The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kardkunya2518, 2021-05-20 00:08:16

หนังสือเรียนรายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง(21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

หนังสือเรียน กศน. หลักสูตร กศน. 2551

Keywords: แบบเรียน,หนังสือเรียน,กศน.

42

3.7 สงั คหวัตถุ 4 คอื ธรรมทีเ่ ปนเครอ่ื งยึดเหน่ยี วนา้ํ ใจผอู น่ื
1) ทาน การใหการเสียสละเอือ้ เฟอ เผอ่ื แผ
2) ปย วาจา การพดู ดวยถอ ยคําท่ไี พเราะ
3) อัตถจริยา การสงเคราะหทุกชนดิ หรือการประพฤตใิ นส่ิงท่ีเปนประโยชนต อ

ผอู ื่น
4) สมานตั ตตา การเปนผมู คี วามสมาํ่ เสมอมคี วามประพฤติเสมอตน เสมอปลาย

สรุป หลักธรรมที่ชาวพุทธพึงปฏิบัติ คือ การละความช่ัว การทําความดี การทําจิตใจให
แจมใสและการทําสมาธภิ าวนา

การละความช่ัว คือ การไมทําบาปอกุศลทั้งมวล การถือศีล 5 หรือ ศีลอ่ืน ๆ ตามบทบาท
หนาท่ีของตนเอง การทําความดี มีความกตัญูกตเวทตี อผูมีคุณ ตอสังคมสวนรวม ประเทศชาติ
ความขยันหม่ันเพียรในการงานอาชีพ ไมเอาเปรียบ คดโกงผูอ่ืน และการทําจิตใจใหแจมใส ไมคิด
ทุกขโศกเศรา อนั เกดิ จากการเสื่อมของสังขาร โรคภัยไขเ จ็บ ความอยากมี อยากเปน อยากไดตาง ๆ
รวมทง้ั การสญู เสยี สง่ิ ท่รี กั ตาง ๆ โดยใชห ลักการทําสมาธิภาวนา

การเจรญิ ภาวนา

การเจริญภาวนา เปน การพฒั นาจติ บรหิ ารจติ หลักพระพทุ ธศาสนา เปนการสรา งบุญบารมี
ที่สงู ทสี่ ุด และยิง่ ใหญท่สี ุดในพระพุทธศาสนา จดั วาเปน แกน แท

การเจริญภาวนามี 2 อยาง คอื สมถภาวนา และวปิ สสนาภาวนา
1. สมถภาวนา ไดแก การทําจิตใจใหเปนสมาธิ คือ ทําจิตใหต้ังม่ันอยูในอารมณเดียว ไม
ฟุงซา น วิธภี าวนามีหลายชนดิ พระพทุ ธองค บัญญัตเิ ปน แบบอยางไว 40 ประการ เรียกวา กรรมฐาน 40
ที่นิยม คอื การ หายใจเขา บริกรรม พุทธ หายใจออก บริกรรม โธ เรยี กวา อานาปานสติ ผูใดจะปฏิบัติ
ภาวนาจะตองรกั ษาศลี ใหบ รสิ ทุ ธติ์ ามฐานะ เชน เปน ฆราวาส ถือศีล 5 ศีล 8 เปน เณร ถอื ศลี 10 เปน พระ
ถอื ศลี 227 ขอ เพราะในการปฏบิ ตั ิสมถภาวนา นนั้ ศลี เปน พ้ืนฐานทส่ี าํ คัญ อานิสงสข องสมาธมิ ากกวา
รักษาศีลเทียบกันไมได พระพุทธองค ไดตรัสวา “แมไดอุปสมบทเปนพระภิกษุรักษาศีล 227 ขอ
ไมเคยขาด ไมด างพรอย มานานถงึ 100 ป ก็ยงั ไดกศุ ลนอยกวาผูท่ีทําสมาธิเพียงใหจิตสงบนานเพียงช่ัว
ไกก ระพอื ปก ชา งกระดกิ หู” คําวา จิตสงบ ในทีน่ ี้ หมายถงึ จติ ท่ีมอี ารมณเดยี วเพียงช่ัววูบ แมกระน้ัน
ยังมอี านสิ งสม ากมาย แตอ ยา งไรก็ดี การเจริญสมถภาวนา หรือ สมาธิ แมจะไดบุญอานิสงสมากมาย
มหาศาลอยา งไรกไ็ มใชบ ุญกุศลทีส่ ูงสดุ ยอดในพระพุทธศาสนา การเจริญวิปสสนา (การเจริญปญญา)
จงึ จะเปน การสรา งกศุ ลท่สี ุดยอดในพระพุทธศาสนาโดยแท

43

2. วปิ สสนาภาวนา (การเจรญิ ปญ ญา) เมือ่ จติ ของผบู าํ เพ็ญเพยี รต้ังมนั่ อยใู นสมาธจิ ติ ของ
ผบู ําเพ็ญเพียร ยอ มมีกาํ ลงั อยูในสภาพท่ีน่ิมนวล ควรแกก ารวิปสสนาภาวนาตอไป

อารมณของวิปสสนาแตกตางจากอารมณของสมาธิ เพราะสมาธินั้น มุงใหจิตต้ังม่ันอยูใน
อารมณห น่งึ แตอารมณเ ดยี ว โดยแนน่ิงอยูเชนนั้น ไมนึกคิดอะไร แตวิปสสนาไมใชใหจิตต้ังมั่นอยูใน
อารมณเดยี วนง่ิ อยเู ชนน้นั แตเ ปน จิตท่ีคิดใครค รวญหาเหตแุ ละผลในสภาวธรรมท้งั หลาย และส่ิงทเ่ี ปน
อารมณข องวปิ ส สนานน้ั มีแตเพียงอยางเดียว คอื ขนั ธ 5 ซ่ึงนิยมเรยี กวา รูป - นาม โดยรูป มี 1 นาม น้ัน
มี 4 คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซ่ึงนาม นั้น เปนเพียงสังขารธรรม เกิดจากการปรุงแตง
แตเ พราะอวิชชา คอื ไมร ูเทาสภาวธรรม จึงทําใหเกิดความยึดม่ัน เปนตัวเปนตน การเจริญวิปสสนา
มีจติ พิจารณาเห็นสภาวธรรมท้ังหลาย คือ ขันธ 5 เปน อาการของพระไตรลักษณ คือ เปนอนิจจัง คือ
ไมเที่ยง ทกุ ขัง คือ ลว นเปนทุกข อยูในสภาพเดิม ไมไดตองแปรเปล่ียนไป และอนัตตา ไดแก ความ
ไมใชตัวตน ไมใชสัตวบุคคล ไมใชส่ิงของ สรรพสิ่งทั้งหลายเพียงช่ัวคราว เทาน้ัน เม่ือนานไปยอม
เปลยี่ นแปลงกลับไปสูส ภาวะเดมิ สมาธแิ ละวิปส สนา เปนทัง้ เหตแุ ละผลของกันและกัน และอุปการะ
ซ่ึงกนั และกนั จะมวี ปิ ส สนา ปญ ญา เกิดขนึ้ โดยขาดกาํ ลังสมาธไิ มไ ดเลย

การเจรญิ วปิ ส สนาอยา งงา ย ๆ ประจาํ วัน
1. มีจิตใครครวญถึงมรณสติกรรมฐาน คือ ใครครวญถึงความตายเปนอารมณ เพ่ือไมให
ประมาทในชีวิต ไมม วั เมา เรง ทาํ ความดี และบญุ กศุ ล เกรงกลัวตอ บาปทีจ่ ะติดตามไปในภพหนา
2. มจี ติ ใครครวญถงึ อสภุ กรรมฐาน ไดแก ส่งิ ท่ไี มส วย ไมง าม เชน ซากศพ รางกายคนทเี่ ปน
บอเกดิ แหง ตัณหาราคะ กามกเิ ลส วา เปนของสวยงาม เปน ทเ่ี จริญตาเจรญิ ใจ ไมวา รางกายของตนเอง
และของผูอ่ืนก็ตาม แทจริงแลวเปนอนิจจัง คือ ไมเท่ียงแท แนนอน วัน เวลา ยอมพรากจากความ
สวยงามจนเขาสูวัยชรา ซง่ึ จะมองหาความสวยงามใด ๆหลงเหลืออยไู มไ ดเ ลย
3. มีจิตใครค รวญถึงกายคตานสุ สติกรรมฐาน เรียกกันวา กายคตาสติกรรมฐาน จิตใครครวญ
ผม ขน เลบ็ หนงั ฟน พจิ ารณาใหเห็นความโสโครกของรา งกาย เพอ่ื ใหนาํ ไปสูก ารละสักกายทิฏฐิ คือ
ความเห็นผดิ ในรางกายของตน
4. มีจิตใจใครครวญถึงธาตุกรรมฐาน คือ การพิจารณาวา รางกายของเราและของผูอ่ืน
ไมใชตัวของเราแตอยา งใดเลย เปนแตเพยี งธาตุ 4 ท่มี าประชุม เกาะกมุ รวมกันเพียงชั่วคราว ถึงเวลา
เกาแกแ ลว แตกสลายตายไปกลบั ไปสูความเปนธาตุตาง ๆ ในโลกตามเดิม

44

แบบอยา งชาวพุทธท่ีดี
หมอมเจาหญิงพูนพิสมัย ดศิ กลุ
พระประวัติ

หมอมเจาหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล ประสูติ เม่ือวันจันทร ท่ี 17 กุมภาพันธ พ.ศ. 2438 เปน
พระธดิ าในสมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ผไู ดรบั การยกยองวา เปนบดิ าแหง
ประวตั ิศาสตรไ ทย และหมอมเฉื่อย พระองคส้ินชีพิตักษัยดวยโรคชรา เม่ือวันท่ี 11 สิงหาคม พ.ศ. 2533
รวมพระชันษาได 95 พรรษา

กรณยี กิจดา นพระพทุ ธศาสนา สามารถสรุปได ดงั น้ี
1. ทรงเปนท่ีปรกึ ษาชมรมพทุ ธศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย โดยเสดจ็ ไปประทานความรู
ดา นพระพทุ ธศาสนา สปั ดาหล ะ 2 คร้งั และเปนท่ีปรึกษาชมรมพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร
2. ทรงเปน องคป าฐกถาและบรรยายวชิ าการทางพระพุทธศาสนาทัง้ ในและตา งประเทศ
3. ทรงเปนกรรมการบริหารและอุปนายกพุทธสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรม-
ราชูปถมั ภ
4. ทรงเปน รองประธานองคก ารพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก (พ.ส.ล.) ใน พ.ศ. 2496 และ
ประธานองคก ารพุทธศาสนิกสมั พนั ธแ หงโลก ใน พ.ศ. 2507
5. ทรงมงี านนพิ นธท างพระพุทธศาสนาหลายเร่ือง เชน หนังสือช่ือศาสนาคุณ หนังสือสอน
ศาสนาพระพุทธศาสนาสําหรับเยาวชน เปน ตน

แบบอยางชาวพุทธท่ีดี

(1) ทรงเปนอบุ าสกิ าที่เครงครดั ตระหนักในหนาที่ของอบุ าสิกาดว ยการศกึ ษาปฏบิ ัติธรรม
(2) ทรงเปน พหสู ตู โดยศกึ ษาบาลี จนมีความรู ความเขาใจเปนอยางดี และมีผลงานวิชาการ
ดานอ่นื ๆ อีกทง้ั ดา นสงั คมสงเคราะห ประวตั ศิ าสตร โบราณคดี เปน ตน
(3) ทรงเปนแบบอยางพลเมืองที่ดี ดวยการจงรักภักดี และพิทักษสมบัติล้ําคาของชาติ
กลา วคอื เมอ่ื พระบิดาสนิ้ พระชนม มชี าวตา งชาติ เสนอซือ้ ผลงานนพิ นธท างวิชาการของพระบดิ าดว ย
ราคาสงู แตพ ระองคท รงแจง ความจาํ นงบรจิ าคหนงั สือใหแ กรัฐบาล เพอ่ื เกบ็ ไวเ ปน สมบตั ิของชาตแิ ละ
เปนคลังความรูข องประชาชน รฐั บาลในขณะนัน้ จึงสรางหองสมุดขน้ึ รองรับ เรียกวา หอดาํ รง

45

3.2 หลกั ธรรมของศาสนาอสิ ลาม

อิสลาม เปนคําภาษาอาหรับ แปลวา การสวามิภักด์ิ ซงึ่ หมายถงึ การสวามิภกั ดอิ์ ยางบริบูรณ
แกอ ลั ลอฮพ ระผเู ปน เจา ดวยการปฏิบัติตามคาํ บัญชาของพระองค

บรรดาศาสนทูตในอดตี ลว นแตไดร ับมอบหมายใหสอนศาสนาอิสลามแกม นษุ ยชาติ ศาสนาฑูต
ทา นสดุ ทาย คือ มุฮมั มดั บตุ รของอับดุลลหแหงอารเบีย ไดรับมอบหมายใหเผยแผสาสนของอัลลอฮ
ในชวงป ค.ศ. 610 - 632 เฉกเชนบรรพศาสดาในอดีต โดยมีมะลักญิบรีล เปนสื่อระหวางอัลลห
พระผูเปน เจา และมฮุ ัมมัด พระโองการแหงพระผเู ปนเจาท่ีทยอยลงมา ในเวลา 23 ปจันทรคติ ไดรับการ
รวบรวมข้ึนเปนเลม ชื่อวา อัลกุรอาน ซึ่งเปน ธรรมนูญแหงชีวิตมนุษย เพ่ือที่จะไดครองตนบนโลกน้ี
อยา งถูกตอ งกอนกลบั คนื สพู ระผเู ปนเจา

สาสนแหงอิสลามที่ถกู สงมาใหแกมนุษยท ั้งปวง มีจุดประสงคห ลกั 3 ประการ คือ

1. เปน อดุ มการณท ส่ี อนมนุษยใหศ รทั ธาในอลั ลอหพระผเู ปนเจาเพยี งพระองคเดียว ท่ีสมควร
แกการเคารพบชู าและภกั ดี ศรัทธาในความยตุ ธิ รรมของพระองค ศรัทธาในพระโองการแหงพระองค
ศรทั ธาในวันปรโลกวัน ซง่ึ มนษุ ยฟน คืนชีพอกี ครั้ง เพอื่ รบั คาํ พิพากษาและรบั ผลตอบแทนของความดี
ความชั่วที่ตนไดปฏิบัติไปในโลกนี้ มั่นใจและไววางใจตอพระองค เพราะพระองค คือ ท่ีพึ่งพาของ
ทุกสรรพส่งิ มนุษย จะตอ งไมส ิน้ หวังในความเมตตาของพระองค และพระองค คือ ปฐมเหตุแหงคุณงาม
ความดีทง้ั ปวง

2. เปนธรรมนญู สําหรับมนุษย เพ่ือใหเกิดความสงบสุขในชีวิตสวนตัวและสังคม เปนธรรมนูญ
ทีค่ รอบคลุมทกุ ดา น ไมวาในดานการปกครอง เศรษฐกิจ หรือนิติศาสตร อิสลามส่ังสอนใหมนุษยอยูกัน
ดวยความเปนมติ ร ละเวนการรบราฆา ฟน การทะเลาะเบาะแวง การละเมดิ และรกุ รานสทิ ธขิ องผูอื่น
ไมล กั ขโมย ฉอ ฉล หลอกลวง ไมผิดประเวณีหรือทําอนาจาร ไมด่ืมของมึนเมา หรือรับประทานสิ่งที่
เปน โทษตอรา งกายและจิตใจ ไมบ อ นทาํ ลายสงั คม แมว าในรูปแบบใดก็ตาม

3. เปนจริยธรรมอนั สูงสง เพอ่ื การครองตนอยางมเี กียรติ เนนความอดกล้ัน ความซื่อสัตย ความ
เอื้อเฟอเผ่อื แผ ความเมตตากรณุ า ความกตญั กู ตเวที ความสะอาดของกาย และใจ ความกลาหาญ
การใหอ ภัย ความเทาเทียม และความเสมอภาคระหวางมนุษย การเคารพสิทธิของผูอ่ืน สงั่ สอนให
ละเวน ความตระหนถี่ เี่ หนยี ว ความอิจฉารษิ ยา การติฉนิ นินทา ความเขลา และความขลาดกลัว การทรยศ
และอกตัญู การลวงละเมดิ สิทธิของผอู ื่น

ศาสนาอิสลามไมใ ชศ าสนาที่วิวฒั นาการมาจากศาสนาอื่น หรือศาสนาท่ีมนุษยประดิษฐข้ึน
อยา งเชน ศาสนาอืน่ ๆ ท่มี อี ยใู นโลก อสิ ลาม เปน ศาสนาของพระผเู ปนเจาทเ่ี ปน ทางนําในการดํารงชีวิต
ทุกดานแกม นุษยทกุ คน ไมยกเวนอายเุ พศ เผา พนั ธุ หรือฐานันดร

46

หลักคาํ สอน

ศาสนาอิสลาม เกิดในดินแดนอาหรับ โดยมีความเช่ือตามโบราณเดิมเกี่ยวกับหินศักด์ิสิทธ์ิ
เรียกวา หินกาบะห อาํ นาจลึกลับ ผสี างเทวดา เวทมนตรค าถาพอ มด หมอผี คาํ ทาํ นาย การเสีย่ งทาย
การนบั ถือภเู ขา ตน ไม น้ําพุ บูชาดวงอาทิตย ดวงจนั ทร ดวงดาวตาง ๆ อสิ ลาม มาจากคาํ วา อสั ละมะ
แปลวา สันติการยอมนอบนอมตน ชาวมุสลิมมุงตามความคิดเหน็ ของพระเจา โดยไมเห็นแกชีวิต
มคี วามเชอื่ ศรัทธา 6 ประการ

1. ศรัทธาในพระเจา
2. ศรัทธาในบรรดามะลาอิกะห คือ เทวทูตของพระเจา ซึง่ เปนคนกลาง ทําหนาที่สื่อสาร
ระหวางศาสดามุฮมั มัดกบั พระเจา บันทกึ ความดี ความชั่วของมนุษย ถอดวิญญาณออกจากรางเวลา
มนุษยต าย และสัมภาษณผ ูตาย ณ หลุมฝงศพ
3. ศรทั ธาในคมั ภีรอ ลั กรุ อาน เปนคมั ภรี สดุ ทา ยที่พระเจา สั่งตรง ผา นพระมฮุ มั มดั ลงมาใหม นษุ ยโลก
4. ศรัทธาตอ บรรดาศาสนฑตู
5. ศรทั ธาตอ วันพพิ ากษาโลก เรยี กวนั น้วี า วันกยี ามะห
6. ศรัทธาในกฎสภาวะของพระเจา มีทงั้ กฎตายตัวและไมตายตวั กฎตายตวั คอื กําหนดเพศพันธุ
กฎไมต ายตัว คือ ทําดไี ดด ี ทําชัว่ ไดชว่ั

หลักคาํ สอนของศาสนาอิสลามแบงไว 3 หมวดดงั น้ี
1. หลกั การศรทั ธา

อสิ ลาม สอนวา ถา หากมนุษยพจิ ารณาดว ยสติปญญา และสามัญสํานึก จะพบวา จกั รวาล
และมวลสรรพสงิ่ ท้ังหลายท่ีมอี ยู มไิ ดอุบัติขึ้นดวยตนเอง เปนที่แนชัดวาส่ิงเหลาน้ีไดถูกอุบัติขนึ้ มาโดย
พระผูสรางดว ยอาํ นาจ และความรูทไ่ี รข อบเขต ทรงกาํ หนดกฎเกณฑที่ไมมีการเปล่ียนแปลงไวทั่วท้ัง
จักรวาล ทรงขบั เคล่อื นจักรวาลดว ยระบบทล่ี ะเอยี ดออน ไมม สี รรพส่งิ ใดถูกสรา งขึ้นมาอยา งไรส าระ

พระผูเปน เจาผทู รงเมตตา ทรงสรา งมนุษยข น้ึ มาอยางประเสริฐ จะเปนไปไดอยางไรที่
พระองค จะปลอ ยใหม นุษยด ําเนนิ ชวี ติ อยไู ปตามลาํ พงั โดยไมท รงเหลยี วแล หรือปลอยใหสังคมมนุษย
ดําเนินไปตามยถากรรมของตัวเอง

พระองคท รงขจัดความสงสยั เหลา นี้ดว ยการประทานกฎ การปฏิบตั ติ าง ๆ ผานบรรดา
ศาสดาใหมาสั่งสอน และแนะนาํ มนุษยไ ปสกู ารปฏบิ ัติ สาํ หรับการดําเนนิ ชีวิต แนน อนมนุษยอาจมอง
ไมเ ห็นผลหรอื ไดรบั ประโยชนจ ากการทาํ ความดหี รือไดรับโทษจากการทําชัว่ ของตน

จากจุดนี้ทําใหเขาใจไดทันทีวาตองมีสถานท่ีอ่ืนอีก อันเปนสถานท่ีตรวจสอบการ
กระทําของมนษุ ยอยา งละเอียดถถี่ วน ถา เปนความดี พวกเขาจะไดรับรางวัลเปนผลตอบแทน แตถา

47

เปนความช่ัว จะถูกลงโทษไปตามผลกรรม นน้ั ศาสนาไดเ ชญิ ชวนมนษุ ยไปสูหลกั การศรัทธาและความ
เชอื่ มน่ั ทส่ี ัตยจรงิ พรอ มพยายามผลักดนั มนษุ ยใหห ลุดพน จากความโงเขลาเบาปญญา

