The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสมญานามเกียรติก้องวรรณศิลป์ เนื่องในโอกาสเกษียณอายุงาน รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ รักษ์มณี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sakdithach.ch, 2021-09-17 16:23:00

หนังสือสมญานามเกียรติก้องวรรณศิลป์

หนังสือสมญานามเกียรติก้องวรรณศิลป์ เนื่องในโอกาสเกษียณอายุงาน รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ รักษ์มณี

ครูภาษาไทยท่ีขา พเจา ไมเ คยลมื

นายธนสิทธ์ิ อำพนิ ธ
ผจู ดั การรานเพอรเ ฟคคารแครและเพอรเ ฟคคาเฟ

อ.พทุ ไธสง จ.บุรีรมั ย

ขาพเจาไดมีโอกาสสอบแอดมิชชันและไดผานการคัดเลือกเขามาศึกษาตอท่ี สาขานิเทศ
ศาสตรเ กษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วทิ ยาเขตกำแพงแสน ซึ่งขาพเจาไดล งทะเบยี นเรยี นเหมือน
นิสิตทั่ว ๆ ไป แตครั้งหนึ่งขาพเจาไดขอลงทะเบียนเรียนรวมกับนิสิตวิชาเอกภาษาไทยที่วิทยาเขต
บางเขน ในรายวิชาหลักและศิลปะการพูด เพราะคิดวานาจะเปนประโยชนตอการนำไปใช
ในชีวติ ประจำวันในอนาคตได

กอนที่จะไดเรียนกับอาจารยสมเกียรติ รักษมณี ขาพเจาไดยินคำบอกเลามาบางวา อาจารย
เปนคนดุ เขมงวด ทำใหผมหวั่นใจ แตทำใจดีสูเสือ หลังจากลงทะเบียนไมนานก็ถึงฤดูกาลเปดเทอม
คร้ังแรกท่ไี ดเขา เรียนวิชาหลกั และศิลปะการพูด ขาพเจา ท้งั รูสกึ ตน่ื เตน และหว่นั ใจเกรงวาจะไปไมรอด
แตเมื่อเวลาผานไปสักพักอาจารยเริ่มสอน ขาพเจารูสึกวาผอนคลายขึ้น และการสอนของอาจารยน นั้
แมจะไมสนุกสนานแตก็มีความสุขที่ไดเรียน ทานสอนเขาใจงาย ใชคำพูดที่เปนกันเองกับนิสิต
ทำใหเขาถึงและเรียนรูไดไมยาก ที่สำคัญคือเรื่องที่อาจารยสอนเปนเรื่องใกลตัวที่เราใชกันอยูทุกวัน
คอื เรอื่ งการพูดในสถานการณต าง ๆ นั่นเอง และเมอ่ื ใกลถ ึงกลางเทอมอาจารยไดมอบหมายงานกลุม
ใหกับขาพเจาและเพื่อน ๆ ใหไปสัมภาษณบุคคลที่ประสบความสำเร็จในชีวิต โดยใหนำหลักการพูด
การตั้งคำถามจากที่เรียนนั้นไปใชในการสัมภาษณ ขาพเจาก็ไดปฏิบัติตามจนสำเร็จลุลวงเปนอยางดี
และเมื่อไดมานำเสนอในช้ันเรียนก็ทำใหเปนทีส่ นใจจากเพือ่ นรวมช้ันเรียน ซึ่งจากการเรียนรายวชิ านี้
นอกจากทำใหไดรับความรูแลว ยังทำใหกลาแสดงออก กลาคิด กลาถาม ตามหลักการพูดอยางมี
ศลิ ปะ

ทกุ วนั นี้ ทกั ษะวิชาท่อี าจารยใ หมาน้ัน ขาพเจายงั ไดนำมาใชใ นการประกอบอาชีพ ย่ิงปจ จุบัน
ขาพเจาไดมีโอกาสเปดรานคารแคร และรานกาแฟ มีลูกคาเขามาใชบริการจำนวนมาก ขาพเจานำ
ความรูเรื่องทักษะการพูด การเลือกสรรถอยคำที่อาจารยสอนมาใชพูดตอนรับและพูดคุยกับลูกคา
ทำใหลกู คา เกิดความประทับใจ และขาพเจาเองก็เกดิ ความภาคภูมิใจและระลึกถึงวาคร้ังหนึ่งมีโอกาส
ไดศกึ ษาหลักและศิลปะการพูดกับอาจารยสมเกยี รติ รักษมณี

42 : “สมญานาม เกยี รติกองวรรณศลิ ป”

จากใจศิษย ถึงอาจารย

นางสาวธนยิ า นันตสคุ นธ
ศิษยเกา คณะมนุษยศาสตร ภาควิชาภาษาไทย รุนที่ ๑๖
ประสบการณการทำงาน กองบรรณาธกิ ารฝายวิชาการ สำนกั พมิ พเ อด็ ดโู ซน จำกดั

ปจจุบัน บรรณาธกิ ารอิสระ

ความทรงจำของหนเู ก่ยี วกับอาจารยส มเกียรติ รักษม ณี เรม่ิ ขึ้นต้งั แตวนั แรกของการเปนนิสิต
ปริญญาตรีภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เนื่องจากอาจารย
สมเกียรติเปน อาจารยที่สัมภาษณหนูเปนคนแรกในรอบสอบสมั ภาษณ ในตอนนั้นอาจารยชวนหนคู ุย
เกี่ยวกับวิชาภาษาไทย ครูสอนภาษาไทยตอนมัธยม ทำใหหนูเกิดความผอนคลายในการสัมภาษณ
จึงถือเปนอาจารยทา นแรกในภาควชิ าภาษาไทย ทีห่ นไู ดร ูจักและเกดิ ความประทับใจขน้ึ หนูจำไดดีถึง
การอบรม และคำอวยพรแรกที่อาจารยบอกกับหนูวา เมื่อหนูไดโอกาสเขามาเรียนแลว ก็ขอใหหนู
ตั้งใจเรียนใหดี ในอนาคตจะไดประสบความสำเร็จ นำความรูไปประกอบอาชีพไดอยางสุจริต ซึ่งหนูก็
พยายามรักษาโอกาส และปฏิบัติตนตามแนวทางที่อาจารยไดอบรมไว จนจบการศึกษาในระดับ
ปริญญาตรี และนำความรูที่ไดไปประกอบอาชีพประสบความสำเร็จในสายงานที่ตรงกับความรูที่ได
เรียนมา

ตอมาเมื่อหนูไดตัดสินใจมาเรียนตอในระดับปริญญาโท ก็ยังคงไดรับความกรุณา และ
ความเมตตาจากอาจารยอยูเสมอ เชน การเรยี นในรายวชิ าภาษาและวัฒนธรรม อาจารยไดกรุณาเชิญ
อาจารยภายนอกผูมีความเช่ียวชาญ มาเปนผูบรรยายประกอบการเรยี นการสอน ทำใหนิสิตไดเรยี นรู
ผานผมู ีประสบการณจ ริง นอกเหนอื ไปจากการเรียนรูผานตำรา เกดิ ความตระหนักถึงคณุ คา เขาใจถึง
ความสมั พันธกนั ระหวางภาษาและวัฒนธรรม นอกจากนั้น หนยู งั ไดรับโอกาสในการฝกฝนการทำงาน
ดานบรรณาธกิ าร โดยไดร บั คำแนะนำจากอาจารยเพ่ือปรับปรุง และพฒั นาการทำงานของตนเองใหดี
ยิ่งขึ้นในหลายดาน หนูขอขอบคุณอาจารย สำหรับการอบรม ความกรุณา ความเมตตา และทุก ๆ
โอกาสที่อาจารยมอบให อาจารยยังคงเปนหนึ่งในตนแบบของหนู ในฐานะผูทำงานดานบรรณาธิการ
การเขยี น และนักประพันธท เี่ ช่ียวชาญ

ในโอกาสทอ่ี าจารยจ ะเกษยี ณอายุการทำงาน หนูจึงขออาราธนาสิง่ ศักดส์ิ ิทธิ์ โปรดดลบันดาล
ใหอาจารยมีสุขภาพที่แข็งแรง ไดมีวันเวลาที่เปนไปดวยความสุข ดวยความตั้งใจ และทุมเท
ในการสอนมาตลอดอายุราชการและการตออายุการทำงาน อาจารยไดเปนหนึ่งในผูสรางบัณฑิต
ผูประสบความสำเร็จในหลายวงการ จึงเชื่อไดวาคุณความดีทั้งหลายที่อาจารยไดปลูกฝงไว จะเปน
แบบอยา งแกล กู ศษิ ยตอ ไปคะ

เนื่องในโอกาสเกษยี ณอายงุ าน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี : 43

นานาทรรศนะ แด รศ.ดร.สมเกยี รติ รกั ษม ณี

ภสั รวริญญ เอีย่ มสอาด
นสิ ิตหลักสตู รปรัชญาดุษฎีบัณฑติ

เมื่อแรกกาวเขาสูรั้วนนทรี มีโอกาสไดเรียนกับ รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี ในรายวิชาภาษา
และวัฒนธรรม เสมือนเปนการเปดโลกใหกวางขึ้น เพราะเกิดองคความรูนานาทำใหเห็นความผูกโยง
ระหวางภาษาและวัฒนธรรมที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ไดศึกษาคนควาจากหนังสือหลากหลาย
เพื่อนำมาถกประเด็นในชัน้ เรียน อีกทั้งอาจารยย งั พาไปศึกษาภาคสนามเก่ยี วกับวัฒนธรรมไทยทรงดำ
หรือลาวโซงในจังหวัดเพชรบุรี เพื่อใหนิสิตทดลองเก็บขอมูลตามแนวภาษาศาสตรสังคม
และภาษาศาสตรชาติพนั ธุ ตอ ยอดสูก ารเขยี นบทความวชิ าการ ซง่ึ เปนจุดเริ่มตนอันทำใหนิสิตคุนเคย
กบั งานวิชาการยิง่ ข้ึน

กาวที่ 2 คือ การเปนนิสิตปริญญาเอก ในรายวิชาภาพสะทอนสังคมวัฒนธรรม อาจารยมี
วิธีการทีท่ ำใหนิสิตเกดิ ความลุมลึกทางวิชาการในหลายแนวคิดทฤษฎี อาทิ ทฤษฎีวรรณกรรมวิจารณ
ทฤษฎีทางจิตวิทยา และแนวคิดมายาคติ สูการประยุกตใชในการศึกษาภาษาไทย สามารถตอยอดไป
ยังการเสนอโครงรางวิทยานิพนธ อาจารยเปดโอกาสใหนิสิตแสดงความคิดเห็นอยางเต็มที่
วิพากษวิจารณงานวิชาการอยางสมเหตุสมผล อันเปนคุณสมบัติสำคัญประการหนึ่งที่ผูศึกษา
ในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตพึงมี นอกจากนี้ รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี ยังเปนผูกวางขวาง
ในวงวิชาการ สะทอนใหเห็นจากการเชิญวิทยากรผูเชี่ยวชาญในทฤษฎีตาง ๆ มาบรรยายในหัวขอ
ทน่ี ิสติ สนใจ เพอ่ื เพ่ิมพูนและเติมเต็มองคความรู

รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี คือตนแบบครภู าษาไทยที่ดีงาม เนอื่ งดว ยองคประกอบ 2 ประการ
คือ มีจิตวิญญาณความเปนครูและเปนที่เชิดชูในวงการภาษาไทย ประการแรก “มีจิตวิญญาณ
ความเปนคร”ู ทา นเปน ผสู นับสนุนใหศิษยกาวหนาทางวิชาการ โดยเริ่มตนจากภาระงานทั่วไปสูภาระ
งานท่ซี บั ซอ นข้ึน ลวนแตเ ปนบันไดอันทำใหศษิ ยเกิดการพฒั นาอยางตอเนือ่ ง วิธีการจัดการเรียนรูเนน
การวิเคราะหวิจารณ อภิปราย รวมถึงสังเคราะหงานใหม เปนการเพิ่มทักษะการคิดวิเคราะหและ
สรางความเทาทันตอ แนวคดิ ตา ง ๆ แกน ิสติ นอกจากน้ยี ังใหเ กยี รตนิ ิสติ อยเู สมอและเปนแบบอยางที่ดี
ในการวางตัวบนพื้นฐานความเปน “ครู” และประการที่ 2 “เปนที่เชิดชูในวงการภาษาไทย”
โดยเฉพาะในดานภาษาและวรรณศิลป ซึ่งสังคมตางใหการยอมรับ อาจารยยังนำความเชี่ยวชาญน้มี า
ถายทอดใหแกนิสิตอยางเต็มความสามารถ รวมถึงการดำรงตำแหนงนายกสมาคมนักกลอนแหง
ประเทศไทยเปน หนาทอ่ี ันทรงเกยี รตยิ ิง่

44 : “สมญานาม เกยี รตกิ อ งวรรณศลิ ป”

เมื่อเวลาหมุนผานฉันใด ชีวิตของมนุษยยอมเติบโตตามฉันนั้น แตละชีวิตลวนมีภาระหนาที่
ตอตนเอง เหนือกวา คือ ภาระหนาที่ตอผูอื่น เชนเดียวกับ รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี ซึ่งอุทิศตนเพ่ือ
นิสิตมาตลอดอายุราชการ ดังนั้นความสำเร็จของนิสิตทุกคน จึงเปนการใหสัญญาณวา...บัดน้ี
“กลว ยไม” ที่อาจารยหม่นั บม เพาะดูแล กำลังออกดอกและสรา งความงามใหส ังคมอยาง “สมเกียรติ”
สมภาคภูมิ

นานาทรรศนะ วาระเกษียณกาล
รองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ รกั ษมณี

นางสาวจฬุ ารตั น ชัยพทิ ักษ
นิสติ สาขาภาษาไทย ระดับปริญญาเอก ภาคปกติ รหัส 62

สม เอย สมนาม เพริศแพรวงามครูกลอนสอนภาษา

เกียรติ กองวรรณศลิ ปย ินปรดี า เชยี่ ววิชชาชาญวรรณคดี

รกั ษ ชมรมบทกลอนอักษรสยาม งามยง่ิ ลำ้ อบรมศิษยจิตผอ งศรี

มณี หยาดฟาจรดผืนปฐพี สมเกยี รติภมู ิเกษตรเอย

เนอ่ื งในโอกาสเกษยี ณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษม ณี : 45

สมญานาม เกียรติกองวรรณศลิ ป

นพาวรรณ ใจสขุ
นสิ ติ ระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวิชาภาษาไทย รหัส 62

ประณตนอมพรอ มจติ ลิขติ สาร
ดำรกิ านทกมเกศพิเศษหมาย
นบบชู าพระคุณครูมิรูว าย

ทัง้ จติ กายตั้งมนั่ กตญั ู
พระคุณครูทส่ี ่งั สอนทั้งศาสตรศลิ ป

ใหศษิ ยส้นิ สงสัยใหความรู
เกดิ ปญญากาวหนา เพราะคำครู
ยงั กอ งอยโู สตประสาทมขิ าดไป

(ทัศนา ภาษากลอน)

ขอนอบนอมบูชาพระคุณครู รศ.ดร.สมเกียรติ รกั ษม ณี ครบู าอาจารยผปู ระสิทธิประสาทวิชา
ความรูใหแ กศษิ ย ทา นอาจารยสมเกียรติเปนครูผูมีความรูลกึ รูรอบ รกู วาง และรูไกล เปนเกียรติและ
เปนความโชคดีที่ไดมีโอกาสมาเปนลูกศิษยของครูทานนี้ ทุกครั้งที่ไดเรียนหรือฟงบรรยายนอกจาก
ความรูทางวิชาการหลากหลายแขนงที่ทานอาจารยถายทอดใหแกศิษยไดอยางแจมแจง ลึกซึ้ง
และชดั เจน ทา นอาจารยยงั แฝงไปดว ยคตธิ รรมประจำใจ รวมถึงปลูกฝงอุดมการณค วามคิด ความเปน
ผูมีความรูค ูค ุณธรรมใหแกศษิ ย ศิษยรูสึกซาบซึ้งในพระคุณครูเปนอยางยิง่ และจะมีครูเปน แบบอยาง
ในการดำเนินชวี ิตและถายทอดความรใู หแ กศษิ ยข องตนเองตอไป

46 : “สมญานาม เกียรติกอ งวรรณศลิ ป”

เลา -เรยี น-รู จาก รองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ รักษมณี

วิภาวี ฝา ยเทศ
นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาไทย รนุ ป พ.ศ. 2562

สง่ิ ทดี่ ิฉันไดตระหนักจากหองเรยี นวชิ า “การวิเคราะหขั้นสงู ภาษาสะทอนสังคมแลวัฒนธรรม
ไทย” ในระดับชั้นปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
สอนโดยทานรองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี ในชว งป พ.ศ. 2562 ท่ที านตอ อายุราชการ คือ
สิ่งท่ีทา นเลา เพ่อื ใหเ รียนรูและชวนคดิ นนั้ มีความสำคัญกวา ทฤษฎที ่หี าอานที่ไหน เมื่อไรกไ็ ด เพราะสิ่ง
ทีท่ านเลา มรี ากลึกมาจากประสบการณทางการกระทำและประสบการณทางอารมณที่ทานตองจัดการ
เพื่อดำรงตนอยูในกลุมสังคมและวฒั นธรรมที่หลากหลายกวาจะมาถึงจดุ ของการเปนปูชนียบุคคลทาง
ภาษาไทยแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทานย้ำอยางอารมณดีแตจริงจังเสมอวาความสำเร็จไดมา
เพราะความเพียร ความสามารถ และตองมาพรอมกับดวงอันหมายถึงจังหวะชีวิตที่กุศลบุญสงเสริม
ดวย ดิฉันและเพื่อน ๆ รวมรุนจึงไดรับแนวคิดที่สรุปจากทฤษฎีชีวิตของทานอาจารยผูวิจักษและ
วิจารณภาษาและสังคมไดลุมลึก เปนจริง มีประโยชนในทางปฏิบัติ และท่ีสำคัญคือสนุกและมีสีสัน
สมกับที่ทานเปนนักเขียนคอลัมนเผยแพรความรูและมุมมองทางภาษาไทยประจำนิตยสารกุลสตรี
รายปกษ ระหวางป พ.ศ. 2550 – 2554 คอลัมนรักนะ...ภาษาไทย ซึ่งมีการรวมเลมตีพิมพแลวใน
พ.ศ. 2562 ท่ีดิฉนั นำมาอานทบทวนไดหลาย ๆ รอบ

การเรียนผานการเลาของทานทำใหคิด จารึกลงในจิต สะกิดปญญาใหใฝรูไดยิ่งกวาการสอน
เชงิ ทฤษฎีสากลท่ีมักไมอาจทราบแนชดั วาผสู ังเกตและผูสรปุ เปนคนเชนไร อธบิ ายภายใตวาทกรรมใด
หรือเลอื กขบั เนน แงมุมใดใหไ ดเ ปรยี บกวามมุ อ่ืนหรือไม การถา ยทอดวิชาผานประสบการณของนักคิด
ที่เขาใจคติชนความเปนไทยอยางเต็มเปยมเชนทานอาจารย ทำใหไดแบบอยางของการเปนผูกลา
ที่จะคิด คิดแลวลงมือทำ ทำอยางตอเนื่อง สงผลกวางไกลในสังคมไทย และเปนที่ยอมรับของนานา
ประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งงานในตำแหนงของนายกสมาคมนักกลอนแหงประเทศไทยที่ดำเนินการ
จัดประกวดรอยกรองสำหรับนักเรียน นิสิตนักศึกษาทั่วประเทศ อันเปนงานที่อยูบนฐานของ
ความเขาใจบริบทการศึกษาไทยทุกระดับชั้นที่ทานเคยสัมผัสจากการทำงาน จนสามารถสรางเวที
วรรณศิลปผสานวิชาการดวยความเรียบงายตามแบบฉบับของการพัฒนาคนไทย และล้ำคาดวย
ผลลัพธ โดยมติ อ งปรุงแตง ดว ยการใชภาษาทฤษฎเี ปน กำแพงแบงระดบั ช้นั ของผทู จ่ี ะเขาถงึ

