The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amornchaisrisuwanhord, 2022-05-29 07:06:00

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนวัดประดู่หอม(เหลืออุทิศ) ประจำปีงบประมาณ 2565

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียน

สาธารณะชนทราบอยา่ งนอ้ ยภาค สังเกต ๙๕
เรียนละ ๔ ครั้ง สังเกต
สังเกต แบบสงั เกต
ด้านคุณภาพ แบบสงั เกต
- ผู้บริหาร ครู นกั เรียนสร้าง แบบสงั เกต
ความสัมพนั ธท์ ีด่ ีตอ่ กนั กบั ชมุ ชน
ในการร่วมมือกนั จดั การศกึ ษา
- มีการประชาสัมพนั ธก์ จิ กรรม
ของสถานศึกษาใหส้ าธารณะชน
ทราบอยา่ งสมา่ เสมอ
- ผปู้ กครองและชุมชนเข้ามามี
บทบาทในการพฒั นาคุณภาพของ
สถานศกึ ษา

๘. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั
๘.๑ บคุ ลากรทางานเป็นทมี
๘.๒ มกี ารจัดการบรหิ ารองค์กรและโครงสร้างการบรหิ ารงานทชี่ ดเจน

๘.๓ มกี ารปฏบิ ตั ิงานเป็นตามแผนงานโครงการ
๘.๔ การดาเนินงานของสถานศกึ ษาเกดิ จากการระดมความคิดเหน็ การมสี ่วนรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น

(ลงชอ่ื )............... ............................. ผเู้ สนอโครงการ

(นางสาวกมลวรรณ ศรีสุวรรณ์)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดประดหู่ อม (เหลอื อทุ ิศ)

(ลงช่อื ) อุดม จนิ ดาวงศ์ ผ้เู ห็นชอบโครงการ

(นายอดุ ม จินดาวงศ์)
ประคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

(ลงช่ือ) .............. ....................... ผอู้ นุมตั โิ ครงการ

(นางสาวกมลวรรณ ศรสี วุ รรณ)์
ผอู้ านวยการโรงเรียนวดั ประด่หู อม (เหลอื อทุ ศิ )

๙๖

โครงการ การปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ ในสถานศึกษา

หนว่ ยที่รับผดิ ชอบโครงการ ด้านการบรหิ ารงานท่ัวไป

ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสหวรรณ วรรณจิตจรญู

ลกั ษณะโครงการ  โครงการใหม่  โครงการตอ่ เน่ือง

ระยะเวลาดาเนินการ ตุลาคม ๒๕๖4 - กันยายน ๒๕๖5

สนองประเด็นกลยุทธ์ พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ

สนองมาตรฐาน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรกิ ารและการจัดการ

............................................................................................................................. ...................................

1.หลักการและเหตุผล

โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19 ) มีการระบาดใน

วงกวา้ ง องคก์ ารอนามัยโลกไดป้ ระเมินสถานการณ์และประกาศให้ โรค COVID-19 เปน็ ภาวะฉุกเฉินทาง

สาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concem) โดยแนะนาให้

ทุกประเทศเร่งรดั การเฝา้ ระวังและป้องกันความเสย่ี งจากเช้อื COVID-19 และสาหรบั ในประเทศไทยน้ัน

ไดม้ ีการพบผปู้ ่วยตดิ เชือ้ จานวนหน่ึง ซึ่งแตล่ ะวนั ผปู้ ่วยจะเพม่ิ จานวนขึ้น ยังคงอยู่ในสภาวการณ์ที่ไม่อาจ

วางใจได้ ดังนี้น เพื่อลดวามเส่ียงของประชาชนทุกคนต่อการสัมผัสเช้ือโรค และป้องกันไม่ให้ประชาชน

ไดร้ ับผลกระทบต่อสุขภาพต้องให้ความสาคัญตง้ั แต่การรักษาสุขวทิ ยาสว่ นบุคคล โดยเฉพาะในประชาชน