1.1 หลักศรทั ธาอิสลามแนวซนุ หน่ี
1) ศรัทธาวา อลั ลอหเปน พระเจา
2) ศรัทธาในบรรดาคมั ภีรตา ง ๆ ทอ่ี ลั ลอห ประทานลงมาในอดีต เชน เตารอต

อนิ ญลี ซะบูร และอลั กรุ อาน
3) ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตตาง ๆ ที่อัลลอหไดทรงสงมายังหมูมนุษย และ

นบมี ฮุ ัมมัด ศ็อลลลั ลอฮอุ ะลัยฮิวะซัลลัม เปนศาสนฑูตคนสดุ ทาย
4) ศรัทธาในบรรดามะลาอกิ ะห บา วผรู ับใชอัลลอห
5) ศรัทธาในวนั สิน้ สดุ ทาย คือ หลงั จากสิ้นโลกแลว มนษุ ยจ ะฟน ขน้ึ เพื่อรับการ

ตอบสนองความดี ความช่วั ท่ไี ดทาํ ไปบนโลกน้ี
6) ศรัทธาในกฎสภาวะ

1.2 หลักศรัทธาอสิ ลามแนวชีอะห
1) เตาฮดี (เอกภาพ) คือ ศรัทธาวาอลั ลอห ทรงเปนพระผูเ ปนเจา เพยี งพระองคเดียว

ไมมพี ระเจา อ่ืนใด นอกเหนอื จากพระองค
2) อะดาละห (ความยตุ ิธรรม) คอื ศรทั ธาวา อลั ลอห ทรงยตุ ธิ รรมย่ิง
3) นุบูวะห (ศาสดาพยากรณ) คือ ศรัทธาวาอัลลอห ไดทรงสงศาสนทูตตาง ๆ

ท่อี ัลลอหไ ดท รงสงมายงั หมูม นุษยหน่งึ ในจาํ นวน นั้น คือ นบีมฮุ มั มดั
4) อมิ ามะห (การเปน ผูนํา) ศรัทธาวาผูน าํ สูงสุดในศาสนาจะตองเปนผูท่ีรับการ

แตง ต้ังจากศาสนฑตู มฮุ ัมมดั เทานน้ั จะเลอื กหรอื แตงต้งั กนั เองไมไ ดผ นู าํ เหลานัน้ มี 12 คน คือ อะลีย
บินอะปฏอลบิ และบตุ รหลานของอะลีห และฟาฏิมะห อีก 11 คน

5) มะอาด (การกลบั คืน) วันส้นิ โลกและวันกียามัต ศรัทธาในวันฟนคืนชีพ คือ
หลงั จากสิน้ โลกแลว มนษุ ยจ ะฟน ขึน้ เพือ่ รับการตอบสนองความดี ความชว่ั ทีไ่ ดทําไปบนโลกน้ี

2. หลกั จรยิ ธรรม
ศาสนาสอนวา ในการดาํ เนนิ ชีวิต จงเลือกสรรเฉพาะส่ิงทีด่ ี อันเปน ท่ยี อมรับของสังคม

จงทาํ ตนใหเปนผดู ํารงอยใู นศลี ธรรม พฒั นาตนเองไปสกู ารมีบุคลกิ ภาพท่ดี ี เปนคนทีร่ ูจกั หนา ที่ หว งใย
มีเมตตา มีความรัก ซือ่ สัตยตอผูอื่น รูจักปกปองสิทธิของตน ไมละเมิดสิทธิของผูอื่น เปนผูมีความ
เสยี สละ ไมเห็นแกต วั และหมน่ั ใฝหาความรู ทั้งหมดที่กลาวมานี้ เปนคุณสมบัติของผูมีจริยธรรมซ่ึง
ความสมบูรณทัง้ หมดอยทู ี่ความยุติธรรม

48

3. หลกั การปฏบิ ตั ิ
ศาสนาสอนวา กิจการงานตาง ๆ ท่ีจะทํานั้นมีความเหมาะสมกับตนเองและสังคม

ขณะเดียวกันตอ งออกหางจากการงานท่ไี มดที ่ี สรางความเสือ่ มเสยี อยางสน้ิ เชงิ
สว นการประกอบคณุ งามความดีอน่ื ๆ การถอื ศีลอด การนมาซ และสิง่ ที่คลายคลึงกับ

สิ่งเหลานเี้ ปน การแสดงใหเห็นถึงการเปน บาวท่จี งรกั ภกั ดแี ละปฏบิ ัตติ ามบัญชาของพระองค กฎเกณฑ
และคําสอนของศาสนา ทําหนาที่คอยควบคุมความประพฤติของมนุษย ทั้งที่เปนหลักศรัทธาหลัก
ปฏิบตั ิและจริยธรรม

เราอาจกลา วไดวา ผูท ี่ละเมิดคําสั่งตา ง ๆ ของศาสนา มิไดถือวา เขาเปนผูท่ีศรัทธาอยาง
แทจ ริง หากแตเขากระทาํ การตาง ๆ ไปตามอารมณ และความตอ งการใฝต า่ํ ของเขาเทา นั้น

ศาสนาอสิ ลาม ในความหมายของอลั กรุ อาน นั้น หมายถงึ “แนวทางในการดาํ เนินชวี ิต
ที่มนุษยจะปราศจากมันไมไ ด” สวนความแตกตางระหวางศาสนากับกฎของสังคมน้ัน คือ ศาสนาได
ถูกประทานมาจากพระผูเปนเจา สว นกฎของสังคมเกิดข้นึ จากความคิดของมนษุ ย อกี นยั หนึ่งศาสนา-
อิสลาม หมายถึง การดาํ เนินของสังคมท่เี คารพตอ อลั ลอห และเชื่อฟง ปฏบิ ัตติ ามคาํ บญั ชาของพระองค

อลั ลอห ตรัสเก่ยี วกับศาสนาอิสลามวา “แทจ ริงศาสนา ณ อลั ลอห คอื อิสลามบรรดา
ผทู ไ่ี ดรับคัมภรี  ไดขดั แยงกนั นอกจากภายหลังทค่ี วามรู มาปรากฏแกพวกเขา ทง้ั นี้ เน่ืองจากความอิจฉา
ระหวางพวกเขาและผูใด ปฏิเสธโองการตาง ๆ ของอัลลอหแลวไซร แนนอนอัลลอห ทรงสอบสวน
อยา งรวดเรว็ ” (อัลกรุ อานอาลอิ ิมรอน)

หลกั การปฏิบตั ิตาง ๆ มดี ังนี้
1. วาญิบ คือ หลักปฏิบัติภาคบังคับท่ีมุกัลกัฟ (มุสลิมผูอยูในศาสนนิติภาวะ) ทุกคน
ตอ งปฏบิ ัติตาม ผูท ่ีไมปฏบิ ัติตาม จะตอ งถกู ลงฑัณฑ เชน การปฏิบัติตามฐานบญั ญัติของอสิ ลาม (รุกน)
ตา ง ๆ การศึกษาวิยาการอิสลาม การทาํ มาหากิน เพือ่ เลยี้ งดคู รอบครัว เปน ตน
2. ฮะรอม คือ กฎบัญญัติหามที่มุกัลลัฟทุกคน ตองละเวน ผูที่ไมละเวน จะตองถูก
ลงทัณฑ
3. ฮะลาล คือ กฎบัญญัติอนุมัติใหมุกัลลัฟ กระทําได อันไดแก การนึกคิดวาจาและ
การกระทาํ ทศ่ี าสนาไดอ นมุ ัติให เชน การรับประทานเน้ือปศุสัตวท ไี่ ดร บั การเชือดอยา งถกู ตอ ง การคาขาย
โดยสุจริต วธิ ีการสมรสกบั สตรีตามกฎเกณฑท ีไ่ ดร ะบุไว เปนตน
4. มสุ ตะฮับ หรือท่ีเรียกกันติดปากวา ซุนนะห (ซุนนะห, ซนุ นัต) คือ กฎบัญญัติชักชวน
มุสลิมและมุกัลลัฟกระทํา หากไมปฏิบัติก็ไมไดเปนการฝาฝนศาสนวินัย โดยทั่วไปจะเกี่ยวของกับ
หลักจริยธรรม เชน การใชนํ้าหอม การขลิบเล็บใหสั้นเสมอ การนมาซ นอกเหนือจากการนมาซภาค
บงั คับ

49

5. มักรูห คอื กฎบญั ญัติอนมุ ตั ิใหมุกลั ลัฟกระทําได แตพ ึงละเวน คําวา มกั รหู  ในภาษา
อาหรบั มีความหมายวา นา รงั เกยี จ โดยทั่วไป จะเกย่ี วของกับหลักจริยธรรม เชน การรบั ประทานอาหาร
ที่มีกลิน่ นา รําคาญ การสวมเสอ้ื ผา อาภรณท่ีขดั ตอกาลเทศะ เปน ตน

6. มบุ าฮ คอื สงิ่ ท่กี ฎบญั ญัตไิ มไดร ะบุ เจาะจง จงึ เปน ความอสิ ระ สําหรับมกุ ัลลฟั ทจ่ี ะ
เลือกกระทําหรือละเวน เชน การเลือกพาหนะ อุปกรณเครื่องใช หรือการเลนกีฬาท่ีไมขัดตอ
บทบัญญตั ิหาม

หลักปฏิบตั ทิ างศาสนาอสิ ลาม

1. ดํารงนมาซวันละ 5 เวลา
2. จายซะกาต
3. จายคมุ สนน่ั คือ จายภาษี 1 ใน 5 ใหแกผ ูค รองอสิ ลาม
4. บาํ เพญ็ อจั ญห ากมีความสามารถท้งั กาํ ลงั กายและกําลงั ทรัพย
5. ถอื ศลี อดในเดือนรอมะฎอนทกุ ป
6. ญฮิ าด นัน่ คือ การปกปองและเผยแผศาสนาดว ยทรพั ยและชีวติ
7. สัง่ ใชในส่ิงท่ดี ี
8. สง่ั หามไมใหทําช่วั
9. การภกั ดีตอบรรดาอมิ ามอนั เปนผนู าํ ทีศ่ าสนากาํ หนด
10. การตัดขาดจากศัตรูของบรรดาอิมาม อนั เปน ผนู าํ ท่ีศาสนากาํ หนด
11. การปฏิญาณตนวาไมมีพระเจาอ่ืนใด นอกจากอัลลอหและมุฮัมมัด เปนศาสนฑูต
ของอลั ลอห

แบบอยางของอสิ ลามิกชนทีด่ ี

บคุ คลตวั อยาง วันอัลหมัด อลั ฟาตอนี “เสอื มกั กะฮ”
วนั อัลหมดั อัลฟาตอนี “เสอื มักกะฮ” เกิดทีห่ มูบานยามู ยะหร่ิง ปตตานี เมื่อ 10 เมษายน 2399
เมื่ออายุ 4 ขวบ ทา นไดตามบิดามารดาไปเมืองเมกกะ เรียนภาษาอาหรับและศาสนาอิสลาม จนอายุได
12 ป จงึ เดินทางไปเรยี นวิชาแพทยแ ละเภสชั กรรมสมัยใหม ที่เยรูซาเล็ม เปนเวลา 2 ป จากน้ันทาน
จงึ กลบั ไปศึกษาดานศาสนาตอ ทีเ่ มกกะ และท่ีกรงุ ไคโร ประเทศอยี ปิ ต ทา นเดินทางไปศกึ ษาโดยมีเงิน
เพียงเลก็ นอย สวมเสอื้ ผา ชดุ เดียว ทนู อลั กรุ อานไวบ นศรี ษะ ขณะวา ยนํา้ ขามแมน าํ้ ไนลจ นถงึ เมอื งไคโร
ขณะทท่ี า นอาศัยอยูม สั ยิดในเมอื งไคโร เพ่ือการศึกษา ทานยังชีพดวยการรับบริจาคอาหาร
และเสื้อผา จากผูมาละหมาด ทานเปน ชาวเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตคนแรกที่เขาศึกษาในอัล – อัซฮาร
ทานเปน ผมู คี วามสามารถไดแ ขงขันบรรยายปราศรัยขับกลอนอาหรับโตตอบกัน จนไดร างวลั ชนะเลิศ

50

จากพระราชาเมืองเมกกะ และทานกลาววา ชื่อ อัลหมัดอัล ฟาตอนี ชางเหมาะสมกับเขาเหลือเกิน
เพราะคําวา ฟาฏอนี ในภาษาอาหรับ แปลวา “ผูฉลาด” ทานเปนผูมีความรูและมีทักษะในการใชภาษา
อาหรับ เปน ทีร่ ูจกั และไดรับฉายาวา “harimau Mekak” (เสอื มักกะฮ)

3.3 หลักธรรมของศาสนาคริสต

ครสิ ตศาสนา (Chirstianity) เปนศาสนาแหง ความรัก เพราะพระเจาทรงรักมนุษย ทรงรัก
ประชาชนของพระองค ทรงสรางสตั วตาง ๆ ข้นึ มา เพื่อรับใชเปนอาหารแกมนุษย และทรงใหมนุษย
ลงสนู รกเม่อื ไมศรัทธาในพระเจา

ศาสนาครสิ ต เปนศาสนาทนี่ บั ถือศรัทธาในพระเจาองคเดียว เช่ือวาพระเจาเปนผูสรางโลก
และทุกสิง่ ทุกอยาง รวมถงึ มนุษยโ ดยใชเวลาเพียง 6 วัน และหยุดพักในวันท่ี 7 พระเจาในศาสนาคริสต
คือ พระยาเวห (นิกายโรมันคาทอลิก,นิกายออรโธด็อกซ) หรือ พระยโฮวาห (นิกายโปรเตสแตนต) มี
พระเยซูคริสตเปนศาสดา คริสตศาสนา เชื่อในพระเจาหน่ึงเดียว ซ่ึงดํารงในสามพระบุคคลใน
พระลักษณะ “ตรเี อกภพ” หรอื “ตรีเอกานุภาพ” (Trinity) คอื พระบดิ า พระบุตร และพระจิต (พระ
วิญญาณบริสุทธ์ิ) มีพระคัมภีร คือ พระคริสตธรรมคัมภีร หรือ คัมภีรไบเบิล (The Bible) ศาสนาคริสต
มผี นู บั ถอื ประมาณ 2,000 ลานคน ถอื วา เปนศาสนาทีม่ จี าํ นวนผนู ับถอื มากท่ีสดุ ในโลก

ศาสนาคริสต มีรากฐานมาจากศาสนายูดาย (หรือศาสนายิว) โดยมีเนื้อหาและความเช่ือ
บางสวนเหมอื นกัน โดยเฉพาะคัมภีรไบเบิลฮบิ รู ที่คริสตศาสนกิ ชนรจู ักในช่ือ พันธสัญญาเดิม ที่เรียกวา
เบญจบรรณ/ปญ จบรรพ (Pebtatench) ไดรับการนบั ถอื เปนพระคมั ภีรข องศาสนายูดาย และศาสนา
อสิ ลาม ดว ยเชนกนั โดยในพระธรรมหลายตอน ไดพยากรณถ ึงพระเมสสิยาห (Messiah) ที่ชาวคริสต
เชือ่ วา คอื พระเยซู เชน หนงั สอื ประกาศอิสยาห บทที่ 53 เปน ตน

คริสตชนนัน้ มคี วามเช่ือวา พระเยซูคริสต เปนพระบุตรของพระเจาท่ีมาบังเกิด เปนมนุษย
จากหญิงพรหมจรรย (สาวบริสุทธิ์) โดยฤทธ์ิอํานาจของพระเจา เพื่อไถมนุษยใหพนจากความบาป
โดยการสิ้นพระชนมที่กางเขน และทรงฟนขึ้นมาจากความตายในสามวัน หลังจากน้ันและเสด็จสู
สวรรค ประทบั เบอ้ื งขวาพระหัตถของพระบิดา ผูท่ีเช่อื และไวว างใจในพระองคจะไดรับการอภัยโทษ
บาป และจะเขาสูการพพิ ากษาในวันสดุ ทาย เหมือนกนั ทุกคน แตจะเปนการพพิ ากษา เพ่ือรับบําเหนจ็
รางวัลแทนในวันสิ้นโลก และไดเขาสูชีวิตนิรันดรในแผนดินสวรรค แตถาผูใดไมเช่ือและไมนับถือ
พระเจา จะถกู ตัดสนิ ใหล งนรกช่ัวนริ ันดร

หลักคําสอน พระธรรมคําสอน ปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร (คัมภรไบเบิล) ผูนบั ถือ
ครสิ ตศ าสนาทุกคน ตอ งยึดม่นั ในหลกั ปฏิบตั ิสําคญั ของคริสตศ าสนา เรยี กวา บญั ญตั ิ 10 ประการ คือ

1) จงนมสั การพระเจา เพยี งพระองคเดียว พงึ ทาํ ความเคารพตอ พระเปน เจา
2) จงอยา ออกนามพระเจาอยา งพลอย ๆ โดยไมส มเหตุสมผล

51

3) จงฉลองวันพระอันเปน วันศกั ด์ิสทิ ธิ์
4) จงอยา บชู ารูปเคารพ
5) จงเคารพนับถอื บดิ ามารดาของตน
6) จงอยาฆาคน
7) จงอยาลวงประเวณีในคูค รองของผูอ่นื
8) จงอยา ลกั ขโมย
9) จงอยาพดู เทจ็
10) จงอยา มกั ไดในทรพั ยของเขา
หลักคําสอนของพระเยซู สว นใหญจ ะอยบู นพื้นฐานของบัญญัติ 10 ประการ ของศาสนายูดาย
โดยขยายอธิบายความเพิม่ เติมหรอื อนุรักษคาํ สอนเดมิ ไว เชน สอนใหมีเมตตากรุณาตอกนั สอนใหรักกัน
ในระหวางพ่ีนอง สอนใหทําความดี สอนใหเห็นแกบุญทรัพยมากกวาสินทรัพย สอนใหแสวงหา
คุณธรรมยิ่งกวาสิ่งอื่น สอนหลักการคบหาซึ่งกันและกัน สอนใหตอตานความอยุติธรรม สอนเร่ือง
จิตใจวา เปนรากฐานแหงความดีความชั่ว สอนถึงความกรุณาของพระเจา สอนถึงความขัดแยงกัน
ระหวา งพระเจากับเงิน สอนใหร ักษาศลี รักษาธรรม สอนวิธีไปสวรรค สอนเรื่องความสุขจากการทําใจ
ใหอิสระ ฯลฯ เปนตน
นักบวช/ผูสืบทอดศาสนา ผูสืบทอดคริสตศาสนา คือ สาวกพระ บาทหลวง หมอสอนศาสนา
และครสิ ตศาสนกิ ชน ผูเลื่อมใสในคริสตศ าสนา
ศาสนสถาน ศาสนสถานที่ใชประกอบกิจกรรมสําคัญทางศาสนาของคริสตศาสนิกชน คือ
โบสถ วิหาร
สัญลักษณ สัญลักษณ คือ เคร่ืองหมายแสดงความเปนคริสตศาสนิกชน ทุกนิกายใช
เคร่อื งหมายไมก างเขนเหมือนกนั หมด ไมก างเขน เปนหลักใชประหารนักโทษชาวปาเลสไตน ในสมัย
โบราณ นักโทษที่ถูกตัดสินประหาร จะถูกตรึงไมกางเขน แลวนําไปปกตั้งไวกลางแดดใหไดรับ
ความทุกขท รมานจากความรอ น และความหวิ กระหาย จนกวาจะตาย พระเยซูส้ินพระชนม โดยถูกตรึง
ไมกางเขน จึงถือเอาไมก างเขน เปน สัญลกั ษณแ สดงถงึ ความเสียสละที่ยงิ่ ใหญ เปนนริ ันดรของพระองค

พิธกี รรมสําคัญในครสิ ตศ าสนา

พธิ ีกรรมในศาสนานมี้ ีสาํ คัญ ๆ อยู 7 พิธี เรียกวา พธิ ีรบั ศลี ศักดส์ิ ิทธ์ิ มีดงั น้ี
1) ศีลลางบาปหรือการรับบัพติสมา เปนพิธีแรกท่ีคริสตชนตองรับ โดยบาทหลวงจะใช
นํา้ ศกั ดส์ิ ิทธ์ิเทลงบนศรี ษะ พรอมเจมิ นํา้ มนั ท่ีหนาผาก
2) ศีลอภัยบาป เปนการสารภาพบาปกับพระเจา โดยผานบาทหลวง บาทหลวง จะเปน
ผตู กั เตอื น สั่งสอน ไมใ หท าํ บาปนัน้ อีก และทาํ การอภัยบาปใหในนามพระเจา

52

3) ศลี มหาสนิท เปน พิธกี รรมรบั ศลี โดยรับขนมปงและเหลาองุนมารับประทาน โดยเชื่อวา
พระกายและพระโลหิตของพระเยซู

4) ศีลกําลงั เปนพธิ รี บั ศลี โดยการเจิมหนา ผาก เพอ่ื ยืนยันความเชือ่ วา จะนับถือศาสนาครสิ ต
ตลอดไป และไดรับพระพรของพระจติ เจา ทําใหเ ขม แข็งในความเชื่อมากข้ึน

5) ศีลสมรส เปน พธิ ีประกอบการแตง งานโดยบาทหลวงเปนพยาน เปน การแสดงความสัมพันธวา
จะรกั กนั จนกวาชวี ิตจะหาไม

