The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Varunee P., 2021-04-20 03:59:42

IS 9854

IS 9854

35

17. มีโอกาสได้เลือก ซ่งึ ขน้ึ อยู่กับ ความชอบ ความรัก ความสนใจ และความคาดหวงั
Jerome (n.d, อ้างถึงใน ณัชณิชดา ทนันทา, 2554, น. 19-20) ได้กาหนดเกณฑ์ของ
คุณภาพชีวิตการทางานไว้ 7 ดา้ น และถือวา่ เป็นเงื่อนไขที่สาคัญที่จะส่งผลต่อระดับคุณภาพชีวติ ของ
บคุ คล ไว้ดงั น้ี

1. รายได้ (Pay) ท่ีเป็นผลตอบแทนสาหรับพนักงานท่ีได้รับตามสัดส่วนที่เป็นธรรมเป็น
แรงจูงใจในการทางานท่ีมคี วามสาคญั เช่น เงินเดือน ค่าลว่ งเวลา

2. ผลประโยชน์ของบุคคล ในที่นี้หมายถึง สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ที่บุคคลคาดหวังว่าจะ
ได้รับอย่างเป็นธรรมจากองค์การ เช่น ประกันสุขภาพ สิทธิในการรักษาพยาบาลเม่ือเจ็บป่วยการ
ตรวจสขุ ภาพประจาปี ทุนการศึกษาของบตุ ร การได้พัฒนาและฝึกอบรมวิชาชพี วันหยดุ วันลา ฯลฯ

3. ความมั่นคงในการทางาน (Job Security) บุคคลทุกคนต่างต้องการความม่ันคงใน
การทางาน

4. ทางเลือกในการทางาน (Alternative Work Schedules) การให้บุคคลมีทางเลือก
ในเวลาทางานท่ีสะดวกต่อตัวเอง ได้แก่ การใหเ้ ข้าทางาน และเลกิ งานในเวลาท่ีต้องการ การจ้างงาน
ชั่วคราว การใหท้ างานส่วี นั ต่อสัปดาห์ ซง่ึ จะเป็นการตอบสนองความต้องการของบคุ คลไดส้ ูงสุด

5. ความเครียดจากการทางาน (Occupation Stress) ความเครียดที่เกิดจากการ
ประกอบอาชีพเป็นเรื่องใหม่ที่มีความสาคัญต่อคุณภาพชีวิตการทางาน ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตที่
ได้รับผลกระทบจากความเครียด และความไม่สะดวกสบายจากการทางานจนทาให้คุณภาพชวี ิตการ
ทางานลดลง

6. การมสี ว่ นร่วมของพนกั งาน (Worker Participation) บุคคลสว่ นใหญ่ต่างมคี วามรู้สึก
วา่ ตนมีสิทธิในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ในส่ิงที่เกี่ยวข้องหรือมีผลต่อการทางาน ซ่ึงได้รับความ
นยิ มเพ่มิ ขึ้น และยงั เป็นผลดีต่อองคก์ าร

7. ระบบประชาธิปไตยในการทางาน (Democracy in the Workplace) ผู้นาในแต่ละ
องค์การ ต้องรับฟังความต้องการ และความคิดเห็นของบุคคลในองค์การ ผู้นาท่ีมีลักษณะเป็นผู้นา
แบบประชาธปิ ไตย จะมีผลดีต่อการส่งเสริมคุณภาพชีวิตการทางาน ดังนน้ั องค์ประกอบโดยรวมของ
คณุ ภาพชีวิตการทางาน ประกอบไปด้วย 4 ด้านหลัก ๆ เพราะการดารงชีวิตของมนุษย์ในวันหนึ่ง ๆ
นั้น ใช้เวลาไปกับการทางานมากถึง 1 ใน 3 ของชีวิตประจาวัน คุณภาพชีวิตในการทางานจึงเป็นสิ่ง
สาคญั ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยดงั นี้

1. ค่าจ้าง และสวัสดกิ าร ซึ่งถือว่าเป็นปจั จัยที่สาคัญในการสร้างแรงจูงใจในการทางาน
และความสามารถในการดารงชีวิตอยใู่ นครอบครัวและสังคม ค่าจา้ งและสวสั ดกิ ารของผู้ใชแ้ รงงานจะ
แตกตา่ งกันไปตามประเภทของงาน และจะข้ึนอยูก่ บั ทักษะของแรงงานอีกด้วย โครงสร้างคา่ จ้างและ
สวัสดกิ ารของตลาดแรงงานทกุ ประเภทจะจัดสรรตามคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะอย่าง

36

ย่งิ ตลาดแรงงานภาคเอกชน ท่ีจะให้ความสาคัญกับแรงงานท่ีมีทักษะสูง ในขณะที่แรงงานที่มีทักษะ
นอ้ ยจะเสียเปรียบ ความแตกต่างของโครงสร้างค่าจ้างและสวัสดิการนี้ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต
ในการทางานของแรงงานท่ีแตกต่างกันไป แรงงานที่มีทักษะสูงจะได้รับคุณภาพชีวิตการทางานที่
ดีกวา่ แรงงานระดับล่าง ดังนน้ั ค่าจ้างและสวสั ดิการจึงเป็นปัจจยั ที่สาคัญในการยกระดับคณุ ภาพชีวิต
ของแรงงาน

2. สภาพการทางาน สภาพแวดล้อมในการทางานเป็นปัจจัยหนึ่งของการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิต และคุณภาพชีวิตในการทางานซ่ึงมนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีชีวิตจิตใจและ
ต้องการสภาพแวดล้อมท่ีดี สภาพแวดล้อมการทางานของแรงงานจะแตกต่างกันตามขนาดของ
อุตสาหกรรมในสถานประกอบการ หากเป็นอุตสาหกรรมท่ีมีขนาดเล็ก ความสามารถที่จะแบกรับ
คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดสภาพแวดล้อมจะน้อยลงไปตามดว้ ย

3. ความปลอดภัยในการทางาน คุณภาพชีวิตในการทางาน นอกจากมีค่าจ้างและ
สวัสดิการที่เหมาะสม และสภาพการทางานที่ดีแล้ว ความปลอดภัยในการทางานเป็นปัจจัยท่ีสาคัญ
เช่นกัน ซึ่งสถานประกอบการส่วนใหญ่มีเคร่ืองป้องกันอุบัติเหตุ แต่อุบัติเหตุโดยส่วนใหญ่จะเกิดกับ
แรงงานในสถานประกอบการ อันเน่ืองมาจากปัญหาสุขภาพกาย และสุขภาพจิต และด้วยมีการ
รองรับจากทางสานักงานประกันสังคมที่ช่วยเหลือในส่วนของการเจ็บป่วยนอกงาน ควบคู่ไปกับ
กองทนุ เงินทดแทน และถา้ ความมน่ั คง และความพอใจมีอยู่ก็อาจจะทาใหก้ ารเจ็บป่วยในงานดขี นึ้

4. การคุ้มครองแรงงาน ซึ่งเป็นมาตรฐานหนึ่งของภาครัฐ เพ่ือคุ้มครองแรงงานให้มี
คุณภาพชีวิตการทางานท่ีเหมาะสม เช่น การคุ้มครองเร่ืองค่าจ้าง สภาพการจ้าง สภาพการทางาน
เปน็ ต้น

9. ผลงานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้อง

กานต์ สินธวานนท์ (2547) ได้ศกึ ษาความคิดเห็นของพนักงานท่ีมีต่อการปรับโครงสร้าง
องค์กร กรณีศึกษา: บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มี
ผลกระทบต่อความคิดเห็นของพนักงาน บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด ท่ีมีต่อการปรับ
โครงสรา้ งองค์กร เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ีเปน็ แบบสอบถาม วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
คือ ค่ารอ้ ยละ

ผลการศึกษาพบว่า พนักงานบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด ส่วนกลางมี
ความคิดเห็นต่อการปรับโครงสร้างองค์กร โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยปัจจัยส่วนบุคคล
ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดบั เงนิ เดือน ระดบั ตาแหน่ง ระยะเวลาการปฏิบัติงาน และ

37

หน่วยงานที่สังกัดต่างกัน ทาให้พนักงานบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด ส่วนกลางมี
ความคดิ เหน็ ตอ่ การปรับโครงสรา้ งองคก์ รแตกต่างกันอย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิท่ีระดบั 0.05

เกษวลี สังข์ทิพย์(2556) ได้ศึกษาการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีมีผลต่อการปฏิบัติงาน
การเงินและการบัญชีขององค์กรอิสระ วัตถุประสงค์ของการศึกษาคร้ังนี้เพ่ือศึกษาผลของการ
ปฏิบตั ิงานการเงนิ และการบัญชที ่ีมีผลมาจากการปรบั โครงสร้างองค์กร กลุ่มตัวอย่างทใี่ ช้ในการศึกษา
คร้ังนี้ คือ เจ้าพนักงานการเงนิ และบัญชีของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินในสังกัดสานักงานการ
คลังและการเงินและสานักตรวจสอบพิเศษภาค 1 -15 จานวน 79 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็น
เคร่ืองมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค้าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน

ผลการศึกษาพบว่าการปรับโครงสร้างองค์กรมีผลให้การปฏิบัติงานการเงินและบัญชี
มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานดีข้ึนในด้านการส่งรายงาน ด้านข้ันตอนการทางาน และด้านการ
ควบคุม อยู่ในระดับมาก และการปรับโครงสร้างองค์กรมีผลให้การปฏิบัติงานการเงินและบัญชีมี
ประสทิ ธิภาพ ในการปฏิบตั ิงานในดา้ นรวบรวมเอกสาร อยู่ในระดับน้อย ด้านความถูกต้อง และด้าน
ความรวดเร็วของงานการเงินและบัญชี อยู่ในระดับปานกลาง และจากทดสอบสมมติฐานพบว่า
ปัจจัยการปรบั โครงสร้างองค์กร ด้านเทคโนโลยี ด้านขนาดองค์กร มผี ลตอ่ การปฏิบัติงานการเงินและ
บัญชีในด้านความถูกต้อง ด้านส่งทันเวลา และด้านความรวดเร็วของงานการเงินและบญั ชี ในขณะที่
ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านนโยบายมีผลต่อการปฏิบัติงานการเงินและบัญชีด้านความ
ถูกตอ้ งทร่ี ะดับนยั สาคัญ 0.05

