและรบั ร้ภู าพจะตอ้ งไดร้ บั การกระตุน้ ทำงานตัง้ แต่ ๓ หรือ ๔

๓ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พุทธศกั ราช 256๕


เดือนแรกของชีวติ จงึ จะมีพฒั นาการตามปกติ ช่วงเวลาของการเรียนภาษาคือ อายุ ๓ – ๕ ปแี รกของชีวติ เด็กจะพดู ไดช้ ัด
คลอ่ งและถูกต้อง โดยการพฒั นาจากการพดู เปน็ คำๆมาเปน็ ประโยคและเล่าเร่ืองได้ เปน็ ต้น

๔. แนวคดิ เกี่ยวกับสือ่ การเรียนรู้ สอื่ การเรียนรู้ทำใหเ้ ด็กเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ท่ีวางไว้ ทำใหส้ ิ่งท่ี

เป็นนามธรรมเข้าใจยากกลายเป็นรูปธรรมที่เด็กเข้าใจและเรียนรู้ได้ง่าย รวดเร็ว เพลิดเพลิน เกิดการเรียนรู้และค้นพบ
ดว้ ยตนเอง การใช้ส่ือการเรียนรู้ต้องปลอดภยั ตอ่ ตวั เดก็ และเหมาะสมกับวัย วฒุ ิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความ
สนใจ และความต้องการของเด็กท่ีหลากหลาย ส่ือประกอบการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยควรมีสื่อท้ังที่เป็น
ประเภท ๒ มิติและ/หรือ ๓ มิติ ท่ีเป็นสื่อของจริง ส่ือธรรมชาติ สื่อที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก สื่อสะท้องวัฒนธรรม ส่ือภูมิปัญญา
ท้องถ่ิน ส่ือเพ่ือพัฒนาเด็กในด้านต่างๆให้ครบทุกด้าน ทั้งน้ี ส่ือต้องเอื้อให้เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้าโดยการ
จัดการใช้ส่อื สำหรบั เดก็ ปฐมวัยต้องเรม่ิ ตน้ จากส่ือของจริง ของจำลอง ภาพถา่ ย ภาพโครงรา่ งและสัญลักษณ์ตามลำดบั

๕. แนวคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรม เด็กเม่ือเกิดมาจะเป็นส่วนหน่ึงของสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งไม่

เพียงแตจ่ ะได้รับอทิ ธพิ ลจากการปฏิบัติแบบดั้งเดิมตามประเพณี มรดก และความรู้ของบรรพบรุ ษุ แต่ยังได้รบั อิทธิพลจาก
ประสบการณ์ ค่านิยมและความเชอื่ ของบคุ คลในครอบครวั และชุมชนของแต่ละท่ีดว้ ย บริบทของสงั คมและวฒั นธรรมที่
เด็กอาศัยอยหู่ รอื แวดล้อมตัวเด็กทำให้เด็กแต่ละคนแตกตา่ งกนั ไป ครูจำเปน็ ตอ้ งเข้าใจและยอมรับว่าสงั คมและวฒั นธรรม
ที่แวดล้อมตัวเด็ก มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน ครูควรต้องเรียนรู้บริบท
ทางสังคมและวัฒนธรรมของเด็กทต่ี นรับผดิ ชอบ เพ่ือช่วยให้เดก็ ไดร้ ับการพัฒนา เกิดการเรยี นรู้และอยู่ในกลุม่ คนทมี่ าจาก
พื้นฐานเหมือนหรือต่างจากตนได้อย่างราบรานมีความสุข เป็นการเตรียมเด็กไปสู้สังคมในอนาคตกับการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน
การทำงานรว่ มกับผอู้ ่ืนท่ีมีความหลากหลายทางความคิด ความเช่ือและวัฒนธรรมเช่น ความคล้ายคลงึ และความแตกต่าง
ระหว่างวัฒนธรรมไทยกับประเทศเพ่ือนบ้านเรื่องศาสนา ประเทศ พม่า ลาว กัมพูชาก็จะคล้ายคลึงกับคนไทยในการ
ทำบุญตักบาตร การสวดมนต์ไหว้พระ การให้ความเคารพพระสงฆ์ การทำบุญเล้ียงพระ การเวียนเทียนเน่ืองในวันสำคัญ
ทางศาสนา ประเพณีเข้าพรรษา สำหรับประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ประชากรสว่ นใหญ่นับถือศาสนาอสิ ลามจึงมี
วัฒนธรรมแบบอิสลาม ประเทศฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจากคริสต์ศาสนา ประเทศสิงคโปร์และเวียดนามนับถือหลาย
ศาสนา โดยนับถอื ลัทธธิ รรมเนยี มแบบจีนเปน็ หลัก เป็นตน้

๔ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกุล) ระดับปฐมวัย พุทธศักราช 256๕


ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั โรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ )

การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กต้ังแตแ่ รกเกดิ ถงึ ๖ ปี บรบิ ูรณ์ อยา่ งเป็นองค์รวม บนพืน้ ฐานการอบรมเลีย้ ง
ดู และส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้ทีส่ นองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพภายใต้
บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอ้ืออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐาน
คณุ ภาพชีวิตให้เด็กพฒั นาไปสคู่ วามเปน็ มนษุ ย์ท่ีสมบูรณเ์ กิดคณุ คา่ ต่อตนเอง ครอบครวั สงั คม และประเทศชาติ

โรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกุล) จัดการพัฒนาเด็กอายุ 3 - 6 ปีบนพ้ืนฐานการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริม
กระบวนการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาการท้ัง 4 ด้านของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ผ่านการเล่นปนเรียน
การช่วยเหลือตนเอง มีทักษะในการดำรงชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทักษะ EF ฝึกการเรียนรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์ ปัญญาท้องถิ่น และบูรณาการสอดคล้องกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา โดยบูรณาการเข้าไว้ในหน่วยการ
เรียนรู้ต่างๆ ด้วยความรกั ความเข้าใจของทุกคน เพือ่ สร้างรากฐานคุณภาพชวี ิตท่ีดี และพัฒนาเด็กให้มีพฒั นาการทั้งด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา

วิสยั ทศั น์การศึกษาระดับปฐมวัย โรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกุล)

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญาอย่างมคี ุณภาพและตอ่ เนื่อง ได้รบั การจัดประสบการณก์ ารเรียนรูอ้ ย่างมีความสุขและเหมาะสมตามวัย มีทกั ษะ
ชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักคุณธรรมให้เป็นคนดี มีวินัย และสำนึกความเป็นไทย
โดยความรว่ มมอื ระหว่างสถานศกึ ษา พ่อแม่ ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝ่ายท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการพัฒนาเดก็

ภายในปีพุทธศักราช 256๕ โรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกุล) มุ่งเน้นพัฒนาเด็กอายุ 3 - 6 ปี ให้มี
พัฒนาการทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์- จติ ใจ สังคม และสติปัญญาเหมาะสมกบั วัย เน้นให้เด็กเรยี นรูผ้ ่านการเลน่ ชว่ ยเหลือ
ตนเอง ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยการประหยัดอดออม มีคุณธรรม และ
รักษาวัฒนาธรรมไทยสำนึกความเป็นไทย โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนและทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องร่วมพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้บันทึกข้อตกลงที่ได้ทำ
ร่วมกันเพื่อร่วมมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างมีคุณภาพ
และตอ่ เนอื่ ง ไดร้ บั การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูอ้ ยา่ งมคี วามสขุ เหมาะสมวัย

พนั ธกจิ โรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พร้อม หงสกลุ )

๑. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท่มี ุ่งเน้นพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ทั้ง ๔ ด้าน อย่างสมดุลและเต็มศกั ยภาพ
๒. พัฒนาครูและบุคลากรด้านการจัดประสบการณท์ ่ีสง่ เสริมการเรยี นรูผ้ า่ นการเลน่ ที่มจี ุดหมายอย่างต่อเนือ่ ง
๓. สง่ เสริมสนบั สนุนการจัดสภาพแวดล้อม สอ่ื เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรใู้ นการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
๔. จดั ประสบการณ์การเรียนร้ทู ี่หลากหลายซึง่ สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองของเด็ก โดยนำหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและแหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน มาใช้เสรมิ สรา้ งพฒั นาการและการเรยี นรขู้ องเดก็
๕. จัดทำแผนการจดั ประสบการณ์ และจดั ประสบการณก์ ารเรียนรใู้ ห้ที่เน้นเดก็ เป็นสำคญั
๖. ส่งเสรมิ ประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาเด็กระหวา่ งสถานศึกษากบั พ่อแม่ ครอบครวั ชมุ ชน และทุกฝ่ายท่ี

เกีย่ วข้องกบั การพฒั นาเด็กปฐมวัย
7. จัดเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียน การดแู ลให้ความชว่ ยเหลอื จดั กิจกรรม เสริมหลกั สตู ร และการสร้าง

รอยเช่อื มต่อระหวา่ งการศกึ ษาปฐมวยั กบั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
8. จัดการประเมินพัฒนาการ ผลลัพธ์การเรียนรู้เพื่อนำผลไปปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของเด็ก

ปฐมวยั
9. ส่งเสริม พัฒนาเดก็ ปฐมวยั ใหส้ อดคลอ้ งตาม อัตลักษณข์ องสถานศกึ ษา“ ย้ิมงา่ ย ไหวส้ วย วนิ ัยเย่ยี ม ”

๕ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดับปฐมวัย พทุ ธศักราช 256๕


เป้าหมาย โรงเรียนพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ )

๑. เด็กปฐมวยั ทกุ คนได้รบั การพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สังคม และสติปัญญาเป็นองคร์ วมอยา่ งสมดลุ
มีเจตคติท่ีดีตอ่ ท้องถิ่น และเรียนรู้อยา่ งมีความสุข

๒. เด็กปฐมวยั ทกุ คนมเี จตคติทีด่ ีต่อครมู ีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดประสบการณท์ ่ีสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
ผา่ นการเลน่ โดยใช้กระบวนการวางแผน การปฏิบัติ และการทบทวน

๓. มสี ภาพแวดลอ้ ม สอ่ื เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรูท้ เี่ ออื้ ตอ่ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอยา่ งพอเพียง
๔. ครูระดบั ปฐมวัยทุกคนจดั ประสบการณ์การเรียนร้ทู ี่หลากหลายซึ่งสอดคลอ้ งกับพฒั นาการทางสมองของเด็ก
โดยนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแหลง่ เรยี นรู้ ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น มาใช้เสริมสร้างพัฒนาการและ
การเรยี นรู้ของเด็ก
๕. ครูระดบั ปฐมวัยทกุ คนจดั ทำแผนการจัดประสบการณ์ และจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ให้ทเี่ นน้ เด็กเป็น
สำคญั
๖. ผู้ปกครอง ชุมชน และหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
๗. เด็กระดบั ปฐมวยั ทุกคน ได้รบั การเตรยี มความพร้อมกอ่ นเข้าเรยี น ได้รับการดูแลให้ความชว่ ยเหลอื
จัดกิจกรรมเพอ่ื ให้มคี วามพรอ้ มในการศึกษาระดบั ประถมศึกษาปที ่ี ๑
8. เด็กระดบั ปฐมวัยทกุ คน ได้รับการประเมนิ พฒั นาการ และนำผลการประเมินนั้นไปปรบั ปรุงและพฒั นา
แผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้
9. เด็กระดับปฐมวัยทุกคน ได้รบั การส่งเสริม พฒั นาสอดคล้องตาม อตั ลักษณ์ของโรงเรยี น
“ ยม้ิ งา่ ย ไหวส้ วย วนิ ยั เยยี่ ม ”

จดุ หมาย

หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย มุ่งให้เดก็ มีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และเม่ือมคี วามพรอ้ มในการเรยี นรู้
ต่อไป จึงกำหนดจดุ หมายเพ่ือให้เกิดกับเดก็ เมื่อเด็กจบการศึกษาระดับปฐมวยั ดงั น้ี

๑. มีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย แขง็ แรง และมสี ขุ นิสัยท่ีดี
๒. มีสุขภาพจติ ดี มีสุนทรียภาพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและจติ ใจท่ดี ีงาม
๓. มที กั ษะชวี ิตและปฏบิ ัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีวินยั และอยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่นื ได้อย่างมี

ความสุข
๔. มที ักษะการคิด การใช้ภาษาสื่อสาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกบั วยั

๖ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกุล) ระดบั ปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 256๕


พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั

พัฒนาการของเด็กปฐมวัยดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญาแสดงใหเ้ หน็ ถึงการเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ขึน้ ตาม
วฒุ ภิ าวะและสภาพแวดลอ้ มทเี่ ดก็ ไดร้ บั พัฒนาการเดก็ ในแต่ละชว่ งวัยอาจเรว็ หรือชา้ แตกตา่ งกนั ไป
ในเด็กแต่ละคน มรี ายละเอียด ดงั นี้

๑. พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย เปน็ พฒั นาการที่เปน็ ผลมาจากการเปลย่ี นแปลงในทางท่ดี ีข้นึ ของร่างกายในด้าน
โครงสร้างของร่างกาย ด้านความสามารถในการเคล่ือนไหว และดา้ นการมีสุขภาพอนามัยทดี่ ี รวมถึงการใช้สมั ผัสรับรู้ การ
ใช้ตาและมือประสานกันในการทำกิจกรรมต่างๆ เด็กอายุ ๓-๕ ปมี กี ารเจรญิ เติบโตรวดเร็วโดยเฉพาะ
ในเรื่องนำ้ หนักและส่วนสงู กลา้ มเน้ือใหญ่จะมีความกา้ วหนา้ มากกวา่ กล้ามเนื้อเลก็ สามารถบงั คบั การเคล่ือนไหวของ
ร่างกายไดด้ ี มคี วามคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไวในการเดิน สามารถว่ิง กระโดด ควบคุมและบังคบั การทรงตัวได้ดี
จงึ ชอบเคลอ่ื นไหว ไมห่ ยดุ น่ิง พรอ้ มท่จี ะออกกำลงั และเคล่ือนไหวในลักษณะต่างๆส่วนกลา้ มเน้อื เลก็ และความสมั พันธ์
ระหว่างตาและมือยังไม่สมบูรณ์ การสมั ผัสหรือการใช้มอื มีความละเอียดขึ้น ใช้มือหยิบจับสง่ิ ของต่างๆไดม้ ากข้นึ ถ้าเด็กไม่
เครยี ดหรอื กังวลจะสามารถทำกิจกรรมที่พัฒนากลา้ มเนื้อเลก็ ได้ดีและนานข้ึน

๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ เปน็ ความสามารถในการร้สู ึกและแสดงความรสู้ กึ ของเด็ก เชน่ พอใจ
ไม่พอใจ รกั ชอบ สนใจ เกียด โดยท่เี ดก็ ร้จู กั ควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวยั และสถานการณ์ เผชญิ กับ
เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ตลอดจนการสรา้ งความรู้สึกทด่ี ีและการนับถอื ตนเอง เด็กอายุ ๓-๕ ปีจะแสดงความรู้สกึ อย่างเต็มที่ไม่
ปดิ บงั ชอ่ นเร้น เช่น ดีใจ เสยี ใจ โกรธแต่จะเกดิ เพียงชวั่ ครู่แล้วหายไปการทเ่ี ด็กเปลย่ี นแปลงอารมณ์ง่ายเพราะมีช่วงความ
สนใจระยะสน้ั เม่ือมสี ิง่ ใดน่าสนใจกจ็ ะเปลี่ยนความสนใจไปตามส่ิงน้ัน เดก็ วนั นมี้ ักหวาดกลัวสิ่งตา่ งๆ เชน่ ความมดื หรอื
สัตวต์ า่ งๆ ความกลัวของเด็กเกิดจากจนิ ตนาการ ซง่ึ เด็กว่าเป็นเรอื่ งจรงิ สำหรับตน เพราะยงั สับสนระหวา่ งเรอ่ื งปรุงแต่ง
และเรอ่ื งจริง ความสามารถแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกบั สถานการณ์อยา่ งเหมาะสมกบั วัย รวมถึงชนื่ ชมความสามารถ
และผลงานของตนเองและผอู้ ่ืน เพราะยึดตัวเองเปน็ ศูนยก์ ลางนอ้ ยลงและต้องการความสนใจจากผ้อู นื่ มากขนึ้

๓. พฒั นาการด้านสงั คม เป็นความสามารถในการสร้างความสมั พันธ์ทางสงั คมครั้งแรกในครอบครัว โดยมี
ปฏสิ มั พนั ธก์ ับพ่อแมแ่ ละพี่น้อง เม่ือโตขึน้ ต้องไปสถานศึกษา เด็กเรม่ิ เรียนรู้การตดิ ต่อและการมสี ัมพันธ์กบั บคุ คลนอก
ครอบครวั โดยเฉพาะอย่างยิง่ เดก็ ในวัยเดียวกนั เดก็ ได้เรยี นรู้การปรับตวั ใหเ้ ข้าสงั คมกับเดก็ อนื่ พรอ้ มๆกับรู้จักร่วมมือใน
การเลน่ กับกลุ่มเพ่ือน เจตคติและพฤตกิ รรมทางสงั คมของเดก็ จะก่อขนึ้ ในวยั นีแ้ ละจะแฝงแนน่ ยากที่จะเปลี่ยนแปลงในวัย
ต่อมา ดงั นัน้ จึงอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยน้ี มี ๒ ลักษณะ คือลกั ษณะแรกนน้ั เปน็ ความสัมพนั ธ์กับ
ผู้ใหญแ่ ละลักษณะทสี่ องเป็นความสมั พนั ธก์ ับเดก็ ในวยั ใกล้เคียงกนั

๔. ด้านสตปิ ญั ญา ความคิดของเด็กวัยนี้มีลักษณะยึดตนเองเป็นศนู ยก์ ลาง ยงั ไมส่ ามารถเขา้ ใจความรูส้ ึกของคน
อน่ื เดก็ มีความคิดเพยี งแตว่ า่ ทุกคนมองสิ่งต่างๆรอบตัว และรู้สกึ ต่อสงิ่ ตา่ งๆ เหมือนตนเอง ความคิดของตนเองเปน็ ใหญ่
ทสี่ ดุ เม่ืออายุ ๔-๕ ปี เด็กสามารถโต้ตอบหรือมปี ฏสิ ัมพันธก์ บั วตั ถุสิ่งของที่อยรู่ อบตวั ได้ สามารถจำสงิ่ ตา่ งๆ ทไ่ี ด้กระทำ
ซ้ำกนั บ่อยๆ ไดด้ ี เรยี นร้สู ิง่ ต่างๆ ได้ดขี ึ้น แตย่ ังอาศัยการรับร้เู ปน็ ส่วนใหญ่ แก้ปญั หาการลองผดิ ลองถูกจากการรับรู้
มากกวา่ การใช้เหตุผลความคิดรวบยอดเกี่ยวกับส่ิงต่างๆ ท่ีอยรู่ อบตัวพฒั นาอยา่ งรวดเรว็ ตามอายุทีเ่ พิ่มขึ้น ในสว่ นของ
พฒั นาการทางภาษา เด็กวัยนเ้ี ปน็ ระยะเวลาของการพฒั นาภาษาอยา่ งรวดเร็ว โดยมีการฝึกฝนการใช้ภาษาจากการทำ
กิจกรรมต่าง ๆ ในรูปของการพูดคยุ การตอบคำถาม การเล่าเรอ่ื ง การเลา่ นิทานและการทำกจิ กรรมต่าง ๆ
เกีย่ วขอ้ งกบั การใช้ภาษาในสถานศึกษา เดก็ ปฐมวัยสามารถ ใช้ภาษาแทนความคิดของตนและใช้ภาษาในการตดิ ต่อ
สมั พันธก์ ับคนอืน่ ได้คำพูดของเดก็ วยั น้ี อาจจะทำใหผ้ ้ใู หญบ่ างคนเขา้ ใจว่าเดก็ รูม้ ากแลว้ แต่ท่ีจรงิ เด็กยงั ไมเ่ ข้าใจ
ความหมายของคำและเร่ืองราวลึกซึ้งนัก

๗ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พร้อม หงสกุล) ระดบั ปฐมวัย พุทธศกั ราช 256๕


มาตรฐานคุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์จำนวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบดว้ ย
๑.พัฒนาการด้านรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคือ

มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมสี ุขนิสัยทีด่ ี
มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเน้ือใหญ่และกล้ามเนื้อเลก็ แขง็ แรงใชไ้ ดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และประสานสมั พนั ธ์กนั
๒.พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๓ มสี ุขภาพจติ ดีและมคี วามสขุ
มาตรฐานที่ ๔ ชืน่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว
มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมจี ติ ใจท่ดี ีงาม
๓.พัฒนาการดา้ นสังคม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคอื
มาตรฐานที่ ๖ มีทกั ษะชีวติ และปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานท่ี ๗ รกั ธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยรู่ ว่ มกบั ผู้อื่นไดอ้ ย่างมีความสุขและปฏบิ ตั ิตนเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสังคมในระบอบประชาธปิ ไตย

อันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
๔.พัฒนาการดา้ นสติปญั ญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐานคอื

มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส่อื สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ท่ีเปน็ พนื้ ฐานการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคตทิ ่ีดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความร้ไู ด้