6) ศีลบวช สงวนไวเฉพาะผูท่จี ะบวชเปนบาทหลวง และเปนชายเทา นัน้
7) ศีลเจมิ คนไข เปน พิธเี จมิ คนไขโดยบาทหลวง จะเจิมนํา้ มันลงบนหนาผากและมอื ทงั้ สองขาง
ของผปู ว ย ใหร ะลึกวา พระเจาจะอยกู ับตน และใหพลงั บรรเทาอาการเจบ็ ปวย
สาํ หรบั นกิ ายโรมันคาทอลิกและนิกายออรโธด็อกซ จะมพี ิธีกรรมท้ัง 7 พิธี แตสําหรับนิกาย
โปรเตสแตนท จะมเี พียง 2 พิธี คอื พิธีบพั ตสิ มาและพิธมี หาสนิท

แบบอยา งของครสิ เตียนท่ดี ี

มารต นิ ลเู ธอร คิง
มารตนิ ลเู ธอร คิง เกิดในครอบครวั ทป่ี ูติดสุรา มีหนี้สินมากมาย แตพอของ คิง ใฝดีในชีวิต
อดทนเรียนตอในมหาวิทยาลัย และเปนศาสนาจารยประจําโบสถ สามารถสรางฐานะไดดวยตนเอง
จนกลายเปนบคุ คลชน้ั สงู ของคนผิวดําในแอตแลนตา แตในสังคมขณะนั้นยังแยกผิวสีคนดําเปนทาส
และถูกเฆีย่ นตี คิง เปนเด็กฉลาดและราเรงิ เปนหัวหนา กลมุ ของเพอ่ื น เขาไดรบั การฝกใหอ ดกลนั้ และ
มรี ะเบยี บวินัย เขาตองไปโรงเรียนสอนศาสนาและโบสถในวันอาทิตย บายสงหนังสือพิมพ นอนแต
หัวค่ํา และต่นื เชาเรยี นคมั ภีรไบเบิล ตองสวดมนตก อนรบั ประทานอาหาร คิง อยากเรียนแพทย แตเม่ือ
ไดร บั การดหู มิน่ จากคนผวิ ขาว เขาจงึ เรียนทนายความ ทม่ี หาวทิ ยาลยั มอรเฮาร เขาฝกเปนนักพูด ได
รางวัลในการประกวดวาทศิลป เปนนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเย่ียม และเขาตัดสินใจเปนนักเทศน
เขาเขยี นบทความลงในหนังสือพมิ พ เรยี กรองใหคนผิวดําเขมแข็ง จนประธานาธิบดี ลินดอน บี จอหนสัน
ยินยอมออกกฎหมายวาดวยสิทธิมนุษยชน ดร.มารติน ลูเธอร คิง จูเนียร ไดรางวัลโนเบล และ
เขาเสียชีวิตลงดวยนํา้ มอื ชาวผวิ ขาว เม่อื วนั ท่ี 4 เมษายน 1968

53

3.4 หลกั ธรรม – คาํ สอนของศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู

คาํ สอนสาํ คญั ของศาสนาพราหมณ - ฮินดู

ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดเู ปนศาสนาทเ่ี กา แกท่สี ดุ มหี ลกั ธรรมสําคญั ๆ ดงั น้ี
1. หลกั ธรรม 10 ประการ

1) ธฤติ ไดแก ความพอใจ ความกลา ความมั่นคง ซ่ึงหมายถึง การพากเพียรจนไดรับ
ความสาํ เรจ็

2) กษมา ไดแก ความอดทน น่ันคือ พากเพียร และอดทน โดยยึดความเมตตา กรุณา
เปน ทตี่ ั้ง

3) ทมะ ไดแก การขมจิตใจของตนดว ยเมตตา และมีสติอยูเ สมอ
4) อสั เตยะ ไดแก การไมล กั ขโมย ไมก ระทําโจรกรรม
5) เศาจะ ไดแก การกระทาํ ตนใหบ รสิ ทุ ธท์ิ ง้ั กายและใจ
6) อินทรยี นครหะ ไดแ ก การหม่ันตรวจสอบอนิ ทรยี  10 ประการ ใหไดร บั การตอบสนอง
ทถ่ี ูกตอง
7) ธี ไดแก ปญญาสติ มติความคิด ความมัน่ คง ยนื นาน นน้ั คือ มปี ญญาและรจู กั ระเบียบ
วธิ ีตาง ๆ
8) วทิ ยา ไดแ ก ความรูท างปรัชญา
9) สัตยา ไดแก ความจริง คือ ซอื่ สตั ยต อกนั และกนั
10) อโกธะ ไดแ ก ความไมโ กรธ
2. หลกั อาศรม (ข้นั ตอนแหง ชวี ติ ) 4 คอื

1) พรหมจารี ขน้ั ตอนเปน นกั ศึกษา
2) คฤหัสถ ขนั้ ตอนเปน ผคู รองเรือน
3) วานปรสั ถ ขนั้ ตอนละบา นเรือนเขา ปา หาความสงบวิเวก
4) สนั ยาสี ข้ันตอนสละเพศฆราวาส ออกบวช บําเพญ็ พรต เพ่อื หาความสขุ ทแ่ี ทจริง
ของชีวติ
3. หลักเปา หมายของชวี ติ 4 ประการ คือ
1) กามะ การหาความสุขทางโลกอยางถูกตอง สมดลุ
2) ธรรมะ ปฏิบตั ิหนาทต่ี ามวรรณะไดถกู ตอ ง
3) อรรถะ สรา งฐานะทางครอบครวั ใหม ัน่ คงในทางเศรษฐกจิ
4) โมกษะแสวงหาทางหลุดพน

54

บคุ คลตัวอยา งในศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู

มหาตมะ คานธี เปน บคุ คลตวั อยางของศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดู ไดอ ยางดี ทานมหาตมะ คานธี
เปนชาวอนิ เดีย ไดรับการศึกษากฎหมายจากประเทศอังกฤษ แตทานยังคงไวซึ่งความเปนผูอนุรักษ
วัฒนธรรมชาวอนิ เดยี ไวไ ด ทา นเปนผูนําของชาวอินเดียในการตอสู เพ่ือเอกราชของชาวอินเดียดวย
วธิ กี ารอหิงสา คอื การตอตานอยางสงบ อดอาหาร เปนบุคคลตัวอยางท่ีใชชีวิตอยางสมถะ เรียบงาย
เปนวรี บุรุษของชาวอนิ เดียท่สี ามารถตอสเู อาอธิปไตยคนื จากองั กฤษได สาเหตุที่ทานเรม่ิ การตอสูเกิด
จากเม่อื ทา นไปทาํ งานทป่ี ระเทศแอฟริกา ทานโดยสารรถไฟช้นั หน่ึง แตพ นกั งานรถไฟไมใ หทานนั่งชั้น 1
เพราะที่นั่งเอาไวส าํ หรับคนผวิ ขาว ทา นจึงโดนไลลงจากรถไฟ ทานน่ังอยูท่ีสถานีรถไฟท้ังคืน ครุนคิด
ในเร่ืองนี้ และทา นสามารถรวมกลุมชาวอนิ เดยี ตอตา นชาวผิวขาวในแอฟริกา เมื่อทานมาอยูที่อินเดีย
แตเ ดมิ ทานสนบั สนุนการทํางานของอังกฤษ แตเม่ืออังกฤษ ออกกฎหมายตรวจรูปพรรณหญิงอินเดีย
ตองถอดเสื้อผาตอหนาเจาหนาท่ีอังกฤษ ทานจึงเร่ิมตนนําอินเดียสูอังกฤษ จนไดรับชัยชนะดวย
วิธอี หงิ สาตอ สดู วยความสงบ

กิจกรรมท่ี 3
3.1 ใหผ เู รยี นยกตัวอยางบคุ คลในชมุ ชนของทานทนี่ ําหลกั ธรรมทางศาสนามาปฏิบตั ิและ

เปนทย่ี อมรับของสังคมและชุมชน
3.2 ผเู รยี นยดึ หลกั ธรรมขอ ใดในศาสนาที่ตนเองนับถอื ในการแกไขปญหาชวี ติ และพฒั นา

ชวี ติ
3.3 ใหผูเรียนอธิบายหนาทแ่ี ละการปฏบิ ตั ิทดี่ ตี ามหลักศาสนาของตน

55

เรอ่ื งท่ี 4 หลักธรรมในแตล ะศาสนาท่ีทาํ ให

อยูรว มกับศาสนาอ่ืนไดอยางมีความสขุ

4.1 ศาสนาพทุ ธ ไดแก พรหมวิหาร 4 และฆราวาสธรรม

พรหมวหิ าร 4

วิหาร แปลวา ทอี่ ยู พรหม แปลวา ประเสรฐิ คาํ วา พรหมวิหาร หมายความวา เอาใจจับอยู

ในอารมณแหงความประเสริฐหรือเอาใจไปขงั ไวในความดีทสี่ ดุ ซ่งึ มคี ุณธรรม 4 ประการ คอื

1. เมตตา

2. กรณุ า

3. มทุ ติ า

4. อเุ บกขา

เมตตา แปลวา ความรกั หมายถึง รกั ที่มุงเพ่ือปรารถนาดีโดยไมห วังผลตอบแทนใด ๆ จึงจะ

ตรงกับคําวา เมตตา ในที่นี้ ถาหวังผลตอบแทน จะเปนเมตตาที่เจือดวยกิเลส ไมตรงตอเมตตา

ในพรหมวหิ ารนี้

ลกั ษณะของเมตตา ควรสรางความรูสึกคุม อารมณไวตลอดวันวา เราจะเมตตาสงเคราะห

เพ่ือนท่ีเกิด แก เจ็บ ตาย จะไมสรางความลําบากใหแกสรรพสัตวทั้งหลาย ความทุกขที่เขามี

เราก็มเี สมอเขา ความสขุ ที่เขามีเราก็สบายใจไปกบั เขา รักผูอ ืน่ เสมอดวยรกั ตนเอง

กรุณา แปลวา ความสงสาร หมายถึง ความปรานี ปรารถนาใหผูอื่นพนทุกข ความสงสาร

ปรานีนกี้ ไ็ มหวังผลตอบแทน เชนเดยี วกนั สงเคราะหส รรพสัตวท ม่ี ีความทุกขใหหมดทุกขตามกําลังกาย

กําลงั ปญ ญา กําลงั ทรพั ย

ลักษณะของกรณุ า การสงเคราะหทั้งทางดานวัตถุโดยธรรมวา ผูที่จะสงเคราะหนั้นขัดของ

ทางใดหรอื ถาหาใหไมไ ดก ช็ ีช้ อ งบอกทาง

มุทิตา แปลวา มีจิตออนโยน หมายถึง จิตท่ีไมมีความอิจฉาริษยาเจือปน มีอารมณสดช่ืน

แจมใสตลอดเวลา คดิ อยเู สมอวา ถาคนท้ังโลกมีความโชคดี ดว ยทรพั ย มีปญญาเฉลียวฉลาดเหมอื นกัน

ทุกคนแลว โลกน้ีจะเตม็ ไปดวยความสขุ สงบ ปราศจากอันตรายท้งั ปวง คดิ ยนิ ดี โดยอารมณพลอยยินดีนี้

ไมเน่ืองเพื่อผลตอบแทน การแสดงออกถึงความยนิ ดใี นพรหมวหิ าร คอื ไมห วงั ผลตอบแทนใด ๆ ท้งั สิน้

อุเบกขา แปลวา ความวางเฉย น่ันคอื มกี ารวางเฉยตอ อารมณท ่ีมากระทบ ความวางเฉยใน

พรหมวิหารนี้ หมายถงึ เฉยโดยธรรม คือ ทรงความยตุ ิธรรมไมลาํ เอียงตอ ผใู ดผูหนง่ึ

- คนทม่ี พี รหมวหิ าร 4 สมบรู ณ ศีลยอมบริสทุ ธิ์

- คนท่ีมพี รหมวหิ าร 4 สมบูรณ ยอมมฌี านสมาบตั ิ

- คนท่ีมีพรหมวิหาร 4 สมบูรณ เพราะอาศยั ใจเยือกเย็นปญ ญาเกดิ

56

ฆราวาสธรรม

หมายถึง การปฏิบัตติ นเปน ฆราวาสที่ดี ซึง่ เปน ธรรมสาํ หรบั ผคู รองเรอื น มี 4 ประการ คอื
1) สัจจะความจริงใจ ความจริงจังตลอดจนความซ่ือตรงตอกันและกัน สรุปรวม คือ
“ความรับผดิ ชอบ” เปนหลักสาํ คญั ทจ่ี ะใหเกดิ ความไววางใจ และไมตรีจิตสนิทตอกัน ขาดสัจจะเมื่อใด
ยอมเปนเหตุใหเกิดความหวาดระแวง แคลงใจกัน เปนจุดเริ่มตนแหงความราวฉาน ซึ่งยากนักที่จะ
ประสานใหคนื ดไี ดดงั เดมิ ซ่ึงถามคี วามรับผดิ ชอบในตนเองหรอื แมแตร บั ผดิ ชอบผอู ่ืน ก็จะสงผลใหเกดิ
ความผาสกุ ได
คนมสี ัจจะ จึงมกั จะแสดงความรบั ผดิ ชอบออกมา 4 ดา น คือ

1.1 ดานหนาทแ่ี ละการงาน ทํางานชนิ้ นน้ั ใหสําเร็จไมวา จะเกดิ อุปสรรคใด ๆ กต็ ามหรอื
แมแ ตส ภาพแวดลอมจะไมเ อ้อื อาํ นวยกต็ าม

1.2 ดา นคําพูด พดู อยา งไร ทําอยางน้นั และทาํ อยา งไร กพ็ ูดอยา งน้นั
1.3 ดา นการคบคนจรงิ ใจ ไมมเี หล่ยี มคู วากนั ตรง ๆ ซ่อื ๆ จรงิ ใจ ไมลําเอยี ง ไมมีอคติ
4 ประการ ไดแ ก

1. ไมลําเอยี ง เพราะรัก
2. ไมลําเอียง เพราะชงั
3. ไมลาํ เอียง เพราะโง
4. ไมล าํ เอียง เพราะกลวั
1.4 ดานศีลธรรม ความดียึดหลักคุณธรรม ไมผิดศีล ผิดธรรม ผิดประเพณี และ
ผดิ กฎหมายบา นเมือง
2) ทมะ การรูจักขมจิตขมใจตนเอง มีความกระตือรือรนในการเคี่ยวเข็ญ ฝกตนเอง
บงั คับ ควบคุม อารมณ ขมใจ ระงับความรสู ึกตอ เหตุบกพรองของกันและกัน อยางไมมีขอแม เงือ่ นไข
เพือ่ ใหตนเองมที ้งั ความรู ความสามารถ และความดีเพ่ิมพูนมากข้ึนทุกวัน ๆ รูจักฝกฝน ปรับปรุงตน
แกไ ขขอ บกพรอง ปรบั นิสยั และอธั ยาศยั ไมเปนคนดือ้ ดา น เอาแตใจและอารมณของตน
3) ขันติ ความอดทนอดกลั้นตอความหนักและความรายแรงท้ังหลาย ชีวิตของผูอยู
รวมกัน นอกจากมีขอ แตกตา ง ขดั แยงทางอปุ นสิ ัย การอบรม และความตองการบางอยาง ซึ่งจะตอง
หาทางปรับปรุงเขาหากัน บางรายอาจจะมีเหตุลวงเกินรุนแรง แสดงออกจากฝายใดฝายหน่ึง ซ่ึง
อาจจะเปน ถอยคําหรือกิริยาอาการ จะโดยต้ังใจหรือไมก็ตาม เมื่อเกิดเหตุเชนน้ี อีกฝายหนึ่งจะตอง
รจู ักอดกลนั้ ระงบั ใจ ไมก อเหตุใหเรือ่ งลุกลามกวางขยายตอไป ความรา ยจึงจะระงับลงไป นอกจากน้ี
ยงั จะตอ งมีความอดทนตอความลําบาก ตรากตรํา และเรื่องหนักใจตาง ๆ ในการประกอบการงาน
อาชพี เปน ตน โดยเฉพาะเมอื่ เกิดภัยพิบัติ ความตกต่ําคับขนั ไมตีโพยตพี าย แตมสี ตอิ ดกลน้ั คดิ อบุ าย

57

ใชปญญาหาทางแกไขเหตุการณใหลุลวงไปดวยดี ชีวิตของคูครองท่ีขาดความอดทน ยอมไมอาจ
ประคบั ประคองพากันใหรอดพน เหตรุ า ยตา ง ๆ อันเปนประดจุ มรสมุ แหงชวี ิตไปได

ความอดทนพน้ื ฐานใน 4 เรื่องตอ ไปน้ี เปน สงิ่ ท่ีตองเจอในชีวติ ของเราโดยท่วั ไป คือ
3.1 ตองอดทนตอธรรมชาติท่ีไมเอื้ออํานวย ทนท้ังแดด ลม ฝน ส่ิงแวดลอมที่ไม

เอ้ืออํานวย เปนตน
3.2 ตอ งทนตอทุกขเวทนา คือ การทนตอสภาพสังขารของตน เชน การเจ็บปวย ก็ไม

โวยวาย คราํ่ ครวญ จนเกินเหตุ เปน ตน
3.3 ตองอดทนตอการกระทบกระท่ัง คือ การอดทนกบั คนอื่น รวมถงึ อดทนกับตนเอง

ในเรอื่ งทไ่ี มไดด ง่ั ใจตนเอง การกระทบกระทง่ั จิตใจตนเองดว ย
3.4 ตอ งอดทนตอ กเิ ลส คือ การอดทนตอนิสัยไมดีของเราเอง ไมใหระบาดไปติดคนอ่ืน

และตองอดทนตอการย่ัวยุของอบายมุข ซ่ึงเปนสิ่งแวดลอมภายนอกที่พยายามกระตุนกิเลสในใจ
ตนเอง อดทนตอ อบายมขุ 6 คอื การดม่ื สุรา การเท่ยี วกลางคนื การเท่ียวในสถานบนั เทิงเริงรมย การ
เลนพนนั การคบคนช่วั เปน มติ ร และการเกยี จครา นตอ หนา ท่ีการงาน

4) จาคะ ความเสยี สละ ความเผ่ือแผแบงปน ตลอดถงึ ความมีน้ําใจเอื้อเฟอตอกัน นึกถึง
สว นรวมของครอบครวั เปนใหญ ชีวติ บุคคลทจี่ ะมคี วามสขุ จะตองรูจกั ความเปน ผูใ หด ว ย มใิ ชเ ปน ผรู ับ
ฝา ยเดียว การให ในท่ีน้ีมใิ ชห มายแตเ พยี งการเผอื่ แผ แบง ปน สิ่งของ อนั เปนเรอ่ื งที่มองเห็นและเขาใจ
ไดงาย ๆ เทานั้น แตยังหมายถึง การใหน้ําใจแกกัน การแสดงนํ้าใจเอ้ือเฟอตอกัน ตลอดจนการ
เสียสละ ความพอใจ และความสุขสวนตัวได เชน ในคราวท่ีคูครองประสบความทกุ ข ความเจ็บไข
หรือประสบปญหาทางธุรกิจ เปนตน ก็เสียสละความสุข ความพอใจของตน ขวนขวายชวยเหลือ
เอาใจใสด ูแล เปน ทพ่ี ่ึงอาศยั เปน กาํ ลังสงเสริม หรือชวยใหกาํ ลงั ใจไดโดยประการใดประการหน่ึ งตาม
ความเหมาะสม รวมความวา เปนผูจิตใจกวางขวาง เอ้ือเฟอเผ่ือ แผเสียสละ ไมคับแคบ เห็นแกตัว
ชีวติ ครอบครวั ท่ขี าดจาคะ กค็ ลายกบั การลงทนุ ทีป่ ราศจากผลกาํ ไรมาเพมิ่ เตมิ สว นทม่ี มี าแตเดิมก็คงท่ี
หรอื หมดไป เหมือนตน ไมท ี่มไิ ดรบั การบาํ รงุ ก็มีแตอ ับเฉารว งโรย ไมมคี วามสดช่ืน งอกงาม

4.2 ศาสนาอสิ ลาม

มีหลักธรรมที่ทําใหอยูรวมกับศาสนาอ่ืนไดอยางมีความสุข เพราะยึดหลักจริยธรรมเปน
ธรรมนูญ สําหรับมนุษยท่ีครอบคลุมทุกดานท้ังสวนตัว ครอบครัว สังคม สอนใหมนุษยอยูกันดวย
ความเปนมิตร ละเวนการรบราฆาฟน การทะเลาะเบาะแวง รุกรานสิทธิผูอ่ืน ไมลักขโมย ฉอฉล
หลอกลวง ไมผิดประเวณี ทําอนาจาร ไมดื่มของมึนเมา ไมบอนทําลายสังคม ไมวารูปแบบใดและ
ศาสนาอิสลาม ถือวา พนี่ องมสุ ลมิ ท่ัวโลกเปนครอบครวั กนั เปนน้ําหนึง่ ใจเดียวกัน สามัคคีกัน และรักกัน

ศาสนาอิสลามมวี ธิ ฝี ก ตนใหอดทนดวยการถือศลี อด และรักผูอนื่ ดว ยการบรจิ าคทาน เรยี กวา
ซะกาต

