The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Sec.02 กลุ่ม 5 เรื่องระบบนิเวศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wannika7419, 2021-10-27 05:07:57

Sec.02 กลุ่ม 5 เรื่องระบบนิเวศ

Sec.02 กลุ่ม 5 เรื่องระบบนิเวศ

ระบบนิเวศเป็นส่วนหนึ่งของนิเวศวิทยา ซ่ึงเป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ
ส่ิงแวดล้อม การทาความเข้าใจเร่ืองของระบบนิเวศจะเอื้อประโยชน์ให้แก่มนุษย์ในแง่ของการตอบสนอง
ความต้องการในการดารงชีวิต ความรู้เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคในระบบนิเวศจะเป็น
ประโยชน์ต่อ การเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร การควบคุมศัตรูพืชและพาหะนาโรค ทาให้ผลผลิตทาง
การเกษตรเพิ่มข้ึนโดยไม่ต้องลงทุนมาก และการเพ่ิมผลผลิตจะไม่ทาให้เสียสมดุล ในขณะเดียวกันการรักษา
สมดุลธรรมชาติจะทาให้ระบบนิเวศมีสภาพดีขึ้นช่วยทาให้การดารงชีวิตของมนุษย์ได้รับความสะดวกสบาย
และการดารงชวี ิตของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เป็นไปด้วยดี ดงั นั้นการศึกษาสิ่งแวดล้อม ผู้เรียนจาเป็นจะต้องมีความรู้
พ้นื ฐานเรื่องระบบนิเวศและนเิ วศวทิ ยาเปน็ อย่างดี

หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่มนี้ จัดทาขึ้นตาม
ตวั ชี้วดั และมาตรฐานการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหนังสือ
ประกอบการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ระบบนิเวศ โดยเน้ือหา
จะประกอบด้วยความสัมพันธ์ทางกายภาพในระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ทางชีวภาพในระบบนิเวศ การ
ถา่ ยทอดพลังงานและการหมนุ เวยี นสารในระบบนิเวศ เนอื้ หาทั้งหมดผ้จู ดั ทาไดบ้ รู ณาการให้เหมาะสมกับการ
เรียนรู้ ส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีเน้ือหาและภาษาที่เข้าใจง่ายภาพประกอบชัดตรง
ตามหัวข้อพร้อมเกรด็ ความรู้คาศัพท์ทเี่ กย่ี วกบั ระบบนิเวศ

คณะผู้จัดทาหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการศึกษาและประกอบการเรียนการสอนแก่
ผู้เรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 เร่ือง ระบบนิเวศ เเละขอขอบพระคุณ
อาจารย์ อิสระ ทับสีสด ผู้ให้ความรู้และแนะนาในการสร้างหนังสือแบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ฉบับน้ี
ตลอดจนบุคคลทีม่ ีสว่ นเก่ียวขอ้ งในการจดั ทาจนหนังสือเล่มน้ีสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี หากมีข้อบกพร่องประการ
ใดคณะผู้จัดทาขอน้อมรับคาแนะนาดว้ ยความขอบคุณย่งิ

สารบญั

บทท่ี 1 ความสมั พันธ์ทางกายภาพในระบบนเิ วศ หนา้
1
1.1 สิง่ มีชีวิตกับแหลง่ ทอี่ ยู่
1.2 ระบบนิเวศ 2
10
• ระบบนิเวศบนบก 13
• ระบบนิเวศในนา้ 14
1.3 องคป์ ระกอบของระบบนเิ วศ 15
• องค์ประกอบทไ่ี ม่มีชีวิต 16
• องคป์ ระกอบทมี่ ชี ีวิต 21
สรุปองค์ความรู้ทา้ ยบทที่ 1 24
คาถามท้ายบทท่ี 1 26

บทที่ 2 ความสัมพนั ธ์ทางชวี ภาพในระบบนเิ วศ หนา้
27
2.1 ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต 28
2.2 การอยู่ร่วมกนั โดยต่างฝ่ายตา่ ง 31
ใหป้ ระโยชน์ซึ่งกันและกัน
31
• ภาวะการได้ประโยชน์รว่ มกนั 32
• ภาวะพ่ึงพากนั 32
2.3 การอยรู่ ่วมกันโดยฝา่ ยหน่ึงไดป้ ระโยชน์
อกี ฝา่ ยไมไ่ ดป้ ระโยชน์และไม่เสยี ประโยชน์ 32
• ภาวะอิงอาศัย 33
2.4 การอยูร่ ่วมกันโดยฝ่ายหนึ่งไดป้ ระโยชน์
และอีกฝา่ ยหนง่ึ เสียประโยชน์ 34
• ภาวะเหย่อื กบั ผ้ลู า่ 35
• ภาวะปรสิต 39
สรปุ องคค์ วามรทู้ า้ ยบทที่ 2 40
คาถามท้ายบทที่ 2

สารบัญ

บทที่ 3 การถ่ายทอดพลงั งานและการหมนุ เวียนสารในระบบนเิ วศ หนา้
41
3.1 กระบวนการถ่ายทอดพลังงาน
• ห่วงโซ่อาหาร 42
• สายใยอาหาร 43
3.2 ประสิทธภิ าพการสง่ ตอ่ พลงั งาน 47
3.3 วฏั จักรของสารในระบบนิเวศ 52
• วัฏจกั รของนา้ 57
• วัฏจักรของคารบ์ อน 58
• วฏั จักรของไนโตรเจน 61
• วฏั จกั รของฟอสฟอรัส 63
3.4 การถ่ายทอดสารพษิ ในระบบนเิ วศ 66
สรุปองค์ความรทู้ า้ ยบทท่ี 3 70
คาถามทา้ ยบทที่ 3 72
74
บรรณานุกรม
76

สารบัญภาพ หน้า
2
บทท่ี 1 ความสัมพนั ธ์ทางกายภาพในระบบนเิ วศ 2
3
ภาพที่ 3
1.1 ระบบนเิ วศในน้า 3
1.2 ระบบนเิ วศบนบก 3
1.3 ผักบุ้ง 3
1.4 แหน 4
1.5 ผักกระเฉด 4
1.6 บวั สาย 4
1.7 สาหรา่ ยหางกระรอก 4
1.8 ปลา 4
1.9 หอย 4
1.10 กงุ้ 5
1.11 ผีเสือ้ 5
1.12 แมลงปอ 6
1.13 นก
1.14 ระบบนเิ วศ
1.15 ประชากรท่ีพบในสระนา้ จืด
1.16 กลมุ่ ส่งิ มีชีวติ

สารบัญภาพ หนา้
6
บทที่ 1 ความสัมพนั ธท์ างกายภาพในระบบนเิ วศ 6
6
ภาพท่ี 7
1.17 แหลง่ ท่ีอยบู่ นดนิ 7
1.18 แหลง่ ท่ีอยใู่ ตด้ นิ 7
1.19 แหลง่ ท่ีอยทู่ ะเล 10
1.20 เชคคดิ สิ ก์ 11
1.21 เดนชโิ อมเิ ตอร์ 12
1.22 ยนู ิเวอรซ์ ลั อนิ ดเิ คเตอร์ 13
1.23 ระบบนเิ วศ 13
1.24 ส่งิ มีชีวิตในแหลง่ ท่ีอยตู่ า่ ง ๆ 13
1.25 ส่ิงมีชีวิตในบอ่ นา้ จืด 13
1.26 ระบบนเิ วศทงุ่ หญา้ 14
1.27 ระบบนเิ วศทะเลทราย 14
1.28 ระบบนเิ วศป่า 14
1.29 ระบบนิเวศท่ีราบรมิ ภเู ขา
1.30 ระบบนิเวศบงึ
1.31 ระบบนเิ วศคลอง
1.32 ระบบนิเวศบอ่

สารบญั ภาพ

บทท่ี 1 ความสัมพันธ์ทางกายภาพในระบบนเิ วศ

ภาพที่ หน้า
14
1.33 ระบบนเิ วศทะเล 15
1.34 ระบบนิเวศสระนา้ 16
17
1.35 แรธ่ าตทุ ่ีพืชตอ้ งการ 17
1.36 แก๊สทใ่ี ชใ้ นกระบวนการหายใจของมนษุ ย์ 17
1.37 แก๊สทใ่ี ช้ในการสังเคราะหแ์ สงของพืช 17
1.38 สง่ิ มีชีวติ ตอ้ งการนา้ ในการบริโภค 18
1.39 สง่ิ มีชีวิตตอ้ งการน้าเป็นแหลง่ เพาะพันธุ์ 18
1.40 การหุบบานของดอกไม้ 18
1.41 นกฮกู ออกหากนิ เวลากลางคืน 18
1.42 พชื ไม่สามารถเจรญิ เตบิ โตได้ในดินท่ีมสี ภาพเปน็ กรด
1.43 การพน่ ยาฆา่ แมลงมีส่วนทาให้สิ่งแวดล้อมในดินและน้า 19

