รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรียนอนบุ าลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2
วเิ คราะห์โครงสร้างหนว่ ยการจัดประสบการณ์ การวางแผนกิจกรรมประจำหนว่ ย
ผงั ความคดิ ประจำหนว่ ย แผนการจดั ประสบการณ์
3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติอย่างมีความสุข โดยครูปฐมวัยทั้ง
2 ระดับชั้น มีการนำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ไปใช้ในการจัดประสบการณ์จริง มีการใช้สื่อ
เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและนอกโรงเรียนสร้างเสริมประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยอย่างเต็ม
ศักยภาพ มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย มีความตั้งใจ มุ่งมั่นใน
การจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างสมดุล
เต็มศักยภาพของเด็ก เด็กมีโอกาสได้รับประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและเกิดองค์ความร้ดู ้วย
ตนเอง เด็กมีสภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ที่ดี มีโอกาสได้เลือกเล่นเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ
มีความปลอดภัย และเรียนรูอ้ ย่างมคี วามสขุ มีสื่อเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับวัย ส่งผลให้เด็กมีทักษะการเรียนรู้
ท่หี ลากหลายและสร้างสรรค์ รู้จกั การคดิ การแกป้ ญั หาและการค้นหาตำตอบดว้ ยตนเอง ครูสามารถประเมิน
พฒั นาการเด็กไดต้ ามสภาพจรงิ ในรูปแบบและวธิ ีการท่ีหลากหลาย และนำผลประเมนิ ไปพฒั นาปรบั ปรงุ วธิ ีการ
จัดประสบการณ์และกจิ กรรมต่างๆในชนั้ เรยี นเพอ่ื พัฒนาคุณภาพของเด็กต่อไป
41
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนบุ าลสลเมย (คอนผงึ้ ) สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
เรียนรู้ หนว่ ย รรู้ อบปลอดภัย อา่ นบัตรภาพบัตรคำคำพน้ื ฐานปฐมวัย
กิจกรรมกลางแจ้ง สรปุ ความร้หู ลงั เรยี น
ทดลองวิทยาศาสตร์ (ดนิ หิน ทราย) กจิ กรรมกลมุ่ สี
42
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึ้ง) สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2
เดนิ รณรงค์ล้างมอื ต้านโควดิ กิจกรรมวนั ขน้ึ ปใี หม่
เลน่ เกมรถไฟ เดินตอ่ เท้าส่งลูกปงิ ปอง
ลา้ งมือ 7 ขั้นตอน ฝกึ ผูน้ ำผ้ตู าม
43
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
เรยี นร้สู ัตว์ในดิน อาหารดีมปี ระโยชน์
ต้นไมท้ รี่ กั สจี ากธรรมชาติ
3.3 มีการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย โดยในชั้นเรียน
มีการจดั มุมประสบการณ์ 6 มมุ คอื มุมหนงั สือ มุมศิลปะ มุมวิทยาศาสตร์ มมุ บล็อก มมุ บทบาทสมมุติและ
มุมเกมการศึกษา เพื่อส่งเสรมิ พัฒนาการทั้ง 4 ด้านของผู้เรียน ซึ่งมุมประสบการณ์จะสอดคล้องกบั หน่วยการ
เรียนรู้ ครูมีการใช้สื่อที่หลากหลายทั้งที่ผลิตเอง สื่อธรรมชาติ แหล่งเรียนรู้ และสื่อจัดซื้อจัดหา เพื่อความ
หลากหลายในการเรยี นร้ขู องนกั เรยี น
โทรทศั น์ทเ่ี ชอ่ื มต่อกบั สญั ญาณอนิ เตอรเ์ น็ต มมุ บทบาทสมมุติ
44
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นอนบุ าลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2
มมุ หนังสือ มมุ ศลิ ปะ
มมุ วิทยาศาสตร์ มมุ บล็อก
มุมเกมการศึกษา บตั รภาพบตั รคำคำพ้นื ฐานปฐมวยั
45
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรียนอนบุ าลสลเมย (คอนผง้ึ ) สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
สวนเกษตร ผักหลากชนิด
ตน้ ไม้ในบรเิ วณโรงเรยี น พืชทีท่ ำใหเ้ กิดสี (ผู้ปกครองจัดหาให้)
3.4 ครูมีการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง
การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก โดยทางคณะครูได้ทำการประเมินพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้าน คือ
ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาตามสภาพจริง และมีการนำผลการประเมิน
พัฒนาการเดก็ ไปปรับปรงุ การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็กในปกี ารศึกษาตอ่ ไป
การประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกาย
ตรวจสขุ ภาพ ประเมินกลา้ มเนอ้ื มัดเล็ก
46
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผง้ึ ) สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
ประเมินทักษะการว่ิง และการทรงตวั
ประเมินทักษะการกระโดดไกล ประเมินการรบั ประทานอาหาร
ประเมนิ การเดนิ ตอ่ เท้า / การทรงตัว ประเมินการแปรงฟันและการประหยดั น้ำ
47
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
ประเมนิ กล้ามเน้อื มอื ประเมินทักษะการล้างจาน
ประเมนิ การนอนหลับพกั ผอ่ น ประเมินการด่ืมนม
การประเมนิ พัฒนาการทางดา้ นอารมณ์ จิตใจ
ประเมินความสนกุ สนานรา่ เริง กลา้ แสดงออก ประเมนิ การมสี มาธิท่ีดี
48
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึ้ง) สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
ประเมินการรู้จักรอคอยตามลำดับ ประเมินความมงุ่ ม่ันตงั้ ใจใหง้ านสำเรจ็
ประเมินความรับผิดชอบ ประเมินความกลา้ แสดงออก
การประเมนิ พฒั นาการทางด้านสงั คม
ประเมนิ การเข้าแถวเคารพธงชาติ ประเมนิ การรูจ้ กั รอคอย
49
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผ้งึ ) สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
ประเมินการใช้หอ้ งน้ำด้วยตนเอง ประเมินการเล่นร่วมกบั เพ่ือน
ประเมนิ การเล่นด้วยกนั อยา่ งมคี วามสุข ประเมนิ การมสี มั มาคารวะ
การประเมินพัฒนาการทางดา้ นสติปัญญา
ประเมินทกั ษะการคดิ คำนวณ ประเมินการจดั หมวดหมู่
50
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
ประเมนิ ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ คอื การสังเกต การจำแนกประเภท การวดั การสือ่ ความหมาย และ
การลงความเหน็
ประเมนิ ทักษะการนำเสนองาน การสนทนาโต้ตอบ พูดคยุ
51
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนบุ าลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
สรุปผลการประเมินในภาพรวม ระดับการศึกษาปฐมวยั
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยูใ่ นระดบั : ยอดเยยี่ ม
จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาประสบผลสำเร็จตามทต่ี งั้ เปา้ หมายไวใ้ นแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมนิ สรุปว่าได้
ระดับยอดเยย่ี ม ทัง้ น้ี
ดา้ นคุณภาพของเด็ก เด็กมพี ัฒนาการท้งั 4 ดา้ นทง้ั ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปญั ญา
มีทักษะในการเรยี นรูต้ รงตามโครงการและกิจกรรม ได้ใน ระดบั ยอดเยี่ยม
ด้านกระบวนการบริหารและจัดการ จัดให้ครูมีเพียงพอกับชั้นเรียน จัดสภาพแวดล้อม และส่ือ
การเรียนรู้และจัดให้มีสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้สนับสนุนการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้ใน ระดับ
ยอดเยี่ยม
การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เปน็ สำคัญ จัดประสบการณ์ท่สี ่งเสรมิ ให้เดก็ มพี ัฒนาการทุกด้านอย่าง
สมดุล สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้อย่างอิสระ เล่นอย่างมีความสุข มีการจัด
บรรยากาศทเี่ อ้อื ต่อการเรียนร้ขู องเดก็ และใหเ้ ดก็ มคี วามพร้อมทกุ ด้าน กลา้ คิด กลา้ แสดงออก ไดอ้ ยู่ใน ระดับ
ยอดเยย่ี ม
ผลจากการมุ่งมัน่ จัดประสบการณแ์ กเ่ ด็กปฐมวยั อยา่ งตอ่ เนอื่ งสง่ ผลใหโ้ รงเรียนไดร้ บั ตรา
พระราชทาน “บ้านนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ยประเทศไทย” จากสมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดา ในการจดั กิจกรรมทดลองวทิ ยาศาสตรแ์ ละทำโครงงานวิทยาศาสตร์ระดบั ปฐมวยั จำนวน 3 คร้ัง
ต้ังแต่ปี 2555 – ปี 2565
52
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนบุ าลสลเมย (คอนผง้ึ ) สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2
และในปกี ารศึกษา 2562 (ประกาศผลปีการศึกษา 2563) โรงเรียนได้รับรางวัลชมเชย ในโครงการคดั เลือก
นักเรียน นักศึกษา และสถานศึกษา เพื่อรบั รางวลั พระราชทาน ระดับ กอ่ นประถมศึกษา ขนาดเล็ก ประจำปี
การศึกษา 2562
53
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรียนอนบุ าลสลเมย (คอนผง้ึ ) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ปีการศกึ ษา 2564
ระดบั คุณภาพ
มาตรฐาน กำลัง ปาน ดี ดเี ลศิ ยอดเยยี่ ม
พฒั นา กลาง
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของของผู้เรยี น
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้น
ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
สรปุ ภาพรวม
ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สรปุ ภาพรวมอยู่ในระดับคณุ ภาพ........ดีเลิศ.........