กลุ่มเสี่ยง ทั้งเด็ก ผู้สูงอายุและผู้ท่ีมีโรคประจาตัว รวมถึงการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างถูก

สุขลกั ษณะและเหมาะสมในทุกพ้นื ที่ โดยเฉพาะพ้นื ที่สาธารณะ

สานักงานคณะกรรมการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตระหนักถึงความสาคญั ในการ

ดแู ลนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงไดใ้ ห้โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ึนพ้ืนฐาน จัดทาแนวทางการจัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกันในสถานการณ์การ

ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2565 สถานศึกษาเป็นสถานท่ีท่ีมี

นกั เรนี อยู่รวมกนั จานวนมาก มักจะมีความเสีย่ งสูงหากมีระบบการจัดการท่ีไม่ดีอาจจะมกี ารแพร่ระบาด

ของเชื้อ COVID-19 ได้ในกลุ่มเด็ก

2.วตั ถปุ ระสงค์

2.๑ เพอื่ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้ครู บุคลากรและนักเรียนมีความรแู้ ละความสามารถป้องกนั

โรคได้ด้วยตนเอง เฝ้าระวังและปอ้ งกันการติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 ( COVID-19)

2.๒ เพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษามอี ปุ กรณท์ ีส่ ามารถปอ้ งกันการเกดิ โรคแก่นกั เรียน คณะครูและบคุ ลากร

เชน่ เคร่อื งวัดอุณหภมู ิ เจลแอลอฮอล์ หนา้ กาอนามัย ทล่ี า้ งมอื สบู่ลา้ งมอื เป็นตน้

2.๓ เพ่ือให้สถานศกึ ษาสามารถจัดการเรยี นการสอนไดใ้ นรปู แบบต่าง ๆ ตามสถานการณ์แก่

นกั เรยี น

3.เป้าหมายผลลพั ธ์

3.๑ เป้าหมายเชิงปรมิ าณ

3.1.1 ครู บคุ ลากร นักเรียน มีความรแู้ ละความสามารถปอ้ งกนั โรคไดด้ ว้ ยตนเอง เฝ้า

ระวงั และป้องกนั การตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา่ 2019 (COVID – 19 ) รอ้ ยละ 9๐

3.1.2 สถานศึกษามอี ุปกรณ์เพยี งพอในการป้องกนั การติดเชื้อไวรสั โคโรนา่ 2019

๙๗

(COVID - 19 ) ร้อยละ 90
3.1.3 สถานศึกษาสามารถจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ รอ้ ยละ 80

3.๒ เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ
3.2.1 ครู บุคลากร นกั เรยี น มีความรูแ้ ละความสามารถปอ้ งกนั โรคไดด้ ้วยตนเอง เฝา้

ระวังและปอ้ งกนั การติดเช้ือไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID – 19 )

3.2.2 สถานศึกษามีอปุ กรณท์ สี่ ามารถป้องกันการเกดิ โรคแก่นักเรียน คณะครูและ
บุคลากร

3.2.3 สถานศึกษาสามารถจดั การเรยี นการสอนได้ในรปู แบบต่าง ๆ ตามสถานการณแ์ ก่

นกั เรียน

๔. กจิ กรรมและวธิ ีการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน ผ้รู ับผดิ ชอบ

กจิ กรรม/ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน ตลุ าคม 2564 ผบู้ ริหาร
ตลุ าคม 2564 ผูบ้ ริหาร
ขั้นตอนการดาเนนิ งาน ตลุ าคม 2564 ครูสหวรรณ
๑.การเตรยี มความพร้อมบุคคล ตุลาคม 2564 - กันยายน 2565 คณะครู
๒.แต่งตั้งคณะทางาน สงิ หาคม 2565 ผูบ้ ริหาร
๓.วางแผนการปฏบิ ตั ิงาน กนั ยายน 2565 ครูสหวรรณ
๔.ดาเนินงานตามแผน กนั ยายน 2565 ครสู หวรรณ
๕.ตรวจสอบประเมนิ ผล
๖.นาผลการประเมินมาปรบั ปรุง
๗.ทารายงานเสนอทปี่ ระชมุ และสาธารณะชน