ปนเปื้อน 19
1.44 สิง่ มชี ีวติ ทอ่ี าศยั อยใู่ นป่าชายเลนต้องปรับตวั ใหท้ นความ 20
20
เค็มได้
1.45 เกสรดอกไมพ้ ัดไปตามลม
1.46 ความชน้ื ในอากาศ
1.47 กระบองเพชรในทะเลทรายลดรูปจากใบกลายเปน็ หนาม

สารบัญภาพ

บทท่ี 1 ความสัมพนั ธ์ทางกายภาพในระบบนเิ วศ

ภาพที่ หน้า
1.48 การจาศลี ของกบในช่วงฤดหู นาว 20
1.49 การปรับตวั ทางด้านโครงสร้างของหมขี ั้วโลกมีขนหนาและ 20
ยาวปกคลมุ ร่างกาย
1.50 ช้าง 21
1.51 เเร้ง 21
1.52 ต้นไม้ 21
1.53 ผู้ผลิตเปลี่ยนพลงั งานแสงให้เป็นพลงั งานเคมี 22
1.54 ผู้บรโิ ภคพืช 22
1.55 ผู้บริโภคสตั ว์ 22
1.56 ผบู้ ริโภคทั้งพืชและสตั ว์ 23
1.57 ผบู้ ริโภคซากสัตว์ 23
1.58 เหด็ 23
1.59 รา 23

สารบัญภาพ หน้า
28
บทที่ 2 ความสัมพันธ์ทางชวี ภาพในระบบนิเวศ 28
29
ภาพท่ี 29
2.1 กาฝากบนต้นไม้ใหญ่ 29
2.2 รังต่อบนตน้ ไม้ 29
2.3 เหาฉลามกบั ฉลาม 31
2.4 เฟริ ์นกับต้นไมใ้ หญ่ 32
2.5 ผีเส้ือกับดอกไม้ 33
2.6 ไลเคน 33
2.7 ผเี ส้อื กบั ดอกไม้ 34
2.8 ไลเคน 34
2.9 กล้วยไม้กบั ตน้ ไม้ 35
2.10 เหาฉลามกบั ฉลาม 36
2.11 เกี่ยวกบั นก 36
2.12 สิงโตกบั กวาง
2.13 ปรสติ ในร่างกายมนุษย์
2.14 ปรสติ ภายนอกในพชื
2.15 ปรสติ ภายนอกในสัตว์

สารบญั ภาพ

บทท่ี 3 การถ่ายทอดพลงั งานและการหมนุ เวยี นสารในระบบนิเวศ

ภาพท่ี หนา้
42
3.1 ปจั จัยทส่ี าคัญต่อการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช 43
44
3.2 เสอื ลา่ กวาง 44
45
3.3 ตวั อยา่ งโซอ่ าหาร 45
3.4 สตั วท์ ่เี ปน็ เหย่อื ผูล้ ่า และเป็นท้ังเหย่อื และผูล้ ่า 45
3.5 ตวั อย่างหว่ งโซอ่ าหารแบบผู้ลา่ 46
3.6 ตัวอย่างห่วงโซอ่ าหารแบบเศษ 46
3.7 ตัวอย่างห่วงโซอ่ าหารแบบปรสิต
3.8 แผนภาพการถ่ายทอดพลงั งานในโซ่อาหาร 47
3.9 เปรียบเทียบการถา่ ยทอดปริมาณสารพิษและพลงั งานในโซ่ 48
48
อาหาร 49
3.10 รปู สงิ่ มชี วี ิต
50
3.11 ตวั อยา่ งสายใยอาหาร 51
3.12 ตัวอยา่ งสายใยอาหาร
3.13 ตัวอย่างวิธีการสรา้ งแบบจาลองการถา่ ยทอดพลังงานใน

สายใยอาหาร
3.14 สิง่ มชี ีวติ

3.15 แผนภาพความสมั พนั ธ์ระหว่างผู้ผลติ ผู้บริโภค และผยู้ อ่ ย
สลายสารอินทรยี ์

สารบญั ภาพ

บทท่ี 3 การถา่ ยทอดพลงั งานและการหมนุ เวียนสารในระบบนิเวศ หนา้
52
ภาพที่
3.16 แสดงการถ่ายทอดพลังงานามหลัก กฎ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ 53
ของลนิ ด์แมน 54
3.17 ตัวอยา่ งพีระมิดแสดงจานวน 55
3.18 ตวั อยา่ งพีระมดิ มวลของสิ่งมชี วี ติ 56
3.19 ตัวอย่างพีระมิดพลังงานของสิง่ มชี ีวติ 57
3.20 แผนภาพห่วงโซอ่ าหาร 58
3.21 วัฏจกั รของสารในระบบนเิ วศ 58
3.22 การหมนุ เวียนของน้าโดยไม่ผา่ นสิง่ มชี ีวติ 59
3.23 การหมนุ เวียนของนน้าโดยผ่านส่งิ มชี วี ติ 60
3.24 วัฏจักรนา้ 61
3.25 วัฏจกั รน้า 62
3.26 กจิ กรรมชีวติ ประจาวัน 63
3.27 วัฏจักรคารบ์ อน 64
3.28 พชื ตระกลู ถว่ั และแหนแดง 65
3.29 พืชตระกูลถ่ัวและสตั ว์กินพืช 66
3.30 วฏั จกั รไนโตรเจน
3.31 หินฟอตเฟต

สารบัญภาพ

บทท่ี 3 การถา่ ยทอดพลังงานและการหมนุ เวยี นสารในระบบนิเวศ หนา้
66
ภาพท่ี 67
3.32 แรธ่ าตุในดนิ 68
3.33 วัฏจกั รฟอสฟอรัส 68
3.34 ฟนั 69
3.35 คน 70
3.36 สวนขวดแก้วจาลอง 70
3.37 สารพิษจากการทาเกษตร 71
3.38 สภาพดินเสียจากสารพษิ
3.39 หอยนางลม



บทที่ 1

• ระบบนิเวศบนบก • องค์ประกอบที่ไมม่ ีชวี ิต
• ระบบนิเวศในนา • องค์ประกอบท่มี ีชวี ิต

สิง่ ตา่ ง ๆ ทอี่ ยรู่ อบตวั เรามีทัง้ สิง่ มีชีวติ ได้แก่ พืช สัตว์ จลุ นิ ทรีย์ และส่ิงที่ไม่มีชีวิตเช่น แสง
น้า อุณหภูมิ แร่ธาตุ และอากาศ เปน็ ต้น ทัง้ สองกล่มุ นเ้ี ป็นสง่ิ ทีเ่ กดิ ข้ึนตามธรรมชาติ

สภาพแวดล้อมบนโลกในแต่ละพ้ืนที่มีความแตกต่างกัน บางพ้ืนที่มีสภาพเป็นป่าไม้
บางพื้นที่มีสภาพเป็นทะเลทราย บางพ้ืนท่ีมีสภาพเป็นทะเลหรือบางพ้ืนที่มีสภาพเป็นภูเขา ซ่ึงใน
แต่ละพื้นท่ี จะพบทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบมาอาศัยอยู่
รวมกันเป็น

Engaging ให้นักเรียนศึกษาภาพที่ 1 และภาพที่ 2 แล้วร่วมกันวิเคราะห์ว่า
Activity องค์ระกอบท่อี ยู่ในภาพมอี ะไรบ้าง และมคี วามสมั พนั ธ์กนั อย่างไร

ภาพท่ี 1

ภาพที่ 2

ภาพที่ 1.1 ระบบนิเวศในน้า
ทม่ี า : https://wallhere.com/th/wallpaper/520421

ภาพที่ 1.2 ระบบนเิ วศบนบก
ท่มี า : https://bit.ly/3atbfvs

พชื ทลี่ อยนาหรอื พบบนผวิ นา พชื ท่ีพบบางสว่ นอยใู่ ต้นาบางสว่ นอยเู่ หนอื นา

ภาพที่ 1.3 ผักบ้งุ ภาพที่ 1.6 บวั สาย
ท่ีมา : https://www.sentangsedtee.com/ ท่ีมา : https://bit.ly/3aoO31l

farming-trendy/article_106847 พืชทจี่ มนาหรือพบใตน้ า

ภาพท่ี 1.4 แหน ภาพท่ี 1.7 สาหร่ายหางกระรอก
ท่มี า : http://clgc.agri.kps.ku.ac.th/resour ทม่ี า : http://supinya2703.blogspot.com/2018/

ces/weed/lemna.html 03/outdoor-learning.html

ภาพที่ 1.5 ผักกระเฉด
ท่มี า : https://www.sanook.com/cam

pus/1376577/

สัตว์ทพ่ี บในนา สัตว์ทพ่ี บบนบก

ภาพที่ 1.8 ปลา ภาพท่ี 1.11 ผเี ส้ือ
ทีม่ า : https://www.cpfworldwide.com/th ทมี่ า : shorturl.asia/WnXZG