เน่ืองในโอกาสเกษียณอายงุ าน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษม ณี : 47

ในวาระโอกาสที่ทานรองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ รักษมณี เกษียณอายุราชการในปน้ี
ดฉิ ันและผองเพื่อนที่เปนศิษยร ะดับปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร ปการศึกษา 2562 ขอกราบอวยพรใหทานอาจารยมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงใน
“วัยอิสระ” ที่ยังคงปฏิบัติภารกิจอยางแข็งแกรงในการสืบสานวัฒนธรรมภาษาไทยใหทรงคุณคา
ทางวรรณศิลปและจรรโลงจิตวิญญาณ ทามกลางกระแสสังคมดิจิทัลที่ใชภาษาเพียงเพื่อกวาดตามอง
และใชส รางตัวตนใหโ ดดเดน ดวยความหยาบความกลวง สังคมไทยจำตองอาศยั ทา นอาจารยส มเกียรติ
รักษมณี เปนผูนำตอไปในการปลูกฝงเยาวชนผูรักภาษาไทยใหสรางผลงานทางภาษาและวรรณศิลป
เพอ่ื เปน กระแสนำ้ ดมี าเจอื จางน้ำเสยี ทีก่ ำลงั จะทวมทนสังคมขาวสารในปจ จุบัน

48 : “สมญานาม เกียรติกองวรรณศลิ ป”

รักครคู รับ “รศ.ดร.สมเกียรติ รกั ษมณ”ี

นายเจษฎายุทธ ประรวมพนั ธ
นิสติ ปริญญาโท ภาคพเิ ศษ รุน 19

รองศาสตราจารย ดร. สมเกียรติ รักษมณี เปนอาจารยที่เปรียบเสมือนคุณตาของพวกเรา
นสิ ิตปริญญาโท ภาคพิเศษ รนุ ท่ี 19 ทานคอยอบรมขัดเกลาสงเสริมพวกเราใหเปนคนดี คนเกง คนที่มี
ความรดู า นภาษาไทย ถาไมม ีครกู ค็ งจะไมม ีพวกเราในวนั นี้ ...ผมอยากบอกครวู า “ผมภมู ิใจมากครับ
ทไี่ ดเปนลูกศษิ ยของครู”

เขียนชีวติ แตงเติมฝน วนั สดใส เขียนดอกไมมอบเอาไวใหคิดฝน

เขยี นเวลาเอย คำวาลาจากกัน เขียนคนื วันใหท ายทักเม่ือลาไกล

สมเกยี รติ รักษมณี เปน ครูท่มี แี ตคำวาให

สอนลูกศษิ ยดว ยรกั และจรงิ ใจ เปน นกั กลอนเปน คณุ ครูยอดนยิ ม

ภายใตรม นนทรีของเรานี้ มอบตำแหนงยอดครดู ีน้ีเหมาะสม

ถน่ิ บางเขนชนตางลวนชน่ื ชม สมญา “สมเกยี รติ” ครูดีของพวกเรา

งานเขียนชิ้นนีค้ งเปน งานเขยี นชน้ิ แรกและชิ้นเดยี วท่ีเขียนถึงอาจารย โดยท่อี าจารยไมไดอาน
หรือแกไขกอนตีพิมพ เพราะเปนงานเขียนที่เกิดขึ้นจากความจริงใจ ไมอาศัยหลักการและเหตุผล ไม
เนนคำที่สวยหรู หรือความถูกตองทางฉันทลักษณ เขียนจากสิ่งท่ีเห็น ที่สัมผัส ตลอดระยะเวลา 1 ป
กวาทไี่ ดเ รยี นกบั อาจารยจนมคี วามคนุ เคยประดุจญาติ เหมอื นกับคณุ ตาท่ีคอยสอนหลาน ๆ สุดทายนี้
ขออำนาจคุณพระศรรี ตั นตรัยอวยพรใหอาจารยมคี วามสุขหลังจากเกษียณ วุนวายนอยลง พักผอนได
มากขนึ้ ไดท ำในสิ่งท่ชี อบและยังไมไดทำ รักและเคารพครูเสมอครบั ขอใหค รูมคี วามสุขกับเชาวันใหม
ของการเดนิ ทางในวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2564 ครบั

“เหนอ่ื ยมานานขอครูจงพกั ผอน
เฝาขอพรใหครูนั้นมีสุขศรี
ปราศทกุ ขโ ศกโรคภัยใหเ ปรมปรดี ์ิ
คุณความดีจารกึ ไวใหจดจำ”

เนอื่ งในโอกาสเกษียณอายงุ าน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี : 49

สมเกียรติ สมคุณคา สมคำวา ครูของครู

นายมหินทร สวุ รรณระ
นสิ ติ ปรญิ ญาโท รหสั 63

เนื่องในวาระเกษียณเวียนมาบรรจบ แมตัวทานจะเกษียณไป แตใจผูกพัน กระผม
นายมหินทร สุวรรณระ นิสิตปริญญาโท รหัส 63 ขอเขียนบรรยายความในใจถึง รศ.ดร.สมเกียรติ
รักษมณี อาจารยผูประสทิ ธ์ปิ ระสาทวิชา สรางคนสรางคา สมคำวา ครูของครู

“สมเกียรติ” หมายถึง ควรแกความยกยองนับถือ สมกับชื่อของอาจารยสมเกียรติ รักษมณี
ทานเปนผูมีอุดมการณ ตัวทานจึงสะทอนอัตลักษณของคณะมนุษยศาสตรไดอยางชัดเจน กลาวคือ
มีความยืดหยุน ทันสมัย ไมหยุดนิ่ง เรียกไดวาพรอมที่จะวิ่งเขาหาสิ่งใหม ๆ โดยใชพื้นฐานความรูที่มี
นำมาคิด วิเคราะห และสังเคราะหจนเกิดเปนองคความรูที่เปนคุณประโยชนตอตนเอง สังคม อีกท้ัง
ยงั เปน การสรา งช่อื เสยี งใหก ับมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร

“คุณคา” หมายถึง สิ่งที่มีประโยชนหรือมีมูลคาสูง อาจารยไดถายทอดความรูคูคุณธรรม
ใหกับนิสิตทุกรุน นอกจากความรูทางวิชาการยังควบคูไปกับการมีคุณธรรม เพราะประสบการณ
เปนสิ่งที่หาซื้อไมได ทวาการเรียนในรายวิชาภาษาวัฒนธรรมและสังคม ทำใหกระผมไดเห็นรากของ
ชาติไทยในแงมุมที่ลึก และกวางอยางที่ทานอาจารยประสงค และปฏิเสธไมไดวาการเดินทางตลอด
ชีวิตของทานอาจารยไดเก็บเกี่ยวประสบการณที่หลอหลอมใหทานเปนผูที่ความรู ความสามารถ
ความเชี่ยวชาญ และดวยจิตวิญญาณเปยมดวยอุดมการณอยางแรงกลา จึงสามารถนำความรูที่ไดมา
ประสิทธิ์ประสาทวิชาแกนิสติ นกั ศกึ ษาและสรางคณุ คา ตอวงการการศึกษาภาษาไทย

ปจจุบันกระผมประกอบอาชีพครูซึ่งเห็นความสำคัญของการศึกษา จึงเปนสาเหตุหลัก
ของการตัดสินใจศึกษาระดับมหาบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดรับความรูในสิ่งที่ไมรู
เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ และเปนในแบบที่ตัวของกระผมควรเปน ซึ่งอาจารยสมเกียรติทานทำใหกระผมรู
มากกวาสิ่งที่ตองรู เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่ออยางมีหลักการ และเปนในแบบที่ตองการเปน โดยตั้งอยูบน
พื้นฐานของหลักวิชาการ เพื่อเปนที่ยอมรับตอตนเองและผูอื่น ทำใหตัวกระผมไดใชความรูและ
ประสบการณที่ศึกษามาแลกเปลี่ยนกับทานอาจารยไปถายทอดใหกับนักเรียนของกระผม ซึ่งเปน
ประโยชนใหกบั คนรุน ตอไปไดอยางดี สอดคลองกับคำกลาวท่ีวา เหนือฟายังมีฟา เหนือกวาครูนั้นคือ
“ครขู องคร”ู

คำกลาวทั้งหมดนี้คือความในใจที่กระผมประทับใจตอ รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี โดยทาน
เปนปูชนียบุคคล เปยมลนในอุดมการณความเปนครูที่นายกยองและนับถือของมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร คณะมนุษยศาสตร สาขาวิชาภาษาไทย กระผมจะจดจำทุกคำสอนของทานอาจารยไว
ใหขึ้นใจ เพื่อใชในการประกอบสัมมาอาชีวะ ใหสมดั่งอัตลักษณของคณะมนุษยศาสตรที่วา บุคลากร
และนสิ ติ คณะมนุษยศาสตรมีสำนึกดี มุง มั่น สรา งสรรค สามคั คี

50 : “สมญานาม เกยี รตกิ องวรรณศลิ ป”

นานาทรรศนะเก่ียวกบั รองศาสตราจารย ดร. สมเกียรติ รักษม ณี

นางสาวปาริชาต ชมชนื่
นิสติ ปรญิ ญาโท ภาควชิ าภาษาไทย (ภาคพเิ ศษ)

สม ศักดิ์ศรกี ษิณามาบรรจบ ศิษยตางนอมเคารพครูภาษา
เกยี รติ ยศเชิดชูปราชญป ระสาทปญญา ดุจประภาคารสวา งกระจา งไกล
รกั ษ รำลกึ คุณงามและความดี ท่คี รมู เี มตตาคาย่ิงใหญ
มณี แกว แวววาวพราวในใจ ตราตรงึ ไวในดวงจติ นจิ นริ นั ดร

นับตั้งแตที่ดิฉันไดเขามาเปนนิสิตระดับปริญญาโท ภาควิชาภาษาไทยมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร ดิฉันรูสึกภาคภูมิใจเปนอยางมากที่ไดมีโอกาสเขามาศึกษาหาความรู ซึ่งถายทอด
โดยคณาจารยประจำภาควิชาที่ลวนเปน ปราชญด านภาษาไทย โดยเฉพาะดานภาษาและวรรณกรรม
น้นั คงจะเปน ทานใดไปไมไ ดน อกจากรองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ รักษม ณี

ตลอดเวลา 1 ภาคเรียนที่ไดรับการถายทอดองคความรูเกี่ยวกับวิชาภาษากับสังคม
และวัฒนธรรมไทย รวมถึงวิชาภาษาในวรรณกรรมและวรรณคดีไทยที่สอนโดย รองศาสตราจารย
ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี เปนชว งเวลาที่ดฉิ ันรูสึกราวกับไดเ ปดโลกทัศนใหมเกยี่ วกับ ภาษา วรรณกรรม
และวัฒนธรรม อีกทั้งยังไดรับคำแนะนำในการศึกษาระดบั ปริญญาโท การทำวิทยานิพนธ การปฏิบัติ
ตนที่ดีโดยไดแบบอยางจาก รองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ รักษมณี นอกจากองคความรูดานตาง ๆ
ที่เต็มลนแลว ดิฉันยังสัมผัสไดวาทานเปนอาจารยที่เตม็ เปย มไปดวยความรักความอบอุนที่มอบใหแก
ลูกศิษยทุกคน ถึงแมวาลูกศิษยอาจจะดื้อซนไปบาง แตก็ไดรับความเมตตากรุณา และความรัก
ความอบอนุ จากอาจารยเสมอมา

จวบจนถึงวาระเกษียณอายุราชการในปนี้นับเปนชวงเวลาที่ดีสำหรับการวางภาระหนาที่
ที่รองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ รักษมณี ไดทุมเทแรงกาย แรงใจปฏิบัติหนาที่เปนปราชญ
ผูทรงคุณคาถายทอดองคความรูแกศิษยรุนตอรุนมาอยางยาวนาน อยางไรก็ตามองคความรูตาง ๆ
ที่อาจารยไดถายทอดแกศิษยนั้นก็จะนำมาตอยอด และรักษาใหคงอยูเปนอาภรณอันล้ำคาของชาติ
ตอ ไป

เนือ่ งในโอกาสเกษยี ณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษม ณี : 51

นานาทัศนะตออาจารยสมเกียรติ รักษม ณี

นางสาวทิพวรรณ อินวนั นา
นิสติ ปรญิ ญาโท คณะมนุษยศาสตร

การที่ไดมีโอกาสไดเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิชานี้ นับวาเปนความโชคดีของดิฉัน
เพราะทำใหมาพบกับอาจารยหลาย ๆ ทาน ที่มีความรูความสามารถเพราะสำหรับดิฉันแลวการเรยี น
ถอื เปนสง่ิ ท่ีสำคัญมาก นอกจากความรูท ี่ไดร บั แลว การท่ไี ดพบครูบาอาจารยทุกทา นถือเปนความโชคดี
มาก เพราะนอกจากเนอื้ หาความรทู ีอ่ าจารยท ุกทา นไดมอบใหย งั มคี วามอบอนุ ที่ไดรับตลอดมา

แดครูผูเกษียณ อาจารยสมเกียรติ รักษมณี อาจารยที่เคารพรักของศิษย ดิฉันไดมีโอกาส
ไดเรียนกับอาจารยในรายวิชาภาษากับสังคมและวัฒนธรรมไทย ในเทอม 1/2563 ตอนที่พบกับ
อาจารยในชั้นเรียนดิฉันรูสึกเกรงมาก เพราะอาจารยเพียบพรอมดวยคุณวุฒิและวัยวุฒิ และเปน
อาจารยผูใหญในคณะที่ทุกคนเคารพรักยิ่งทำใหดิฉันเกรงเขาไปอีก ตลอดระยะเวลาที่มีโอกาสที่ได
เรียนกบั อาจารย ชวงทผี่ านมาทำใหด ิฉันไดเ รยี นรูอ ะไรหลายอยางจากอาจารย ส่งิ ท่ีไมเคยรูห รอื ไมเคย
เขาใจมากอน อาจารยก็สอนแนะนำในสิ่งที่ถูกตอง และชี้แนะวาสิ่งไหนที่ควรปรับปรุง ในวิชาเรียน
งานทอี่ าจารยใหทำ อาจารยจ ะใหไปคนควา เอง ทำใหด ิฉันตั้งคำถามมากมายเวลาเรียน แตความรูสึก
นนั้ มนั ก็หายไป พอดฉิ นั ไดเ รียนกับอาจารยนานวนั เขา ทำใหไดรบั รถู ึงสงิ่ ทีอ่ าจารยสอน อาจารยจะไม
บอกคำตอบโดยตรงเลย แตอาจารยจะฝกใหพวกเราไดไปคนควาสิ่งที่พวกเราไมรู ทำใหพวกเราได
ออกไปศึกษาจริง ๆ ดิฉันยอมรับวาแตกอนที่จะมาเรียน เวลาไมรูอะไรจะชอบคนหาในอินเทอรเน็ต
หรือถามครู อาจารยตรง ๆ เพื่อใหไดคำตอบ ไมเคยที่จะตองไปศึกษาคนควาในเชิงลึกเอง แตสิ่งที่
อาจารยใหทำนั้นกลับเปนประโยชนมาก เพราะการศึกษาหาคำตอบดวยตนเองนั้นถือเปนพื้นฐานท่ี
ผูเรียนควรจะมี และสิ่งที่อาจารยใหท ำมันทำใหดิฉนั สามารถนำไปปรับใชกับการเรยี นการทำงานของ
ดฉิ ันในปจ จุบันได

เนื่องในโอกาสที่อาจารยเกษียณอายุราชการ ดิฉันขออำนวยพรใหอาจารยที่ดิฉันเคารพรัก
มแี ตความสขุ สุขภาพแข็งแรง ถึงจะเปนชว งเวลาสั้น ๆ ทด่ี ิฉนั ไดม โี อกาสเรียนกับอาจารย ดิฉันก็ภูมิใจ
และดีใจเปนอยางมากที่ไดเปนลูกศิษยของอาจารย สิ่งที่อาจารยสอนตลอดจนคำแนะนำตาง ๆ ดิฉัน
จะนำไปตอยอดปรับใชในการเรียนและการงานใหเปนประโยชนมากที่สุด ในฐานะที่ดิฉันเปนครู
ซึ่งมีลูกศิษยเชนกัน ดิฉันมีอาจารยไวเปนแบบอยางเปนตนแบบของดิฉันในการสอนหนังสือลูกศิษย
และจะทำหนาทแ่ี มพ ิมพใ หดที ส่ี ดุ

52 : “สมญานาม เกยี รติกอ งวรรณศลิ ป”

นานาทรรศนะแด รศ.ดร.สมเกียรติ รักษม ณี

นายยุทธพงษ หอมขจร
นิสิตปรญิ ญาโท สาขาวชิ าภาษาไทย รนุ 63

ระยะเวลา 1 ปที่ผานมา ท่ีกระผมไดเขามาเรียนปรญิ ญาโท ณ รั้วนนทรีแหงนี้ อาจารยเปน
ทัง้ ครผู ูสอน และเปนท้ังทานผูใ หญทนี่ าเคารพท่ีคอยใหค วามชว ยเหลือ แนะนำและเออ้ื อาทรในทกุ ๆ
เรื่อง ทานเปรียบเสมือนแกวสารพัดนึกดวงสำคัญของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ระยะเวลา
อันยาวนานหลายสิบปที่ทานอยูในสถาบันอันทรงเกียรติแหงนี้ ยอมเปนเครื่องยืนยันไดถึง
ความแนวแน ยึดม่นั ในอดุ มการณ รกั สถาบนั และชมุ ชน จนไมส ามารถแยกออกจากกันได

อาจารยเปน คนใชช วี ติ อยางเรยี บงาย ประหยัด ไมฟุม เฟอย มีความรกั และความเมตตาศิษย
มาโดยตลอด จนหลายคนประสบความสำเรจ็ อยางนาพึงพอใจ นั่นคือความสุขสูงสุดในชีวิตของทาน
ถงึ แมใ นบางครั้งกระผมเช่ือวาทานมีความทอถอยอยูบา งกบั การสรา งเด็กสรางคนในรนุ หลัง ๆ แตน่ัน
เปนเพียงชั่วขณะ อุดมการณของทานไมเคยเปลี่ยนแปลง ความเปนคนมีเหตุผล มีสติ ความยั้งคิด
ยุติธรรม ประนีประนอม และการมองโลกในแงดี สิ่งเหลานี้ลวนสงผลใหอาจารยเปนที่รักของศิษย
คณาจารย และบคุ ลากรแหงนมี้ าโดยตลอด

การเปนครูดวยหัวใจและจิตวิญญาณ มิใชเรื่องงายและมิใชทุกคนจะเปนได ครูในปจจุบัน
มีทั้งอาชีพครูและครูมืออาชีพ อาชีพครูอาจเปนครูดวยหัวใจและวิญญาณหรือไมใชก็ได แตครูมือ
อาชีพคือครูที่เปนครูดวยหัวใจและจิตวิญญาณ ครูเปนคนหนึ่งที่สะทอนมุมมองแกศิษยวา เปนท้ัง
อาชีพครแู ละครมู ืออาชีพ จากประสบการณท่ีสั่งสมมายาวนานหลายสิบปท่ผี า นมา โดยการถายทอด
ความรู ประสบการณ แนวคิด แนวทางในการอยูในสังคมการศึกษาและรักศิษยทุกคนเสมือนลูก
พรอมสละแรงกาย แรงใจ ตลอดทั้งทรัพยสินใหศิษย เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหศิษยพัฒนาตนเอง
ในดานการศกึ ษา ดานการประกอบอาชพี และการดำรงอยูในสังคมอยา งมีความสขุ