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น
ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ
กระบวนการพฒั นา
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ ตามศักยภาพของผเู้ รียน และเปน็ ไปตามมาตรฐาน และตัวช้วี ัดของหลักสตู รสถานศึกษา และหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2562) มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้
ที่เหมาะสมกับผู้เรียน และเน้นเรื่องการอ่านออกเขียนไดข้ องผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่าน
ออก และเขยี นไดต้ ้ังแต่ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เช่น โครงการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน โครงการสง่ เสรมิ
ความเป็นเลิศทางวิชาการ โครงการห้องเรียนคุณภาพ โครงการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และแหล่งเรียนรู้
(ห้องสมุดมชี ีวิต) โครงการวนั สำคัญต่าง ๆ โครงการเปดิ บ้านทางวิชาการ โครงการส่งเสรมิ ศกั ยภาพบคุ ลากร
พัฒนาครู ทุกคนให้มีความสามารถในการนำเสนอเทคนิคการสอนให้ตรงกับศักยภาพของผู้เรียน ใช้ส่ือ
เทคโนโลยีในการจัด การเรยี นการสอน มีสื่อแหล่งเรยี นรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล เชน่ หอ้ งสมดุ เป็นต้น ครูทุก
54
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรียนอนบุ าลสลเมย (คอนผงึ้ ) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
คนเขา้ รว่ ม PLC เพอื่ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ การจัดการเรยี นการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการอ่านออกเขียน
ได้ ของนักเรยี นทกุ คนทุกระดบั ชัน้
นอกจากน้ี สถานศึกษาได้ดำเนินการพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน โดยการพัฒนาด้านคุณธรรม
จริยธรรม ตามวัยของผู้เรียน และตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผึ้ง) โดยโรงเรียนส่งเสริม
การจัดกิจกรรมตามโครงการโรงเรียนสุจริต โครงการประชาธิปไตยในโรงเรียน โครงการโรงเรียนคุณธรรม
กำหนดคุณธรรม การจัดค่ายคุณธรรม จริยธรรม ตามระดับชั้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ค่านิยม 12 ประการ และมารยาท การจัดกิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ
กจิ กรรมคุณธรรมนำชวี ติ (สวดมนต์ทุกวันศกุ ร์) กิจกรรมจติ อาสา เชน่ กิจกรรมจติ อาสาร่วมกบั ชมุ ชน กิจกรรม
ลกู เสอื กิจกรรมรณรงค์กำจดั ลกู น้ำยุงลาย เปน็ ตน้ โดยในปีการศึกษาน้ี โรงเรยี นอนุบาลสบเมย (คอนผ้ึง) ได้
จดั การศึกษาตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด -19 โดยเนน้ การเรียนรูเ้ ตม็ ศักยภาพทโี่ รงเรยี น และ
บ้าน เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นครูยังจัดการเรียนการสอนโดยยึด
การจัดการสอนออนไลน์ DLTV ทั้งนี้ผู้เรียนยังได้แลกเปล่ียนเรียนรู้กันและกันมีระบบการแนะแนวระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างเปน็ ระบบ การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ ตามนโยบายซึ่งมีกิจกรรม แบ่งได้
ดังน้ี วันจันทร์ กิจกรรมพุทธิศึกษา (Head), วันอังคาร กิจกรรมหัตถศึกษา (Hand), วันพุธ กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน (Heart), วันพฤหัสบดี กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง, กิจกรรมด้านพลศึกษา (Health) และ วันศุกร์
กจิ กรรมด้าน จริยศึกษา (Head) และในเวลาหลังเลกิ เรยี นได้เปิดสนามกีฬาใหน้ ักเรียนและเยาวชนที่อยใู่ กล้ ๆ
โรงเรยี นไดม้ าใช้สนามในการเลน่ กีฬาทกุ วัน และสง่ เสรมิ การเรยี นร้ดู า้ นการพฒั นาทกั ษะอาชีพ เช่น การปลูกผัก
สวนครวั เป็นต้น
ผลการดำเนินงาน
ผลจากการประเมินการอ่านการเชียนผู้เรียนมีความสามารถอ่านออกเขียนได้ และอ่านคล่อง
ตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละระดบั ชัน้ ผู้เรยี นมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคดิ
คำนวณ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยใช้
เหตผุ ลประกอบการตัดสินใจ และแกป้ ัญหาได้ มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อพัฒนาตนเอง และสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีมี
ความภูมใิ จในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเปน็ ไทย มสี ว่ นรว่ มในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรม ประเพณีและภูมิปัญา
ไทย สามารถอย่รู ว่ มกับผอู้ ื่นได้อย่างมีความสุข และมีสขุ ภาพร่างกายและจติ ใจท่ดี ี สามารถค้นคว้าเรียนรู้สิ่งท่ี
สนใจและสอดคล้องกับบทเรียน นำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียนรู้ เช่นการเข้าร่วมการแข่งขันงาน
ศิลปหัตถกรรม การทำโครงงาน การจัดทำหนังสือเล่มเล็กส่งเสริมการอ่านได้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม
เกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด ผู้เรียนจบหลักสูตรตามเวลาที่กำหนด มีทักษะการทำงานรว่ มกัน และมีทักษะด้าน
อาชีพสามารถจดั ทำโครงงานทีเ่ ป็นพื้นฐานด้านอาชพี เช่น การปลกู ผักสวนครัว ผา่ นการประเมนิ คุณลักษณะท่ี
พงึ ประสงค์ และสมรรถนะสำคัญตามหลักสตู ร
55
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นอนบุ าลสลเมย (คอนผงึ้ ) สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
จดุ ควรพฒั นา
1. การดำเนินการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนควรดำเนินการอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่
ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6
2. ส่งสริมให้ผู้เรียนในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลัง 5 ขั้นตอน (Co – 5
Steps) โดยมกี ารดำเนนิ การลงการประกนั ภาพภายในสู่หอ้ งเรียนคณุ ภาพท้ังสถานศึกษา
3. การพัฒนาการวัด และประเมินผลในห้องเรยี นให้สอดคล้องกับมาตรฐานตวั ชี้วัด เน้นการประเมิน
โดยใชข้ อ้ สอบอัตนัย และประเมินตามสภาพจริง
4. ส่งเสริมนกั เรยี นจัดทำโครงงานเชิงบรู ณาการดา้ นคุณธรรม งานอาชพี เน้นให้ผู้เรียนคิดเองทำเอง
โดยใชส้ อ่ื แหล่งเรียนรู้ การคน้ คว้า ออกแบบ เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะทีจ่ ำเป็นตามหลักสูตร
5. ให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดต่าง ๆ มากขึ้น โดยมีการวางแผน
การจัดการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และมีการประเมินความสามารถในการคิดของผู้เรียนอย่างเป็น
ระบบ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผูบ้ รหิ าร
สถานศกึ ษา
ระดบั คุณภาพ : ยอดเย่ยี ม
กระบวนการพัฒนา
สถานศึกษาได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล
สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัด
กิจกรรมระดมความคิดเห็น ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ไว้อย่างชัดเจน ซึ่ง
สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
นโยบายของรัฐบาล และของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการ
ประจำปี ทำให้สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ มีการนำ
ข้อมูลมาใช้ปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ ง มีการนิเทศติดตามและประเมินผลการดำเนนิ งานโครงการ และกิจกรรม
ต่าง ๆ และสรุปผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง สถานศึกษามีการดำเนินงานพัฒนาการวิชาการผู้เรียนรอบ
ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาครู และบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการ
ของครู และสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนา จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
และสังคมทีเ่ อ้อื ต่อการจดั การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ
สนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรียนรูท้ ี่เหมาะสมกับสถาพของสถานศกึ ษา แต่สถานศึกษายงั ไมม่ ี
กระบวนการวจิ ัย และพฒั นาระบบการบริหารทีถ่ ูกต้องตามหลกั วิชาการ
56
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึ้ง) สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
ผลการพฒั นา
สถานศึกษาบริหารจัดการโดยมีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยยึดหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรงุ 2560 มกี ารบรหิ ารเก่ียวกบั วชิ าการโดยจัดใหผ้ ู้เรียนเข้าร่วม
กิจกรรมวชิ าการในทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ความสามารถ และความถนดั พร้อมท้ังเข้าร่วมการแข่งขนั กิจกรรม
วิชาการระดับสถานศึกษา ระดับเครือข่ายการศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับภาค สถานศึกษาที่
การพฒั นาหลักสูตรปีละ 1 ครั้ง มีกิจกรรมเสริมหลักสูตร กจิ กรรมลกู เสอื แนะแนว กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่ม
เวลารู้ เปน็ ตน้
สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา การทำงานเป็นทีม โดยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น คณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครู ผู้นำชุมชน ผู้ปกครอง เป็นต้น สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และ
ประเมนิ ผลการบรหิ าร และการจัดการศึกษา ทเ่ี หมาะสม เป็นระบบ และต่อเน่ือง
สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครูและบุคลากรเข้าร่วมการพัฒนา อบรม สัมมนาเพื่อให้มี
ความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของครู สถานศกึ ษา และจัดใหม้ ชี มุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ
(PLC) มาใช้ในการพัฒนางาน และการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน
สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ กระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้ เช่น ห้องสมุด สนามเด็กเล่นที่สะอาด