สุรีย์พร คละสกุล(2546) ได้ศึกษาทัศนคติของพนักงานบริษัททศท. คอร์ปอเรชั่นจากัด
(มหาชน) ในการปรับโครงสร้างองค์กรเป็นบริษัทจากัด (มหาชน) วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับ
ทศั นคติของพนักงานบรษิ ัทองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย คอรป์ อเรช่ันจากัด ( มหาชน ) ที่มีต่อ
การปรับเปลี่ยนโครงสร้างขององค์กรไปเป็นบริษทั จากัด (มหาชน) และปัจจัยต่าง ๆ ทมี่ ผี ลต่อทัศนคติ
เพ่ื อ ป ร ะ โ ย ช น์ ใน ก าร ก า ห น ด น โ ย บ าย ใน ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง ใน รู ป แ บ บ ข อ ง บ ริ ษั ท
องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย คอร์ปอเรช่ันจากัด (มหาชน) ซึ่งการศึกษาครั้งน้ีใช้เคร่ืองมือใน
การศึกษาเป็นแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ รวมถึงเปน็ การทดสอบความสมั พันธ์ท่ีเกิดข้ึนระหว่าง
ปัจจัยส่วนบุคคลกับความคิดเห็นที่มีต่อการปรับเปล่ียนโครงสร้างองค์กร และมีการทดสอบความ
แตกตา่ งระหวา่ งปัจจยั ส่วนบุคคลกบั ความคิดเห็นท่มี ตี ่อการปรบั เปลยี่ นโครงสร้างองค์กร

ผลการศึกษาพบว่าระดับทัศนคติของพนักงานมีลักษณะเชิงบวกกล่าวคือมีลักษณะให้การ
สนับสนุนในการปรับเปลยี่ นโครงสรา้ งองค์กรไปเป็นบริษัทจากัด (มหาชน) เนื่องจากการคาดหวังว่า
การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรจะก่อให้เกิดแนวนโยบายท่ีสาคัญคือการปรับปรุงโครงสร้างการ
บริหารงานที่ทันสมัยระบบผลตอบแทน และสวัสดิการต่าง ๆ ที่ดีข้ึน ขั้นตอนการดาเนินงานท่ี

38

เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพธุรกิจ ส่งผลให้พนักงานมีความมั่นคง และความก้าวหน้าในการทางาน
เกิดความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาท่ีดีขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถในการดาเนินงานรองรับการแข่งขัน
ของตลาดธุรกิจโทรคมนาคมในปัจจุบัน และอนาคตเพ่ือบรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายขององค์กรที่ได้
วางไว้

กติ ติ กิ่งไทร,กฤษณา ไวสารวจ(2560) ได้ศึกษาเรื่องการปรับโครงสร้างการบริหารบริษัท
การบนิ ไทยจากดั (มหาชน) ในภาวะวิกฤติวัตถุประสงค์ 1. ศึกษาโครงสร้างรฐั วิสาหกิจบริษัทการบิน
ไทยจากัด (มหาชน) ท่ีจะเป็นผลดีต่อการแข่งขันตามสภาพการเปลี่ยนแปลง 2. ศึกษาแนวทาง
โครงสร้างการบริหารรัฐวิสาหกิจบรษิ ัทการบินไทยจากัด (มหาชน) ท่ีไม่เป็นภาระต่อประเทศและ 3.
ศึกษาแนวทางนวัตกรรมทางโครงสร้างการบริหารรัฐวิสาหกิจบริษัทการบินไทยจากัด (มหาชน) ใน
ภาวะวิกฤตท่ีเป็นผลดีต่อการบริหารเศรษฐกิจและการบริหารการเงินการคลังของประเทศ ซึ่ง
การศึกษาครั้งน้ีใชเ้ คร่ืองมือในการวจิ ัยคอื ข้อมูลจากการสมั ภาษณ์เชิงลึกซ่ึงผูว้ ิจยั เลือกใชค้ าถามหลัก
เพอ่ื ขอรายละเอยี ด และความชัดเจนตามประเด็นเป็นการเลอื กอยา่ งเจาะจง โดยคานึงถึงจดุ มุ่งหมาย
ในการวิจยั เป็นหลกั ทง้ั นีผ้ วู้ ิจยั จะพดู คุยสนทนาอยา่ งเปน็ กนั เองกบั ผู้ใหข้ ้อมูล เพื่อสร้างสัมพนั ธภาพที่
ดีระหว่างผู้ขอสัมภาษณ์ และผู้ให้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ 2) ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) คือ
ข้อมูลต่าง ๆ ท่ีมีผู้เก็บหรือรวบรวมไว้ก่อนแล้ว เพียงแต่ผู้วิจัยนาข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษาสาหรับการ
วเิ คราะห์ขอ้ มลู ภายหลังจากการเกบ็ รวบรวมข้อมูลครบถว้ นตามวัตถปุ ระสงค์ทกี่ าหนด

ผลการศกึ ษาพบว่า 1. การบริหารงานของบริษัทการบนิ ไทย จากัด (มหาชน) ถกู แทรกแซง
จากฝ่ายคุมอานาจทางการเมืองทุกสมัย ทาให้สายการบินแห่งชาติขาดบุคลากรท่ีมีความสามารถใน
การบริหารงานด้านนี้โดยตรง ขาดธรรมาภิบาลในการบริหารจนเกิดความอ่อนแอขององค์การ
2. บริษัทการบินไทยจากัด (มหาชน) ไม่สามารถกาหนดนโยบายและทิศทางการบริหารงานที่ชัดเจน
ในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ของสายการบินนกแอร์ และสายการบินไทยสมายล์จนทาให้เกิดปัญหาขาดทุน
และความขัดแย้งภายในองค์การส่งผลต่อภาพลักษณ์และความเช่ือมั่นของประชาชน 3. จานวน
พนักงานที่มีมากกว่างานทาให้บริษัทการบินไทยจากัด (มหาชน) ต้องแบกรับภาระค่าจ้างส่วนนี้เกิน
ความจาเป็น ส่งผลให้ประชาชนผู้ใช้บริการต้องแบกรับอัตราค่าโดยสารที่มีราคาสูง นับเป็นความ
ล้มเหลวด้านการบริหารองค์การในฐานะสายการบินแห่งชาติ 4. การจัดซ้ือจัดจ้างทุกประเภทของ
บริษัทการบินไทยจากัด (มหาชน) ต้องทาโครงการจัดซ้ือเพ่อื เสนอขออนุมัติจากองค์การของรฐั หลาย
หน่วยงานซึง่ กระบวนการเหลา่ นท้ี าใหเ้ กิดความยุง่ ยากไมม่ อี ิสระเปน็ การเปิดโอกาสใหม้ ีการแทรกแซง
จากนกั การเมอื งและกลุ่มนายทนุ ในการทจุ รติ ได้ทุกขน้ั ตอน

กรอบแนวคิดในการศึกษา 39

ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ องคป์ ระกอบคุณภาพชวี ิตการทางาน
1. เพศ 1. ด้านประสทิ ธิภาพการทางาน
2. อายุ 2. ดา้ นความสมั พันธค์ รอบครัว
3. สถานภาพสมรส 3. ด้านสุขภาพรา่ งกาย
4. ระดับการศกึ ษา 4. ด้านชาระหน้ีสินและความม่นั คง
5. จานวนสมาชิกในครอบครัว 5. ด้านรายได้
6. แผนก/สงั กดั งาน 6. ด้านการวางแผนการเงิน
7. ประสบการณ์ทางาน (Walton, 1973)
8. รายได้ตอ่ เดือน
9. รายได้พิเศษโดยเฉล่ยี ตอ่ เดอื น
10. รายจา่ ยเฉลีย่ ตอ่ เดอื น

ปัจจัยการปรบั โครงสรา้ งขององคก์ ร
1. กลยทุ ธ์
2. ขนาดขององค์กร
3. เทคโนโลยี
4. สภาพแวดล้อม

(พชั สริ ิ ชมพูคา, 2552)

40

บทที่ 3

วธิ กี ารศึกษา

การศึกษาในครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) เพื่อศึกษาผลกระทบจาก
การปรบั โครงสร้างองคก์ รที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานกู๊ด
เยียร์ (ประเทศไทย) จากัด เพื่อเป็นแนวทางพร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางในการปรับตัวของสหกรณ์
ออมทรัพย์ให้สอดคล้องคล้องกับผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กร ซึ่งมีขั้นตอนการวิจัยตาม
รายละเอยี ด ดังต่อไปนี้

แหล่งขอ้ มลู

1. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ข้อมูลท่ีได้จากการใช้แบบสอบถามเป็น
เครื่องมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากกลมุ่ ตัวอย่างท่ที าการศกึ ษา โดยทาการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จาก
สมาชิกสหกรณฯ์

2. แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลท่ีได้จากรายงาน ผลการ
ดาเนินงานของสหกรณ์ฯ ซ่ึงได้จากการค้นคว้าจากเอกสารงานวิจัยสิ่งพิมพ์วิทยานิพนธ์การศึกษา
ค้นคว้าอิสระรายงานประจาปีของสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานกดู๊ เยียร์ (ประเทศไทย) จากัด รายงาน
ประจาปีของบริษัท กู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ตลอดจนข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตและ
บทความต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

ประชากร (Population)

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี ผู้ศึกษาคัดเลือกสมาชิกสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีอายุการ
ปฏิบตั งิ านในบรษิ ัทตงั้ แต่ 5 ปีขนึ้ ไป จานวน 262 คน

41

การกาหนดกลุ่มตวั อย่าง (Sampling)

ผศู้ ึกษาได้ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีอายุการปฏิบัติงานในบริษัทต้ังแต่
5 ปีข้ึนไป ซ่งึ เป็นช่วงระยะเวลาที่ศึกษาเปน็ ชว่ งเวลาท่บี ริษทั มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรอยา่ ง
ตอ่ เน่ืองและเยอะที่สุด ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (Sample Size) ในการคานวณหาขนาดตวั อย่างของ
ประชากรท่ีจะศึกษาตามสูตรของยามาเน (Yamane, 1973: 729)และกาหนดให้ความคลาดเคลื่อน
ของการสุ่มตวั อยา่ ง เท่ากบั 0.05 ซึ่งเป็นวธิ ีหาขนาดของกลุม่ ตัวอย่างกรณีทราบจานวนประชากรโดย
มกี ารกาหนดสตู รการคานวณดังน้ี

n=

โดยที่ n = ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง
N = ขนาดของกลุ่มประชากร
e = ความคลาดเคล่อื นของการสุ่มตวั อยา่ งในทน่ี ี้กาหนดให้ e = 0.05

n=

n = 239
จากการคานวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากสตู ร Taro Yamane ได้จากกลุ่มตวั อย่างไม่ควร
ต่ากวา่ 239 คน จึงเลือกแบบสอบถามจาก 592 ชุด ที่ผู้ตอบแบบสอบถามมีประสบการณ์ทางานไม่
ต่ากว่า 15 ปี จานวน 262 คน