เหมาะสมกับวยั

๘ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดับปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 256๕


ตวั บ่งช้ี

ตัวบ่งชีเ้ ปน็ เปา้ หมายในการพัฒนาเด็กที่มีความสมั พนั ธ์สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์

สภาพทพี่ งึ ประสงค์

สภาพที่พึงประสงค์เปน็ พฤตกิ รรมหรือความสามารถตามวัยท่คี าดหวงั ให้เด็กเกดิ บนพื้นฐานพัฒนาการตามวยั
หรอื ความสามารถตามธรรมชาติในแตล่ ะระดับอายุเพือ่ นำไปใชใ้ นการกำหนดสาระเรยี นรู้ใน การจดั ประสบการณ์
กจิ กรรมและประเมนิ พฒั นาการเดก็ โดยมรี ายละเอยี ดของมาตรฐาน มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตวั บ่งช้ี และ
สภาพที่พึงประสงค์ ดังน้ี

มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวยั เดก็ มีสุขนสิ ัยทดี่ ี

ตัวบง่ ชที้ ี่ ๑.๑ มนี ้ำหนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์

อายุ ๓ ปี สภาพท่ีพึงประสงค์ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
-นำ้ หนักและสว่ นสงู ตามเกณฑ์ของ -นำ้ หนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรม
กรมอนามยั -น้ำหนกั และสว่ นสูงตามเกณฑ์ของ อนามยั
กรมอนามยั

ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑.๒ มสี ุขภาพอนามยั สุขนิสยั ท่ีดี

อายุ ๓ ปี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
-ยอมรับประทานอาหารทมี่ ี -รบั ประทานอาหารทม่ี ีประโยชน์ได้
ประโยชน์และด่ืมนำ้ ท่ีสะอาดเมือ่ มี -รบั ประทานอาหารท่ีมปี ระโยชน์ หลายชนิดและดืม่ นำ้ สะอาดไดด้ ้วย
ผ้ชู ้แี นะ และด่ืมน้ำสะอาดด้วยตนเอง ตนเอง

-ลา้ งมือก่อนรบั ประทานอาหารและ -ลา้ งมอื ก่อนรับประทานอาหารและ -ลา้ งมือก่อนรับประทานอาหารและ
หลังจากใชห้ อ้ งน้ำห้องสว้ มด้วยตนเอง
หลังจากใช้ห้องน้ำห้องส้วมเม่ือมีผู้ หลังจากใช้ห้องนำ้ ห้องส้วมด้วย
-นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา
ชแี้ นะ ตนเอง -ออกกำลังกายเป็นเวลา

-นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา -นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา

-ออกกำลงั กายเป็นเวลา -ออกกำลงั กายเป็นเวลา

ตัวบง่ ช้ที ่ี ๑.๓ รักษาความปลอดภยั ของตนเองและผอู้ นื่

สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัย -เลน่ และทำกจิ กรรมอย่างปลอดภัย -เล่นและทำกิจกรรมและปฏิบตั ิต่อผ้อู น่ื
อย่างปลอดภัย
เม่ือมผี ูช้ แ้ี นะ ด้วยตนเอง

๙ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนือ้ ใหญแ่ ละกลา้ มเน้ือเล็กแขง็ แรงใชไ้ ด้อย่างคล่องแคลว่ และประสานสมั พันธ์กนั

ตวั บ่งชี้ท่ี ๒.๑ เคล่อื นไหวร่างกายอยา่ งคล่องแคล่วประสานสัมพนั ธ์และทรงตัวได้

อายุ ๓ ปี สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๕ ปี
-เดินตามแนวทกี่ ำหนดได้ อายุ ๔ ปี
-เดินต่อเทา้ ถอยหลงั เปน็ เสน้ ตรงได้โดย
-กระโดดสองขา ขน้ึ ลงอยกู่ ับท่ีได้ -เดินต่อเท้าไปข้างหนา้ เป็นเส้นตรง ไม่ต้องกางเกง
ได้โดยไม่ต้องกางแขน
-วงิ่ แลว้ หยุดได้ -กระโดดขาเดียวอยู่กับท่ไี ดโ้ ดยไม่ -กระโดดขาเดียว ไปขา้ งหนา้ ไดอ้ ย่าง
เสยี การทรงตวั ตอ่ เนอ่ื งโดยไมเ่ สยี การทรงตัว
-รับลกู บอลโดยใชม้ ือและลำตัวชว่ ย -ว่ิงหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้
-วิ่งหลบหลีกส่ิงกดี ขวางได้อย่าง
-รบั ลกู บอลได้ด้วยมือท้ังสองข้าง คลอ่ งแคลว่

-รบั ลูกบอลท่กี ระดอนขึ้นจากพ้นื ได้

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๒.๓ ใช้มอื - ตาประสานสัมพนั ธก์ นั

อายุ ๓ ปี สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี
-ใช้กรรไกรตัดกระดาขาดจากกันได้ -ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งได้
โดยใช้มอื เดยี ว อายุ ๔ ปี
-เขียนรูปวงกลมตามแบบได้ -เขยี นรปู สามเหล่ียมตามแบบได้อยา่ งมี
-ใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนว มุมชดั เจน
-รอ้ ยวสั ดทุ ี่มีรูขนาดเสน้ ผ่าน เสน้ ตรงได้ -รอ้ ยวสั ดทุ ีม่ รี ูขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง
ศนู ยก์ ลาง ๑ ซม.ได้ ๐.๒๕ ซม.ได้
-เขยี นรูปสี่เหล่ียมตามแบบได้อยา่ ง
มมี ุมชดั เจน

-รอ้ ยวัสดุทีม่ ีรูจนาดเสน้ ผ่านศูนย์
๐.๕ ซม.ได้

๒.พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ
มาตรฐานที่ ๓ มสี ขุ ภาพจิตดีและมคี วามสุข

ตวั บง่ ชี้ท่ี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์อยา่ งเหมาะสม

อายุ ๓ ปี สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
-แสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ ได้ -แสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ ได้
เหมาะสมกบั บางสถานการณ์ -แสดงอารมณ์ ความรู้สึกไดต้ าม สอดคลอ้ งกับสถานการณ์อย่าง
สถานการณ์ เหมาะสม

๑๐ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๓.๒ มคี วามรูส้ กึ ที่ดตี อ่ ตนเองและผู้อื่น

สภาพทพี่ ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-กลา้ พูดกล้าแสดงออก -กลา้ พูดกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม -กล้าพดู กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
บางสถานการณ์ ตามสถานการณ์

-แสดงความพอใจในผลงานตนเอง -แสดงความพอใจในผลงานและ -แสดงความพอใจในผลงานและ
ความสามารถของตนเอง ความสามารถของตนเองและผอู้ ืน่

มาตรฐานท่ี ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว

ตวั บง่ ชี้ที่ ๔.๑ สนใจและมีความสขุ และแสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรแี ละการเคลอ่ื นไหว

อายุ ๓ ปี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
-สนใจและมคี วามสุขและแสดงออกผ่าน -สนใจและมคี วามสุขและ
งานศิลปะ -สนใจและมคี วามสุขและ แสดงออกผ่านงานศิลปะ
แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ
-สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผ่าน -สนใจ มคี วามสุขและแสดงออก
เสียงเพลง ดนตรี -สนใจ มคี วามสุขและแสดงออก ผ่านเสียงเพลง ดนตรี
ผา่ นเสียงเพลง ดนตรี
-สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/ -สนใจ มีความสุขและแสดง
เคลือ่ นไหวประกอบเพลง จังหวะและ -สนใจ มคี วามสุขและแสดง ท่าทาง/เคลอื่ นไหวประกอบ
ดนตรี ท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง เพลง จงั หวะและ ดนตรี
จังหวะและ ดนตรี

มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและมีจิตใจที่ดงี าม

ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๕.๑ ซื่อสตั ย์ สุจริต

อายุ ๓ ปี สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
-บอกหรือชี้ไดว้ า่ ส่ิงใดเปน็ ของตนเองและ - ขออนญุ าตหรือรอคอยเมื่อ
ส่งิ ใดเป็นของผู้อืน่ - ขออนุญาตหรอื รอคอยเมื่อต้องการ ตอ้ งการสงิ่ ของของผอู้ ่ืนด้วย
ส่ิงของของผู้อื่นเม่ือมผี ชู้ แี้ นะ ตนเอง

ตวั บ่งชี้ท่ี ๕.๒ มีความเมตตา กรณุ า มนี ้ำใจและช่วยเหลือแบ่งปัน

อายุ ๓ ปี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี
อายุ ๓ ปี
-แบ่งปันส่ิงของใหผ้ ู้อ่ืนได้เมื่อมผี ชู้ แ้ี นะ -แบง่ ปันสง่ิ ของให้ผู้อ่ืนได้เมื่อมีผู้
-แบ่งปันสิง่ ของใหผ้ อู้ ่นื ได้เม่ือมีผู้ ชแี้ นะ

ชแี้ นะ

๑๑ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 256๕


ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๕.๓ มคี วามเหน็ อกเห็นใจผูอ้ นื่

อายุ ๓ ปี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
-แสดงสหี น้าหรือทา่ ทางรบั รู้ความร้สู ึก -แสดงสหี นา้ หรือทา่ ทางรบั รู้
ผู้อื่น -แสดงสีหน้าหรอื ทา่ ทางรบั รู้ ความรสู้ กึ ผู้อ่ืนอยา่ งสอดคลอ้ งกบ
ความรู้สกึ ผู้อ่ืน สถานการณ์

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๕.๔มคี วามรับผดิ ชอบ

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-ทำงานที่ไดร้ ับมอบหมายจนสำเรจ็ เมือ่ มี -ทำงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายจนสำเร็จ -ทำงานท่ีได้รบั มอบหมายจนสำเร็จ
ผชู้ ่วยเหลือ
เม่อื มผี ูช้ ีแ้ นะ ดว้ ยตนเอง

๓.พฒั นาการดา้ นสงั คม
มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชวี ติ และปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตวั บ่งชี้ที่ ๖.๑ ช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจำวนั

อายุ ๓ ปี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี
- แต่งตัวโดยมผี ชู้ ่วยเหลือ อายุ ๔ ปี
- รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเอง - แต่งตัวดว้ ยตนเองได้อยา่ คลอ่ งแคล่ว
- แตง่ ตวั ด้วยตนเอง
-ใช้ห้องน้ำหอ้ งส้วมโดยมีผ้ชู ว่ ยเหลอื -รับประทานอาหารดว้ ยตนเอง - รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเองอย่างถูก
วิธี
-ใช้ห้องนำ้ หอ้ งส้วมดว้ ยตนเอง
-ใชแ้ ละทำความสะอาดหลงั ใช้หอ้ งน้ำ
ห้องส้วมด้วยตนเอง

ตัวบง่ ชี้ที่ ๖.๒ มีวินัยในตนอง

อายุ ๓ ปี สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ ๕ ปี
-เก็บของเลน่ ของใชเ้ ข้าที่เม่ือมผี ชู้ แี้ นะ อายุ ๔ ปี
-เก็บของเล่นของใช้เขา้ ท่ีอยา่ ง
-เก็บของเลน่ ของใชเ้ ข้าท่ดี ว้ ยตนเอง เรยี บร้อยด้วยตนเอง

-เข้าแถวตาลำดบั กอ่ นหลงั ไดเ้ มอ่ื มีผูช้ ้แี นะ -เข้าแถวตาลำดบั ก่อนหลังได้ด้วยตนเอง -เขา้ แถวตาลำดับก่อนหลังไดด้ ว้ ยตนเอง
ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๖.๓ ประหยัดและพอเพยี ง

อายุ ๓ ปี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ อายุ ๕ ปี

-ใช้สิง่ ของเคร่ืองใช้อย่างประหยัดและ อายุ ๔ ปี -ใช้สิ่งของเคร่ืองใช้อยา่ งประหยัด
พอเพียงเม่ือมผี ชู้ ีแ้ นะ และพอเพยี งด้วยตนเอง
-ใช้สิ่งของเครื่องใช้อยา่ งประหยัด
และพอเพยี งเมื่อมผี ู้ช้แี นะ

๑๒ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 256๕


มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๗.๑ ดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

สภาพท่ีพึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี
-มีส่วนรว่ มในการดแู ลรักษาธรรมชาติ
-มีสว่ นร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละ -มสี ่วนรว่ มในการดแู ลรักษา และส่งิ แวดล้อมด้วยตนเอง

ส่งิ แวดลอ้ มเม่ือมผี ู้ชแี้ นะ ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเมอ่ื มีผู้ -ทงิ้ ขยะไดถ้ ูกท่ี

ชี้แนะ

-ท้ิงขยะได้ถูกที่ -ท้งิ ขยะไดถ้ ูกท่ี

ตวั บ่งชที้ ่ี ๗.๒ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเปน็ ไทย

สภาพท่ีพึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี
-ปฏิบตั ติ นตามมารยาทไทยได้ ตาม
ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ เม่ือมีผู้ -ปฏิบัตติ นตามมารยาทไทยได้ด้วย กาลเทศะ
-กลา่ วคำขอบคุณและขอโทษด้วยตนเอง
ชีแ้ นะ ตนเอง
-ยนื ตรงและรว่ มรอ้ งเพลงชาติไทยและ
-กลา่ วคำขอบคณุ และขอโทษเมอ่ื มีผ้ชู ้ีแนะ -กล่าวคำขอบคุณและขอโทษดว้ ย เพลงสรรเสริญพระมารมี

ตนเอง

-หยดุ เมื่อไดย้ นิ เพลงชาติไทยและเพลง -หยุดเมอื่ ได้ยินเพลงชาติไทยและ

สรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสริญพระบารมี

มาตรฐานที่ ๘ อยรู่ ่วมกบั ผ้อู ่นื ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ และปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชิกทดี่ ีของสังคมใน
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ

ตวั บง่ ชที้ ่ี ๘.๑ ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล

อายุ ๓ ปี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
-เล่นและทำกจิ กรรมรว่ มกบั เดก็ ทแ่ี ตกต่าง -เลน่ และทำกจิ กรรมร่วมกบั เด็กท่ี
ไปจากตน -เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับกลมุ่ เด็ก แตกต่างไปจากตน
ที่แตกต่างไปจากตน

ตวั บ่งชท้ี ี่ ๘.๒ มีปฏสิ มั พนั ธ์ท่ีดีกับผู้อนื่

อายุ ๓ ปี สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
-เล่นร่วมกบั เพื่อน -เล่นหรอื ทำงานร่วมกบั เพื่อนอยา่ งมี
-เล่นหรอื ทำงานรว่ มกับเพ่ือนเป็นกลุ่ม เปา้ หมาย
-ยมิ้ หรือทักทายผูใ้ หญแ่ ละบุคคลท่ี
คุ้นเคยเมื่อมผี ูช้ ีแ้ นะ -ย้มิ หรือทกั ทายหรอื พดู คยุ กบั ผูใ้ หญ่ -ยิ้มหรือทักทายหรือพดู คยุ กบั ผใู้ หญแ่ ละ
และบุคคลท่ีคุน้ เคยไดด้ ้วยตนเอง บคุ คลท่คี ุน้ เคยไดเ้ หมาะสมกับ
สถานการณ์

๑๓ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


ตัวบ่งชี้ท่ี ๘.๓ ปฏิบตั ติ นเบื้องต้นในการเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสงั คม

อายุ ๓ ปี สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ ๕ ปี
อายุ ๔ ปี
-ปฏิบตั ิตามข้อตกลงเมื่อมผี ู้ช้ีแนะ -มสี ่วนรว่ มสร้างขอ้ ตกลงและปฏบิ ัติตาม
-มสี ว่ นร่วมสรา้ งข้อตกลงและปฏิบตั ิ ข้อตกลงด้วยตนเอง
-ปฏบิ ัติตนเป็นผูน้ ำและผู้ตามเมื่อมีผู้ชี้แนะ ตามข้อตกลงเมื่อมผี ชู้ ้ีแนะ
-ปฏิบัติตนเปน็ ผู้นำและผู้ตามได้
-ยอมรับการประนปี ระนอมแก้ไขปัญหา -ปฏบิ ัตติ นเป็นผนู้ ำและผตู้ ามที่ดไี ด้ เหมาะสมกับสถานการณ์
เม่ือมีผูช้ ีแ้ นะ ด้วยตนเอง
-ประนปี ระนอมแกไ้ ขปญั หาโดย
-ประนปี ระนอมแก้ไขปญั หาโดยปราศจาก ปราศจากการใชค้ วามรุนแรงดว้ ยตนเอง
การใชค้ วามรนุ แรงเมอ่ื มผี ชู้ แี้ นะ

๕. ดา้ นสติปญั ญา

มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาส่ือสารไดเ้ หมาะสมกับวยั

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเล่าเรอ่ื งใหผ้ ู้อื่นเข้าใจ

สภาพท่พี ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-ฟงั ผอู้ ื่นพูดจนจบและโต้ตอบเกยี่ วกับเร่อื ง -ฟังผูอ้ ื่นพดู จนจบและสนทนาโตต้ อบ -ฟังผูอ้ ่ืนพูดจนจบและสนทนาโตต้ อบ

ทฟ่ี งั สอดคล้องกบั เร่ืองท่ีฟงั อยา่ งต่อเน่ืองเชอ่ื มโยงกับเร่อื งที่ฟงั

-เล่า เร่อื งดว้ ยประโยคส้ันๆ -เลา่ เร่อื งเปน็ ประโยคอย่างต่อเนือ่ ง -เลา่ เป็นเรอ่ื งราวตอ่ เนื่องได้

ตัวบง่ ชี้ที่ ๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้

สภาพทพ่ี ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี
-อ่านภาพ และพดู ขอ้ ความดว้ ยภาษา
ของตน -อ่านภาพ สัญลกั ษณ์ คำ พร้อมทง้ั ชี้ -อา่ นภาพ สัญลักษณ์ คำ ดว้ ยการช้ี

-เขียนขดี เข่ีย อย่างมีทิศทาง หรอื กวาดตามองข้อความตาม หรือกวาดตามองจุดเร่ิมตน้ และจุดจบ

บรรทดั ของขอ้ ความ

-เขยี นคล้ายตวั อักษร -เขียนช่อื ของตนเอง ตามแบบ

เขียนขอ้ ความดว้ ยวธิ ที ีค่ ดิ ขึ้นเอง

มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ท่ีเป็นพ้นื ฐานในการเรียนรู้

ตวั บ่งชที้ ี่ ๑๐.๑ มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด

อายุ ๓ ปี สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๕ ปี

-บอกลักษณะของส่ิงของต่างๆจากการ อายุ ๔ ปี -บอกลกั ษณะ ส่วนประกอบ การ
สงั เกตโดยใชป้ ระสาทสมั ผสั เปลีย่ นแปลง หรือความสมั พันธข์ อง
-บอกลักษณะและสว่ นประกอบของ ส่ิงของต่างๆจากการสังเกตโดยใช้
สงิ่ ของตา่ งๆจากการสังเกตโดยใช้ ประสาทสัมผัส
ประสาทสมั ผสั

๑๔ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


ตัวบง่ ชที้ ่ี ๑๐.๑ มีความสามารถในการคิดรวบยอด (ต่อ)

อายุ ๓ ปี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี
-จบั ค่หู รอื เปรียบเทียบส่งิ ต่างๆโดยใช้ -จับคู่และเปรียบเทียบความแตกตา่ ง
ลักษณะหรอื หน้าท่กี ารงานเพียงลักษณะ อายุ ๔ ปี หรือความเหมือนของสิง่ ต่างๆโดยใช้
เดยี ว ลกั ษณะท่ีสังเกตพบสองลกั ษณะข้นึ ไป
-จับคู่และเปรียบเทยี บความแตกต่าง
-คดั แยกส่ิงต่างๆตามลักษณะหรอื หน้าท่ี หรอื ความเหมือนของสง่ิ ตา่ งๆโดยใช้ -จำแนกและจดั กลมุ่ สิง่ ต่างๆโดยใชต้ ้งั แต่
การใชง้ าน ลกั ษณะทสี่ งั เกตพบเพียงลักษณะ สองลักษณะขึน้ ไปเปน็ เกณฑ์
-เรยี งลำดบั สิ่งของหรือเหตกุ ารณ์อย่าง เดยี ว -เรยี งลำดบั ส่งิ ของหรือเหตุการณอ์ ยา่ ง
น้อย ๓ ลำดบั น้อย ๕ ลำดบั
-จำแนกและจัดกลมุ่ สิง่ ต่างๆโดยใช้
อยา่ งน้อยหน่งึ ลักษณะเปน็ เกณฑ์

-เรยี งลำดบั ส่งิ ของหรือเหตกุ ารณ์
อยา่ งน้อย ๔ ลำดับ

ตวั บ่งชที้ ี่ ๑๐.๒ มีความสามารถในการคดิ เชิงเหตผุ ล

อายุ ๓ ปี สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี
-ระบุผลทีเ่ กดิ ขึ้นในเหตุการณ์หรือการ -อธิบายเชอื่ มโยงสาเหตุและผลท่เี กิดข้นึ
กระทำเมือ่ มผี ู้ช้แี นะ อายุ ๔ ปี ในเหตกุ ารณห์ รือการกระทำด้วยตนเอง