และมคี วามปลอดภัย
สถานศึกษาจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไป
ประยุกต์ใช้ได้ มกี ารดำเนินงานอย่างเปน็ ระบบเพื่อสนับสนนุ การบริหารจดั การ และการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับ
สภาพของสถานศึกษา โดยมีข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้
มีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบิรหาร และการจัด
การเรียนรู้ เช่น มีห้องคอมพิวเตอร์สำหรับห้องปฏิบัติการ และติดตั้ง TV LCD ติดตั้งระบบสัญญาณ
อนิ เทอรเ์ น็ตเพ่อื กระจายสัญญาณ WIFI ให้ครอบคลมุ ท่วั ถึงท้งั บริเวณสถานศึกษา เพ่ือให้ครู ผูเ้ รยี น ผปู้ กครอง
และประชาชนสามารถเข้าถึงระบบสารสนเทศของสถานศึกษาไดง้ ่ายขน้ึ และนำเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมใน
การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
จุดควรพัฒนา
1. เปิดโอกาสใหท้ กุ ภาคสว่ นได้มสี ว่ นร่วมในการประเมินคุณภาพภายใน แลว้ นำมาสู่การระดมความคิด
เพอื่ พัฒนาสถานศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบ
2. พัฒนาวิธีการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา
ผ่านกระบวนการวิจยั
57
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผงึ้ ) สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
ระดบั คุณภาพ : ดเี ลิศ
กระบวนการพฒั นา
สถานศึกษา จัดการเรยี นการสอนผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด
ของหลักสตู รสถานศึกษา มีแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ีสามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนำไปประยุต์
ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ครูมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ และครูบางส่วนมีการเผยแพร่ ครูใช้สื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง ครูมีกระบวนการตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ ใช้เครื่องมือ และวิธีการวัด
และประเมนิ ผลที่เหมาะสมกับเปา้ หมายในการจดั การเรียนรู้ ใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับแก่ผู้เรียน และนำผลมาพัฒนา
ผู้เรียน ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียน ผู้เรียนรักที่จะเรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูจัดชุมชน
แห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับเพือ่ พัฒนา และปรับปรุง การจดั การ
เรียนรู้
ผลการดำเนนิ งาน
ครูมีความรู้ มีทักษะ มีความมุ่งมั่นตั้งใจ จัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning ที่เน้นกระบวนการ
เรียนรู้มากว่าเนือ้ หาวิชา โดยร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดของหลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยจดั กระบวนการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย เชน่ การจดั การเรียนรู้แบบรวม
พลัง 5 ขั้นตอน ( Co 5 steps) การจัดกิจกรรม Open class การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน การสอนแบบ
สะเต็มศกึ ษา เป็นตน้ และครมู กี ารจดั ทำวิจัยในช้ันเรยี นเพอื่ พัฒนาการจดั การเรยี นการสอน
ครูสามารถผลิตสื่อ และใชส้ ่ือการสอนท่ีสอดคล้องกบั กิจกรรมการเรยี นร้ใู นกลุ่มสาระการสอน โดยสื่อ
ที่ใช้ประกอบด้วย ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกกิจกรรม บัตรภาพ บัตรคำ วิดีโอ และเกมต่าง ๆ เป็นต้น
นอกจากนี้ครูของสถานศึกษาทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากแหล่ง
เรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งภายใน และภายนอกสถานศึกษา ครูทุกคนมีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนจัด
ทำการศึกษาค้นคว้าจากศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ และส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ใน
สถานศึกษา เชน่ ห้องสมุด หอ้ งคอมพิวเตอร์ ปา้ ยนิเทศหนา้ อาคาร หรือ หน้าชนั้ เรียน เปน็ ต้น
ครูทกุ คนมกี ารบรหิ ารจดั การชนั้ เรียนท่เี ป็นระบบ สะอาด มบี รรยากาศที่สง่ เสริมการเรียนรู้กับผู้เรียน
จัดทำเอกสารชั้นเรียนอย่างถูกต้อง และครบถ้วน มีการวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล และนำผลไป
ออกแบบการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการ และสภาพบริบทของผู้เรียน มีระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรยี นอย่างเปน็ ระบบ โดยมีการติดตอ่ ส่ือสารกับผ้ปู กครองผู้เรยี นในหลายชอ่ งทาง คือทางโทรศัพท์
ทาง Facebook การจัดตั้งกลุ่ม Line และการประชุมผู้ปกครองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน
58
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนบุ าลสลเมย (คอนผ้ึง) สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
อย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนี้ครูทุกคนต้องดำเนินการเย่ียมบ้านนักเรียนในความรบั ผิดชอบปีการศึกษาละ 1 ครง้ั
แลว้ จัดทำข้อมูลพ้นื ฐานของผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล
ครทู กุ คนมีการออกแบบการวดั และประเมินผลการเรียนรูข้ องผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ แบง่ สดั ส่วนของ
การประเมินผลระหว่างเรียน กลางภาค และปลายภาคเรียน มีเคร่ืองมือวัด และประเมินผลที่เหมาะสมกับ
การประเมิน (K, P, A) และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนจัดทำแฟ้มสะสมงาน มีการแจ้งผล
การประเมนิ แก่ผู้ปกครองทราบ เพือ่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายการเรียนรู้
ครูทุกคนรวมกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อแลกเปลี่ยนการจัดการเรียนรู้กันเกี่ยวกบั
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ จัดกิจกรรม Open
class เพื่อระบบประกันคุณภาพภายในสู่ห้องเรียน โดยการเชิญคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศึกษานิเทศก์ ผู้ปกครอง คณะครูเข้าเยี่ยมชั้นเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง เพื่อสะท้อนการจัดการเรียนการสอน
ของครู พฒั นาสือ่ /นวัตกรรม และแนวทางแกป้ ัญหา จดั ทำแผนการเรียนรู้ สังเกตการณ์สอน นอกจากนี้ครูทุก
คนได้รับการพัฒนาความรู้ตรงกับความต้องการของตนเอง และสถานศึกษา และนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ใน
การพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนตอ่ ไป
จดุ ควรพัฒนา
1. พัฒนาครูให้ทำการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อนำผลงานวิจัยนั้นไปพัฒนาการเรียนการสอนให้มี
ประสิทธิภาพ
2. เชญิ ครผู ู้สอนในกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ น่ื ๆ ผู้ปกครองผูเ้ รียน หรอื คณะกรรมการสถานศึกษาให้เข้า
มามีส่วนร่วมในกล่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระ เพื่อให้ได้แนวคิดที่
หลากหลายในการแกป้ ัญหาการจดั การเรียนการสอน และความทำกจิ กรรมอยา่ งต่อเนอื่ ง
59
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผงึ้ ) สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
สว่ นท่ี 3
สรุปผลการประเมนิ และแนวทางการพฒั นา
60
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผึ้ง) สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
สรุปผลการประเมินและพัฒนา
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไป
วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อสรุปนำไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จ กับแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา และนำไปใช้ในการวางแผนพฒั นา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จาก
ผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของจดุ เด่น จดุ ควรพฒั นาของแต่ละ
มาตรฐาน พร้อมทั้งแผนงาน/แนวทางการพัฒนาเพอื่ ใหไ้ ดค้ ณุ ภาพทส่ี ูงขนึ้ ในอนาคตดงั น้ี
ระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ยี ม
จุดเดน่ จดุ ควรพฒั นา
ด้านคณุ ภาพของเด็ก ดา้ นคุณภาพของเด็ก
เดก็ มรี ่างกายเตบิ โตตามวยั มีนำ้ หนัก การส่งเสริมกระบวนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ส่วนสงู ตามเกณฑ์ มีทักษะการเคล่อื นไหวตามวัย กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การมีจิตสาธารณะ
สามารถดแู ลสุขภาพและหลีกเลย่ี งต่อสภาวะท่ีเส่ยี ง และการรูค้ ณุ คา่ ของทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
ต่ออุบัตเิ หตุ ภยั และสง่ิ เสพตดิ มีคณุ ธรรม
จริยธรรม คา่ นิยมท่พี งึ ประสงค์ มีจิตสำนึกในการ
อนรุ ักษ์และพัฒนาสง่ิ แวดล้อม ทำงานรว่ มกับผ้อู ่ืน
ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ มอี ารมณ์แจม่ ใส รา่ เริง
สนกุ สนาน ประพฤติปฏบิ ัตติ นตามประเพณี
วฒั นธรรมและรว่ มกจิ กรรมในสังคมได้อย่างมี
ความสขุ มพี ัฒนาการดา้ นการเรยี นรู้ ส่อื สารทาง
ภาษาผา่ นการฟงั การพดู การอ่าน การเขียนได้
อย่างเหมาะสมตามวยั
61
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึ้ง) สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
จุดเด่น จดุ ควรพัฒนา
ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
- ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้าน ควรนำผลการประเมนิ ผู้เรยี นมาพฒั นาผู้เรียนอย่าง
การศึกษาปฐมวัย สามารถจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิด เปน็ ระบบในเชิงวจิ ัย
การเรียนรูไ้ ด้ตลอดเวลา โดยใช้สื่อและเทคโนโลยี
ทเ่ี หมาะสมสอดคลอ้ งกบั พัฒนาการของเด็ก
- มีงบประมาณสนับสนุนในการจัดกิจกรรมเพื่อ
พฒั นาคุณภาพผู้เรียน
- ครูมีความมุ่งมั่นและอุทิศตนเพื่อการจัด
การศกึ ษา มคี วามรักสามัคคี ทำงานเปน็ ทมี ถ้อยที
ถ้อยอาศัยกัน
จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนา
ด้านการจดั ประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเปน็ สำคญั ด้านการจัดประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เป็นสำคัญ
- ครูมีความรู้ความสามารถ มีความต้งั ใจ มุ่งมั่นใน - ครูควรพัฒนาการออกแบบการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย
การจัดประสบการณ์ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการอยา่ งสมดุล ให้มากขึน้ เพอ่ื รองรบั ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของเดก็
เต็มศักยภาพ สร้างโอกาสให้เดก็ เกิดการเรยี นร้ดู ้วย - ครคู วรพฒั นาทักษะกระบวนการวจิ ัยในชั้นเรียนให้
ตนเองผ่านประสบการณ์ตรง มีบรรยากาศการ ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการและควรทำอยา่ งต่อเนื่อง
เรียนรู้ท่เี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ มีส่อื เทคโนโลยีท่ีสง่ เสริม
พัฒนาการท่ีเหมาะสมตามวยั ครมู ีรปู แบบและ
วิธีการประเมนิ พฒั นาการท่ีหลากหลายตามสภาพ
จรงิ และนำผลประเมินมาพฒั นาปรบั ปรงุ
กระบวนการจดั ประสบการณเ์ พือ่ พฒั นาเด็กให้มี
คณุ ภาพ
62
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผึ้ง) สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
แผนงาน/แนวทางการพัฒนาเพื่อให้ได้คุณภาพที่สงู ขนึ้
ดา้ นคณุ ภาพของเดก็
แผนปฏิบตั งิ านที่ 1 ดำเนนิ โครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ยอย่างต่อเนอื่ ง และนำผลการ
ดำเนินงานมาปรบั ปรงุ ต่อยอดให้เด็กเกดิ กระบวนการเรียนรู้ให้มากข้ึน
แผนปฏิบตั ิงานที่ 2 จดั ประสบการณ์ในรูปแบบโครงงานคุณธรรมส่งเสรมิ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึง
ประสงค์ และการสรา้ งวินยั เชงิ บวกให้กบั ผ้เู รยี น
ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
แผนปฏิบัติงานที่ 1 สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนให้มีความเข้มแข็งมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัด
การศึกษา
ด้านการจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเด็กเป็นสำคญั
แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 1 : การพฒั นาสถานศึกษาปฐมวัยให้เปน็ สังคมแหง่ การเรยี นร้ขู องชมุ ชน
แผนปฏิบัตงิ านที่ 2 : นำภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ให้เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
63
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดบั คุณภาพ : ดเี ลศิ
จดุ เด่น จดุ ควรพฒั นา
ด้านคุณภาพผเู้ รยี น ด้านคุณภาพผูเ้ รียน
1. ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนทดี่ ีและผู้เรียนกล้า 1. ควรมีการใช้สื่อ นวัตกรรมเพื่อพัฒนา
แสดงออก ร่าเรงิ แจ่มใส สขุ ภาพกายแขง็ แรง และเป็นผู้มี นักเรียนที่มีความบกพร่องด้านการเรียนรู้ และ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามท่สี ถานศึกษากำหนด พัฒนาผลสัมฤทธิ์รายวิชาคณิตศาสตร์และ
ภาษาตา่ งประเทศ
จดุ เดน่ จุดควรพฒั นา
ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ของผบู้ ริหารสถานศึกษา ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
1. ผู้บริหารมีความตั้งใจมีความมุ่งมั่นมีหลักการ 1. เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วน ได้มีส่วนร่วม
บรหิ าร และมวี ิสยั ทศั น์ที่ดีในการบริหารงานสามารถเป็น ในการประเมินคุณภาพภายใน แล้วนำมาสู่
แบบอย่างทีด่ ีในการทำงานและคณะกรรมการสถานศึกษา การระดมความคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษาอย่าง
มีความตั้งใจและมีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ตาม เปน็ ระบบ
บทบาท 2. พัฒนาวิธีการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นท่เี หมาะสมตามบริบท
ของสถานศึกษาผา่ นกระบวนการวจิ ยั
จดุ เดน่ จุดควรพฒั นา
ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ด้านกระบวนการเรียนการสอนท่เี น้น ผเู้ รยี น
1. ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความตั้งใจ มุ่งมั่น ใน เป็นสำคัญ
การปฏบิ ัตหิ น้าทีอ่ ยา่ งเตม็ เวลา และความสามารถ 1. ควรพัฒนาเด็กนักเรียนที่มีความบกพร่อง
ด้านการเรียนรู้ให้มีผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้น และ
พัฒนานักเรียนปกติให้ตรงตามตัวชี้วัดในแต่
ระดับชน้ั
64
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นอนบุ าลสลเมย (คอนผึ้ง) สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
แผนพัฒนาเพอื่ ให้ไดม้ าตรฐานทีส่ ูงข้ึน
แผนปฏิบัติงานที่ 1 ส่งเสริมนักเรียนจัดทำโครงงานเชิงบูรณาการด้านคุณธรรม งานอาชีพเน้นให้
ผู้เรยี นคดิ เองทำเอง โดยใช้สื่อ แหลง่ เรยี นรู้ การค้นควา้ ออกแบบ เพ่อื พัฒนาสมรรถนะทจ่ี ำเป็นตามหลักสูตร
แผนปฏิบัตงิ านท่ี 2 บริหารโดยการมสี ว่ นร่วมกบั ทุกภาคสว่ นในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรยี น
แผนปฏิบัติงานที่ 3 ลดภาระงานครู คืนครูสู่ห้องเรียนโดยการบูรณาการการทำงานในโรงเรียน/
หอ้ งเรียน ลดภาระงานธรุ การ ครจู ดั การเรยี นการสอนโดยใช้ DLTV
65
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผ้งึ ) สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
สว่ นท่ี 4
ภาคผนวก เอกสารอา้ งองิ ตา่ ง ๆ
66
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นอนบุ าลสลเมย (คอนผ้ึง) สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
ประกาศโรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผึ้ง)
เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาปฐมวัย
เพ่ือประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
จากที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ.2561 ที่ปรับปรุงใหม่ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามประกาศ ณ วันที่ 6 สิงหาคม
พ.ศ.2561 ประกาศอัตลักษณ์และจุดเน้นของสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผึ้ง) จึงกำหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาระดับปฐมวัย โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาและการมีส่วนรว่ มของผู้ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ทง้ั บุคลากรทกุ คนในโรงเรยี น และผปู้ กครอง เพอ่ื เป็นเปา้ หมาย
ในการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัย ตลอดจนเพื่อส่งเสริม สนับสนนุ
กำกบั ดแู ล และติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
โรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผึ้ง) จึงประกาศใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษา
ปฐมวัย ตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี
ประกาศ ณ วันที่ 14 เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. 2564
(นายนพดล เพียรงาน)
ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผง้ึ )
67
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนบุ าลสลเมย (คอนผ้งึ ) สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
ประกาศโรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผ้งึ )
ท่ี /2564
เร่ือง กำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
ระดบั การศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
จากที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ.2561 ทป่ี รบั ปรุงใหม่ ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่อื ง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาระดับ
การศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามประกาศ ณ วันท่ี 6 สิงหาคม
พ.ศ.2561 โดยกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และ
ประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนา
ก าร จั ดก าร ศึ ก ษาของ สถาน ศึก ษาที่มุ่ง คุณภาพ ตามมาตร ฐาน ก าร ศึก ษาและ ดำเน ิน ก าร
ตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบการศึกษาคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตาม
ผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานประจำปี
ของสถานศกึ ษาให้แก่หน่วยงานตน้ สงั กัดหรือหน่วยงานท่ีกำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทกุ ปี
โรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผึ้ง) จึงประกาศการกำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษา ระดับ
ปฐมวัยตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ีเพ่ือเปน็ เป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับ
ปฐมวัย และการประเมนิ คุณภาพภายใน สำหรับปกี ารศึกษา 2564
ประกาศ ณ วนั ที่ 14 เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564
(นายนพดล เพยี รงาน)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผ้งึ )
68
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึ้ง) สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั
เพ่อื การประกันคณุ ภาพภายในโรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผึง้ ) ปกี ารศึกษา 2564
มาตรฐาน สพฐ. 3 มาตรฐาน ค่าเปา้ หมาย
ปีการศึกษา 2564
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็
1.1 มกี ารพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยทด่ี ี และดูแลความปลอดภยั ตนเองได้ ระดบั คุณภาพดีเลิศ
1.2 มีการพัฒนาด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 80.00
1.3 มีการพัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสงั คม 80.00
1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา สอ่ื สารได้ ทักษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหาความร้ไู ด้ 80.00
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ 80.00
2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทั้ง 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบรบิ ททอ้ งถิ่น