ตลอดเวลาอันยาวนานของการเปนครู ความมุงมั่นและศรัทธาในวิชาชีพไมเคยจางหาย
อาจารยยังคงขยันสอนศิษยทั้งความรู กระบวนการ คุณธรรม และจริยธรรม มาโดยตลอดจน
เกษยี ณอายุราชการ แกป ญ หาใหศิษยคนแลวคนเลาอยางไมร ูสกึ เหน็ดเหนื่อย ศษิ ยรุนแลวรุนเลาเขา
มาแลวจากไป ครูรุนแลวรุนเลาเขามาแลวก็จากไป แตอาจารยยังคงอยูที่นี่ที่รั้วนนทรีแหงนี้ เปนครู
ในดวงใจของทุกคนที่นี่ตราบนานเทานาน กระผมในฐานะลูกศิษยคนหนึ่งของครูจะเปนคนดี
ใหสมกับท่ีครูไดอบรมสั่งสอนมา จะตั้งใจเรียนหนังสือเพื่อใหประสบความสำเร็จในชีวิต สุดทายน้ี
กระผมขอใหอาจารยม ีความสขุ กายสบายใจ สุขภาพกายแข็งแรงยิง่ ๆ ขึ้นไป รกั และเคารพครูเสมอ

เน่ืองในโอกาสเกษียณอายงุ าน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษมณี : 53

นานาทรรศนะแด รศ.ดร.สมเกียรติ รกั ษม ณี

นางสาวจันทรพร รัตนวาณิชยกุล
นิสิตปริญญาโท สาขาวชิ าภาษาไทย รนุ 63

ทา นอาจารย รศ.ดร.สมเกียรติ รกั ษมณีเปนอาจารยท ีใ่ หค วามรแู ละคอยอบรมสั่งสอนพวกเรา
เสมอในภาคเรียนแรกของปการศึกษา 2563 พวกเราไดเรียนกับอาจารยเปนครั้งแรก ขอยอมรับวา
ในคาบเรียนทั้งตื่นเตนและกังวลดวยบุคลิกภายนอกของทานอาจารยดูเปนผูใหญมากนาจะดุแน ๆ
จนพวกเราไมกลาที่จะมีคำถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา แตนั่นก็เปนเพียงแคครั้งแรกเทาน้ัน
พอไดพูดคุยโตตอบกับอาจารยไปไดหลาย ๆ รอบ ก็เริ่มเห็นบางมุมของอาจารยเหมือนกันวาจริง ๆ
แลวทานไมด ุเลย และมกี ารพดู คยุ เปน กันเองกบั พวกเรามาก ๆ

จากที่เรามีโอกาสไดเรียนกับอาจารย รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณีมาในเทอมนี้ถือไดวา
เปนวิชาที่สองแลว มาถึงในตอนนี้ไมมีความกังวลเหมือนในครั้งแรกแลว เพราะเรารูแลววา
ทานอาจารยมีลักษณะการสอนเปนอยางไร อาจารยจะปดโอกาสใหเราไดซกั ถามตลอดและคอยตอบ
คำถามของพวกเราทุกคน “มีครั้งหนึ่งในความประทับใจของขาพเจาคือ อาจารยใหเราบอกสำนวน
สุภาษิตที่เราเคยไดยินแตไมรูถึงที่มาของสำนวนสุภาษิตนั้น ๆ อาจารยทานก็ตอบคำถามที่พวกเรา
ซกั ถามอยา งไมรสู ึกเบอ่ื หนา ยและตอบครบทกุ สำนวนสภุ าษิตที่พวกเราสงสัย”

และเนือ่ งในโอกาสน้ีท่ที านอาจารย รศ.ดร.สมเกยี รติ รักษมณจี ะเกษียณในปนี้อยากจะกลาว
คำขอบคุณกับทานอาจารยที่คอยอบรมสั่งสอนไมเพียงแตใหความรูในเรื่องของการเรียนเพียงเทานนั้
แตยังไดรับความรูในการดำเนินชีวิต ไดรับขอแนะนำ ขอคิดและไดแบบอยางในการเปนครูอาจารย
อยา งดจี ากทา นอาจารยมาโดยตลอด

54 : “สมญานาม เกียรตกิ อ งวรรณศลิ ป”

นานาทรรศนะตอ อาจารยสมเกยี รติ รกั ษม ณี

หทยั รตั น สิงหส ถติ
นิสติ ปรญิ ญาโท สาขาวิชาภาษาไทย รนุ 63

กอนหนาที่พวกเราจะไดเรียนกับอาจารย พวกเราบางคนไดยินเรื่องเกี่ยวกับอาจารยมาวา
อาจารยโหดหินมาก แตเม่ือไดม ารูจักอาจารยจ ริง ๆ อาจารยก ็เปนคนนารกั คนหน่งึ เหมือนญาติผใู หญ
ท่ีพวกเราอยากใหเลาประสบการณแ ละเรอ่ื งราวนาต่ืนตาตื่นใจท่เี กิดขน้ึ ในโลกนใ้ี หฟง

ไมวาจะดวยเทคโนโลยีที่พัฒนารวดเร็ว หรือปญหาชองวางระหวางวัย อาจารยผูใหญ
สวนมากจึงขยาดกับการสอนแบบออนไลน แตอาจารยกลาเผชิญหนากับการสอนรูปแบบใหมนี้
และพรอมเรียนรูเทคโนโลยที ่ชี วยใหเ กิดการเรยี นการสอนทางไกลข้นึ มาได ทำใหน อกจากไดรบั ความรู
จากบทเรยี นจากอาจารยแ ลว บางคร้งั ก็ไดเรยี นรวู ธิ ีการใชเทคโนโลยีนีจ้ ากอาจารยดว ยคะ

พวกเรายังจำเหตุการณในวันคลายวันเกิดของอาจารยไดอยูเลยคะ วันนั้นพวกเรารองเพลง
Happy Birthday ใหอาจารย เปนชวงเวลาสั้น ๆ ที่หองเรียนเต็มไปดวยความชื่นมื่น แมจะผานมา
ราวปแลว แตรอยยิ้มของอาจารยย ังคงอยูในความทรงจำ หวังวา เหตุการณนนั้ จะเปน หนงึ่ ในเหตกุ ารณ
ที่นา จดจำท่ีสดุ ในปท ่ีผานมาของอาจารยน ะคะ

ขอบคณุ อาจารยท ี่ใจดีกบั เด็กอยางพวกเรา เร่ืองเลา ตาง ๆ ของอาจารยท ำใหร ูวาพวกเรายังมี
สิ่งที่ตองรูอีกมาก นาเสียดายที่ทุกคนไมไดไปเที่ยวดวยกัน คงจะไดทั้งความรู ประสบการณ
และความทรงจำรวมกันเพิ่มขึ้นอีกเยอะเลยคะ แตถึงจะเจอกันแคในชั้นเรียน พวกเราก็ดีใจที่ไดพบ
อาจารยคะ

เนอื่ งในโอกาสเกษียณอายงุ าน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี : 55

นานาทรรศนะแด รศ.ดร.สมเกียรติ รกั ษม ณี

นายปรชั ญา ทองแพ
นสิ ติ ปริญญาโท สาขาวิชาภาษาไทย รุน 63

จากดวงใจศิษยถึงอาจารย ความรูสึกเมื่อผมไดเริ่มกาวเขามาสูรั้วของมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร คณะมนุษยศาสตร ภาควิชาภาษาไทย ผมไดมีโอกาสเขารับการศึกษาในระดับ
ปริญญาโท

ครั้งแรกที่ผมไดเรียนกับอาจารยสมเกียรติในรายวิชาภาษากับสังคมและวัฒนธรรม อาจารย
ทานเปนอาจารยที่มีความสามารถ อีกทั้งมีความรูและประสบการณ สามารถถายทอดความรูใหกับ
นสิ ติ ไดอ ยา งเต็มที่ ในการเรียนครั้งแรก ๆ ถงึ แมผ มจะมขี อผิดพลาดไปบางในการเรยี น แตเมอื่ นสิ ิตพูด
หรือรายงานผิดพลาดทานก็จะรับฟงและแนะนำบอกขอมูลที่ถูกตองหรือแนะแนวทางในการหา
คำตอบใหกับนสิ ติ ทำใหการเรียนของผมดีขนึ้ และเขา ใจในการเรียนการสอนของทานมากขนึ้

ผมไดมีโอกาสขอรับคำปรึกษาเกี่ยวกับการเขียนโครงรางและการทำวิทยานิพนธจากทาน
ทานไดใหคำแนะนำอยางดี ชี้แจงทุกขอสงสัยหรือรายละเอียดเพื่อใหผมตอบคำถามและชี้แจง
รายละเอียดในการทำวิทยานิพนธไดอยางดีและละเอียดขึ้น ทำใหผมสามารถศึกษาคนควาเก็บขอมลู
ไดอยางถูกจุดและรวดเรว็

จากการเรียนและการไดรับคำแนะนำจากทานอาจารยสมเกียรติทำใหผ มไดรับความรูตา ง ๆ
มากมายจากทานและสามารถนำไปปรับใชไดทั้งในการเรียนปริญญาโท การเรียนการสอนของตนเอง
และสามารถนำไปปรบั ใชไ ดในอนาคตขา งหนา

56 : “สมญานาม เกยี รตกิ องวรรณศลิ ป”

นานาทรรศนะ

จิรฐั กองแกว
นสิ ิตปรญิ ญาโท สาขาวชิ าภาษาไทย รนุ 63

เมือ่ ประมาณป พ.ศ. 2563 ท่ผี านมา มคี วามต้งั ใจกบั ตวั เองไวว าจะศึกษาตอ ในระดับปริญญา
โท จนในที่สุดก็ไดเขามาเปนนิสิตปริญญาโทในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คณะมนุษยศาสตร
สาขาวชิ าภาษาไทย ซ่ึงเปน สาขาวชิ าที่ตอยอดมาจากการศึกษาในระดับปริญญาตรี กอนที่จะเลือกมา
ศึกษาที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรนั้น ก็ตองยอมรับวาไดหาขอมูลจากหลายสถาบันการศึกษา
แตท า ยทสี่ ุดก็ไดตัดสินใจเลอื กมาศึกษา ณ ทีแ่ หงน้ี

จากวันแรกที่ไดเขามาสอบคัดเลือดเพื่อศึกษาตอในระดับปริญญาโท ในชวงของการสอบ
สัมภาษณก็มีโอกาสไดพบรองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ รักษมณี นับวาเปนครั้งแรกที่ไดสนทนา
พูดคยุ และตอบขอ ซักถามกบั ทา น

เมื่อถึงชวงเวลาเปดเทอม ในการเรียนเทอมแรก ครั้งแรกของการเปนนิสิตปริญญาโทนั้น
ก็ไดมีโอกาสเรียนกับรองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ รักษมณี ในรายวิชาภาษากับสังคม
และวัฒนธรรมไทย นับวาเปนโอกาสที่ดีมาก ๆ ที่ไดเรียนกับอาจารย เพราะตลอดเวลาของการเรียน
การสอนนั้นอาจารยไดถายทอดวิชาความรูที่อาจารยมีมากมายนั้นใหกับลูกศิษย ทั้งในทางวิชาการ
ทฤษฎีตาง ๆ รวมไปถึงการถายทอดประสบการณที่อาจารยไดเรียนรูและไดพบเจอใหกับลูกศิษย
ดวยเชนกัน ซึ่งสิ่งเหลานี้ที่อาจารยไดถายทอดและไดใหความรูมานั้น เรียกไดวาเปนความรู เปนสิ่ง
ใหมท ชี่ ว ยทำใหเราไดม ีความรูเพิ่มพูนมากข้ึน และเปนการเปดโลกของเราใหก วางขวางมากขนึ้ อกี ดวย

ไมเพียงแตความรูท างวชิ าการเทานั้นที่อาจารยไดถายทอด ทางดานทักษะในการดำเนินชวี ติ
การอยูในสังคม อาจารยก็ไดคอยอบรมสัง่ สอนขัดเกลาอยูเสมอ คอยชี้แนะแนวทางในการดำเนนิ ชวี ติ
เปนที่ปรึกษา คอยใหคำปรึกษากับลูกศิษยดวยความเต็มใจอยูเสมอในการแกไขปญหาตาง ๆ
ทล่ี ูกศษิ ยม ีครั้งหนึ่งเคยมีโอกาสไปรว มงานของสมาคมนักกลอนแหง ประเทศไทย ซงึ่ รองศาสตราจารย
ดร.สมเกียรติ รักษมณี ทานก็ไดสอนกระบวนการการทำงานตาง ๆ ทำใหเราไดเรียนรู ไดปฏิบัติงาน
จรงิ และไดเพ่ิมประสบการณใ หม ๆ ใหกบั ตัวเอง และจากการที่ไดรวมงานกับอาจารยทำใหเราทราบ
เลยวาอาจารยเปนผูที่ทำงานไดอยางมืออาชีพ เหมาะสมกับตำแหนงนายกสมาคมนักกลอน

เน่อื งในโอกาสเกษยี ณอายงุ าน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษม ณี : 57

แหง ประเทศไทย และคูควรกับรางวัลผนู ำองคกรดีเดน (CEO Leader Award) ในฐานะนายกสมาคม
นกั กลอนแหงประเทศไทย

รองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ รักษมณี ไมไดเปนครู อาจารย หรือผูสอน เพียงเพราะ
การประกอบอาชีพเทานั้น หากแตทานเปนครูผูที่มีจิตวิญญาณแหงความเปนครู เปนครูดวยหัวใจ
เปนครูที่มุงหวังใหลูกศิษยทุกคนไดดี เปนคนดี เปนผูที่มีความรู และนำความรูนั้นไปพัฒนาสังคม
และประเทศชาติ คอยเมตตา อบรมสั่งสอน ตลอดจนช้ีแนะแนวทางในการดำเนินชีวิตอยางถูกตอง
และเปน ท่ปี รึกษาใหกบั ลูกศษิ ยดวยดีเสมอมา

สุดทายนี้ เมื่อเวลาแหงการเกษียณอายุราชการมาถึง ขอใหอาจารยใชชีวิตในวัยเกษียณน้ี
อยางมีความสุข สุขทั้งทางกายและทางใจ มีสุขภาพแข็งแรง และอาจารยจะเปนแบบอยางของ
ความเปน “ครดู วยหวั ใจ” ใหกบั ลกู ศษิ ยทกุ ๆ คนตลอดไปครบั

58 : “สมญานาม เกียรติกองวรรณศลิ ป”

เรยี นอาจารยสมเกยี รติทีเ่ คารพ

Lisha Yan
นิสิตปริญญาโท สาขาวชิ าภาษาไทย รนุ 63

ดิฉันนางสาว Lisha Yan นักศึกษาจีนรุน 63 ขอแสดงความยินดีกับการเกษียณของอาจารย
ในวัฒนธรรมจีนนิยมเอาชาวสวนมาเปรียบเทียบกับครูอาจารย หนาที่ของชาวสวนคือตัดแตงดอกไม
ตนไม หนาท่ขี องครูอาจารยคือสอนหนังสือและอบรมบมเพาะผูคน ในบทกวจี นี ไดก ลาวถึงครูอาจารย
วา
ᐸ㘵ˈՐ䚃ǃᦸъǃ䀓ᜁҏDŽӪ䶎⭏㘼⸕ѻ㘵ˈᆠ㜭ᰐᜁ˛ᡆ㘼нӾ

ᐸˈަѪᜁҏ㓸н䀓⸓DŽ

หมายความวา ครูอาจารย คือผทู สี่ บื ทอดคุณธรรม ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ถา ยทอดตำราหนังสือ
และตอบขอสงสัย คนทุกคนเกิดมาแลวไมใชผูรู จะตองมีขอสงสัย ในเมื่อที่สงสัยแลวไมมีครู จะสงสัย
จนตลอดชีวติ บทกวจี นี ยังไดกลาววา

аᒤѻ䇑ˈ㧛ྲṁ䉧˗ॱᒤѻ䱵ˈ㧛ྲṁᵘ˗Ⲯᒤѻ䱵ˈ㧛ྲṁӪDŽа
ṁа㧧㘵ˈ䉧ҏ˗аṁॱ㧧㘵ˈᵘҏ˗аṁⲮ㧧㘵ˈӪҏDŽ

หมายความวา ถาวางแผนหนึ่งป ไมมีอะไรจะเทียบกับการปลูกพืชได ถาวางแผนสิบป ไมมี
อะไรจะเทียบกับการปลูกตนไมได ถาวางแผนรอยป จะไมมีอะไรจะเทียบกับการอบรมผูคนใหมี
ความสามารถได เมื่อปลูกแลวเก็บผลที่ไดหนึ่งเทาคือพืช สิบเทาคือตนไม รอยเทาคือผูคนที่มี
ความสามารถ

อาจารยคือผูที่ใหความรู ไดอบรมผูที่มีความสามารถเปนรอยเทา มีคุณคายิ่งใหญสำหรับ
สังคม สุดทายนี้ดิฉันขอแสดงความยินดีกับการเกษียณของอาจารย ขอใหอาจารยมีความสุข
ในทกุ ๆ วัน

เนอื่ งในโอกาสเกษยี ณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี : 59

นานาทรรศนะ

นางสาวทศพร ยอแซ
นสิ ิตปริญญาโท สาขาวิชาภาษาไทย รุน 63

สม...กับการเปน ครผู ูปลุกปน
เกียรต.ิ ..ประกันคณุ ภาพตราบเกษียณ
รักษ. ..ภาษาสงเสริมเสริมศษิ ยจิตพากเพียร
มณี...แทแ กว วเิ ชียรสงั เวยี นกลอน
สม...เปน ครูปลุกปน กวี
เกยี รต.ิ ..เกง การนั ตี ทัว่ หลา
รกั ษ. ..ไทย-ชวยศิษยมี จติ มน่ั ในธรรม
มณี...พรางพราววาวจา คา เพี้ยงมณี

ในฐานะลูกศิษย...รองศาสตราจารยสมเกียรติ
รักษมณีคืออาจารยผูเปยมลนไปดวยความรูรอบดาน และ
พรอมจะถายทอดองคความรูเหลานั้นสูลูกศิษยอยูเสมอ
ไมใชเพียงแตเปนผูรูกวางในทางวรรณกรรมแตยังเปนผูรู
ลึกในเสนทางวรรณศิลปอยางหาตัวจับยาก เปนอาจารย
พรอมจะใหคำแนะนำชวยเหลือเมื่อลูกศิษยรองขออยาง
จริงใจและตรงไปตรงมา เปนคณุ ตาทบ่ี น ไดอยา งนา รักและมีอารมณขัน ในสายตาดิฉันเสมอ

รองศาสตราจารยส มเกียรติ รกั ษมณีเปน อาจารยท่ีมใี จเปดกวา ง รับฟงและไมด วนตัดสินลูกศิษยคนใด
ดฉิ ันและเพ่ือน ๆ รว มรุนเคยทั้งถกและเถยี งกบั ทานอยูหลายตอหลายครั้ง ทงั้ ท่เี กิดจากความเห็นตาง
และชุดขอมูลความรูที่แตกตางกันในรายละเอียด ทานไมเคยถือตนวาเปนอาจารยตองมีความรู
มากกวาจนตั้งธงไวในใจวาชุดความรูหรือชุดความคิดของทานถูกตองที่สุด ไมดอยคาชุดความรูหรือ
ความคิดเห็นของนิสิตวาตองผิดเสมอ ไมแมแตการตัดบทสนทนาใหพน ๆ ไป ในทางตรงกันขามทาน
พรอมจะรับฟงมุมมองของนิสิตจนจบ กอนจะอธิบายใหเห็นมุมมองของทานในเรื่องเดียวกัน
บรรยากาศการสนทนาระหวางอาจารยกับไมใชการยัดเยียดความรูหรือความเห็น แตเปนการ
แลกเปลี่ยนความรูและความเห็นกับนิสิตอยางเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษยอยางเสมอภาคซึ่ง
อาจารยท่ีมีคณุ สมบตั ิเชน นนี้ ับเปน อาจารยท ี่ดยี ิ่ง

60 : “สมญานาม เกยี รติกองวรรณศลิ ป”