/media-center/898

ภาพที่ 1.9 หอย ภาพที่ 1.12 แมลงปอ
ทม่ี า : https://positioningmag.com/56957 ที่มา : shorturl.asia/Lebxy

ภาพที่ 1.10 กงุ้ ภาพที่ 1.13 นก
ทีม่ า : https://bit.ly/3FKA04W ท่ีมา : https://www.sanook.com

/health/28901/

แหลง่ ทอ่ี ยู่ ระบบนเิ วศนิเวศ
(habitat) (ecosystem)

ประชากร
(population)

สิง่ มีชีวิต
(organism)

กลุม่ ส่งิ มีชีวติ
(community)

ภาพท่ี 1.14 ระบบนิเวศ
ทมี่ า : http://th.gofreedownload.net/free-vector/vector-cartoon/forest

-cartoon-illustration-223851/#.YWvMuhpBzIU

พืชและสัตว์หลากหลายชนิดอาศัยในแหล่งที่อยู่เดียวกัน ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันท่ีอาศัยอยู่
ร่วมกัน ในแหล่งทอี่ ยเู่ ดียวกัน ในชว่ งเวลาเดียวกันเรียกว่า ประชากร (population) เช่น ในสระ
น้าจืด นักเรียนอาจพบประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ เช่น ประชากรแหน ประชากรหอย
ประชากรแมลงปอ

ภาพท่ี 1.15 ประชากรทีพ่ บในสระนา้ จดื
ท่ีมา : https://mgronline.com/travel/detail/9610000023162

ประชากรของสงิ่ มีชีวิตหลาย ๆ ชนิดอาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งท่ีอยู่เดียวกัน เช่น บริเวณ

สระน้าจืด ประกอบด้วยประซากรสายบัว กกธูป ปลา เต่า กบ กวาง นก รวมเรียกประชากร

ของสง่ิ มีชีวติ นวี้ า่ กลุม่ สงิ่ มีชีวิต (community) นก

กกธปู กวาง
สายบวั

ปลา กบ
เต่า

ภาพที่ 1.16 กลุ่มสง่ิ มชี วี ติ
ท่มี า : https://sites.google.com/site/scienceinging/bth-thi-1/1-2-rabb-niwes

ส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู่ที่ต่างกัน กลุ่มสิ่งมีชีวิตบางกลุ่มอยู่บนบก บางกลุ่มอยู่ในน้าจืด
บางกลุ่มอยู่ใต้ติน บางกลุ่มอยู่ในน้าเค็ม เรียกบริเวณที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่น้ีว่า
แหล่งที่อยู่ (habitat) กลุ่มส่ิงมีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่หนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
เชน่ เปน็ ทีอ่ ยอู่ าศยั เป็นที่เล้ียงดลู กู ออ่ นและเปน็ แหลง่ อาหาร

ภาพที่ 1.17 แหล่งท่อี ยบู่ นดิน ภาพที่ 1.18 แหล่งท่ีอยูใ่ ต้ดิน ภาพที่ 1.19 แหลง่ ที่อยทู่ ะเล
ท่ีมา : https://board.postjung ทีม่ า : https://www.takieng.com ทมี่ า : shorturl.asia/Z2h17

.com/894310 /stories/1246

กจิ กรรมท่ี 1.1 สารวจระบบนิเวศนอกหอ้ งเรียน

จุดประสงคข์ องกจิ กรรม

1. อธิบายปฏิสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบของระบบนเิ วศพนื้ ท่ีแหลง่ นา้ และบนบก
2. สารวจลกั ษณะสภาพทางกายภาพพนื้ ท่ีแหลง่ นา้ และบนบกในระบบนิเวศ

วัสดแุ ละอุปกรณ์

1. ตลับเมตร 1 อัน
2. แว่นขยาย 1 อนั
3. ขวดพลาสติก 1 ขวด
4. เทอรโ์ มมเิ ตอร์ 1 อัน
5. สไลด์และแผน่ ปดิ สไลด์ 1 ชุด
6. กลอ้ งจลุ ทรรศน์ 1 กล้อง
7. กระดาษยนู เิ วอรซ์ ัลอนิ ดเิ คเตอร์ 1 กลอ่ ง
8. น้ากลน่ั 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
9. เชคคิดิสก์ 1 อนั
10. เดนชโิ อมิเตอร์ 1 อนั

ภาพท่ี 1.20 เชคคิดสิ ก์ ภาพที่ 1.21 เดนชโิ อมเิ ตอร์ ภาพที่ 1.22 ยนู ิเวอร์ซลั อนิ ดิเคเตอร์
ท่มี า : https://www.nanasupplier.com ที่มา : shorturl.asia/BWQfz ที่มา : https://www.trueplookpanya.

/harikul/p-166981 com/knowledge/content/65178

กิจกรรมที่ 1.1 สารวจระบบนิเวศนอกหอ้ งเรยี น

วิธีการดาเนนิ งานของกจิ กรรม

1. ศึกษาสิ่งแวดล้อมบริเวณนอกห้องเรียน ตามที่กาหนดให้ เช่น สนามหญ้า ใต้ต้นไม้
สระนา้
2. สารวจลักษณะทางกายภาพ ดงั นี้

2.1 ปรมิ าณแสงสว่างในบริเวณนนั้
1) พื้นดิน : วัดความหนาแน่นของเรือนยอดต้นไม้ โดยใช้เดนชิโอมิเตอร์

เพือ่ เปรยี บเทียบวา่ ในแตล่ ะบรเิ วณมแี สงส่องถงึ พืน้ ดินมากนอ้ ยเพยี งใด
2) พ้ืนน้า : วัดระยะทางที่แสงสองผ่านน้า โดยใช้เชคคิดิสก์หย่อนลงใน

แหลง่ น้า จนถงึ ระยะทม่ี องไมเ่ ห็นเชคคดิ สิ ก์ อา่ นคา่ ความลกึ จากเครื่องหมายที่ทาไว้บนเส้น
เชอื ก

2.2 สภาพสี กลิ่นของดนิ หรือนา้
2.3 วดั อุณหภมู ทิ พ่ี ื้นผิวดนิ หรอื น้าและระดับต่ากว่าพื้นผิวของบริเวณท่ีศึกษาลึกลง
ไป ประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร
2.4 วัดค่าความเป็นกรด-เบสของบริเวณที่ศึกษาด้วยกระดาษลิตมัสหรือกระดาษยู
นิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ ถ้าเป็นพ้ืนผิวดิน ให้นาดินที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร ปริมาณ
100 กรมั มาละลายในน้ากล่นั 100 ลกู บาศก์กเ็ ซนติเมตร คนใหเ้ ช้ากัน ต้ังท้ิงไว้สักครู่ แล้ว
จึงวดั ค่าความเปน็ กรด-เบส
3. สารวจลักษณะสภาพทางชีวภาพโดยระบุช่ือสิ่งมีชีวิต จานวน และลักษณะโดรงสร้าง
ภายนอกของสิ่งมชี ีวติ ในบรเิ วณนัน้ บันทึกผล

กิจกรรมที่ 1.1 สารวจระบบนิเวศนอกหอ้ งเรยี น

ตวั อยา่ งตารางบนั ทึกผล

ตารางท่ี 1 สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและชวี ภาพของแหล่งทศ่ี ึกษาในบริเวณโรงเรยี น

แหลง่ ท่ี สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สภาพแวดลอ้ มทางชีวภาพ
ศึกษาใน
บรเิ วณ แสง ส-ี กลนิ่ อุณหภูมิ ค่า pH ช่ือ จานวน ลกั ษณะ
โรงเรียน
สงิ่ มชี ีวติ ของ

ส่ิงมชี วี ติ

คาถามท้ายกิจกรรม
1. สภาพส่ิงแวดล้อมในบริเวณท่สี ารวจเปน็ อย่างไร
2. ชนดิ และปรมิ าณของสงิ่ มชี ีวิตท่ีพบในแต่ละบรเิ วณเหมือนหรือตา่ งกัน อย่างไร
3. สง่ิ มีชีวิตและสงิ่ ไมม่ ชี วี ิตในบรเิ วณที่สารวจมีความสมั พนั ธก์ ันหรือไม่ อย่างไร
4. สรุปผลการทากจิ กรรมนี้ได้อย่างไร