58

การถอื ศลี อด

การถอื ศีลอด คอื งดเวน จากการกระทาํ ตาง ๆ ดงั ตอไปน้ี ตงั้ แตแ สงอรุณขึน้ จนถงึ ตะวนั ตก ใน
เดือนรอมะฎอน (เดอื นท่ี 9 ขอฮจิ เราะหศักราช) เปนเวลา 1 เดอื นคอื

1. งดการกินและการด่มื
2. งดการมเี พศสมั พันธ
3. งดการใชว ตั ถภุ ายนอกเขาไปในอวัยวะภายใน
4. งดการแสดงอารมณรายและความผิดตาง ๆ พรอมท้ังกระทําในสิ่งตาง ๆ
ดังตอไปน้ี

- ทาํ นมสั การพระเจาใหม ากกวาวนั ธรรมดา ถาเปนการถอื ศลี รอมะฎอน ใหทํา
ละหมาดตะรอวีห จํานวน 20 รอ็ กอะฮ

- อานคมั ภีรอลั กรุ อานใหมาก
- สาํ รวมอารมณ และจติ ใจใหดี
- ทาํ ทานแกผ ยู ากไร และบริจาคเพือ่ การกศุ ล
- กลาว “ซกิ ร”ิ อนั เปน บทรําลึกถงึ พระเจา
- ใหนงั่ สงบสติสงบจติ “อิตติกาฟ” ในมสั ยดิ
การถือศลี อด มีเปาหมายเพอื่ เปนการฝกฝนใหต ัวเองมจี ติ ผกู พนั และยาํ เกรงตอ พระเจาเพอ่ื
การดาํ เนนิ ชีวิตในทกุ ดา น ตามคําบัญชาของพระองค อนั เปนผลดี ทําใหเกดิ ปกติสขุ ท้ังสว นตวั และสวนสังคม
นอกจากนนั้ ประโยชนของการถือศีลอด ยังเปนผลดีในดานสุขภาพอนามัยอีกดวย เพราะ
การถอื ศลี อด เปนการอดอาหารในชว งเวลาที่ถูกกําหนดไวอ ยางตายตวั น้นั จะทําใหร า งกายไดล ะลาย
สวนเกินของไขมันท่สี ะสมเอาไว อนั เปนบอเกดิ ของโรครายหลายประการดวย
การถอื ศลี อด ทําใหเกดิ การประหยดั ทัง้ อาหารของโลก และสง่ิ ฟุมเฟอยตาง ๆ ในหน่ึงเดือนท่ี
ถือศีลอด คาอาหารท่ีลดลงจะเปนจํานวนมหาศาล เทากับเดือนถือศีลอด น้ัน มุสลิมชวยทําใหโลก
ประหยัดโดยตรง

ซะกาต

ซะกาต ในศาสนาอิสลาม หมายถึง ทานประจํา ซึ่งศาสนาบังคับใหผูมีทรัพยสินมากเกิน
จํานวนที่กําหนดไว (ในศาสนา) จายแกผ ูควรไดร ับ (ตามอัตราทีศ่ าสนากาํ หนด)

ที่มาของการบริจาคซะกาต
1. คําสอนในศาสนาที่ใหมุสลิมทุกคน ถือวา บรรดาทรัพยสินท้ังหลายที่หามาได น้ัน คือ
ของฝากจากอลั เลาะหเจา ใหจ า ยสวนหนึ่งแกค นยากคนจน
2. ชวี ติ จรงิ ของพระศาสดามะหะหมดั เคยผานความยากจนมากอ น

59

วตั ถปุ ระสงคของการบริจาคซะกาต
1. เพอ่ื ชาํ ระจติ ใจของผูบรจิ าคใหบรสิ ทุ ธ์ิ ไมต กเปน ทาสแหง วตั ถุ ดว ยความโลภ และเห็นแกตวั
2. เพอ่ื ปลูกฝงใหมุสลิมทงั้ หลาย เปนผูม ีจิตใจเมตตา กรณุ า เอือ้ เฟอ เผือ่ แผ ซงึ่ กนั และกนั
3. เพอ่ื ลดชอ งวา งระหวา งชนชน้ั ในสงั คม ดวยวิธีการสังคมสงเคราะห
ลักษณะของการบรจิ าคซะกาตทถ่ี อื ไดวา ไดบญุ กศุ ลตามความมุง หมาย ไดแ ก
1. ทรพั ยส ินทบี่ รจิ าคตองไดม าดว ยความสจุ ริต
2. ตอ งเตม็ ใจในการบริจาค ไมห วงั สิ่งตอบแทน ไมเจตนา เพื่ออวดความมงั่ มี และไมล ําเลกิ
บญุ คุณ
อตั ราการบรจิ าคซะกาต
1. ซะกาตพืชผล อันไดแก การเพาะปลูกท่ีนําผลผลิตมาเปนอาหารหลักในทองถ่ิน น้ัน
เชน ขา ว ขา วสาลี เปน ตน เม่อื มจี ํานวนผลิตได 650 กก. ตองจา ยซะกาด 10% สําหรบั การเพาะปลูก
ทีอ่ าศยั ฝน และเพยี ง 5% สาํ หรบั การเพาะปลกู ทใ่ี ชน า้ํ จากแรงงาน
2. ทองคําเงินและเงินตรา เมื่อมีจํานวนเหลือใชเพียงเทาทองคําหนัก 5.6 บาทเก็บไว
ครอบครอง ครบรอบปก ต็ องบริจาคออกไป 2.5% จากทั้งหมดทมี่ อี ยู
3. รายไดจากการคา เจาของสินคาตองคิดหักในอัตรา 2.5% ในทุกรอบป บริจาคเปน
ซะกาต ท้ังนี้ทรพั ยส ินจะตอ งไมนอยกวา เทยี บนํา้ หนกั ทองคาํ เทากับ 4.67 บาท
4. ขุมทรัพยเ หมอื งแร เมือ่ ไดขดุ กรสุ มบัตแิ ผนดิน หรือเหมืองแรไ ดส มั ปทาน จะตองซะกาต
20% หรือ 1 ใน 5 จากทรพั ยสินท้ังหมดทีไ่ ด
5. ปศุสตั ว ผูท ีป่ ระกอบอาชีพเลย้ี งสตั ว คือ วัว ควาย อูฐ แพะ จะตองบริจาคในอัตราท่ีแนนอน
เปนซะกาตออกไป เชน มีวัว ควาย ครบ 30 ตัว ใหบริจาคลูกวัว อายุ 1 ขวบ ครบ 100 ตัว บริจาคลูกวัว
อายุ 2 ขวบ 1 ตวั และ 1 ขวบ 2 ตวั เปน ตน

4.3 ศาสนาครสิ ต

ไดแ ก หลกั ความรัก ซึง่ กอใหเกิดความรัก สามัคคี ของคนในโลก ท้ังนี้ เพราะหลักความรัก
เปนคําสอนทางจริยธรรมที่สําคัญที่สุดของศาสนาคริสต ความรักในที่นี้ มิใชความรักอยางหนุมสาว
อนั ประกอบดวยกิเลส ตัณหา และอารมณปรารถนา อันเห็นแกตัว แตหมายถึง ความเปนมิตรและ
ความปรารถนาใหผูอ่ืนมีความสุข พระคริสตธรรม ท้ังพระคริสตธรรมใหม และพระคริสตธรรมเกา
ตางก็มีคาํ สอนท่เี นน เร่อื ง ความรัก ซงึ่ มีอยู 2 ประเภท ไดแ ก ความรกั ระหวางมนษุ ยก ับพระเจา และ
ความรกั ระหวา งมนษุ ยกบั มนุษย

60

ในพระคริสตธรรมเกา ความรัก เปนเร่ืองของความผูกพันระหวางพระเจากับชนชาติอิสราเอล
โดยท่ีพระเจาทรงเปนผูใหค วามรักแกช นชาตอิ สิ ราเอลกอ น จากนั้นชาวอิสราเอล จึงสนองตอบความรัก
ของพระเจา พระคริสตธรรมเกา ไดบ นั ทึกหลักความรกั ระหวา งมนุษยกับมนุษย ไวว า

“จงอยาเกลยี ดชังพนี่ อ งของเจา อยใู นใจ แตเ จาจงตกั เตือน เพ่อื นบานของเจา เพื่อจะไมตอง
รับโทษ เพราะเขา เจาอยาแคนหรือผูกพยาบาท ลูก หลาน ญาติพ่ีนองของเจา แตจงรักเพ่ือนบาน
เหมือนรกั ตนเอง”

ในพระคริสตธรรมใหม คําสอน เรื่อง หลักความรักระหวางมนุษยกับพระเจา ไดเปล่ียนไป
โดยใหพระเยซูเปนสัญลักษณของความรักสูงสุดที่พระเจาทรงมีตอมนุษย เห็นไดจากการท่ีพระเยซู
ทรงยอมสนิ้ พระชนมบ นไมกางเขน เพ่ือใหผมู ีศรทั ธาในพระองค จะไดพนจากความผิดบาปเจตนารมณ
ของพระเยซูท่ีทรงยอมสละพระชนมชีพ เพ่ือไถบาปของมวลชน นั้น ปรากฏอยูในคําอธิษฐานของ
พระองค กอ นทีท่ หารโรมันจะเขา จับกมุ และพระคริสตธรรมใหม ไดบันทึกความสําคัญของความรัก
ระหวางมนุษยกบั มนษุ ย วา

“มีธรรมาจารยคนหนงึ่ เมอื่ มาถงึ ไดย ินเขาไลเลียงกัน และเห็นวา พระองค ทรงตอบเขาไดดี
จึงทูลถามพระองค วา “ธรรมบัญญัติขอ ใดเปนเอก เปนใหญ กวาธรรมบัญญัติท้ังปวง” พระเยซูจึง
ตรัสตอบคนนนั้ วา “ธรรมบัญญัติเอก นั้น คือวา โอชนอิสราเอลจงฟงเถิด พระเจาของเราท้ังหลาย
ทรงเปนพระเจา องคเ ดียว และพวกทานจงรกั พระเจาดวยสดุ จติ สดุ ใจ ของทา นดวย สดุ ความคิดและ
ดวยสิ้นสุดกําลังของทาน และธรรมบัญญัติท่ีสอง น้ันคือ จงรักเพ่ือนบาน เหมือนรักตนเอง ธรรม
บัญญตั ิอืน่ ที่ใหญกวาธรรมบญั ญัติท้ังสองน้ี ไมม ”ี

คาํ วา “เพ่ือนบา น” น้หี มายถงึ เพอื่ นมนุษยท่ัวไป พระเยซู ทรงสอนใหมนุษย เผื่อแผความรัก
ไปรอบดา น ไมเลือกที่รักผลักที่ชัง หลักคําสอนสําคัญนี้ มีอยูในบทเทศนาบนภูเขา ความรักระหวาง
มนษุ ยกบั มนษุ ย แสดงออกไดโดยความเมตตา กรุณา และความเสียสละ สวนความรักที่มนุษยมีตอ
พระเจา แสดงออกโดยความศรัทธา ความศรทั ธาสรปุ ได 5 ประการ คอื

1. ศรัทธาวาพระเจา คอื พระเยโฮวาห เปนพระเจาสงู สุดเพียงองคเ ดยี ว
2. ศรทั ธาวาพระเจา ทรงรกั มนษุ ยอยา งเทา เทียมกัน
3. ศรทั ธาวา พระเยซู เปน บตุ รของพระเจา
4. ศรทั ธาวาพระเยซู เปนพระผชู ว ยใหรอด
5. ศรทั ธาวาในแผน ดนิ สวรรค หรอื อาณาจกั รของพระเจาที่กาํ ลังจะมาถึง
หลักความรกั และหลกั อาณาจักรของพระเจา มคี วามสมั พันธก ัน กลา วคอื มนุษยจะสามารถ
เขา ถงึ อาณาจักรของพระเจา ได กโ็ ดยอาศยั ความรัก เปน คุณธรรมนําทาง และอาณาจักรของพระเจา
ก็เปนอาณาจกั รทีบ่ ริบรู ณดวยรกั

61

4.4 ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู

ศาสนาพราหมณ – ฮินดู ยึดหลักปรมาตมนั มคี วามหมายดังนี้

หลกั ปรมาตมัน

คําวา ปรมาตมัน หมายถงึ สง่ิ ย่ิงใหญอ นั เปนที่รวมของทกุ สง่ิ ทุกอยางในสากลโลก ซง่ึ เรียกช่ือ
ส่งิ นวี้ า พรหมปรมาตมนั กับพรหม จงึ เปนสิ่งเดียวกันและมีลกั ษณะดังตอ ไปน้ี

1) เปนสิ่งท่ีเกดิ ขนึ้ เอง
2) เปน นามธรรมสิงสถติ อยูใ นสงิ่ ท้งั หลายทง้ั ปวง เรียกวา อาตมัน เปนสิ่งท่มี องไมเหน็ ดว ยตา
3) เปนศนู ยร วมแหงวิญญาณทง้ั ปวง
4) ส่งิ ทง้ั หลายทง้ั ปวงในสากลโลกลว นเปนสวนยอยทแี่ ยกออกมาจากพรหม
5) เปน ตวั ความจรงิ (สัจธรรม) สง่ิ เดยี ว (โลกและสงิ่ อน่ื ๆ ลวนเปน มายาภาพลวงทีม่ ีอยชู วั่ คร้ัง
ชัว่ คราว เทา นนั้ )
6) เปนผูป ระทานวญิ ญาณความคดิ และความสันติ
7) เปนส่งิ ทด่ี ํารงอยใู นสภาพเดิมตลอดกาล
วิญญาณของสตั วโลกทั้งหลาย (อาตมัน) คือ สวนท่ีแยกออกมาจากวิญญาณรวมของพรหม
(ปรมาตมัน) วญิ ญาณยอยแตละดวงเหลาน้ี เม่ือแยกออกมาแลว ยอมเขาสิงสถิตในสิ่งมีชีวิตรูปแบบ
ตาง ๆ กนั เชน ในรางกายมนษุ ย เทวดา สัตว และพืช มีสภาพดีบาง เลวบาง สุดแตผลกรรมท่ีทําไวซึ่ง
ถือวา เปนทุกขทั้งสิ้น ตราบใดท่ีวิญญาณเหลาน้ียังไมส้ินกรรม ยอมตองเวียนวายตายเกิดผจญทุกข
อยตู ลอดไป
ดงั น้นั เม่ือทกุ ส่งิ ทุกอยา งในสากลโลกเปนสิ่งเดยี วกนั จึงควรอยูดว ยกนั ดว ยสนั ตแิ ละสงบสขุ ได

กจิ กรรมท่ี 4
ใหครแู บง ผเู รยี นออกเปน 3 กลมุ แลวอภปิ รายถึงโทษของการขาดคุณธรรมจริยธรรมท่ีเกิด

กับตนเองสังคมและประเทศชาติ กลมุ ละ 5 ประเด็น โดยวิเคราะหจากสถานการณความเดือดรอนใน
ปจจุบนั แลว นํามาเสนอในการพบกลมุ

กจิ กรรมท่ี 5

ใหผูเ รียนอา นเรอ่ื งตอไปนแี้ ลว อภิปรายพรอมยกตัวอยางอื่น ๆ จากหนา หนังสือพมิ พ
ที่แสดงโทษผิดศลี ไมร กั ษาศลี 5

62

เพยี งเส้ียวทบ่ี ดั ซบ

เสียงปรบมือดังกึกกองในหองประชุม เมื่อพิธีกรประกาศรายช่ือของแมดีเดน ประจํา
ปการศึกษา 2540 มอื ของแมเย็นเฉียบ เมื่อตอนจับมือของผม ผมประคองแมออกไปรับรางวัลจาก
ผูอ าํ นวยการวทิ ยาลัย นํ้าตาแหง ความปลื้มปติของแมเ ออลนขอบตา เมอ่ื พธิ ีกรอานประวตั ิของแม

“...มคี วามวิริยะอุตสาหะในการเล้ียงดูลูก ทําหนาท่ีเปนท้ังพอและแมอบรมพรํ่าสอนใหลูก
ประพฤติตนเปน คนดี ... สาํ หรบั ลูกน้นั มคี วามประพฤตดิ ี บาํ เพ็ญตนเปน ประโยชนตอสังคม เปนที่รัก
ของครู – อาจารย และเพื่อน ๆ ในวิทยาลัย” คําสรรเสริญเยินยอมากมายจนทาํ ใหหัวใจของผมพองโต

“ลกู แม วนั นเี้ ปน วันท่ีแมม ีความสุขทีส่ ดุ ถึงพอ จะทงิ้ แมไ ป แตแมก็ทาํ หนา ท่ีไดด ีทีส่ ดุ ” แมนํา
โลทีไ่ ดรบั ไปวางไวบนหลังตู ยนื พจิ ารณาอา นขอความซ้าํ แลว ซํ้าอีก

“ดแู มเ จาสิ ภาคภมู ิใจในตัวเจา มากเลยนะ หลงั จากพอเจาไปมีเมียใหม แมก ็ทุมเทความรกั ให
เจา จนหมด ไมย อมแตงงานใหม กเ็ พื่อไมใหเกดิ ปญหาตอ เจา ตอ งรักแมใ หมาก ๆ นะ” คุณตาวัยเจ็ดสิบป
พดู เตอื นหลานชาย ดวงตาฝาฟาง มองดูหลานดว ยความรักท่ีไมแ ตกตางจากผูเปนแม

“ผมจะรกั ษาความดนี ้ีไวตลอดไป คุณตาเช่ือไหมกวาอาจารยจะคัดเลือกได แมดีเดนตองดู
ความประพฤติของลกู กอ น ดกู ารยอมรบั จากอาจารยทุกคน ตลอดทั้งพี่ ๆ และเพื่อน ๆ ในวิทยาลัย”

เชาวันใหม ผมเดินเขาวิทยาลัยอยางสงา ผา เผย รุนพี่รนุ นอง และเพื่อน ๆ มองผมดวยความ
ชื่นชม ผมกลายเปนดาวรุง โดยไมรตู ัว

“เฮยไอทศหุบปากเสียบาง ย้ิมอยูไดทั้งวัน” เพ่ือนในหองเรียนแซวขึ้น หลังจากอาจารย
ท่ีปรึกษาแสดงความชืน่ ชมในช่วั โมงโฮมรูม

“พีท่ ศวา งไหมคืนน้ี จะโทรไปคยุ ดวยนะ” สาวรุนนองชื่อ แปง หนาตาสะสวยเปนที่หมายปอง
ของหนุม ๆ เร่ิมทอดสะพานใหผม

“โทรดึก ๆ หนอยนะกลวั ตากบั แมจะบน” ผมท้งิ ทายใหหลอนเพอ่ื สานสมั พันธตอ ไป
“ไอน อย จะมัวแตเ รียนอยางเดียวไมไ ดหรอกนะ เพ่ือนฝูงมันก็ตองคบบางมีการสังสรรคกัน
บา งตามประสาเด็กหนุม ๆ” รนุ พีส่ าขาเดียวกนั เอย ขึน้ หลังจากเลิกเรียน
“ผมกลวั ตาและแม จะเปน หว งครับพ”ี่
“โธเอย! แกเปนผูชายอกสามศอกนะ ไมใชกะเทย” กลุมพี่หลาย ๆ คนสัพยอกผม พรอม
เสยี งหวั เราะเยาะในที... คําพูดของพวกเขาทําใหผมเก็บไปครุนคิดจนนอนไมหลับท้ังคืน ผมยอมรับวา
ตวั เองคอ นขา งออ นแอในดานจติ ใจ มอี ะไรมากระทบจติ ใจไมได จนบางครัง้ ก็เหมือนกับเปน คนแบกทุกข
หรือแบกทั้งโลกไวคนเดยี ว
“เปนลูกผูชายตองเขมแข็งนะลูก จิตใจตองหนักแนน” แมจะสอนบอยคร้ังที่เวลาเห็นผม
แสดงความออนแอ

63

“แมจ ะไปราชการ 1 สัปดาห ลูกตองรีบกลับบานเพ่ือมาดูแลตานะลูก” แมกําชับผมกอนที่
จะขน้ึ รถไปตางจงั หวัด

“วันนีต้ องทํารายงานสง อาจารย คืนนี้เราระดมสมองกันทบ่ี านไอมืดนะ เออ...แลวไอทศมัน
จะไปหรอื เปลา” สายตาทกุ คูจอ งมาท่ีทศเปน ตาเดียวกนั

“เออ ...ขา ตอ งรีบกลบั บา นมตี า...” เสียงโหฮาปาดงั ลัน่ ทงั้ หอง
“ตัดมนั ออกจากกลุมเลย เรือ่ งมากไปไดรําคาญวะ ”
‘เออ... ไปก็ไปวะเด๋ยี วจะโทรบอกตากอน” ผมพูดขน้ึ เพอ่ื ตัดความราํ คาญ

บานสองชัน้ ในซอยเปลีย่ วที่พวกเพอ่ื น ๆ นดั กนั ระดมสมอง เพือ่ ทาํ รายงานนนั้ ผมมองดูรอบ ๆ
บริเวณบานท่ีมีตนไมและหญาข้ึนเต็มไปหมด ภายในบานปลอยใหรกรุงรัง กล่ินเหม็นอับคละคลุง
ไปหมดจนผมตอ งใชมอื ปดจมกู

“อยาทาํ เปน ผูด ีเลยไอทศ น่ีหละคอื ทีร่ ะดมสมองแก เอย ไมใชระดมสมองเวยเพื่อนขอโทษ...
ขอโทษขา พดู ผิดไป” สายตาของรนุ พี่ และเพือ่ น ๆ หลายคนดูแปลกไป เหมือนมอี ะไรซอนเรน และปกปด
ผมอยู