2.2 จดั ครูให้เพียงพอกับช้ันเรียน ระดบั คุณภาพดเี ลิศ
2.3 สง่ เสริมใหค้ รมู ีความเชีย่ วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ 80.00
2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่อื การเรียนรู้ อย่างปลอดภยั และเพยี งพอ 80.00
2.5 ให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรยี นรูเ้ พ่อื สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ 80.00
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผูเ้ กยี่ วข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม 80.00
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เป็นสำคญั 80.00
3.1 จัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสรมิ ให้เด็กมีพฒั นาการทกุ ด้านอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ 80.00
3.2 สรา้ งโอกาสให้เดก็ ได้รบั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ย่างมีความสุข
3.3 จัดบรรยากาศท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้ใช้สื่อเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับวยั ระดบั คณุ ภาพดีเลศิ
3.4 ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลประเมินพฒั นาการเดก็ ไปปรับปรุงการจดั 80.00
80.00
ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก 80.00
80.00
เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพของมาตรฐานมี 5 ระดับ ระดับคณุ ภาพ
คา่ รอ้ ยละ ระดบั กำลังพัฒนา
ระดับปานกลาง
น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60.00
รอ้ ยละ 60.00-69.99 ระดับดี
รอ้ ยละ 70.00-79.99 ระดบั ดีเลิศ
รอ้ ยละ 80.00-89-99 ระดบั ยอดเยยี่ ม
รอ้ ยละ 90.00 ขึ้นไป
69
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผ้งึ ) สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
เพอื่ การประกนั คุณภาพภายในโรงเรยี นอนุบาลสบเมย (คอนผง้ึ ) ปีการศกึ ษา 2564
มาตรฐาน ค่าเป้าหมาย
ปกี ารศึกษา 2564
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รียน ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ
1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผูเ้ รียน
1.2 คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น 80.00
80.00
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ
2.1 มเี ป้าหมายวิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดชัดเจน 80.00
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 80.00
2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเ่ี นน้ คณุ ภาพของผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลกั สตู ร 80.00
สถานศกึ ษา และทุกกลุม่ เป้าหมาย 80.00
2.4 พัฒนาครู และบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ 80.00
2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และสังคมท่ีเอือ้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้
80.00
อยา่ งมคี ณุ ภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบริหารจัดการ และการ ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ
80.00
จัดการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั 80.00
80.00
3.1 จัดการเรยี นการสอนผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง และสามารถ 80.00
นำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้
80.00
3.2 ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรทู้ เี่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้
3.3 มกี ารบริหารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบ และประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนานา
ผเู้ รียน
3.5 มีการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพอื่ พฒั นา และ
ปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้
70
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรียนอนบุ าลสลเมย (คอนผ้ึง) สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
การให้ความเหน็ ชอบเอกสาร
รายงานการคณุ ภาพ และมาตรฐานการศกึ ษาประจำปี ระดบั ข้นั พน้ื ฐาน ปีการศึกษา 2564
ของโรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผงึ้ )
สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
…………………………………………….
ท่ปี ระชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐานโรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผ้งึ ) คร้งั ท่ี 2/2564 เม่ือ
วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2565 ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพ่อื
พัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีการศึกษา
2564 ของโรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผึง้ )
มีมติเห็นชอบในการรายงานคณุ ภาพ และมาตรฐานการศึกษาประจำปี ปีการศึกษา 2564 ด้วยมติ
เป็นเอกฉนั ท์เพ่ือรายงานตอ่ หน่วยงานตน้ สังกัดและสาธารณชนได้
(ลงชื่อ)
(นายสถาพร ทองประดษิ ฐ์)
ประธานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
โรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผึง้ )
(ลงชอ่ื )
(นายนพดล เพียรงาน)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผึ้ง)
71
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนบุ าลสลเมย (คอนผ้ึง) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2
บันทกึ ขอ้ ความ
สว่ นราชการ โรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผึง้ ) สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
ท่ี วันที่ 19 เดือน เมษายน พ.ศ. 2565
เรอ่ื ง ขอความเห็นชอบรายงานประจำปีของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษา
ข้นั พน้ื ฐาน (SAR) ปีการศึกษา 2564
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เรยี น ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานโรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผึ้ง)
ด้วยคณะกรรมการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้จัดทำรายงานประจำปี
ของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (SAR) ปีการศึกษา 2564ขึ้นเพื่อ
รายงานผลการดำเนินงานในรอบปีการศึกษา 2564 ระหว่าง วันท่ี 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 9 เมษายน 2565
เพื่อเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด ผู้บังคับบัญชา ชุมชนสาธารณชน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้รับทราบตาม
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2559 และ 2561 เพื่อใช้เป็น
สารสนเทศทางการศกึ ษาของโรงเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในปีการศึกษาตอ่ ไปให้มีคุณภาพ
สูงขึ้น
บัดน้กี ารจดั ทำรายงานประจำปขี องสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวยั และระดบั การศกึ ษาข้นั
พ้ืนฐาน (SAR) ปีการศึกษา 2564 ได้เสรจ็ เรียบร้อยแลว้
จึงเรยี นมาเพื่อโปรดทราบ และพิจารณาอนุมตั ิ
(ลงชื่อ)
(นายนนทป์ วิธ ขริ ะณะ )
งานประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น
เรียน ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานโรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผง้ึ )
- เพือ่ โปรดทราบและพจิ ารณา
(ลงช่ือ)
ทราบ ( นายนพดล เพียรงาน )
- เหน็ ชอบ/อนุมัติ ผู้อำนวยการ โรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผ้งึ )
(ลงชือ่ )
(นายสถาพร ทองประดษิ ฐ์)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
72
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
คำสงั่ โรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผง้ึ )
ท่ี 21/2564
เรอื่ ง แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผงึ้ )
ปกี ารศึกษา 2564ระดบั ปฐมวยั และระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
…………………………………………. .
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 ว่าด้วยมาตรฐาน และการประกันคุณภาพ
การศึกษามาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา
ทุกระดับประกอบด้วยระบบประกันภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ์ และ
วิธีการประกันคณุ ภาพการศึกษาให้เป็นไปตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง มาตรา 48 ให้หน่วยงานตน้ สังกัด และ
สถานศึกษา จัดให้มรี ะบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา และใหถ้ อื ว่าการประกนั คุณภาพภายใน เป็นส่วน
หนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ
หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2559 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ทก่ี ำหนดให้มคี ณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา เป็นกลไกหลักในการขบั เคลอื่ น การพัฒนา
คุณภาพสถานศึกษาใหไ้ ดม้ าตรฐานอย่างเปน็ ระบบ มปี ระสทิ ธภิ าพ อันส่งผลตอ่ การยกระดบั คุณภาพการศึกษา
โดยมีการจัดทำรายงานประจำปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสงั กัด หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน
เพ่อื นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรบั การประกนั คุณภาพภายนอกโรงเรียน
อนุบาลสบเมย (คอนผ้งึ ) จงึ แต่งต้ังบุคคลในคำสัง่ น้เี ป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อ
ทำการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย และมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานใหแ้ ล้วเสร็จ ดังต่อไปน้ี
1. คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบดว้ ย
1.1 นายนพดล เพยี รงาน ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