อภปิ รายผลกิจกรรม
ส่ิงแวดล้อมท่ีนักเรียนศึกษาและสารวจ ทาให้นักเรียนเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง

สิ่งมชี ีวิตกับสิง่ แวดล้อม และดวามสมั พนั ธร์ ะหว่างส่ิงมีชีวิตด้วยกันเอง แตกต่างกันไปตามสภาพ
ของแหลง่ ท่ีอยู่ โดยมปี ัจจยั ทีส่ าคญั เช่น แสง ค่าความเป็นกรด-เบส (PH) มีผลต่อการดารงชีวิต
ของพชื อุณหภมู ิ และน้ามีผลต่อการดารงชีวิตของสัตว์ และถ้าสภาพแวดล้อมทางกายภาพของ
แหล่งที่อยู่เปล่ียนแปลงไป ก็อาจทาให้ส่ิงมีชีวิตในสถานที่นั้นหรือส่ิงแวดล้อมน้ันเปล่ียนไปด้วย
ข้ึนอย่กู ับสภาพความทนอย่ไู ด้ของส่ิงมีชีวิตนั้น ๆ

ระบบท่ีมีความสัมพันธ์กันของกลุ่มส่ิงมีชีวิต พร้อมท้ังสภาพแวดล้อมท่ีไม่มีชีวิต
ด้วย เช่น อุณหภูมิ แสง ความชื้น ในพ้ืนท่ีใดพ้ืนที่หน่ึง ซ่ึงความสัมพันธ์น้ันหมายถึง การอาศัย
อยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในบริเวณหน่ึงนั่นเอง ดังน้ันในบริเวณใดๆท่ีมีสิ่งมีชีวิต
และสิ่งไม่มีชีวิตมีความสัมพันธ์กันเพ่ือให้เกิดการแลกเปล่ียนสารและถ่ายทอดพลังงานระหว่าง
กัน เรียกว่า ระบบนิเวศนิเวศ (ecosystem)

ระบบนิเวศ = กลมุ่ สงิ่ มีชีวิต + แหล่งทอ่ี ยู่

การสารวจส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ทาให้เราทราบขนาดของประชากร และเข้าใจ
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่อยู่ภายในระบบนิเวศ แบ่งเป็นความสัมพันธ์ทาง
กายภาพ เป็นความสัมพันธร์ ะหวา่ งกลุ่มสิง่ มชี ีวิตกบั สง่ิ แวดล้อมทีไ่ มม่ ีชีวติ ในบริเวณเหล่งที่อยู่นั้น
เช่น แสง น้า อุณหภูมิ แร่ธาตุ แก๊ส และความสัมพันธ์ทางชีวภาพ เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง
กลุ่มส่งิ มีชวี ติ ทีอ่ าศัยอยูร่ ่วมกันในบริเวณแหลง่ ทอ่ี ยนู่ ้ัน

ในท้องถิ่นของเรามีสิ่งมีชีวิตท้ังพืชและสัตว์มากมายหลายชนิด สิ่งมีชีวิตบางชนิดอยู่บน
พื้นดิน บางชนิดอยู่ในน้า และบางชนิดอยู่บนต้นไม้ แหล่งท่ีอยู่บางแหล่งมีส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกัน
บางแหลง่ ทอ่ี ยกู่ อ็ าจพบส่ิงมีชีวติ ตงั้ แต่ 2 ชนดิ ข้นึ ไป

ภาพท่ี 1.23 ระบบนเิ วศ
ทีม่ า : https://www.thepassport.travel/world

/africa/safari-in-africa

กจิ กรรมที่ 1.2 สิ่งมชี ีวิตในแหล่งทีอ่ ยตู่ า่ งกนั

จดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
1. อธิบายปฏสิ มั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบของระบบนเิ วศพนื้ ท่ีแหลง่ นา้ และบนบก

วัสดแุ ละอุปกรณ์
1. ภาพส่ิงมชี วี ติ ในแหล่งทอี่ ยู่ตา่ ง ๆ
2. ภาพสิ่งมชี วี ติ ในบ่อน้าจืด

วธิ ีการดาเนนิ งานของกจิ กรรม
ตอนท่ี 1
1. แบ่งกลุ่ม แต่ละกลมุ่ รว่ มกันสังเกตสง่ิ มชี ีวติ ในแหลง่ ทอี่ ย่ตู า่ ง ๆ แลว้ ระบขุ องส่งิ มีชีวติ
ปริมาณและแหลง่ ทอี่ ยู่ พรอ้ มบนั ทึกผล

12

3

ภาพท่ี 1.24 ส่ิงมีชีวิตในแหล่งที่อย่ตู ่าง ๆ
ทีม่ า : คณะผจู้ ัดทาหนงั สอื

กิจกรรมที่ 1.2 สงิ่ มชี วี ิตในแหลง่ ท่ีอยู่ตา่ งกัน

ตอนที่ 2
1. แบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาส่ิงมีชีวิตในภาพ เป็นภาพบ่อน้าจืดแหล่งหน่ึงใน
ท้องถ่ินใกล้หมู่บ้าน แล้วระบุส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดมีอะไรบ้าง รวมจานวนส่ิงมีชีวิตที่พบ
ทง้ั หมดบนั ทึกผล

ภาพท่ี 1.25 สิง่ มชี ีวิตในบอ่ น้าจดื
ที่มา : คณะผ้จู ดั ทาหนังสือ

คาถามท้ายกิจกรรม
1. พบสิ่งมีชวี ิตชนดิ ใดบา้ งในภาพท่ี 1.24 และมีจานวนมากน้อยตา่ งกนั อยา่ งไร
2. สิ่งมชี วี ติ ในภาพที่ 1.24 เปน็ ชนดิ เดียวกนั หรือไม่ และอย่ใู นท่ีเดยี วกนั หรอื ทต่ี า่ งกนั
3. สิ่งมีชีวติ ชนดิ เดียวกัน อาศยั อย่ใู นแหล่งท่ีอยหู่ นึง่ เรียกวา่ อะไร
4. ส่ิงมชี ีวติ ในภาพที่ 1.25 มอี ะไรบ้าง รวมชนดิ ของสิ่งมชี ีวติ แล้วมีจานวนเทา่ ไร
5. สง่ิ มชี ีวติ ในภาพที่ 1.25 มีความสัมพนั ธ์กนั หรือไม่ อย่างไร
6. ประชากรของส่ิงมชี วี ติ หลาย ๆ ชนดิ อาศยั ในบ่อน้าเดยี วกันในชว่ งระยะเวลาเดยี วกัน
เรยี กว่าอะไร

ระบบนิเวศแบ่งเปน็ 2 ประเภท ดังนี

1. ระบบนิเวศบนบก หมายถึง ลักษณะของระบบนิเวศท่ีกลุ่มส่ิงมีชีวิตภายในระบบ
อาศยั อยู่บนพืน้ ดนิ เช่น ทุง่ หญ้า ปา่ ทะเลทราย ทีร่ าบรมิ ภูเขา ทร่ี าบสงู

ภาพที่ 1.26 ระบบนิเวศทุง่ หญา้ ภาพที่ 1.27 ระบบนเิ วศทะเลทราย
ทม่ี า : https://artysrandomstuff.home.blog/ ที่มา : shorturl.asia/IXtjp

ภาพที่ 1.28 ระบบนเิ วศป่า ภาพที่ 1.29 ระบบนิเวศที่ราบริมภูเขา
ท่มี า : https://pxhere.com/th/photo ทมี่ า : https://travel.mthai.com/world-

/1580927 travel/82634.html

2. ระบบนิเวศในนา หมายถึง ลักษณะของระบบนิเวศท่ีกลุ่มสิ่งมีชีวิตภายในระบบ
อาศยั อย่ใู นแหล่งนา้ เช่น บอ่ หนอง บงึ คลอง แม่นา้ ทะเล

ภาพที่ 1.30 ระบบนเิ วศบงึ ภาพที่ 1.31 ระบบนเิ วศคลอง
ทม่ี า : https://ngthai.com/science/25251/ ที่มา : https://pxhere.com/th/photo/557439

ecosystem/

ภาพที่ 1.32 ระบบนเิ วศบ่อ ภาพที่ 1.33 ระบบนเิ วศทะเล
ทม่ี า : https://www.banidea.com/natural- ทมี่ า : shorturl.asia/MUVvh

organics-pools/

Engaging
Activity

1. ระบบนเิ วศจาแนกเป็นก่ปี ระเภท และใชอ้ ะไรเปน็ เกณฑ์ในการจาแนก
2. สงั เกตสระนา้ ในภาพต่อไปน้ี ซงึ่ ประกอบดว้ ย กบ ลกู อ๊อด แมลงปอ กกธูป สายบัว
เตา่ ปลา เห็ด เรียกกว่า กลุ่มสิง่ มีชีวติ ไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด

ภาพท่ี 1.34 ระบบนิเวศสระนา้
ที่มา : http://jeerapa-thong.blogspot.com

/2016/04/

3. พิจารณาภาพแสดงระบบนิเวศในน้าและบนบก แล้วเลือกระบบนิเวศมา 2 แห่ง
จากน้ันคาดคะเนว่า ในแต่ละระบบนิเวศประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตและ
สิ่งแวดลอ้ มทไ่ี ม่มชี ีวติ อะไรบา้ ง

สภาพแวดล้อมบนโลกมีการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลา บางบริเวณเกิดการ
เปล่ียนแปลงอย่างช้า ๆ จึงไม่ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต แต่บางบริเวณเกิด
การเปลยี่ นแปลงอย่างกะทันหันและรุนแรง อาจส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตซ่ึง
มีอทิ ธิพลตอ่ สมดุลของระบบนิเวศ

ในแต่ละระบบนิเวศมีขนาดและความสัมพันธ์ของสมาชิกในระบบที่แตกต่างกัน
มากมาย แตใ่ นระบบนเิ วศทุกระบบจะตอ้ งประกอบด้วยองคป์ ระกอบพื้นฐาน 2 ส่วน

Engaging
Activity

1. อนินทรยี ส์ ารแตกต่างกันอนิ ทรยี สารอยา่ งไร
2. องคป์ ระกอบไม่มีชวี ติ มีความสาคัญกับส่งิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศอย่างไร

องค์ประกอบที่ไม่มชี ีวิต

องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต (abiotic components) เป็นส่วนที่ทาให้ระบบนิเวศเกิด
ความสมดุล ซ่ึงมีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตและการกระจายของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ หาก
ขาดองค์ประกอบท่ีไม่มีชีวิตเหล่าน้ี ส่ิงมีชีวิตจะไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ แบ่งออกเป็น
3 ประเภท ดงั นี้

1. อนินทรยี ส์ าร (inorganic substance) เปน็ สารที่ได้จากธรรมชาติ มีดงั นี้
แร่ธาตุ พืชและสัตว์แต่ละชนิดมีความต้องการแร่ธาตุต่าง ๆ ในปริมาณที่แตกต่าง

กัน เช่น พืชต้องการธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียมในปริมาณมาก ในขณะที่ธาตุ
แคลเซียม แมกนีเซยี ม กามะถัน เป็นธาตุที่ พืชต้องการในปริมาณน้อย แต่ขาดไม่ได้ หากขาด
แร่ธาตุเหล่าน้ี พืชจะเป็นโรคและตายในท่ีสุด

ภาพท่ี 1.35 แร่ธาตุท่พี ืชตอ้ งการ
ที่มา : https://www.baanlaesuan.com
/144528/plant-scoop/plants_nutrients

แก๊สต่าง ๆ เช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นแก๊สที่เก่ียวข้องกับ
กระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต โดยท่ัวไปส่ิงมีชีวิตจะหายใจเอาแก๊สออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย
ยกเว้นแบคทีเรียบางชนิด แล้วปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กลับคืนสู่สิ่งแวดล้อม
ขณะเดียวกันพืชจะนาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แล้วปล่อยแก๊สออกซิเจนออกทางปากใบ นอกจากนี้พืชบางชนิดอาศัยแบคทีเรียช่วยตรึงแก๊ส
ไนโตรเจนในบรรยากาศให้กลายเป็นสารประกอบไนโตรเจน เพ่ือให้พืชสามารถนาไปใช้
ประโยชนไ์ ด้

ภาพท่ี 1.36 แก๊สท่ีใชใ้ นกระบวนการหายใจของมนุษย์ ภาพท่ี 1.37 แก๊สทใ่ี ช้ในการสังเคราะห์แสงของพืช
ท่มี า : https://bit.ly/3n98fuq ท่มี า : https://www.trueplookpanya.com

/learning/detail/33804

นา เป็นปัจจัยกาหนดสภาพแวดล้อม ความอุดมสมบูรณ์ ลักษณะและชนิดของระบบ
นิเวศ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนจาเป็นต้องอาศัยน้าในการดารงชีวิต เนื่องจากน้าเป็นท่ีอยู่อาศัย
และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของส่ิงมีชีวิตบางชนิด เช่น ปลาอาศัยอยู่ในน้า ยุงใช้น้าเป็นแหล่ง
เพาะพันธุ์ และส่งิ มชี วี ิตตอ้ งการนา้ เพื่อใชอ้ ปุ โภคและบริโภค

ภาพท่ี 1.38 สง่ิ มชี วี ติ ตอ้ งการน้าในการบริโภค ภาพที่ 1.39 สิ่งมีชวี ิตตอ้ งการนา้ เป็นแหล่งเพาะพนั ธ์ุ
ที่มา : https://ngthai.com/animals/11778 ที่มา : https://sites.google.com/site/khorngngan

/why-cat-love-splash-water/ karleiyngkb/kar-phsm-phanthu-kb

2. อินทรีย์สาร (organic substance) เป็นสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต เช่น คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน ไขมัน ซึ่งๆ ได้จากการเน่าเปื่อยและผุพังของซากพืชซากสัตว์ แล้วทับถมกลายเป็น
ฮวิ มัส

3. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (physical environment) ทาให้ส่ิงมีชีวิตมีการ
ปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับ สภาพแวดล้อม และมีอทิ ธิพลต่อการกระจายของสิ่งมีชวี ติ ตวั อย่างเช่น

แสงสว่าง แสงจากดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานสาคัญของโลก โดยพืชสามารถ
เปลย่ี นพลังงานแสงให้กลายเปน็ พลังงานเคมีในรูปของอาหารด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสงและไดแ้ กส๊ ออกซเิ จนซง่ึ จาเปน็ ตอ่ กระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต นอกจากน้ี แสงยังเป็น
ตัวกาหนดพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิตอีกด้วย เช่น การหุบและบานของดอกไม้ การเปิด-ปิดปาก
ของใบพืช

ภาพที่ 1.40 การหุบและบานของดอกไม้ ภาพท่ี 1.41 นกฮูกออกหากนิ เวลากลางคืน
ทมี่ า : https://ihome108.com/portulaca- ทมี่ า : https://wallhere.com/th/wallpaper

oleracea/ /726708

ความเป็นกรด-เบสของดินและนา สภาพความเป็นกรด-เบสในดินหรือน้าแต่ละ
แห่งจะมีค่าไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับปริมาณแร่ธาตุต่าง ๆ ท่ีอยู่ในดิน โดยสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดต้อง
อาศัยอยู่ในสภาพที่มีความเป็นกรด-เบสท่ีเหมาะสม จึงจะดารงชีวิตอยู่ให้ เช่น พืชส่วนใหญ่
เจริญได้ดใี นดินที่มสี ภาพเป็นกลาง

ภาพที่ 1.42 พชื ไม่สามารถเจริญเติบโตไดใ้ นดนิ ทมี่ สี ภาพเป็นกรด ภาพที่ 1.43 การพน่ ยาฆา่ แมลงมีส่วนทาใหส้ ่ิงแวดลอ้ มในดินและน้าปนเปอื้ น
ท่ีมา : https://bit.ly/3aOPczw ท่มี า : https://bit.ly/3BSCTyc

ความเค็มของหินและนา ความเค็มมีอิทธิพลอย่างมากกับสิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่
บริเวณผิวน้า ตัวอย่างเช่น ป่าชายเลน เป็นบริเวณชายฝั่งทะเลท่ีมีการเปล่ียนแปลงความเค็ม
ตลอดเวลา ในเวลาน้าลงระดับความเค็มของดินในป่าชายเลนจะมากข้ึน และจะลดลงเมื่อมีน้า
จากแม่น้าไหลมาปะปนกับน้าทะเล พืชที่เจริญในดินเต็มหรือ ดินที่มีค่าการนาไฟฟ้าของสารจะ
ลายที่สกดั จากดินท่ีอิ่มตัวด้วยน้ามากกว่า 2 เดซซิ ีเมนสต์ ่อเมตร ท่ีอณุ หภมู ิ 25 องหาเซลเซียส
จะสง่ ผลใหพ้ ืชมีลาตนั แคระแกรน็ ใบไหม้ และตายในท่ีสดุ