นานาทัศนะตอ อาจารยส มเกยี รติ รกั ษมณี

Miss He Qian (แพร)
นสิ ิตปรญิ ญาโท สาขาวิชาภาษาไทย รนุ 63

ดิฉัน Miss. He Qian (แพร) เปนนักศึกษาปริญญาโท รุน 63 วิชาภาษาไทย (ภาคพิเศษ)
ดิฉันไดมีโอกาสเรียนกับอาจารยในรายวิชา ภาษากับสังคมและวัฒนธรรมไทย ในเทอมที่ 1 ของ
ปการศึกษา 2563 เนื่องจากสถานการณโควิด นิสิตชาวจีนตองเรียนผานระบบออนไลนจากประเทศ
จนี เพราะฉะน้ันการไดเจออาจารยครง้ั แรกคือผานหนา จอคอมพิวเตอร เมอ่ื เห็นอาจารยคร้ังแรกรูสึก
อาจารยคงเปนผูที่ไมชอบยิ้มและเขมงวดในการเรียนการสอนและเปนอาจารยที่มีความเชี่ยวชาญใน
ดา นวชิ าการมาก แตเมื่อไดฟงอาจารยบ รรยายและอธบิ ายเนือ้ หาดวยวิธีการการเลา เร่ืองประสบการณ
ของอาจารยและใชวิธีการสอนสนุกสนาน อาจารยพยายามหาวิธีการทำใหนิสิตไดเขาใจประเด็นที่
สำคัญ ดิฉันไดรับความรูจากอาจารยอยางหลากหลาย ทั้งความรูดานวัฒนธรรมไทยและสังคมไทย
ไดเขาใจภาษาไทยมากยิ่งขึ้น ถึงแมวาระหวางการเรียน งานที่อาจารยมอบหมายใหทำนั้น
มีความกดดันในระดับหนึ่ง แตผลที่ไดรับชวยทำใหดิฉันสามารถนำมาประยุกตใชในดานวิชาการ
และในชวี ติ ประจำวนั

ในฐานะที่เปนนิสิตตางชาติ ดิฉันรูสึกภูมิใจและเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดเปนนิสิตของอาจารย
กอนอาจารยจะเกษียณ อาจารยเปนบุคคลที่มีประโยชนตอสังคมไทยและมีผลงานในดานวิชาการ
จำนวนมาก อาจารยเปนแบบอยางท่ีดีใหกับนิสิตทกุ คน ดิฉันก็จะพยายามนำความรูท ี่ไดจากอาจารย
ไปปรบั ใชใ นชีวิตการทำงานในอนาคตของตนเอง

ทายที่สุด ดิฉันขอขอบคุณที่อาจารยมอบความรูใหแกพวกเรา และขอใหอาจารยสุขภาพ
แข็งแรง ขอใหม ีความสุขกบั ชวี ติ หลังเกษียณ

เน่ืองในโอกาสเกษยี ณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษมณี : 61

ครูคือผูให

นายรฐั เขตต หิรัญ
นสิ ติ ปรญิ ญาโท สาขาวชิ าภาษาไทย รนุ 63

“เรียงรอ ยถอยกวีวจพี จน กลบทกลอนกานทสารภาษา
มโนนอมจิตนบอภวิ า คุณคุณาอาจารยผ า นประพนั ธ
จรดศิลปด ว ยสนี นทรีเหลือง แดอ าจารยผูปราดเปรื่องเรืองรงั สรรค
วธิ วจิ ยั วทิ ยาคาอนันต สอนศิษยน ั้นเสริมสรา งทางวิชา
ทา นอาจารยสมเกยี รติ รักษมณี ครูผูชหี้ นทางสวา งหลา
วิทวาคตชิ นวทิ ยา สงั คมศาสตรป ราชญป ญ ญาภาษาไทย
มธุรสบทประพันธสรรคประสพ เวยี นบรรจบมทุ ติ าศิษยน บไหว
ขออัญเชญิ คุณพระศรีรตั นตรัย โปรดอำนวยอวยชัยใหอาจารย”

ครั้งหนึ่งเมื่อผมไดเขามาศึกษาในระดับปริญญาโท คณะมนุษยศาสตร สาขาภาษาไทย ในรั้ว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรนั้นถือเปนเรื่องโชคดีของผมมาก เพราะเปนคณะที่ใฝฝนตั้งแตสมัยที่ยัง
เรียนมธั ยม

ความโชคดีของผมอีกประการหนึ่ง คือผมไดเปนลูกศิษยของ รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี
อาจารยที่เปยมไปดวยภูมิความรู บมเพาะอบรมศิษย ถายทอดองคความรู ประสบการณและแนวคิด
ใหกับนิสิต อาจารยผูคอยชี้แนะแนวทางในการศึกษา หมั่นตั้งคำถามใหนิสิตไดคิด ใหพยายามคนหา
ขอมูลอยูเสมอ คอยปลูกฝงสรางทัศนคติที่ดี อาจารยหมั่นเนนย้ำพร่ำสอนอยูเสมอวา “คนเราควรมี
ความซื่อสัตยตอตนเองและซื่อสัตยตอผูอื่น ไมควรคัดลอกผลงาน ถึงแมเจาของผลงานจะไมรู
แตใจเรารูวานั่นคือการทำผิด” คำพูดนั้นเปนสิ่งที่คอยย้ำเตือนผมเสมอมา และผมขอนำความรู
และคุณธรรมท่ีอาจารยสอน ยึดเปนแนวประพฤติปฏิบัติตน

สุดทายนี้ผมขออาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลกจงดลบันดาลใหอาจารยประสบ
แตความสขุ มสี ขุ ภาพรางกายท่แี ขง็ แรง เปนครูผทู รงคณุ คา และอยเู ปนทรี่ กั ของลูกศษิ ยต ลอดไป

62 : “สมญานาม เกียรตกิ อ งวรรณศลิ ป”

ปจฉิมบท

(บทความวิชาการ แดอาจารยดานวรรณศิลป)

เนื่องในโอกาสเกษยี ณอายงุ าน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษมณี : 63

64 : “สมญานาม เกยี รตกิ อ งวรรณศลิ ป”

ผลงานอาจารยท ่ีปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธสาขาวชิ าภาษาไทย
ของรองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ รักษม ณี

An Overview study: Thesis Advisor’s Associate Professor Dr. Somkeat Rakmanee

อาจารย ดร.สรุ ียร ตั น บำรุงสุข

บทคดั ยอ

บทความวิจยั น้ีมวี ัตถุประสงคเพ่ือรวบรวมผลงาน ในฐานะอาจารยทปี่ รึกษาวิทยานิพนธหลัก
ของหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรปรัชญาดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชา
ภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรของ รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี เพื่อรวม
แสดงมทุ ติ าจิตเนื่องในโอกาสเกษยี ณอายุราชการของ รศ.ดร.สมเกยี รติ รกั ษม ณี

ผลการประมวลความรูพบผลงานวิทยานิพนธของนิสิตที่สำเรจ็ การศึกษาตั้งแต พ.ศ. 2557 -
2562 จำนวน 10 เลม มีสถานภาพเปนงานวิจัยดานภาษาและวรรณกรรมที่ “บูรณาการศาสตร”
ทางภาษาไทยรวมกบั งานดา นคติชนวิทยา การศกึ ษาผลงานของนักเขยี น และการศกึ ษาวิจัยเอกสาร

ผลการประเมินสถานภาพผลงานวิทยานิพนธพบวา แบงเปนการศึกษาภาษาและวรรณกรรม
ที่สัมพันธกับคติชนวิทยา พบ 4 เรื่อง ไดแก ปยะวัติ วังซาย (2557) สภาพการใชศัพทคำเมืองในเขต
อำเภอเมืองของจังหวัดภาคเหนือตอนบน นลินี อำพินธ (2557) ชื่อบานนามเมืองจังหวัดบุรีรัมย:
กรณีศึกษาอำเภอพุทไธสง นาโพธิ์ และบานใหมไชยพจน Maohai ZHONG (2018) การศึกษา
เปรียบเทียบคำเรียกผีและการตั้งชื่อผีในวัฒนธรรมความเชื่อเรื่องผีของไทยกับจีน และทิพยวรรณ
สีสัน (2562) กลวิธีการใชภาษาและภาพสะทอนวัฒนธรรมจากเพลงพื้นบานที่ปรากฏในจังหวัด
กำแพงเพชร

การศกึ ษาภาษาและวรรณกรรมท่ีสมั พันธกับการศกึ ษาผลงานของนักเขียนพบ 4 เรื่อง ไดแก
ชัยวัฒน ไชยสุข (2558) กลวิธีการใชภาษาและภาพสะทอนสังคมในวรรณกรรมบันเทิงคดี
ของมกุฎ อรฤดี บุณยเสนอ ตรีวิเศษ (2559) พลังภาษาในวาทกรรมของเสกสรร ประเสริฐกุล
จักรพงษ เอี่ยมสะอาด (2560) ไลทโนเวล: กลวิธีการสรางสรรคกับการสงอิทธิพลตอ
การแตงนวนิยายไทย และสุธาทิพย แหงบุญ (2562) ความเปรียบสตรีในนวนิยายของกฤษณา
อโศกสนิ

การศึกษาภาษาและวรรณกรรมที่สัมพันธกับการวิจัยเอกสารพบ 2 เรื่อง ไดแก
มณฑกาญจน สิทธิสาร (2557) การศึกษาราชาศัพทในหนังสือ “สาสนสมเด็จ” และวิทยา ปนแกว
(2561) การวิเคราะหกลวิธีทางภาษาและแนวคิดการดำเนินชีวิตในประชุมโคลงสุภาษิต
ในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยหู ัว

เนอ่ื งในโอกาสเกษยี ณอายงุ าน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี : 65

จากผลงานการควบคุมวิทยานิพนธในฐานะอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักที่กลาวมา
ขางตนนี้ สะทอนความเชี่ยวชาญดานภาษาและวรรณกรรมของ รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี
ไดเปนอยางดี ผูเขียนจึงขอรวมแสดงมุทิตาจิตในกิจกรรมเกษียณเกษมศานต รศ.ดร.สมเกียรติ
รกั ษม ณ:ี สมญานาม เกียรตกิ องวรรณศิลป

คำสำคญั : รศ.ดร.สมเกยี รติ รักษม ณี, อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานพิ นธ, วทิ ยานิพนธส าขาวิชาภาษาไทย
Abstract

The objectives of this study was to compile the M.A. and Ph.D. theses for the
Thai Language Program in the Faculty of Humanities at Kasetsart University. Thesis
advisor’s of Associate Professor Dr. Somkeat Rakmanee. To show perseverance on the
occasion of retirement.

The knowledge processing results that a sample was selected form 10 M.A.
theses and Ph.D. theses of thesis advisor’s Associate Professor Dr. Somkeat Rakmanee
from A.D. 2014 - A.D. 2019. The findings revealed in total “theme integration” as
follows: theme integration between the Thai Language, Literature and folklore, study
of the author's work and paper research study.

The results of the assessment of the thesis performance found that 4 theses
theme integration between the Thai Language, Literature and Folklore: Piyawat
Wangsai (2014) Situation of Using Kham Mueang Vocabulary in Mueang District of Upper
Northern Provinces. Nalinee Amphin (2014) Toponyms in Buri Ram Province: A Case
Study of Amphoe Phutthaisong, Na Pho, and Ban Mai Chaiyaphot. Maohai ZHONG
(2018) A Comparative Study of Ghost Names and Naming Ghosts in Thai and Chinese
Beliefs and Culture. Tippawan Seesan (2019) Language Strategy and Culture Reflection
from Folk Songs appeared in Kamphaeng Phet Province.

4 theses theme integration between the Thai Language, Literature and study
of the author's work: Chaiwat Chaisuk (2015) Techniques of Language Usage and Social
as Reflected in Makut Onrudee’s Fictions. Bunsanoe Triwiset (2016) Power of Language
in Seksan Prasoetkun’s Discourse. Jakapong Eimsaard (2018) Light Novel: Creative
Strategies and Influences on Thai Novel Writing. Suthathip Hangboon (2019) Metaphor
of Woman in Kridsana Asoksin’s Novel.

2 theses theme integration between the Thai Language, Literature and study
of the author's work: Montakarn Sittisan (2014) A Study of Royal Language in the Books

66 : “สมญานาม เกียรติกอ งวรรณศลิ ป”

“SAN SOMDET”. and Wittaya Punkaew (2018) An Analysis of Linguistic Techniques and
Life Values in King Rama V’s Poem and Proverbs

From the work of the thesis advisor shows that of Associate Professor
Dr. Somkeat Rakmanee reflects expertise in Language and Literature as well.

Keywords: Associate Professor Dr. Somkeat Rakmanee, Thesis Advisor, Thai Language
Thesis

บทนำ

ในฐานะที่ผูเขียนเคยเปนอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาภาษาไทย
ระหวางป พ.ศ. 2558 - 2561 มีภาระหนาที่ในการบริหารหลักสูตร พัฒนาอาจารย สงเสริม
และพัฒนานิสิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ รวมถึงการจัดทำรายงาน
ผลการดำเนินการของหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาภาษาไทย ผูเขียนพบวาในชวงเวลาดังกลาว
มีนิสิตในหลักสตู รบัณฑิตศึกษาสำเร็จการศึกษาตามแผนการศึกษาอยางตอ เนื่อง องคประกอบสำคัญ
ในการพัฒนาวทิ ยานพิ นธของนสิ ติ ประการหน่ึง คือ “บทบาทของอาจารยที่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ”

จากรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
ประจำปการศึกษา 2558 (2559: 32) ไดกลาวถึงคุณวุฒิ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณการวิจัย
และผลงานทางวิชาการของคณาจารยภาควิชาภาษาไทยวา คณาจารยภาควิชาภาษาไทยสำเร็จ
การศึกษาปริญญาเอกรอยละ 90 จัดแบงตามคุณวุฒิความเชี่ยวชาญ และประสบการณดานการวิจัย
รวมท้งั ผลงานทางวิชาการ ไดเ ปน 5 กลมุ หลัก ไดแ ก

1. ภาษาไทยเชิงประวตั ิและภาษาที่เกี่ยวขอ งกับภาษาไทย
2. การใชภ าษาและภาษาในวงการตาง ๆ
3. ภาษาสะทอ นวฒั นธรรม
4. ภาษาศาสตรภาษาไทย
5. ภาษาและวรรณกรรมไทย
บทความนี้ขอนำเสนอเฉพาะผลงานวิทยานิพนธดานภาษาและวรรณกรรมไทย สวนหนึ่ง
เปนผลงานของนิสิตในที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักของ รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี ซึ่งจะเกษียณอายุ
ราชการในป พ.ศ. 2564
นอกจากนี้ผูเขียนเคยไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร ประจำปงบประมาณ 2558 เสนอผลงานวิจัยเรื่อง “สถานภาพและแนวโนมของ
วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร” (สุรยี ร ตั น บำรงุ สุข และสิริวรรณ นนั ทจันทูล, 2558)

เน่ืองในโอกาสเกษียณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษม ณี : 67

ผลจากการศึกษางานวิจัยเรื่องดังกลาว แสดงใหเห็นขอมูลการจัดการเรียนการสอนในระดบั
บัณฑิตศึกษาของภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร ตั้งแตป พ.ศ. 2544 มีโครงสรางหลักสูตร
แบบแผน ก หมายถึง หลักสูตรที่ทำวิทยานิพนธตามวัตถุประสงคของหลักสูตรบัณฑิตศึกษา
เนนการผลิตบัณฑิตเพื่อตอบสนองความตองการของผูที่สนใจศึกษาดานภาษาไทย หลักสูตร
บัณฑิตศึกษานี้ มีหลักคิดในการออกแบบหลักสูตรที่ตองการเนนศาสตรทางภาษาไทยและศาสตร
ที่เกี่ยวของกับภาษาไทย เห็นไดจากการกำหนดรายวิชาภาษาไทยในเชิงวิวัฒนาการ ภาษาบาลี
สันสกฤตในภาษาไทย ทฤษฎีภาษาศาสตรเพื่อการศึกษาภาษาไทย ภาษากับวัฒนธรรม รวมท้ัง
ภาษาไทยในสือ่ มวลชน ภาษาไทยในวรรณกรรม ทั้งนี้ผูเ รียนจะไดม ีเคร่ืองมือหรือแนวทางการทำวจิ ยั
ที่กวางขวางไปจากแนวเดิม โดยไดศึกษาภาษาไทยทั้งในอดีตและปจจุบัน อาจกลาวไดวาผลงาน
วทิ ยานิพนธของนสิ ิต เปนผลงานท่ีแสดงถึงความเขมแขง็ ของหลักสูตร

จากความสำคัญและผลจากการทบทวนวรรณกรรมขางตน ทำใหผูเขียนสนใจศึกษา
สถานภาพของผลงานอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลักของ รศ.ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี เพื่อรวมแสดง
มุทิตาจติ ในกิจกรรมเกษยี ณเกษมศานต รศ.ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณ:ี สมญานาม เกียรติกอ งวรรณศลิ ป

วิธดี ำเนนิ การศึกษา

ผูเ ขียนกำหนดวธิ ดี ำเนนิ การศึกษาตามขน้ั ตอนดงั ตอ ไปนี้
1. ทบทวนวรรณกรรม และงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ งกับการศึกษาสถานภาพของงานวจิ ัย
2. เก็บรวบรวมรายชือ่ วิทยานพิ นธหลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑติ

สาขาวิชาภาษาไทย ของภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
จากฐานขอมูลของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (ระบบสารสนเทศบัณฑิตวิทยาลัย
https://regis.ku.ac.th/cpcmns/kugradNew/mis/gr_advisee) ขอมูล ณ วันที่ 30 กรกฎาคม
2564

3. สืบคนฐานขอมูลวิทยานิพนธฉบับเต็มจากโครงการพัฒนาระบบเครือขายหองสมุด
อดุ มศึกษาในประเทศไทย Thai Digital Collection (TDC) ของ ThaiLIS

4. สังเคราะหข อมูลวิทยานิพนธเฉพาะขอมูลผลงานท่ี รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณีเปนอาจารย
ที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก จากนั้นนำมาประมวลความรู ประเมินสถานภาพ สังเคราะห
และสรปุ ผลการศึกษา

ผลการศึกษา

ผูเขียนขอนำเสนอผลการศึกษาสถานภาพผลงานอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักของ
รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี โดยจำแนกเปนการประมวลความรู การประเมินสถานภาพผลงาน
วทิ ยานิพนธ และการสงั เคราะหส ถานภาพผลงานวิทยานิพนธ ดงั รายละเอยี ดตอ ไปนี้

68 : “สมญานาม เกียรตกิ องวรรณศลิ ป”

1. การประมวลความรู

ผูเขียนสืบคนขอมูลวิทยานิพนธที่ รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณี เปนอาจารยที่ปรึกษา
วิทยานิพนธหลักจากฐานขอมูลระบบสารสนเทศบัณฑิตวิทยาลัย ณ วันที่ 30 กรกฎาคม 2564
พบผลงานวิทยานิพนธของหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย ของภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จำนวน
10 เลม เรียงลำดบั ตามปท ่ีสำเร็จการศกึ ษาตั้งแตป  พ.ศ. 2557 - 2562 ดังนี้

ป พ.ศ. 2557 3 เลม ไดแ ก

นลินี อำพินธ (2557). ชื่อบานนามเมืองจังหวัดบุรีรัมย: กรณีศึกษาอำเภอพุทไธสง นาโพธ์ิ
และบานใหมไชยพจน. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
คณะมนษุ ยศาสตร, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.

ปยะวัติ วงั ซาย. (2557). สภาพการใชศพั ทค ำเมืองในเขตอำเภอเมืองของจงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน.
วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร ,
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.

มณฑกาญจน สทิ ธสิ าร. (2557). การศึกษาราชาศพั ทในหนังสอื “สาสนสมเดจ็ ”.วทิ ยานพิ นธศิลปศา
สตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.