-คาดเดา หรือ คาดคะเนสง่ิ ที่อาจเกิดขึ้น -ระบสุ าเหตุหรือผลที่เกิดข้ึนใน -คาดคะเนส่ิงท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้ และมสี ว่ น
เหตุการณ์หรือ การกระทำเมื่อมีผู้ ร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมี
ช้ีแนะ เหตผุ ล

-คาดเดา หรอื คาดคะเนส่งิ ที่อาจจะ
เกิดข้ึน หรือมสี ่วนรว่ มในการลง
ความเห็นจากข้อมลู

ตวั บ่งช้ที ี่ ๑๐.๓ มคี วามสามารถในการคดิ แกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจ

สภาพท่พี งึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี
-ตดั สินใจในเรอื่ งง่ายๆ
-ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆและเร่ิมเรยี นรู้ -ตดั สนิ ใจในเรอ่ื งง่ายๆและยอมรบั ผลที่
-แกป้ ญั หาโดยลองผิดลองถูก
ผลท่ีเกิดข้นึ เกิดขน้ึ

-ระบปุ ัญหา และแก้ปัญหาโดยลอง -ระบุปัญหาสร้างทางเลือกและเลือกวธิ ี

ผดิ ลองถูก แก้ปัญหา

มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑๑.๑ เลน่ /ทำงานศลิ ปะตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-สรา้ งผลงานศลิ ปะเพื่อสอื่ สารความคดิ -สรา้ งผลงานศิลปะเพื่อส่อื สารความคิด -สรา้ งผลงานศิลปะเพ่ือส่อื สารความคดิ
ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดัดแปลง
ความรู้สกึ ของตนเอง ความรสู้ ึกของตนเองโดยมีการดัดแปลง และแปลกใหม่จากเดมิ และ
และแปลกใหม่จากเดมิ หรอื มี มรี ายละเอียดเพิ่มข้ึน
รายละเอยี ดเพมิ่ ข้ึน

๑๕ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 256๕


ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/เคลื่อนไหวตามจินตนาการอย่างสรา้ งสรรค์

สภาพทพ่ี ึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี

-เคลอ่ื นไหวทา่ ทางเพ่ือสื่อสารความคิด -เคลือ่ นไหวท่าทางเพอ่ื สื่อสาร -เคลื่อนไหวทา่ ทางเพื่อสื่อสารความคดิ
ความรสู้ กึ ของตนเอง
ความรู้สึกของตนเอง ความคิด ความรสู้ ึกของตนเอง อย่างหลากหลายและแปลกใหม่

อยา่ งหลากหลายหรือแปลกใหม่

มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ การเรยี นรู้และมคี วามสามารถในการแสวงหาความร้ไู ด้เหมาะสมกบั วยั

ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๒.๑ มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้

สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี
-สนใจฟังหรืออ่านหนงั สอื ด้วยตนเอง
-สนใจซักถามเกยี่ วกับสญั ลกั ษณ์หรอื -หยิบหนงั สือมาอ่านและเขียนสอ่ื ความคิด
-กระตือรือร้นในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ตัวหนงั สือทีพ่ บเห็น ด้วยตนเองเปน็ ประจำอยา่ งต่อเน่ือง

-กระตือรือรน้ ในการเข้ารว่ มกิจกรรม -กระตือรือรน้ ในการรว่ มกิจกรรมตง้ั แตต่ ้น

จนจบ

ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑๒.๒ มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้

อายุ ๓ ปี สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี

-ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยตา่ งๆ ตาม อายุ ๔ ปี -คน้ หาคำตอบของข้อสงสยั ต่างๆ ตาม
วธิ กี ารทม่ี ผี ู้ชแ้ี นะ วธิ กี ารท่หี ลากหลายดว้ ยตนเอง
-คน้ หาคำตอบของข้อสงสัยตา่ งๆ ตาม
-เช่อื มโยงคำถา “อะไร” ในการคน้ หา วิธกี ารของตนเอง -ใช้ประโยคคำถามว่า “เมื่อไร” อย่างไร”
คำตอบ ในการค้นหาคำตอบ
-ใชป้ ระโยคคำถามวา่ “ท่ีไหน”
“ทำไม” ในการคน้ หาคำตอบ

๑๖ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


การจัดเวลาเรยี น/ระยะเวลาเรยี น

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาในการจดั ประสบการณ์ให้กบั เด็ก
๑ - ๓ ปกี ารศึกษาโดยประมาณ ท้ังน้ี ขึ้นอย่กู ับอายขุ องเด็กทเ่ี ร่ิมเขา้ สถานศกึ ษาหรือสถาบันพัฒนาเด็กปฐมวยั
เวลาเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยขน้ึ อยกู่ ับสถานศกึ ษาแต่ละแหง่ โดยมีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกว่า ๑๘๐ วนั ตอ่ ๑ ปีการศกึ ษา ใน
แต่ละวนั จะใชเ้ วลาไม่นอ้ ยกว่า 5 ช่ัวโมง โดยสามารถปรบั เปลี่ยนใหเ้ หมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาและสถาบัน
พัฒนาเดก็ ปฐมวยั

ดังน้นั โรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกุล)จึงกำหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาในการจัดประสบการณใ์ ห้กับ
เด็ก 1 - ๓ ปกี ารศกึ ษา ท้ังน้ี ขึ้นอย่กู ับอายุของเดก็ ทีส่ มัครเข้าเรียน เวลาเรียนสำหรบั เดก็ ปฐมวัย มีเวลาเรียน
ไมน่ ้อยกว่า ๑๘๐ วันตอ่ ๑ ปกี ารศึกษา ในแต่ละวันจะใช้เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 6 ช่ัวโมง ไมน่ ้อยกว่า 30 ชวั่ โมง/สัปดาห์

สาระการเรยี นรรู้ ายปี

สาระการเรียนรู้ใชเ้ ปน็ สื่อกลางในการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ให้กบั เดก็ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทกุ ดา้ น
ให้เปน็ ไปตามจดุ หมายของหลักสตู รปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ได้กำหนดไวแ้ ลว้ ประกอบดว้ ย ประสบการณส์ ำคัญและ
สาระท่ีควรเรียนรู้ ดงั นี้

ประสบการณส์ ำคัญ

ประสบการณ์สำคัญเปน็ แนวทางสำหรับผู้สอนไปใช้ในการออกแบบการจดั ประสบการณ์ ใหเ้ ด็กปฐมวัยเรยี นรู้
ลงมือปฏบิ ตั ิ และได้รบั การส่งเสรมิ พัฒนาการครอบคลมุ ทุกดา้ น ดงั นี้

๑. ประสบการณส์ ำคญั ท่ีส่งเสริมพฒั นาการด้านร่างกาย เปน็ การสนบั สนนุ ใหเ้ ด็กได้มโี อกาสพัฒนาการใช้
กล้ามเนอื้ ใหญ่ กลา้ มเนื้อเลก็ และการประสานสมั พันธร์ ะหวา่ งกล้ามเน้ือและระบบประสาท ในการทำกิจวัตรประจำวัน
หรือทำกิจกรรมต่างๆและสนับสนนุ ให้เดก็ มโี อกาสดูแลสขุ ภาพและสุขอนามยั และการรักษาความปลอดภัย ดงั น้ี

๑.๑ การใชก้ ล้ามเนือ้ ใหญ่
๑.๑.๑ การเคล่อื นไหวอยกู่ ับที่
๑.๑.๒ การเคล่อื นไหวเคลอ่ื นที่
๑.๑.๓ การเคล่ือนไหวพรอ้ มวัสดุอปุ กรณ์
๑.๑.๔ การเคลื่อนไหวที่ใชก้ ารประสานสัมพันธ์ของการใชก้ ล้ามเน้ือมดั ใหญ่ในการขวา้ ง
การจับ การโยน การเตะ
๑.๑.๕ การเลน่ เครือ่ งเลน่ สนามอยา่ งอิสระ

๑.๒ การใช้กลา้ มเนอื้ เลก็
๑.๒.๑ การเล่นเครอื่ งเลน่ สมั ผสั และการสร้างจากแท่งไม้ บลอ็ ก
๑.๒.๒ การเขยี นภาพและการเลน่ กับสี
๑.๒.๓ การป้นั
๑.๒.๔ การประดิษฐส์ งิ่ ตา่ งๆด้วย เศษวัสดุ
๑.๒.๕ การหยบิ จบั การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ

๑.๓ การรกั ษาสุขภาพอนามัยสว่ นตัว
๑.๓.๑ การปฏบิ ัตติ นตามสุขอนามัย สขุ นิสัยท่ีดีในกิจวตั รประจำวนั

๑.๔ การรกั ษาความปลอดภัย
๑.๔.๑ การปฏิบตั ิตนให้ปลอดภยั ในกิจวตั รประจำวัน
๑.๔.๒ การฟงั นิทาน เรือ่ งราว เหตุการณ์ เก่ยี วกับการป้องกันและรกั ษาความปลอดภยั
๑.๔.๓ การเลน่ เครอื่ งเล่นอย่างปลอดภยั
๑.๔.๔ การเลน่ บทบาทสมมติเหตุการณ์ตา่ งๆ

๑๗ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 256๕


๑.๕ การตระหนักรเู้ กยี่ วกบั รา่ งกายตนเอง
๑.๕.๑ การเคล่ือนไหวเพื่อควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพืน้ ที่
๑.๕.๒ การเคล่อื นไหวข้ามสิง่ กีดขวาง

๒ ประสบการณ์สำคัญที่สง่ เสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจเปน็ การสนับสนุนให้เด็กได้แสดงออก

ทางอารมณแ์ ละความรสู้ ึกของตนเองทเ่ี หมาะสมกับวยั ตระหนักถึงลกั ษณะพเิ ศษเฉพาะท่ีเปน็ อตั ลกั ษณ์ ความเปน็ ตัวของ
ตวั เอง มีความสุข ร่าเรงิ แจม่ ใส การเหน็ อกเห็นใจผู้อื่นได้พัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม สุนทรียภาพ ความร้สู ึกทีด่ ตี อ่ ตนเอง
และความเช่ือมน่ั ในตนเองขณะปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ งๆ ดงั น้ี

๑.๒.๑ สนุ ทรียภาพ ดนตรี
๑.๒.๑.๑ การฟังเพลง การรอ้ งเพลง และการแสดงปฏิกริ ิยาโตต้ อบเสียงดนตรี
๑.๒.๑.๒ การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
๑.๒.๑.๓ การเล่นบทบาทสมมติ
๑.๒.๑.๔ การทำกจิ กรรมศลิ ปะตา่ งๆ
๑.๒.๑.๕ การสรา้ งสรรคส์ ่ิงสวยงาม

๑.๒.๒ การเล่น
๑.๒.๒.๑ การเลน่ อสิ ระ
๑.๒.๒.๒ การเล่นรายบคุ คล กลมุ่ ย่อย กลุ่มใหญ่
๑.๒.๒.๓ การเล่นตามมมุ ประสบการณ์
๑.๒.๒.๔ การเล่นนอกหอ้ งเรียน

๑.๒.๓ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๑.๒.๓.๑ การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศาสนาทีน่ บั ถือ
๑.๒.๓.๒ การฟังนทิ านเกย่ี วกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๑.๒.๓.๓ การร่วมสนทนาแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ เชงิ จริยธรรม

๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์
๑.๒.๔.๑ การสะทอ้ นความรสู้ ึกของตนเองและผู้อนื่
๑.๒.๔.๒ การเล่นบทบาทสมมติ
๑.๒.๔.๓ การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
๑.๒.๔.๔ การร้องเพลง
๑.๒.๔.๕ การทำงานศิลปะ

๑.๒.๕ การมีอัตลักษณเ์ ฉพาะตนและเชือ่ วา่ ตนเองมคี วามสามารถ
๑.๒.๕.๑ การปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง

๑.๒.๖ การเหน็ อกเหน็ ใจผู้อ่ืน
๑.๒.๖.๑ การแสดงความยนิ ดีเม่อื ผูอ้ นื่ มีความสุข เห็นอกเห็นใจเม่ือผู้อ่นื เศร้าหรือเสียใจ และการ
ชว่ ยเหลอื ปลอบโยนเม่ือผอู้ ืน่ ได้รับบาดเจบ็

๑.๓ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสงั คม เป็นการสนับสนนุ ให้เดก็ ได้มีโอกาสปฏสิ ัมพันธ์

กับบุคลและสิ่งแวดล้อมต่างๆรอบตัวจากการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ผ่านการเรียนรู้ทางสังคม เช่น การเล่น การทำงานกับ
ผู้อน่ื การปฏิบัติกิจวตั รประจำวัน การแก้ปัญหาขอ้ ขดั แยง้ ต่างๆ

๑.๓.๑ การปฏบิ ัตกิ จิ วัตรประจำวนั
๑.๓.๑.๑ การช่วยเหลือตนเองในกจิ วัตรประจำวนั
๑.๓.๑.๒การปฏบิ ัตติ นตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๑๘ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


๑.๓.๒ การดแู ลรกั ษาธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
๑.๓.๒.๑ การมีสว่ นร่วมรบั ผดิ ชอบดแู ลรักษาสิง่ แวดล้อมท้ังภายในและภายนอกหอ้ งเรยี น
๑.๓.๒.๒ การทำงานศิลปะท่ใี ช้วัสดหุ รือสงิ่ ของทีใ่ ชแ้ ลว้ มาใชซ้ ำ้ หรอื แปรรูปแลว้ นำกลับมา ใช้ใหม่
๑.๓.๒.๓ การเพาะปลูกและดูแลตน้ ไม้
๑.๓.๒.๔ การเลย้ี งสตั ว์
๑.๓.๒.๕ การสนทนาข่าวและเหตุการณ์ท่เี กี่ยวกบั ธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมในชวี ิตประจำวนั

๑.๓.๓ การปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ ทอ่ี าศัยและความเป็นไทย
๑.๓.๓.๑ การเล่นบทบาทสมมุติการปฏิบัตติ นในความเป็นคนไทย
๑.๓.๓.๒ การปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมท้องถ่นิ ท่อี าศยั และประเพณีไทย
๑.๓.๓.๓ การประกอบอาหารไทย
๑.๓.๓.๔ การศึกษานอกสถานท่ี
๑.๓.๓.๕ การละเลน่ พื้นบ้านของไทย

๑.๓.๔ การมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ มีวนิ ยั มีสวนร่วม และบทบาทสมาชกิ ของสังคม
๑.๓.๔.๑ การรว่ มกำหนดขอ้ ตกลงของหอ้ งเรียน
๑.๓.๔.๒ การปฏบิ ัติตนเปน็ สมาชทิ ดี่ ีของห้องเรียน
๑.๓.๔.๓ การใหค้ วามรว่ มมือในการปฏบิ ัติกิจกรรมต่าง ๆ
๑.๓.๔.๔ การดูแลหอ้ งเรยี นรว่ มกัน
๑.๓.๔.๕ การรว่ มกจิ กรรมวนั สำคญั

๑.๓.๕ การเล่นแบบร่วมมือร่วมใจ
๑.๓.๕.๑ การรว่ มสนทนาและแลกเปล่ียนความคิดเห็น
๑.๓.๕.๒ การเลน่ และทำงานร่วมกับผู้อืน่
๑.๓.๕.๓ การทำศลิ ปะแบบร่วมมือ

๑.๓.๖ การแกป้ ญั หาความขัดแย้ง
๑.๓.๖.๑ การมสี ่วนร่วมในการเลือกวิธกี ารแก้ปัญหา
๑.๓.๖.๒ การมสี ่วนรว่ มในการแก้ปญั หาความขัดแยง้

๑.๓.๗ การยอมรับในความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
๑.๓.๗.๑ การเลน่ หรอื ทำกจิ กรรมรว่ มกบั กลุ่มเพือ่ น

๑.๔ ประสบการณ์สำคัญที่สง่ เสรมิ พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา เปน็ การสนับสนุนให้เดก็ ได้รบั รู้ เรียนรสู้ งิ่ ต่างๆรอบตัวผ่าน
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคลและส่ือต่างๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพ่ือเปิดโอกาสให้เด็ก
พฒั นาการใชภ้ าษา จนิ ตนาการความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิดเชิงเหตุผล และการคิดรวบยอดเกีย่ วกบั สิ่งต่างๆ
รอบตวั และมีความคดิ รวบยอดทางคณติ ศาสตร์ท่เี ป็นพื้นฐานของการเรียนรใู้ นระดับที่สงู ข้นึ ต่อไป

๑.๔.๑ การใช้ภาษา
๑.๔.๑.๑ การฟังเสยี งตา่ งๆ ในสิ่งแวดล้อม
๑.๔.๑.๒ การฟงั และปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำ
๑.๔.๑.๓ การฟังเพลง นทิ าน คำคล้องจอง บทร้อยกรงหรือเรอ่ื งราวต่างๆ
๑.๔.๑.๔ การแสดงความคิด ความร้สู กึ และความต้องการ
๑.๔.๑.๕ การพดู กับผู้อืน่ เกีย่ วกบั ประสบการณข์ องตนเอง หรือพดู เลา่ เร่ืองราวเกย่ี วกับตนเอง
๑.๔.๑.๖ การพดู อธิบายเกย่ี วกับส่งิ ของ เหตกุ ารณ์ และความสมั พันธข์ องส่ิงต่างๆ
๑.๔.๑.๗ การพูดอย่างสรา้ งสรรคใ์ นการเลน่ และการกระทำตา่ งๆ

๑๙ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศกั ราช 256๕


๑.๔.๑.๘ การรอจงั หวะทเ่ี หมาะสมในการพูด
๑.๔.๑.๙ การพูดเรียงลำดับเพ่ือใช้ในการสื่อสาร
๑.๔.๑.๑๐ การอา่ นหนังสอื ภาพ นิทาน หลากหลายประเภท/รูปแบบ
๑.๔.๑.๑๑ การอ่านอิสระตามลำพงั การอา่ นร่วมกัน การอา่ นโดยมผี ูช้ แี้ นะ
๑.๔.๑.๑๒ การเห็นแบบอย่างของการอา่ นที่ถูกต้อง
๑.๔.๑.๑๓ การสังเกตทศิ ทางการอ่านตวั อักษร คำ และขอ้ ความ
๑.๔.๑.๑๔ การอ่านและช้ขี ้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซา้ ยไปขวา จากบนลงล่าง
๑.๔.๑.๑๕ การสงั เกตตวั อักษรในชือ่ ของตน หรอื คำค้นุ เคย
๑.๔.๑.๑๖ การสังเกตตวั อักษรทีป่ ระกอบเปน็ คำผา่ นการอา่ นหรือเขยี นของผใู้ หญ่
๑.๔.๑.๑๗ การคาดเดาคำ วลี หรือประโยค ท่มี โี ครงสรา้ งซ้ำๆกัน จากนิทาน เพลง คำคล้องจอง
๑.๔.๑.๑๘ การเลน่ เกมทางภาษา
๑.๔.๑.๑๙ การเห็นแบบอย่างของการเขียนทถี่ ูกตอ้ ง
๑.๔.๑.๒๐ การเขยี นรว่ มกนั ตามโอกาส และการเขยี นอสิ ระ
๑.๔.๑.๒๑ การเขียนคำทีม่ ีความหมายกบั ตวั เดก็ /คำคุ้นเคย
๑.๔.๑.๒๒ การคดิ สะกดคำและเขยี นเพ่ือสื่อความหมายดว้ ยตนเองอย่างอสิ ระ
๑.๔.๒ การคดิ รวบยอด การคิดเชงิ เหตผุ ล การตัดสนิ ใจและแก้ปญั หา
๑.๔.๒.๑ การสังเกตลกั ษณะ สว่ นประกอบ การเปล่ียนแปลง และความสัมพนั ธข์ องสง่ิ ต่างๆ โดยใช้
ประสาทสมั ผสั อยา่ งเหมาะสม
๑.๔.๒.๒ การสังเกตสิ่งต่างๆ และสถานท่ีจากมุมมองทตี่ ่างกนั

๑.๔.๒.๓ การบอกและแสดงตำแหนง่ ทิศทาง และระยะทางของสิง่ ตา่ งๆดว้ ยการกระทำ ภาพวาด
ภาพถ่าย และรูปภาพ