1.2 นายสถาพร ทองประดษิ ฐ์ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาฯ กรรมการ
กรรมการ
1.3 นางสมศรี ศิลาชาล ครู ชำนาญการพเิ ศษ
กรรมการ
1.4 นางสาววจี แสนธิวงั ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ
กรรมการ และเลขานุการ
1.5 นางสาวสมุ าลี คงสมปอง ครู คศ.1
1.6 นายนนท์ปวิธ ขริ ะณะ ครู ชำนาญการพเิ ศษ
มีหน้าที่ ให้คำแนะนำ ปรึกษา อำนวยความสะดวก แก้ไขปัญหาในการดำเนินการประเมินคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา แก่คณะกรรมการดำเนินงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมี
ประสทิ ธภิ าพ
73
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผ้ึง) สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
2. คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย ประกอบด้วย
2.1 นายนพดล เพียรงาน ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
2.2 นางสาววจี แสนธิวัง ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ
2.3 นางสมศรี ศลิ าชาล ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ และเลขานุการ
3. คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ประกอบดว้ ย
3.1 นายนพดล เพียรงาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
3.2 นายนนท์ปวธิ ขริ ะณะ ครู ชำนาญการพิเศษ รองประธาน
3.3 นางสาวอรชา ทองประดิษฐ์ ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ
3.4 นายสิรวิชญ์ มโนธรรม ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ
3.5 นางสาวนภิ า เพยี งไพรชม ครู ชำนาญการ กรรมการ
3.6 นางสาวรงุ่ นภา กนั ยะวงศ์ ครู คศ.1 กรรมการ
3.7 นางสาวนภสั ววรณ์ ทาแฮ ครูผชู้ ว่ ย กรรมการ
3.8 นางมาลี เผอื กพาคำ ครู อัตราจา้ ง กรรมการ
3.9 นายวรฒุ บุญชมุ ครู คศ.1 กรรมการ
3.10 นางโสภา เปลง่ ฉววี รรณ ครู ชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ และเลขานุการ
3.11 นางสาวสมุ าลี คงสมปอง ครู คศ.1 กรรมการ และผู้ชว่ ยเลขานุการ
มีหน้าท่ี
1. วางแผนกำหนดแนวทาง และวิธกี ารดำเนินการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
2. กำกบั ติดตาม และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา
3. เสนอแต่งต้ังคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในจากตวั แทนคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพการศึกษา
ภายในสถานศกึ ษา และทำหนา้ ทตี่ รวจสอบ ทบทวน รายงานคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา
4. ให้สถานศึกษาจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของ
การบรหิ ารการศกึ ษาทปี่ ระกอบด้วย 8 ประการ คอื
1) การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
2) จัดทำแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาท่มี ุ่งคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา
3) จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
4) การดำเนนิ งานตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
5) จัดให้การตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา
6) จัดใหม้ กี ารประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
7) จดั ทำรายงานประจำปีทเ่ี ป็นรายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายใน
8) จดั ใหม้ กี ารพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนือ่ ง
74
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผ้ึง) สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
5. กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกบั การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในของสถานศึกษา
4. คณะกรรมการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ดงั น้ี
- จดั ทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศึกษา 2564 ระดบั ปฐมวัย
4.1 นางสมศรี ศลิ าชาล ครู ชำนาญการพเิ ศษ ประธานกรรมการ
4.2 นางสาววจี แสนธิวัง ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ และเลขานกุ าร
- จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐานประกอบดว้ ย
4.1 นายนนทป์ วธิ ขริ ะณะ ครู ชำนาญการพเิ ศษ ประธานกรรมการ
4.2 นางสาวอรชา ทองประดษิ ฐ์ ครู ชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
4.3 นายสริ วิชญ์ มโนธรรม ครู ชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
4.4 นางสาวนภิ า เพยี งไพรชม ครู ชำนาญการ กรรมการ
4.5 นางสาวรงุ่ นภา กันยะวงศ์ ครู คศ.1 กรรมการ
4.6 นางสาวนภัสววรณ์ ทาแฮ ครูผู้ชว่ ย กรรมการ
4.7 นางมาลี เผือกพาคำ ครู อัตราจ้าง กรรมการ
4.8 นายวรุฒ บุญชมุ ครู คศ.1 กรรมการ
4.9 นางโสภา เปลง่ ฉววี รรณ ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ และเลขานกุ าร
4.10 นางสาวสุมาลี คงสมปอง ครู คศ.1 กรรมการ และผชู้ ่วยเลขานกุ าร
มีหน้าที่ดำเนินการรวบรวมข้อมูล จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
ปีการศึกษา 2564 เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ดำเนินการประเมิน ตรวจสอบตามรูปแบบ
การประเมิน ให้ได้ข้อมูลครบถ้วน ถูกต้องตามสภาพความเป็นจริงที่สุด จัดส่งหน่วยงานต้นสังกัด ทั้งนี้เพื่อ
ให้เกิดความเรียบร้อย อันจะส่งผลให้เป็นไปตามทิศทาง และวัตถุประสงค์การพัฒนาการศึกษาสู่มาตรฐาน
การศึกษาตอ่ ไป
ท้ังน้ี ต้งั แตบ่ ัดนีเ้ ปน็ ตน้ ไป
สั่ง ณ วนั ท่ี 14 เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
ลงชื่อ
(นายนพดล เพยี รงาน)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผ้ึง)
75
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผ้งึ ) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
ประกาศโรงเรยี น โรงเรยี นอนุบาลสบเมย (คอนผ้งึ )
เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ระบุให้การประกันคุณภาพการศึกษา
เป็นสว่ นหนึง่ ของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษาท่ีกำหนดให้สถานศกึ ษา และหน่วยงานต้นสงั กัดตอ้ งดำเนนิ การ
อย่างต่อเนื่อง ทั้งระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ในส่วนของ
การประกันคุณภาพภายในนั้น ตามประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พ.ศ. 2554 กำหนดให้ดำเนินการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาอย่างน้อยปลี ะ 1 ครัง้
โรงเรียนอนบุ าลสบเมย (คอนผึ้ง) จะดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา ประจำปกี ารศึกษา 2564 จงึ แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ คณุ ภาพภายใน
ของสถานศึกษา มหี น้าทใ่ี นการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ดงั นี้
1. นายนพดล เพยี รงาน ผ้อู ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
2. นางสมศรี ศิลาชาล ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ
3. นางโสภา เปล่งฉวีวรรณ ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ
4. นางสาววจี แสนธิวัง ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
5. นายสริ วชิ ญ์ มโนธรรม ครู ชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
6. นางสาวอรชา ทองประดิษฐ์ ครู ชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
7. นางสาวนภิ า เพียงไพรชม ครู ชำนาญการ กรรมการ
8. นางสาวสมุ าลี คงสมปอง ครู คศ.1 กรรมการ
9. นายวรฒุ บุญชมุ ครู คศ.1 กรรมการ
10. นางสาวร่งุ นภา กันยะวงศ์ ครู คศ.1 กรรมการ
11. นางส่าวนภัสวรรณ ทาแฮ ครูผชู้ ่วย กรรมการ
12. นางมาลี เผอื กพาคำ ครูอตั ราจา้ ง กรรมการ
13. นายนนท์ปวธิ ขริ ะณะ ครู ชำนาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร
ขอให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งทุกคน ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ให้บรรลุตาม
วัตถปุ ระสงค์ของการดำเนินงาน เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย เกดิ ประโยชน์สงู สดุ ตอ่ ราชการ
ประกาศ ณ วันที่ 14 เดอื น มิถุนายน พ.ศ. 2564
ลงช่ือ
(นายนพดล เพยี รงาน)
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผงึ้ )
76
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนอนบุ าลสลเมย (คอนผึ้ง) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
ประกาศโรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผง้ึ )
เรือ่ ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา 2564
กฎกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา พ.ศ. 2553 หมวด ข้อ 14 (1) – (8) และประกาศคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2554 หมวด ข ข้อ 6.1 กำหนดให้สถานศกึ ษามีการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมนิ
คุณภาพภายใน อย่างน้อย 3 คน ที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่หน่วยงานต้นสังกัดขึ้นทะเบียนไว้
อยา่ งนอ้ ย 1 คน เขา้ มามีส่วนร่วมในกระบวนการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 2 ครัง้
น้ัน
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 39 (1) และ (6) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2546 และมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พุทธศักราช 2547 จึงแต่งต้ังคณะกรรมการการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐาน
การศกึ ษา พุทธศักราช 2562 ดังน้ี
1. นายนพดล เพยี รงาน ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
2. นางสมศรี ศิลาชาล ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ
3. นางโสภา เปล่งฉวีวรรณ ครู ชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
4. นางสาววจี แสนธวิ ัง ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ
5. นายสริ วชิ ญ์ มโนธรรม ครู ชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