ป พ.ศ. 2558 1 เลม คอื

ชัยวัฒน ไชยสุข (2558). กลวิธีการใชภาษาและภาพสะทอนสังคมในวรรณกรรมบันเทิงคดีของ
มกุฏ อรฤดี. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร,
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.

ป พ.ศ. 2559 1 เลม คือ

บุณยเสนอ ตรีวิเศษ (2559). พลังภาษาในวาทกรรมของเสกสรร ประเสริฐกุล. วิทยานิพนธปรัชญา
ดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.

ป พ.ศ. 2560 1 เลม คอื

จักรพงษ เอี่ยมสะอาด. (2560). ไลทโนเวล: กลวิธีการสรางสรรคกับการสงอิทธิพลตอการแตง
นวนิยายไทย. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

เนอ่ื งในโอกาสเกษยี ณอายงุ าน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษมณี : 69

ป พ.ศ. 2561 2 เลม ไดแ ก

วิทยา ปนแกว. (2561). การวิเคราะหกลวิธีทางภาษาและแนวคิดการดำเนินชีวิตในประชุม
โคลงสุภาษิตในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว. วิทยานิพนธศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

Maohai ZHONG. (2561). การศกึ ษาเปรยี บเทียบคำเรียกผีและการตั้งช่ือผีในวัฒนธรรมความเช่ือ
เรื่องผีของไทยกับจีน. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะ
มนษุ ยศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ป พ.ศ. 2562 2 เลม ไดแก

ทิพยวรรณ สีสัน (2562). กลวิธีการใชภาษาและภาพสะทอ นวัฒนธรรมจากเพลงพืน้ บานท่ีปรากฏ
ในจังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะ
มนษุ ยศาสตร, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.

สุธาทิพย แหงบุญ. (2562). ความเปรียบสตรีในนวนิยายของกฤษณา อโศกสิน. วิทยานิพนธ
ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

หลังจากไดรายการวทิ ยานิพนธทั้ง 10 เลมแลว ผูเขียนสืบคนฐานขอมูลวิทยานิพนธฉ บบั เตม็
จากโครงการพัฒนาระบบเครือขายหองสมุดอุดมศึกษาในประเทศไทย Thai Digital Collection
(TDC) ของ ThaiLIS เพื่อนำมาประเมินสถานภาพวิทยานิพนธตอไป หลังจากตรวจสอบฐานขอมูล
วิทยานิพนธแลว ผูเขียนพบขอมูลวิทยานิพนธฉบับเต็มเพียง 6 เลม ขาดขอมูลวิทยานิพนธที่สำเร็จ
การศึกษาในป พ.ศ. 2561 - 2562 จำนวน 4 เลม ไดแก วิทยา ปนแกว (2561) Maohai ZHONG
(2018) ทพิ ยว รรณ สีสัน (2562) และสุธาทิพย แหงบุญ (2562) คาดวานาจะอยูใ นชวงของการนำเขา
ขอมูลวิทยานิพนธทีเ่ พิ่งสำเร็จการศึกษา ดังน้นั ผูเ ขยี นจงึ ขอประเมินสถานภาพวิทยานิพนธจากผลงาน
วทิ ยานิพนธต ัง้ แตป  พ.ศ. 2557 - 2560 เทานั้น

2. การประเมินสถานภาพ

ผูเขียนวิเคราะหเนื้อหาวิทยานิพนธฉบับเต็มที่ไดจากฐานขอมูล ThaiLIS และนำมาประเมิน
สถานภาพเนื้อหาวิทยานิพนธ พบวาวิทยานิพนธที่ รศ.ดร.สมเกียรติ รักษมณีเปนอาจารยที่ปรึกษา
วิทยานิพนธหลัก มีสถานภาพเปนงานวิจัยดานภาษาและวรรณกรรมท่ี “บูรณาการศาสตร”
ทางภาษาไทยรวมกับงานดานคติชนวิทยา การศึกษาผลงานของนักเขียน และการศึกษาขอมูล
จากการวจิ ัยเอกสาร อธบิ ายสถานภาพผลงานไดดังน้ี

70 : “สมญานาม เกยี รตกิ องวรรณศลิ ป”

2.1 การศกึ ษาภาษาและวรรณกรรมที่สัมพนั ธก บั คตชิ นวทิ ยา
การศึกษาภาษาและวรรณกรรมที่สัมพันธกับคติชนวิทยา พบผลงานวิทยานิพนธ

4 เรื่อง ไดแก
ปยะวัติ วังซาย (2557) สภาพการใชศัพทคำเมืองในเขตอำเภอเมือง

ของจังหวัดภาคเหนือตอนบน นลินี อำพินธ (2557) ชื่อบานนามเมืองจังหวัดบุรีรัมย:
กรณีศึกษาอำเภอพุทไธสง นาโพธิ์ และบานใหมไชยพจน Maohai ZHONG (2018)
การศึกษาเปรียบเทียบคำเรียกผีและการตั้งชื่อผี ในวัฒนธรรมความเชื่อเรื่องผีของ คนไทย
กับคนจีน และทิพยวรรณ สีสัน (2562) กลวิธีการใชภาษาและภาพสะทอนวัฒนธรรมจาก
เพลงพื้นบานทป่ี รากฏในจงั หวัดกำแพงเพชร ดงั ตัวอยาง

นลินี อำพินธ (2557) เสนอผลงานวิทยานิพนธระดับปริญญาโทเรื่อง
“ช่ือบานนามเมืองจังหวัดบรุ ีรัมย: กรณีศกึ ษาอำเภอพุทไธสง นาโพธ์ิ และบา นใหมไชยพจน”
มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาที่มาและความหมายของชื่อหมูบาน กลวิธีการตั้งชื่อหมูบาน
การเปลี่ยนแปลงการตั้งชื่อหมูบาน และอัตลักษณทองถิ่นที่สะทอนผานชื่อหมูบาน
ในอำเภอพุทไธสง นาโพธิ์ และบานใหมไชยพจน จังหวัดบุรีรมั ย

ผลการวิจัยพบวา 1) การศึกษาที่มาและความหมายของชื่อหมูบาน
ในอำเภอพุทไธสง นาโพธิ์ และบานใหมไชยพจน จังหวัดบุรีรัมย พบที่มาของชื่อหมูบาน
รวมทั้งหมด 12 ประเภท มากที่สุดคือ ลักษณะภูมิประเทศ รองลงมาคือ พรรณไม ตำนาน
หรือเรื่องเลา ทิศ ที่ตั้ง สถานที่ ถิ่นฐานเดิม ความเขาใจผิดของทางราชการหรือคนรุนหลัง
สัตว ขนาด วัตถุ คติความเชื่อ บุคคล และอาชีพตามลำดับ 2) การศึกษากลวิธีการตั้งช่ือ
หมูบานในอำเภอพุทไธสง นาโพธิ์ และบานใหมไชยพจน จังหวัดบุรีรัมย พบกลวิธีการตั้งช่ือ
หมูบาน 2 แบบมากที่สุด คือ การใชคำภาษาไทย ไดแก การประสมคำ และการใชคำมูล
รองลงมา คอื การใชค ำยืม ไดแก คำยมื ภาษาเขมร และคำยืมภาษาบาลีสนั สกฤต ตามลำดับ
3) การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการตั้งชื่อหมูบาน พบการเปลี่ยนแปลงการตั้งชื่อหมูบาน
3 ลักษณะมากที่สุดคือ การเปลี่ยนไปเปนชื่อใหม รองลงมาคือ การเปลี่ยนแปลงคำศัพท
และการเปลย่ี นแปลงเสียงตามลำดับ 4) การศึกษาอตั ลักษณทองถิ่นทีส่ ะทอนผานช่ือหมูบาน
พบวามีความสัมพันธกับอัตลักษณทองถิ่น 11 ประเภท มากที่สุดคือ ลักษณะภูมิประเทศ
รองลงมาคือ ความหลากหลายของพืชพรรณ การตั้งถิ่นฐานใกลแหลงน้ำ การบอกทิศทาง
ที่ตั้ง หรือแสดงลักษณะเดนของหมูบาน ความเขาใจผิดของทางราชการหรือคนรุนหลัง
รองรอยอารยธรรมโบราณ ความหลากหลายของสัตว ความสำคัญของพื้นที่ปา ความเชื่อ
ความเปนสิรมิ งคล ความสำคญั ของบคุ คล และอาชีพตามลำดบั

เนอื่ งในโอกาสเกษียณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี : 71

2.2 การศึกษาภาษาและวรรณกรรมที่สมั พนั ธกับการศกึ ษาผลงานของนกั เขียน

การศึกษาภาษาและวรรณกรรมที่สัมพันธกับการศึกษาผลงานของนักเขียน
พบผลงานวิทยานิพนธ 4 เรื่อง ไดแก ชัยวัฒน ไชยสุข (2558) กลวิธีการใชภาษาและภาพ
สะทอนสังคมในวรรณกรรมบันเทิงคดีของมกุฎ อรฤดี บุณยเสนอ ตรีวิเศษ (2559) พลัง
ภาษาในวาทกรรมของเสกสรร ประเสริฐกุล จักรพงษ เอี่ยมสะอาด (2560) ไลทโนเวล:
กลวิธีการสรางสรรคกับการสงอิทธิพลตอการแตงนวนิยายไทย และสุธาทิพย แหงบุญ
(2562) ความเปรยี บสตรใี นนวนิยายของกฤษณา อโศกสนิ ดังตวั อยาง

บุณยเสนอ ตรีวิเศษ (2559) เสนอผลงานวิทยานิพนธระดับปริญญาเอก
เรื่องพลังภาษาในวาทกรรมของเสกสรรค ประเสริฐกุล การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ
มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพลังภาษาในการสรางอัตลักษณและพลังภาษาในการสรางพลัง
อำนาจ ในงานเขียนของเสกสรรค ประเสริฐกุล จำนวน 43 เลม ตามแนวคิดวาทกรรม
วิเคราะหเ ชิงวิพากษ

ผลการวิจัยมีดังน้ี พลังภาษาในการสรางอัตลักษณ พบวาพลังภาษา
ที่เสกสรร ประเสริฐกุลใชสรางอัตลักษณนั้นเกิดจากกลวิธีทางภาษา 11 แบบ ดังน้ี
การเลอื กใชคำศัพท การใชปฏทิ รรศน การใชถ อ ยคำนัยผกผัน การใชคำคม การใชอุปลักษณ
การใชคำถามเชิงวาทศิลป การใชคำแสดงการประเมินคา การใชคำแสดงทัศนภาวะ
การใชประโยคเหตผุ ล การใชก ารซำ้ กระสวนประโยค และการใชสมั พนั ธบท

พลังภาษาเหลานี้สื่อสารผานชุดวาทกรรม จำนวน 12 ชุดวาทกรรม ไดแก
วาทกรรมเกี่ยวกับชีวิต วาทกรรมเกี่ยวกับเสรีภาพ วาทกรรมวีรบุรุษ วาทกรรมศักดิ์ศรี
ความเปนมนุษย วาทกรรมเกี่ยวกับคุณธรรม วาทกรรมความเปนชาย วาทกรรม
ความพายแพ วาทกรรมการศึกษาและการเรียนรู วาทกรรมเกี่ยวกับธรรมชาติ วาทกรรม
จติ วิญญาณ วาทกรรมพทุ ธศาสนา และวาทกรรมนกั เขียน

วาทกรรมดังกลาวประกอบสรางอัตลักษณของเสกสรร ประเสริฐกุล
14 ประการ ไดแก ผูแสวงหาความหมายของชีวิต ผูมีสำนึกขบถ ผูปรารถนาชีวิตอิสระ
ผูยึดอุดมการณเพื่อสังคม ผูรักศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ผูยึดอุดมการณผูชายเปนใหญ
ผูมีอุดมการณเพื่อชนชั้นลาง ผูมีสำนึกทางสังคมและการเมือง ผูแสวงหาทางจิตวิญญาณ
นักสชู ีวิตทไ่ี มยอมพา ยแพ นกั วิชาการภาคปฏิบัติ ปญญาชนนกั มนุษยนยิ ม และสามัญชนผูรัก
ธรรมชาติ

พลังภาษาในการสรางพลังอำนาจ พบวาพลังภาษาที่เสกสรร ประเสริฐกุล
ใชสรางพลังอำนาจ นั้นเกิดจากกลวิธีทางภาษา 11 แบบ ดังนี้ การเลือกใชคำศัพท
การใชปฏิทรรศน การใชถอยคำนัยผกผัน การใชคำคม การใชอุปลักษณ การใชคำถาม

72 : “สมญานาม เกียรตกิ องวรรณศลิ ป”

เชิงวาทศิลป การใชค ำแสดงการประเมินคา การใชค ำแสดงทัศนภาวะ การใชประโยคเหตุผล
การใชการซ้ำกระสวนประโยค และการใชสัมพนั ธบท

พลังภาษาเหลานี้สื่อสารผานชุดวาทกรรมจำนวน 9 ชุดวาทกรรม ไดแก
วาทกรรมชาติและความเปนไทย วาทกรรมเศรษฐกิจการเมือง วาทกรรมประชาธิปไตย
วาทกรรมทุนนิยมโลกาภิวัตน วาทกรรมความจน วาทกรรมการแยงชิง วาทกรรมคนดี
วาทกรรมวัฒนธรรม และวาทกรรมมหาวิทยาลัย วาทกรรมดังกลาวแสดงพลังอำนาจ
5 ประการ ไดแก การวิพากษ การโตแยงวาทกรรมกระแสหลัก การเปดเผยความไมชอบ
ธรรม การขดั ขนื ประทว งตออำนาจและโครงสรา งอำนาจ และการช้นี ำสังคม

2.3 การศกึ ษาภาษาและวรรณกรรมท่สี มั พันธกบั การวจิ ยั เอกสาร

การศึกษาภาษาและวรรณกรรมที่สัมพันธกับการวิจัยเอกสาร พบผลงาน
วิทยานิพนธ 2 เรื่อง ไดแก มณฑกาญจน สิทธิสาร (2557) การศึกษาราชาศัพทในหนังสือ
“สาสนสมเด็จ” และ วิทยา ปนแกว (2561) การวิเคราะหกลวิธีทางภาษาและแนวคิด
การดำเนินชีวิตในประช ุมโคลงสุภาษิตในพระบาทส มเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหั ว
ดังตัวอยาง

มณฑกาญจน สิทธิสาร (2557) เสนอวิทยานิพนธระดับปริญญาโทเรื่อง
“การศึกษาราชาศัพทในหนังสือ สาสนสมเด็จ” วิทยานิพนธนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ
ศึกษาการสราง และการใชคำราชาศัพทที่ปรากฏในหนังสือสาสนสมเด็จและ
เปรียบเทียบการใชคำราชาศัพทในหนังสือสาสนสมเด็จกับการใชคำราชาศัพท
ในสมัยอยุธยาและการใชราชาศัพทในสมัยปจจุบัน โดยการเก็บขอมูลราชาศัพท
จากหนังสือสาสนสมเด็จ จำนวน 26 เลม รวบรวมราชาศัพททั้งหมดได 1,962 คำ
แลวนำมาวิเคราะหขอมลู เพื่อหาขอสรุป

ผลการวิจัยพบวา ดานการสรางคำราชาศัพทที่ปรากฏในหนังสือ
สาสนสมเด็จ พบวิธีการสรางคำราชาศัพท 4 วิธี ไดแก 1) สรางโดยการประสมคำระหวาง
คำยมื กับคำไทย 2) สรา งโดยการประสมคำระหวา งคำไทยกบั คำไทย 3) สรางโดยการประสม
คำระหวางคำไทยกับคำยืม และ 4) สรางจากการยืมคำภาษาอื่นทั้งคำ ดานการใช
คำราชาศัพทที่ปรากฏในหนังสือสาสนสมเด็จ พบการใชราชาศัพทจำแนกตามหนาท่ี
ของคำได 4 ชนิด ไดแก นามราชาศัพท สรรพนามราชาศัพท กริยาราชาศัพท และ
ลกั ษณนามราชาศพั ท

ดานการเปรียบเทียบการใชคำราชาศัพทในหนังสือสาสนสมเด็จกับการใช
คำราชาศัพทในสมัยอยุธยา พบวา มีการใชราชาศัพทที่เหมือนกัน จำนวน 301 คำ
คิดเปนรอยละ 15.35 และแตกตางกัน จำนวน 1,662 คำ คิดเปนรอยละ 84.65 การใช

เนื่องในโอกาสเกษยี ณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษม ณี : 73

คำราชาศัพทในหนังสือสาสนสมเด็จกับการใชคำราชาศัพทในสมัยปจจุบัน พบวามีการใช
ราชาศัพทที่เหมือนกันจำนวน 1,385 คำ คิดเปนรอยละ 70.60 และแตกตางกัน จำนวน
577 คำ คิดเปน รอ ยละ 29.40

3. การสังเคราะหส ถานภาพผลงานวทิ ยานิพนธ

ผลงานวทิ ยานิพนธด านภาษาและวรรณกรรมไทย มวี ิธดี ำเนินการวจิ ัย การกำหนดประชากร
และกลุมตัวอยาง การจัดเตรียมเครื่องมือในการวิจัยดวยวิธีการที่หลากหลายแปรเปลี่ยนไปตาม
วิธีดำเนนิ การวิจยั ดังตัวอยาง

ชัยวัฒน ไชยสุข (2558: 62 - 63) เสนอวิธีดำเนินการวิจัยจากวิทยานิพนธเรื่อง
กลวิธีการใชภาษาและภาพสะทอนสังคมในวรรณกรรมบันเทิงคดีของมกุฎ อรฤดี กำหนด
ประชากร คือ งานเขียนของมกุฎ อรฤดี เฉพาะประเภทบันเทิงคดี จำนวน 15 เลม กำหนด
เกณฑการวิเคราะหกลวิธีการใชคำ โดยประยุกตจากเกณฑการจำแนกคำที่ใช
ทางประพันธศาสตรของชำนาญ รอดเหตุภัย รวมกับศิลปะการใชถอยคำในภาษาไทย
ของสมพร มันตะสูตร สวนเกณฑการวิเคราะหกลวิธีการใชประโยค กำหนดเกณฑ
การวิเคราะหกลวิธีการใชประโยค โดยพิจารณาเฉพาะประโยคที่มีโครงสรางทางไวยากรณ
สมบรู ณ 3 ลกั ษณะ จากแนวคิดของ นววรรณ พันธุเมธา

มณฑกาญจน สิทธิสาร (2557: 62 - 65) เสนอวิธีดำเนินการวิจัยจากการศึกษา
ราชาศพั ทในหนังสอื “สาสน สมเด็จ” การวิจัยครั้งนี้เปน การวิจยั เอกสาร เพอ่ื ศกึ ษาราชาศัพท
ในหนังสือสาสนสมเด็จดานการสรางคำราชาศัพท การใชคำราชาศัพท และเปรียบเทียบ
การใชคำราชาศัพทในหนังสือสาสนสมเด็จกับการใชคำราชาศัพทในสมัยอยุธยา และการใช
คำราชาศัพทในสมยั ปจ จบุ ัน

ในสวนของการวิเคราะหขอมูลการสรางคำราชาศัพท ใชแนวคิดที่ประมวลจาก
บรรจบ พันธุเมธา การใชคำราชาศัพท ใชแนวคิดที่ประมวลจากสำนักงานเสริมสราง
เอกลักษณของชาติ การศึกษากลวิธีการใชภาษา 3 ดา น คอื กลวิธกี ารใชคำ การใชภาพพจน
และการใชเครื่องหมาย

ปยะวัติ วังซาย (2557: 48-50). เสนอวิธีการวิจัยในวิทยานิพนธระดับปริญญาเอก
เรื่อง สภาพการใชศัพทคำเมืองในเขตอำเภอเมืองของจังหวัดภาคเหนือตอนบน กำหนด
ประชากรคือ ผูใชภาษาคำเมืองที่อาศัยอยูในเขตอำเภอเมืองของจังหวัดภาคเหนือตอนบน
ไดแ ก จงั หวัดแมฮ องสอน เชียงใหม ลำพูด เชยี งราย พะเยา ลำปาง แพร และนา น