การสุ่มกลมุ่ ตัวอย่าง

ผู้ศึกษาแบ่งจานวนตัวอย่างประชากรที่จะใช้ศึกษาในครั้งน้ีตามแผนกการปฏิบัติงานของ
บริษัทฯ มั้งหมด 21 กลุ่ม เพื่อให้การสุ่มตัวอย่างการจายครอบคลุมพนักงานทั้งหมดและทาการหา
จานวนตัวอย่างแต่ละกลุ่ม ด้วยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบระดับช้ันอย่างเป็นสัดส่วน (Proportional
Stratified Random Sampling) เนอื่ งจากกลุ่มตวั อยา่ งมีบญั ชรี ายชอ่ื ท่มี อี ยแู่ ล้วในการเลอื กตวั อยา่ ง
โดยใชส้ ูตรดังน้ี

42

แผนกสมาชิก จานวนประชากร จานวนกลุ่มตวั อยา่ ง
ทง้ั หมด (สดั ส่วน)
แผนก 2/1 14 6
แผนก 2/1S 10 4
แผนก 2/2 9 4
แผนก 4 17 8
แผนก 11 53 23
แผนก 16 5 2
แผนก 32 37 16
แผนก 33 8 4
แผนก 41/1 31 14
แผนก 41/2 10 4
แผนก 41/3 20 9
แผนก 41/4 18 8
แผนก 42 10 4
แผนก 43/1 29 13
แผนก 51/1 121 54
แผนก 51/2 23 10
แผนก 51/3 33 15
แผนก 630 14 6
แผนก 63/2 41 18
แผนก 400 9 4
รายเดือน 47 21
ลาออกจากบริษัท 33 15
รวม 592 262

จากนั้นจะใชก้ ารส่มุ ตัวอย่างแบบงา่ ย (Simple Random Sampling) โดยการสุม่ แบบตาม
สะดวก เพ่ือสุมตัวอย่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ ในแต่ละกลุ่ม และ การเลือกแบบจาเพาะ
เจาะจง (Purposive Sampling) เป็นการเลือกสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างให้ตรงตามหลักเกณฑ์หรือ
จุดมุง่ หมายโดยทาการเก็บแบบสอบถามและข้อมูลด้วยตนเอง

43

เคร่อื งมือในการเกบ็ ข้อมูล

ในการศึกษาคร้ังน้ีผู้ศึกษาใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ เป็นเคร่ืองมือในการเก็บ
รวบรวมข้อมลู ท่ีสรา้ งข้ึนจากการศึกษาแนวคิดทฤษฎแี ละผลงานตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้องเพอ่ื เป็นแนวทางใน
การได้ข้อมูลท่ีถูกต้องเหมาะสมในการสร้างแบบสอบถามโดยเน้ือหาและโครงสรา้ งของแบบสอบถาม
แบง่ ออกเปน็ 4 ตอนดงั น้ี

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไปของสมาชกิ สหกรณ์ฯ มีลักษณะแบบเลือกตอบ
ตอนท่ี 2 สอบถามเกยี่ วกบั ปจั จัยการปรับโครงสร้างขององค์กร รวม 4 ด้าน ดงั นี้

1. ด้านกลยทุ ธ์
2. ด้านขนาดขององค์กร
3. ด้านเทคโนโลยี
4. ดา้ นสภาพแวดล้อม
ตอนที่ 3 สอบถามเกี่ยวกับผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองคก์ รท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ รวม 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านประสทิ ธภิ าพการทางาน
2. ด้านความสมั พนั ธค์ รอบครัว
3. ดา้ นสุขภาพร่างกาย
4. ด้านชาระหนส้ี ินและความม่ันคง
5. ดา้ นรายได้
6. ดา้ นการวางแผนการเงิน
โดยแบบสอบถามตอนที่ 2 และตอนที่ 3 จะประเมินค่าระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยการ
ปรับโครงสรา้ งขององค์กร และผลกระทบคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์จาก
การปรับโครงสร้างองค์กร ลักษณะคาถามเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating scale) โดย
กาหนดการให้คะแนนจากแบบสอบถามตามวิธีของ Likert scale มวี ธิ ีกาหนดระดับการให้คะแนนใน
เชงิ บวก (Positive) เปน็ 5 ระดบั ดังน้ี
มากท่ีสุด กาหนดใหม้ ีค่าเท่ากบั 5 คะแนน
มาก กาหนดใหม้ ีคา่ เท่ากับ 4 คะแนน
ปานกลาง กาหนดให้มคี ่าเทา่ กับ 3 คะแนน
นอ้ ย กาหนดให้มีค่าเทา่ กบั 2 คะแนน
นอ้ ยทีส่ ดุ กาหนดให้มคี า่ เท่ากบั 1 คะแนน

44

ตอนที่ 4 เป็นคาถามแสดงผลกระทบคุณภาพชีวิตการทางานด้านต่าง ๆ ในการปรับ
โครงสร้างองค์กรของสมาชิกสหกรณ์ฯ ลักษณะคาถามเปน็ แบบเลอื กตอบ และใชก้ ารสมั ภาษณแ์ บบ
ตัวต่อตวั เพ่ือเก็บข้อมูลเชิงลึกโดยเลือกจากอายุการทางานในบรษิ ัท เกิน 5 ปีขึ้นไป โดยการสุ่มกลุ่ม
ตวั อย่างแบบงา่ ย และสัมภาษณค์ ณะกรรมการดาเนนิ การ จานวน 15 คน

การตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมอื

ผวู้ จิ ัยนาแบบสอบถามที่สรา้ งขน้ึ มาตรวจสอบคุณภาพของเครอื่ งมือ โดยดาเนนิ การ
ทดสอบความเที่ยงตรงและความเชอ่ื มน่ั ดงั น้ี

1. การตรวจสอบความเที่ยงตรง (Validity) ผู้วิจัยนาแบบสอบถามที่สร้างข้ึน ไปเสนอไป
เสนออาจารย์ท่ีปรึกษา เพ่ือทาการตรวจสอบความเทย่ี งตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) พิจารณา
คาถามในแต่ละด้านว่าตรงตามจุดมงุ่ หมายของการศกึ ษาในครัง้ นี้หรือไม่ และความเหมาะสมของคาท่ี
ใช้ (Wording) เพอ่ื นาไปปรบั ปรงุ แก้ไข กอ่ นนาแบบสอบถามไปใชใ้ นการเกบ็ ข้อมูลจรงิ

2. ความเช่อื ม่ัน (Reliability) ผู้วิจัยนาแบบสอบถามท่ีสร้างขน้ึ และปรบั ปรุงแล้ว ไปทาการ
ทดสอบ (Tryout) จานวน 30 ชุด กับกลุ่มประชากรที่เหลือจากการคัดเลือกไว้ เพ่ือตรวจสอบ
ความสามารถสื่อความหมายตามต้องการ ตลอดจนมีความเหมาะสมหรือไม่ มีความยากง่ายเพียงใด
จากนั้นจึงนามาทดสอบความเช่ือม่ันของแบบสอบถามโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ ในการหา
ความเช่ือม่ัน โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟา (Coefficient alpha) ของครอนบัค (Cronbach) โดยใช้
เกณฑส์ ัมประสิทธแิ์ อลฟา Nunnally (1959) ได้เสนอแนะเป็นเกณฑ์การยอมรับ ซึง่ ได้คา่ สัมประสิทธิ์
แอลฟาเท่ากับ 0.917

การวิเคราะหข์ อ้ มูล

หลังจากรวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดท่ีได้รวบรวมแล้ว ผู้วิจัยได้นาแบบสอบถามท้ังหมด
ดาเนินการดงั น้ี

1. การตรวจสอบข้อมูล (Editing) ผู้วิจัยตรวจสอบดูความสมบูรณ์ ของการตอบ
แบบสอบถามและทาการแยกแบบสอบถามทีไ่ มส่ มบูรณอ์ อก

2. นาแบบสอบถามท่ีถูกต้องเรียบร้อยแล้ว มาลงรหัสเพ่ือประมวลผลข้อมูลด้วย
คอมพวิ เตอร์ โดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรปู ทางสถติ ิ

45

สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

1. การวเิ คราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบดว้ ย
1.1 ค่าร้อยละ (Percentage) เพ่ือใช้อธิบายความถี่และร้อยละของข้อมูลท่ีได้จาก

แบบสอบถามตอนท่ี 1 ปัจจัยสว่ นบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถาม
1.2 ค่าเฉล่ียตัวอย่าง (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) เพื่อ

ใช้อธิบายค่าเฉล่ียและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานของข้อมูลทีไ่ ด้จากแบบสอบถามตอนท่ี 2 เกี่ยวกับปัจจัย
การปรบั โครงสรา้ งขององคก์ ร

1.3 ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)
เพ่ือใช้อธิบายค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามตอนท่ี 3 เกี่ยวกับ
ผลกระทบคุณภาพชวี ติ การทางานของสมาชกิ สหกรณอ์ อมทรพั ย์จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร

2. การวิเคราะห์เชิงอนมุ าณ (Inferential Statistics) ประกอบดว้ ย
2.1 ทดสอบสมมติฐานด้วย Independent sample t-test ใช้เปรียบเทียบความ

แตกต่างระหวา่ งคา่ เฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ท่ีเป็นอิสระกัน เพ่ือใช้เปรียบเทียบด้านปัจจัยส่วน
บุคคล ประกอบด้วยเพศและแผนก/สังกัดงานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางาน
ของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสรา้ งองคก์ ร

2.2 สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance)
ใชท้ ดสอบความแตกต่างระหวา่ งค่าเฉลีย่ ของกลุ่มตวั อยา่ งมากกว่า 2 กลุ่ม ใช้ค่า F-test กรณคี า่ ความ
แปรปรวนของแต่ละกลุ่มเท่ากัน และเมื่อพบความแตกต่างของค่าเฉล่ียรายรายคู่ด้วยวิธี Least
Sqaure Difference (LSD)

สมมติฐานของการวิจยั

1. ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่แตกต่างกัน ทาให้มีผลต่อคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองคก์ ร แตกตา่ งกัน

2. ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรทแี่ ตกตา่ งกัน ทาให้มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของ
สมาชิกสหกรณฯ์ จากการปรับโครงสร้างองคก์ ร แตกตา่ งกัน

46

บทท่ี 4

ผลการศึกษาและขอ้ วจิ ารณ์

ผลการศกึ ษา

การศึกษาเร่ืองผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กรที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางาน
ของสมาชกิ สหกรณ์ฯ ผู้ศึกษาได้ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเคร่ืองมือในการเกบ็ รวบรวม
ข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่าง คือ สมาชิกสหกรณ์ ฯ จานวน 262 คน นามาวิเคราะห์และแปลผล
ความหมายของการวิเคราะห์ผลข้อมลู ผู้วิจัยได้ทาการกาหนดสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ ในการวิเคราะห์
ขอ้ มลู ดงั น้ี

n แทน จานวนกลมุ่ ตวั อย่าง
x แทน คะแนนเฉล่ีย
S.D. แทน สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
t แทน คา่ ที่ใชก้ ารพจิ ารณาแจกแจงที
F แทน คา่ ท่ีใช้การพิจารณาแจกแจงเอฟ
df แทน ชนั้ ของความอิสระ
MS แทน คา่ เฉลย่ี ผลบวกของคะแนน
SS แทน ผลบวกกาลังสองของคะแนน
Sig. แทน ระดบั นยั สาคญั ทางสถิติ
* แทน ความมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .05

ส่วนการวเิ คราะหข์ อ้ มลู แบ่งผลการวเิ คราะห์เปน็ 4 สว่ น ดงั นี้
สว่ นที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
สว่ นที่ 2 ผลการวเิ คราะห์เก่ียวกับปัจจยั การปรบั โครงสร้างองค์กรทีม่ ผี ลต่อคุณภาพชีวติ
การทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ
สว่ นที่ 3 ผลการวเิ คราะห์เก่ียวกบั ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองคก์ รท่ีมีผลต่อคณุ ภาพ
ชวี ติ การทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ
สว่ นท่ี 4 ผลการทดสอบสมมติฐาน

47

1. ด้านปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่แตกต่างกัน ทาให้มผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ิต
การทางานของสมาชกิ ฯ จากการปรปั โครงสรา้ งองคก์ ร แตกต่างกนั

2. ด้านปจั จยั การปรับโครงสรา้ งองค์กรทแ่ี ตกตา่ งกัน ทาใหม้ ผี ลต่อคณุ ภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองค์กร แตกตา่ งกนั

สว่ นที่ 1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

จากการศึกษาข้อมูลท่ัวไปของสมาชิกสหกรณ์ฯ จานวน 262 คน ประกอบด้วย เพศ อายุ
สถานภาพ ระดับการศึกษา แผนก/สังกัดงาน ประสบการณ์ทางาน รายได้ต่อเดือน รายได้พิเศษโดย
เฉลี่ยต่อเดือน รายจ่ายเฉล่ียต่อเดือน และจานวนสมาชิกในครอบครัว สามารถแสดงผลการศึกษาได้
ดงั ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 จานวน และร้อยละข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม (n=262)
จานวน รอ้ ยละ
ขอ้ มลู ท่ัวไป
1. เพศ 254 96.95
8 3.05
ชาย
หญิง 3 1.15
2. อายุ 7 2.67
20 - 25 ปี 52 19.85
26 - 30 ปี 80 30.53
31 - 35 ปี 114 43.51
36 - 40 ปี 6 2.29
41 - 55 ปี
มากกว่า 55 ปีขนึ้ ไป

ตารางท่ี 1 (ต่อ) 48

ขอ้ มลู ทั่วไป (n=262)
3. สถานภาพสมรส จานวน รอ้ ยละ

โสด 49 18.70
สมรส 199 75.95
หมา้ ย
หย่ารา้ ง/แยกกันอยู่ 4 1.53
4. ระดับการศกึ ษา 10 3.82
มัธยมศึกษา
ปวช. /ปวส. / อนุปรญิ ญา 113 43.13
ปรญิ ญาตรี 106 40.46
ปริญญาโทหรอื สงู กว่า 40 15.27
5. จานวนสมาชิกในครอบครวั
1 - 2 คน 3 1.15
3 - 4 คน
5 - 6 คน 40 15.27
มากกวา่ 6 คน 164 62.60
6. แผนก/สงั กัดงาน 49 18.70
พนักงานรายชั่วโมง
พนักงานรายเดอื น 9 3.44
7. ประสบการณท์ างาน
ระหวา่ ง 5 – 10 ปี 241 91.98
ระหวา่ ง 11 – 15 ปี 21 8.02
ระหวา่ ง 16 – 20 ปี
ระหว่าง 21 – 25 ปี 65 24.81
ระหว่าง 26 – 30 ปี 63 24.05
ตัง้ แต่ 30 ปี ขนึ้ ไป 42 16.03
65 24.81
17 6.49
10 3.82

49

ตารางท่ี 1 (ตอ่ ) (n=262)
จานวน รอ้ ยละ
ขอ้ มูลทั่วไป
8. รายได้ต่อเดอื น 6 2.29
113 43.13
0 - 10,000 บาท 89 33.97
10,001 - 20,000 บาท 30 11.45
20,001 - 30,000 บาท 15 5.73
30,001 - 40,000 บาท
40,001 - 50,000 บาท 9 3.44
50,001 บาทข้ึนไป
9. รายได้พเิ ศษโดยเฉล่ียต่อเดือน 113 43.13
ไม่มี 63 24.05
ไม่เกิน 5,000 บาท 48 18.32
5,001 - 10,000 บาท 38 14.50
10,001 บาทข้ึนไป
10. รายจ่ายเฉลีย่ ต่อเดอื น 11 4.20
น้อยกว่า 5,000 บาท 42 16.03
5,001 - 10,000 บาท 73 27.86
10,001 - 15,000 บาท 46 17.56
15,001 - 20,000 บาท 43 16.41
20,001 - 25,000 บาท 47 17.94
25,001 บาทขึ้นไป

จากตารางที่ 1 สามารถอธิบายข้อมลู ทว่ั ไปของกลุม่ ตวั อยา่ ง ไดด้ ังน้ี
เพศ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคร้ังนี้ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 254 คน คิดเป็นร้อยละ
96.95 และเปน็ เพศหญิง จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 3.05
อายุ กล่มุ ตัวอยา่ งในการวจิ ัยครั้งน้ี สว่ นใหญม่ ีอายรุ ะหว่าง 41 - 55 ปี จานวน 114 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 43.51 รองลงมา คือ อายุระหว่าง 36 - 40 ปี จานวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 30.53 และ
อายรุ ะหวา่ ง 20 - 25 ปพี บนอ้ ยทีส่ ุด จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.15

50

สถานภาพสมรส กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส จานวน 199
คน คิดเป็นร้อยละ 75.95 รองลงมา คือ สถานภาพโสด จานวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 18.70 และ
สถานภาพหม้าย พบน้อยทีส่ ดุ จานวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.53

ระดับการศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา
จานวน 113 คน คิดเป็นร้อยละ 40.46 รองลงมา คือ การศึกษาในระดับปวช. /ปวส. / อนุปริญญา
จานวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ 40.46 และการศึกษาในระดับปริญญาโทหรือสูงกว่า พบน้อยที่สุด
จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.15

จานวนสมาชกิ ในครอบครัว กล่มุ ตัวอย่างในการวิจัยครงั้ นี้ สว่ นใหญ่มีสมาชกิ ในครอบครัว
3 - 4 คน จานวน 164 คน คิดเป็นร้อยละ 62.60 รองลงมา คือ สมาชิกในครอบครัว 5 - 6 คน
จานวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 18.70 และสมาชิกในครอบครัว มากกว่า 6 คน พบนอ้ ยที่สดุ จานวน
9 คน คดิ เป็นร้อยละ 3.44

แผนก/สังกัดงาน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ส่วนใหญ่เป็นพนักงานรายชั่วโมงจานวน
241 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 91.98 รองลงมา คือพนกั งานรายเดือน จานวน 21 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 8.02

ประสบการณ์ทางาน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคร้ังน้ี ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทางาน
ระหว่าง 5 – 10 ปีและประสบการณ์ทางาน ระหว่าง 21 – 25 ปี จานวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ
24.81 เท่ากนั รองลงมา คือ ประสบการณ์ทางานระหวา่ ง 11 – 15 ปี จานวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ
24.05 และประสบการณ์ทางาน ตั้งแต่ 30 ปี ขึ้นไป พบน้อยท่ีสุด จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ
3.82

รายได้ตอ่ เดือน กลุ่มตวั อย่างในการวจิ ัยครัง้ น้ี ส่วนใหญ่มีรายได้ตอ่ เดอื น 10,001 - 20,000
บาท จานวน 113 คน คิดเป็นร้อยละ 43.13 รองลงมา คือ รายได้ต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท
จานวน 89 คน คิดเปน็ ร้อยละ 33.97 และรายไดต้ ่อเดือน 0 - 10,000 บาท พบน้อยท่ีสุด จานวน 6
คน คิดเป็นร้อยละ 2.29

รายไดพ้ ิเศษโดยเฉลย่ี ต่อเดือน กลมุ่ ตัวอย่างในการวจิ ัยสว่ นใหญ่ ไมม่ ีรายไดพ้ เิ ศษโดยเฉล่ีย
ต่อเดอื น จานวน 113 คน คิดเปน็ ร้อยละ 43.13 รองลงมา คอื รายได้พิเศษโดยเฉล่ยี ต่อเดอื น ไม่เกิน
5,000 บาท จานวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 24.05 และรายได้พิเศษโดยเฉลี่ยต่อเดือน 10,001 บาท
ขน้ึ ไป พบน้อยทีส่ ดุ จานวน 38 คน คดิ เป็นร้อยละ 14.50

รายจ่ายเฉล่ียต่อเดือน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ส่วนใหญ่มีรายจ่ายเฉล่ียต่อเดือน
10,001 - 15,000 บาท จานวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 27.86 รองลงมา คือ รายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือน
25,001 บาทขึ้นไป จานวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 17.94 และรายจ่ายเฉล่ียต่อเดือน น้อยกว่า
5,000 บาท พบนอ้ ยท่ีสุด จานวน 11 คน คิดเปน็ ร้อยละ 4.20

51

ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็น ของปัจจัยการปรับโครงสร้าง