5. งบประมาณทใี่ ช้ จานวน 12,๐๐๐ บาท

5.1 ใชง้ บประมาณจาก  เงนิ อุดหนนุ รายหวั จานวน 12,000 บาท

 เงนิ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน จานวน บาท

 เงินรายได้สถานศกึ ษา จานวน บาท

 อ่ืน ๆ ระบุ ...................... จานวน บาท

5.2 รายละเอยี ดการใช้งบประมาณ ขอถวั จ่ายทุกรายการ จาแนกรายการใชจ้ า่ ย ดังน้ี

ประเภทคา่ ใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ

กิจกรรม/รายการ งบ ค่าตอบ ค่าใช้ คา่ วัสดุ ค่า ค่า รวม
บคุ ลากร แทน สอย ครภุ ัณฑ์ สิง่ ก่อสรา้ ง

กจิ กรรม/สร้างการรบั รเู้ ก่ียวกับโรค - - - 36,771.40 - - 36,771.40

ไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19 )

- จัดซ้ือวัสด/ุ อุปกรณ์ในการปอ้ งกนั โรค

ไวรัส

โคโรน่า 2019 (COVID –19 )

-การจดั ทาเอกสารการเรียนการสอน

ใบงาน ใบความรู้ หรือแบบฝึกหดั

รวมทง้ั สิ้น - - - 36,771.40 - - 36,771.40

๙๘

6. สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนวัดประดหู่ อม (เหลืออทุ ิศ) วิธีการวัดและ เคร่ืองมือทใ่ี ช้
๗. การวดั และประเมินผล ประเมินผล
แบบสอบถาม
ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ การสอบถาม แบบสมั ภาษณ์
การสมั ภาษณ์
- ครู บคุ ลากร นักเรยี น มีความรู้และความสามารถ แบบสงั เกต /
ปอ้ งกันโรคได้ด้วยตนเอง เฝ้าระวงั และป้องกนั การตดิ เชื้อ การสงั เกต /ทดสอบ แบบทดสอบ
ไวรัสโคโรนา่ 2019 (COVID – 19 ) รอ้ ยละ 9๐
- สถานศกึ ษามีอปุ กรณเ์ พียงพอในการป้องกันการติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID - 19 ) ร้อยละ 90
-สถานศึกษาสามารถจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบตา่ ง ๆ
ได้ รอ้ ยละ 80

8. ผลที่คาดว่าจะได้รบั
8.1 ครู บุคลากรและนักเรยี นมีความรแู้ ละความสามารถปอ้ งกันโรคไดด้ ้วยตนเอง เฝ้าระวงั และ

ปอ้ งกันการติดเช้อื ไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID – 19 ) ได้
8.2 สถานศกึ ษามีอปุ กรณ์ที่สามารถปอ้ งกันการเกิดโรคแกน่ กั เรียน คณะครูและบคุ ลากร เช่น

เครือ่ งมือวัดอุณหภมู ิ เจลแอลกอฮอล์ หน้ากากอนามัย ทล่ี า้ งมอื สบู่ล้างมือ
8.3 สถานศึกษาสามารถจดั การเรยี นการสอนไดใ้ นรูปแบบตา่ ง ๆ ตามสถานการณแ์ ก่ นกั เรยี น

ได้

(ลงชือ่ ) สหวรรณ วรรณจติ จรูญ ผู้เสนอโครงการ
(นางสหวรรณ วรรณจติ จรูญ)

ตาแหน่งครโู รงเรยี นบา้ นยะบะ (อปุ การวทิ ยา)
ช่วยราชการโรงเรียนวดั ประดหู่ อม

(ลงช่อื ) อดุ ม จนิ ดาวงศ์ ผ้เู ห็นชอบโครงการ
(นายอุดม จนิ ดาวงศ์)

ประคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

(ลงชอ่ื ) ........... ..........................ผอู้ นุมตั โิ ครงการ
(นางสาวกมลวรรณ ศรสี ุวรรณ์)
ผูอ้ านวยการโรงเรียนวัดประดหู่ อม

๙๙

ภาคผนวก

๑๐๐

คา้ ส่ังโรงเรียนวัดประดหู่ อม (เหลืออทุ ิศ)

ที่ ๓๓/ ๒๕๖๔

เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจดั ทาแผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕

...................................................................

ดว้ ยโรงเรียนวัดประดู่หอม (เหลืออุทิศ) จะดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาปฏิบตั ิการประจาปี

งบประมาณ ๒๕๖๕ และเพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยจึงอาศัยอานาจตามความใน

มาตรา ๓๙ แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และมาตรา ๒๗

แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอแต่งตั้ง

คณะกรรมการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ดังตอ่ ไปนี้

๑. คณะกรรมการทีป่ รึกษา ประกอบดว้ ย

๑.๑ นางสาวกมลวรรณ ศรีสุวรรณ์ผอู้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๑.๒ นางสาวจิราพร บารงุ รตั น์ ครูโรงเรียนวัดประดหู่ อม กรรมการ

๑.๓ นางสหวรรณ วรรณจิตจรญู ครโู รงเรยี นวดั ประดหู่ อม กรรมการ

๑.๔ นายอมรชัย ศรีสวุ รรณ ครูโรงเรยี นวัดประดหู่ อม กรรมการ

๑.๕ นางสาวศศิประภา ทิพยว์ ารี ครโู รงเรยี นวัดประดหู่ อม กรรมการ/

เลขานกุ าร

มหี นา้ ท่ี มีหน้าทใี่ หค้ าปรึกษา คาแนะนาตลอดจนให้ขอ้ มลู ต่าง ๆ

๒. คณะกรรมการด้าเนินงาน ประกอบดว้ ย

๒.๑ นางสาวกมลวรรณ ศรสี ุวรรณ์ ผอู้ านวยการโรงเรยี นประธานกรรมการ

๒.๒ นางสาวจิราพร บารุงรัตน์ ครโู รงเรียนวัดประด่หู อม กรรมการ

๒.๓ นางสหวรรณ วรรณจติ จรญู ครูโรงเรยี นวดั ประดหู่ อม กรรมการ

๒.๔ นางสาวสกุ ญั ญา จันทรป์ ระทุม ครูโรงเรยี นวดั ประดหู่ อม กรรมการ

๒.๕ นายอมรชัย ศรสี วุ รรณ ครโู รงเรียนวัดประดหู่ อม กรรมการ

๒.๖ นางสาวอลิษา ช่วยนุกลู ครูโรงเรยี นวดั ประดหู่ อม กรรมการ

๒.๗ นางสาวศศิประภา ทพิ ย์วารี ครโู รงเรียนวดั ประดหู่ อม กรรมการ/เลขานุการ

มหี นา้ ที่ จดั เตรยี มข้อมูล และรวบรวมขอ้ มลู เพอื่ นาไปจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารของโรงเรียน

๑๐๑

๓. คณะกรรมการจัดพิมพ์ และจัดทา้ รปู เล่ม ประกอบดว้ ย

๓.๑ นายอมรชัย ศรสี ุวรรณ ครูโรงเรยี นวดั ประดหู่ อม ประธานกรรมการ

๓.๒ นางสาวศศิประภา ทพิ ยว์ ารี ครูโรงเรียนวัดประดหู่ อม กรรมการ

๓.๓ นางสาวสกุ ัญญา จันทรป์ ระทุม ครูโรงเรียนวัดประดหู่ อม กรรมการ

๓.๔ นางสาวสภุ าภรณ์ พร้อมมลู เจ้าหนา้ ที่ธุรการ กรรมการ/เลขานกุ าร

มีหนา้ ท่ี จัดพมิ พ์ และจดั ทารปู เล่ม แผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕

สั่ง ณ วันท่ี ๔ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(ลงชื่อ)
(นางสาวกมลวรรณ ศรสี วุ รรณ)์

ผู้อานวยการโรงเรยี นวัดประดหู่ อม (เหลอื อุทศิ )

การพฒั นาสถานศึกษาโดยใช้รูปแบบ OKR

เป้าหมาย O1 : พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ป็นครูยุคใหม่ มศี กั

การใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั และพฒั นาวิชาชีพอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

KR 1.1 ครู จานวน 6 คน ได้รับการพฒั นาให้มคี วามรู้ KR 1.3 ผู้บรหิ าร ครู และบคุ

ความสามารถในการ จัดการเรยี นรตู้ ามหลักสตู ร จานวน 8 คน พัฒน

ฐานสมรรถนะ ภายในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 คนละ 20 ช่วั โมง ภ

พ.ศ.2565

KR 1.2 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา

จานวน 8 คน ใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลใน

การจัดการเรยี นการสอน ภายในปงี บประมาณ

ปงี บประมาณ พ.ศ.2565

เปา้ หมาย O2 : พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นใหเ้ ปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้มสี มรรถน

KR 2.1 ผเู้ รียนชน้ั ป.1- 6 จานวน 61 คน มที กั ษะการ KR 2.3 ผูเ้ รียน จานวน 78 ค

อา่ นออก เขียนได้ การคล่อง เขียนคลอ่ ง คดิ เลข และส่งเสรมิ พัฒนาอ

เป็น ภายในปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2

KR 2.2 ผเู้ รยี นทุกคนมวี ินยั คุณธรรม จรยิ ธรรมและ KR 2.4 ผู้เรียนทกุ คนเขา้ ร่วม

คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สามารถดารงตนตาม โรงเรยี น ชุมชนและส

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภายใน ภาคเรียนละ 4 คร้ัง

ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๐๓

RS ของโรงเรียนวดั ประดหู่ อม (เหลืออุทิศ)

กยภาพในการจดั การเรียนรู้ตามหลกั สตู รฐานสมรรถนะ มีทักษะ

คลากรทางการศึกษา KR 1.4 ครู จานวน 6 คน ผลติ สือ่ นวตั กรรมเพ่อื ใช้
นาวชิ าชีพ อย่างน้อย แกป้ ัญหาหรอื พฒั นาผเู้ รยี น ใหต้ รงกบั สภาพ

ภายในปงี บประมาณ ปัญหาหรอื ความต้องการของผเู้ รยี น

นะตามหลกั สตู รและทกั ษะทจ่ี ้าเปน็ ในศตวรรษ ท่ี 21 อยา่ งปลอดภยั และยั่งยนื

คน ไดร้ บั การดแู ลช่วยเหลอื 2.5 ผ้เู รยี นมีทกั ษะในการคดิ และแกป้ ญั หาได้ด้วยตัว
อย่างเตม็ ความสามารถ ภายใน เองแมอ้ ยใู่ นสถานการณท์ ี่ขบั ขนั อย่างปลอดภัยและ
2565 ย่ังยนื

มกจิ กรรมจติ อาสาในการพฒั นา
สถานท่ีสาธารณะ อย่างนอ้ ย

เปา้ หมาย O3 : พฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพอื่ การบริหารการศกึ ษาสคู่ ว

KR 3.1 โรงเรยี น มสี ารสนเทศ เผยแพร่บนเว็บไซต์ อยา่ ง KR 3.3 มีผเู้ ยี่ยมชมเว็บไซตข์