74 : “สมญานาม เกยี รติกองวรรณศลิ ป”

กำหนดกลุมตัวอยางแบบหลายข้ันตอน โดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบเจาะจงในการ
เลือกพื้นที่ที่ศึกษา ใชวิธีการสุมแบบช้ันภูมิ โดยเลือกศึกษาเปนเขตจังหวัด 8 จังหวัดและ
สรางหลักเกณฑการคัดเลือกผูบอกภาษาตามเพศ วัย และถิ่นที่อยู จากนั้นจึงใชวิธีการสุม
ตัวอยางผูบอกภาษาแบบเจาะจง ไดข อ มลู จากผบู อกภาษาวัยสูงอายุเพศชาย 3 คน เพศหญิง
3 คน และผูบอกภาษาวัยหนุมสาวเพศชาย 3 คนและเพศหญิง 3 คน รวมจำนวน
ผูบอกภาษาจังหวัดละ 18 คน และรวม 8 จงั หวดั มีผบู อกภาษาทง้ั หมด 144 คน

นลินี อำพินธ (2557: 65-67). เสนอวิธีดำเนินการวิจัย จากการศึกษาเรื่องชื่อบาน
นามเมอื งจงั หวดั บรุ รี มั ย: กรณีศึกษาอำเภอพทุ ไธสง นาโพธ์ิ และบานใหมไ ชยพจน เก็บขอมูล
จาก 217 หมูบานในอำเภอพุทไธสง นาโพธิ์และบานใหมไ ชยพจน ผูวิจัยใชกลุมตัวอยางจาก
ประชาชนในทองถิ่น หมูบานละ 2 คน จาก 188 หมูบาน รวม 376 คน เปนการสุมตัวอยาง
แบบเจาะจง จากคนในหมูบานผูประกอบอาชีพครู ผูใหญบาน กำนัน หรือเปนผูที่เคารพ
นับถือของชาวบานในหมูบาน เปนผูมีอายุ 50 ปขึ้นไป เปนผูถือกำเนิดในทองถิ่นและไมเคย
จากทองถ่นิ ไปตง้ั ถ่นิ ฐานในภมู ิภาคอื่นตดิ ตอ กนั เกิน 10 ป

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก แบบสัมภาษณกึ่งโครงสรางที่กำหนดหัวขอในการ
สัมภาษณไ วเ ปนแนวทางกวางๆ เคร่ืองบันทึกเสียง และกลอ งถา ยภาพ

บุณยเสนอ ตรีวิเศษ (2559: 79-85) เสนอวิธีดำเนินการวิจัยจากวิทยานิพนธเรื่อง
พลังภาษาในวาทกรรมของเสกสรรค ประเสริฐกุล โดยกำหนดประชากรและกลุมตัวอยาง
จากวาทกรรมในงานเขียนทั้งหมดของเสกสรร จำนวน 43 เลม ประกอบดวยประเภท
ความเรียง-บทความ 14 เลม บทบันทึก 9 เลม ประเภทปาฐกถา บทสัมภาษณ 8 เลม
ประเภทเร่อื งสน้ั -นวนิยาย 4 เลม และมกี ารเกบ็ กลุมตัวอยางดานผลตอ สังคม กลมุ ตวั อยาง 3
กลุม คือ 1) ประเภทการไดรับเชิญไปสัมภาษณของเสกสรร ประเสริฐกุล 2) ประเภทไดรับ
เชิญไปแสดงปาฐกถา 3) ประเภทบุคคลที่ไดรบั อทิ ธิพลจากความคดิ ของเสกสรร

ในสวนของการวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหวาทกรรมเสกสรร
ประเสรฐิ กลุ โดยใชก รอบมติ ิท้ัง 3 ของวาทกรรม Fairclough (1995) วิเคราะหว ถิ ีปฏบิ ตั ิทาง
วาทกรรมในงานเขียนของเสกสรร โดยอธิบายภาพรวมของการผลิตสรางและบริโภคตัวบท
งานเขียนเพื่อการวิเคราะหอัตลักษณและพลังอำนาจที่แฝงอยูในงานเขียน โดยใชบริบททาง
สงั คมของงานเขยี นเสกสรร เปน ปจ จยั ในการวเิ คราะห

4. สรุปผลการศกึ ษา

1. การประมวลความรู พบผลงานอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักของ รศ.ดร.สมเกียรติ
รักษม ณี ระหวา งป พ.ศ. 2557 - 2562 จำนวน 10 เลม อธบิ ายไดตามแผนภมู ิภาพที่ 1

เน่ืองในโอกาสเกษียณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษมณี : 75

ป 2562
2557 20%
30%

ป 2558 ป 2559 ป 2561
10% 10% 20%

ป 2560
10%

แผนภมู ภิ าพท่ี 1 แสดงจำนวนผลงานวิทยานพิ นธท ่ีสำเรจ็ การศกึ ษาในชว งป พ.ศ. 2557 - 2562

จากแผนภูมิภาพที่ 1 จะเห็นไดวาผลงานวิทยานิพนธที่สำเร็จการศึกษาในชวงป พ.ศ. 2557
พบมากที่สุดรอยละ 30 รองลงมาเปนผลงานที่พบในป พ.ศ. 2561 และ 2562 จำนวนรอยละ 20
ตามลำดับ ทั้งนี้พบวาในชวงระหวางป พ.ศ.2557 - 2562 มีนิสิตในที่ปรึกษาวิทยานิพนธของ
รศ.ดร.สมเกยี รติ รักษมณี สำเรจ็ การศกึ ษาติดตอกนั ทุกป

2. การประเมินสถานภาพผลงานวิทยานิพนธ เมื่อนำมาจำแนกประเภทของผลงาน
วิทยานิพนธ ตามหมวดหมูของเนื้อหาพบวาแบงไดเปน 3 หัวขอ ไดแก ผลงานวิทยานิพนธดา นภาษา
และวรรณกรรมที่สัมพันธกับคติชนวิทยา การศึกษาผลงานของนักเขียน และการศึกษาวิจัย
จากเอกสาร สรุปไดด งั แผนภูมภิ าพท่ี 2

40% 20%
40%

เอกสาร นักเขยี น คติชน

แผนภมู ภิ าพที่ 2 แสดงจำนวนผลงานวิทยานพิ นธ จำแนกตามประเภทของผลงาน

จากแผนภูมิภาพที่ 2 จะเห็นไดวา สัดสวนของผลงานวิทยานพิ นธดานภาษาและวรรณกรรม
ปรากฏผลงานการศึกษาภาษาและวรรณกรรมที่สัมพันธกับคติชนวิทยา และการศึกษาผลงานของ
นักเขียนพบรอ ยละ 40 เทากัน และลำดบั สดุ ทา ยเปน การศึกษาขอมูลจากการวจิ ยั เอกสาร รอยละ 20

76 : “สมญานาม เกียรตกิ อ งวรรณศลิ ป”

3. การสังเคราะหสถานภาพผลงานวิทยานิพนธ ผลงานวิทยานิพนธดานภาษาและ
วรรณกรรมไทย พบวิธีดำเนินการวิจัยในลักษณะการวิจัยเอกสาร (Documentary Research)
เปนสวนใหญ แตหากเปนการศึกษาดานคติชนวิทยาจะมีการเก็บขอมูลภาคสนาม ผูวิจัยใช
กลุมตัวอยางจากประชาชนในทองถิ่น มีการคัดเลือกผูบอกภาษาตามเพศ วัย และถิ่นที่อยูตาม
ที่กำหนดไว สวนการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย มักใชวิธีการ “ประมวลแนวคิด”
จากผูเชี่ยวชาญดานภาษาหรือวรรณกรรมไทยที่ไดมาจากการทบทวนวรรณกรรมในบทที่ 2
ของผลงานวิทยานพิ นธ

อภิปรายผลการศึกษา

1. ผลงานวิทยานิพนธในฐานะอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักของ รศ.ดร.สมเกียรติ
รักษมณี จำนวน 10 ผลงาน เปนผลงานที่สำเรจ็ การศึกษาอยางตอเนื่องในชว งป พ.ศ. 2557 – 2562
สอดคลองกับการรายงานผลการดำเนินการของหลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
ประจำปการศึกษา 2558 (2559: 4) หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป การกำกับใหเปนมาตรฐาน ขอ 8
การตีพิมพเผยแพรผลงานของผูสำเร็จการศึกษา สะทอนถึงความเข็มแข็งและความเชี่ยวชาญของ
คณาจารยหลกั สูตรบณั ฑติ ศกึ ษา สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร

2. สถานภาพของวิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรปรัชญาดุษฎี
บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ของภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
มีลักษณะเปน “การบูรณาการศาสตร” โดยนำศาสตรดานภาษาและวรรณคดีไทยบูรณาการรวมกับ
ศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ดังเชนผลงานวิทยานิพนธดานภาษาและวรรณกรรมที่บูรณาการกับศาสตร
ดานคติชนวิทยา ศึกษาขอมูลจากเพลงพื้นบาน ชื่อบานนามเมือง หรือความเชื่อเรื่องผี เปนตน
สอดคลองกับงานวิจัยของ สุรียรัตน บำรุงสุขและสิริวรรณ นันทจันทูล (2558: 174) สถานภาพงาน
วิทยานิพนธบูรณาการศาสตรระหวางภาษาไทยกับวรรณคดี หรือวรรณกรรมกับวรรณคดี หรือ
วรรณกรรมกบั สังคม รวมท้งั ภาพสะทอนสังคมและวัฒนธรรม

เอกสารอา งอิง

จักรพงษ เอี่ยมสะอาด. (2560). ไลทโนเวล: กลวิธีการสรางสรรคกับการสงอิทธิพลตอการแตง
นวนิยายไทย. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ชัยวัฒน ไชยสุข (2558). กลวิธีการใชภาษาและภาพสะทอนสังคมในวรรณกรรมบันเทิงคดีของ
มกุฏ อรฤดี. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร,
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.

เน่ืองในโอกาสเกษียณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี : 77

ทิพยวรรณ สีสัน (2562). กลวิธีการใชภาษาและภาพสะทอ นวัฒนธรรมจากเพลงพื้นบานที่ปรากฏ
ในจังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
คณะมนษุ ยศาสตร, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.

นลินี อำพินธ (2557). ชื่อบานนามเมืองจังหวัดบุรีรัมย: กรณีศึกษาอำเภอพุทไธสง นาโพธิ์ และ
บานใหมไชยพจน.วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
คณะมนุษยศาสตร, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.

บุณยเสนอ ตรีวิเศษ (2559). พลังภาษาในวาทกรรมของเสกสรร ประเสริฐกุล.วิทยานิพนธปรัชญา
ดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.

ปย ะวัติ วังซา ย. (2557). สภาพการใชศ ัพทคำเมืองในเขตอำเภอเมอื งของจงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน.
วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาส ตร ,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ผูรับผิดชอบหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย. 2559. รายงานผลการดำเนินการ
ของหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย ประจำปก ารศึกษา 2558 (มคอ.7)
เมื่อวนั ท่ี 24 กรกฎาคม 2559. (ฉบับสำเนา)

มณฑกาญจน สิทธิสาร. (2557). การศึกษาราชาศัพทในหนังสือ “สาสนสมเด็จ”.วิทยานิพนธ
ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

วิทยา ปนแกว. (2561). การวิเคราะหกลวิธีทางภาษาและแนวคิดการดำเนินชีวิตในประชุมโคลง
สุภาษิตในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว.วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.

สุธาทิพย แหงบุญ. (2562). ความเปรียบสตรีในนวนิยายของกฤษณา อโศกสิน.วิทยานิพนธ
ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.

สุรียรัตน บำรุงสุข และสิริวรรณ นันทจันทูล. 2558. การศึกษาสถานภาพวิทยานิพนธหลักสูตร
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ทนุ สนับสนนุ การวจิ ัย คณะมนุษยศาสตร ปงบประมาณ 2558.

Maohai ZHONG. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบคำเรียกผีและการต้ังชื่อผีในวัฒนธรรมความเชื่อ
เรื่องผีของไทยกับจีน. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
คณะมนษุ ยศาสตร, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.

78 : “สมญานาม เกยี รตกิ อ งวรรณศลิ ป”

การเปรยี บเทียบหนา ท่ีและความหมายของคำในสมยั สุโขทยั กบั ปจจบุ ัน
A Comparison of Function and Meaning of Words
between Sukhothai and Present

วาภชั ตันตเิ วชวฒุ ิกลุ *
ศักดธิ ชั ฉมามหัทธนา*

Yuhua Fang*
Zhou Xianmei

บญุ เลศิ วิวรรณ



บทคดั ยอ

บทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบหนาที่และความหมายของคำในสมัยสุโขทัย
กับปจจุบัน ผลการศึกษาพบวา คำในสมัยสุโขทัยมีการเปลี่ยนแปลงหนาที่มาสูสมัยปจจุบัน
ใน 4 ลักษณะ คือ (1) การเปลี่ยนแปลงชนิดของหนวยคำจากหนวยคำอิสระเปนหนวยคำไมอิสระ
(2) การเปลย่ี นแปลงหนาท่ีจากคำกริยาเปนคำชวยหนากริยา (3) การเปล่ยี นแปลงหนาที่จากคำกริยา
เปนคำชวยหลังกริยา (4) การเปลี่ยนแปลงหนาที่จากคำกริยาเปนคำหนาจำนวน คำหลังจำนวน
คำกริยาวิเศษณ และคำเชื่อมอนุพากย สวนในดานความหมายพบวา คำในสมัยสุโขทัยมี
การเปลี่ยนแปลงความหมายมาสูสมัยปจจุบันใน 5 ลักษณะ ไดแก (1) ความหมายกวางออก
(2) ความหมายแคบเขา (3) ความหมายยายที่ (4) ความหมายสอไปในทางที่ดีขึ้น และ
(5) ความหมายสอไปในทางลบ

Abstract

This paper aimed to study a comparison of function and meaning of words
between Sukhothai and present. The finding shows that functions of words in
Sukhothai have been changed to present in 4 pathways: (1) the transition from a free
morpheme to a bound morpheme, (2) the transition from the verb to the pre-verbal
auxiliary, (3) the transition from the verb to the post-verbal auxiliary and (4) the
transition from verb to the pre-numeral quantifier, post-numeral quantifier, adverb and
clause linker. Semantically, meanings of words in Sukhothai have been changed to
present in 5 processes: (1) widening, (2) narrowing, (3) transference, (4) amelioration
and (5) pejoration.


นสิ ิตระดับศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร


ผชู วยศาสตราจารย ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร

เน่อื งในโอกาสเกษียณอายงุ าน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษม ณี : 79

บทนำ

ลักษณะสำคญั อยางหนึ่งของทกุ ภาษาที่ยังมีการใชอยูในสังคมมนุษย คอื “การเปล่ียนแปลง”
เพราะภาษาเปรียบเสมือนสิ่งมีชีวิตที่มีการเกิด แก เจ็บ ตาย อันเนื่องมาจากสาเหตุและปจจัยตาง ๆ
กลาวคือ เมื่อภาษามีการถูกสรางขึ้นและใชไปเปนระยะเวลานานภาษาก็เริ่มเกา ตอมาภาษานั้น ๆ
ก็จะไมเปนที่รูจัก จนอาจถึงกระทั่งไมมีผูใชอีกเลย หรือที่เราเรียกวาภาษาที่ตายแลว (dead
language) โดยการเปลี่ยนแปลงของภาษานั้นสามารถเกิดไดหลายรูปแบบ ดังที่ เมธาวี
ยุทธพงษธาดา (2555: 1) ไดกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงของภาษาไววา “ภาษาเปนสิ่งที่มี
การเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ การเปลี่ยนแปลงของภาษานั้นอาจเปนการเปลี่ยนแปลงของคำที่มีอยูเดิม
ในภาษา เชน การเปลี่ยนแปลงทางความหมายของคำ การใชคำในปริบทที่ตางไปจากเดิม
การเปลย่ี นแปลงหนา ที่ของคำ เปนตน ”

ผูวิจัยสังเกตเห็นวาคำหลายคำที่ปรากฏใชในจารึกสมัยสุโขทัยมีการเปลี่ยนแปลงหนาที่และ
ความหมายเมื่อเปรยี บเทียบกบั สมัยปจจบุ นั ยกตวั อยางเชน

“พอกูตายยังพี่กู กูพร่ำบำเรอแกพี่กู”
(จารกึ พอขนุ รามคำแหง ดา นท่ี 1)

จากตัวอยางขางตน คำวา “ยัง” ในสมัยสุโขทัยเปนคำกริยา มีความหมายวา “มีอยู”
แตในปจจุบันคำวา “ยัง” เปนคำชวยหนากริยา แสดงการณลักษณะคงอยู เชน เขายังนอนอยู และ
เปนคำบพุ บท เชน ไปยังบาน สว นคำวา “บำเรอ” ในสมัยสุโขทัยเปน คำกริยา มคี วามหมายโดยทั่วไป
วา “ปรนนิบัติ, รบั ใช” แตใ นปจ จุบนั คำดังกลา วถูกใชในความหมายเชิงลบ หมายถึง ปรนนิบัติใหเปน
ที่พอใจในเรื่องกามารมณ และเรียกหญิงที่ปรนนิบัติเชนนั้นวา “นางบำเรอ” นอกจากนี้ ยังปรากฏ
การใชค ำท่มี ีลักษณะแตกตางไปจากปจจบุ นั ดวย เชน คำวา “ก”ู ในสมยั สโุ ขทยั เปน คำสรรพนามบุรุษ
ที่ 1 ใชแทนตัวผูพูด สามารถใชไดโดยทั่วไปกับบุคคลธรรมดาและบุคคลที่มีสถานภาพทางสังคมสูง
อยางเชนพระมหากษัตริย แตในปจจุบันเปนคำไมสุภาพและใชเรียกแทนตัวผูพูดไดเฉพาะ
ในการสนทนากบั บุคคลที่สนทิ สนมกนั เทา น้ัน

ดวยลักษณะการเปลี่ยนแปลงของคำที่ปรากฏในจารึกสมัยสุโขทัยดังกลาว จึงทำใหผูวิจัย
สนใจศึกษาเปรียบเทียบหนาที่และความหมายของคำในสมยั สโุ ขทัยกับปจจุบัน ซึ่งสามารถทำใหเห็น
ววิ ฒั นาการและการเปลย่ี นแปลงของภาษาไทยในอดตี มาสปู จจบุ นั ได

วตั ถุประสงคการวิจยั

1. เพื่อศกึ ษาการเปล่ียนแปลงหนา ทข่ี องคำในสมัยสุโขทัยเม่ือเปรียบเทียบกบั สมัยปจจุบัน

2. เพือ่ ศึกษาการเปล่ียนแปลงความหมายของคำในสมยั สุโขทัยเมื่อเปรยี บเทยี บกบั สมยั ปจจบุ นั

80 : “สมญานาม เกียรตกิ องวรรณศลิ ป”

ขอบเขตการวิจัย

1. ศึกษาคำในจารึกสมัยสุโขทัยที่มีการเปลี่ยนแปลงหนาที่และความหมายเมื่อเปรียบเทียบกับ
คำในสมัยปจจุบันซึ่งปรากฏในพจนานุกรมฉบับมติชน พ.ศ. 2547 และพจนานุกรมฉบับ
ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554

2. ในการวิเคราะหหนาที่และความหมายของคำในสมัยสุโขทัย ผูวิจัยจะวิเคราะหจากรูปภาษา
และปริบททางภาษาทป่ี รากฏเทาน้นั

3. ในการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงหนา ที่และความหมายของคำในสมัยสุโขทัย ผูวิจัยจะนำคำ
ในสมัยดังกลาวมาวิเคราะหเปรียบเทียบกับคำในสมัยปจจุบันซึ่งปรากฏในพจนานุกรมฉบับ
มติชน พ.ศ. 2547 และพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554