องคก์ ร ดา้ นกลยุทธ์

(n=262)

ดา้ นกลยทุ ธ์ x S.D. ระดบั ความคิดเห็น ลาดบั

1. มกี ารกาหนดกลยุทธข์ ององค์กรที่ชดั เจน 3.95 0.78 มาก 3

และสามารถปฏิบตั ิได้

2. กลยุทธ์ขององค์กรมกี ารปรบั เปล่ียนให้ 3.92 0.70 มาก 4

สอดคลอ้ งกบั การปฏบิ ตั ิงาน

3. ทา่ นเหน็ ดว้ ยกบั กลยทุ ธก์ ารปรบั โครงสร้าง 4.01 0.68 มาก 1

องค์กร

4. มกี ลยุทธ์ท่ีชัดเจนในการกาหนดอานาจ 3.99 0.73 มาก 2

หนา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบในการปฏบิ ตั งิ าน

รวมทกุ ดา้ น 3.97 0.72 มาก

จากตารางท่ี 2 การวิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรด้านกลยุทธ์ โดยรวม
อยู่ในระดับมาก ( x = 3.97) เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ เห็นด้วยกับกล
ยุทธ์การปรับโครงสร้างองค์กร มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( x = 4.01) รองลงมา คือ มีกล
ยุทธ์ท่ีชดั เจนในการกาหนดอานาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบในการปฏิบัตงิ าน มีระดับความคดิ เห็น
อยู่ในระดับมาก ( x = 3.99) มีการกาหนดกลยุทธ์ขององค์กรที่ชัดเจนและสามารถปฏิบัติได้ มีระดับ
ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( x = 3.95) และกลยุทธ์ขององค์กรมีการปรับเปล่ียนให้สอดคล้องกับ
การปฏิบตั ิงาน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดบั มาก ( x = 3.92) ตามลาดับ

52

ตารางที่ 3 ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็น ของปัจจัยการปรับโครงสร้าง

องค์กร ดา้ นขนาดองคก์ ร

(n=262)

ดา้ นขนาดองค์กร x S.D. ระดบั ความคิดเหน็ ลาดบั

1. โครงสรา้ งองคก์ รมคี วามเหมาะสมกบั ขนาด 3.92 0.81 มาก 2

ขององคก์ ร

2. บุคคลากรในองคก์ รมีเพยี งพอหลังจากการ 3.96 0.74 มาก 1

ปรับโครงสร้างองค์กร

3. ขนาดขององค์กรมีความเหมาะสมในการ 3.91 0.79 มาก 3

ปฏบิ ตั งิ าน

รวมทกุ ด้าน 3.93 0.78 มาก

จากตารางที่ 3 การวิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรด้านขนาดองค์กร
โดยรวมอยใู่ นระดับมาก ( x = 3.93) เม่ือพิจารณา รายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ บุคลากร
ในองค์กรมีเพียงพอหลังจากการปรับโครงสร้างองค์กร มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
( x = 3.96) รองลงมา คือ โครงสรา้ งองค์กรมีความเหมาะสมกับขนาดขององคก์ ร มีระดับความคิดเห็น
อยู่ในระดับมาก ( x = 3.92) และขนาดขององค์กรมีความเหมาะสมในการปฏิบัติงาน มีระดับความ
คิดเหน็ อยใู่ นระดบั มาก ( x = 3.91) ตามลาดบั

53

ตารางที่ 4 ค่าเฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็น ของปัจจัยการปรับโครงสร้าง

องคก์ ร ด้านเทคโนโลยี

(n=262)

ด้านเทคโนโลยี x S.D. ระดับความคิดเห็น ลาดบั
1. จานวนเครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการปฏบิ ัติงานมี
3.86 0.80 มาก 1

เพียงพอต่อความตอ้ งการในการปฏิบตั ิงาน

2. การเชอื่ มโยงขอ้ มูลสารสนเทศระหว่าง 3.97 0.74 มาก 3

หน่วยงานภายในเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการใน

การปฏิบัติงาน

3. คู่มอื /แนวทางทน่ี ามาใช้ในการปฏบิ ัตงิ านมี 3.90 0.77 มาก 2

ความเหมาะสม

รวมทกุ ด้าน 3.91 0.77 มาก

จากตารางท่ี 4 การวิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรด้านเทคโนโลยี
โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.91) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ
การเช่ือมโยงข้อมูลสารสนเทศระหว่างหน่วยงานภายในเพียงพอต่อความต้องการในการปฏิบัติงาน
มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( x = 3.97) รองลงมา คือ คู่มือ/แนวทางท่ีนามาใช้ในการ
ปฏิบัตงิ านมีความเหมาะสม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( x = 3.90) และจานวนเคร่อื งมือท่ี
ใช้ในการปฏิบัติงานมีเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการในการปฏิบัติงาน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
( x = 3.86) ตามลาดบั

54

ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็น ของปัจจัยการปรับโครงสร้าง

องค์กร ด้านสภาพแวดล้อม

(n=262)

ดา้ นสภาพแวดลอ้ ม x S.D. ระดับความคิดเห็น ลาดบั
1. หนว่ ยงานของทา่ นมีเคร่ืองมอื และวสั ดุ
3.71 0.71 มาก 4

อปุ กรณใ์ นการปฏบิ ตั ิงานที่ครบถ้วน ทนั สมัย

และเพียงพอ

2. หนว่ ยงานของทา่ นมหี อ้ งทางานและโต๊ะ 3.84 0.84 มาก 2

ทางานเพียงพอต่อการปฏิบตั ิงาน

3. หนว่ ยงานของท่านมีการจดั บริเวณให้เปน็ 3.85 0.85 มาก 1

สัดส่วนที่เหมาะสมกบั การปฏบิ ัติงาน

4. สภาพแวดล้อมในการทางาน เช่น แสงสว่าง 3.78 0.78 มาก 3

อณุ หภมู ิ มีความเหมาะสมทาให้สามารถ

ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างสะดวกสบาย

รวมทุกด้าน 3.80 0.80 มาก

จากตารางท่ี 5 การวิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรด้านสภาพแวดล้อม
โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.80) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ
หน่วยงานของท่านมีการจัดบริเวณให้เป็นสัดส่วนท่ีเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน มีระดับความคิดเห็น
อยใู่ นระดับมาก ( x = 3.85) รองลงมา คือ หน่วยงานของท่านมหี ้องทางานและโตะ๊ ทางานเพียงพอต่อ
การปฏิบัติงาน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( x = 3.84) สภาพแวดล้อมในการทางาน
เช่น แสงสว่าง อุณหภูมิ มีความเหมาะสมทาใหส้ ามารถปฏิบัติงานไดอ้ ย่างสะดวกสบาย มีระดับความ
คิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( x = 3.78) และหน่วยงานของท่านมีเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ในการ
ปฏิบัติงานท่ีครบถ้วน ทันสมัย และเพียงพอ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( x = 3.71)
ตามลาดับ

55

ส่วนท่ี 3 ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับผลกระทบจากการปรบั โครงสร้างองคก์ รทม่ี ผี ลต่อคณุ ภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ

การวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีมีผลต่อ
คุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ วิเคราะห์เป็นรายด้านและโดยรวม โดยหาค่าเฉลี่ยค่า
เบยี่ งเบนมาตรฐานและแปลผลระดับความคดิ เห็น

ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบจากการปรับ

โครงสรา้ งองคก์ รท่มี ผี ลต่อคณุ ภาพชวี ิตการทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ โดยรวมและรายด้าน

(n=262)

คณุ ภาพชีวติ การทางาน x S.D. ระดับความคิดเห็น ลาดับ
ดา้ นประสทิ ธภิ าพการทางาน
3.42 0.51 มาก 1

ด้านความสัมพันธค์ รอบครวั 2.96 0.73 ปานกลาง 4

ด้านสุขภาพรา่ งกาย 2.89 0.81 ปานกลาง 5

ด้านรายได้ 3.09 0.62 ปานกลาง 3

ด้านการชาระหนีแ้ ละความมนั่ คง 2.82 0.75 ปานกลาง 6

ดา้ นการวางแผนการเงิน 3.28 0.65 ปานกลาง 2

รวมทุกด้าน 3.08 0.47 ปานกลาง

จากตารางที่ 6 พบว่า ระดับความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบจากการปรับโครงสรา้ งองค์กรที่
มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ โดยรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปาน
กลาง ( x = 3.08) เมื่อพิจารณารายดา้ นพบวา่ ดา้ นท่ีมคี ่าเฉล่ียสูงสดุ คอื ด้านประสิทธิภาพการทางาน
มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( x = 3.42) รองลงมาคือ ด้านการวางแผนการเงิน ระดับความ
คิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 3.28) ด้านรายได้ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง
( x = 3.09) ด้านความสัมพันธ์ครอบครัวระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 2.96)
ด้านสุขภาพร่างกายระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 2.89) และด้านการชาระหน้ีและ
ความม่ันคงระดบั ความคดิ เห็นอยูใ่ นระดับปานกลาง ( x = 2.82) ตามลาดับ

56

ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบจากการปรับ

โครงสร้างองค์กรท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ ฯ ด้านประสิทธิภาพการ

ทางาน

(n=262)

ด้านประสิทธิภาพการทางาน x S.D. ระดบั ความ ลาดับ
คดิ เหน็

1.การปรบั โครงสร้างองค์กรกอ่ ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพ 3.45 0.85 มาก 6

ในการทางาน

2. การปรบั โครงสรา้ งองคก์ รจะมผี ลต่อการ 3.45 0.83 มาก 7

ปฏิบตั งิ านให้บรรลเุ ป้าหมาย

3. การปรับเปลี่ยนโครงสรา้ งมสี ว่ นชว่ ยในการ 3.44 0.80 มาก 8

ประสานงานในทกุ ด้านให้บรรลเุ ปา้ หมาย

4. การปรบั เปลย่ี นโครงสร้างมสี ว่ นช่วยให้ 3.46 0.86 มาก 4

กระบวนการปฏิบตั งิ านคลอ่ งตวั และมีประสทิ ธภิ าพ

5. ความรบั ผิดชอบในหนา้ ท่ีของท่านมีมากเกินไป 3.55 0.81 มาก 2

6. ปรมิ าณงานไมม่ ีความเหมาะสมกับอัตรากาลังท่ี 3.51 0.78 มาก 3

เปน็ อยู่

7. ปรมิ าณคนมีนอ้ ยเกินไปไมเ่ หมาะสมกบั ภาระงาน 3.46 0.84 มาก 5

ท่ีเพม่ิ มากข้นึ

8. การเพิม่ อตั ราพนักงานช่วยทาให้การทางานมี 3.56 0.90 มาก 1

ประสิทธิภาพมากข้ึน

9. หลงั จากการปรบั โครงสร้างทาให้โครงสรา้ งของ 3.37 0.89 ปานกลาง 10

องค์กรมีลักษณะเอื้ออานวยหรือจูงใจให้พนกั งาน

สามารถปฏิบัติงานไดด้ แี ละมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้ึน