เสียงวิทยุเปดดังล่ันทั่วบาน ผมมองออกไปนอกหนาตาง เห็นทุงนาเว้ิงวาง สุดลูกหูลูกตา
ผมคิดในใจวา ถา มีบา นขา งเคียงคงไมม ใี ครยอมทนฟง เสียงพวกนีไ้ ด

“เฮยทศมาน่ังตรงน้ียืนเซออยูได” รุนพี่กวักมือเรียก ผมเดินเขาไปสมทบมองเห็นเหลาและ
แกววางเตรยี มพรอมไวแ ลว

“จะเร่ิมทาํ งานกนั เมือ่ ไหร” ผมเอยถามข้นึ เมอ่ื เห็นเพ่ือนแตละคนนั่งเปนกลุม รองรํา ทําเพลง
บา งก็ด้นิ ตามจังหวะอยางเมามนั บา งก็ต้ังวงดืม่ เหลา

“เฮย... ไอโยง เอาปศ าจแดงใหมันกนิ ดวย จะไดลับประสาทมัน” แคปซูลสแี ดงถูกย่ืนใหผม
เมื่อผมปฏิเสธเสยี งเพือ่ น ๆ กด็ ังขึ้น

“มนั เปนกะเทยไปเอากระโปรงมาใหมันนุงดว ย”
“แกเกิดเปน ผูชาย มนั ก็ตองมที ั้งบูแ ละบนุ ไมล องไมร ูแกจะเกิดมาเสียชาตนิ ะ”
“ชวยเชียรม นั หนอยเพอื่ น ๆ” เสียงปรบมือและเสียงลุนดังลั่น ความคิดของผมขณะนั้นมัน
สบั สนไปหมด
“พจ่ี ะกินเปนตัวอยาง” รนุ พีน่ ําเจาปศ าจแดงหยอนลงในปากตามดวยน้ําโซดา
“เห็นไหมพย่ี ังไมเ ปนอะไรเลย กินเขาไปแลวความวิตกกังวลตาง ๆ จะหมดไป” มือของผม
เร่มิ ส่นั เทาตอนรับยาจากรนุ พี่ ผมครุนคดิ ถึงแมแ ตคิดในใจวา
“แมครับผมขอลองครง้ั เดียว เพื่อศกั ดิศ์ รขี องลูกผชู าย”

64

การทดลองของผมในครั้งนั้นมัน คือ ความคิดท่ีเปนเพียงเสี้ยวท่ีบัดซบ ที่ทําใหชีวิตของผม
ตองจมปลกั อยูกับส่งิ เสพตดิ ชนดิ ทถี่ อนตวั ไมขึน้ พอวางทุกครงั้ ผมจะตองมามว่ั สุมกบั พวกเขา ผมเสพ
ทกุ อยา งต้งั แตย ากระตุนประสาท ยากลอ มประสาท จนขณะน้ีผมกาวหนาถึงขั้นตองฉีดมอรฟนและ
เฮโรอินเขากลามเนื้อ หรืออาจเสพโดยยัดไสในบุหร่ี จุดบุหรี่แลวจิ้มสูบ บางครั้งก็แตะจมูกสูดดม
รางกายของผมเริ่มซูบผอมเหลือง ออนเพลีย อารมณเปลี่ยนแปลงงาย คุมดีคุมราย บางคร้ังผม
ทําอะไรลงไปโดยที่ไมร ูสกึ ตัว

เชาวนั รงุ ขึน้ ผมลมื ตาตื่นข้นึ มามองดรู อบ ๆ ท่ีถูกรายลอ มดวยซก่ี รงเหลก็ ผมมองดเู จา หนา ที่
ตํารวจเดินกันขวักไขวไปมา

“ต่นื แลวเหรอ รูตวั หรือเปลาวาทําอะไรลงไป” นายรอยเวรยืนถามผมที่หนาประตู
“หมวดครับผมจําอะไรไมไ ดเ ลยจรงิ ๆ ” ผมใชกาํ ปน ทุบศรี ษะท่ีเร่ิมจะปวดรนุ แรงขึ้นทกุ ที
“เม่อื คนื น้ี แกใชค อนทุบตามรางกายของตาแกเองจนถึงแกช ีวติ กมดเู ส้ือแกสิ คราบเลือดยัง
ตดิ เตม็ ไปหมด”
ผมรบี กมดูเสื้อสขี าวของตวั เอง หวั ใจของผมเริม่ เตนไมเ ปน จังหวะ สมองสับสนจับตนชนปลาย
ไมถูก กอนที่ผมจะลําดับเหตุการณตาง ๆ น้ัน ภาพที่ปรากฏข้ึนขางหนาผม คือ รางของแมที่ว่ิง
กระเซอะกระเซิงผมเผารุงรัง แตส่ิงที่ผมตองตกใจมากที่สุดในชีวิต คือ ภาพของสองมือแมกอดโล
พรอ มตะโกนเสียงดงั วา
“ฉันคือแมดีเดนประจําป ดูโลท่ีฉันไดรับสิ... แสดงวา ลูกของฉันเปนคนดี...ดีจริง ๆ นะ ...”
แมวิ่งชูโลใ หคนน้นั คนนด้ี ู เสียงตาํ รวจพูดกันบนโรงพักชัดเจน และกอ งไปในหูของผมทัง้ สองขางวา
“เปนบาเพราะลกู แท ๆ ... นา สงสารจงั ”

(จากรวมเรอ่ื งสัน้ สงเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมกระทรวงศึกษาธิการ)

กิจกรรมท่ี 6
ใหผ ูเรยี นแบง กลมุ ละ 5 - 7 คน อภิปรายประโยชนข องการมีหลักคณุ ธรรมจรยิ ธรรมประจําใจ

วาเกดิ ผลตอ ตนเองอยางไร และใหตัวแทนออกมารายงานกลมุ ใหญ
ใหผเู รยี นแสวงหาบุคคลในชมุ ชนทีท่ า นเห็นวา เปน คนดีมคี ณุ ธรรมจริยธรรมแลว เขยี น

ภาพประกอบแสดงถงึ ความดงี ามของบุคคลนนั้ ๆ

65

กจิ กรรมที่ 7
ใหค รแู บงผเู รียนออกเปน 3 กลุม แลว อภิปรายถึงโทษของการขาดคณุ ธรรมจรยิ ธรรมทเ่ี กดิ กับ

ตนเองสงั คมและประเทศชาติกลุม ละ 5 ประเด็น โดยวเิ คราะหจ ากสถานการณค วามเดอื ดรอ นในปจ จบุ นั
แลว นํามาเสนอในการพบกลมุ

กจิ กรรมท่ี 8
1. ใหผเู รยี นฝกน่ังทาํ จติ ใจใหสงบ โดยตงั้ มนั่ อยูกบั สงิ่ ใดส่งิ หนึง่ เชน ลมหายใจเขาออก แลว

เปรียบเทียบความรูสึกในขณะที่ทําจิตใจใหสงบกับความรูสึกในยามที่เสียใจ หรือดีใจวา มีสภาพ
ตา งกันอยา งไร แลวนาํ มาอภปิ รายรวมกันในการพบกลมุ

2. สภาพจิตท่ีเปนสมาธิ กับสภาพจิตของบุคคลท่ีอยูในภาวะเหมอลอย ตางกันหรือ
เหมอื นกัน อยา งไร

3. ศึกษาคน ควาขาวอาชญากรรมตามส่ือสารมวลชน แลวใหผูเรียนวิเคราะหถึงสาเหตุของ
การเกดิ อาชญากรรมนัน้ ๆ แลวเปรยี บเทยี บวา ถาเปนผูเรียนจะมีวิธีการปองกันแกไข เพ่ือไมใหเกิด
เหตกุ ารณดังกลา วได อยางไร

4. ใหผเู รยี นเลา ประสบการณ เหตุการณวกิ ฤติอนั ตรายท่ีเกิดขึ้นกับตนเอง และผูเรียนไดใช
สติมาแกไขชวงวิกฤตดังกลาว อยางไร ถาหากขาดสติในชวงวิกฤตน้ัน จะสงผลตอตัวเองอยางไรใน
ปจ จบุ ัน

66

บทท่ี 2

วฒั นธรรม ประเพณี ของไทยและเอเชยี

สาระสาํ คัญ

วัฒนธรรม ประเพณีไทยและในประเทศเอเชีย เปนส่ิงที่มีคุณคาสําหรับชาวไทยและ
ประชาชนชาติอ่ืน ๆ ในทวีปเอเชีย เพราะเปนส่ิงที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ สงผลใหเอเชีย
มีเอกลกั ษณข องตนเอง ในปจ จบุ นั ทีส่ ังคมโลกสอื่ สารไรพรมแดน วัฒนธรรม และประเพณีของเอเชีย
จงึ เปน สิ่งทนี่ าสนใจศกึ ษาคนควา รวมทั้ง การเขา มาทองเที่ยว เพอ่ื การพักผอนหยอนใจ การอนุรักษ
สบื สาน ตลอดจนการสงเสริมคา นิยมท่ีพึงประสงคใหเกิดข้ึนในประเทศไทยและเอเชีย เปนสิ่งสําคัญ
และจําเปนในสังคมปจจุบัน เพราะจะเปนการเสริมสรางวัฒนธรรม ประเพณีของไทยและเอเชียให
ดาํ รงสบื ตอไป

ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวงั

1. มคี วามรคู วามเขาใจในวฒั นธรรม ประเพณขี องประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชีย
2. ตระหนักถึงความสําคัญในวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศไทยและประเทศในทวีป

เอเชีย
3. มสี ว นรว มในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศไทยและประเทศใน

ทวปี เอเชีย
4. ประพฤตติ นตามคานิยมจริยธรรมทพ่ี งึ ประสงคข องสงั คมไทย

67

ขอบขายเน้อื หา

เรอื่ งที่ 1 วัฒนธรรม ประเพณขี องไทยและเอเชยี
เรอ่ื งท่ี 2 การอนรุ กั ษแ ละการสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี
เรือ่ งท่ี 3 แนวทางการอนรุ กั ษแ ละการสานวัฒนธรรม ประเพณี
เรือ่ งที่ 4 คานิยมทพ่ี งึ ประสงค

สอ่ื การเรียนรู

1. วซี ดี ีวัฒนธรรม ประเพณคี านยิ มของไทยและประเทศตาง ๆ ในเอเชีย
2. คอมพวิ เตอร อนิ เทอรเ นต็ วัฒนธรรม ประเพณคี า นยิ มของไทย และประเทศตา ง ๆ

ในเอเชยี

68

เร่อื งที่ 1 วัฒนธรรม ประเพณขี องไทยและเอเชีย

1. วฒั นธรรม ประเพณขี องไทย

1.1 วัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรมในภาษาไทย เกิดมาจากการรวมคาํ 2 คํา คอื วัฒนะ หมายถงึ ความเจริญงอกงาม
รุงเรือง และ คําวา ธรรม หมายถึง การกระทําหรือขอปฏิบัติ รวมแลวแปลวา วัฒนธรรม คือ ขอปฏิบัติ
เพอ่ื ใหเ กดิ ความเจริญงอกงาม พระยาอนุมานราชธน กลา ววา วัฒนธรรม คอื สง่ิ ที่มนษุ ยเ ปลยี่ นแปลง
ปรับปรุง หรอื ผลิต หรือสรางขน้ึ เพ่อื ความสวยงามในวิถชี ีวติ ของสว นรวม วฒั นธรรม คือ วิถที างแหง
ชีวิตมนุษยในสวนรวมท่ีถายทอดกันได เรียกกันได เอาอยางกันได กลาวโดยสรุปแลว วัฒนธรรม
หมายถึง ทกุ ส่งิ ทุกอยา งทม่ี นษุ ยสรา งขนึ้ ไว เพอื่ นาํ เอาไปชว ยพัฒนาชีวติ ความเปน อยใู นสงั คม ซึ่ง
จะรวมถึง ชวยแกป ญหา และชว ยสนองความตอ งการของสังคม

ตามพระราชบญั ญตั ิวฒั นธรรมแหง ชาติ พ.ศ. 2485 ไดแ บง ประเภทของวฒั นธรรมไทยไว
4 ประเภท คือ

1. คติธรรม คือ วัฒนธรรมเกี่ยวกับหลักในการดําเนินชีวิต สวนใหญเปนเร่ืองความเช่ือ ซ่ึง
เปนเร่อื งของจิตใจทไี่ ดม าจากศาสนา

2. เนติธรรม คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบียบประเพณีท่ียอมรับนับถือวามี
ความสาํ คญั พอ ๆ กับกฎหมาย

3. วตั ถุธรรม หมายถึง วัฒนธรรมทางวตั ถุ เชน เครอื่ งนงุ หม บา นเรอื น ยารกั ษาโรค เคร่ืองมือ
เครือ่ งใชต า ง ๆ

4. สหธรรม หมายถงึ วฒั นธรรมทางสังคม คอื คุณธรรมตาง ๆ ท่ีทําใหคนอยูรวมกันอยางมี
ความสขุ รวมท้ังระเบยี บมารยาทตาง ๆ การแตงกายในโอกาสตา ง ๆ

กลาวโดยสรปุ วฒั นธรรมมี 2 ประเภท คือ วฒั นธรรมทางวัตถุและวฒั นธรรมทไ่ี มใชว ตั ถุ

สาํ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหงชาติแบงเนือ้ หาวฒั นธรรมเปน 5 ประเภท คอื
1. ศิลปกรรม ไดแก ภาษา วรรณกรรม การละคร นาฏศลิ ป ดนตรี จิตรกรรม สถาปตยกรรม
ประติมากรรม และศลิ ปะการแสดง
2. มนุษยศาสตร ไดแก คุณธรรม จริยธรรม คานิยม กฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณี
การปกครอง ประวัตศิ าสตร โบราณคดี ปรชั ญา ศาสนา
3. การชางฝมือ ไดแก การเยบ็ ปก ถกั รอ ย การแกะสลัก การทอ การจักสาน การทําเครื่องถม
เครือ่ งเงิน เครอื่ งทอง

69

4. กฬี าและนนั ทนาการ ไดแก มวยไทย กระบี่ กระบอง ตระกรอ การละเลน พื้นเมือง
5. คหกรรม ไดแก ระเบียบในเร่ืองการกินอยู มารยาทในสังคม การแตงกาย การตกแตง
เคหสถาน การดแู ลเด็ก เปนตน

ลกั ษณะของวฒั นธรรมไทย

วัฒนธรรมไทย ไดร ับการพฒั นามาโดยลําดับ จากอทิ ธิพลสิ่งแวดลอ มทางสังคมและส่ิงแวดลอ ม
ทางธรรมชาติ ประกอบกบั ความสามารถของคนไทย กอใหเกดิ การสรา งสรรค การหลอหลอมรวมกัน
จนมลี ักษณะเดน ๆ ดังตอ ไปนี้ คอื

1. การมพี ทุ ธศาสนา เปน ศาสนาประจาํ ชาติ วิถีคนไทยเกี่ยวของกับพุทธศาสนาอยางลึกซ้ึง
กจิ กรรมตา ง ๆ ลว นนําศาสนามาเกย่ี วของ วธิ คี ดิ การดําเนินชวี ติ ทีค่ นไทยมีความเออื้ เฟอเผ่ือแผ ใจดี
ลวนมาจากคาํ ส่งั สอนทางศาสนา โดยเฉพาะคนไทยในชนบทท่ีชีวิตเรียบงาย ไมตองตอสูแขงขันมาก
ยงั คงมวี ิถีชีวติ แบบพทุ ธ

2. การมพี ระมหากษตั ริยทรงเปนพระประมขุ สังคมไทยมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนพระประมุข
สืบทอดมาตั้งแตสมัยโบราณมาจนถึงปจจุบัน ดังน้ัน คนไทยทุกคนจึงถวายความจงรักภักดีตอ
พระมหากษตั ริย และพระมหากษัตริยจะมพี ระราชกรณียกิจตาง ๆ ทท่ี รงคุณประโยชนต อ ชาวไทย

3. อักษรไทย ภาษาไทย สังคมไทยมีอักษรใชมาต้ังแตกรุงสุโขทัย และไดรับการพัฒนา
อักษรไทยโดยพอ ขนุ รามคําแหงมหาราช จัดเปนเอกลักษณที่นาภาคภูมิใจ เชน คําวาพอ แม พ่ี นอง
ฯลฯ เปน ตน

4. วฒั นธรรมที่แสดงออกถึงความเปนไทย บานเรือนไทยที่มีเอกลักษณเหมาะสมกับสภาพ
ธรรมชาติของเมืองไทย เรือนไทยสูงโปรง หลังคาลาดชัน ทําใหเย็นสบาย อาหารไทยมีลักษณะเฉพาะมี
แกง นาํ้ พริก กวยเต๋ยี ว ผัดไทย ตม ยํากุง ฯลฯ ลวนแตอรอ ยและแพรหลายไปในตา งชาติ ยาไทยยังมีใช
อยูถึงปจจุบัน เชน ยาเขียว ยาลม เปนตน ยาที่กลาวมายังเปนท่ีนิยม มีสรรพคุณในการรักษาได
ศลิ ปกรรมไทย เปนวัฒนธรรมทแ่ี สดงออกถึงความเพียรพยายามในการปรับปรุงคณุ ภาพชีวิตของคนไทย
ตั้งแตอดีต คือ วรรณคดีไทย แสดงออกในทางตัวหนังสือ เชน รามเกียรติ์ พระอภัยมณี ดนตรีไทย
ยังทรงคณุ คา วฒั นธรรมไทย สือ่ ถึงความไพเราะออนหวาน ใชด นตรไี ทยท้งั ระนาด กลอง ซอดวง ซออู
ฯลฯ ครบทั้งดีด สี ตี เปา เพลงไทย เปนการรอยกรองบทเพลง รวมกับดนตรีไทย สืบทอดมาจนถึง
ปจจุบัน เชน เพลงลาวคําหอม เขมรไทรโยค ฯลฯ จิตรกรรมไทย การวาดเขียนบนผนังโบสถ มี
สีสวยงาม มักวาดเปนพุทธประวัติ สําหรับจิตรกรรมไทย ตองคอยซอมแซม ทะนุบํารุงรักษา
ประติมากรรมไทย มีการปนหลอพระพุทธรูป และการตกแตงลายปูนปน ในพระพุทธศาสนา
สถาปตยกรรมไทย การออกแบบโบสถ วิหาร พระราชวงั ตาง ๆ

70

1.2 ประเพณไี ทย

ประเพณีไทยเปนวัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมา เปนสิ่งท่ีแสดงถึงวิถีชีวิตของคนไทยทั้งในอดีต
และปจ จุบนั ประเพณแี สดงถึงความเจรญิ รุงเรอื งของประเทศไทยที่สืบเน่ืองมา เปนสิ่งที่คนไทยควร
ศกึ ษาทาํ ความเขา ใจและชวยกันอนุรกั ษ โดยปกตแิ ลวศาสนาและความเชื่อมีอิทธิพลตอประเพณีไทย
สาํ หรับประเพณีไทยจาํ แนกออกเปน 2 ประเภท คือ พระราชประเพณี และประเพณใี นทองถนิ่ ตาง ๆ

พระราชประเพณีท่สี ําคญั ๆ คือ
พระราชพธิ ถี อื นํ้าพิพัฒนสตั ยา ไดร ับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณทําในโอกาสท่ีพระเจา-
แผนดินข้ึนครองราชยสมบัติ เปนการแสดงออกของจิตใจขาราชการชั้นผูใหญที่ทรงอํานาจอยูใน
แผน ดิน จะมคี วามยินยอมพรอมใจ พระราชประเพณนี ้ี ไดล ม เลกิ ตั้งแตสมยั เปล่ียนแปลงการปกครองมา
เปนระบอบประชาธปิ ไตย การถือน้ําพิพัฒนสตั ยาน้ี ใชน ้ํา เปน ส่อื กลางอาคมศาสตราวธุ ตา ง ๆ วาคาถาแลว
เสยี บลงในนํา้ แลว นําไปแจกกนั ดม่ื และในวันที่ 25 มนี าคม พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-
ภมู พิ ลอดุลยเดช ทรงฟนฟูการถอื นา้ํ ในวนั พระราชทานตรารามาธิบดีแกทหารหาญของชาติ ซ่ึงเปน
สงิ่ ท่นี า ปลืม้ ใจ ทพ่ี ระองคพยายามรกั ษาพระราชประเพณดี ั้งเดิมไว
พระราชพธิ ที อดพระกฐนิ หลวง โดยการเสดจ็ พระราชดําเนนิ ทางชลมารคขบวนพยุหยาตรา
อยา งแบบโบราณ ปจจบุ นั ทําในวาระสาํ คญั ๆ เปน การอนรุ ักษโบราณประเพณไี ว มกี ารซอมฝพ ายเรือ
พระทนี่ ัง่ สุพรรณหงส เรือพระท่ีนงั่ อนนั ตนาคราช ฯลฯ ความสวยงามวิจิตร ตระการตา ของพระราชพธิ นี ี้
ไมม ปี ระเทศใดเสมอเหมือน สว นมากการทอดกฐนิ หลวงทําเปนประจาํ ทกุ ป เสด็จทรงชลมารคเปน ปกติ