นอ้ ย 5 เรอ่ื ง ภายในไตรมาสท่ี 2 ปีงบประมาณ 200 คน ภายในปีงบ

พ.ศ. 2565

KR 3.2 หนังสือสง่ จานวน 200 เร่ือง และคาสงั่ KR 3.4 โรงเรียน มเี วบ็ ไซตต์

จานวน 40 เรือ่ ง จัดเก็บเปน็ เอกสาร เวบ็ ไซต์ภาครัฐ ภาย

อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ภายในไตรมาสที่ 2

เป้าหมาย O4 : สรา้ งวฒั นธรรมการท้างานแบบรว่ มคิดร่วมปฏบิ ตั เิ ปน็ องคร์

KR 4.1 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ของสถานศกึ ษา KR 4.3 บคุ ลากรในโรงเรยี น

มพี ฤตกิ รรมในการตอ้ นรบั ใหบ้ รกิ าร ผ้มู าติดตอ่ โดยใช้กระบวนกา

ราชการกบั ทุกคนระดบั ดเี ยีย่ ม แลกเปล่ยี นเรยี นร

2 ช่วั โมง ต่อ สปั ด

KR 4.2 บคุ ลากรของสถานศึกษา จานวน 8 คน ร่วม KR 4.4 สถานศึกษาเปดิ โอก
กิจกรรมสว่ นรวมของสถานศกึ ษาทุกครงั้ ทจี่ ัด หรอื องคภ์ ายนอกเข
กจิ กรรม การศึกษา ต้ังแต่กา

และแลกเปลยี่ นคว

๑๐๔

วามเปน็ เลศิ KR 3.5 มสี ารสนเทศครบถ้วน จานวน 20 เรื่อง
ในเว็บไซต์ สพป.สงขลา เขต 1 ภายใน
ข้อมลู สารสนเทศ
บประมาณ พ.ศ.2565 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565

ตามมาตรฐาน
ยในไตรมาสท่ี 3

รวม KR 4.5 ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้
พื้นฐานและผ้ปู กครองนักเรยี น อยา่ งนอ้ ยภาคเรยี น
นร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรู้
ารสรา้ งชุมชนการ ละ 1 ครั้ง และมีช่องทางตดิ ต่อผา่ นทางสอื่
รู้ (PLC) อย่างน้อย อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เชน่ กลมุ่ ไลน์ เฟสบกุ๊ ติดต่อเพื่อส่ง
ดาห์ ข้อมลู ข่าวสารระหวา่ งโรงเรยี นกับผู้ปกครอง

กาสให้ ผปู้ กครอง ชุมชน
ขา้ มามีสว่ นรว่ มในการจัด
ารวางแผน การจัดสนิ ใจ
วามคิดเหน็

เป้าหมาย O5 : บริหารจดั การสถานศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพและมาตรฐานตามระ

KR 5.1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นระดบั สถานศึกษาเฉลยี่ ทกุ KR 5.3 มีผลการประเมนิ ตน

กลุ่มสาระการเรียนรเู้ พมิ่ ขึ้นไม่ต่ากว่า คุณภาพภายใน ปร

รอ้ ยละ 2 ในระดบั ดเี ลศิ ขึน้ ไป

KR 5.2 มกี ารนเิ ทศ กากบั และติดตามประเมนิ ผลการ KR 5. ผรู้ ับบรกิ ารกลุ่มเปา้ ห
จดั การเรยี นการสอน อย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ การบรหิ ารจดั การส
2 ครั้ง

๑๐๕

ะบบประกันคณุ ภาพภายใน

นเองของระบบประกนั KR 5.5 สถานศกึ ษามีนวัตกรรมในการพฒั นาดา้ นการ

ระจาปกี ารศกึ ษา 2564 อยู่ บริหารจัดการสถานศกึ ษา ซ่งึ สามารถแก้ไขปญั หา

ป ของสถานศกึ ษาไดจ้ รงิ ภายในไตรมาสที่ 4

ปงี บประมาณ พ.ศ.2565

หมาย มีความพงึ พอใจตอ่

สถานศึกษาในระดบั ดขี นึ้ ไป


Click to View FlipBook Version