10. เปา้ หมายขององค์กรสอดคล้องกบั การ 3.39 0.80 ปานกลาง 9

ปฏบิ ัตงิ านของท่าน

11. ท่านรสู้ ึกทา้ ทายกับการปรับโครงสรา้ งองค์กร 3.34 0.83 ปานกลาง 11

(ทาให้ท่านปฏบิ ตั ิงานได้หลากหลายมากขึน้ )

12. กอ่ นการปรบั โครงสร้างองค์กรบริษทั มกี ารชี้แจง 3.11 0.94 ปานกลาง 12

ให้พนักงานทราบได้รับขอ้ มูลหรอื นโยบายทช่ี ดั เจน

ค่าเฉล่ยี รวม 3.42 0.51 มาก

57

จากตารางที่ 7 พบว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบจากการ
ปรับโครงสร้างองค์กรท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ด้านประสิทธิภาพการ
ทางาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.42) เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ
การเพ่ิมอัตราพนักงานช่วยทาให้การทางานมีประสิทธิภาพมากข้ึน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับ
มาก ( x =3.56) รองลงมา คือ ความรับผิดชอบในหน้าท่ีของทา่ นมมี ากเกินไป มีระดบั ความคิดเห็นอยู่
ในระดับมาก ( x =3.55) และข้อท่ีมีค่าเฉล่ียต่าที่สุด คือ ก่อนการปรับโครงสร้างองค์กรบริษัทมีการ
ชี้แจงให้พนักงานทราบได้รับข้อมูลหรอื นโยบายท่ีชัดเจน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง
( x =3.11)

ตารางที่ 8 ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบจากการปรับ

โครงสร้างองค์กรทม่ี ผี ลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ ด้านความสมั พันธค์ รอบครัว

(n=262)

ด้านความสัมพันธ์ครอบครัว x S.D. ระดับความ ลาดับ
คดิ เหน็

1. ท่านมเี วลาใหต้ นเองและครอบครัวนอ้ ยลง 3.45 0.87 มาก 1

เพราะตอ้ งทางานมากข้ึน

2. ท่านทางานมากขนึ้ จงึ ทาใหค้ วามสมั พันธ์ 3.27 0.86 ปานกลาง 2

ของท่านและบคุ คลในครอบครวั ไม่ปกติ

เหมอื นเดิมหรอื ลดน้อยลง

3. ทา่ นทะเลาะหรือมีปัญหากบั บุคคลใน 2.16 1.09 นอ้ ย 3

ครอบครัวบอ่ ยครง้ั ขน้ึ เนือ่ งจากตอ้ งทางาน

มากข้ึน

คา่ เฉล่ียรวม 2.96 0.73 ปานกลาง

จากตารางท่ี 8 พบว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ มีระดับความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบจากการ
ปรับโครงสร้างองค์กรที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ด้านความสัมพันธ์
ครอบครวั โดยรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง ( x = 2.96) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลย่ี สูงสุด
คือ ท่านมีเวลาให้ตนเองและครอบครัวน้อยลงเพราะต้องทางานมากขึ้นมีระดับความคิดเห็นอยู่ใน
ระดับมาก ( x =3.45) รองลงมาคือ ท่านทางานมากข้ึนจึงทาให้ความสัมพันธ์ของท่าน และบุคคลใน
ครอบครัวไม่ปกติเหมือนเดิมหรือลดน้อยลง มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( x =3.27)

58

และข้อท่ีมีค่าเฉล่ียต่าท่ีสุด คือ ท่านทะเลาะหรือมีปัญหากับบุคคลในครอบครัวบ่อยครั้งข้ึนเนื่องจาก
ตอ้ งทางานมากขน้ึ มรี ะดับความคดิ เหน็ อยูใ่ นระดับปานกลาง ( x = 2.16)

ตารางท่ี 9 ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบจากการปรับ

โครงสรา้ งองค์กรที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ด้านสุขภาพรา่ งกาย

(n=262)

ด้านสขุ ภาพรา่ งกาย x S.D. ระดบั ความ ลาดั
คิดเห็น บ

1. ทา่ นมคี วามเครียดเพิ่มมากขน้ึ หลังจากปรบั 2.95 1.00 ปานกลาง 3

โครงสรา้ งองค์กร

2. ทา่ นต้องทางานหนกั มากขน้ึ หลงั จากปรบั 3.27 1.00 ปานกลาง 1

โครงสรา้ งองคก์ ร

3. ท่านรสู้ กึ ออ่ นล้าหรือรา่ งกายไม่สามารถทางาน 3.18 1.05 ปานกลาง 2

ตดิ ตอ่ เกิน 8 ช.ม. ได้

4. ทา่ นลาพักร้อนหรือลาปว่ ยเกินเดือนละ 1 ครั้ง 2.45 1.21 นอ้ ย 5

5. ทา่ นมีโรคประจาตัวเพ่ิมมากข้นึ หรอื มภี าวะจะ 2.60 1.18 น้อย 4

เป็นโรคตา่ งๆเพม่ิ ขึน้

ค่าเฉลยี่ รวม 2.89 0.81 ปานกลาง

จากตารางท่ี 9 พบว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ มีระดับความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบจากการ
ปรับโครงสร้างองค์กรที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ด้านสุขภาพร่างกาย
โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 2.89) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ท่าน
ต้องทางานหนักมากข้ึนหลักจากปรับโครงสร้างองค์กร มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง
( x =3.27) รองลงมาคือ ท่านรู้สึกอ่อนลา้ หรอื รา่ งกายไม่สามารถทางานติดต่อเกิน 8 ช.ม. ได้ มีระดับ
ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( x =3.18) และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าท่ีสุด คือท่านลาพักร้อนหรือลา
ป่วยเกินเดือนละ 1 ครงั้ มีระดบั ความคดิ เห็นอยู่ในระดบั น้อย ( x = 2.45)

59

ตารางที่ 10 ค่าเฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบจากการปรับ

โครงสร้างองค์กรที่มผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ิตการทางานของสมาชกิ ฯ ดา้ นรายได้

(n=262)

ดา้ นรายได้ x S.D. ระดบั ความ ลาดบั
คิดเห็น

1. ท่านคิดว่าผลตอบแทนทไ่ี ดจ้ ากการทางานท่ี 2.90 0.95 ปานกลาง 5

ทา่ นไดร้ บั มีความเหมาะสม

2. ทา่ นหารายไดพ้ เิ ศษเพอ่ื หารายได้เพ่มิ เตมิ 2.66 1.18 ปานกลาง 7

3. ทา่ นรสู้ กึ ถึงความไมแ่ น่นอนทางด้านรายได้ 3.17 1.01 ปานกลาง 3

4. ทา่ นมรี ายได้หลักจากเงินเดือนและคา่ จ้าง 3.58 1.08 มาก 1

5. ทา่ นกระต้นุ หรอื สรา้ งแรงจูงใจใหต้ นเอง 3.54 0.90 มาก 2

อยากมรี ายได้เพ่ิมข้นึ

6. การปรบั โครงสร้างองคก์ รทาทา่ นไดร้ บั 2.90 0.96 ปานกลาง 4

รายไดเ้ พิ่มมากข้นึ

7. การปรบั โครงสรา้ งองคก์ รทาทา่ นไดร้ ับ 2.89 0.94 ปานกลาง 6

สวัสดิการเพมิ่ มากข้ึน

คา่ เฉลีย่ รวม 3.09 0.62 ปานกลาง

จากตารางท่ี 6 พบว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ มีระดับความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบจากการ
ปรบั โครงสร้างองคก์ รท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวติ การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ด้านรายได้โดยรวมอยู่ใน
ระดับปานกลาง ( x = 3.09) เมอ่ื พิจารณารายขอ้ พบว่า ข้อทีม่ คี า่ เฉลย่ี สูงสุดคือ ทา่ นมรี ายได้หลักจาก
เงินเดือนและค่าจ้าง มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( x =3.58) รองลงมาคือ ท่านกระตุ้นหรือ
สร้างแรงจงู ใจใหต้ นเองอยากมีรายได้เพม่ิ ข้นึ มีระดับความคดิ เหน็ อยูใ่ นระดบั มาก ( x =3.54) และข้อ
ที่มคี ่าเฉลี่ยต่าทส่ี ุด คือทา่ นหารายได้พิเศษเพ่ือหารายไดเ้ พ่ิมเติม มีระดับความคดิ เห็นอยู่ในระดบั ปาน
กลาง ( x = 2.66)

60

ตารางที่ 11 ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบจากการปรับ

โครงสร้างองค์กรที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ด้านการชาระหนี้และความ

ม่ันคง

(n=262)

ดา้ นการชาระหนี้และความมนั่ คง x S.D. ระดับความ ลาดบั
คิดเห็น

1. หลงั จากการปรับเปลยี่ นโครงสร้างขององค์กร 3.06 1.02 ปานกลาง 1

ทาให้ทา่ นรูส้ กึ เสยี ขวัญและกาลงั ใจในการทางาน

2. ท่านมปี ัญหาการรับชาระหนี้ทีท่ า่ นมีอยู่กับ 2.87 1.09 ปานกลาง 4

สหกรณ์

3. มีการบรหิ ารเวลาเพื่อความเปน็ ระเบียบ 2.53 1.15 น้อย 7

เรยี บร้อยในชวี ติ

4. ท่านรสู้ กึ วา่ การเปล่ียนแปลงโครงสรา้ งของ 2.82 0.98 ปานกลาง 5

องคก์ รทาใหค้ ุณภาพชวี ติ ของท่านแย่ลง

5. ท่านมีปญั หาการรับภาระคา้ ประกนั เนอื่ งจาก 2.62 1.09 ปานกลาง 6

มกี ารปรับโครงสรา้ งองคก์ ร

6. การปรบั โครงสรา้ งองคก์ รทาให้ท่านมโี อกาส 2.88 0.98 ปานกลาง 3

ก้าวหน้าในตาแหน่งทสี่ ูงขึน้

7. ท่านรู้สกึ มน่ั คงในการทางานมากขนึ้ หลังจาก 2.96 0.95 ปานกลาง 2

ปรบั โครงสรา้ งองค์กร

ค่าเฉลี่ยรวม 2.82 0.75 ปานกลาง

จากตารางท่ี 11 พบว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ มีระดับความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบจากการ
ปรับโครงสร้างองค์กรที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ด้านการชาระหนี้และ
ความมั่นคง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 2.82) เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ย
สูงสุดคือ หลังจากการปรับเปลี่ยนโครงสร้างขององค์กรทาให้ท่านรู้สึกเสียขวัญและกาลังใจในการ
ทางาน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( x =3.06) รองลงมาคือ ท่านรู้สึกม่ันคงในการ
ทางานมากขึ้นหลังจากปรับโครงสร้างองค์กร มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( x =2.96)
และข้อท่ีมีค่าเฉล่ียตา่ ท่ีสุด คือ ทา่ นมีการบริหารเวลาเพื่อความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อยในชีวิต มรี ะดับ
ความคิดเหน็ อยู่ในระดับน้อย ( x = 2.53)