วิธดี ำเนินการวิจัย
1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กยี่ วของกบั ภาษาในสมยั สุโขทยั ตลอดจนหนา ทแ่ี ละความหมาย
ของคำ
2. เก็บรวบรวมขอมูลจากจารึกสมัยสโุ ขทัยที่มีความสมบูรณและถูกบนั ทึกเปนลายลักษณอักษร
โดยใชภ าษาไทยและอักษรไทย จำนวน 7 หลกั ดงั น้ี
(1) จารึกพอขนุ รามคำแหง
(2) จารกึ นครชุม
(3) จารกึ วัดปา มะมว ง หลักที่ 1 และหลักที่ 2
(4) จารกึ วัดเขาสุมนกฏู
(5) จารึกวดั ชางลอม
(6) จารึกวัดศรีชมุ
(7) จารกึ วดั เขากบ
3. วิเคราะหหนาที่ของคำดวยหลักการจำแนกหมวดคำในภาษาไทยตามแนวทฤษฎีไวยากรณ
โครงสรางของ วิจินตน ภาณพุ งศ (2532)
4. วิเคราะหความหมายของคำตามปริบททางภาษาที่ปรากฏโดยพิจารณาประกอบกับ
วทิ ยานพิ นธการใชค ำและสำนวนในสมัยสโุ ขทัยของ ชวนพศิ อิฐรตั น (2518)
5. เปรียบเทียบหนาท่ีและความหมายของคำในสมัยสุโขทัยกับสมัยปจจุบันวามีความแตกตาง
อยางไร โดยพจิ ารณาหนา ท่ีและความหมายของคำในสมัยปจ จุบนั จากพจนานกุ รมฉบับมติชน
พ.ศ. 2547 และพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554
6. วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงหนา ทแี่ ละความหมายตามแนวคิดของ ปราณี กลุ ละวณิชย (2531)
7. นำเสนอผลการศึกษา สรปุ และอภิปรายผลแบบพรรณนาวเิ คราะห

เน่ืองในโอกาสเกษียณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษมณี : 81

แนวคดิ ที่เก่ยี วของ

1. แนวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ งกับการจำแนกหมวดคำ
แนวคิดกรอบประโยคทดสอบของ วิจินตน ภาณุพงศ (2532) สามารถใชจำแนกหมวดคำได

โดยอาศัยตำแหนงที่คำแตละคำปรากฏอยูเปนเกณฑสำคัญและไมนำความหมายมาเปนเกณฑใน
การพิจารณา ซึ่งเกณฑตำแหนงดังกลาวมีหลักการพิจารณาวา “คำที่เกิดในตำแหนงเดียวกันได
จะจัดเปนคำชนิดเดียวกัน” หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “คำในหมวด (Class) เดียวกัน” ทั้งนี้เนื่องจาก
ตำแหนงกับหนาที่ของคำมีความเกี่ยวของกัน หากคำสามารถปรากฏในตำแหนงเดียวกันก็ยอม
มหี นา ที่อยา งเดยี วกัน

2. แนวคิดทเ่ี กยี่ วขอ งกับการเปลยี่ นแปลงความหมายของคำ
ในการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงความหมายของคำในสมัยสุโขทัยเมื่อเปรียบเทียบ กับสมัย

ปจ จุบนั ผวู จิ ัยไดปรับใชแนวคิดของ ปราณี กุลละวณิชย (2531) ซึ่งมีรายละเอยี ดดงั น้ี
2.1 ความหมายกวางออก (Widening)
การเปลี่ยนแปลงความหมายในลักษณะน้ีทำใหค ำมีความหมายกวางออกไปจากเดมิ

เชน คำวา “ยัง” ที่สมัยกอนแปลวา “มีอยู, มีชีวิตอยู” ในประโยควา “ทุนทรัพยของผูยังรวม
กับของผูตาย” แตในปจจุบันคำวา “ยัง” มีความหมายเพิ่มขึ้นแปลวา “คงอยู” ไดดวย เชน
“เศรษฐกิจยังมีสญั ญาณฟนตัวชัดเจน” เปนตน

2.2 ความหมายแคบเขา (Narrowing)
การเปลี่ยนแปลงความหมายเชนนี้ทำใหความหมายของคำมีขอบเขตลดลง เชน
คำวา “ขบ” เดิมมีความหมายวา “กัด” เปนคำกริยาที่ปรากฏใชไ ดกับสัตว เชน งูขบ หมาขบ
แตในภาษาไทยมาตรฐานปจจุบัน คำวา “ขบ” มีความหมายถึงกิริยาที่เฉพาะมากขึ้น คือ
ใชฟ น เนน เพื่อใหแ ตก เชน ขบเมลด็ แตงโม เปนตน
2.3 ความหมายยา ยที่ (Transference)
การเปลี่ยนแปลงความหมายดังกลาวทำใหความหมายเดิมของคำสูญหายไป
และคำนัน้ ไดถูกกำหนดความหมายใหมข้ึน เชน คำวา “แพ” ทเ่ี ดิมแปลวา “ชนะ” ในตัวอยาง
“ตนกูพุงชางขุนสามชนตัวชื่อมาสเมืองแพ ขุนสามชนพายหนี” แตในปจจุบัน คำวา “แพ”
กลับมีความหมายวา “สูไมได, ทนไมได” ตรงกันขามกับ “ชนะ” เปนตน (ราชบัณฑิตยสถาน,
2546: 849)
2.4 ความหมายสอ ไปในทางท่ีดีข้นึ (Amelioration)
การเปลี่ยนแปลงความหมายในลักษณะนี้ หมายถึง คำที่เดิมเคยมีความหมาย
เปนกลางหรือความหมายในเชิงลบ มีความหมายเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น เชน คำวา “เหยา”
ในจารึกพอขุนรามคำแหง มีความหมายวา “ที่อยูอาศัย” แตในภาษาไทยมาตรฐานปจจุบัน

82 : “สมญานาม เกยี รติกอ งวรรณศลิ ป”

คำวา “เหยา” มีความหมายวา “ถิ่นกำเนิด” ซึ่งแฝงความรูสึกอบอุนไวดวย เชน ในวลี “คืนสู
เหยา” เปนตน

2.5 ความหมายสอ ไปในทางลบ (Pejoration)
การเปลย่ี นแปลงความหมายเชนนี้ หมายถงึ คำทเ่ี ดมิ เคยมีความหมายเปนกลางหรือ
มีความหมายในเชิงบวก เปลี่ยนไปมีความหมายในเชิงลบ เชน คำวา “มัก” ในจารึกพอขุน

รามคำแหง มีความหมายวา “ชอบ” แตในภาษาไทยมาตรฐานปจจุบัน คำวา “มัก”
มีความหมายในเชงิ ลบ เชน “เขามกั มาก” ซงึ่ ในท่ีนี้มคี วามหมายวา “โลภ” เปนตน

การเปล่ยี นแปลงหนา ทข่ี องคำในสมยั สุโขทยั สปู จ จุบัน

จากการวิเคราะหขอมูล คำในสมัยสุโขทัยเปรียบเทียบกับคำในสมัยปจจุบัน
พบการเปลยี่ นแปลงหนา ท่ใี น 4 ลักษณะ ซ่งึ มรี ายละเอยี ดดังนี้

1. การเปล่ยี นแปลงชนดิ ของหนว ยคำจากหนวยคำอิสระเปน หนว ยคำไมอิสระ
หนวยคำอิสระ (Free morpheme) คือ หนวยคำที่ปรากฏตามลำพังได หรือปรากฏรวมกับ

หนวยคำไมอิสระเพื่อใหหนวยคำนั้นสามารถใชในภาษาได สวนหนวยคำไมอิสระ (Bound
morpheme) คือ หนวยคำที่ไมสามารถปรารกฏตามลำพังได ตองปรากฏรวมกับหนวยคำอื่น
(วินัย ภูระหงษ, 2531: 67) ซึ่งตัวอยางคำในสมัยสุโขทัยที่มีการเปลี่ยนแปลงชนิดของหนวยคำ
ในลักษณะดังกลาว เชน

ตัวอยางท่ี 1 ไพรฟาหนา ปกกลางบานกลางเมืองมีถอยมีความ เจ็บทองขอ งใจ
มนั จกั กลาวเถิงเจาเถงิ ขุนบไร ไปส่นั กะดิ่งอันทา นแขวนไวพ อขนุ รามคำแหงเจา เมืองได
(จารึกพอขนุ รามคำแหง ดา นท่ี 1)

จากตัวอยางที่ 1 คำวา “ความ” ในสมัยสุโขทัย เปนหนวยคำอิสระ เพราะปรากฏใชตาม
ลำพังได โดยมีความหมายวา “เรื่อง” แตในปจจุบัน คำวา “ความ” ที่เปนหนวยคำอิสระนั้นปรากฏ
ใชนอยลง และปรากฏใชเปนหนวยคำไมอิสระแทน โดยทำหนาที่เปนคำผสานเทียมหนวยหนาศัพท
ตอมาคำดงั กลาวยังปรากฏใชหนา คำกริยาหรือคำวิเศษณเ พื่อแสดงสภาพ เรยี กวาตวั บง ช้นี ามวลีแปลง
(Nominalizer) เชน คำวา ความทกุ ข ความตาย ความรัก เปนตน (ภีมพสษิ ฐ เตชะราชันย, 2558)

2. การเปล่ียนแปลงหนา ท่จี ากคำกริยาเปนคำชว ยหนากริยา
คำชวยหนากริยา คือ คำที่ปรากฏหนาคำกริยาเพื่อชวยคำกริยาอื่นใหไดความหมาย

ท่ีชดั เจนขึ้น ซ่งึ คำในสมยั สโุ ขทัยทมี่ ีการเปลีย่ นแปลงหนาท่จี ากคำกริยาเปนคำชว ยหนากริยา เชน

ตวั อยา งที่ 2 พอ กูตายยงั พกี่ ู กูพร่ำบำเรอแกพ กี่ ดู ัง่ บำเรอแกพอกู
(จารึกพอขนุ รามคำแหง ดานที่ 1)

เน่ืองในโอกาสเกษยี ณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษม ณี : 83

ตัวอยางที่ 3 เม่อื พระเปน เจาไดเ ปน พระพทุ ธ วนั นั้นชนมาพิธเี ราคนนี้ยงั ในรอยปเ ลย
(จารกึ นครชุม ดา นท่ี 1)

จากตัวอยางที่ 2 และ 3 คำวา “ยัง” ในสมัยสุโขทัย เปนคำกริยา มีความหมายวา “มีชีวิต
อยู” แตในปจ จุบัน คำวา “ยงั ” ทำหนา ทเี่ ปนคำชว ยหนากริยา แสดงการณลักษณะคงอยู เชน เขายัง
อยใู นบา น เปน ตน

3. การเปลี่ยนแปลงหนาทจี่ ากคำกรยิ าเปน คำชว ยหลงั กรยิ า
คำชวยหลังกริยา คือ คำที่ปรากฏหลังคำกริยาเพื่อชวยคำกริยาอื่นใหไดความหมาย

ที่ชัดเจนขึ้น ซึ่งคำในสมัยสุโขทัยที่เปลี่ยนแปลงหนาที่จากคำกริยาเปนคำชวยหลังกริยา ไดแก คำวา

“อยู” และคำวา “แลว” โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

ตัวอยา งท่ี 4 เบือ้ งหวั นอนเมอื งสุโขทัยนีม้ ีกุฎี มีพิหาร ปูครูอยู
(จารึกพอขนุ รามคำแหง ดา นท่ี 3)

จากตัวอยางที่ 4 คำวา “อยู” ทำหนาที่เปนคำกริยา มีความหมายวา “พัก, อาศัย”
แตในปจจุบัน คำวา “อยู” มีการเปลี่ยนแปลงหนาที่เปนคำชวยหลังกริยา ใหความหมายวากำลังทำ
กิริยานั้น ๆ และแสดงการณลักษณะดำเนินอยู เชน นอนอยู ตั้งอยู เปนตน (ราชบัณฑิตยสถาน,
2556: 1376)

ตัวอยา งที่ 5 กอ พระเจดียเหนือหกเขาจงึ่ แลว ตงั้ เวยี งผาลอมพระมหาธาตุสามเขาจ่งึ แลว
(จารกึ พอขุนรามคำแหง ดานท่ี 4)

จากตวั อยางที่ 5 คำวา “แลว ” ในสมัยสุโขทยั ทำหนา ท่เี ปนคำกริยา มคี วามหมายวา “เสร็จ
สิ้น” แตในปจจุบัน คำวา “แลว” ทำหนาที่เปนคำชวยหลังกริยา ใหความหมายวา “ผานพน, ลุลวง,
เสร็จสิน้ ” และแสดงการณล ักษณะสมบรู ณ เชน ไปแลว ทำแลว คนื แลว เปนตน (ราชบัณฑิตยสถาน,
2556: 1088)

4. การเปลี่ยนแปลงหนาที่จากคำกริยาเปนคำหนาจำนวน คำหลังจำนวน คำกริยาวิเศษณ
และคำเชื่อมอนพุ ากย
คำในสมัยสุโขทัยที่เปลี่ยนแปลงหนาที่จากคำกริยาเปนคำหนาจำนวน คำหลังจำนวน

คำกริยาวเิ ศษณ และคำเช่ือมอนพุ ากย เชน

ตัวอยา งท่ี 6 ลูกเจาลูกขุนผูใดแลลมตายหายกวา เหยาเรือนพอเชื้อเสื้อคำมันชางขอลูกเมีย
เยียขา ว
ไพรฟา ขาไทย ปา หมากปาพลพู อเช้ือมันไวแกล กู มัน
(จารึกพอขุนรามคำแหง ดานที่ 1)

84 : “สมญานาม เกียรติกอ งวรรณศลิ ป”

จากตัวอยางที่ 6 คำวา “กวา” ในสมัยสุโขทัย ทำหนาที่เปนคำกริยา มีความหมายวา

“ไปจาก” แตใ นปจจบุ นั คำวา “กวา” ทำหนาที่เปน คำหนา จำนวนหรือคำหลงั จำนวนมีความหมายวา

“เกิน” เชน กวาสิบบาท, เขาซื้อผามา 2 เมตรกวา ทำหนาที่เปนคำกริยาวิเศษณมีความหมายวา
“ยงิ่ หรือหยอน” เชน ดีกวา , นอ ยกวา และทำหนาท่ีเปนคำเชื่อมอนุพากย เชน กวาถั่วจะสุกงาก็ไหม
(ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2556: 84)

การเปลี่ยนแปลงความหมายของคำในสมัยสุโขทยั สูปจ จุบนั

จากการวิเคราะหขอมูล คำในสมัยสุโขทัยเปรียบเทียบกับคำในสมัยปจจุบัน
พบการเปลี่ยนแปลงความหมายใน 5 ลกั ษณะ ซ่ึงมีรายละเอยี ดดงั นี้

1. ความหมายกวางออก (Widening)
แมคำในสมัยสุโขทัยหลายคำจะเปนคำที่ไมมีผูใชแลวในปจจุบัน แตบางคำก็ยังมีการใชอยู

โดยขยายขอบเขตความหมายใหก วา งขนึ้ กวา เดิม ซึ่งผูวจิ ัยพบคำทมี่ ลี ักษณะดังกลา ว เชน

ตัวอยา งท่ี 7 กูไดต วั เนอื้ ตวั ปลา กูเอามาแกพ อกู

(จารึกพอขุนรามคำแหง ดานท่ี 1)

จากตัวอยางขางตน คำวา “ตัว” เปนหนวยคำหลักของคำประสม ตัวเนื้อตัวปลา
ซึ่งมีความหมายที่เกี่ยวกับสัตว โดยในปริบทนี้หมายถึง “สัตวบก” และ “สัตวน้ำ” นอกจากนี้ยังพบ

คำวา “ตวั ” ทีม่ คี วามหมายวา “มีรางกาย มีชวี ติ หรอื สงิ่ ทีม่ ีชวี ติ อยู” ดังตัวอยางตอ ไปนี้

ตัวอยางท่ี 8 เพอ่ื จกั ... จุง เปน พระพทุ ธ จงุ เอาฝูงสตั วทง้ั หลายขามสงสารทุกขนี้

จงุ ... นอยา วาจักฆา ผฆู าคนเลยซือ ... ฆาอันใดอนั ยงั เปนตวั
(จารึกวดั ปามะมว ง หลกั ที่ 1 ดานท่ี 1)

เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับคำวา “ตัว” ในสมัยปจจุบัน พบวาคำดังกลาวมีขอบเขต

ความหมายที่กวางขึ้นกวาสมัยสุโขทัย โดยมีความหมายวา “รูป, ตน, ตนเอง” ใชเรียกแทนคน สัตว

หรือสิ่งของบางอยาง เชน ตัวหนังสือ ตัวอักษร ใชเปนคำสรรพนาม หมายถึง “ผูที่เราพูดดวย”
เชน ตัวจะไปไหน ใชเปนคำลักษณนามเรียกสัตวหรือสิ่งของบางอยาง เชน มา 2 ตัว, เสื้อ 3 ตัว
และใชเรียกเลขในทางคณิตศาสตร เชน ตัวบวก ตัวลบ ตัวหาร ตัวคูณ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556:
486, 488)

ตัวอยางท่ี 9 กลางเมอื งสุโขทยั นม้ี ีน้ำตระพงั โพยสใี สกินดี

(จารกึ พอขนุ รามคำแหง ดานที่ 2)

เนอื่ งในโอกาสเกษยี ณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษม ณี : 85

จากตัวอยางที่ 9 คำวา “กิน” มีความหมายวา “ดื่ม, บริโภค” ซึ่งในปจจุบัน คำวา “กิน”
มขี อบเขตความหมายท่ีกวา งข้ึนกวาสมัยสโุ ขทัย โดยยงั คงใหค วามหมายเดมิ วา “เคี้ยว, บริโภค, กลืน,
ดื่มเขาไป” และใหความหมายใหม ไดแก “เปลือง” เชน กินเงิน กินเวลา กินน้ำมัน “รับเอา”
เชน กินสนิ บน และ “ชนะการพนันบางอยาง” (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556: 128)

ตวั อยา งที่ 10 เบอื้ งตะวันโอกเมืองสุโขทัยน้มี พี ิหาร มปี คู รู มีทะเลหลวง มปี า หมากปา พลู
มไี ร มนี า มีถิ่นถาน มบี านใหญบ า นเลก็ มีปา มวง มีปา ขาม ดงู ามดงั แกลง
(จารึกพอขนุ รามคำแหง ดา นที่ 2)

จากตัวอยา งท่ี 10 คำวา “หลวง” มีความหมายวา “ใหญ” ในปรบิ ทนหี้ มายถึง “ทะเลใหญ”
หรือ “มหาสมุทร” ซึ่งในปจจุบัน คำวา “หลวง” มีการขยายความหมายเปน “พระเจาแผนดิน”
เชน ในหลวง “เปนใหญ” เชน ภรรยาหลวง “สิ่งที่เปนของพระเจาแผนดิน” เชน วังหลวง
“สาธารณะ” เชน ทางหลวง “บรรดาศักดิ์ขาราชการสูงกวาขุน ต่ำกวาพระ” เชน หลวงวิจิตร-
วาทการ และใชเปนคำเรียกพระภิกษุโดยความเคารพ เชน หลวงพอ หลวงพี่ (ราชบัณฑิตยสถาน,
2556: 1311-1312)

2. ความหมายแคบเขา (Narrowing)

จากการศึกษาเปรียบเทียบขอมูลคำในจารึกสมัยสุโขทัยกับปจจุบัน พบคำสมัยสุโขทัย
ทย่ี งั ปรากฏใชในปจจุบนั โดยมีขอบเขตความหมายท่แี คบลง ซึ่งมรี ายละเอยี ดดังนี้

ตัวอยางที่ 11 กไู ปทอบานทอ เมือง ไดชา งไดง วง ไดป ว ไดน างไดเงอื นไดทอง กเู อามาเวนแกพอกู
(จารึกพอขนุ รามคำแหง ดา นท่ี 1)