ภาพท่ี 1.44 สงิ่ มีชีวิตทอ่ี าศยั อยใู่ นป่าชาเลนตอ้ งปรับตวั ให้ทนต่อความเค็มได้
ที่มา : https://sites.google.com/site/nirachatheerapun4/phak-xxrkaeni-kh

กระแสลม มีอทิ ธิพลตอ่ การผสมพันธ์ุ กรผสมพันธ์ของพืช การแพร่กระจายพันธ์พืช
และการคายน้าของพชื

ภาพที่ 1.45 เกสรดอกไม้พดั ไปตามลม
ทม่ี า : https://21mm.ru/news/nauka/chto-delaet-veter-dlya-prirody/

ความชืน เป็นปริมาณไอน้าท่ีมีอยู่ในอากาศ ซึ่งแตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่ของ
โลก เช่น พน้ื ทีท่ ี่อยู่ในเขตรอ้ นจะมคี วามชน้ื สงู เน่ืองจากเป็นบริเวณที่มีฝนตกซุก ในขณะที่พ้ืนท่ี
อยู่ในเขตหนาวจะมีความชื้นต่า โดยความชื้นมีผลต่อการระเหยของน้าในร่างกายของส่ิงมีชีวิต
ทาให้สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวเพื่อรักษาสมดุลของน้าภายในร่างกาย เช่น กระบองเพชรใน
ทะเลทรายลดรปู จากใบกลายเป็นหนาม

ภาพท่ี 1.46 ความชื้นในอากาศ ภาพท่ี 1.47 กระบองเพชรในทะเลทรายลดรูปจากใบกลายเป็นหนาม
ทมี่ า : https://ichi.pro/th/padng-dib-khun-pen- ท่มี า : https://sites.google.com/site/jaonham/cactus/laksna-

khn-luklab-2542371666626 thawpi-khxng-krabxng-phechr

อณุ หภูมิ เปน็ ปจั จยั ที่ควบคมุ การเจรญิ เติบโต การสืบพันธุ์ และการแพร่กระจายของ
สิ่งมชี ีวิต นอกจากน้ีอุณหภมู ิยังมผี ลตอ่ การปรับตัวท้ังด้านโครงสร้างและพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิต
เชน่ การปรบั ตวั ของสิง่ มีชวี ติ ในทะเลทราย การจาศีลของสตั ว์บางชนิดในชว่ งฤดหู นาว

ภาพที่ 1.48 การจาศลี ของกบในชว่ งฤดูหนาว ภาพท่ี 1.49 การปรบั ตัวท้งั ดา้ นโครงสร้างของหมขี ั้วโลก
ท่มี า : https://bit.ly/3BSIIf4 มีขนหนาและยาวปกคลมุ ร่างกาย
ที่มา : https://bit.ly/3FW205D

องคป์ ระกอบทีม่ ีชวี ิต

องค์ประกอบท่ีมีชีวิต (biotic components) ได้แก่ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อาศัยอยู่ใน

ระบบนิเวศน้นั เช่น พืช จุสินทรยี ์ สัตว์ โดยส่งิ มีชีวิตแต่ละชนดิ มคี วามสัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิตชนิด

อ่ืนและสง่ิ แวดลอ้ ม

ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2

ภาพท่ี 1.50 ช้าง ภาพที่ 1.51 แรง้
ท่ีมา :https://www.wwf.or.th/_our_work_th ทมี่ า : https://readthecloud.co/thailand-red-

/wildlife_th/kuiburi_project_th/ headed-vulture-reintroduction/

ภาพท่ี 3

ภาพที่ 1.52 ตน้ ไม้
ทมี่ า : https://www.catdumb.tv/tree-have-no-feeling-378/

Engaging
Activity

1. ยกตัวอยา่ งส่งิ มีชีวิตในภาพท่ี 1,2,3 ทีม่ ีบทบาทเปน็ ผผู้ ลติ ผูบ้ รโิ ภค และผ้ยู ่อยสลาย
สารอินทรีย์ ตามลาดบั

ส่ิงมีชวี ิตในระบบนเิ วศมบี ทบาทท่แี ตกตา่ งกนั ดงั นี้

1. ผู้ผลิต (producer) คือ สิ่งมีชีวิตท่ีสามารถสร้างอาหารเองได้ ได้แก่ พืชและ

จุสินทรีย์บางชนิด เช่น แพลงก์ตอนพืช ไซยาโนแบคทีเรีย ผู้ผลิตมีมทบาท สาคัญมากต่อ

ระบบนิเวศทาหน้าท่ีเปลี่ยนพลังงานแสง จากดวงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานเคมีในรูปของอาหาร

ด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง แล้วถ่ายทอดพลังงาน ไปสู่ผู้บริโภคผ่านการกินกันเป็น

ทอด ๆ พลังงาน

พลังงาน แสง

พลงั งาน

พลังงาน

ภาพที่ 1.53 ผู้ผลิตเปลย่ี นพลงั งานแสงให้เป็นพลงั งานเคมี
ท่มี า : https://bit.ly/3vmNQ8K

2. ผู้บริโภค (consumer) คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง จาเป็นต้องมี
การบริโภค สิ่งมชี วี ิตชนิดอืน่ แบง่ ออกเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี

ผ้บู รโิ ภคพชื (herbivore) ผู้บรโิ ภคสตั ว์ (carnivore)

เป็นผู้บรโิ ภคทกี่ ินพืชเปน็ เป็นผู้บริโภคท่ีกินสัตว์เป็น
อาหาร เช่น ช้าง ม้า ววั อาหาร เช่น สิงโต เสือ
ควาย กวาง ฉลาม

ภาพที่ 1.54 ผู้บรโิ ภคพืช ภาพท่ี 1.55 ผูบ้ รโิ ภคสัตว์
ท่ีมา : https://bit.ly/3aMMSJr ท่ีมา : https://bit.ly/3aMk43F

ผู้บรโิ ภคทงั พืชและสัตว์ ผู้บริโภคซากสัตว์ (scavenger)
(omnivore)
เปน็ ผู้บรโิ ภคที่กนิ ซากสตั ว์
เปน็ ผ้บู ริโภคทก่ี นิ ทงั้ พืชและ เปน็ อาหาร เชน่ แร้ง
สัตว์เป็นอาหาร เช่น มนษุ ย์ ไสเ้ ดือน
ไก่ เป็ด

ภาพท่ี 1.56 ผู้บรโิ ภคทั้งพชื และสตั ว์ ภาพท่ี 1.57 ผู้บริโภคซากสตั ว์
ทมี่ า : https://bit.ly/3n2aL5w ท่ีมา : https://bit.ly/3pdlCMI

3. ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ (decomposer) คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้
เอง ตอ้ งอาศัยการยอ่ ยสลายซากสง่ิ มีชีวิตอ่ืน โดยผลิตเอนไซม์ออกมาย่อยซากส่ิงมีชีวิตให้เป็น
สารชวี โมเลกุลขนาดเล็ก แล้วดูดซึมนาไปใช้เป็นอาหาร อีกส่วนหน่ึงปล่อยกลับคืนสู่ธรรมชาติ
ตวั อยา่ งผยู้ อ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์ เชน่ รา แบคทีเรีย

ภาพท่ี 1.58 เห็ด ภาพที่ 1.59 รา
ที่มา :https://bit.ly/3DOyih0 ทม่ี า : https://bit.ly/3n6UyvK

ปัจจุบันมนุษย์ได้นาผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์มารับประทานเป็นอาหาร เช่น เห็ดชนิด
ต่าง ๆ หรือนาแบคทีเรียบางชนิดมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมการผลิดอาหาร เช่น นม
เปรี้ยว โยเกริ ์ต นา้ ส้มสายชู นอกจากนี้ สารบางชนิดที่ผลิตได้จากรามีฤทธ์ิเป็นยา เช่น เพนิซิล
ลิน ผลิตได้จากราเพนิซิลเลียม แต่ผู้ย่อยสลาย สารอินทรีย์บางชนิดก่อให้เกิดอันตราย เช่น
ทาให้อาหารเนา่ เสยี ทาให้เกดิ โรคในมนษุ ย์