61

ตารางที่ 12 ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบจากการปรับ

โครงสร้างองค์กรทม่ี ีผลตอ่ คณุ ภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ดา้ นการวางแผนการเงนิ

(n=262)

ด้านการวางแผนการเงิน x S.D. ระดับความ ลาดบั
คดิ เห็น

1. ท่านมีการกาหนดวงเงินใช้จา่ ยในการอุปโภค 3.35 0.84 ปานกลาง 3

บริโภค

2. ทา่ นมกี ารวางแผนการใชจ้ ่ายโดยคานึงถงึ ความ 3.56 0.87 มาก 1

จาเปน็

3. ทา่ นมีการลงทุนโดยควบคุมความเสีย่ งอยา่ งดี 3.14 0.96 ปานกลาง 5

4. ท่านตอ้ งการใหส้ หกรณ์ชว่ ยเหลือในด้านการเงนิ 3.41 1.01 มาก 2

5. ท่านมเี งนิ ออมต่อเดอื นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 3.00 0.95 ปานกลาง 6

ของเงินเดอื น

6. ทา่ นมกี ารวางแผนในการหารายไดใ้ หพ้ ียงพอตอ่ 3.25 0.88 ปานกลาง 4

รายจา่ ยท่มี แี ละเหลือเพยี งพอตอ่ การเกบ็ ออม

คา่ เฉล่ยี รวม 3.28 0.65 ปานกลาง

จากตารางที่ 12 พบว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ มีระดับความคิดเห็นเก่ียวกับผลกระทบจากการ
ปรบั โครงสร้างองคก์ รทมี่ ีผลตอ่ คณุ ภาพชีวติ การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ด้านการวางแผนการเงิน
โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 3.28) เมื่อพิจารณารายขอ้ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดคือ ท่านมี
การวางแผนการใช้จ่ายโดยคานึงถึงความจาเป็น มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( x =3.56)
รองลงมาคือ ท่านต้องการให้สหกรณ์ช่วยเหลือในด้านการเงิน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
( x =3.41) และข้อทีม่ ีค่าเฉลยี่ ต่าท่ีสุด คือท่านมีเงนิ ออมต่อเดือนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 10 ของเงนิ เดือน
มรี ะดบั ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 3.00)

62

ส่วนที่ 4 ผลการทดสอบสมมตฐิ าน

1. ด้านปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่แตกต่างกัน ทาให้มีผลคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสรา้ งองค์กร แตกตา่ งกนั

ตารางที่ 13 ผลการทดสอบด้านประชากรศาสตร์ ท่ีมีผลต่อระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิต
การทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร จาแนกตามเพศ

(n=262)

ผลกระทบจากการปรับโครงสร้าง ชาย หญงิ t Sig.
องคก์ ร
x S.D. x S.D.

ด้านประสิทธภิ าพการทางาน 3.42 0.51 3.63 0.19 -2.742 0.020*

ดา้ นความสัมพนั ธ์ครอบครัว 2.95 0.73 3.33 0.47 -2.476 0.046*

ดา้ นสขุ ภาพร่างกาย 2.89 0.82 2.95 0.59 -0.212 0.833

ดา้ นรายได้ 3.10 0.62 2.88 0.48 1.003 0.317

ดา้ นการชาระหนแี้ ละความม่นั คง 2.84 0.75 2.38 0.67 2.717 0.047*

ด้านการวางแผนการเงิน 3.28 0.65 3.46 0.53 -0.770 0.442

ภาพรวม 3.08 0.47 3.10 0.35 -0.150 0.881

* มีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั 0.05

จากตารางท่ี 13 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานดว้ ย Independent sample t-test
พบว่า เพศที่แตกต่างกัน มีผลต่อความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ
จากการปรบั โครงสรา้ งองค์กร ในด้านประสทิ ธิภาพการทางาน ดา้ นความสัมพันธ์ครอบครวั และด้าน
การชาระหน้ีและความม่ันคง แต่ไม่มีผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิก
สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านสุขภาพร่างกาย ด้านรายได้ และด้านการวางแผน
การเงิน

63

ตารางท่ี 14 ผลการทดสอบด้านประชากรศาสตร์ ท่ีมีผลต่อระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิต

การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองคก์ ร จาแนกตามอายุ

(n=262)

แหลง่ ความแปรปรวน SS df MS F Sig.

ด้านประสิทธิภาพการทางาน

ระหวา่ งกลุ่ม 0.59 2 0.30 1.14 0.32

ภายในกลุ่ม 67.07 259 0.26

รวม 67.66 261

ดา้ นความสัมพนั ธ์ครอบครัว

ระหว่างกลุม่ 1.40 2 0.70 1.32 0.27

ภายในกลมุ่ 137.50 259 0.53

รวม 138.90 261

ดา้ นสุขภาพร่างกาย

ระหว่างกลมุ่ 0.11 2 0.05 0.08 0.92

ภายในกลุ่ม 172.09 259 0.66

รวม 172.19 261

ด้านรายได้

ระหวา่ งกลมุ่ 0.32 2 0.16 0.41 0.67

ภายในกลมุ่ 100.14 259 0.39

รวม 100.45 261

ด้านการชาระหนี้และความมั่นคง

ระหวา่ งกลมุ่ 1.54 2 0.77 1.38 0.25

ภายในกลุ่ม 144.90 259 0.56

รวม 146.44 261

ดา้ นการวางแผนการเงิน

ระหวา่ งกลุม่ 1.66 2 0.83 2.08 0.04*

ภายในกลมุ่ 108.24 259 0.42

รวม 109.90 261

64

ตารางท่ี 14 (ตอ่ ) SS df MS (n=262)
F Sig.
แหล่งความแปรปรวน 0.30 2 0.15
ภาพรวม 56.68 259 0.22 0.68 0.51
ระหวา่ งกลุ่ม 56.97 261
ภายในกล่มุ
รวม
* มนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.05

จากตารางที่ 14 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า อายุที่แตกต่างกัน มีผลต่อความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ
จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร ในด้านการวางแผนการเงิน แตไ่ มม่ ีผลต่อความคดิ เห็นเกย่ี วกบั คุณภาพ
ชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองค์กร ในด้านประสิทธิภาพการทางาน
ดา้ นความสมั พันธ์ครอบครวั ดา้ นสุขภาพรา่ งกาย และดา้ นการชาระหนแ้ี ละความมนั่ คง

ตารางที่ 15 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร ในดา้ นการวางแผนการเงิน จาแนกตาม
อายุ ดว้ ยวิธี LSD

อายุ Mean น้อยกว่า 35 ปี 36 - 40 ปี 41 - 55 ปขี ึ้นไป
3.27 3.40 3.22
น้อยกวา่ 35 ปี 3.27 - -0.13 0.05
- - 0.18*
36 - 40 ปี 3.40 - - -

41 - 55 ปีขนึ้ ไป 3.22

* มีนยั สาคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ 0.05

จากตารางท่ี 15 พบว่า ความแตกตา่ งรายคู่ของของระดบั ความคิดเหน็ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการวางแผนการเงิน จาแนก
ตามอายุ ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนักงานท่ีมอี ายุ 36 - 40 ปี มีความคิดเห็นเก่ียวกับ
คุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการวางแผน
การเงนิ มากกว่า พนกั งานทีม่ อี ายุ 41-55 ปี ข้ึนไป

65

ตารางที่ 16 ผลการทดสอบด้านประชากรศาสตร์ ที่มีผลต่อระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต

การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร จาแนกตามสถานภาพ

(n=262)

แหลง่ ความแปรปรวน SS df MS F Sig.

ด้านประสทิ ธภิ าพการทางาน

ระหวา่ งกลุ่ม 0.49 2 0.25 0.95 0.39

ภายในกลุม่ 67.17 259 0.26

รวม 67.66 261

ดา้ นความสัมพันธ์ครอบครวั

ระหว่างกลมุ่ 3.19 2 1.59 3.04 0.05*

ภายในกลุ่ม 135.71 259 0.52

รวม 138.90 261

ดา้ นสุขภาพรา่ งกาย

ระหวา่ งกลมุ่ 1.83 2 0.91 1.39 0.25

ภายในกลุ่ม 170.37 259 0.66

รวม 172.19 261

ด้านรายได้

ระหวา่ งกลมุ่ 0.15 2 0.08 0.20 0.82

ภายในกลมุ่ 100.30 259 0.39

รวม 100.45 261

ด้านการชาระหนแ้ี ละความมน่ั คง

ระหวา่ งกล่มุ 5.21 2 2.60 4.78 0.01*

ภายในกลุ่ม 141.23 259 0.55

รวม 146.44 261

ดา้ นการวางแผนการเงนิ

ระหว่างกล่มุ 2.50 2 1.25 3.02 0.05*

ภายในกลุ่ม 107.40 259 0.41

รวม 109.90 261

66

ตารางที่ 16 (ต่อ) 1.30 2 0.65 (n=262)
55.68 259 0.21 3.02 0.05*
ภาพรวม 56.97 261
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลมุ่
รวม
* มีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั 0.05

จากตารางที่ 16 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า สถานภาพท่ีแตกต่างกัน มีผลต่อความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิก
สหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองค์กร ในดา้ นความสัมพนั ธ์ครอบครัว ด้านการชาระหนี้และความ
มัน่ คง ด้านการวางแผนการเงนิ แต่ไมม่ ีผลตอ่ ความคดิ เห็นเกีย่ วกบั คณุ ภาพชวี ิตการทางานของสมาชิก
สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านประสิทธิภาพการทางาน ด้านสุขภาพร่างกาย และ
ด้านรายได้