๑.๔.๒.๔ การเลน่ กับส่ือตา่ งๆทีเ่ ป็นทรงกลม ทรงส่ีเหลีย่ มมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย
๑.๔.๒.๕ การคดั แยก การจัดกลุ่ม และการจำแนกส่งิ ตา่ งๆตามลกั ษณะและรูปรา่ ง รูปทรง
๑.๔.๒.๖ การต่อของชิ้นเลก็ เติมในช้ินใหญใ่ ห้สมบรู ณ์ และการแยกชน้ิ ส่วน
๑.๔.๒.๗ การทำซำ้ การต่อเติม และการสร้างแบบรูป
๑.๔.๒.๘ การนับและแสดงจำนวนของสงิ่ ต่างๆในชวี ิตประจำวนั
๑.๔.๒.๙ การเปรียบเทียบและเรยี งลำดบั จำนวนของสง่ิ ต่างๆ
๑.๔.๒.๑๐ การรวมและการแยกสง่ิ ตา่ งๆ
๑.๔.๒.๑๑ การบอกและแสดงอันดบั ที่ของสิ่งต่างๆ
๑.๔.๒.๑๒ การช่ัง ตวง วัดสงิ่ ตา่ งๆโดยใช้เครอ่ื งมือและหน่วยทีไ่ มใ่ ชห่ น่วยมาตรฐาน
๑.๔.๒.๑๓ การจับคู่ การเปรียบเทยี บ และการเรยี งลำดับ ส่ิงตา่ งๆ ตามลกั ษณะความยาว/ความสูง
นำ้ หนกั ปริมาตร
๑.๔.๒.๑๔ การบอกและเรียงลำดบั กิจกรรมหรือเหตกู ารณ์ตามชว่ งเวลา
๑.๔.๒.๑๕ การใชภ้ าษาทางคณติ ศาสตรก์ บั เหตกุ ารณ์ในชีวิตประจำวนั
๑.๔.๒.๑๖ การอธบิ ายเช่ือมโยงสาเหตแุ ละผลทีเ่ กดิ ข้ึนในเหตุการณ์หรอื การกระทำ
๑.๔.๒.๑๗ การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งทอ่ี าจเกิดข้ึนอย่างมีเหตผุ ล
๑.๔.๒.๑๘ การมีสว่ นรว่ มในการลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมเี หตผุ ล
๑.๔.๒.๑๙ การตัดสนิ ใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปญั หา

๒๐ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศกั ราช 256๕


๑.๔.๓ จินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
๑.๔.๓.๑ การรับรู้ และแสดงความคิดความรสู้ กึ ผา่ นสอื่ วัสดุ ของเล่น และช้ินงาน
๑.๔.๓.๒ การแสดงความคิดสรา้ งสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคล่ือนไหว และศิลปะ
๑.๔.๓.๓ การสร้างสรรค์ช้ินงานโดยใช้รปู ร่างรปู ทรงจากวสั ดุท่ีหลากหลาย

๑.๔.๔ เจตคติทดี่ ีตอ่ การเรียนรแู้ ละการแสวงหาความรู้
๑.๔.๔.๑ การสำรวจสิง่ ต่างๆ และแหลง่ เรยี นร้รู อบตวั
๑.๔.๔.๒ การตั้งคำถามในเรื่องท่สี นใจ
๑.๔.๔.๓ การสืบเสาะหาความร้เู พื่อคน้ หาคำตอบของขอ้ สงสยั ต่างๆ
๑.๔.๔.๔ การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูลจากการสืบเสาะหาความรู้ในรูปแบบ

ตา่ งๆและแผนภูมอิ ย่างง่าย

2. สาระทค่ี วรเรียนรู้

สาระท่ีควรเรียนรู้ เป็นเร่ืองราวรอบตัวเด็กท่ีนำมาเป็นส่ือกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิดหลังจากนำ
สาระการเรียนรู้นั้น ๆ มาจัดประสบการณ์ให้เด็ก เพ่ือให้บรรลุจัดหมายที่กำหนดไว้ทั้งนี้ ไม่เน้นการท่องจำเน้ือหา ครู
สามารถกำหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการ และความสนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่าน
ประสบการณส์ ำคัญ ท้งั น้ี อาจยดื หยุ่นเน้อื หาได้โดยคำนึงถงึ ประสบการณแ์ ละสิง่ แวดล้อมในชีวิตจรงิ ของเด็ก ดังน้ี

๒.๑ เรื่องราวเก่ียวกับตัวเด็ก เด็กควรรู้จักช่ือ นามสกุล รูปร่างหน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ วิธีระวังรักษาร่างกาย
ให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยท่ีดี การรับประทานอาหารท่ีเป็นประโยชน์ การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองจาก
ผอู้ ่ืนและภัยใกล้ตัว รวมท้ังการปฏิบัติต่อผู้อ่ืนอย่างปลอดภัย การรู้จักความเป็นมาของตนเองและครอบครวั การปฏิบัติ
ตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น การรู้จักแสดงความคิดเห็นของตนเอง
และรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน การกำกบั ตนเอง การเล่นและทำสิ่งต่างๆด้วยตนเองตามลำพงั หรือกับผู้อ่ืน การตระหนัก
รเู้ ก่ียวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะท้อนการรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น การแสดงออก
ทางอารมณแ์ ละความรสู้ กึ อย่างเหมาะสม การแสดงมารยาทที่ดี การมีคณุ ธรรมจริยธรรม

๒.๒ เรื่องราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน
และบุคคลต่างๆ ท่ีเด็กต้องเกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏสิ ัมพันธ์ในชีวติ ประจำวัน สถานที่สำคัญ วันสำคัญ อาชพี ของคน
ในชุมชน ศาสนา แหล่งวฒั นาธรรมในชมุ ชน สัญลักษณ์สำคญั ของชาติไทยและการปฏิบัตติ ามวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นและความ
เป็นไทย หรือแหล่งเรยี นรู้จากภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นอ่นื ๆ

๒.๓ ธรรมชาติรอบตวั เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับช่ือ ลักษณะ สว่ นประกอบ การเปลย่ี นแปลงและความสัมพันธ์ของ
มนุษย์ สัตว์ พชื ตลอดจนการรู้จักเกย่ี วกับดิน นำ้ ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรง และพลังงานในชีวติ ประจำวัน
ที่แวดล้อมเด็ก รวมทง้ั การอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดล้อมและการรกั ษาสาธารณสมบตั ิ

๒.๔ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก เดก็ ควรเรียนรเู้ ก่ียวกับการใช้ภาษาเพ่ือส่อื ความหมายในชีวิตประจำวัน ความรพู้ นื้ ฐาน
เกี่ยวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักช่ือ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร น้ำหนัก จำนวน
ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆรอบตัว เวลา เงิน ประโยชน์ การใช้งาน และการเลือกใช้
ส่ิงของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการส่ือสารต่างๆ ท่ีใช้อยู่ในชีวิตประจำวันอย่างประหยัด
ปลอดภยั และรกั ษาสิ่งแวดล้อม

๒๑ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


การจดั ประสบการณ์

การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวยั อายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะบรู ณาการผ่านการเล่น
การลงมือกระทำจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลาย เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม รวมทั้งเกิดการพัฒนาทั้ง
ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญา ไม่จดั เปน็ รายวชิ าโดยมหี ลกั การ และแนวทางการจดั ประสบการณ์ ดงั น้ี

๑. หลักการจัดประสบการณ์

๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและ
ต่อเน่ือง

๑.๒ เน้นเด็กเป็นสำคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริบทของ
สังคมทเี่ ด็กอาศยั อยู่

๑.๓ จัดให้เดก็ ได้รบั การพัฒนา โดยใหค้ วามสำคญั กบั กระบวนการเรยี นรู้และพัฒนาการของเดก็
๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเน่ือง และเป็นส่วนหนึ่งของการจัด
ประสบการณ์ พรอ้ มทง้ั นำผลการประเมินมาพัฒนาเด็กอยา่ งต่อเน่ือง
๑.๕ ให้พ่อแม่ ครอบครวั ชุมชน และทุกฝา่ ยที่เกย่ี วขอ้ งมสี ่วนร่วมในการพฒั นาเดก็

๒. แนวทางการจดั ประสบการณ์

๒.๑ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทำงานของสมองที่เหมาะสมกับอายุ
วุฒภิ าวะและระดบั พฒั นาการ เพอื่ ให้เดก็ ทกุ คนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ

๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือกระทำเรียนรู้ผ่านประสา
สัมผัสทง้ั ห้า ได้เคล่อื นไหว สำรวจ เลน่ สงั เกต สบื คน้ ทดลอง และคดิ แกป้ ัญหาด้วยตนเอง

๒.๓ จดั ประสบการณแ์ บบบูรณาการ โดยบูรณาการทง้ั กิจกรรม ทักษะ และสาระการเรียนรู้
๒.๔ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเร่ิมคิด วางแผน ตัดสินใจลงมือกระทำและนำเสนอความคิดโดยครูหรือ
ผู้จดั ประสบการณเ์ ป็นผู้สนบั สนุนอำนวยความสะดวก และเรียนรู้รว่ มกบั เดก็
๒.๕ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่นกับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้
ในบรรยากาศทีอ่ บอุน่ มคี วามสุข และเรียนรกู้ ารทำกจิ กรรมแบบรว่ มมือในลกั ษณะต่างๆกัน
๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งการเรียนร่ีหลากหลายและอยู่ในวิถีชีวิตของ
เด็ก
๒.๗ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวิตประจำวันตลอดจนสอดแทรก
คณุ ธรรมจริยธรรมใหเ้ ป็นส่วนหนง่ึ ของการจัดประสบการณ์การเรียนร้อู ย่างต่อเน่อื ง
๒.๘ จัดประสบการณ์ท้ังในลักษณะท่ีดีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนที่เกิดขึ้นในสภาพจริงโดยไม่ได้
คาดการณ์ไว้
๒.๙ จัดทำสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล
นำมาไตร่ตรองและใช้ให้เป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาเดก็ และการวิจัยในช้นั เรียน
๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมทั้งการวางแผน การสนับสนุนสื่อ
แหล่งเรียนรู้ การเขา้ ร่วมกจิ กรรม และการประเมนิ พัฒนาการ

๒๒ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


3. การจดั กจิ กรรมประจำวนั

กิจกรรมสำหรับเดก็ อายุ ๓ – ๖ ปีบริบูรณ์ สามารถนำมาจัดเป็นกิจกรรมประจำวันได้หลายรูปแบบเป็นการช่วย
ให้ครูผู้สอนหรือผู้จัดประสบการณ์ทราบว่าแต่ละวันจะทำกิจกรรมอะไร เมื่อใด และอย่างไร ท้ังนี้ การจัดกิจกรรม
ประจำวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมในการนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน
ที่สำคัญครูผู้สอนต้องคำนึงถึงการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านการจัดกิจกรรมประจำวันมีหลักการจัดและ
ขอบข่ายกจิ กรรมประจำวนั ดังนี้

๓.๑ หลักการจัดกิจกรรมประจำวัน
๑. กำหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของเด็กในแต่ละวันแต่ยืดหยุ่น

ได้ตามความต้องการและความสนใจของเด็ก เชน่
วยั ๓-๔ ปี มคี วามสนใจชว่ งสัน้ ประมาณ ๘-๑๒ นาที
วัย ๔ – ๕ ปี มีความสนใจอยู่ไดป้ ระมาณ ๑๒-๑๕ นาที
วัย ๕-๖ ปี มีความสนใจอย่ไู ด้ประมาณ ๑๕- ๒๐ นาที
๒. กิจกรรมทีต่ อ้ งใชค้ วามคิดทง้ั ในกลมุ่ เล็กและกลุ่มใหญ่ ไมค่ วรใช้เวลาต่อเน่อื งนานเกนิ กวา่

๒๐ นาที
๓. กิจกรรมทเ่ี ด็กมีอิสระเลอื กเล่นเสรี เพอ่ื ช่วยให้เด็กรจู้ กั เลือกตดั สนิ ใจ คิดแกป้ ญั หา คิดสรา้ งสรรค์ เช่น

การเลน่ ตามมุม การเล่นกลางแจ้ง ฯลฯ ใช้เวลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที
๔. กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมท่ีใช้กล้ามเน้ือใหญ่และ

กล้ามเนื้อเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่เด็กเป็นผู้ริเร่ิมและครูผู้สอนหรือผู้จัด
ประสบการณ์เป็นผู้รเิ ริ่ม และกิจกรรมที่ใช้กำลังและไม่ใช้กำลัง จัดให้ครบทุกประเภท ทั้งนี้ กิจกรรมท่ีต้องออกกำลังกาย
ควรจัดสลับกบั กจิ กรรมทีไ่ มต่ อ้ งออกกำลงั มากนกั เพือ่ เด็กจะไดไ้ มเ่ หนื่อยเกนิ ไป

๓.๒ ขอบขา่ ยของกจิ กรรมประจำวัน
การเลือกกิจกรรมท่ีจะนำมาจัดในแต่ละวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมในการ
นำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ที่สำคัญครูผู้สอนต้องคำนึกถึงการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมพัฒนาการทุก
ด้าน ดังตอ่ ไปน้ี
๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเน้ือใหญ่ เป็นการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว ความยืดหยุ่น ความคล่องแคล่วใน
การใช้อวัยวะต่าง ๆ และจังหวะการเคล่ือนไหวในการใช้กล้ามเน้ือใหญ่ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นอิสระกลางแจ้ง เล่น
เคร่ืองเล่นสนาม ปนี ปา่ ยเล่นอิสระ เคลือ่ นไหวร่างกายตามจงั หวะดนตรี
๓.๒.๒ การพัฒนาการกล้ามเนื้อเล็ก เป็นการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเน้ือเล็ก กล้ามเนื้อมือ-นิ้วมือการ
ประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเน้ือมือและระบบประสาทตามือได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์ โดยจัดกิจกรรม
ให้เด็กได้เล่นเคร่ืองสัมผัส เล่นเกมการศึกษา ฝึกช่วยเหลือตนเองในการแต่งกาย หยิบจับช้อนส้อม และใช้อุปกรณ์ศิลปะ
เช่น สีเทียน กรรไกร พ่กู ัน ดินเหนยี ว ฯลฯ
๓.๒.๓ การพัฒนาการอารมณ์ จติ ใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เป็นการปลูกฝังให้เด็กมีความรู้สึกท่ีดีต่อ
ตนเองและผู้อื่น มีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออก มีวินัย รับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ ประหยัด เมตตากรุณา เอื้ อเฟ้ือ แบ่งปัน มี
มารยาทและปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาทนี่ ับถอื โดยจดั กจิ กรรมตา่ งๆ ผ่านการเลน่ ให้เด็กได้มีโอกาสตัดสินใจ
เลือก ได้รบั การตอบสนองตาความตอ้ งการได้ฝกึ ปฏบิ ตั โิ ดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมอย่างตอ่ เนอ่ื ง

๒๓ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการพัฒนาให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออกอย่างเหมาะสมและอยู่ร่วมกับ
ผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวันมีนิสัยรักการทำงาน ระมัดระวังความปลอดภัยของ
ตนเองและผู้อื่น โดยรวมทั้งระมัดระวังอันตรายจากคนแปลกหน้า ให้เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอย่างสม่ำเสม อ เช่น
รับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่าย ทำความสะอาดร่างกาย เล่นและทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ปฏิบัติตามกฎกติกา
ข้อตกลงของร่วมรวม เกบ็ ของเข้าทีเ่ มื่อเลน่ หรือทำงานเสร็จ

๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เป็นการพัฒนาให้เด็กมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาความ คิดรวบยอด
ทางคณิตศาสตร์ และคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้สนทนา อภิปรายและ
เปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ศึกษานอกสถานที่ เล่นเกมการศึกษา ฝึกการแก้ปัญหาใน
ชีวติ ประจำวนั ฝกึ ออกแบบและสร้างช้นิ งาน และทำกจิ กรรมท้ังเปน็ กลุม่ ย่อย กลุ่มใหญ่และรายบคุ คล

๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นการพัฒนาให้เด็กใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ความรู้ความ
เข้าใจในส่ิงต่างๆ ที่เด็กมีประสบการณ์โดยสามารถตั้งคำถามในสิ่งท่ีสงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรมทางภาษาให้มีความ
หลากหลายในสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กได้กล้าแสดงออกในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรัก
การอ่าน และบุคคลแวดล้อมต้องเป็นแบบอย่างท่ีดีในการใช้ภาษา ท้ังน้ีต้องคำนึกถึงหลักการจัดกิจกรรมทางภาษาที่
เหมาะสมกับเด็กเป็นสำคญั

๓.๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมให้เด็กมีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของส่ิงต่างๆ โดยจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ดนตรี การ
เคลอื่ นไหวและจงั หวะตามจนิ ตนาการ ประดิษฐส์ ่งิ ต่างๆ อย่างอิสระ เลน่ บทบาทสมมุติ เลน่ นำ้ เล่นทราย เลน่ บล็อก และ
เล่นก่อสร้าง

การกำหนดเวลาจดั กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์

การกำหนดเวลาของแต่ละกิจกรรมเพ่ือจัดทําตารางกิจกรรมประจําวันสามารถดําเนินการได้
หลากหลายรูปแบบ ขึ้นกับความเหมาะสม ประเด็นสําคัญผู้สอนต้องคํานึงถึงความครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน โดยให้
เด็กไดเ้ รยี นปนเลน่ อยา่ งมคี วามสขุ ข้อเสนอแนะเพ่ือพจิ ารณาโดยประมาณซ่ึงสามารถยดื หยนุ่ ได้ ดงั น้ี

ตารางกำหนดเวลาจัดกจิ กรรมเสริมประสบการณ์

ชัน้ อนุบาลปีที่ ๑ - 3

ภาคเรียนท่ี เวลาเรยี น (วัน) หมายเหตุ
1 100

2 100

รวม 200

๒๔ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พุทธศกั ราช 256๕


กิจกรรม ลำดับ อายุ ๓ ปี อายุ 4 ปี อายุ 5 ปี
เวลาเรียน เวลาเรยี น
เวลาเรียน (นาท/ี วนั ) (นาท/ี วัน)

(นาท/ี วัน) 20 20
40 40
1 กิจกรรมเคล่อื นไหวและจังหวะ 15 40 40
40 40
2 กิจกรรมสร้างสรรค์ 40 15 20
20 20
3 กิจกรรมเสรี 40
185 180
4 กจิ กรรมกลางแจ้ง 40

5 กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ 10

6 เกมการศึกษา 15

กิจกรรมการพัฒนาทักษะพื้นฐานใน

ชวี ิตประจาํ วัน อืน่ ๆ

- กจิ กรรมหนา้ เสาธง

- สนทนาขา่ วและเหตกุ ารณ์

- หนนู อ้ ยรักการอ่าน

- ตรวจสุขภาพ ดม่ื นำ้ ห้องน้ำ 200
- ดืม่ นม รับประทานของว่าง

- รับประทานอาหาร

- แปรงฟัน ล้างหน้า

- นอนพกั ผอ่ น /เก็บทนี่ อน

รวม 6 ช่ัวโมง / วัน
30 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

1,200 ชวั่ โมง/ปีการศกึ ษา

หมายเหตุ เวลาในการจดั กจิ กรรมสามารถยดื หยุ่นได้ตามความเหมาะสม
สาํ หรบั ทักษะพ้ืนฐานชวี ติ ในประจําวนั อายุ ๓ ขวบจะใช้เวลามากกว่า เมื่ออายมุ ากขน้ึ เวลาจะลดลง

เพราะเดก็ สามารถช่วยเหลือตนเอง อายุ ๓ ขวบมีกจิ กรรมทางสงั คมท่ีตอ้ งฝึกการอยู่รว่ มกับผ้อู ืน่ ใช้ เวลานอ้ ยลง
และสืบเนอ่ื งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา่ 2019 ( โควิด - 19 ) การจัดประสบการณ์
การเรยี นรู้ การจดั กิจกรรม 6 กจิ กรรมหลกั จึงจดั ตามแนวทางของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
ดำเนินการพัฒนาเดก็ โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคญั พัฒนา และส่งเสรมิ เด็กให้มีพัฒนาด้านรา่ งกาย พัฒนาด้าน
อารมณ-์ จติ ใจ พัฒนาดา้ นสังคม พฒั นาดา้ นสติปญั ญา โดยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เป็นไป โดยปฏบิ ตั ิตาม
เกณฑ์การเปดิ เรียนของคณะกรรมการการโรคติดต่อจงั หวัดฉะเชงิ เทรา โรงเรียนไดด้ ำเนินการจัดทำแผนเผชิญ
เหตุ ประเมนิ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ปฏิบตั ิตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเคร่งครัด
จัดประสบการณ์การเรียนรู้หน่วยการเรยี นรู้บรู ณาการกับกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม เพ่ือให้เดก็ ๆ ไดร้ ับการ
พฒั นาในทุกดา้ นอย่างเต็มศักยภาพ คำนึงถึงพัฒนาการ และความปลอดภยั ของเด็กเป็นสำคญั

๒๕ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


ตารางกำหนดเวลาจดั กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ ระดับชน้ั อนุบาลปีที่ 1

เวลา กจิ กรรม หมายเหตุ
07.00 - 07.45 รับเดก็ / กจิ กรรมหนูน้อยตาวเิ ศษ(เกบ็ ขยะ)
07.45 - 08.15 เข้าแถว เคารพธงชาติ กิจกรรมหนา้ เสาธง ช่วงเวลาในการทำ
08.15 - 08.30 ตรวจรา่ งกาย ด่ืมนม ด่ืมนำ้ เขา้ ห้องน้ำ กจิ กรรมสามารถ
08.30 - 08.4๕ สนทนาขา่ ว และเหตกุ ารณ์ ยดื หยนุ่ ไดต้ าม
0๘.๔๕ - 09.๐0 กจิ กรรมเคลื่อนไหว-จงั หวะ ความเหมาะสม
09.๐0 - 09.10 กจิ กรรมเสริมประสบการณ์
๐๙.10 - ๐๙.2๐ เขา้ ห้องนำ้ ดืม่ น้ำ
๐๙.10 - 09.50 กจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์
09.5๐ - 10.30 กิจกรรมเสรี เล่นตามมุม
1๐.30 - 11.10 กิจกรรมกลางแจ้ง
11.10 - 1๑.20 เขา้ ห้องน้ำ ล้างมือ
11.20 - 12.20 พกั รับประทานอาหารกลางวัน
แปรงฟัน ล้างหนา้
12.20 - 14.20 นอนพักผ่อนกลางวนั
14.20 - 14.30 ตื่นนอน / เกบ็ ทน่ี อน / ล้างหน้า / ทาแป้ง
เขา้ ห้องน้ำ
14.30 - 14.45 กิจกรรมเกมการศึกษา
14.45 - 14.50 ทบทวนกจิ กรรม
14.50 - 15.00 กิจกรรมรกั การอา่ น
15.00 เปน็ ตน้ ไป เตรยี มตัวกลบั บ้าน