จากตัวอยางที่ 11 คำวา “เวน” มีความหมายวา “ถวาย, มอบให” โดยสามารถใชไดกับ
ส่ิงของตา ง ๆ แตในปจ จุบนั คำวา “เวน” ปรากฏใชในปริบททแี่ คบลง โดยใหความหมายวา มอบหรือ
ยายโอนในอาการที่สละกรรมสิทธิ์ซึ่งมีอยูในขณะนั้น เชน เวนราชสมบัติ และใชในปริบทที่เกี่ยวกับ
ทด่ี นิ หรอื อสังหาริมทรัพยเทา นนั้ เชน ในคำวา เวนคนื (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556: 1129)

ตวั อยา งที่ 12 พก่ี ตู าย จึงไดเมอื งแกกทู ั้งกลม

(จารกึ พอขุนรามคำแหง ดานท่ี 1)

จากตัวอยางที่ 12 คำวา “ท้งั กลม” มีความหมายวา “ทง้ั หมด” ปรากฏใชใ นปริบทท่ีเกี่ยวกับ
สิ่งของตาง ๆ โดยทั่วไป แตในปจจุบัน คำวา “ ทั้งกลม” มีปริบทการใชที่แคบลง โดยใชเรียกหญิง
ท่ีตายพรอมกับลูกทอ่ี ยใู นทอง วา ตายท้งั กลม คือ ตายทั้งหมด (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556: 559)

86 : “สมญานาม เกยี รตกิ อ งวรรณศลิ ป”

ตวั อยางที่ 13 เมอื งสโุ ขทยั นม้ี ีกุฎี พิหาร ปคู รอู ยู มีสรดี ภงส มปี าพราวปาลาง มีปามวงปาขาม
มีนำ้ โคก มีพระขพุงผี เทพดาในเขาอนั น้นั เปนใหญกวา ทุกผีในเมอื งนี้

(จารึกพอขุนรามคำแหง ดา นท่ี 1)

ตัวอยางท่ี 14 ไดยอผพี ่ีอา ยพี่ยี ยอผีพ่ีเอื้อย ยอผลี กู ผหี ลานผเู ถาผแู กแ หงตนอันมาฝาก
ผีตะไภยอโสดแตอ วยทาน”
(จารกึ วัดชางลอม ดานท่ี 2)

จากตัวอยางที่ 13 และ 14 คำวา “ผี” มีความหมายวา “เทวดา, สิ่งศักดิ์สิทธิ์, วิญญาณ
ผูลวงลับหรือบรรพบุรุษ” ซึ่งเปนความหมายที่ครอบคลุมทั้งผีที่ใหคุณและผีที่ใหโทษ แตในปจจุบัน
คำวา “ผี” มขี อบเขตความหมายทแี่ คบลง โดยใชเ รยี กผที ่ีไมด หี รอื ใหโ ทษแกมนษุ ยเทา นนั้ เชน ผีปอบ
ผดี บิ ผีกระสอื เปน ตน

3. ความหมายยายที่ (Transference)

จากการศึกษาขอมลู คำในจารึกสมัยสโุ ขทยั ผวู จิ ยั พบคำทสี่ ญู ความหมายเดิม และถกู นำมาใช
ในปจจุบันดวยความหมายใหม ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงความหมายที่เรียกวาความหมายยายท่ี
ตวั อยา งเชน

ตวั อยางที่ 15 ตนกพู ุง ชางขนุ สามชนตัวช่ือมาสเมืองแพ ขนุ สามชนพา ยหนี”
(จารึกพอขุนรามคำแหง ดา นที่ 1)

จากตัวอยางที่ 15 คำวา “แพ” ในสมัยสุโขทัย มีความหมายวา “ชนะ” แตในปจจุบัน คำวา
“แพ” มีความหมายยายที่ หมายถึง “สูไมได, ทนไมได” ตรงกันขามกับ “ชนะ” (ราชบัณฑิตยสถาน,
2556: 849)

ตัวอยางที่ 12 เบื้องตะวันโอกเมืองสุโขทยั น้มี ีพหิ าร มปี ูครู มที ะเลหลวง มีปา หมากปาพลู
มีไร มีนา มีถิน่ ฐาน มบี า นใหญบ า นเล็ก มปี ามว ง มีปาขาม ดูงามดังแกลง
(จารึกพอขนุ รามคำแหง ดา นท่ี 2)

จากตัวอยางที่ 16 คำวา “แกลง” ในสมัยสุโขทัย มีความหมายวา “ตั้งใจ” แตในปจจุบัน
คำดังกลาวถกู ใชในความหมายวา “แสรง ” เชน เขาแกลงทำเปน ปวดฟน หรือ “ทำสง่ิ ใดสงิ่ หนง่ึ เพ่อื ให
ผอู น่ื เดอื ดรอนเสยี หาย” เชน เขาแกลงใสร ายฉัน (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2556: 154)

ตัวอยางท่ี 17 ในปชวด เดือน 6 บวรณมีพทุ ธพาร พนมไสดำเอาใจตงั้
สบรรธาหรรษาดิเรกอเนกไมตรีศรสี ักยะ เพ่อื จกั ใครข า มจากสงสาร

(จารกึ วดั ชางลอ ม ดานที่ 1)

เน่อื งในโอกาสเกษยี ณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษม ณี : 87

จากตัวอยางที่ 17 คำวา “สงสาร” เปนคำยืมภาษาบาลีสันสกฤตวา สํสาร ซึ่งเดิมแปลวา
“การเวียนวายตายเกิด” แตในปจจุบันใชในความหมายวา “รูสึกเห็นใจในความเดือดรอนหรือ
ความทุกขของผอู ื่น, รูสกึ หว งใยดว ยความเมตตากรุณา” (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2556: 1156)

4. ความหมายสอไปในทางที่ดขี นึ้ (Amelioration)

จากการศึกษาเปรียบเทียบขอมูลคำในจารึกสมัยสุโขทัยกับปจจุบัน ผูวิจัยพบคำในสมัย
สโุ ขทยั ท่ยี งั ปรากฏใชใ นปจจุบันโดยใหความหมายทดี่ ขี ึน้ กวาความหมายด้งั เดมิ ตวั อยางเชน

ตัวอยางที่ 18 ลกู เจาลูกขนุ ผใู ดแลลม ตายหายกวา เหยา เรอื นพอเช้อื เส้อื คำมันชางขอลกู เมียเยียขาว
ไพรฟ าขาไทย ปาหมากปาพลพู อเช้อื มนั ไวแ กล กู มัน
(จารึกพอขนุ รามคำแหง ดานที่ 1)

จากตัวอยางที่ 18 คำวา “เหยา” ใหความหมายวา “บานเรือน, ที่อยูอาศัย” แตในปจจุบัน
ปจจุบัน คำวา “เหยา” ใหความหมายวา “ถิ่นกำเนิด” ซึ่งเปนความหมายเชิงบวกที่แฝงความรูสึก
อบอนุ ไวดวย เชน ในวลี “คืนสูเ หยา” เปน ตน (ปราณี กุลละวณชิ ย, 2531: 430)

5. ความหมายสอ ไปในทางลบ (Pejoration)

จากการศึกษาเปรียบเทียบขอมูลคำในจารึกสมัยสุโขทัยกับปจจุบัน ผูวิจัยพบคำในสมัย
สุโขทัยที่เดิมมีความหมายเปนกลางหรือมีความหมายในเชิงบวก แตเมื่อปรากฏใชในปจจุบันกลับ
เปล่ียนไปมีความหมายในเชิงลบ ตัวอยางเชน

ตัวอยา งที่ 19 พอ กหู นีญญา ยพายจแจน กบู ห นี

(จารึกพอขุนรามคำแหง ดานที่ 1)

จากตัวอยางที่ 19 คำวา “กู” เปนคำสรรพนามบุรุษที่ 1 หมายถึงพอขุนรามคำแหง ทำให
ทราบวาในสมัยสุโขทัย คำวา “กู” สามารถใชในปริบทชีวิตประจำวันโดยทั่วไป และบุคคลที่มี
สถานภาพทางสังคมสูงอยางพระเจาแผนดินสามารถใชเรียกแทนตัวเองได แตในปจจุบัน คำวา “กู”
มีความหมายที่สอไปในทางลบ กลาวคือ ใชเปนคำสรรพนามบุรุษที่ 1 หมายถึงตัวผูพูดได
แตไมส ามารถใชในปริบทการสนทนากบั บคุ คลที่ไมสนิทสนมกันได เพราะถอื วาเปน คำไมส ภุ าพ

ตวั อยางที่ 20 พาทยคหู นึ่งใหขาสองเรอื นตีบำเรอแกพระเจา

(จารึกวัดชางลอม ดานท่ี 2)

จากตัวอยางที่ 20 คำวา “บำเรอ” มีความหมายที่ใชโดยทั่วไปวา “ปรนนิบัติ, รับใช” แตใน
ปจจุบัน คำวา “บำเรอ” มคี วามหมายทส่ี อไปในทางลบ โดยปรากฏใชคำดังกลาวในปริบทท่ีเก่ียวของ

88 : “สมญานาม เกียรตกิ อ งวรรณศลิ ป”

กับความพอใจในทางกามารมณเทานั้น และใชเรียกหญิงที่ปรนเปรอเฉพาะชายคนใดคนหนึ่งในทาง
กามารมณโ ดยมไิ ดอยใู นฐานะภรรยาวา “นางบำเรอ” (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2556: 672)

ตวั อยา งท่ี 21 ใครจักมักเลน เลน ใครจกั มักหวั หวั ใครจกั มกั เลือ้ น เล้ือน
(จารึกพอขนุ รามคำแหง ดา นที่ 2)

จากตัวอยางที่ 21 คำวา “มัก” มีความหมายโดยทั่วไปวา “ชอบ, พอใจ” แตในปจจุบัน
มคี วามหมายวา “โลภมาก, ปรารถนามาก” ซึ่งเปน ความหมายทสี่ อไปในทางลบ และปรากฏใชเ ฉพาะ
ในปรบิ ทท่เี กย่ี วขอ งกับกามคณุ เชน เขามกั มาก เปน ตน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556: 895)
ตวั อยา งท่ี 22 เสวยราชยชอบดว ยทศพิธราชธรรม รปู ราณแี กไพรฟ าขา ไทยทัง้ หลาย

เหน็ ขา วทานบใครพนิ เหน็ สินทา นบใครเดือด
(จารึกวดั ปามะมวง หลักที่ 1 ดา นท่ี 1)

จากตัวอยางที่ 22 คำวา “ใคร” มีความหมายวา “อยาก, ตองการ, ประสงค” แตในปจจุบัน
คำวา “ใคร” มีความหมายที่สอไปในทางลบ โดยใชในปริบทที่เกี่ยวกับความตองการทางกามารมณ
เชน การสำเร็จความใคร เปน ตน

ตวั อยา งที่ 23 หากเอาพระศรรี ตั นมหาธาตุอนั นีม้ าสถาปนาในเมืองนครชุมน้ปี น ้นั
พระมหาธาตุอนั นีใ้ ชธาตอุ นั สามานย คอื พระธาตแุ ทจ รงิ แล
(จารกึ นครชุม ดา นที่ 1)

จากตวั อยา งท่ี 23 คำวา “สามานย” ถูกใชใ นความหมายวา “ธรรมดา, ท่ัวไป” แตในปจ จุบัน
คำวา “สามานย” กลับมีความหมายสอไปในทางลบ หมายถึง “เลวทรามต่ำชา เชน ลูกสามานยทำ
รายพอแม, มักใชเ ขา คูกับคำ ชั่วชา เปน ชั่วชา สามานย” (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556: 1218)

ตวั อยา งที่ 24 พอขนุ รามคำแหงเจาเมืองไดย ิน
เรยี กเมือถามสวนความแกม ันดวยซื่อ ไพรในเมืองสุโขทัยจง่ึ ชม
(จารกึ พอขนุ รามคำแหง ดานท่ี 1-2)

จากตัวอยางที่ 24 คำวา “ไพร” มีความหมายทั่วไปวา “ประชาชน” แตในปจจุบัน คำวา
“ไพร” มคี วามหมายสอไปในทางลบ โดยหมายถึง “คนทไ่ี มใ ชผูด ี” และ “มีฐานะหรอื มกี ิริยามารยาท
ต่ำทราม” ซึง่ ความหมายดังกลาวแฝงไปดวยความรสู กึ เหยยี ดหยาม (มติชน, 2547: 638)

เนอื่ งในโอกาสเกษียณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รักษม ณี : 89

สรุปและอภิปรายผล

จากการศึกษาเปรียบเทียบหนาที่และความหมายของคำในสมัยสุโขทัยกับปจจุบันพบวา
คำในสมัยสุโขทัยมีการเปลี่ยนแปลงหนาที่มาสูสมัยปจจุบันใน 4 ลักษณะ คือ (1) การเปลี่ยนแปลง
ชนิดของหนวยคำจากหนวยคำอิสระเปนหนวยคำไมอิสระ (2) การเปลี่ยนแปลงหนาที่จากคำกริยา
เปนคำชวยหนากริยา (3) การเปลี่ยนแปลงหนาที่จากคำกริยาเปนคำชวยหลังกริยา
(4) การเปลี่ยนแปลงหนาที่จากคำกริยาเปนคำหนาจำนวน คำหลังจำนวน คำกริยาวิเศษณ
และคำเชื่อมอนุพากย สวนในดานความหมายพบวา คำในสมัยสุโขทัยมีการเปลี่ยนแปลงความหมาย
มาสูสมัยปจจุบันใน 5 ลักษณะ ไดแก (1) ความหมายกวางออก (2) ความหมายแคบเขา
(3) ความหมายยา ยที่ (4) ความหมายสอไปในทางท่ีดขี นึ้ และ (5) ความหมายสอไปในทางลบ

การเปลี่ยนแปลงหนาที่และความหมายในลักษณะดังกลาวแสดงใหเห็นวา การเปลี่ยนแปลง
ของภาษาเปนปรากฏการณทั่วไปที่เกิดขึ้นไดในทุกภาษาที่ยังไมตาย (Living language) กลาวคือ
เปนภาษาที่ยังมีการใชอยูในชีวิตประจำวัน ทั้งนี้สาเหตุสำคัญซึ่งสงผลใหภาษาเกิดการเปลี่ยนแปลง
อยางเห็นไดชัดก็คือ “กาลเวลา” ดังที่ ปราณี กุลละวณิชย (2531: 374) ไดกลาวไววา “ถาภาษาใด
ยังไมต ายภาษานัน้ ก็จะตอ งมีการเปลย่ี นแปลงไปตามกาลเวลา” และเนอื่ งจากกาลเวลาเปน ปจ จัยหลัก
ในการเปลี่ยนแปลงของภาษา ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงดังกลาวจึงไมไดเกิดขึ้นกับทุกสวนของภาษา
โดยฉับพลันทันที แตเกิดอยางมีวิวัฒนาการ (Evolution) ซึ่งหมายถึง การเปลี่ยนแปลงนั้นเกิดกับ
บางสวนของภาษาอยางคอยเปนคอยไป โดยในชวงเวลาที่ใกลเคียงกัน สวนที่เปลี่ยนแปลงก็มีนอย
จนอาจไมเปน ที่สังเกต สวนท่ีเปลย่ี นแปลงก็มีมากจนสามารถสังเกตเหน็ ไดชดั

นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงหนาที่และความหมายของคำในสมัยสุโขทัยมาสูปจจุบัน
ยังมีสาเหตุมาจากการที่คำบางคำมีความหมายแกนที่เอื้อใหสามารถทำหนาที่ทางไวยากรณไดหลาย
ลกั ษณะ และเปนปกตทิ ีผ่ ูคนจะใชประโยชนจ ากส่งิ ท่ีมีอยูแลวใหไดมากทสี่ ุดรวมถึงในแงของการใชคำ
ในภาษาดวย (เพยี รศิริ วงศว ิภานนท, 2531: 312) ตวั อยางเชน คำวา “กวา” ในสมยั สุโขทยั ทำหนาท่ี
เปนคำกริยา โดยความหมายแกนของคำนี้แสดงถึงการเคลื่อนที่ที่กาวพนหรือลวงเลยไป ดังนั้น
ความหมายแกนดังกลาวจึงเอื้อใหคำวา “กวา” สามารถทำหนาที่ไดหลากหลายขึ้น จนปจจุบันคำวา
“กวา” กลายเปนคำหลายความหมาย (Polyseme) โดยสามารถทำหนาที่เปนไดทั้งคำหนาจำนวน
คำหลังจำนวน คำกริยาวิเศษณ และคำเชื่อมอนุพากย อีกตัวอยางที่เห็นไดชัดเจน คือ คำวา “กิน”
ซึ่งในสมัยสุโขทัยเปนคำกริยา หมายถึง “ดื่ม, บริโภค” แตในปจจุบันไดขยายความหมายออกไปเปน
“บริโภค, สิ้นเปลือง, ทำใหหมดไป, ทำใหหมดเปลือง, รับเอา, ชนะการพนัน” และ “มีเพศสัมพันธ”
ซึ่งความหมายของคำวา “กิน” ที่ขยายออกไปนี้ มีความเกี่ยวของกันโดยแสดงความหมาย
เชงิ มโนทศั น (Conceptual meaning) รว มกัน

90 : “สมญานาม เกยี รติกองวรรณศลิ ป”

การเปลี่ยนแปลงหนาที่และความหมายของคำเปนเพียงปรากฏการณหนึ่งที่เกิดข้ึน
ในภาษาไทย ผูที่เกี่ยวของกบั ภาษาไทยจำเปนอยา งย่ิงที่จะตอ งติดตามปรากฏการณดังกลาวในแงมมุ
ตาง ๆ อยางลึกซึ้ง เพราะการเปลี่ยนแปลงของภาษาเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง
ตราบเทาที่ภาษายังมีการใชอยูในชีวิตประจำวัน อีกทั้งการศึกษาปรากฏการณนี้จะชวยช้ี ใหเห็นถึง
ประวัติศาสตรดานภาษาซึ่งสามารถสะทอนใหเห็นที่มาและความแตกตางระหวางการใชภาษาไทย
ในอดีตกับปจจุบัน ยิ่งไปกวานั้นยังชี้ใหเห็นแนวโนมของการเปลี่ยนแปลงทางภาษาที่อาจจะเกิดข้ึน
ตอไปในอนาคตดวย

เอกสารอางอิง

ชวนพิศ อิฐรัตน. 2518. การใชคำและสำนวนในสมัยสุโขทัย. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าภาษาไทย ภาควชิ าภาษาไทย, จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั .

ปราณี กุลละวณิชย. 2531. หนวยที่ 14 การเปลี่ยนแปลงของภาษา, น. 369-438. ใน เอกสาร
การสอนชุดวิชาภาษาไทย 3 หนวยที่ 7-15 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พิมพครั้งที่
3. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช.

เพียรศิริ วงศวิภานนท. 2531. หนวยที่ 13 ความหมาย, น. 287-368. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา
ภาษาไทย 3 หนวยที่ 7-15 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พิมพครั้งที่ 3. นนทบุรี:
มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.

เมธาวี ยุทธพงษธาดา. 2555. การขยายหนาที่และความหมายของคำวา “ตัว” ตั้งแตสมัยสุโขทัย
ถึง พ.ศ. 2551. วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย,
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.

ราชบัณฑิตยสถาน. 2556. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: ราชบณั ฑติ ยสถาน.

วิจินตน ภาณุพงศ. 2532. โครงสรางของภาษาไทย: ระบบไวยากรณ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ
มหาวิทยาลยั รามคำแหง.

วินัย ภูระหงษ. 2531. หนว ยที่ 8 หนว ยคำและการประกอบคำในภาษาไทย, น. 61-88. ใน เอกสาร
การสอนชุดวิชาภาษาไทย 3 หนวยที่ 7-15 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พมิ พครง้ั ที่ 3. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช.

สำนกั พจนานุกรมมตชิ น. 2547. พจนานุกรมฉบับมติชน. กรงุ เทพมหานคร: มตชิ น.

เน่ืองในโอกาสเกษียณอายุงาน รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ รกั ษมณี : 91


Click to View FlipBook Version