ประเพณตี า ง ๆ ในทองถิน่ ของไทย
ประเพณีตรุษสงกรานต มีทุกทองถ่ินในวันข้ึนปใหมของไทย มีประเพณีสรงนํ้าพระ ทําบุญ
ไหวพระ รดนํ้าขอพรผูสูงอายุ ตรงกับวันที่ 13 เมษายนของทุกป แตละทองถ่ินจะแตกตางกันใน
รายละเอยี ดปลกี ยอ ย สําหรบั ประเพณตี รษุ สงกรานตในภาคเหนอื ยงั คงสวยงามนาชม สมควรอนุรกั ษ
วัฒนธรรมการรดนา้ํ ดําหัวใหด ํารงสบื ตอไป
ประเพณลี อยกระทง ทาํ ในเดอื น 12 ประเพณีนีเ้ กิดข้ึนต้งั แตส มัยกรุงสโุ ขทยั มวี ตั ถุประสงค
คอื ตกแตง กระทงดวยวัสดดุ อกไม จดุ ธปู เทยี นลอยกระทงลงแมน้ําลําคลอง เพอื่ ขอโทษพระแมคงคาท่ี
ประชาชนไดอ าศยั ดืม่ กิน และเพอื่ ไหวพระพทุ ธเจา ปางประทับอยูใตเ กษียรสมทุ ร
ประเพณีทําบุญวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา วันมาฆบูชา แหเทียนวันเขาพรรษา วันออก-
พรรษา ทําบุญวนั ธรรมสวนะ ถวายผา อาบน้ําฝน ทอดผาปา ทอดกฐิน เทศนมหาชาติ เปนประเพณี
สาํ คัญของชาวพุทธ

71

ประเพณีการแตง งาน การสงตัวคสู มรส การตาย การบวช การเกดิ ขนึ้ บา นใหม การทําบุญ
ฉลองในโอกาสตาง ๆ ตั้งศาลพระภูมิ เปนประเพณีสวนตัว สวนบุคคล ซ่ึงแตกตางไปตามภาคและ
ทองถิน่

นอกจากนน้ั ยังมปี ระเพณีสําคัญ ๆ ของภาคตาง ๆ อีก เชน ฮีตสิบสองคลองสิบสี่ ของภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื บายศรีสูขวญั ของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ประเพณีแหผ ตี าโขน
ของจังหวดั เลย แหเทยี นพรรษา ของจงั หวดั อบุ ลราชธานี ประเพณที ําบญุ เดือนสิบ ของภาคใต เปน ตน

2. วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศในทวีปเอเชีย

ประเทศในเอเชีย สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายไดจึงขึ้นอยูกับผลิตผลทางการ
เกษตร แตมีบางประเทศมีความเจริญกาวหนาทางอุตสาหกรรม เชน ญ่ีปุน และบางประเทศ
เจริญกา วหนาทางการผลติ นํา้ มนั เชน ประเทศอริ ัก อิหรา น คเู วต

ในการศึกษาวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศในเอเชีย ควรรูเร่ืองราวที่เกี่ยวกับลักษณะ
สําคัญของประชากรและส่งิ ทีม่ ีอทิ ธิพลตอวัฒนธรรม ประเพณี ดังนี้

2.1 ลกั ษณะสําคญั ทางประชากร

ประชากรทีอ่ ยใู นภูมิภาคน้มี หี ลายเผาดวยกนั คือ
1) ออสตราลอยด เปนพวกท่ีอยูในหมเู กาะ ต้งั ถ่ินฐานในแหลมมาลายู หมูเกาะอินโดนีเซีย
นวิ กนิ ี จนถงึ ทวปี ออสเตรเลยี มีรปู รา งเตีย้ ผวิ คล้ํา ผมหยกิ จมกู ใหญ
2) นิโกรลอยด อพยพเขามาในขณะที่พวกออสตราลอยดมีความเจริญในภูมิภาคนี้แลว
พวกนี้มีลักษณะผิวดํา จมูกใหญ ริมฝปากหนา ผมหยิก ในปจจุบันยังมีอยูในรัฐเปรัค-กลันตัน ของ
มาเลเซยี ภาคใตข องอินเดยี (ดราวิเดยี น) ไดแก เงาะซาไก เซมังปาปวน
3) เมลานีซอยด สันนิษฐานวาเปนเผาผสม ระหวางนิโกรลอยดและออสตราลอยด
ปจจบุ ัน พวกน้ไี มม อี ยใู นแถบเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต แตมีอยูมากตามหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก
หมูเกาะนิวกนิ ี และออสเตรเลยี
4) มองโกลอยด อพยพมาจากตอนกลางของทวีปเอเชีย เขามาอยูบนผืนแผนดินใหญ
ประชากรสวนใหญในปจจบุ ัน เปนพวกเชื้อสายมองโกลอยด เชน มอญ เขมร ไทย ลาว เปน ตน
จากลักษณะทําเล ที่ตั้งทางภูมศิ าสตร และการอพยพของชนเผาตาง ๆ ทําใหเกิดการ
ผสมผสานของเผาพันธุตา ง ๆ จนปจจบุ ันแทบแยกไมออกวา ใครมาจากเผา พนั ธแุ ทจรงิ
นอกจากนย้ี งั มีประชากรทีอ่ พยพมาจากเอเชยี ตะวนั ออก คอื จีน และมาจากเอเชยี ใต คือ
อนิ เดยี เขา มาอยใู นภมู ิภาคนี้

72

5) คอเคซอยด เปน พวกผวิ ขาว หนาตารปู รางสงู ใหญ อยา งชาวยโุ รป แตตา และผมสีดํา
สวนใหญอ าศัยอยใู นเอเชยี ตะวนั ออก และทางภาคเหนอื ของอินเดีย ไดแก ชาวอาหรับ ชาวปากสี ถาน
ชาวอินเดยี และประชากรในเนปาล และภูฏาน

2.2 สิง่ ทมี่ อี ทิ ธิพลสาํ คัญตอ วัฒนธรรมของเอเชีย

ส่ิงท่ีมีอิทธิพลสําคัญตอวัฒนธรรมของเอเชีย คือ ภาษาและอิทธิพลของอารยธรรม
ภายนอกหรืออารยธรรมจากตางชาติ

1) วัฒนธรรมทางภาษา
ลักษณะสาํ คญั ทางภาษาในภมู ิภาคน้ี มีประชากรหลายเช้ือชาติ หลายวัฒนธรรม จึงทําให

มภี าษาพดู ภาษาเขยี น แตกตา งกนั ไปหลายกลมุ คอื
1. ภาษามาลาโย – โพรีเนเชียน ไดแก ภาษาพูดกันในแหลมมาลายู หมูเกาะอินโดนีเชีย

และภาษาตากาลอก ในหมูเ กาะฟล ิปปนส
2. ภาษาออสโตร – เอเชียตกิ ไดแ ก ภาษามอญ เขมร เวยี ดนาม
3. ภาษาทเิ บโต – ไชนสิ ไดแ ก ภาษาพมา ภาษาไทย
4. ภาษาอื่น ๆ เชน ภาษาฮินดี ภาษาจีน ภาษาอาหรับ ภาษาของชาวตะวันตก

โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซ่ึงใชใ นการติดตอระหวา งประเทศ ทางการศกึ ษา และการคา
สาํ หรบั ภาษาเขยี นหรือตวั หนงั สือ มี 4 ลักษณะ คอื
1. ดัดแปลงมาจากตัวหนังสือของอินเดีย ภาคใตใชกันมาก ในประเทศที่นับถือ

พระพุทธศาสนา เชน พมา ไทย ลาว กมั พูชา
2. ดัดแปลงมาจากภาษาอาหรับ ใชกันมากในประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม เชน

มาเลเซีย บรูไน อนิ โดนเี ซยี
3. ตัวหนงั สอื ท่ีอาศยั แบบของตวั หนังสอื จนี มีท้งั ทีด่ ัดแปลงมาใช และนาํ ตวั หนังสือจีนมา

ใชโ ดยตรง มีใชก นั มากในประเทศเวยี ดนาม สวนกลุมที่ใชภาษาจีน เปนภาษาพูด เชน สิงคโปร กลุม
พอคา ชาวจนี ในทุกประเทศ นิยมใชภาษาจนี เปน ทง้ั ภาษาเขียนและภาษาพูด

4. ตวั หนงั สอื โรมัน ใชกันมากในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซยี ฟล ปิ ปนส สวนในเวียดนาม
ก็เคยนาํ มาใชเหมอื นกนั แตป จ จุบันนิยมใชในชนบทบางกลมุ เทา น้นั

2) อทิ ธพิ ลของอารยธรรมภายนอกหรืออารยธรรมจากตา งชาติ ไดแก
อารยธรรมอนิ เดยี
มีหลายดาน เชน กฎหมาย อักษรศาสตร ศาสนา ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี

การปกครอง การเกษตร เปนตน

73

ดานศาสนา อินเดยี นาํ ศาสนาพราหมณแ ละพุทธศาสนา เขา มาเผยแพร
ดานการปกครอง มีการปกครองแบบเทวราชา การประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ของ
พระมหากษัตรยิ  ใชห ลกั คัมภีรของพระมนูธรรมศาสตร เปน หลกั ในการปกครองของภูมิภาคน้ี
ดา นอกั ษรศาสตร ไดแ ก วรรณคดีสนั สกฤต ภาษาบาลี เขา มาใช
ดานศิลปกรรม สว นใหญเ ปน เรื่องเกย่ี วกับศาสนา เชน วิหาร โบสถ

อารยธรรมจนี
จีนเขามาติดตอคาขายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตั้งแตอดีตและเขามามี
อทิ ธิพลทางดานการเมือง วัฒนธรรมและเศรษฐกจิ แตอทิ ธพิ ลดงั กลา วมไี มม าก ทางดา นการเมืองจนี
อยูใ นฐานะประเทศมหาอํานาจ อาณาจักรตาง ๆ ที่เปนเมืองข้ึนตองสงบรรณาการใหจีน 3 ปตอครั้ง
เพ่ือใหจีนคุมครองจากการถูกรุกรานของอาณาจักรอ่ืน สวนทางดานเศรษฐกิจจีนไดทําการคากับ
ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต สนิ คา ที่สาํ คญั ไดแ ก ผาไหม เครือ่ งปนดินเผา เปน ตน การคาของจีน
ทําใหอ าณาจกั รท่เี ปนเสนทางผานมีความเจรญิ มั่นคงขึ้น ทางดานวัฒนธรรมจีนมีอิทธิพลทางดานน้ี
นอยมาก จีนจะเผยแพรวัฒนธรรมไปยังประเทศของตนเทานั้น อาณาจักรเวียดนามเคยตกเปน
ประเทศราชของจีนเปนเวลานานจึงรับวัฒนธรรมของจีนไวมาก เชน การนับถือลัทธิขงจื้อ ลัทธิเตา
ประเพณกี ารแตง กาย การทาํ ศพและการใชชีวิตประจาํ วนั

อารยธรรมอาหรับ
ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี 18 ศาสนาอสิ ลามมาจากตะวันออกกลาง ไดแ ผเขามาในอินเดีย
ทาํ ใหชาวอินเดียสวนหน่ึงหันมานับถือศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะพอคาจากอินเดียตอนใต ซ่ึงติดตอ
คา ขายในบรเิ วณหมเู กาะของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตอ ยเู ปนประจาํ ไดนาํ ศาสนาอิสลามเขา มาเผยแผ
ในภูมิภาคนี้ ผูน าํ ทางการเมืองของรัฐในหมเู กาะตาง ๆ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใตเวลานั้นตองการ
ตอ ตานอํานาจทางการเมืองของอาณาจกั รมัชปาหิต อาณาจักรฮินดู บนเกาะชวา ซึ่งกําลังแผอํานาจ
อยูจึงหันมานับถือศาสนาอิสลาม เพราะใหประโยชนทางการคากับพวกพอคามุสลิม ตามหลักของ
ศาสนาอิสลามที่วา ทุกคนท่ีนับถือศาสนาอิสลาม น้ัน เปนพ่ีนองกัน ชวยเหลือเกื้อกูลกัน จึงทําให
ศาสนาอสิ ลาม เปนทีน่ ยิ มของกษัตรยิ ชนชนั้ สูง และสามญั ชนดวย
อารยธรรมตะวนั ตก
ชาตติ ะวนั ตกเรมิ่ เขามาในภูมิภาคนี้ โดยมีจุดประสงคท่ีจะทาํ การคา และเผยแผศ าสนา
สนิ คา ท่ชี าวยโุ รปตอ งการ ไดแก พรกิ ไทย และเคร่ืองเทศตาง ๆ ในระยะแรก ๆ น้ัน ความสนใจของ
ชาวยุโรปจะจํากัดอยเู ฉพาะบรเิ วณหมเู กาะ และบริเวณชายฝง ตลอดจนดินแดนในเอเชียตะวันออก
เฉียงใตเกือบทงั้ หมด

74

เดมิ อาณาจักรตาง ๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีความแตกตางกันทางดาน
เชอ้ื ชาตแิ ละภาษา หลังจากทไ่ี ดร บั อารยธรรมอินเดีย จีน และอาหรับแลว อารยธรรมใหมที่เกิดจาก
การผสมผสานกัน ทําใหประชาชนมีสังคมขนบธรรมเนียมประเพณีที่คลายคลึงกันและยึดม่ันเปน
เอกลักษณประจําชาติ นอกจากนี้ภายในภูมิภาคก็ยังมีการแขงขันกันทางดานการเมือง สังคม และ
เศรษฐกิจ จนขาดความสามคั คี ไมสามารถทจ่ี ะตอตา นการขยายตัวของชาติตะวันตกได ในที่สุดก็ตก
เปนอาณานคิ มของชาตติ ะวนั ตก

(ขอมูลจากหนังสอื สําหรับเยาวชน ชุด ประเทศเพ่ือนบานของไทย ของกรมวัฒนธรรมสัมพันธ กรมสารนิเทศ
กระทรวงการตางประเทศ)

เพอ่ี ใหเ กิดความรูวฒั นธรรม ประเพณีเกยี่ วกบั ประเทศตา ง ๆ ในทวีปเอเชียซึ่งมีรายละเอียด
วฒั นธรรม ประเพณที เี่ ขมแข็ง คอื วัฒนธรรม ประเพณขี องอินเดีย จนี อาหรับ และตะวันตก

2.3 วฒั นธรรม ประเพณขี องประเทศอนิ เดีย จนี อาหรับ และตะวนั ตก
1) วัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศอนิ เดยี
อินเดีย เปนแหลงอารยธรรมใหญของเอเชีย ประชากรสวนใหญของประเทศอินเดีย

นับถือศาสนาฮินดู และมศี าสนาอืน่ เชน ศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน ศาสนาครสิ ต โดยท่ัวไป
ประชาชนระหวางศาสนา จะใหความเคารพซึ่งกันและกัน ชาวอินเดียถือวัฒนธรรม ซึ่งจัดเปน
วฒั นธรรมทเ่ี ขม แขง็ และเครงครดั อาทิ สตรนี ิยมสวมสาหรีหรือสัลวารกามิซ การใหเกยี รติสตรี และการ
เคารพบชู าเทพเจา เปน ตน คนอนิ เดยี มีนสิ ัยรักสงบ และสุภาพ แตคอ นขางอยากรู อยากเห็น รวมทั้ง
จะไมทํารายสัตวทุกชนิด (ยกเวนงานเทศกาลของบางศาสนา) โดยเฉพาะวัว ซึ่งถือเปนสัตวเทพเจา
อาจเหน็ อยูต ามทอ งถนนเปน กจิ วตั รสว นสตั วเ ล็ก ๆ อยางกระรอกและนก จะมใี หเ ห็นอยเู สมอ แมจะเปน
เมืองใหญก็ตาม การทอ่ี นิ เดียมีประชาชนจํานวนมาก เม่ือเทียบกับทรัพยากรของประเทศ ทําใหการ
ด้นิ รน เพื่อเล้ียงชีพและครอบครวั เปน สง่ิ จาํ เปน กอใหเกิดวัฒนธรรมที่มีมาชานาน และซึมซับอยูใน
วถิ ีชีวติ ของชาวอนิ เดยี ซึง่ ก็คือ การตอรองและการแขงขัน เราจะเห็นไดวา ต้ังแตพอคาจนถึงคนขับ
รถสามลอ มกั ขอราคาเพม่ิ ดว ยเงอ่ื นไขตา ง ๆ นานา สวนผูซื้อ ก็มักขอลดราคาอยูเสมอ สําหรับดาน
การแขงขัน เห็นเดนชัดมากข้ึน จากการที่ปจจุบันนักศึกษาคร่ําเครงกับการเรียน เพื่อสอบเขา
มหาวทิ ยาลัยชั้นนํา ซ่ึงแตล ะปม ผี ูสอบนบั แสนนบั ลา นคน แตรบั ไดเพียงปล ะไมกี่คนเทา นั้น การศกึ ษา
จึงเปนหนึ่งในการแขงขนั ทีเ่ ขม แขง็ เพ่ือทจ่ี ะพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของชาวอนิ เดียในทุกวนั น้ี

75

วัฒนธรรมของอินเดียทส่ี ําคัญ ๆ พอจะยกมาเปนตัวอยาง คอื
1. การถอดรองเทา กอนเขา ศาสนสถานทกุ แหง
2. หา มนําเคร่อื งหนงั โดยเฉพาะหนังวัว เขาไปในศาสนสถานทุกแหง
3. หามถายรปู ภายในศาสนสถาน หากตองการใหขออนุญาตกอ น
4. การไปเยือนศาสนสถาน สามารถชมสิ่งตาง ๆ ไดตามสบาย และอาจอยูรวมประกอบ
พิธกี รรมได แตค วรแตง กายใหสุภาพ หากไปวดั ซกิ ข ควรมีหมวกหรือผาคลุมศีรษะ สวมเส้ือแขนยาว
และกระโปรงยาว และควรบริจาคเงินในกลองรบั บรจิ าคดว ย

76

5. หากมกี ารเล้ียงอาหารแบบใชมอื เปบ ควรใชมอื ขวาเทาน้ัน
6. อยา น่งั หันฝาเทาชี้ไปทางใครอยา งเดด็ ขาด เพราะเปนการดหู มิน่ และไมค วรใชน ิว้ ชส้ี ง่ิ ใด
โดยเฉพาะบุคคลใหใ ชการผายมอื แทน
7. การขยับคอสายศรี ษะไปมาเลก็ นอย หมายถงึ " YES"
8. ควรใหเกียรตสิ ตรแี ละไมถ กู เน้อื ตองตัวสตรี การขึ้นรถประจําทางสาธารณะโดยท่ัวไป
ผชู ายจะข้ึนและลงดานหลังเทา นนั้ สวนดานหนา เปน ของสตรี
9. ไมค วรข้นึ รถประจําทางท่มี ีคนแออดั เพราะอาจมมี ิจฉาชีพปะปนอยู สวนผูหญงิ อาจถูก
ลวนลามได
10. การใชบ ริการบางอยางควรสังเกตใหดี เพราะอาจมีการแยกหญิง – ชาย ซ่ึงอาจทําให
เกิดการลว งละเมิดโดยไมต ง้ั ใจได
11. สตรีไมควรสวมกางเกงขาส้นั เส้ือแขนกุด สายเดี่ยว หรือเอวลอย เพราะนอกจากจะ
ถูกมองมากกวา ปกติ (ปกติชาวตางชาติจะเปนเปาสายตาจากความชางสงสัยของชาวอินเดียอยูแลว)
ยงั อาจเปน เปาหมายของอาชญากรรมได

2) วัฒนธรรม ประเพณีของจนี

ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เปนประเทศที่มีประชากรมากท่ีสุดเปนอันดับ
หนึง่ ของโลกประชากรรอ ยละ 93 เปน ชาวฮ่นั ทเ่ี หลอื เปนชนกลมุ นอย

ในสมยั โบราณจนี นับเปนดินแดนทมี่ ศี าสนาและปรัชญารุงเรอื ง เฟองฟู อยูม ากมาย
โดยลทั ธคิ วามเชือ่ เดมิ นั้น มีอยสู องอยา ง คือ ลัทธิเตาและลัทธิขงจื้อ ซ่ึงเนนหลักจริยธรรมมากกวาที่
จะเปนหลกั ศาสนาทแี่ ทจริง สว นพทุ ธศาสนานน้ั จนี เพง่ิ รบั มาจากอินเดีย ในชวงคริสตศตวรรษแรกน้ี
เทา นั้น คร้นั มาถึงยคุ คอมมิวนิสต ศาสนากลบั ถกู วา เปน ปฏิปกษตอลัทธิทางการเมืองโดยตรง ตอมา
ทางการกไ็ ดย อมผอนปรนใหก ับการนบั ถือศาสนา และความเชื่อตาง ๆ ของประชาชนมากขึ้น ทําให
ลัทธิขงจ้ือลัทธิเตา ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม (ในเขตตะวันตกของจีน) และศาสนาคริสต จึงได
กลับมาเฟอ งฟูขนึ้ อีกครั้ง