๒๖ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


ตารางกำหนดเวลาจดั กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ ระดับชน้ั อนุบาลปีที่ 2

เวลา กจิ กรรม หมายเหตุ
07.00 - 07.45 รับเดก็ / กจิ กรรมหนูน้อยตาวเิ ศษ(เกบ็ ขยะ)
07.45 - 08.15 เข้าแถว เคารพธงชาติ กิจกรรมหนา้ เสาธง ช่วงเวลาในการทำ
08.15 - 08.30 ตรวจรา่ งกาย ด่ืมนม ด่ืมนำ้ เขา้ ห้องน้ำ กจิ กรรมสามารถ
08.30 - 08.4๕ สนทนาขา่ ว และเหตกุ ารณ์ ยดื หยนุ่ ไดต้ าม
0๘.๔๕ - 09.05 กจิ กรรมเคลอ่ื นไหว-จงั หวะ ความเหมาะสม
09.๐5 - 09.20 กจิ กรรมเสริมประสบการณ์
๐๙.20 - ๐๙.30 เขา้ ห้องนำ้ ด่มื น้ำ
๐๙.30 - 10.10 กจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์
10.10 - 10.50 กิจกรรมเสรี เล่นตามมุม
1๐.50 - 11.30 กิจกรรมกลางแจ้ง
11.30 - 1๑.40 เขา้ ห้องน้ำ ลา้ งมือ
11.40 - 12.20 พกั รับประทานอาหารกลางวัน
แปรงฟัน ลา้ งหนา้
12.20 - 14.00 นอนพักผอ่ นกลางวนั
14.00 - 14.10 ตื่นนอน / เก็บทน่ี อน / ล้างหน้า / ทาแป้ง
เขา้ ห้องนำ้
14.10 - 14.30 กิจกรรมเกมการศึกษา
14.30 - 14.50 ทบทวนบทเรียน
14.50 - 15.00 กิจกรรมรักการอา่ น
15.00 เปน็ ตน้ ไป เตรยี มตัวกลับบ้าน

๒๗ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


ตารางกำหนดเวลาจัดกจิ กรรมเสริมประสบการณ์ ระดับช้ันอนบุ าลปที ี่ 3

เวลา กจิ กรรม หมายเหตุ
07.00 - 07.45 รับเดก็ / กจิ กรรมหนนู อ้ ยตาวเิ ศษ(เก็บขยะ)
07.45 - 08.15 เข้าแถว เคารพธงชาติ กิจกรรมหน้าเสาธง ชว่ งเวลาในการทำ
08.15 - 08.30 ตรวจร่างกาย ดืม่ นม ด่มื นำ้ เขา้ ห้องนำ้ กจิ กรรมสามารถ
08.30 - 08.4๕ สนทนาขา่ ว และเหตุการณ์ ยดื หยุน่ ได้ตาม
0๘.๔๕ - 09.05 กิจกรรมเคล่อื นไหว-จังหวะ ความเหมาะสม
09.๐5 - 09.25 กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์
๐๙.25 - ๐๙.30 เขา้ หอ้ งน้ำ ดม่ื นำ้
๐๙.30 - 10.10 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
10.10 - 10.50 กิจกรรมเสรี เล่นตามมมุ
1๐.50 - 11.30 กจิ กรรมกลางแจ้ง
11.30 - 1๑.40 เข้าหอ้ งนำ้ ล้างมือ
11.40 - 12.20 พักรับประทานอาหารกลางวนั
แปรงฟนั ล้างหนา้
12.20 - 14.00 นอนพกั ผอ่ นกลางวนั
14.00 - 14.10 ตน่ื นอน / เกบ็ ที่นอน / ล้างหน้า / ทาแปง้
เขา้ ห้องนำ้
14.10 - 14.30 กจิ กรรมเกมการศึกษา
14.30 - 14.50 ทบทวนบทเรียน
14.50 - 15.00 กิจกรรมรกั การอ่าน
15.00 เป็นตน้ ไป เตรยี มตวั กลบั บา้ น

หมายเหตุ : เนอ่ื งจากมกี ารจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบควบชั้น อนุบาลปที ี่ 2 และอนุบาลปีที่ 3 ชว่ งเวลาในการทำ
กิจกรรมสามารถยดื หยุน่ ไดต้ ามความเหมาะสม

๒๘ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


ตารางกำหนดหน่วยการจดั ประสบการณ์
การจดั หนว่ ยการเรยี นรชู้ ั้นอนุบาลปที ี่ 1 - 3

สาระการเรียนรู้

บุคคลและสถานที่

เร่อื งราวเกย่ี วกับตัวเด็ก แวดลอ้ มเด็ก ธรรมชาตริ อบตวั สิง่ ต่าง ๆ รอบตวั เด็ก
- วิทยาศาสตร์น่ารู้
- ปฐมนเิ ทศ - โรงเรยี นพระพิมลเสนขี องเรา - ผกั แสนอรอ่ ย - ของเลน่ ของใช้
- ตัวเรา - โลกสวยดว้ ยมอื เรา
- หนูทำได้ - วันขึ้นปีใหม่ - ตน้ ไมท้ ่ีรกั
- รู้รอดปลอดภัย - คมนาคม
- ปลอดภัยไว้ก่อน - วนั เด็ก วันครู - แม่น้ำบางปะกง
- รักการอ่าน - เทคโนโลยแี ละส่อื สาร
- ครอบครวั มสี ขุ - - ปา่ ชายเลน
- ชมุ ชนของเรา - สตั ว์นา่ รกั - สนกุ กบั ตวั เลข
-วนั ไหว้ครู - ผลไมแ้ สนอรอ่ ย
-วันชาติ - ขา้ ว - เสยี งรอบตัว
- วันเฉลมิ พระชนมพรรษา - ดิน หนิ ทราย
- วนั แม่ - ฤดฝู น - ขนาด รูปรา่ ง รปู ทรง
- ฤดูหนาว
- แรง และพลงั งาน
- ลอยกระทง - ฤดูรอ้ น
- กลางวนั กลางคืน
- ค่านิยมไทย
- ปรมิ าตร นำ้ หนกั
- เศรษฐกิจพอเพียง
- อาหารดีมปี ระโยชน์

- รักเมืองไทย

๒๙ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 256๕


หน่วยการจดั ประสบการณ์ ช้ันอนบุ าลปที ี่ 1 – ๓
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนพระพิมลเสนี(พรอ้ ม หงสกุล)
บรู ณาการตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖o

ท่ี ภาคเรยี นท่ี ๑ ที่ ภาคเรยี นที่ ๒
๑ ปฐมนิเทศ 21 รู้รอดปลอดภัย
๒ โรงเรียนพระพิมลเสนีของเรา 2๒ ลอยกระทง
๓ ตวั เรา 2๓ เวลา กลางวนั กลางคนื
๔ หนทู ำได้ 2๔ ค่านิยมไทย
๕ ครอบครวั มสี ุข 2๕ วนั ชาติ
๖ อาหารดมี ปี ระโยชน์ 2๖ เศรษฐกจิ พอเพียง
๗ ฤดฝู น 2๗ เทคโนโลยีและการสอ่ื สาร
๘ ข้าว 2๘ วนั ขึ้นปีใหม่
๙ ปลอดภัยไว้ก่อน 2๙ วทิ ยาศาสตร์นา่ รู้
๑o วนั เฉลิมพระชนมพรรษา 3o ขนาด รูปรา่ ง รูปทรง
๑๑ วนั แม่ 3๑ วนั เดก็ วันครู
๑๒ รักเมืองไทย 3๒ โลกสวยดว้ ยมอื เรา
๑๓ ของเลน่ ของใช้ 3๓ ฤดหู นาว
๑๔ ชุมชนของเรา 3๔ แรงและพลงั งาน
๑๕ ตน้ ไมท้ ี่รัก 3๕ เสียงรอบตัว
๑๖ ดิน หนิ ทราย 3๖ รกั การอา่ น
๑๗ สตั ว์นา่ รัก 3๗ ปรมิ าตร นำ้ หนกั
๑๘ คมนาคม 3๘ ฤดรู ้อน
19 ปา่ ชายเลน 39 โครงงานวิทยาศาสตร์น้อย
20 แมน่ ้ำบางปะกง 40 โครงงานวทิ ยาศาสตรน์ ้อย

หมายเหตุ : โรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกุล) กำหนดหนว่ ยการเรียนรู้ภาคเรยี นท่ี 1 มี 20 หนว่ ยการเรียนรู้
ภาคเรยี นที่ 2 มี 18 หน่วยการเรียนรู้ และดำเนินโครงงานวิทยาศาสตร์นอ้ ย 2 สปั ดาห์ เพอ่ื ที่ครูผจู้ ัด

ประสบการณ์การเรยี นรสู้ ามารถนำไปบรู ณาการใช้ตามช่วงเวลาความเหมาะสม

๓๐ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้

การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษามีความสำคัญต่อเด็กเน่ืองจากธรรมชาติของเด็กในวัยนี้สนใจที่จะเรียนรู้
ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับส่ิงแวดล้อมรอบๆตัว ดังนั้น การจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมตามความ
ต้องการของเด็ก จึงมีความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการเรียนรู้ของเด็ก เด็กสามารถเรียนรู้จากการเล่นที่เป็น
ประสบการณ์ตรงท่ีเกิดจากการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้าจึงจำเป็นต้องจัดส่ิงแวดล้อมในสถา นศึกษาให้สอดคล้องกับ
สภาพ และความตอ้ งการของหลักสตู ร เพื่อส่งผลใหบ้ รรลุจุดหมายในการพฒั นาเด็ก

การจัดสภาพแวดลอ้ มคำนงึ ถงึ ส่งิ ตอ่ ไปน้ี
๑.ความสะอาด ความปลอดภัย
๒.ความมีอิสระอย่างมีขอบเขตในการเลน่
๓.ความสะดวกในการทำกจิ กรรม
๔.ความพร้อมของอาคารสถานท่ี เชน่ หอ้ งเรยี น ห้องนำ้ ห้องส้วม สนามเดก็ เล่น ฯลฯ
๕.ความเพียงพอเหมาะสมในเรื่องขนาด นำ้ หนัก จำนวน สขี องสอ่ื และเคร่อื งเล่น
๖.บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจดั ทีเ่ ล่นและมุมประสบการณ์ต่าง ๆ

สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรยี น

หลกั สำคัญในการจัดต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ความสะอาด เป้าหมายการพฒั นาเดก็ ความเป็นระเบยี บ ความ
เป็นตัวของเด็กเอง ให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่น ม่ันใจ และมีความสุข ซึ่งอาจจัดแบ่งพื้นท่ีให้เหมาะสมกับการประกอบ
กิจกรรมตามหลกั สูตร ดงั น้ี

๑. พื้นทอ่ี ำนวยความสะดวกเพื่อเดก็ และผ้สู อน
๑.๑ ที่แสดงผลงานของเดก็ อาจจดั เปน็ แผ่นปา้ ย หรือท่แี ขวนผลงาน
๑.๒ ที่เกบ็ แฟม้ ผลงานของเดก็ อาจจัดทำเปน็ กล่องหรอื จดั ใสแ่ ฟม้ รายบคุ คล
๑.๓ ทเ่ี กบ็ เครอ่ื งใชส้ ว่ นตัวของเดก็ อาจทำเป็นชอ่ งตามจำนวนเดก็
๑.๔ ท่ีเก็บเคร่ืองใชข้ องผู้สอน เชน่ อุปกรณ์การสอน ของส่วนตัวผูส้ อน ฯลฯ
๑.๕ ป้ายนเิ ทศตามหนว่ ยการสอนหรอื สิง่ ทเี่ ด็กสนใจ

๒. พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรมและการเคล่ือนไหว ต้องกำหนดให้ชัดเจน ควรมีพ้ืนท่ีท่ีเด็กสามารถจะทำงานได้ด้วย
ตนเอง และทำกิจกรรมด้วยกันในกลุ่มเล็ก หรือกลุ่มใหญ่ เด็กสามารถเคล่ือนไหวได้อย่างอิสระจากกิจกรรมหนึ่งไปยัง
กจิ กรรมหน่งึ โดยไม่รบกวนผู้อนื่

๓. พ้ืนท่ีจัดมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์ สามารถจัดได้ตามความเหมาะสมข้ึนอยู่กับสภาพของห้องเรียน จัดแยก
ส่วนทใ่ี ชเ้ สียงดังและเงยี บออกจากกนั เช่น มมุ บล็อกอยู่ห่างจากมุมหนงั สือ
มุมบทบาทสมมติอยู่ติดกับมุมบล็อก มุมวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้มุมศิลปะฯ ลฯ ท่ีสำคัญจะต้องมีของเล่น วัสดุอุปกรณ์ในมุม
อยา่ งเพียงพอต่อการเรียนรู้ของเด็ก การเล่นในมุมเล่นอย่างเสรี มักถูกกำหนดไว้ในตารางกิจกรรมประจำวัน เพ่ือให้โอกาส
เดก็ ได้เล่นอยา่ งเสรปี ระมาณวันละ ๖๐ นาทกี ารจัดมุมเลน่ ต่างๆ ผสู้ อนควรคำนึงถงึ สิง่ ต่อไปนี้

๓.๑ ในหอ้ งเรยี นควรมมี มุ เลน่ อย่างนอ้ ย ๓-๕ มมุ ทง้ั น้ีขึ้นอยกู่ บั พ้นื ท่ีของหอ้ ง
๓.๒ ควรได้มีการผลัดเปล่ยี นสือ่ ของเลน่ ตามมมุ บา้ ง ตามความสนใจของเด็ก
๓.๓ ควรจัดให้มีประสบการณ์ที่เด็กได้เรียนรู้ไปแล้วปรากฏอยู่ในมุมเล่น เช่น เด็กเรียนรู้เร่ืองผีเสื้อ ผู้สอน
อาจจดั ให้มกี ารจำลองการเกิดผีเส้อื ล่องไวใ้ ห้เด็กดใู นมุมธรรมชาติศึกษาหรือมมุ วิทยาศาสตร์ ฯลฯ

๓๑ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


๓.๔ ควรเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดมุมเล่น ท้ังนี้เพื่อจูงใจให้เด็กรู้สึกเป็นเจ้าของ อยากเรียนรู้
อยากเขา้ เล่น

๓.๕. ควรเสรมิ สร้างวนิ ัยใหก้ ับเดก็ โดยมขี ้อตกลงร่วมกนั วา่ เม่ือเล่นเสร็จแลว้ จะตอ้ งจัดเก็บอปุ กรณ์ทุกอย่าง
เขา้ ทีใ่ ห้เรียบร้อย

สภาพแวดล้อมนอกห้องเรียน คือ การจัดสภาพแวดล้อมภายในอาณาบริเวณรอบ ๆ สถานศึกษา รวมท้ังจัดสนามเด็กเล่น
พร้อมเครื่องเล่นสนาม จดั ระวังรักษาความปลอดภัยภายในบริเวณสถานศึกษาและบริเวณรอบนอกสถานศึกษา ดูแลรักษา
ความสะอาด ปลูกต้นไม้ให้ความร่มร่ืนรอบๆบริเวณสถานศึกษา ส่ิงต่างๆเหล่าน้ีเป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และ
พฒั นาการของเดก็

บริเวณสนามเด็กเล่น ตอ้ งจัดให้สอดคล้องกบั หลกั สตู ร ดงั นี้

สนามเด็กเล่น มีพื้นผิวหลายประเภท เช่น ดิน ทราย หญ้า พื้นที่สำหรับเล่นของเล่นที่มีล้อ รวมท้ังท่ีร่ม
ท่โี ล่งแจ้ง พ้นื ดินสำหรบั ขุด ท่ีเล่นน้ำ บอ่ ทราย พร้อมอุปกรณป์ ระกอบการเล่น เครื่องเลน่ สนามสำหรับ
ปนี ปา่ ย ทรงตัว ฯลฯ ทั้งนี้ต้องไม่ตดิ กบั บริเวณท่ีมีอันตราย ตอ้ งหม่ันตรวจตราเครื่องเลน่ ให้อยู่ในสภาพแข็งแรง ปลอดภัย
อยเู่ สมอ และหมั่นดแู ลเรอื่ งความสะอาด

ทน่ี ั่งเล่นพักผอ่ น จัดท่ีนั่งไว้ใต้ต้นไม้มีร่มเงา อาจใช้กิจกรรมกลุ่มย่อย ๆ หรือกิจกรรมที่ต้องการความ
สงบ หรืออาจจัดเป็นลานนทิ รรศการใหค้ วามรแู้ กเ่ ด็กและผ้ปู กครองบริเวณธรรมชาติ ปลกู ไมด้ อก ไม้ประดับ พชื ผกั สวน
ครัว หากบรเิ วณสถานศกึ ษา มีไม่มากนัก อาจปลูกพชื ในกระบะหรือกระถาง

สือ่ และแหล่งเรียนรู้

สื่อประกอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ควรมี
ส่ือท้ังท่ีเป็นประเภท ๒ มิติ และ/หรือ ๓ มิติ ที่เป็นสื่อของจริง สอ่ื ธรรมชาติ ส่ือท่ีอยู่ใกล้ตัวเดก็ สื่อสะท้อนวฒั นธรรม
สื่อทีป่ ลอดภยั ตอ่ ตัวเด็ก สื่อเพื่อพัฒนาเด็กในด้านตา่ งๆให้ครบทุกด้านสื่อที่เอื้อให้เด็กเรียนรูผ้ ่านประสาทสมั ผัสทั้งห้า โดย
การจัดการใช้ส่ือเร่ิมต้นจาก ส่ือของจริง ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง และ สัญลักษณ์ ท้ังนี้การใช้ส่ือต้องเหมาะสมกับวัย
วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความสนใจและความต้องการของเด็กที่หลากหลาย ตัวอย่างส่ือประกอบการจัด
กจิ กรรม มีดังนี้

กจิ กรรมเสรี /การเล่นตามมุม

๑. มมุ บทบาทสมมติ อาจจัดเป็นมุมเลน่ ดงั นี้

๑.๑ มมุ บ้าน
❖ ของเล่นเครือ่ งใช้ในครวั ขนาดเล็ก หรอื ของจำลอง เชน่ เตา กระทะ ครก กาน้ำ

เขียง มดี พลาสติก หมอ้ จาน ชอ้ น ถ้วยชาม กะละมัง ฯลฯ
❖ เครอื่ งเลน่ ตุ๊กตา เสอื้ ผ้าตุ๊กตา เตียง เปลเด็ก ตุ๊กตา
❖ เครื่องแต่งบา้ นจำลอง เชน่ ชุดรับแขก โต๊ะเคร่ืองแป้ง หมอนอิง กระจกขนาดเหน็ เต็มตวั

หวี ตลับแป้ง ฯลฯ
❖ เคร่ืองแตง่ กายบุคคลอาชีพตา่ ง ๆ ที่ใช้แลว้ เชน่ ชุดเครื่องแบบทหาร ตำรวจ
ชดุ เสื้อผ้าผู้ใหญ่ชายและหญงิ รองเท้า กระเป๋าถือท่ีไม่ใชแ้ ลว้ ฯลฯ
❖ โทรศพั ท์ เตารีดจำลอง ท่รี ีดผ้าจำลอง
❖ ภาพถ่ายและรายการอาหาร

๓๒ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พุทธศกั ราช 256๕


๑.๒ มมุ หมอ
- เคร่ืองเล่นจำลองแบบเคร่ืองมอื แพทย์และอุปกรณ์การรกั ษาผปู้ ่วย เช่น หฟู ัง
เสอ้ื คลุมหมอ ฯลฯ
❖ อุปกรณ์สำหรับเลียนแบบการบันทึกข้อมูลผูป้ ว่ ย เชน่ กระดาษ ดนิ สอ ฯลฯ

๑.๓ มมุ ร้านคา้
❖ กลอ่ งและขวดผลติ ภัณฑ์ตา่ งๆทใี่ ชแ้ ลว้
❖ อปุ กรณ์ประกอบการเลน่ เช่น เครอ่ื งคิดเลข ลูกคิด ธนบตั รจำลอง ฯลฯ

๒. มมุ บลอ็ ก
❖ ไมบ้ ล็อกหรือแทง่ ไมท้ ่มี ีขนาดและรปู ทรงต่างๆกนั จำนวนตง้ั แต่ ๕๐ ชิน้ ขึ้นไป
❖ ของเลน่ จำลอง เชน่ รถยนต์ เครอื่ งบนิ รถไฟ คน สตั ว์ ต้นไม้ ฯลฯ
❖ ภาพถ่ายต่างๆ
- ทจ่ี ัดเกบ็ ไมบ้ ล็อกหรอื แทง่ ไม้อาจเปน็ ชนั้ ลังไมห้ รอื พลาสตกิ แยกตามรูปทรง ขนาด