6. นางสาวอรชา ทองประดิษฐ์ ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการ
7. นางสาวนภิ า เพียงไพรชม ครู ชำนาญการ กรรมการ
8. นางสาวสุมาลี คงสมปอง ครู คศ.1 กรรมการ
9. นายวรุฒ บญุ ชุม ครู คศ.1 กรรมการ
10. นางสาวรุ่งนภา กนั ยะวงศ์ ครู คศ.1 กรรมการ
11. นางส่าวนภสั วรรณ ทาแฮ ครูผ้ชู ่วย กรรมการ
12. นางมาลี เผอื กพาคำ ครูอตั ราจา้ ง กรรมการ
13. นายนนท์ปวิธ ขริ ะณะ ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ
77
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผ้งึ ) สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2
มหี นา้ ท่ี
1. กำหนดแนวทาง และวธิ ีการประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาท้งั
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย และการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
2. วางแผนการสร้างเครื่องมือประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและมี
สว่ นรว่ มในการดำเนนิ การประเมนิ คุณภาพภายในทง้ั ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั และการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
3. เสนอแต่งตั้งคณะอนุกรรมการประเมินคุณภาพภายในและเสนอแนะการนำผลการประเมินคุณภาพ
ภายใน ไปจัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา ตลอดจนนำผลการประเมินคุณภาพภายในไปใช้พัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง
ท้งั นี้ ตงั้ แตบ่ ดั น้เี ปน็ ตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ที่ 14 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
ลงชอื่
(นายนพดล เพียรงาน)
ผอู้ ำนวยการ โรงเรียนอนบุ าลสบเมย (คอนผ้ึง)
78
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผง้ึ ) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
ผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั
ระดบั ชั้นอนุบาลปที ่ี 2 และอนุบาลปที ่ี 3
-
79
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนบุ าลสลเมย (คอนผงึ้ ) สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2
สรปุ ผลการประเมินพฒั นาการของเดก็ ปฐมวยั
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ.2560
- ชั้นอนุบาลปที ี่ 2
- ชน้ั อนุบาลปที ่ี 3
80
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นอนบุ าลสลเมย (คอนผง้ึ ) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
สรปุ ผลการพฒั นาของเดก็ ปฐมวัยตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ.2560
ช้นั อนุบาลปที ี่ 2 ปีการศกึ ษา 2564
มาตร ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ท้งั ปี ค่าร้อยละ
แต่ละ
ฐานที่ ตวั บ่งช้ี (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) มาตรฐาน
1. ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวยั และมสี ขุ นิสัยท่ีดี 96.30 96.30 96.30
1.1 นำ้ หนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ 93.52 96.30 94.91 95.53
1.2 มีสุขภาพอนามยั สขุ นสิ ัยที่ดี
1.3 รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองและผ้อู น่ื 94.45 96.30 95.38
2. กลา้ มเน้อื ใหญแ่ ละกลา้ มเน้ือเลก็ แขง็ แรง ใช้ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่วและประสานสมั พันธ์กัน
2.1 เคลอ่ื นไหวร่างกายอย่างคลอ่ งแคลว่ 90.28 95.83 93.06
ประสานสัมพนั ธ์กันและทรงตัวได้ 89.74
83.11
2.2 ใช้มอื -ตา ประสานสมั พันธ์กัน 82.10 90.74 86.42 98.77
3. มสี ุขภาพจติ ดแี ละมคี วามสุข 87.16
3.1 แสดงออกทางอารมณ์ได้อยา่ งเหมาะสม 79.63 85.19 82.41
3.2 มีความรู้สึกที่ดีตอ่ ตนเองและผู้อ่นื 81.48 86.11 83.80
4. ชืน่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรแี ละการเคล่ือนไหว
4.1 สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านงาน 98.77 98.77 98.77
ศิลปะ ดนตรีและการเคลอื่ นไหว
5. มีคณุ ธรรม จริยธรรมและมีจิตใจทีด่ ีงาม
5.1 ซ่อื สัตย์สุจริต 87.04 90.74 88.89
5.2 มีความเมตตากรุณา มีนำ้ ใจและชว่ ยเหลอื 83.33 91.67 87.5
แบง่ ปัน
5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น 79.63 90.74 85.19
5.4 มคี วามรบั ผดิ ชอบ 85.19 88.89 87.04
81
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผ้งึ ) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
มาตร ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 ท้ังปี คา่ รอ้ ยละ
ฐานท่ี
ตวั บง่ ชี้ แต่ละ
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) มาตรฐาน
6. มที กั ษะชีวิตและปฏิบตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6.1 ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบัตกิ ิจวตั ร 82.1 93.83 87.97
ประจำวัน
6.2 มวี ินยั ในตนเอง 81.48 94.44 87.96 87.04
6.3 ประหยดั และพอเพียง 79.63 90.74 85.19
7. รกั ธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม วัฒนธรรมและความเปน็ ไทย
7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 81.48 94.44 87.96
7.2 มมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความ 79.01 91.36 85.19 86.58
เป็นไทย
8. อยรู่ ่วมกับผู้อ่นื ได้อย่างมคี วามสขุ และปฏบิ ัติตนเป็นสมาชิกทดี่ ีของสังคมในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข
8.1 ยอมรับความเหมอื นและความแตกต่าง 79.63 92.59 86.11
ระหว่างบุคคล
8.2 มปี ฏิสมั พนั ธท์ ดี่ ีกับผอู้ นื่ 81.48 90.74 86.11 85.49
8.3 ปฏบิ ตั ติ นเบือ้ งต้นในการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ี 79.63 88.89 84.26
ของสังคม
9. ใชภ้ าษาสื่อสารได้เหมาะสมกบั วัย 89.81 87.96 88.89 89.82
9.1 สนทนาโต้ตอบและเลา่ เรื่องให้ผอู้ ่นื เข้าใจ 91.67 90.75
9.2 อ่าน เขียนภาพและสัญลกั ษณไ์ ด้ 89.82 92.59 89.82
87.04 87.04 87.81
10. มีความสามารถในการคดิ ท่เี ปน็ พน้ื ฐานในการเรยี นรู้ 86.11 86.58
10.1 มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด 87.04
10.2 มีความสามารถในการคดิ เชงิ เหตุผล 87.04
10.3 มคี วามสามารถในการคดิ แก้ปญั หาและ 87.04
ตัดสินใจ
82
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผงึ้ ) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
มาตร ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ท้งั ปี ค่าร้อยละ
ฐานที่
ตัวบง่ ชี้ แต่ละ
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) มาตรฐาน
11. มีจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ 92.60 94.45 93.53
11.1 ทำงานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและ 93.99
ความคดิ สรา้ งสรรค์
11.2 แสดงทา่ ทาง/เคล่ือนไหวตามจนิ ตนาการ 94.45 94.45 94.45
อยา่ งสร้างสรรค์
12. มีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ การเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกบั วยั
12.1 มเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ การเรียนรู้ 94.44 92.59 93.52 93.06
12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ 92.59 92.59 92.59
สรุปผลพัฒนาการเด็กปฐมวยั ทงั้ 4 ดา้ น ช้นั อนบุ าลปที ี่ 2
ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผง้ึ )
ลำดบั ที่ พฒั นาการด้าน จำนวนเดก็ ท่ี ดี ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ
เข้ารับการ (ร้อยละ) พอใช้ (ร้อยละ)
1 ร่างกาย ประเมนิ 92.94 (ร้อยละ)
2 อารมณ-์ จิตใจ 89.86 7.36 -
3 สงั คม 9 86.37 10.14 -
4 สติปัญญา 9 91.17 13.63 -
9 90.01 8.83 -
รวมเฉลย่ี รอ้ ยละ 9.99 -
9
หมายเหตุ
พฒั นาการทางดา้ นร่างกาย ไดแ้ ก่ มาตรฐานที่ 1 และ 2
พัฒนาการทางดา้ นอารมณ์-จิตใจ ได้แก่ มาตรฐานที่ 3 , 4 และ 5
พัฒนาการทางด้านสงั คม ไดแ้ ก่ มาตรฐานที่ 6 , 7 และ 8
พฒั นาการทางด้านสติปญั ญา ได้แก่ มาตรฐานที่ 9 ,10, 11 และ 12
83
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนบุ าลสลเมย (คอนผึ้ง) สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
สรปุ ผลการพฒั นาของเดก็ ปฐมวัยตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ.2560
ชนั้ อนุบาลปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564
มาตร ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท้ังปี ค่ารอ้ ยละ
ฐานที่
ตัวบ่งชี้ แตล่ ะ
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) มาตรฐาน
1. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมสี ุขนิสัยทด่ี ี 88.89 86.11 87.50
1.1 น้ำหนกั และสว่ นสูงตามเกณฑ์ 97.22 100 98.61 94.68
1.2 มีสุขภาพอนามยั สขุ นิสัยที่ดี
1.3 รักษาความปลอดภยั ของตนเองและผู้อ่นื 95.84 100 97.92
2. กลา้ มเนือ้ ใหญ่และกล้ามเนือ้ เลก็ แขง็ แรง ใช้ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ และประสานสัมพนั ธ์กัน
2.1 เคลือ่ นไหวร่างกายอย่างคลอ่ งแคล่ว 94.45 99.31 96.88
ประสานสัมพนั ธก์ ันและทรงตวั ได้ 97.98
99.31
2.2 .ใชม้ ือ-ตา ประสานสัมพนั ธ์กัน 98.15 100 99.08 98.61
3. มสี ขุ ภาพจิตดแี ละมีความสุข 98.96
3.1 แสดงออกทางอารมณไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม 100 100 100
3.2 มคี วามรู้สกึ ทีด่ ีต่อตนเองและผอู้ ่ืน 97.92 99.31 98.62
4. ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรีและการเคล่ือนไหว
4.1 สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผา่ นงาน 97.22 100 98.61
ศลิ ปะ ดนตรแี ละการเคล่ือนไหว
5. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจติ ใจท่ดี ีงาม 95.84 100 97.92
5.1 ซื่อสตั ย์สจุ รติ
5.2 มีความเมตตากรณุ า มนี ำ้ ใจและชว่ ยเหลือ 100 100 100
แบง่ ปัน
5.3 มีความเห็นอกเหน็ ใจผ้อู ่นื 100 100 100
5.4 มีความรบั ผิดชอบ 95.84 100 97.92