สรุปองค์ความรู้ทา้ ยบทท่ี 1

บทที่ 1
ความสัมพันธท์ างกายภาพ

ในระบบนิเวศ

ระบบนเิ วศนิเวศ ประชากร

บรเิ วณท่ีมสี ิ่งมีชวี ติ และสง่ิ ไมม่ ชี วี ติ ส่ิ ง มี ชี วิ ต ช นิ ด เ ดี ย ว กั น ที่ อ า ศั ย อ ยู่
มีความสัมพันธ์กันเพ่ือให้เกิดการ ร่ ว ม กั น ใ น แ ห ล่ ง ที่ อ ยู่ เ ดี ย ว กั น ใ น
แ ล ก เ ป ลี่ ย น ส า ร แ ล ะ ถ่ า ย ท อ ด ช่วงเวลาเดยี วกัน
พลังงานระหวา่ งกัน
กลุ่มสงิ่ มีชวี ิต
ระบบนเิ วศ
ประชากรของส่ิงมีชีวิตหลาย ๆ ชนิด
ระบบนิเวศบนบก อ า ศั ย อ ยู่ ร่ ว ม กั น ใ น แ ห ล่ ง ที่ อ ยู่
ระบบนเิ วศในนา้ เดยี วกัน

แหลง่ ท่ีอยู่

ส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู่ที่ต่างกัน กลุ่ม
สิ่งมีชีวิตบางกลุ่มอยู่บนบก บางกลุ่ม
อยู่ในน้าจืด บางกลุ่มอยู่ใต้ติน บาง
กลมุ่ อยูใ่ นนา้ เคม็

สรุปองคค์ วามรทู้ า้ ยบทที่ 1

บทที่ 1
ความสัมพันธ์ทางกายภาพ

ในระบบนิเวศ

องคป์ ระกอบนเิ วศนิเวศ

องคป์ ระกอบทไ่ี ม่มีชีวิต องคป์ ระกอบท่ีมีชีวิต

อนินทรีย์สาร ผผู้ ลติ
- พืช
- แร่ธาตุ ผู้บรโิ ภค
- แก๊สต่าง ๆ - ผู้บริโภคพืช เช่น พืช
- นา้ - ผูบ้ รโิ ภคสัตว์ เชน่ เสือ
อินทรยี ์สาร - ผบู้ รโิ ภคท้ังพชื ท้งั สตั ว์ เชน่ ไก่
- ผบู้ รโิ ภคซากสตั ว์ เชน่ แร้ง
- ซากพชื ซากสตั ว์ ผ้ยู อ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์

สภาพแวดล้อมทางกายภาพ - รา
- แสงสว่าง - แบคทีเรยี
- ความเป็นกรด – เบสของดนิ นา้
- ความเค็มของหนิ และนา้
- กระแสลม
- ความชน้ื
- อณุ หภมู ิ

คาชแี จง : พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนกั เรยี นวา่ ถูกหรอื ผดิ แลว้ บันทกึ ผล
_____ 1) รามีบทบาทและหนา้ ท่ีเป็นผู้ผลิต
_____ 2) พชื มีบทบาทเปน็ ผผู้ ลติ ในทุก ๆ ระบบนเิ วศ
_____ 3) ตน้ ไม้เปน็ องค์ประกอบทีไ่ ม่มชี วี ติ ของระบบนิเวศ
_____ 4) แม่น้าเปน็ องคป์ ระกอบทีม่ ชี วี ติ ของระบบนิเวศ
_____ 5) อุณหภูมิมผี ลตอ่ การกระจายของสิง่ มชี ีวิต
_____ 6) ความสัมพันธ์ของสงิ่ มีชีวติ เกดิ ขึน้ กบั สง่ิ มีชวี ติ ชนดิ เดยี วกันเท่าน้ัน
_____ 7) ราเป็นปรสติ ที่อยู่บนผวิ หนังมนษุ ยซ์ งึ่ กอ่ ให้เกิดโรคผวิ หนัง
_____ 8) สงิ่ มชี วี ิตมีความสัมพันธ์กนั ในรปู แบบการกนิ กันเป็นอาหาร

คาชแี จง : ใหน้ ักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี

1) อธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งมีชวี ิตกับสิง่ แวดล้อมตอ่ ไปนี้

1.1 แสงสวา่ ง 1.2 ความชน้ื 1.3 อณุ หภูมิ

1.4 ความเป็นกรด-เบส 1.5 ความเคม็

2) สนามหญ้าจดั เป็นระบบนิเวศหรอื ไม่ อย่างไร

3) แสงจากดวงอาทติ ย์สาคญั ตอ่ ระบบนิเวศอย่างไร

4) องคป์ ระกอบของระบบนเิ วศประกอบดว้ ยอะไรบ้าง

5) ผู้บรโิ ภคซากสตั ว์แตกตา่ งจากผู้ยอ่ ยสลายสารอนิ ทรยี ์อย่างไร

6) ผู้ยอ่ ยสลายสารอินทรยี ม์ ีความสาคญั ต่อระบบนิเวศอยา่ งไร

7) ประชากรและกลมุ่ ส่ิงมชี ีวิตเก่ยี วข้องหรือสมั พนั ธก์ นั อย่างไร

บทท่ี 2

• ภาวะการได้ประโยชน์รว่ มกนั
• ภาวะพึ่งพากนั
• ภาวะอิงอาศัย
• ภาวะเหยอ่ื กบั ผลู้ า่
• ภาวะปรสิต

ในธรรมชาติกลุ่มสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศล้วนมีความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกัน
ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม โดยสิง่ มชี ีวิตแต่ละชนิดไมส่ ามารถดารงชวี ิตแบบอสิ ระได้ เช่น ถึงแม้ว่า
พืชจะเป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้ แต่จาเป็นต้องพึ่งพาสัตว์ หรือแมลงช่วยผสม
เกสรและแพร่กระจายเมล็ด

Engaging
Activity

1. สิง่ มชี วี ติ กับสิ่งมีชีวิตมคี วามสัมพันธก์ นั แบบใดบา้ ง
2. ใหน้ กั เรียนพิจารณาตน้ ไมใ้ นภาพ 1 และภาพท่ี 2 แล้วตอบคาถามว่า เพราะเหตใุ ด
ตน้ ไม้ท้งั 2 ต้น จงึ มีลกั ษณะแตกต่างกัน

ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2

ภาพท่ี 2.1 กาฝากบนต้นไม้ ภาพที่ 2.2 รังต่อบนตน้ ไม้
ที่มา : https://pixabay.com/photos/mistletoe-tree- ท่มี า : https://www.js100.com/en/site/post_share

green-winter-4016177/ /view/42393

ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันท่ีมาอาศัยอยู่ร่วมกันในช่วงเวลาเดียวกัน เรียกว่า ประชากร
(population) เม่ือประชากรของสิ่งมีชีวิตหลาย ๆ ชนิด มาอาศัยอยู่ในแหล่งท่ีอยู่เดียวกันเป็น
กลุ่มส่ิงมีชีวิต (communily) ซึ่งสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดต่างก็มีรูปแบบความสัมพันธ์ท่ีแตกต่างกัน
โดยความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ อาจทาให้ส่ิงมีชีวิตบางชนิดให้ประโยชน์หรือ
เสยี ประโยชน์ หรอื ไมม่ ผี ลต่อการดารงชีวิตของสง่ิ มชี ีวติ น้ันเลยกไ็ ด้

กิจกรรมที่ 1.2 สง่ิ มีชีวิตในแหล่งทีอ่ ยตู่ ่างกัน

จดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
1. อธิบายรูปแบบความสมั พนั ธข์ องส่ิงมีชีวิต

วสั ดุและอุปกรณ์
1. ภาพความสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมชี วี ติ ชนิดตา่ ง ๆ

ภาพที่ 2.3 เหาฉลามกับฉลาม ภาพท่ี 2.4 เฟริ ์นกบั ตน้ ไมใ้ หญ่
ท่ีมา : http://m.biocomputer.myreadyweb.com/page- ทีม่ า : https://www.trueplookpanya.com/knowledge/

25065.html content/69653/-blo-scibio-sci-

ภาพท่ี 2.5 ผีเสอ้ื กับดอกไม้ ภาพท่ี 2.6 ไลเคน
ที่มา : shorturl.asia/rfgnS ทมี่ า : shorturl.asia/YTXCB

กจิ กรรมที่ 1.2 สิ่งมชี วี ิตในแหล่งที่อย่ตู ่างกนั

วธิ ีการดาเนนิ งานของกจิ กรรม

1. แบง่ กลุ่ม แต่ละกล่มุ ร่วมกนั อธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตด้วยกันใน
แต่ละภาพ บันทึกผล
2. พจิ ารณาภาพสิ่งมชี วี ติ กับส่ิงมชี ีวติ ท่ีมคี วามสมั พันธค์ ล้ายคลงึ กัน บนั ทึกผล
3. จัดจาแนกประเภทของความสมั พันธร์ ะหวา่ งส่งิ มีชวี ติ ดว้ ยกันตามเกณฑ์ทก่ี าหนดขน้ึ เอง