๓. มมุ หนังสือ

❖ หนงั สอื ภาพนทิ าน สมดุ ภาพ หนังสือภาพท่ีมคี ำและประโยคส้นั ๆพร้อมภาพ
❖ ชนั้ หรือท่ีวางหนงั สือ
❖ อปุ กรณต์ ่าง ๆ ทใี่ ชใ้ นการสร้างบรรยากาศการอ่าน เชน่ เสอื่ พรม หมอน ฯลฯ
❖ สมดุ เซ็นยมื หนังสือกลบั บา้ น
❖ อุปกรณส์ ำหรับการเขยี น
❖ อุปกรณเ์ สรมิ เชน่ เครือ่ งเล่นเทป ตลับเทปนิทานพร้อมหนังสอื นทิ าน หูฟัง ฯลฯ

๔. มมุ วิทยาศาสตร์ หรอื มุมธรรมชาติศึกษา

❖ วสั ดุตา่ ง ๆ จากธรรมชาติ เช่น เมล็ดพืชตา่ ง ๆ เปลอื กหอย ดนิ หิน แร่ ฯลฯ
❖ เคร่ืองมอื เคร่อื งใชใ้ นการสำรวจ สงั เกต ทดลอง เชน่ แว่นขยาย แม่เหล็ก เขม็ ทิศ

เครอื่ งช่งั ฯลฯ
๕.มุมอาเซยี น

❖ ธงของแต่ละประเทศในกล่มุ ประเทศอาเซยี น
❖ คำกล่าวทักทายของแต่ละประเทศ
❖ ภาพการแต่งกายประจำชาตใิ นกล่มุ ประเทศอาเซยี น

6. มุมศิลปะ

❖ กระดาษหน้าเดยี ว(รียูช)
❖ สเี ทยี น สดี นิ สอ
❖ ดินน้ำมัน
❖ แผน่ รองป้ัน

7. มุมเกมการศึกษา

❖ เกมการศึกษาต่างๆ

๓๓ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 256๕


กจิ กรรมสร้างสรรค์ ควรมีวสั ดุ อุปกรณ์ ดังน้ี

๑. การวาดภาพและระบายสี
- สเี ทียนแท่งใหญ่ สีไม้ สีชอลก์ สนี ำ้
- พูก่ ันขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒ )
- กระดาษ
- เสอ้ื คลมุ หรือผา้ กันเปื้อน

๒. การเลน่ กบั สี
❖ การเป่าสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สนี ำ้
❖ การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พกู่ นั สีน้ำ
❖ การพับสี มี กระดาษ สีนำ้ พู่กนั
❖ การเทสี มี กระดาษ สีนำ้
❖ การละเลงสี มี กระดาษ สนี ้ำ แปง้ เปยี ก

๓. การพิมพ์ภาพ
❖ แมพ่ ิมพต์ ่าง ๆ จากของจรงิ เชน่ นิว้ มอื ใบไม้ ก้านกลว้ ย ฯลฯ
❖ แมพ่ ิมพ์จากวสั ดอุ ื่น ๆ เช่น เชอื ก เส้นดา้ ย ตรายาง ฯลฯ
❖ กระดาษ ผ้าเชด็ มือ สีโปสเตอร์ (สีนำ้ สฝี นุ่ ฯลฯ)

๔.การปน้ั เช่น ดินนำ้ มนั ดินเหนียว แป้งโดว์ แผน่ รองป้ัน แม่พิมพร์ ูปต่าง ๆ ไมน้ วดแป้ง ฯลฯ
๕.การพบั ฉกี ตดั ปะ เช่น กระดาษ หรอื วสั ดุอื่นๆท่จี ะใช้พับ ฉกี ตัด ปะ กรรไกรขนาดเล็ก
ปลายมน กาวนำ้ หรือแป้งเปยี ก ผา้ เชด็ มือ ฯลฯ
๖. การประดษิ ฐ์เศษวัสดุ เช่น เศษวัสดุตา่ ง ๆ มกี ล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผ้า เศษไหม กาว กรรไกร สี
ผ้าเช็ดมอื ฯลฯ
๗. การร้อย เช่น ลกู ปดั หลอดกาแฟ หลอดด้าย ฯลฯ
๘.การสาน เชน่ กระดาษ ใบตอง ใบมะพร้าว ฯลฯ
๙. การเล่นพลาสติกสร้างสรรค์ พลาสตกิ ชน้ิ เล็ก ๆ รปู ทรงตา่ ง ๆ ผู้เลน่ สามารถนำมาตอ่ เป็นรูปแบบต่าง ๆ
ตามความต้องการ
๑๐.การสร้างรปู เชน่ จากกระดานปกั หมดุ จากแปน้ ตะปูท่ใี ช้หนังยางหรอื เชือก ผกู ดงึ ให้เป็นรปู รา่ งต่างๆ

เกมการศึกษา ตัวอย่างส่ือประเภทเกมการศึกษามดี งั น้ี
๑. เกมจับคู่
❖ จบั คู่รูปรา่ งทเี่ หมือนกัน
❖ จับคภู่ าพเงา
❖ จบั คภู่ าพทซ่ี ่อนอยู่ในภาพหลัก
❖ จบั คู่สง่ิ ทีม่ ีความสมั พันธ์กัน สง่ิ ทีใ่ ชค้ ่กู ัน
❖ จบั คู่ภาพส่วนเตม็ กบั ส่วนย่อย
❖ จบั ค่ภู าพกับโครงร่าง
❖ จบั คู่ภาพช้ินส่วนท่ีหายไป
❖ จบั คภู่ าพท่ีเป็นประเภทเดยี วกัน
❖ จบั ค่ภู าพที่ซ่อนกนั

๓๔ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


❖ จับคู่ภาพสมั พนั ธแ์ บบตรงกันขา้ ม
❖ จบั คู่ภาพที่สมมาตรกนั
❖ จบั คแู่ บบอนุกรม
❖ อืน่ ๆ
๒. เกมภาพตัดตอ่
❖ ภาพตดั ต่อท่ีสมั พนั ธก์ ับหนว่ ยการเรยี นต่าง ๆ เชน่ ผลไม้ ผกั ฯลฯ
๓. เกมจดั หมวดหมู่
❖ ภาพสิง่ ตา่ ง ๆ ท่ีนำมาจัดเป็นพวก ๆ
❖ ภาพเกย่ี วกบั ประเภทของใช้ในชีวติ ประจำวัน
❖ ภาพจดั หมวดหม่ตู ามรูปร่าง สี ขนาด รูปทรงเรขาคณติ
๔. เกมวางภาพต่อปลาย (โดมิโน)
❖ โดมิโนภาพเหมอื น
❖ โดมโิ นภาพสัมพันธ์
๕. เกมเรยี งลำดบั
❖ เรยี งลำดับภาพเหตกุ ารณต์ ่อเนื่อง
❖ เรยี งลำดบั ขนาด
๖. เกมศึกษารายละเอียดของภาพ (ล็อตโต้)
๗. เกมจบั คู่แบบตารางสัมพันธ์ (เมตริกเกม)
๘. เกมพ้นื ฐานการบวก

กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ /กิจกรรมในวงกลม ตัวอย่างสือ่ มดี ังน้ี

๑.สื่อของจริงที่อย่ใู กลต้ วั และส่ือจากธรรมชาติหรอื วสั ดทุ ้องถนิ่ เช่น ต้นไม้ ใบไม้ เปลอื กหอย เสอื้ ผา้ ฯลฯ
๒. สอ่ื ที่จำลองข้นึ เช่น ลกู โลก ตุก๊ ตาสตั ว์ ฯลฯ
๓. สื่อประเภทภาพ เชน่ ภาพพลกิ ภาพโปสเตอร์ หนังสือภาพ ฯลฯ
๔. สอ่ื เทคโนโลยี เช่น วิทยุ เคร่ืองบันทกึ เสียง เคร่ืองขยายเสียง โทรศัพท์

กจิ กรรมกลางแจ้ง ตวั อย่างส่ือมดี งั นี้
๑. เคร่อื งเล่นสนาม เช่น เครือ่ งเลน่ สำหรบั ปนี ปา่ ย เคร่ืองเลน่ ประเภทล้อเลื่อน ฯลฯ
๒. ท่ีเล่นทราย มีทรายละเอียด เครือ่ งเล่นทราย เคร่อื งตวง ฯลฯ
๓. ทเี่ ลน่ นำ้ มีภาชนะใส่นำ้ หรืออา่ งนำ้ วางบนขาตั้งทมี่ น่ั คง ความสูงพอทเ่ี ด็กจะยนื ได้พอดี เสื้อคลุมหรือผา้ กนั

เปอ้ื นพลาสติก อุปกรณ์เลน่ น้ำ เชน่ ถว้ ยตวง ขวดตา่ งๆ สายยาง กรวยกรอกน้ำ ตกุ๊ ตายาง ฯลฯ
กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ ตัวอย่างสอื่ มดี ังน้ี

๑. เครอื่ งเคาะจงั หวะ เช่น ฉงิ่ เหล็กสามเหลีย่ ม กรบั รำมะนา กลอง ฯลฯอปุ กรณ์ประกอบการเคลอ่ื นไหว
เชน่ หนงั สอื พิมพ์ รบิ บิ้น แถบผ้า ห่วง

๒. หวาย ถุงทราย ฯลฯ

๓๕ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


การเลอื กส่ือ มีวธิ กี ารเลอื กสอ่ื ดงั นี้

๑. เลอื กใหต้ รงกับจุดมงุ่ หมายและเรอ่ื งท่ีสอน
๒. เลอื กใหเ้ หมาะสมกบั วัยและความสามารถของเด็ก
๓. เลือกใหเ้ หมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มของท้องถ่ินท่ีเด็กอยู่หรอื สถานภาพของสถานศึกษา
๔. มีวธิ กี ารใช้ง่าย และนำไปใชไ้ ด้หลายกจิ กรรม
๕. มีความถกู ต้องตามเนื้อหาและทนั สมัย
๖. มคี ณุ ภาพดี เช่น ภาพชดั เจน ขนาดเหมาะสม ไม่ใชส้ ีสะท้อนแสง
๗. เลือกสอ่ื ท่ีเด็กเขา้ ใจงา่ ยในเวลาสั้น ๆ ไม่ซบั ซอ้ น
๘. เลือกสอื่ ท่สี ามารถสัมผัสได้
๙. เลอื กสอ่ื เพื่อใชฝ้ ึก และสง่ เสริมการคิดเป็น ทำเปน็ และกล้าแสดงความคิดเหน็ ดว้ ยความมน่ั ใจ

การจัดหาสอื่ สามารถจดั หาได้หลายวธิ ี คือ

๑. จดั หาโดยการขอยืมจากแหลง่ ต่างๆ เชน่ ศนู ยส์ ือ่ ของสถานศึกษาของรัฐบาล หรอื สถานศกึ ษาเอกชน ฯลฯ
๒.จดั ซือ้ สือ่ และเครื่องเลน่ โดยวางแผนการจดั ซื้อตามลำดบั ความจำเปน็ เพ่ือใหส้ อดคล้องกบั งบประมาณที่ทาง
สถานศึกษาสามารถจัดสรรให้และสอดคล้องกบั แผนการจดั ประสบการณ์
๓.ผลติ สอ่ื และเครือ่ งเล่นขนึ้ ใช้เองโดยใชว้ ัสดุที่ปลอดภัยและหางา่ ยเปน็ เศษวสั ดเุ หลือใช้
ท่ีมีอยู่ในทอ้ งถ่ินนั้นๆ เช่น กระดาษแขง็ จากลังกระดาษ รูปภาพจากแผ่นป้ายโฆษณา
รปู ภาพจากหนังสือนิตยสารต่าง ๆ เป็นต้น
ขนั้ ตอนการดำเนนิ การผลิตสื่อสำหรบั เดก็ มีดงั น้ี
๑. สำรวจความต้องการของการใช้สื่อให้ตรงกบั จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้และกิจกรรมทจ่ี ัด
๒. วางแผนการผลติ โดยกำหนดจดุ มุ่งหมายและรูปแบบของสอื่ ให้เหมาะสมกบั วัยและความสามารถของเด็ก

สอ่ื นั้นจะตอ้ งมคี วามคงทนแข็งแรง ประณีตและสะดวกตอ่ การใช้
๓. ผลติ สื่อตามรปู แบบทเี่ ตรียมไว้
๔. นำส่อื ไปทดลองใชห้ ลาย ๆ คร้ังเพ่ือหาข้อดี ข้อเสยี จะได้ปรบั ปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขน้ึ
๕. นำสือ่ ทป่ี รับปรุงแก้ไขแล้วไปใชจ้ ริง

การใช้ส่ือ ดำเนินการดังนี้
๑.การเตรยี มพร้อมกอ่ นใช้สื่อ มขี นั้ ตอน คือ
๑.๑ เตรยี มตัวผ้สู อน
❖ ผสู้ อนจะตอ้ งศึกษาจดุ มงุ่ หมายและวางแผนวา่ จะจดั กจิ กรรมอะไรบ้าง
❖ เตรยี มจัดหาสอื่ และศึกษาวิธกี ารใช้ส่ือ
❖ จดั เตรียมสอ่ื และวัสดอุ ่ืน ๆ ทจ่ี ะต้องใช้รว่ มกัน
❖ ทดลองใชส้ อ่ื ก่อนนำไปใช้จริง
๑.๒ เตรยี มตัวเดก็
❖ ศกึ ษาความรู้พ้นื ฐานเดมิ ของเดก็ ให้สมั พันธก์ บั เร่ืองท่จี ะสอน
❖ เร้าความสนใจเด็กโดยใชส้ อื่ ประกอบการเรยี นการสอน
❖ ใหเ้ ดก็ มีความรบั ผดิ ชอบ รจู้ กั ใชส้ อื่ อย่างสรา้ งสรรค์ ไม่ใช่ทำลาย
เล่นแล้วเก็บใหถ้ กู ท่ี

๓๖ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


๑.๓ เตรยี มสอ่ื ใหพ้ รอ้ มก่อนนำไปใช้
❖ จัดลำดับการใช้สอ่ื วา่ จะใช้อะไรก่อนหรอื หลัง เพื่อความสะดวกในการสอน
❖ ตรวจสอบและเตรยี มเครื่องมือใหพ้ ร้อมทจี่ ะใช้ไดท้ นั ที
❖ เตรยี มวสั ดุอุปกรณท์ ่ีใช้รว่ มกับสอื่

๒.การนำเสนอส่อื เพื่อให้บรรลุผลโดยเฉพาะใน กิจกรรมเสริมประสบการณ์ / กจิ กรรมวงกลม / กิจกรรมกลุ่ม
ย่อย ควรปฏิบตั ิ ดังน้ี

๒.๑ สรา้ งความพร้อมและเร้าความสนใจใหเ้ ด็กก่อนจดั กจิ กรรมทกุ คร้งั
๒.๒ ใชส้ อ่ื ตามลำดบั ขนั้ ของแผนการจัดกิจกรรมที่กำหนดไว้
๒.๓ ไมค่ วรใหเ้ ด็กเหน็ สื่อหลายๆชนิดพร้อมๆกนั เพราะจะทำให้เด็กไม่สนใจ

กจิ กรรมที่สอน
๒.๔ ผสู้ อนควรยืนอยู่ด้านข้างหรือดา้ นหลงั ของสอ่ื ที่ใชก้ บั เดก็

ผ้สู อนไมค่ วรยืน หนั หลงั ใหเ้ ด็ก จะต้องพูดคยุ กบั เด็กและสังเกตความสนใจ
ของเด็ก พร้อมทัง้ สำรวจข้อบกพรอ่ งของส่อื ที่ใช้ เพ่อื นำไปปรบั ปรุงแก้ไข
ให้ดีข้นึ
๒.๕เปดิ โอกาสใหเ้ ด็กได้ร่วมใชส้ ื่อ

ขอ้ ควรระวงั ในการใชส้ ่ือการเรยี นการสอน การใชส้ อื่ ในระดับปฐมวัยควรระวังในเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี
๑.วัสดทุ ีใ่ ช้ ต้องไมม่ ีพิษ ไมห่ ัก และแตกงา่ ย มีพ้ืนผวิ เรียบ ไมเ่ ป็นเสีย้ น
๒.ขนาด ไมค่ วรมขี นาดใหญ่เกินไป เพราะยากต่อการหยบิ ยก อาจจะตกลงมา

เสียหาย แตก เปน็ อันตรายต่อเด็กหรือใช้ไม่สะดวก เชน่ กรรไกรขนาดใหญ่ โตะ๊ เก้าอี้ท่ีใหญ่
และสงู เกินไป และไม่ควรมีขนาดเล็กเกนิ ไป เด็กอาจจะนำไปอมหรือกลนื ทำให้ตดิ คอหรือ
ไหลลงท้องได้ เชน่ ลกู ปดั เลก็ ลกู แก้วเล็ก ฯลฯ

๓. รปู ทรง ไม่เป็นรปู ทรงแหลม รปู ทรงเหลีย่ ม เปน็ สัน
๔. น้ำหนัก ไม่ควรมีน้ำหนักมาก เพราะเด็กยกหรือหยิบไม่ไหว อาจจะตกลงมาเป็นอันตรายต่อตัวเด็ก
๕. สื่อหลีกเลี่ยงสื่อท่ีเป็นอันตรายต่อตวั เดก็ เช่น สารเคมี วัตถไุ วไฟ ฯลฯ
๖. สี หลีกเลย่ี งสที เ่ี ปน็ อนั ตรายต่อสายตา เช่น สีสะทอ้ นแสง ฯลฯ

การประเมินการใชส้ อ่ื
ควรพจิ ารณาจากองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผูส้ อน เดก็ และสื่อ เพ่ือจะไดท้ ราบว่าสือ่ นั้นชว่ ยให้เดก็ เรยี นรู้

ได้มากนอ้ ยเพียงใด จะไดน้ ำมาปรับปรุงการผลติ และการใช้สื่อใหด้ ยี ่งิ ข้นึ โดยใช้วิธีสังเกต ดังนี้
๑. สื่อนั้นชว่ ยให้เดก็ เกดิ การเรยี นรเู้ พียงใด
๒. เดก็ ชอบสอ่ื นั้นเพยี งใด
๓. ส่อื น้ันช่วยใหก้ ารสอนตรงกบั จุดประสงค์หรอื ไม่ ถูกตอ้ งตามสาระการเรยี นรแู้ ละทันสมยั หรือไม่
๔. ส่ือนั้นช่วยให้เด็กสนใจมากน้อยเพยี งใด เพราะเหตุใด

๓๗ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


การเก็บ รกั ษา และซ่อมแซมส่ือ
การจดั เก็บสื่อเป็นการสง่ เสริมใหเ้ ดก็ ฝกึ การสงั เกต การเปรียบเทยี บ การจัดกลุ่ม สง่ เสรมิ ความรบั ผดิ ชอบ ความมี

นำ้ ใจ ช่วยเหลอื ผสู้ อนไมค่ วรใชก้ ารเกบ็ ส่ือเปน็ การลงโทษเดก็ โดยดำเนินการดงั นี้
๑. เก็บสื่อใหเ้ ป็นระเบียบและเป็นหมวดหม่ตู ามลกั ษณะประเภทของส่ือ สือ่ ทเ่ี หมือนกนั จัดเกบ็ หรือจัดวางไว้
ด้วยกนั
๒. วางส่อื ในระดับสายตาของเด็ก เพื่อให้เด็กหยบิ ใช้ จัดเก็บได้ด้วยตนเอง
๓. ภาชนะท่จี ัดเกบ็ สื่อควรโปรง่ ใส เพื่อให้เด็กมองเห็นส่งิ ท่อี ยภู่ ายในไดง้ า่ ยและควรมมี ือจบั เพ่ือให้สะดวกในการขน

ยา้ ย
๔. ฝกึ ใหเ้ ดก็ รูค้ วามหมายของรปู ภาพหรือสีทเี่ ป็นสญั ลักษณแ์ ทนหมวดหมู่ ประเภทสือ่ เพ่อื เด็กจะไดเ้ ก็บเขา้ ที่

ไดถ้ ูกต้อง การใช้สญั ลกั ษณ์ควรมคี วามหมายต่อการเรียนร้ขู องเด็ก สัญลกั ษณค์ วรใช้ส่ือของจริง ภาพถา่ ยหรอื สำเนา
ภาพวาด ภาพโครงร่างหรือภาพประจุด หรือบตั รคำตดิ คู่กับสญั ลกั ษณ์อยา่ งใดอย่างหนึ่ง