84
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
มาตร ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ทั้งปี คา่ ร้อยละ
ฐานท่ี
ตวั บ่งชี้ แต่ละ
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) มาตรฐาน
6. มีทักษะชวี ิตและปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6.1 ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏบิ ัตกิ ิจวตั ร 98.61 100 99.31
ประจำวนั 99.77
6.2 มีวินยั ในตนเอง 100 100 100
6.3 ประหยดั และพอเพยี ง 100 100 100
7. รกั ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและความเปน็ ไทย
7.1 ดแู ลรกั ษาธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม 95.83 100 97.92
7.2 มมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความ 98.61 100 99.31
เป็นไทย 98.62
8. อยู่รว่ มกับผ้อู ่นื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ และปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชกิ ทดี่ ีของสงั คมในระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
8.1 ยอมรบั ความเหมือนและความแตกตา่ ง 100 100 100
ระหวา่ งบคุ คล
8.2 มปี ฏิสมั พันธ์ทีด่ ีกับผูอ้ นื่ 100 100 100 99.85
8.3 ปฏบิ ัตติ นเบื้องต้นในการเปน็ สมาชิกท่ีดี 99.07 100 99.54
ของสงั คม
9. ใช้ภาษาส่อื สารได้เหมาะสมกับวัย 96.53 98.61 97.57 98.79
9.1 สนทนาโตต้ อบและเล่าเรอื่ งใหผ้ ู้อ่ืนเข้าใจ 100 100
9.2 อ่าน เขียนภาพและสัญลักษณไ์ ด้ 100 99.31 98.96
97.22 96.53 98.27
10. มีความสามารถในการคดิ ท่เี ป็นพนื้ ฐานในการเรียนรู้ 100 99.31
10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด 98.61
10.2 มคี วามสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล 95.83
10.3 มคี วามสามารถในการคดิ แก้ปญั หาและ 98.61
ตัดสินใจ
85
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผ้ึง) สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2
มาตร ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ทั้งปี ค่ารอ้ ยละ
ฐานท่ี
ตวั บ่งชี้ แตล่ ะ
(ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) มาตรฐาน
11. มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 97.22 100 98.61
11.1 ทำงานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและ 99.31
ความคิดสรา้ งสรรค์
11.2 แสดงทา่ ทาง/เคลอ่ื นไหวตามจนิ ตนาการ 100 100 100
อยา่ งสร้างสรรค์
12. มีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ การเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความร้ไู ดเ้ หมาะสมกับวยั
12.1 มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรยี นรู้ 99.31 100 99.66 98.79
12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ 97.22 98.61 97.92
สรุปผลพฒั นาการเด็กปฐมวัย ทัง้ 4 ดา้ น ชน้ั อนุบาลปีท่ี 3
ประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผง้ึ )
ลำดบั ที่ พัฒนาการด้าน จำนวนเดก็ ที่ ระดบั คณุ ภาพ
เขา้ รับการ พอใช้
ประเมิน ดี (รอ้ ยละ) ปรบั ปรุง
(ร้อยละ) 3.67 (รอ้ ยละ)
1 รา่ งกาย 12 96.33 1.04
2 อารมณ-์ จิตใจ 12 98.96 0.59 -
3 สงั คม 12 99.41 1.21 -
4 สติปญั ญา 12 98.79 1.63 -
98.37 -
รวมเฉลี่ยร้อยละ -
หมายเหตุ
พัฒนาการทางดา้ นร่างกาย ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 และ 2
พฒั นาการทางด้านอารมณ์-จติ ใจ ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี 3 , 4 และ 5
พฒั นาการทางดา้ นสังคม ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี 6 , 7 และ 8
พัฒนาการทางด้านสตปิ ญั ญา ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี 9 ,10, 11 และ 12
86
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
สรุปผลการพฒั นาของเด็กปฐมวยั รวม 2 ชนั้ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560
ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นอนบุ าลสบเมย (คอนผ้ึง)
มาตร อนุบาลปีที่ 2 อนบุ าลปที ี่ 3 รวมเฉลย่ี ค่ารอ้ ยละ
ระดบั ดี แตล่ ะ
ฐาน ตวั บง่ ช้ี ระดบั ดี ระดบั ดี (รอ้ ยละ)
มาตรฐาน
ท่ี (รอ้ ยละทงั้ ปี) (ร้อยละทง้ั ป)ี 91.90
9676 95.11
1. รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวยั และมสี ขุ นสิ ยั ท่ีดี (รา่ งกาย)
1.1 นำ้ หนัก และส่วนสงู ตามเกณฑ์ 96.30 87.50
1.2 มีสขุ ภาพอนามยั สุขนิสยั ที่ดี 94.91 98.76
1.3 รกั ษาความปลอดภัยของตนเองและผอู้ ืน่ 100 93.19 96.60
2. กลา้ มเน้อื ใหญ่ และกล้ามเนอ้ื เล็กแข็งแรง ใช้ได้อยา่ งคล่องแคลว่ และประสานสัมพันธ์กนั (รา่ งกาย)
2.1 เคล่ือนไหวรา่ งกายอยา่ งคล่องแคล่ว ประสาน 93.06 96.88 94.97
สมั พันธก์ นั และทรงตัวได้ 93.86
2.2 .ใช้มอื -ตา ประสานสัมพนั ธ์กัน 86.24 99.08 92.75
3. มสี ขุ ภาพจติ ดี และมคี วามสุข (อารมณ)์ 82.41 100 91.21 91.21
3.1 แสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม 91.21
98.69 98.69
3.2 มคี วามรสู้ ึกท่ีดีตอ่ ตนเอง และผอู้ ่นื 83.80 98.62
93.41
4. ชนื่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว (อารมณ)์ 93.75 93.06
4.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศลิ ปะ 98.77 98.61 92.60
92.48
ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว
5. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ ใจท่ีดีงาม (อารมณ์)
5.1 ซอ่ื สตั ย์สุจริต 88.89 97.92
5.2 มคี วามเมตตากรุณา มีน้ำใจ และชว่ ยเหลอื 87.5 100
แบ่งปัน
5.3 มีความเห็นอกเหน็ ใจผู้อื่น 85.19 100
5.4 มคี วามรบั ผดิ ชอบ 87.04 97.92
87
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผงึ้ ) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2
มาตร ตัวบง่ ช้ี อนุบาลปีท่ี 2 อนุบาลปที ี่ 3 รวมเฉล่ยี ค่าร้อยละ
ฐานท่ี ระดับดี ระดับดี ระดบั ดี แต่ละ
(ร้อยละ)
(รอ้ ยละท้งั ป)ี (รอ้ ยละท้งั ป)ี มาตรฐาน
6. มีทักษะชวี ิตและปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สงั คม)
6.1 ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบตั กิ ิจวตั ร 87.97 99.31 93.64
ประจำวัน 93.41
6.2 มวี นิ ัยในตนเอง 87.96 100 93.98
6.3 ประหยัดและพอเพียง 85.19 100 92.60
7. รักธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมและความเปน็ ไทย (สังคม)
7.1 ดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 87.96 97.92 92.94
7.2 มมี ารยาทตามวฒั นธรรมไทยและรกั ความ 85.19 99.31 92.25 92.60
เปน็ ไทย
8. อยูร่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ได้อย่างมีความสขุ และปฏิบัติตนเป็นสมาชกิ ท่ดี ขี องสังคมในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ (สังคม)
8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่าง 86.11 100 93.06
ระหว่างบคุ คล
8.2 มีปฏสิ ัมพนั ธ์ทด่ี กี ับผู้อื่น 86.11 100 93.06 92.67
8.3 ปฏบิ ตั ิตนเบื้องตน้ ในการเปน็ สมาชิกท่ีดี 84.26 99.54 91.90
ของสังคม
9. ใชภ้ าษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวยั (สติปัญญา) 97.57 93.23 94.31
9.1 สนทนาโตต้ อบและเลา่ เรื่องให้ผอู้ ื่นเขา้ ใจ 88.89 95.38
9.2 อา่ น เขียนภาพและสัญลักษณ์ได้ 90.75 100 94.39
91.79 93.04
10. มคี วามสามารถในการคดิ ท่เี ป็นพื้นฐานในการเรยี นรู้ (สติปัญญา) 92.95
10.1 มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด 89.82 98.96
10.2 มคี วามสามารถในการคดิ เชงิ เหตุผล 87.04 96.53
10.3 มคี วามสามารถในการคิดแก้ปญั หาและ 86.58 99.31
ตดั สินใจ
88
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
มาตร ตวั บ่งชี้ อนบุ าลปที ่ี 2 อนุบาลปที ี่ 3 รวมเฉล่ีย คา่ ร้อยละ
ฐานที่ ระดับดี ระดับดี ระดับดี แต่ละ
(รอ้ ยละ)
(รอ้ ยละทั้งปี) (รอ้ ยละทง้ั ป)ี มาตรฐาน
96.07
11. มีจินตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ (สติปญั ญา) 98.61 96.65
11.1 ทำงานศิลปะตามจินตนาการ และ 93.53
ความคดิ สรา้ งสรรค์
11.2 แสดงทา่ ทาง/เคลอ่ื นไหวตามจินตนาการ 94.45 100 97.23
อย่างสร้างสรรค์
12. มีเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การเรยี นรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความร้ไู ด้เหมาะสมกับวยั (สติปญั ญา)
12.1 มเี จตคติทด่ี ีตอ่ การเรยี นรู้ 93.52 99.66 96.59 95.22
12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ 92.59 97.92 95.26
รวมเฉลยี่ รอ้ ยละ 94.21
ลงชอื่ ............................... ................................................ครูประจำช้ันอนุบาลปที ี่ 2
( นางสาววจี แสนธิวงั )
วันท่ี 9 เมษายน 2564
ลงชื่อ...............................................................................ครปู ระจำช้นั อนบุ าลปที ี่ 3
( นางสมศรี ศิลาชาล)
วนั ท่ี 9 เมษายน 2564
89
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นอนุบาลสลเมย (คอนผึง้ ) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2
สรุปผลการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทง้ั 4 ด้าน (รวม 2 ระดบั ชั้น)
ประจำปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนอนุบาลสบเมย (คอนผง้ึ )
ลำดับที่ พัฒนาการดา้ น จำนวนเดก็ ที่ ดี ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ
เข้ารับ (ร้อยละ) พอใช้ (ร้อยละ)
1 ร่างกาย 94.49 (ร้อยละ)
2 อารมณ-์ จติ ใจ การประเมิน 94.41 5.51 -
3 สังคม 92.89 5.59 -
4 สติปัญญา 21 94.98 7.11 -
21 94.19 5.02 -
รวมเฉลีย่ รอ้ ยละ 21 5.81 -
21
หมายเหตุ
พัฒนาการทางด้านร่างกาย
- มาตรฐานที่ 1 และ 2
พฒั นาการทางดา้ นอารมณ์-จิตใจ
- มาตรฐานที่ 3, 4 และ 5
พฒั นาการทางดา้ นสงั คม
- มาตรฐานที่ 6, 7 และ 8
พฒั นาการทางดา้ นสติปัญญา
- มาตรฐานท่ี 9, 10, 11 และ 12
90