คาถามท้ายกจิ กรรม
1. สง่ิ มชี วี ิตตอ่ ไปน้มี คี วามสัมพนั ธก์ นั อย่างไร

- งกู นิ กบ
- เหาฉลามกับฉลาม
- เฟิร์นกับต้นไม้ใหญ่
- ไลเคน
- นกเอยี้ งกับควาย
- กาฝากกับต้นไม้
- กลว้ ยไม้กับตน้ ไม้ใหญ่
- ผเี สอื้ กับดอกไม้
2. สรปุ ผลการทากจิ กรรมน้ีไดอ้ ย่างไร

ส่ิงมีชีวิตท่ีอยู่ร่วมกันจะมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบหน่ึง
โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่
1. ความสมั พนั ธแ์ บบทั้ง 2 ฝา่ ยได้รับประโยชน์ (+,+)
2. ความสัมพันธแ์ บบฝา่ ยใดฝา่ ยหนึ่งเสยี ประโยชน์ (+,-)
3. ความสัมพันธ์แบบฝ่ายหนึ่งได้รับประยชน์ และอีกฝ่ายหนึ่ง
ไม่ไดร้ ับและไมเ่ สยี ประโยชน์ (+,0)

จากกิจกรรมจะเห็นว่า ส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ท่ีมาอยู่ร่วมกันในบริเวณหนึ่งจะมี
ความสัมพันธ์กันในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง โดยรูปแบบความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตแบ่งออกเป็น
ประเภทต่าง ๆ ดังนี้

การอยู่ร่วมกันโดยต่างฝ่ายต่างให้ประโยชน์ซ่ึงกันและกัน (ความสัมพันธ์แบบ +, +)
แบ่งได้ 2 แบบ ดงั นี้

1) ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน

ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation) เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต
2 ชนิด ซ่ึงต่างได้ประโยชน์ร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย แต่สามารถแยกออกจากกันได้ โดยดาเนินชีวิต
ตามปกติ เช่น แมลงกับดอกไม้ มดดากับเพล้ยี ปูเสฉวนกบั ซีแอนนีโมนี นกเอย้ี งกบั ควาย

ผีเสือกับดอกไม้ : ผีเส้ือดูดน้าหวานจาก
ดอกไม้เพื่อเป็นอาหาร ขณะเดียวกันเรณู
อาจติดไปกับขาผีเส้ือด้วย เมื่อผีเส้ือไปดูด
น้าหวานดอกไม้อื่น อาจทาให้เกิดการถ่าย
เรณูได้

ภาพที่ 2.7 ผเี สือ้ กับดอกไม้
ที่มา : https://www.besthdwallpaper.com/naamthrrm

/phiiesuue-kabd-kaim-dt_th-379.html

2) ภาวะพงึ่ พากนั

ภาวะพึง่ พากนั (mutualism) เปน็ การอยู่ร่วมกนั ของสิ่งมีชีวติ 2 ชนดิ ทไี่ ด้ประโยชน์ท้ัง
2 ฝ่าย และเม่ือแยกจากกันจะทาให้อีกฝ่ายหน่ึงไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ เช่น ไลเคน
แบคทเ่ี รียในปมรากพืชตระกูลถ่ัว โพรโทซัวในลาไส้ของปลวก แบคทีเรียในลาไสข้ องววั

ไลเคน (lichen) : การดารงชีวิตร่วมกัน
ของรากับส่าหร่าย โดยสาหร่าย สร้าง
อาหารด้วยการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่ง
อาศัยความช้ืนจากรา และราได้รับอาหาร
จากสาหรา่ ย

ภาพที่ 2.8 ไลเคน
ทีม่ า : https://daily.jstor.org/lichens-sensors-air-

pollution/

1) ภาวะองิ อาศัย

การอยู่ร่วมกันโดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์และไม่สียประโยชน์
(ความสัมพันธ์แบบ +, 0) หรือเรียกว่า ภาวะอิงอาศัย หรือภาวะเก้ือกูล (commensalism)
เชน่ ฉลามกับเหาฉลาม พลูตา่ งกบั ตน้ ไม้ใหญ่ กลว้ ยไมก้ ับต้นไม้

กลัวยไม้กับตันไม้ : กล้วยไม่ใช้เพียงราก
ยึดเกาะกับเปลือกของต้นไม้ แต่ได้
ความชนื้ หรอื นา้ จากอากาศ

ภาพท่ี 2.9 กล้วยไมก้ บั ต้นไม้
ท่มี า : http://plant21894.blogspot.com/2017/02

/httpswww.html

เหาฉลามกับฉลาม : เหาฉลามอาศัยอยู่
บริเวณครีบของฉลาม เพ่ือกินเศษอาหาร
จากฉลามโดยไม่ทาอนั ตรายฉลาม

ภาพท่ี 2.10 เหาฉลามกบั ฉลาม
ที่มา : https://www.monkeydivethailand.com

/post/similan-open-water-course

การอยู่ร่วมกันโ ดยฝ่ายหนึ่งได้ ประโยชน์และ อีก ฝ่ายหนึ่งเสียประโ ยชน์
(ความสมั พันธแ์ บบ +, -) แบ่งได้ 2 แบบ ตงั น้ี

1) ภาวะเหยือ่ กับผู้ลา่

ภาวะเหย่ือกับผู้ล่า (predation) เป็นการอยู่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหน่ึง
เป็นผู้ล่า (predator) เป็นผู้ได้รับประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งถูกผู้ล่ากินเป็นอาหาร เรียกว่า
เหย่ือ (prey) เปน็ ผูเ้ สียประโยซน์ เชน่ เหย่ียวกับนก กบกับแมลง

เหยี่ยวกับนก : เหยี่ยวกินนกเป็นอาหาร
เหย่ียวจึงเป็นผู้ล่า ส่วนนกเป็นอาหารของ
เหยี่ยว นกจึงเป็นเหยื่อหรอื ผูถ้ กู ลา่

ภาพท่ี 2.11 เหยี่ยวกับนก
ท่ีมา : https://writer.dek-d.com/dek-
d/writer/viewlongc.php?id=687461&chapter=184

สิงโตกับกวาง : สิงโตกินกวางเป็นอาหาร
สิงโตจึงเป็นผู้ล่า ส่วนกวางเป็นอาหารของ
สงิ โต กวางจงึ เปน็ เหยอ่ื หรือผถู้ กู ล่า

ภาพที่ 2.12 สิงโตกบั กวาง
ที่มา : https://1th.me/q2utS

ภาวะการแก่งแย่งแข่งชัน (compeition) เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมีชีวิต 2 ฝ่าย ที่ต้องการทรัพยากรเดียวกันในการดารงชีวิต ทาให้
สงิ่ มีชีวิตท้ัง 2 ฝ่าย เสียประโยชน์ มีเคร่ืองหมายความสัมพันธ์เป็น (-, -)
แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิด
เดียวกัน และการแก่งแย่งแขง่ ขนั ระหว่างส่ิงมชี ีวติ คนละชนดิ

2) ภาวะปรสิต

ภาวะปรสิต (parasitism) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มาอยู่ร่วมกัน แล้วฝ่าย
หนงึ่ ได้ประโยชน์ แต่อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ มีเคร่ืองหมายความสัมพันธ์เป็น (+, -) โดยฝ่าย
ที่ได้ประโยชน์ เรียกว่า ปรสิต (parasite) ส่วนฝ้ายที่เสียประโยชน์ เรียกว่า ผู้ถูกอาศัย (host)
ซึ่งปรสติ อาจอาศยั อยู่ภายในหรือภายนอกรา่ งกายของผ้ถู ูกอาศัยก็ได้

1) ปรสิตภายใน คือ ปรสิตท่ีอาศัยและเกาะกินอยู่ภายในร่างกายของผู้ถูกอาศัย
ตัวอย่างเช่น พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้ตับ จุสินทรีย์บางชนิด เช่น แบคท่ีเรียในกระเพาะอาหาร
ของคน รวมท้งั ไวรสั ทสี่ ามารถเพิ่มจานวนได้ เมื่อเข้าไปในรา่ งกายของผ้ถู ูกอาศยั ทาให้ส่ิงมีชีวิต
ทเี่ ปน็ ผถู้ ูกอาศยั ตดิ เชอ้ื และตายในทส่ี ดุ

พยาธิใบไม้ในตับ : ตัวเต็มวัย
ของพยาธใิ บไม้ในตับ อาศัยอยู่ใน
ท่อทางเดนิ นา้ ดขี องคน

พยาธิตัวตืด : ตัวเต็มวัยของ
พยาธิตัวตืด อาศัยอย่ใู นลาไส้
เลก็ ของคน

ภาพที่ 2.13 ปรสิตในร่างการมนษุ ย์
ที่มา : คณะผู้จดั ทาหนงั สอื


Click to View FlipBook Version