๕.ตรวจสอบสอ่ื หลังจากทีใ่ ชแ้ ลว้ ทุกครงั้ วา่ มสี ภาพสมบูรณ์ จำนวนครบถว้ นหรือไม่
๖. ซ่อมแซมส่ือชำรุด และทำเตมิ ส่วนท่ีขาดหายไปใหค้ รบชุด
การพฒั นาส่อื
การพัฒนาส่ือเพื่อใชป้ ระกอบการจัดกิจกรรมในระดบั ปฐมวัยนั้น กอ่ นอนื่ ควรไดส้ ำรวจข้อมูล สภาพปญั หาต่างๆ
ของส่ือทุกประเภทท่ีใชอ้ ย่วู า่ มีอะไรบ้างที่จะต้องปรบั ปรุงแก้ไข เพื่อจะไดป้ รับเปลีย่ นใหเ้ หมาะสมกบั ความต้องการ
แนวทางการพัฒนาส่ือ ควรมีลกั ษณะเฉพาะ ดังน้ี
๑. ปรบั ปรุงสอื่ ใหท้ ันสมัยเข้ากบั เหตกุ ารณ์ ใช้ได้สะดวก ไม่ซับซอ้ นเกินไป เหมาะสมกับวยั
ของเด็ก
๒. รกั ษาความสะอาดของสื่อ ถา้ เปน็ วสั ดทุ ่ีลา้ งนำ้ ได้ เม่อื ใช้แล้วควรไดล้ า้ งเช็ด หรอื ปดั ฝ่นุ ให้สะอาด เก็บไว้
เปน็ หมวดหมู่ วางเป็นระเบียบหยบิ ใช้งา่ ย
๓. ถ้าเป็นสือ่ ทีผ่ ู้สอนผลิตข้ึนมาใชเ้ องและผา่ นการทดลองใชม้ าแลว้ ควรเขียนคู่มือประกอบการใชส้ ือ่ นนั้ โดย
บอกชือ่ สื่อ ประโยชนแ์ ละวธิ ใี ชส้ ื่อ รวมทั้งจำนวนชิ้นส่วนของสอื่ ในชุดนน้ั และเกบ็ คมู่ ือไว้ในซองหรือถุง พรอ้ มสื่อทผี่ ลิต
๔. พฒั นาสือ่ ทีส่ ร้างสรรค์ ใช้ไดเ้ อนกประสงค์ คือ เป็นได้ท้ังส่ือเสริมพัฒนาการ
และเป็นของเลน่ สนุกสนานเพลดิ เพลนิ

แหล่งการเรยี นรู้

โรงเรยี นพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกุล) ได้แบ่งประเภทของแหล่งเรียนรู้ ไดด้ งั น้ี
๑. แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทบุคคล ไดแ้ ก่ วิทยากรหรือผเู้ ชยี วชาญเฉพาะด้าน ทจี่ ัดหามาเพอ่ื ให้ความรู้
ความเข้าใจอย่างกระจ่างแก่เด็กโดยสอดคล้องกับเน้อื หาสาระการเรียนร้ตู ่างๆ ได้แก่

- เจ้าหนา้ ที่โรงไฟฟา้ บางปะกง
- เจ้าหนา้ ท่ใี น อบต.
- เจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ
- เจา้ หน้าที่โรงพยาบาล
- พระสงฆ์
- พ่อคา้ – แมค่ า้
- เจา้ หน้าท่ตี ำรวจ
- ผปู้ กครอง
- ช่างตดั ผม / ชา่ งเสริมสวย
- ครู

๓๘ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศกั ราช 256๕


- พนักงานบรกิ าร
- บุรุษไปรษณยี ์
- ฯลฯ

๒. แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน ได้แก่ แหล่งข้อมลู หรอื แหล่งวิทยาการตา่ งๆ ท่ีอยู่ในชุมชน
มีความสัมพันธ์กบั เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณชี ว่ ยให้เด็กสามารถเชื่อมโยงโลกภายในและโลกภายนอก (inner
world & outer world) ได้ และสอดคล้องกบั วิถีการดำเนินชวี ติ ของเด็กปฐมวัย ไดแ้ ก่

- ห้องสมุด.
- ห้องวิทยาศาสตรป์ ฐมวัย (จัดทีห่ อ้ งอนบุ าลปที ี่ 2 – 3)
- วัดบน
-วัดล่าง
- โรงไฟฟ้าบางปะกง
- โตโยต้าชีวพนาเวศน์
-โรงพยาบาลบางปะกง
- สถานตี ำรวจ
- กรมพัฒนาทด่ี ินฉะเชงิ เทรา
- ร้านค้าในหมู่บา้ น
- ร้านตัดผมชาย-หญงิ
- อูซ่ ม่ รถ
- อน่ื ๆ
๓. สถานทส่ี ำคัญต่างๆ ได้แก่ แหล่งความรู้สำคัญต่างๆ ทเี่ ด็กใหค้ วามสนใจ ได้แก่
- สวนสัตว์เปิดเขาเขยี ว
- โครงการในพระราชดำริ เขาหนิ ซอ้ น
- เมอื งโบราน
ฯลฯ

๓๙ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


การประเมนิ พัฒนาการ

การประเมินพัฒนาการเดก็ อายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการประเมินพฒั นาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สงั คม และสตปิ ญั ญาของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนการต่อตนเอง และเปน็ ส่วนหน่งึ ของกิจกรรมปกติท่จี ัดให้เด็กในแตล่ ะ
วัน ผลที่ไดจ้ ากการสงั เกตพัฒนาการเดก็ ต้องนำมาจัดทำสารนิทัศน์หรอื จดั ทำข้อมูลหลกั ฐานหรอื เอกสารอยา่ งเป็นระบบ
ดว้ ยการวบรวมผลงานสำหรับเด็กเป็นรายบคุ คลท่ีสามารถบอกเรื่องราวหรือประสบการณ์ที่เด็กได้รับวา่ เดก็ เกดิ การเรียนรู้
และมีความกา้ วหนา้ เพียงใด ท้งั นี้ ให้นำข้อมลู ผลการประเมินพัฒนาการเด็กมาพิจารณา ปรบั ปรงุ วางแผล การจัดกจิ กรรม
และสง่ เสริมให้เด็กแตล่ ะคนได้รับการพัฒนาตามจดุ หมายของหลักสูตรอย่างต่อเน่ือง การประเมินพฒั นาการควรยดึ หลกั
ดงั น้ี

๑. วางแผนการประเมินพฒั นาการอยา่ งเปน็ ระบบ
๒. ประเมนิ พฒั นาการเด็กครบทุกด้าน
๓. ประเมินพัฒนาการเด็กเปน็ รายบคุ คลอย่างสม่ำเสมอต่อเน่ืองตลอดปี
๔. ประเมนิ พัฒนาการตามสภาพจรงิ จากกิจกรรมประจำวนั ด้วยเครือ่ งมอื และวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย ไม่ควรใช้

แบบทดสอบ
๕. สรปุ ผลการประเมิน จัดทำขอ้ มลู และนำผลการประเมินไปใชพ้ ฒั นาเดก็
สำหรับวิธกี ารประเมินทเี่ หมาะสมและควรใช้กบั เด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ได้แก่ การสงั เกต การบนั ทกึ พฤตกิ รรม การ
สนทนากับเด็ก การสมั ภาษณ์ การวิเคราะหข์ ้อมูลจากผลงานเดก็ ทีเ่ ก็บอยา่ งมรี ะบบ

ประเภทของการประเมนิ พฒั นาการ

การพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้ของเด็ก ประกอบดว้ ย ๑) วตั ถุประสงค์ (Obejetive) ซงึ่ ตามหลักสตู รการศึกษา
ปฐมวยั พทุ ธศักราช....หมายถึง จุดหมายซ่ึงเป็นมาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ตวั บง่ ชีแ้ ละสภาพที่พึงประสงค์ ๒)
การจัดประสบการณการเรียนรู้ (Leanning) ซ่งึ เป็นกระบวนการได้มาของความรหู้ รือทักษะผา่ นการกระทำส่งิ ต่างๆที่
สำคัญตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั กำหนดให้หรอื ท่ีเรียกว่า ประสบการณส์ ำคัญ ในการช่วยอธบิ ายให้ครเู ข้าใจถงึ
ประสบการณ์ท่ีเดก็ ปฐมวยั ตอ้ งทำเพ่ือเรียนรูส้ ิง่ ต่างๆรอบตวั และช่วยแนะผู้สอนในการสงั เกต สนบั สนุน และวางแผนการ
จดั กจิ กรรมใหเ้ ดก็ และ ๓) การประเมนิ ผล(Evaluation) เพ่ือตรวจสอบพฤตกิ รรมหรือความสามารถตามวยั ทีค่ าดหวงั ให้
เด็กเกิดข้นึ บนพ้ืนฐานพฒั นาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาตใิ นแต่ละระดบั อายุ เรียกว่า สภาพทพ่ี ึงประสงค์

ที่ใชเ้ ปน็ เกณฑ์สำคญั สำหรับการประเมนิ พัฒนาการเดก็ เปน็ เป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนา
คณุ ภาพเดก็ ทงั้ น้ปี ระเภทของการประเมินพัฒนาการ อาจแบง่ ได้เปน็ ๒ ลักษณะ คือ

๑) แบง่ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมิน

การแบ่งตามวัตถุประสงค์ของการประเมนิ แบ่งได้ ๒ ประเภท ดงั นี้
๑.๑) การประเมนิ ความก้าวหนา้ ของเด็ก (Formative Evaluation) หรอื การประเมนิ เพือ่ พฒั นา (Formative
Assessment) หรอื การประเมินเพ่ือเรียน (Assessment for Learning) เป็นการประเมินระหวา่ งการจัดระสบการณ์ โดย
เกบ็ รวบรวมข้อมลู เกี่ยวกับผลพัฒนาการและการเรยี นรูข้ องเดก็ ในระหว่างทำกจิ กรรมประจำวัน/กจิ วตั รประจำวันปกติ
อย่างต่อเนอื่ ง บนั ทกึ วเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมูลแล้วนำมาใชใ้ นการส่งเสริมหรือปรับปรงุ แก้ไขการเรียนร้ขู องเด็ก

๔๐ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พุทธศกั ราช 256๕


และการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรขู้ องผูส้ อน การประเมนิ พัฒนาการกับการจัดประสบการณ์การเรียนรูข้ องผสู้ อนจึงเป็น
เรอื่ งท่ีสมั พนั ธก์ นั หากขาดสงิ่ หนึ่งสง่ิ ใดการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรกู้ ็ขาดประสทิ ธิภาพ เปน็ การประเมนิ ผลเพื่อให้รู้
จุดเดน่ จดุ ทีค่ วรสง่ เสริม ผสู้ อนต้องใช้วิธกี ารและเครอ่ื งมือประเมินพัฒนาการทีห่ ลากหลาย เช่น การสงั เกต การ
สมั ภาษณ์ การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถงึ ความกา้ วหน้าแต่ละดา้ นของเด็กเป็นรายบุคคล การใชแ้ ฟม้ สะสมงาน เพ่ือให้
ไดข้ ้อสรุปของประเดน็ ที่กำหยด ส่ิงทส่ี ำคญั ที่สุดในการประเมินความก้าวหนา้ คือ การจดั ประสบการณ์ใหก้ บั เด็กใน
ลักษณะการเช่ือมโยงประสบการณ์เดมิ กบั ประสบการณ์ใหม่ทำให้การเรียนรขู้ องเดก็ เพิม่ พนู ปรับเปลีย่ นความคิด ความ
เขา้ ใจเดิมทไี่ ม่ถูกต้อง ตลอดจนการใหเ้ ดก็ สามารถพฒั นาการเรียนรูข้ องตนเองได้

๑.๒) การประเมนิ ผลสรปุ (Summatie Evaluation) หรือ การประเมนิ เพื่อตัดสนิ ผลพฒั นาการ (Summatie
Assessment) หรอื การประเมินสรุปผลของการเรียนรู้ (Assessment of Learning) เป็นการประเมินสรปุ พฒั นาการ
เพ่ือตัดสนิ พัฒนาการของเด็กว่ามีความพร้อมตามมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย
หรอื ไม่ เพื่อเป็นการเช่ือมต่อของการศึกษาระดับปฐมวยั กับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑

ดังนัน้ ผสู้ อนจงึ ควรให้ความสำคญั กบั การประเมินความก้าวหน้าของเด็กในระดบั หอ้ งเรียนมากกวา่ การประเมนิ
เพือ่ ตัดสินผลพัฒนาการของเดก็ เมื่อสิ้นภาคเรียนหรอื สน้ิ ปีการศึกษา

๒) แบง่ ตามระดบั ของการประเมนิ

การแบ่งตามระดบั ของการประเมนิ แบ่งไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท
๒.๑) การประเมินพฒั นาการระดบั ช้นั เรียน เปน็ การประเมนิ พฒั นาการท่ีอยูใ่ นกระบวนการจัดประสบการณ์
การเรยี นรู้ ผูส้ อนดำเนินการเพื่อพัฒนาเด็กและตัดสินผลการพฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ญั ญา
จากกจิ กรรมหลกั /หนว่ ยการเรียนรู้(Unit) ทีผ่ สู้ อนจัดประสบการณ์ให้กบั เดก็
ผสู้ อนประเมินผลพัฒนาการตามสภาพที่พงึ ประสงคแ์ ละตวั บง่ ช้ที กี่ ำหนดเป็นเป้าหมายในแตล่ ะแผนการจัดประสบการณ์
ของหน่วยการเรียนรู้ด้วยวธิ ตี ่างๆ เชน่ การสงั เกต การสนทนา การสัมภาษณ์ การรวบรวมผลงานทแี่ สดงออกถึง
ความก้าวหน้า แต่ละด้านของเด็กเป็นรายบคุ คล การแสดงกรยิ าอาการตา่ งๆของเดก็ ตลอดเวลาทจี่ ดั ประสบการณ์เรยี นรู้
เพ่ือตรวจสอบและประเมนิ วา่ เด็กบรรลุตามสภาพทพี่ ึงประสงคล์ ะตัวบง่ ช้ี หรอื มแี นวโน้มว่าจะบรรลุสภาพที่พึงประสงค์
และตัวบง่ ชเี้ พยี งใด แลว้ แก้ไขข้อบกพร่องเปน็ ระยะๆอย่างต่อเน่ือง ทั้งน้ี ผสู้ อนควรสรุปผลการประเมินพัฒนาการวา่ เด็ก
มผี ลอนั เกดิ จากการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้หรอื ไม่ และมากนอ้ ยเพียงใด โดยมีวตั ถุประสงค์เพอ่ื รวบรวมหรอื สะสมผล
การประเมนิ พฒั นาการในกิจกรรมประจำวนั /กจิ วตั รประจำวัน/หนว่ ยการเรยี นรู้ หรผื ลตามรปู แบบการประเมิน
พัฒนาการทีส่ ถานศึกษากำหนด เพ่อื นำมาเปน็ ข้อมลู ใชป้ รังปรุงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และเปน็ ข้อมลู ในการ
สรุปผลการประเมินพัฒนาในระดับสถานศึกษาต่อไปอีกด้วย
๒.๒) การประเมนิ พัฒนาการระดับสถานศึกษา เป็นการตรวจสอบผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กเปน็
รายบุคคลเป็นรายภาค/รายปี เพือ่ ให้ได้ข้อมูลเกย่ี วกบั การจัดการศึกษาของเด็กในระดับปฐมวยั ของสถานศึกษาวา่ ส่งผล
ตาการเรียนรขู้ องเด็กตามเป้าหมายหรือไม่ เด็กมสี ิ่งทีต่ ้องการไดร้ ับการพฒั นาในด้านใด รวมทงั้ สามารถนำผลการประเมนิ
พัฒนาการของเดก็ ในระดับสถานศกึ ษาไปเป็นข้อมลู และสารสนเทศในการปรับปรงุ หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั โครงการ
หรอื วธิ กี ารจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ตลอดจนการจัดแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาตามแผนการ
ประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการพฒั นาคุณภาพเด็กตอ่ ผูป้ กครอง นำเสนอคณะกรรมการถานศึกษาขั้น
พน้ื ฐานรับทราบ ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธรณชน ชมุ ชน หรอื หนว่ ยงานตน้ สังกดั หรือหน่วยงานตน้ สังกดั หน่วยงานท่ี
เกยี่ วขอ้ งต่อไป
อนึง่ สำหรับการประเมินพฒั นาการเดก็ ปฐมวัยในระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษาหรือระดับประเทศนัน้ หากเขตพน้ื ท่ี
การศึกษาใดมีความพรอ้ ม อาจมกี ารดำเนนิ งานในลกั ษณะของการส่มุ กลมุ่ ตัวอย่างเด็กปฐมวัยเขา้ รบั การประเมนิ ก็ได้
ทั้งนี้ การประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั ขอให้ถือปฏบิ ัติตามหลกั การการประเมนิ พฒั นาการตามหลกั สูตรการศกึ ษา
ปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖0

๔๑ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


บทบาทหน้าทขี่ องผู้เก่ยี วขอ้ งในการดำเนินงานประเมินพัฒนาการ

การดำเนินงานประเมินพัฒนาการของสถานศึกษานน้ั ตอ้ งเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู กีย่ วข้องเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการ

ประเมนิ พฒั นาการและรว่ มรับผิดชอบอยา่ งเหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาแตล่ ะขนาด ดงั นี้

ผ้ปู ฏบิ ตั ิ บทบาทหนา้ ท่ีในการประเมินพัฒนาการ

ผสู้ อน ๑. ศึกษาหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั และแนวการปฏิบตั ิการประเมนิ พฒั นาการตามหลักสูตร

สถานศกึ ษาปฐมวยั

๒. วิเคราะห์และวางแผนการประเมนิ พฒั นาการทีส่ อดคล้องกบั หนว่ ยการเรยี นร/ู้ กจิ กรรมประจำวนั /

กิจวัตรประจำวนั

๓. จัดประสบการณต์ ามหนว่ ยการเรียนรู้ ประเมนิ พฒั นาการ และบนั ทกึ ผลการประจำวัน/กิจวตั ร

ประจำวัน

๔. รวบรวมผลการประเมินพัฒนาการ แปลผลและสรุปผลการประเมินเม่ือสนิ้ ภาคเรยี นและสนิ้ ปี

การศึกษา

๕. สรปุ ผลการประเมนิ พฒั นาการระดับชน้ั เรียนลงในสมุดบันทกึ ผลการประเมินพัฒนาการประจำชัน้

๖. จดั ทำสมุดรายงานประจำตวั นักเรยี น

๗. เสนอผลการประเมนิ พัฒนาการตอ่ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาลงนามอนุมัติ

ผบู้ ริหาร ๑.กำหนดผู้รับผดิ ชอบงานประเมินพฒั นาการตามหลกั สูตร และวางแนวทางปฏิบัติการประเมนิ

สถานศึกษา พัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั

๒. นิเทศ กำกับ ตดิ ตามใหก้ ารดำเนินการประเมินพฒั นาการใหบ้ รรลุเปา้ หมาย

๓. นำผลการประเมนิ พฒั นาการไปจัดทำรายงานผลการดำเนินงานกำหนดนโยบายและวางแผน

พฒั นาการจัดการศึกษาปฐมวัย

พอ่ แม่ ๑. ให้ความร่วมมอื กบั ผสู้ อนในการประเมนิ พฤติกรรมของเดก็ ที่สงั เกตได้จากทบ่ี า้ นเพ่ือเปน็ ขอ้ มูล

ผู้ปกครอง ประกอบการแปลผลที่เที่ยงตรงของผู้สอน

๒. รับทราบผลการประเมินของเดก็ และสะท้อนใหข้ ้อมูลย้อนกลับทีเ่ ปน็ ประโยชนใ์ นการสง่ เสรมิ และ

พฒั นาเด็กในปกครองของตนเอง

๓. รว่ มกับผสู้ อนในการจดั ประสบการณ์หรือเปน็ วิทยากรท้องถิ่น

คณะกรรม ๑. ให้ความเหน็ ชอบและประกาศใชห้ ลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัยและแนวปฏิบตั ิในการประเมนิ พัฒนาการ

การ ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั

สถานศกึ ษา ๒. รบั ทราบผลการประเมินพัฒนาการของเดก็ เพื่อการประกนั คุณภาพภายใน

ข้ันพื้นฐาน

สำนกั งาน ๑. สง่ เสรมิ การจัดทำเอกสารหลักฐานว่าดว้ ยการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวยั ของสถานศึกษา

เขตพน้ื ที่ ๒. ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สอนในสถานศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจในแนวปฏบิ ัติการประเมนิ พฒั นาการตาม

การศึกษา มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย ตลอดจนความเข้าใจในเทคนคิ

วิธกี ารประเมนิ พัฒนาการในรูปแบบต่างๆโดยเนน้ การประเมินตามสภาพจริง

๓. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาเครอ่ื งมอื พฒั นาการตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์

ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั และการจดั เกบ็ เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ

๔. ใหค้ ำปรกึ ษา แนะนำเกย่ี วกบั การประเมินพฒั นาการและการจดั ทำเอกสารหลกั ฐาน

๔๒ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พุทธศักราช 256๕


๕. จัดให้มกี ารประเมนิ พฒั นาการเดก็ ท่ดี ำเนินการโดยเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือหน่วยงานต้นสงั กดั และให้
ความรว่ มมอื ในการประเมนิ พัฒนาการระดับประเทศ