วัฒนธรรม ประเพณีจีนท่ีสาํ คญั
ความเช่ือ
คนจีน นยิ มมีลูกชายมากกวา ลกู หญงิ เพราะลกู ชายเปนผสู ืบนามสกุล คือ แซ การ
เรียกชื่อสกลุ ของจีน ตรงขามกับภาษาไทย คือ เรยี กตนเปนช่ือสกุล ชอื่ ตัวใชเรียกกันในหมูญาติ และ
เพื่อนสนทิ นามสกุล เปนลักษณะพิเศษ เชื้อตระกูล การสืบทอดพงศเผา ตอมาเปนพัน ๆ ป ดังนั้น
วฒั นธรรมจีนจึงมีจติ สํานกึ การบชู าบรรพบุรุษ เปนแกนแทข องวฒั นธรรมน้ี
ตราบจนปจ จุบัน ชาวจีนโพนทะเล ท่ีอาศยั อยูตางประเทศยังคงรักษาประเพณีที่
จะกลับมาสืบหาบานเกิด และบรรพบุรุษท่ีแผนดินใหญจีนหลายปมานี้ ในฐานะท่ีเปนผลิตผลจาก

77

ประวตั ศิ าสตรทม่ี ีลกั ษณะพิเศษของสังคมโบราณจีน วฒั นธรรมเกีย่ วกบั นามสกลุ และเชื้อตระกลู ของจีน
ไดกลายเปนคลังสมบัติขนาดใหญ สําหรับการศึกษาประวัติศาสตรอันยาวนานของชนชาติจีน จาก
แงม ุมใหม เชน การศึกษาแหลงกาํ เนิด การแบง แยก และการผสมผสานของนามสกลุ นั้น สามารถเพมิ่
ความเขาใจการเปลี่ยนแปลง รูปแบบสังคม ท่ีแตกตางกัน ในสมัยโบราณใหลึกซ้ึงย่ิงขึ้น อีกทั้ง
การศึกษาสิ่งของที่เปน รูปธรรมตาง ๆ เชน หนังสอื ลําดับญาติของวงศตระกูล ระบบการสืบชวงวงศ
ตระกูล ฯลฯ สามารถสะทอนถึงบทบาททางประวัติศาสตรของความสัมพันธทางสายเลือดที่มีตอ
พัฒนาการของสังคมโบราณ และชีวิตสังคม อยางไรก็ตาม ลักษณะพิเศษหลายประการของสังคม
โบราณจนี เชน ระบบรวมศูนยอํานาจ โครงสรางของสังคมแบบครอบครัว คานิยมทางดานศีลธรรม
และจริยธรรม และหลักความประพฤติท่ีถือความซ่ือสัตยตอกษัตริย และการกตัญูตอพอแม เปน
บรรทัดฐาน เปนตน ลวนแสดงออกมาในวฒั นธรรมช่ือและนามสกุลอยางเต็มท่ี และก็เปนสาเหตุอีก
ประการหน่ึง ทวี่ ัฒนธรรมนามสกลุ ไดร บั ความสนใจอยา งมากจากวงวิชาการ

วฒั นธรรมการใหความสาํ คญั ตระกลู สง ผลมาถงึ ปจ จุบนั การประกอบอาชพี ความ
มน่ั คงทางเศรษฐกจิ เกดิ จากการสนบั สนุนสง เสรมิ เปน เครอื ขายของตระกลู ตา ง ๆ

สิ่งสาํ คญั อีกอยา ง คอื ชาวจีน มีเครอื ขา ยคนรูจ กั กลาวกันวา ชาวจีนท่ีไรเครือขา ย
คนรจู ักเปนผทู ่ีเปน จีนเพยี งครง่ึ เดียว จึงจําเปนตอ งทําความรูจักกับผูคน และชาวตางชาติ ดังน้ัน จีน
จึงใหค วามสําคัญของวฒั นธรรมนด้ี ว ยการเช้อื เชิญ

อาหาร
เปนวัฒนธรรมท่ีเขมแข็งเผยแพรไปทั่วโลก และเปนที่ยอมรับวา อาหารจีน
มรี สชาติอรอ ย อาหารจีน จะตอ งถึงพรอมสีสัน รสชาติ และหนา ตา มีอาหารอยเู พยี งไมก่ีอยางเทาน้ัน
ทีป่ รงุ อยา งเดียวโดด ๆ สงิ่ สําคัญ คือ สวนประกอบตาง ๆ จะตองกลมกลืนเขากันไดกับเครื่องปรุงรส
จําพวกซอี ิว๊ กระเทยี ม ขงิ น้ําสม นา้ํ มนั งา แปง ถวั่ เหลือง และหอมแดง
ประเพณกี ารแตง งาน
ส่ิงแรกที่บอกถึงพิธีการแตงงานของชาวจีน ก็คือ สีแดงสําหรับชาวจีน สีแดง
หมายถงึ ความผาสกุ และความมง่ั คง่ั ปจ จบุ ันเจา สาวจีน จะเลือกชุดแตง งานสีขาวตามสไตลต ะวนั ตก
แตสําหรับสมัยกอนแลว สีแดง จะปรากฏใหเห็นทุกที่ในงานแตงงาน ตั้งแตเสื้อผา ของตกแตง
แมก ระทัง่ ของขวัญ
พิธีแตงงานของชาวจีนโบราณ มักจะถูกจัดโดยผูเปนพอแม จะเปนฝายเลือก
เจา สาวให กับบุตรของตน นอกจากน้ยี งั มขี ้ันตอนตา ง ๆ ที่ตองปฏบิ ัตติ ามเปนลําดับ ตั้งแตการเจรจา
ตอ รอง การสูขอ การวา จา งซินแสมาตรวจดูดวงของคูบา วสาววา สมพงษก ันหรอื ไม จนไปถึงการตกแตง
เรอื นหอ ตอ งเปนสแี ดง เพ่ือความเปนสิรมิ งคล จะมกี ารจัดหาชายหนมุ และหญงิ สาว มาทาํ การเตรยี ม
เตยี งใหก ับเจา สาว

78

นอกจากน้ียังมขี บวนแหรบั เจา สาว จากบา นของเจาสาวมาท่บี า นของเจา บาว ตาม
ดวยพิธีแตงงาน การสักการะบูชาฟาดิน การถวายสัตยปฏิญาณ และการมอบของขวัญใหแกกัน
หลงั จากนนั้ ก็จะเปนงานเล้ียงฉลอง ซึ่งถือเปนเรื่องสาํ คัญไมแพพิธีแตงงาน ซึ่งเต็มไปดวยแขกเหรื่อ
ญาตสิ นิท มิตรสหาย และคนรูจกั อาหารชัน้ ดี และสุรา จนกระทั้งเจาบาว เจาสาว พรอมท่ีจะยายเขาสู
เรือนหอ หลังจากนั้น เจาสาว ก็จะกลับไปเยี่ยมบานเดิมของเธอ เปนเวลาสามวัน กอนที่จะยาย
กลับมาอยูก ับเจา บาว เปน การถาวร พรอมกบั มพี ิธฉี ลองย่งิ ใหญอ ีกครง้ั

3) วัฒนธรรม ประเพณีของชาติอาหรบั

ศาสนาอสิ ลาม มอี ทิ ธพิ ลตอ ชวี ติ ความเปน อยูของ “ชนชาตอิ าหรบั ” และการแพร
ขยายวัฒนธรรม ประเพณีจากศาสนาอิสลาม จนทาํ ใหศ าสนาอสิ ลาม เปนศาสนาที่มจี ํานวนผูนับถือมาก
ทีส่ ดุ ในเอเชยี วฒั นธรรม ประเพณที ี่สาํ คัญ ๆ ไดแก

79

การแตงกาย ผูหญิงมุสลิมแตงกายมิดชิด มีผาคลุมรางกาย และแตละชาติ อาจ
แตกตางกนั บา งในรายละเอยี ด

การถือศีลอด ชาวมุสลิม จะถือศีลอดในชวงเดือนรอมะฎอน และชาวมุสลิม
ทว่ั โลก รวมกันปฏบิ ตั ิศาสนกิจ และเฉลิมฉลองวาระส้ินสุดการถือศีลอด ในเดือนรอมะฏอน อันประเสริฐ
หลงั จากมีผูพบเหน็ จนั ทรเ สีย้ ว หรือฮลิ าส เม่ือคาํ่ คนื ทผ่ี านมา ทําใหว นั น้เี ปนวันแรกของเดือนเชาวาล-
ฮิจเราะห หรือ วันอิด้ิลฟตรี โดยในวันนี้พี่นองมุสลิม จะปฏิบัติตนตามแบบอยางของทานนบีมุฮัมมัด
ศ็อลลล้ั ลอฮอุ ลัยฮิวะซัลลัม โดยจะจา ยซะกาตฟต เราะห ซ่งึ เปน การนําอาหารหลกั ไปจา ยใหกับคนยากจน
และทุกคนอาบนํ้าชําระรางกายตั้งแตหัวจรดเทา และแตงกายดวยเสื้อผาที่สวยงาม ทานอินทผลัม
กอ นเดนิ ทางไปยังที่ละหมาด หรือ มุศ็อลลา รวมละหมาดอิดิ้ลฟตรี และเดินทางกลับในอีกทางโดย
เม่ือมีการพบปะกัน จะมกี ารกลา วทกั ทายกนั ดวยวา “ตะกอ็ บบะลัล้ ลอฮุ มนิ นา วะมนิ กุ”

4) วฒั นธรรมตะวันตกกับประเทศตาง ๆ ในทวปี เอเชีย

วัฒนธรรมตะวันตก แมแบบมาจากอารยธรรมกรีกและโรมัน (เกรโค - โรมัน)
อารยธรรมนี้ มีแหลงกําเนดิ ในบรเิ วณทะเลเมดิเตอรเ รเนียน และไดร บั อิทธพิ ลจากศาสนาครสิ ต

การเผยแพรวัฒนธรรมตะวันตก สืบเนื่องมาจากความตอ งการคาขาย และการเผยแผ
ศาสนา ซงึ่ วัฒนธรรมตะวนั ตกทส่ี าํ คัญ ๆ ไดแ ก

การแตงกาย แบบสากลนิยมใชทั่วไปทุกประเทศในเอเชีย โดยเฉพาะคนช้ันสูง
ในเอเชยี นักปกครอง นักธุรกิจนยิ มแตงกายแบบตะวันตก มชี ุดสากล กางเกง เส้ือเชิ้ต เส้ือยืด มีบาง

80

ประเทศทมี่ ีวัฒนธรรมของตัวเองเขมแข็ง ยังใสชุดประจําชาติอยู คือ อินเดีย พมา อินโดนีเซีย และ
ประเทศอาหรับ

การศึกษา วัฒนธรรมตะวันตก เหน็ ความสําคัญของการศึกษาทุกแขนง และมี
ความเจริญกาวหนาท่ีสําคัญ คือ การศึกษาท่ีปูพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สงผลให
วทิ ยาศาสตรโลกกาวหนา

อาหาร อาหารของวัฒนธรรมตะวนั ตกแพรห ลายไปท่ัวโลก ใหความสาํ คัญอาหาร
ทีม่ ีคณุ คา ที่มีสวนปรุงจาก แปง สาลี นม เนย เนื้อสตั วตา ง ๆ รวมทัง้ เครอ่ื งด่ืม อนั ไดแก ไวน เปน ตน

วฒั นธรรม ประเพณี ไดรับอิทธพิ ลจากศาสนาคริสต เชน ประเพณีเทศกาลเฉลิม
ฉลองวันคริสตมาส เทศกาลอีสเตอรและพิธีแตงงาน ประเทศท่ีไดรับอิทธิพลวัฒนธรรมตะวันตก
คอนขางมาก คอื ประเทศสงิ คโปร เปน เกาะเลก็ ๆ ปกครองแบบประชาธิปไตย ประชาชน มหี ลายเชื้อชาติ
ไดแ ก จีน มาเลย ประชาชนสวนมากนบั ถอื ศาสนาครสิ ต

ประเทศสิงคโปร มรี ะบบการศกึ ษาที่ดี ประชาชนไดรบั การศกึ ษาสูง และประกอบอาชีพ
การคา ธุรกิจ ประชาชนมรี ายไดต อหวั สงู ชาวสิงคโปร เรียกประเทศของเขาวา "Intelligence Island"

ปจจุบันวัฒนธรรมตะวันตกแพรหลายไปในประเทศตาง ๆ ในเอเชีย ทั้งดานอาหาร
ดนตรี การแตงกาย การปกครองระบอบประชาธิปไตย วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี เชน ความเจริญกา วหนา
ทางการแพทย การอตุ สาหกรรม โทรคมนาคมตา ง ๆ เปนตน

81

เรอ่ื งท่ี 2 การอนุรกั ษ
และการสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี

สภาพสงั คม วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศตาง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาดวย
อิทธพิ ลของประเทศทีม่ ีอารยธรรมเขม แขง็ สง ผลใหชีวิตความเปนอยขู องประชาชนเปล่ียนไปท้ังภาษา
การแตง กาย อาหาร ดังนน้ั ประเทศตา ง ๆ มีแนวทางในการอนรุ กั ษและสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี
ของชาติตนเองไว โดยระดมสรรพกําลังท้ังภาครัฐและเอกชน นอกจากนั้น โดยสภาพธรรมชาติ
วัฒนธรรม ประเพณีที่ไมดีจะคอย ๆ สูญหายไปจากสังคม คงเหลือแตวัฒนธรรมที่เขมแข็งเขามา
แทนที่ การดาํ รงรกั ษาวัฒนธรรม ประเพณี เปนการแสดงถึงความเปนชาติเกาแก ท่ีมีมรดกตกทอด
มาถึงลูกหลาน จําเปนตองใชวิธีการรณรงคอยางสม่ําเสมอ และประพฤติปฏิบัติ จนเปนประเพณี
สบื ตอกนั ชานาน กอใหเ กดิ ความภูมิใจในชาติตัวเอง

ในทวปี เอเชยี ประเทศที่มีความเจรญิ และมวี ัฒนธรรม ประเพณที แ่ี ขง็ แกรง สามารถอนรุ กั ษ
และสืบสานวฒั นธรรม ประเพณีของตนเอาไว เชน ประเทศเกาหลี มีการอนุรักษวัฒนธรรมทางดาน
การแตง กาย อาหารและการแสดง สวนประเทศญี่ปนุ จะคงเอกลักษณของตนในดาน เคร่ืองแตงกาย
ภาษา และอาหาร เปน ตน

2.1 การอนรุ กั ษและการสืบสานวฒั นธรรม ประเพณไี ทย

ชาติไทย มีความมัน่ คงสืบทอดมาต้ังแตอดตี ถึงปจจบุ นั เปนเพราะบรรพบุรุษไดร กั ษาไวใ ห
ลกู หลานอยูอาศัย ซ่ึงจะปลอ ยใหสญู เสียไปยอ มไมได นอกจากรกั ชาตแิ ลว จะตอ งรกั ษาเกยี รตภิ ูมิของ
ชาตไิ วด ว ย และวัฒนธรรม ประเพณีของชาติ เปนลกั ษณะเฉพาะ ท่ีแสดงถึงความเปนชาติไทย ท่ีเรา
คนไทยทุกคนตอ งอนุรักษ และชว ยกันสืบสาน เพ่อื ใหคงอยูต อ ไปถงึ ลูกหลาน

ชาติที่มีอิทธิพลตอวัฒนธรรมไทยแตโบราณ คือ อินเดียและจีน จากการศึกษาในอดีต
พบวา ชาติทีม่ ีอารยธรรมเกา แกแ ละมอี ิทธิพลตอประเทศตา ง ๆ รวมทัง้ ประเทศไทยดว ย คือ ประเทศอนิ เดยี
มีความเจริญมากอน 4,000 ป พบท่ีเมืองโมหันโจดาโร มีระบบระบายน้ําเสียท่ีดี มีอักษรใชแลว เปน
อารยธรรมที่ยิ่งใหญ กอนกรีกและโรมัน อารยธรรมของอินเดีย ซึ่งเปนแหลงอารยธรรมศาสนาฮินดู
ทแี่ พรหลายมากอนพทุ ธศาสนา และตอ มาอินเดีย เปนแหลงอารยธรรมของศาสนาพุทธ และจีนเปน
ประเทศท่ีเจริญรงุ เรืองดวยอารยธรรมเกาแกที่สุดแหงหนึ่งของโลก โดยอารยธรรมนี้ เกิดบริเวณลุม
แมน้ําฮวงโหราว 4,000 ปมาแลว และจีนเปนประเทศที่คาขายกับประเทศตาง ๆ มาในอดีต อิทธิพล
ของอารยธรรมจนี ที่สง ผลกับไทย คอื เคร่ืองปนดินเผา วรรณคดี เรื่อง สามกก นาฏกรรมจีน หุนจีน
งิ้ว การบชู าบรรพบุรุษ

82

อารยธรรมของชาตติ ะวนั ตก ทสี่ งผลตอสังคมไทย คือ ความกาวหนาของเทคโนโลยีและ
การศึกษา รวมท้งั ภาษา คา นยิ ม การบันเทงิ นันทนาการตาง ๆ ยิ่งปจจุบัน ความเจริญในการคมนาคม
ขนสง สอื่ สารตา ง ๆ รวดเรว็ เปนโลกไรพรมแดน สง ผลใหอารยธรรมตะวันตกเขามาสูสังคมไทยอยาง
รวดเร็ว ยิ่งในปจจุบันอารยธรรมตาง ๆ ในเอเชียที่เขมแข็ง เริ่มมอี ิทธิพลตอ สังคมไทยท่ีสําคัญ คือ
ญ่ีปนุ เกาหลี

จากการศึกษา ประวัติ ความเปน มา ของวัฒนธรรมไทย จะพบวา มกี ารเปลย่ี นแปลงตลอดมา
ทุกยุคทุกสมัย แตอยางไรก็ตาม วัฒนธรรมไทยท่ียังคงอยูสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน แสดงถึงความดี
ความมีประโยชนต อ สงั คมไทย จงึ ยงั คงสิง่ เหลาน้นั อยู ที่สาํ คัญ คอื อาหารไทย ภาษาไทย การแตง กายไทย
มารยาทไทย ประเพณีไทย และการมีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ การมีพระมหากษัตริยเปน
สถาบันท่ีสาํ คัญของประเทศไทย

2.2 เหตุผลและความจําเปน ในการอนรุ กั ษแ ละการสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี

ความกา วหนา ทางเทคโนโลยี สงผลการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของแตละประเทศ ทําให
ตอ งอนุรกั ษ และสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี

การเปลย่ี นแปลงเปน ลักษณะธรรมชาตขิ องสงั คมมนษุ ย และยอมเกดิ ขนึ้ ในทุกสังคม แต
จะเรว็ หรือชาข้นึ อยูก ับกาลเวลา และอาจเปลี่ยนไปในทางที่ดขี ึน้ หรอื เลวลงกไ็ ด

ประเภทของการเปล่ียนแปลงเราอาจจําแนกการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคม
ออกเปน 2 ประเภท คือ

1) การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม หมายถึง การเปลยี่ นแปลงโครงสรา งของสงั คม และระบบ
ความสัมพันธข องกลมุ คน เชน ความสัมพันธในครอบครัว ระหวา งพอ แม ลกู นายจา ง เปนตน

2) การเปลีย่ นแปลงทางวฒั นธรรม หมายถึง การเปล่ียนแปลงวถิ กี ารดําเนนิ ชวี ิต ความรู
ความคิด คา นยิ ม อดุ มการณ และบรรทดั ฐานทางสงั คม ซึง่ รวมถึงขนบธรรมเนยี มประเพณีตา ง ๆ ของ
สังคม โดยรับวฒั นธรรมของตนเองบางอยา ง

ปจจยั ท่เี ปน สาเหตทุ ี่ทาํ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม
มีปจ จยั หลกั 2 ประการ ดังนี้
1) ปจจยั ภายในสงั คม หรือ การเปลยี่ นแปลงท่เี กิดจากสาเหตภุ ายในสงั คม หมายถงึ การ
เปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากสมาชิกหรือสิ่งแวดลอมภายในสังคม นั่นเอง เชน การท่ีสังคมมปี ระชากร
เพ่มิ ข้นึ อยางรวดเร็ว ยอมทาํ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลงในดานการต้ังถ่ินฐาน ท่ีอยูอาศัย เกิดการบุกรุก
ท่ีดิน และการทําลายทรพั ยากรธรรมชาติเพิม่ ขนึ้ เปน ตน

83

2) ปจ จยั ภายนอกสังคม หรือการเปลยี่ นแปลงท่เี กิดจากสาเหตภุ ายนอกสังคม เนื่องจาก
ปจจุบนั มีการติดตอสัมพนั ธกับสงั คมอืน่ ๆ มากข้นึ สงั คมไทยไดร บั อทิ ธพิ ลมาจากสังคมตะวันตก และ
ยังรบั วัฒนธรรมแบบตะวันตกอกี มากมาย ไดแก การแตงกาย ดนตรี สถาปตยกรรม และสิ่งประดิษฐ
ตา ง ๆ เปนตน

เหตผุ ลความจาํ เปนในการอนรุ ักษส ืบสานวัฒนธรรม
วฒั นธรรม เปน เครอ่ื งวัด เครื่องกาํ หนดความเจริญ หรือความเส่ือมของสังคม ในทํานอง
เดยี วกันวฒั นธรรม ยังกาํ หนดชีวิตความเปน อยขู องประชาชนในสังคม ดังนั้น วัฒนธรรมจึงมีอิทธิพล
ตอ ความเปน อยู และความเจริญกา วหนาของชาตมิ าก