แนวปฏิบัติการประเมนิ พัฒนาการ

การประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั เป็นกจิ กรรมทส่ี อดแทรกอยใู่ นการจดั ประสบการณ์ทุกขนั้ ตอนโดยเรม่ิ ตั้งแต่
การประเมนิ พฤติกรรมของเด็กก่อนการจดั ประสบการณ์ การประเมินพฤติกรรมเด็กขณะปฏิบัตกิ จิ รรม และการประเมิน
พฤติกรรมเดก็ เมอื่ สิ้นสดุ การปฏิบัตกิ จิ กรรม ทั้งน้ี พฤติกรรมการเรยี นรแู้ ละพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กท่ีได้รับการ
ประเมนิ นนั้ ต้องเปน็ ไปตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตวั บ่งชี้ และสภาพท่ีพึงประสงคข์ องหลกั สตู รสถานศึกษา
ระดบั ปฐมวัยทผี่ ้สู อนวางแผนและออกแบบไว้ การประเมนิ พฒั นาการจึงเป็นเครื่องมือสำคญั ท่จี ะช่วยให้การเรียนรูข้ อง
เด็กบรรลุตามเป้าหมายเพ่ือนำผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ พัฒนาการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และใชเ้ ปน็ ข้อมูลสำหรับ
การพฒั นาเด็กต่อไป สถานศึกษาควรมีกระบวนการประเมนิ พัฒนาการและการจดั การอย่างเป็นระบบสรปุ ผลการประเมนิ
พฒั นาการทต่ี รงตามความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและพฤติกรรมที่แทจ้ ริงของเด็กสอดคลอ้ งตามหลักการประเมนิ
พฒั นาการ รวมท้ังสะท้อนการดำเนินงานการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบและต่อเน่อื ง แนว
ปฏิบัติการประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวัยของสถานศึกษา มีดงั น้ี

๑. หลักการสำคญั ของการดำเนินการประเมินพฒั นาการตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

สถานศึกษาท่จี ัดการศึกษาปฐมวยั ควรคำนงึ ถึงหลักสำคญั ของการดำเนนิ งานการประเมนิ พฒั นาการตามหลกั สตู ร
การศึกษาปฐมวยั สำหรบั เด็กปฐมวยั อายุ ๓-๖ ปี ดังนี้

๑.๑ ผ้สู อนเป็นผรู้ ับผดิ ชอบการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยเปดิ โอกาสให้ผทู้ เ่ี กยี่ วข้องมีสว่ นร่วม
๑.๒ การประเมินพัฒนาการ มจี ุดมงุ่ หมายของการประเมินเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าของเด็กและสรุปผลการ
ประเมนิ พฒั นาการของเด็ก
๑.๓ การประเมนิ พฒั นาการต้องมีความสอดคล้องและครอบคลมุ มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ตวั บ่งชี้
สภาพทพี่ ึงประสงค์แตล่ ะวัยซ่ึงกำหนดไวใ้ นหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั
๑.๔ การประเมินพฒั นาการเป็นสว่ นหน่ึงของกระบวนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ต้องดำเนนิ การดว้ ยเทคนิค
วธิ กี ารท่หี ลากหลาย เพื่อให้สามารถประเมนิ พัฒนาการเด็กได้อยา่ งรอบด้านสมดลุ ท้งั ด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม
และสตปิ ญั ญา รวมทั้งระดบั อายุของเด็ก โดยต้ังอยูบ่ นพนื้ ฐานของความเที่ยงตรง ยตุ ธิ รรมและเช่ือถอื ได้
๑.๕ การประเมินพัฒนาการพิจารณาจากพัฒนาการตามวัยของเด็ก การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูแ้ ละการรว่ ม
กิจกรรม ควบคู่ไปในกระบวนการจัดประสบการณ์การเรยี นร้ตู ามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับอายุ และรูปแบบการจดั
การศกึ ษา และต้องดำเนนิ การประเมนิ อยา่ งต่อเน่ือง
๑.๖ การประเมินพัฒนาการต้องเปิดโอกาสให้ผมู้ สี ่วนเก่ยี วข้องทุกฝา่ ยได้สะท้อนและตรวจสอบผลการประเมนิ
พัฒนาการ
๑.๗ สถานศึกษาควรจัดทำเอกสารบนั ทกึ ผลการประเมินพัฒนาการของเดก็ ปฐมวยั ในระดับชนั้ เรียนและระดบั
สถานศึกษา เช่น แบบบันทกึ การประเมินพฒั นาการตามหน่วยการจดั ประสบการณ์ สมุดบันทกึ ผลการประเมนพัฒนาการ
ประจำชัน้ เพอื่ เป็นหลักฐานการประเมนิ และรายงานผลพฒั นาการและสมุดรายงานประจำตวั นกั เรยี น เพ่อื เป็นการ
สือ่ สารข้อมูลการพฒั นาการเด็กระหวา่ งสถานศกึ ษากับบ้าน

๒. ขอบเขตของการประเมินพัฒนาการ

หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ไดก้ ำหนดเปา้ หมายคณุ ภาพของเด็กปฐมวัยเป็นมาตรฐาน
คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ ซึ่งถือเปน็ คุณภาพลักษณะท่ีพึงประสงค์ท่ีต้องการให้เกิดขน้ึ ตวั เด็กเมื่อจบหลกั สูตรการศึกษา
ปฐมวัย คณุ ลกั ษณะทร่ี ะบุไวใ้ นมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ถือเปน็ สงิ่ จำเป็นสำหรับเด็กทุกคน ดงั นัน้ สถานศึกษา

๔๓ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พทุ ธศักราช 256๕


และหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งมหี น้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบในการจดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาเด็กใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานที่พึง
ประสงค์กำหนด ถือเปน็ เครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนและพฒั นาคุณภาพการศึกษาปฐมวยั
แนวคิดดงั กลา่ วอย่บู นฐานความเช่อื ที่ว่าเด็กทุกคนสามารถพฒั นาอย่างมีคุณภาพและเทา่ เทยี มได้ ขอบเขตของการ
ประเมนิ พฒั นาการประกอบด้วย

๒.๑ สงิ่ ท่จี ะประเมนิ
๒.๒ วธิ แี ละเคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมนิ
๒.๓ เกณฑก์ ารประเมินพฒั นาการ

๒.๑ สง่ิ ทจี่ ะประเมนิ

การประเมนิ พฒั นาการสำหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปี มีเปา้ หมายสำคัญคือ มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์จำนวน
๑๒ ขอ้ ดงั น้ี

๑. พัฒนาการด้านรา่ งกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวยั และมีสุขนิสยั ที่ดี
มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่และกลา้ มเน้ือเลก็ แขง็ แรงใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคลว่ และประสานสัมพันธก์ นั

๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจติ ดีและมีความสขุ
มาตรฐานที่ ๔ ชนื่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจทดี่ ีงาม

๓. พฒั นาการดา้ นสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๖ มที ักษะชวี ติ และปฏบิ ัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยรู่ ่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมคี วามสุขและปฏบิ ัติตนเปน็ สมาชกิ ท่ดี ีของสังคมในระบอบ

ประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
๔. พฒั นาการด้านสติปัญญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกบั วัย
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ท่เี ป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคตทิ ่ดี ตี ่อการเรยี นร้แู ละมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวยั
สง่ิ ทีจ่ ะประเมินพฒั นาการของเดก็ ปฐมวยั แต่ละดา้ น มดี ังน้ี
ด้านรา่ งกาย ประกอบด้วย การประเมินการมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ สุขภาพอนามัย สุขนสิ ัยทดี่ ี การรจู้ ัก

รักษาความปลอดภัย การเคล่ือนไหวและการทรงตัว การเล่นและการออกกำลังกาย และการใช้มืออย่างคล่องแคล่ว
ประสานสัมพันธ์กนั

ด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับวัย
และสถานการณ์ ความรู้สึกท่ีดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ความสนใจ/ความสามารถ/และมี
ความสขุ ในการทำงานศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว ความรับผดิ ชอบในการทำงาน ความซื่อสัตย์สุจริตและรู้สึกถูกผิด
ความเมตตากรุณา มีน้ำใจและชว่ ยเหลือแบ่งปัน ตลอดจนการประหยดั อดออม และพอเพียง

ด้านสังคม ประกอบด้วย การประเมินความมีวินัยในตนเอง การช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
การระวังภัยจากคนแปลกหน้า และสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย การดูแลรักษาธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การมีสัมมา
คารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย รักษาความเป็นไทย การยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล

๔๔ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนพระพมิ ลเสนี (พรอ้ ม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 256๕


การมีสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น การปฏิบัติตนเบ้ืองต้นในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข

ด้านสติปัญญา ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ความสามารถในการอ่าน เขียนภาพและสัญลักษณ์ ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา คิดเชิงเหตุผล คิดรวบยอด การ
เล่น/การทำงานศิลปะ/การแสดงท่าทาง/เคล่ือนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง การมีเจตคติที่ดี
ตอ่ การเรยี นรแู้ ละความสามารถในการแสวงหาความรู้

๒.๒ วธิ ีการและเครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการประเมินพฒั นาการ

การประเมนิ พัฒนาการเด็กแต่ละครง้ั ควรใชว้ ธิ ีการประเมินอย่างหลากหลายเพ่ือให้ไดข้ ้อมูลทส่ี มบรู ณ์ที่สุด
วธิ กี ารทีเ่ หมาะสมและนิยมใชใ้ นการประเมินเด็กปฐมวัยมีด้วยกนั หลายวิธี ดังตอ่ ไปนี้

๑. การสังเกตและการบันทึก การสังเกตมีอยู่ ๒ แบบคือ การสงั เกตอย่างมีระบบ ได้แก่ การสังเกตอยา่ งม
จุดม่งุ หมายท่ีแน่นอนตามแผนที่วางไว้ และอกี แบบหนึ่งคือ การสังเกตแบบไมเ่ ปน็ ทางการ เปน็ การสังเกตในขณะท่เี ด็ก
ทำกจิ กรรมประจำวนั และเกดิ พฤติกรรมที่ไมค่ าดคดิ วา่ จะเกิดขน้ึ และผสู้ อนจดบันทึกไว้การสังเกตเปน็ วิธกี ารทีผ่ สู้ อนใชใ้ น
การศกึ ษาพฒั นาการของเด็ก เม่ือมีการสงั เกตกต็ ้องมีการบันทกึ ผสู้ อนควรทราบวา่ จะบันทกึ อะไรการบันทึกพฤติกรรมมี
ความสำคัญอยา่ งยิ่งที่ต้องทำอยา่ งสม่ำเสมอ เน่ืองจากเด็กเจรญิ เตบิ โตและเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ จึงตอ้ งนำมาบันทึก
เป็นหลกั ฐานไว้อย่างชดั เจน การสังเกตและการบันทึกพฒั นาการเดก็ สามารถใชแ้ บบงา่ ยๆคอื

๑.๑ แบบบนั ทกึ พฤติกรรม ใช้บันทกึ เหตุการณเ์ ฉพาะอย่างโดยบรรยายพฤติกรรมเด็ก ผ้บู ันทกึ ต้องบนั ทึก
วัน เดือน ปเี กดิ ของเด็ก และวนั เดอื น ปี ทที่ ำการบนั ทึกแตล่ ะครงั้

๑.๒ การบันทกึ รายวนั เป็นการบนั ทึกเหตุการณ์หรือประสบการณห์ รือประสบการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในชน้ั เรยี นทกุ
วนั ถา้ หากบันทกึ ในรปู แบบของการบรรยายก็มักจะเนน้ เฉพาะเด็กรายท่ีต้องการศึกษา ขอ้ ดีของการบนั ทึกรายวันคือ การ
ชใ้ี หเ้ หน็ ความสามารถเฉพาะอยา่ งของเด็ก จะชว่ ยกระตุ้นใหผ้ สู้ อนได้พจิ ารณาปญั หาของเด็กเปน็ รายบุคคลชว่ ยให้ผู้เชียว
ชาญมขี อ้ มลู มากขึน้ สำหรบั วินิจฉยั เด็กวา่ สมควรจะได้รบั คำปรึกษาเพ่ือลดปัญหาและสง่ เสริมพฒั นาการของเดก็ ได้อย่าง
ถกู ต้อง นอกจากนั้นยังชว่ ยช้ีให้เห็นขอ้ เสยี ของการจดั กจิ กรรมและประสบการณ์ไกเ้ ปน็ อย่างดี

๑.๓ แบบสำรวจรายการ ช่วยใหส้ ามารถวเิ คราะห์เด็กแต่ละคนได้ค่อนข้างละเอียด
๒. การสนทนา สามารถใช้การสนทนาไดท้ ้งั เป็นกลุ่มหรือรายบคุ คล เพอ่ื ประเมินความสามารถในการแสดงความ
คิดเห็น และพฒั นาการดา้ นภาษาของเด็กและบนั ทกึ ผลการสนทนาลงในแบบบันทกึ พฤติกรรมหรือบันทกึ รายวัน
๓. การสัมภาษณ์ ด้วยวิธีพูดคุยกับเด็กเป็นรายบุคคลและควรจัดในสภาวะแวดล้อมเหมาะสมเพื่อไม่ให้เกิด
ความเครียดและวิตกกังวล ผู้สอนควรใช้คำถามที่เหมาะสมเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและตอบอย่างอิสระจะทำให้ผู้สอน
สามารถประเมินความสามารถทางสติปัญญาของเด็กแต่ละคนและค้นพบศักยภาพในตัวเดก็ ไดโ้ ดยบันทึกข้อมูลลงในแบบ
สมั ภาษณ์
การเตรียมการกอ่ นการสมั ภาษณ์ ผสู้ อนควรปฏิบตั ิ ดังนี้
- กำหนดวตั ถุประสงค์ของการสัมภาษณ์
- กำหนดคำพดู /คำถามที่จะพดู กบั เดก็ ควรเปน็ คำถามทีเ่ ดก็ สามารถตอบโตห้ ลากหลาย ไม่ผดิ /ถูก
การปฏบิ ัตขิ ณะสัมภาษณ์
- ผสู้ อนควรสร้างความคุ้นเคยเปน็ กันเอง
- ผ้สู อนควรสร้างสภาพแวดล้อมทอ่ี บอ่นุ ไม่เคร่งเครยี ด
- ผู้สอนควรเปิดโอกาสเวลาใหเ้ ด็กมโี อกาสคดิ และตอบคำถามอย่างอสิ ระ
- ระยะเวลาสมั ภาษณไ์ ม่ควรเกิน ๑๐-๒๐ นาที
๕. การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความก้าวหน้าแต่ละด้านของเด็กเป็นรายบุคคล โดยจัดเก็บรวบรวมไว้

ในแฟ้มผลงาน (portfolio) ซึ่งเป็นวธิ รี วบรวมและจดั ระบบข้อมูลต่างๆท่เี กยี่ วกับตัวเด็กโดยใช้เครื่องมอื ตา่ งๆ

๔๕ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นพระพมิ ลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดบั ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 256๕


รวบรวมเอาไวอ้ ยา่ งมจี ดุ มุ่งหมายที่ชดั เจน แสดงการเปลีย่ นแปลงของพัฒนาการแตล่ ะดา้ น นอกจากน้ียังรวม
เคร่ืองมอื อน่ื ๆ
๖. เช่น แบบสอบถามผู้ปกครอง แบบสังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกสุขภาพอนามัย ฯลฯ เอาไว้ในแฟ้มผลงาน
เพ่ือผู้สอนจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กอย่างชัดเจนและถูกต้อง การเก็บผลงานของเด็กจะไม่ถือว่าเป็นการ
ประเมินผลถ้างานแต่ละชิ้นถูกรวบรวมไว้โดยไม่ได้รับการประเมินจากผู้สอนและไม่มีการนำผลมาปรับปรุง
พัฒนาเดก็ หรือปรับปรงุ การสอนของผสู้ อน ดังนน้ั จึงเป็นแตก่ ารสะสมผลงานเท่าน้ัน เช่นแฟ้มผลงานขีดเขยี น
งานศิลปะ จะเป็นเพียงแค่แฟ้มผลงานท่ีไม่มีการประเมิน แฟ้มผลงานน้ีจะเป็นเครื่องมือการประเมินต่อเน่ือง
เมื่องานที่สะสมแต่ละช้ินถูกใช้ในการบ่งบอกความก้าวหน้า ความต้องการของเด็ก และเป็นการเก็บสะสม
อย่างตอ่ เนอ่ื งท่สี รา้ งสรรคโ์ ดยผสู้ อนและเด็ก
ผู้สอนสามารถใช้แฟ้มผลงานอย่างมีคุณค่าสื่อสารกับผู้ปกครองเพราะการเก็บผลงานเด็กอย่างต่อเน่ืองและ
สม่ำเสมอในแฟ้มผลงานเป็นข้อมูลให้ผู้ปกครองสามารถเปรียบเทียบความก้าวหน้าท่ีลูกของตนมีเพ่ิมข้ึน จากผลงานชิ้น
แรกกับช้ินต่อๆมาข้อมูลในแฟ้มผลงานประกอบด้วย ตัวอย่างผลงานการเขียดเขยี น การอ่าน และข้อมูลบางประการของ
เด็กท่ีผู้สอนเป็นผู้บันทึก เช่นจำนวนเล่มของหนังสือที่เด็กอ่าน ความถี่ของการเลือกอ่านที่มุมหนังสือในช่วงเวลาเลือกเสรี
การเปลี่ยนแปลงอารมณ์ ทัศนคติ เป็นตน้ ขอ้ มูลเหล่านี้จะสะท้อนภาพของความงอกงามในเด็กแต่ละคนได้ชัดเจนกว่าการ
ประเมินโดยการให้เกรด ผู้สอนจะต้องช้ีแจงให้ผู้ปกครองทราบถึงท่ีมาของการเลือกชิ้นงานแต่ละช้ินงานที่สะสมในแฟ้ม
ผลงาน เช่น เป็นชิ้นงานท่ีดีท่ีสุดในช่วงระยะเวลาท่ีเลือกช้ินงานน้ัน เป็นชิ้นงานที่แสดงความต่อเน่ืองของงานโครงการ
ฯลฯ ผสู้ อนควรเชิญผปู้ กครองมามีสว่ นร่วมในการคดั สรรชน้ิ งานท่ีบรรจุลงในแฟม้ ผลงานของเดก็

๕. การประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก ตัวช้ีของการเจริญเติบโตในเด็กที่ใช้ทั่วๆไป ได้แก่ น้ำหนัก ส่วนสูง เส้นรอบ
ศีรษะ ฟนั และการเจริญเตบิ โตของกระดกู แนวทางประเมนิ การเจรญิ เติบโต มีดงั นี้

๕.๑ การประเมินการเจริญเติบโต โดยการช่ังน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กแล้วนำไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ปกติใน
กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑ์อายุกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งใช้สำหรับติดตามการเจริญเติบโตโดยรวม วิธีการใช้กราฟมี
ข้ันตอน ดงั น้ี

เมอื่ ช่ังน้ำหนกั เด็กแลว้ นำน้ำหนกั มาจุดเคร่ืองหมายกากบาทลงบนกราฟ และอา่ นการเจริญเติบโตของเด็ก โดยดู
เครื่องหมายกากบาทว่าอยู่ในแถบสีใด อ่านข้อความบนแถบสีน้ัน ซึ่งแบ่งภาวะโภชนาการเป็น ๓ กลุ่มคือ น้ำหนักที่อยู่ใน
เกณฑ์ปกติ น้ำหนักมากเกนเกณฑ์ น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ข้อควรระวังสำหรับผู้ปกครองและผู้สอนคือ ควรดูแลน้ำหนัก
เด็กอย่างให้แบง่ เบนออกจากเส้นประเมินมิเชน่ นั้นเด็กมโี อกาสนำ้ หนักมากเกินเกณฑห์ รือน้ำหนักนอ้ ยกวา่ เกณฑ์ได้

ข้อควรคำนึงในการประเมนิ การเจริญเตบิ โตของเด็ก

-เดก็ แต่ละคนมีความแตกตา่ งกันในด้านการเจริญเตบิ โต บางคนรปู ร่างอว้ น บางคนชว่ งครึง่ หลังของขวบ
ปีแรก นำ้ หนักเด็กจะขึ้นชา้ เนอ่ื งจากหว่ งเลน่ มากข้ึนและความอยากอาหารลดลง
รา่ งใหญ่ บางคนรา่ งเล็ก

-ภาวะโภชนาการเปน็ ตวั สำคัญทเ่ี กยี่ วข้องกับขนาดของรูปรา่ ง แต่ไม่ใชส่ าเหตุเดียว
-กรรมพันธ์ุ เด็กอาจมีรูปร่างเหมือนพ่อแม่คนใดคนหน่ึง ถ้าพ่อหรือแม่เตี้ย ลูกอาจเตี้ยและพวกน้ีอาจมี
น้ำหนกั ต่ำกวา่ เกณฑเ์ ฉลย่ี ไดแ้ ละมกั จะเป็นเด็กที่ทานอาหารไดน้ ้อย
๕.๒ การตรวจสุขภาพอนามัย เป็นตัวช้ีวัดคุณภาพของเด็ก โดยพิจารณาความสะอาดสิ่งปกติขอร่างกายที่จะ
ส่งผลต่อการดำเนินชวี ิตและการเจริญเติบโตของเด็ก ซึ่งจะประเมินสุขภาพอนามัย ๙ รายการคอื ผมและศีรษะ หูและใบ
หู มอื และเลบ็ มอื เทา้ และเล็บเท้า ปาก ลิน้ และฟัน จมกู ตา ผิวหนังและใบหน้า และเสือ้ ผา้

๒.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ พฒั นาการ

๔๖ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระพิมลเสนี (พร้อม หงสกลุ ) ระดับปฐมวยั พุทธศกั ราช 256๕


Click to View FlipBook Version