ความสาํ คัญของวฒั นธรรม มอี ยูหลายประการ คือ
1. วัฒนธรรม ชวยแกปญหา และสนองความตองการตาง ๆ ของมนุษย มนุษยพนจาก
อนั ตราย สามารถเอาชนะธรรมชาตไิ ด เพราะมนษุ ยส รางวัฒนธรรมขน้ึ มาชวย
2. วัฒนธรรม ชวยเหนี่ยวรัง้ สมาชิกในสงั คม ใหมคี วามเปนหนง่ึ อนั เดยี วกนั และสังคมที่มี
วัฒนธรรมเดยี วกัน ยอ มจะมีความรูสกึ ผกู พัน เปน พวกเดยี วกนั
3. วฒั นธรรม เปน เคร่อื งแสดงเอกลักษณของชาติ ชาตทิ ่ีมวี ัฒนธรรมสงู ยอมไดรับการยกยอง
และเปน หลกั ประกนั ความม่นั คงของชาติ
4. วัฒนธรรม เปน เครอื่ งกําหนดพฤติกรรมของคนในสังคม ชวยใหผูคนอยูรวมกันอยาง
สนั ติสขุ
5. วัฒนธรรม ชวยใหประเทศชาติมีความรุงเรืองถาวร โดยเฉพาะอยางยิ่ง หากชาตินั้น
มีวฒั นธรรมที่ดี มที ศั นคติ ในการดําเนนิ ชวี ติ ทเี่ หมาะสม ยดึ มั่นในหลักขยัน ประหยัด อดทน ความมี
ระเบียบวินยั ทด่ี งี าม สงั คมนั้น จะมคี วามเจรญิ รงุ เรือง
6. วฒั นธรรม ประเพณี เปนส่ิงที่นาสนใจ มผี ลตออุตสาหกรรมการทอ งเทยี่ วมาก ปจ จุบัน
อุตสาหกรรมนี้ เปนจุดดึงดดู นกั ทอ งเที่ยว สงผลใหภ าวะเศรษฐกจิ ดขี ึน้

84

เร่ืองท่ี 3 แนวทางการอนรุ ักษ
และการสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี

แนวทางการอนุรักษและสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี

1. การอนุรักษวัฒนธรรมและประเพณี ควรเริ่มตนจากการปลูกจิตสํานึกใหเยาวชนและ
ประชาชนทุกคน ตระหนักถึงคุณคา และความสําคัญของวัฒนธรรมท่ีถือ เปนหนาท่ีของทุกคนที่

ชว ยกนั อนุรกั ษ โดยการศึกษาวัฒนธรรมใหเ ขาใจ จะไดช ว ยกนั รวมมอื รกั ษา
2. รวมกันเผยแพรวัฒนธรรมและประเพณี โดยการศึกษาเรียนรูและสืบทอดวัฒนธรรม

ประเพณีของชาตติ นเอง ตัวอยา ง คอื การเรียนรูดนตรี การเลนดนตรี การศึกษาเพลงฟงเพลง และ
รองเพลงประจาํ ชาติ ประจําทอ งถ่ิน เปนตน

3. เร่ิมตนจากครอบครัวโดยรวมมือกันในครอบครัว ชุมชน สังคม จัดตั้งชมรมสมาคม
สถาบัน เพ่อื จัดกจิ กรรมอนรุ ักษสบื ทอดวฒั นธรรม ประเพณีในทอ งถ่นิ และชาติ

4. สอื่ ตา ง ๆ ในสังคมเห็นความสาํ คญั ทจี่ ะศึกษาและถายทอดวฒั นธรรมเปนประจาํ สมา่ํ เสมอ
5. ทกุ คนตองรวมมือกันหวงแหน รักษา วัฒนธรรมอันดีงาม ใหคงอยูมิใหแปรเปลี่ยน เชน

ประเพณสี งกรานต ตองรว มมือกนั ทํากจิ กรรมอันดีงาม คือ สรงนํ้าพระ รดน้ําขอพรผูสูงอายุ ไมควร
สาดน้ําใสกันแบบไมส ภุ าพเรียบรอ ย และรนุ แรง

6. การรวมมือรักษา และถายทอดภูมิปญญา ใหไปสูสังคมและรุนบุตรหลาน ภูมิปญญา
หมายถงึ ความรู ความสามารถ ความคิด ความเชอื่ ท่กี ลุม คนเรียนรจู ากประสบการณ สงั่ สมไว ในการ

ดาํ รงชพี มกี ารพัฒนาเปลยี่ นแปลง สืบทอดกนั มา มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรกู ับกลุม คนอน่ื ทมี่ กี ารตดิ ตอ
สัมพันธก ัน แลว นํามาปรบั ใชใ หเปน ประโยชนส าํ หรบั ตนเอง ตัวอยา งภมู ิปญญา การปลูกพชื พนั ธพุ น้ื เมอื ง

การทาํ นาํ้ ปลา การปนปนู เปนตน
7. หาแนวทางการอนรุ กั ษ และสืบสานวัฒนธรรมของชุมชน และของประเทศตาง ๆ ในทวปี เอเชีย

รว มกนั ท้งั หนว ยงาน ท้งั ภาครฐั และเอกชน ที่ทําหนาที่สงเสริมสนับสนุน การแลกเปล่ียนวัฒนธรรม
ระหวางชมุ ชน และประเทศตา ง ๆ ตวั อยางคอื เรามกี ารแลกเปล่ียนวัฒนธรรม แสดงการละเลนของ

ประเทศตาง ๆ ทห่ี อประชุมวฒั นธรรมแหงชาติ
โดยเฉพาะอยางย่ิงปจ จบุ นั วัฒนธรรม ประเพณีของเอเชีย เปนที่ดึงดูดนักทองเที่ยวจากทั่วโลก

ทน่ี ิยมศึกษาทอ งเที่ยว เพราะมีเรอ่ื งราวทางวฒั นธรรมท่ีนาสนใจ นาศึกษาเรียนรู นักทองเที่ยวสนใจ
วัฒนธรรม ประเพณีตาง ๆ ในประเทศเอเชียท่ีนาสนใจแตกตางกันไป ตัวอยาง เชน นาฏศิลปไทย

อินเดีย ญี่ปุน อินโดนีเซีย และทุกประเทศตางอนุรักษสืบสานวัฒนธรรมของตนเอง โดยมีหลักสูตร
สอนในโรงเรียนสถานศึกษาตาง ๆ เพ่ือใหวัฒนธรรมคงอยูซึ่งสงผลตอเอกลักษณของชาติตนเองเปน

85

ความภาคภูมิใจและที่สําคัญ คือ ทําใหอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเจริญเติบโต มีเงินตราไหลเขา สู
ประเทศไดเ ปนอยางดี

เรื่องท่ี 4 คานยิ มทีพ่ ึงประสงค

คานิยมทีด่ ีงามของชาตติ า ง ๆ ในเอเชีย

คานยิ มทคี่ วรสงเสริมพัฒนาใหเกิดขนึ้ ในประเทศตาง ๆ ในเอเชีย คือ
1. ความสุภาพออ นโยนเปน นสิ ัยที่ดขี องประชาชนในทวีปเอเชยี
2. ความสามารถในการสรางสรรควัฒนธรรมดานศิลปะสาขาตาง ๆ ซึ่งมีความสวยงาม
มสี ุนทรียะ คงความเปนวัฒนธรรมเอเชยี ไวอยา งโดดเดน
3. ความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง เพื่อใหเปนแหลง ทองเท่ียวท่ีมี
คณุ คา
4. ความซ่อื สัตย ความขยันในการประกอบอาชีพ และตรงตอเวลา

86

คานิยมสําคัญที่กลาวมานี้ลวน เปนพื้นฐานใหความเปนชาติม่ันคง และคงเอกลักษณ
วัฒนธรรม ประเพณีท่ีสงผลใหเอเชีย ยังคงเปนแรงดึงดูดใจที่มีเสนหในการเรียนรู ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี และอุตสาหกรรมการทอ งเท่ยี วสืบตอไปนานเทานาน

คา นิยมในสังคมไทย

คานิยม คือ สิ่งที่กลุมสังคมหนึ่ง ๆ เห็นวาเปนสิ่งที่นานิยม นากระทํา นายกยอง เปนส่ิงที่
ถกู ตอ งดงี าม เหมาะสมทจ่ี ะยดึ ถือพึงปฏบิ ัตริ วมกันในสังคม

คา นิยม เปนสวนหน่งึ ของวฒั นธรรม เนอื่ งจากมีการเรียนรู ปลูกฝง และถายทอด จากสมาชิก
รุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง สังคมแตละสังคม จึงมีคานิยมตางกันไป คานิยม ชวยใหการดําเนินชีวิตใน
สงั คมมีความสอดคลองสัมพนั ธกนั และทาํ ใหก ารดาํ เนินชีวติ ของสมาชิก มีเปาหมาย ชวยสรางความ
เปน ปก แผนใหแ กสังคม อยางไรก็ดี คานิยม เปนสิ่งท่ีมีการเปลี่ยนแปลงได ในปจจุบันนี้สังคมไทย มี
คา นยิ มใหม ๆ เกิดขน้ึ มาก เชน คา นยิ มในการอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติ คานยิ มในการนาํ เทคโนโลยี
ใหม ๆ มาใชใ นชวี ิตประจําวัน เปนตน

คานิยมทค่ี วรปลูกฝง ในสังคมไทย ไดแ ก
1) การรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 
2) ความเอ้อื เฟอ เผอ่ื แผ
3) ความกตญั ูกตเวที
4) ความซือ่ สัตยสุจริต
5) การเคารพผูอาวุโส
6) การนยิ มใชข องไทย
7) การประหยัด

87

กจิ กรรมท่ี 9
1. ใหผูเรียนแบงกลุมกัน 5 - 6 คน คนควาวัฒนธรรม ประเพณีทองถ่ินในประเทศไทย

แตละภาค พรอ มแนวทางการอนรุ ักษวฒั นธรรม ประเพณีนั้น ๆ แลวนํามาแลกเปลี่ยน
เรยี นรูดว ยการนาํ เสนอ แลว ใหผ เู รียนชวยกันใหขอ คดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ใหผเู รียนแบง กลมุ กัน 5 - 6 คน คนควาวัฒนธรรม ประเพณีที่สําคัญของประเทศตาง ๆ
ในเอเชีย พรอ มท้ังแนวทางอนุรักษวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศนั้น ๆ แลวนํามา
แลกเปลี่ยนเรียนรดู ว ยการนําเสนอ แลว ใหผเู รียนชวยกนั ใหข อ คดิ เห็นเพิ่มเตมิ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ใหผูเรียนอภิปรายปญหาคานิยมของประเทศ และชุมชน พรอมท้ังใหขอเสนอแนะ
วิธีการสรางเสริมคานิยม ความซื่อสัตย ความสามัคคี ใหเกิดขึ้นในชุมชนและสังคมได
อยางไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

88

บทท่ี 3

รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย

สาระสําคญั

ประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
มีรัฐธรรมนญู ซงึ่ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ท่ปี ระชาชนชาวไทย ควรมีความรู ความ
เขาใจเก่ียวกับความเปนมา หลักการ เจตนารมณ โครงสราง และสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย ตลอดจนการศึกษาจุดเดนของรัฐธรรมนูญในสวนทเ่ี ก่ียวกับสิทธิ เสรีภาพ และ
หนาทีข่ องประชาชน เพื่อการปฏบิ ัติตนไดอ ยางถูกตอ ง ตามท่รี ฐั ธรรมนญู กําหนด

ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง

1. อธิบายความเปนมา หลกั การ และเจตนารมณ ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทยได
2. มคี วามรู ความเขาใจ โครงสราง และบอกสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
3. อธิบายจุดเดนของรัฐธรรมนญู ท่ีเกยี่ วกบั สิทธิ เสรีภาพ หนาทข่ี องประชาชนได

ขอบขา ยเน้ือหา

เรอ่ื งที่ 1 ความเปน มา หลักการ และเจตนารมณ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย
เร่อื งที่ 2 โครงสรา ง และสาระสําคัญ ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย
เรื่องที่ 3 จุดเดน ของรัฐธรรมนญู ทีเ่ กี่ยวกบั สิทธิ เสรภี าพ และหนาท่ีของประชาชน

สื่อการเรียนรู

1. คอมพิวเตอร อินเทอรเนต็
2. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550
3. บทความตาง ๆ
4. หนงั สอื พิมพ

89

เรอื่ งท่ี 1 ความเปนมาหลกั การและเจตนารมณ
ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย

1.1 ความเปนมาของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย

รฐั ธรรมนูญ (Constitution) หมายถึง กฎหมายสูงสุดในการจัดการปกครองรัฐ ถาแปลความ
ตามคํา จะหมายถงึ การปกครองรัฐอยา งถูกตองเปนธรรม (รฐั + ธรรม + มนญู )

ในความหมายอยางแคบ “รัฐธรรมนญู ” ตอ งมลี ักษณะเปน ลายลกั ษณอ ักษร และไมใ ชส ิง่ เดียวกับ
กฎหมายรฐั ธรรมนญู (Constitutional Low) “เพราะกฎหมายรัฐธรรมนูญ” มีความหมายกวางกวา
และจะเปน รูปแบบลายลักษณอักษร หรือจารตี ประเพณีก็ได

สหรัฐอเมรกิ าและฝรัง่ เศสเปน ประเทศแรก ๆ ท่ีรางรัฐธรรมนูญข้ึนมาในภาษาของประเทศ
ทั้งสองคาํ วา รัฐธรรมนูญ ตางใชคําวา (Constitution) ซ่ึงแปลวา การสถาปนา หรือ การจัดต้ัง ซึ่ง
หมายถึง การสถาปนา หรือการจัดต้ังรัฐ นั่นเอง โดยทั้งสองประเทศมีรัฐธรรมนูญท่ีเปนลายลักษณอักษร
แตประเทศอังกฤษ ไมมีรัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษร มีแตจารีตประเพณี หรือ “ธรรมเนียม
ทางการปกครอง” ที่กระจายอยูตามกฎหมายคาํ พพิ ากษาตาง ๆ รวมทั้ง ธรรมเนียมปฏิบัติท่ีสืบทอดกันมา
จนกลายเปนจารตี ประเพณี ซ่งึ ถือเปนกฎหมายรัฐธรรมนูญท่ีสืบทอดมาจากประวัติศาสตรของชาติ
นนั่ เอง
(ท่มี า http://www.sale2thai.com/constiution.htm 13 #<เมอื่ วันที่ 11 กมภาพนั ธ 2552>)

หลวงประดิษฐม นูธรรม (ดร.ปรีดี พนมยงค) ไดอธิบายวา “กฎหมายธรรมนูญการปกครอง
แผนดนิ เปน กฎหมายที่บญั ญตั ถิ งึ ระเบยี บแหง อาํ นาจสูงสุดในแผน ดนิ ทงั้ หลาย และวิธีการดําเนินการ
ทัว่ ไปแหงอํานาจสงู สดุ ในประเทศ”

ศาสตราจารยหยดุ แสงอทุ ยั ทานอธิบายวา หมายถึง “กฎหมายทกี่ าํ หนดระเบยี บแหงอํานาจ
สูงสดุ ในรัฐ และความสมั พนั ธระหวางอํานาจเหลานี้ตอกนั และกัน”

(ท่ีมาhttp://e-learning.mfu.ac.th/mflu/1604101/chapter1/Lesson1.htm#13 <เมื่อวันท่ี 11
กุมภาพนั ธ 2552>)

ประเทศไทย เร่ิมใชรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ เม่ือเกิดการ
ปฏิวัติโดยคณะราษฎร เพ่ือเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศ จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย
มาเปน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข ท่ีทรงอยูใตรัฐธรรมนูญ เม่ือ
วันท่ี 24 มถิ นุ ายน 2475 ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยูห ัว รชั กาลที่ 7 แหง ราชวงศจักรี

90

หลงั การเปลยี่ นแปลงการปกครองพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทาน
รฐั ธรรมนญู ใหแกปวงชนชาวไทย ตามท่ีคณะราษฎรไดน าํ ขึ้นทูลเกลาฯ ถวายใหทรงลงพระปรมาภิไธย
นอกจากน้ี พระองคก็ทรงมีพระราชประสงคมาแตเดิมแลววา จะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหเปน
กฎหมายสงู สดุ ในการปกครองประเทศแกป ระชาชนอยูแลว จึงสอดคลองกับแผนการของคณะราษฎร
ประกอบกับพระองค ทรงเห็นแกความสงบเรียบรอยของบานเมือง และความสุขของประชาชนเปน
สําคญั ย่งิ กวาการดํารงไวซ งึ่ พระราชอํานาจของพระองค

รัฐธรรมนูญทคี่ ณะราษฎรไดนําข้ึนทลู เกลาฯ ถวายเพ่ือทรงลงพระปรมาภิไธยมี 2 ฉบับ คือ
พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 และรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. 2475

กองกาํ ลังของคณะราษฎรถา ย ณ บริเวณหนา วงั ปารสุ กวัน

ตอมา เม่ือเกิดความขัดแยงระหวางพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวกับคณะราษฎร
จนกระทง่ั พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยหู วั ไดตัดสนิ พระทัยสละราชสมบตั ิ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม
พ.ศ. 2477 โดยทรงมพี ระราชหัตถเลขาสละราชสมบัตคิ วามละเอยี ด ดังนี้

91

(สําเนาพระราชหัตถเลขาสละราชสมบตั )ิ

ปปร
บา นโนล
แครนลี ประเทศองั กฤษ

เมื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา กับพวก ไดทําการยึดอํานาจการปกครองโดยใช
กําลังทหาร ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 แลว ไดมีหนังสือมาอัญเชิญขาพเจา ให
ดํารงอยูใตตําแหนง พระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ ขาพเจาไดรับคําเชิญดังน้ัน
เพราะเขาใจวา พระยาพหลฯ และพวก จะสถาปนารัฐธรรมนูญตามแบบอยางประเทศ
ทั้งหลาย ซึ่งใชการปกครองตามหลักน้ัน เพ่ือใหประชาราษฎรไดมีสิทธิท่ีจะออกเสียงใน
วธิ ีดําเนนิ การปกครองประเทศ และนโยบายตาง ๆ อันเปนผลไดเสียแกประชาชนท่ัวไป
ขาพเจามีความเล่ือมใสในวิธีการเชนนั้นอยูแลว และกําลังดําริ จะจัดการเปลี่ยนแปลง
การปกครองของประเทศสยามใหเปนไปตามรปู แบบนั้น โดยมิไดมีการกระทบกระเทือน
อันรายแรง เม่ือมามีเหตุรุนแรงขึ้นเสียแลว และเม่ือมีผูกอการรุนแรงน้ัน อางวามีความ
ประสงคจ ะสถาปนารฐั ธรรมนญู ข้นึ เทา นัน้ กเ็ ปน ไมผ ิดกับหลกั การทข่ี าพเจามีความประสงค
อยเู หมือนกนั

ขาพเจา จงึ เห็นสมควรโนมตามความประสงคของผกู อการยดึ อาํ นาจนัน้ ได เพ่อื หวงั
ความสงบราบคาบในประเทศ ขาพเจาไดพยายามชวยเหลือ ในการที่จะรักษาความสงบ
ราบคาบ เพ่ือใหการเปล่ียนแปลงอันสําคัญน้ัน เปนไปโดยราบร่ืนท่ีสุด ที่จะเปนไดแต
ความพยายามของขา พเจาไรผ ล โดยเหตุทผ่ี ูก อการเปล่ียนแปลงการปกครอง ไดก ระทําให
บังเกิดมีความเสรีภาพในบานเมืองอยางบริบูรณข้ึนไม และมิไดฟงความคิดเห็นของ
ราษฎรโดยแทจริง และจากรัฐธรรมนูญท้ัง 2 ฉบับ จะพึงเห็นไดวาอํานาจที่จะดําเนิน
นโยบายตา ง ๆ นนั้ จะตกอยแู กค ณะผกู อการ และผูท สี่ นบั สนนุ เปนพวกพองเทาน้ัน มิได
ตกอยูแ กผ ูแ ทนซง่ึ ราษฎรเปนผูเลือก เชน ในฉบับชั่วคราว แสดงใหเหน็ วา ถาผูใดไมไดรับ
ความผิดชอบของผูก อการ จะไมใหเปนผูแทนราษฎรเลย ฉบบั ถาวรไดมีการเปล่ียนแปลง
ใหดีขึ้นตามคํารองขอของขาพเจา แตก็ยังใหมีสมาชิกซ่ึงตนเลือกเขากํากับอยูในสภา
ผูแ ทนราษฎรที่ 1 การทวี่ า ขาพเจาไดยินยอมใหม สี มาชกิ 2 ประเภท ก็โดยหวังวาสมาชิก
ประเภทที่ 2 ซ่ึงขา พเจา ต้ังน้นั จะเลือกจากบุคคลท่ีรอบรูการงาน และชํานาญในวิธีการ
ดําเนินการปกครองประเทศโดยทั่ว ๆ ไป ไมจํากัดวาเปนพวกใด คณะใด เพื่อจะได
ชว ยเหลือนาํ ทางใหแกสมาชกิ ซ่งึ ราษฎรเลือกตั้งขน้ึ มา แตค รั้นเมือ่ ถงึ เวลาที่จะตั้งสมาชิก
ประเภทที่ 2 ขึ้น ขา พเจา หาไดม ีโอกาสแนะนําในการเลือกเลย และคณะรัฐบาลก็เลือกเอา
แตเฉพาะผูท่ีเปนพวกของตนเกือบทั้งน้ัน มิไดคํานึงถึงความชํานาญ นอกจากน้ี


Click to View FlipBook Version