ตารางที่ 17 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร ในด้านความสัมพนั ธ์ครอบครัว จาแนก
ตามสถานภาพ ด้วยวิธี LSD

สถานภาพ Mean โสด สมรส หม้าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่
3.05 2.91 3.36
โสด 3.05 0.14 -3.31
สมรส 2.91 -
หมา้ ย/หยา่ รา้ ง/แยกกันอยู่ 3.36 - - -0.45*
* มีนัยสาคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดับ 0.05 - --

จากตารางที่ 17 พบวา่ ความแตกตา่ งรายคขู่ องของระดับความคิดเหน็ เกย่ี วกับคณุ ภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านความสัมพันธ์ครอบครัว
จาแนกตามสถานภาพ ท่ีระดับนยั สาคญั ทางสถติ ิ 0.05 ได้แก่ พนักงานท่มี ีสถานภาพหม้าย/หย่าร้าง/
แยกกันอยู่ มีความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ ฯ จากการปรับ
โครงสรา้ งองค์กร ในดา้ นความสัมพนั ธค์ รอบครัว มากกว่า พนกั งานทมี่ ีสถานภาพสมรส

67

ตารางที่ 18 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการชาระหน้ีและความมั่นคง
จาแนกตามสถานภาพ ด้วยวธิ ี LSD

สถานภาพ Mean โสด สมรส หมา้ ย/หย่ารา้ ง/แยกกันอยู่
2.98 2.75 3.29
โสด 2.98 0.23 -0.31
สมรส 2.75 -
หมา้ ย/หย่าร้าง/แยกกนั อยู่ 3.29 - - -0.54*
* มนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั 0.05 - --

จากตารางท่ี 18 พบว่า ความแตกต่างรายคู่ของของระดับความคิดเหน็ เกี่ยวกับคุณภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการชาระหนี้และความม่ันคง
จาแนกตามสถานภาพ ท่ีระดบั นัยสาคญั ทางสถติ ิ 0.05 ได้แก่ พนักงานที่มีสถานภาพหม้าย/หย่าร้าง/
แยกกันอยู่ มีความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ ฯ จากการปรับ
โครงสร้างองค์กร ในด้านการชาระหน้ีและความมั่นคง มากกวา่ พนกั งานที่มสี ถานภาพสมรส

ตารางที่ 19 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ

ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร ในดา้ นการวางแผนการเงิน จาแนกตาม

สถานภาพ ด้วยวิธี LSD

สถานภาพ Mean โสด สมรส หมา้ ย/หยา่ ร้าง/แยกกันอยู่

3.20 3.28 3.68

โสด 3.20 - -0.08 -0.48*

สมรส 3.28 - - -0.40*

หม้าย/หยา่ ร้าง/แยกกนั อยู่ 3.68 - - -

* มนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั 0.05

จากตารางที่ 19 พบวา่ ความแตกต่างรายคูข่ องของระดบั ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั คณุ ภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการวางแผนการเงิน จาแนก
ตามสถานภาพ ทร่ี ะดับนยั สาคัญทางสถติ ิ 0.05 ได้แก่ พนักงานที่มีสถานภาพหม้าย/หย่ารา้ ง/แยกกัน

68

อยู่ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้าง
องค์กร ในดา้ นการวางแผนการเงิน มากกว่า พนกั งานที่มสี ถานภาพโสดและสมรส

ตารางท่ี 20 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ

ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองคก์ ร ในภาพรวม จาแนกตามสถานภาพ ดว้ ย

วิธี LSD

สถานภาพ Mean โสด สมรส หมา้ ย/หยา่ ร้าง/แยกกันอยู่

3.12 3.05 3.35

โสด 3.12 - 0.07 -0.24

สมรส 3.05 - - -0.30*

หมา้ ย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่ 3.35 - - -

* มนี ัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ 0.05

จากตารางท่ี 20 พบว่า ความแตกตา่ งรายคขู่ องของระดับความคิดเหน็ เกี่ยวกับคณุ ภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร ในภาพรวม จาแนกตามสถานภาพ ท่ี
ระดบั นัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนกั งานทีม่ สี ถานภาพหม้าย/หยา่ ร้าง/แยกกนั อยู่ มีความคดิ เห็น
เก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในภาพรวม
มากกวา่ พนักงานท่มี ีสถานภาพสมรส

ตารางที่ 21 ผลการทดสอบด้านประชากรศาสตร์ ท่ีมีผลต่อระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิต

การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสรา้ งองคก์ ร จาแนกตามระดบั การศึกษา

(n=262)

แหลง่ ความแปรปรวน SS df MS F Sig.

ดา้ นประสทิ ธิภาพการทางาน

ระหวา่ งกล่มุ 0.04 2 0.02 0.07 0.93

ภายในกลุม่ 67.62 259 0.26

รวม 67.66 261

ด้านความสัมพนั ธ์ครอบครวั

ระหวา่ งกล่มุ 0.89 2 0.45 0.84 0.43

ภายในกลมุ่ 138.01 259 0.53

รวม 138.90 261

69

ตารางที่ 21 (ตอ่ ) SS df MS (n=262)
F Sig.
แหล่งความแปรปรวน
ด้านสุขภาพรา่ งกาย 0.18 2 0.09 0.13 0.87
ระหว่างกลุ่ม 172.02 259 0.66
ภายในกลมุ่ 172.19 261
รวม
ดา้ นรายได้ 0.50 2 0.25 0.65 0.52
ระหวา่ งกลมุ่ 99.95 259 0.39
ภายในกลมุ่ 100.45 261
รวม
ด้านการชาระหนแ้ี ละความมน่ั คง 0.15 2 0.07 0.13 0.88
ระหว่างกล่มุ 146.29 259 0.56
ภายในกลมุ่ 146.44 261
รวม
ด้านการวางแผนการเงิน 0.74 2 0.37 0.88 0.42
ระหว่างกลมุ่ 109.16 259 0.42
ภายในกลมุ่ 109.90 261
รวม
ภาพรวม 0.04 2 0.02 0.09 0.92
ระหวา่ งกลุม่ 56.94 259 0.22
ภายในกลุม่ 56.97 261
รวม

จากตารางท่ี 21 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า ระดับการศึกษาท่ีแตกต่างกัน ไม่มีผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของ
สมาชิกสหกรณฯ์ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร ในทกุ ด้าน

70

ตารางที่ 22 ผลการทดสอบด้านประชากรศาสตร์ ท่ีมีผลต่อระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิต

การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร จาแนกตามจานวนสมาชิกใน

ครอบครวั

(n=262)

แหลง่ ความแปรปรวน SS df MS F Sig.

ดา้ นประสิทธิภาพการทางาน

ระหวา่ งกลมุ่ 1.21 3 0.40 1.56 0.20

ภายในกลุ่ม 66.46 258 0.26

รวม 67.66 261

ด้านความสมั พันธ์ครอบครวั

ระหว่างกลมุ่ 0.71 3 0.24 0.44 0.72

ภายในกลุ่ม 138.19 258 0.54

รวม 138.90 261

ดา้ นสุขภาพร่างกาย

ระหว่างกลุ่ม 3.19 3 1.06 1.63 0.18

ภายในกลุ่ม 169.00 258 0.66

รวม 172.19 261

ด้านรายได้

ระหวา่ งกล่มุ 0.73 3 0.24 0.63 0.60

ภายในกลมุ่ 99.73 258 0.39

รวม 100.45 261

ดา้ นการชาระหนีแ้ ละความมั่นคง

ระหว่างกลุ่ม 0.66 3 0.22 0.39 0.76

ภายในกลุ่ม 145.77 258 0.57

รวม 146.44 261

ดา้ นการวางแผนการเงิน

ระหวา่ งกลุ่ม 1.12 3 0.37 0.89 0.45

ภายในกลุ่ม 108.78 258 0.42

รวม 109.90 261

71

ตารางที่ 22 (ต่อ) SS df MS (n=262)
F Sig.
แหล่งความแปรปรวน 0.09 3 0.03
ภาพรวม 56.89 258 0.22 0.13 0.94
ระหว่างกลุม่ 56.97 261
ภายในกลุ่ม
รวม
* มีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ 0.05

จากตารางที่ 22 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบวา่ จานวนสมาชกิ ในครอบครัวท่ีแตกตา่ งกัน ไม่มีผลตอ่ ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั คุณภาพชวี ิตการทางาน
ของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสรา้ งองค์กรในทกุ ดา้ น

ตารางท่ี 23 ผลการทดสอบด้านประชากรศาสตร์ ที่มีผลต่อระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิต

การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร จาแนกตามแผนก/สังกดั งาน

(n=262)

ผลกระทบจากการปรับโครงสรา้ ง พนกั งานราย พนักงานราย t Sig.
องคก์ ร ชวั่ โมง เดือน

ดา้ นประสิทธภิ าพการทางาน x S.D. x S.D.

3.43 0.52 3.40 0.45 0.211 0.833

ด้านความสัมพันธ์ครอบครวั 2.95 0.74 3.06 0.61 -0.682 0.496

ด้านสขุ ภาพรา่ งกาย 2.90 0.82 2.81 0.75 0.473 0.637

ดา้ นรายได้ 3.09 0.63 3.09 0.49 0.024 0.981

ด้านการชาระหน้แี ละความม่นั คง 2.83 0.76 2.69 0.61 0.855 0.393

ดา้ นการวางแผนการเงนิ 3.28 0.66 3.30 0.48 -0.127 0.899

ภาพรวม 3.08 0.48 3.06 0.36 0.202 0.840

จากตารางที่ 23 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานดว้ ย Independent sample t-test
พบว่า แผนก/สังกัดงานท่ีแตกต่างกัน ไม่มีผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของ
สมาชกิ สหกรณฯ์ จากการปรบั โครงสร้างองคก์ รในทุกด้าน

72

ตารางท่ี 24 ผลการทดสอบด้านประชากรศาสตร์ ที่มีผลต่อระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิต

การทางานของสมาชิกสหกรณฯ์ จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร จาแนกตามประสบการณ์ทางาน

(n=262)

แหลง่ ความแปรปรวน SS df MS F Sig.

ด้านประสทิ ธิภาพการทางาน

ระหวา่ งกลุ่ม 2.31 5 1.46 2.81 0.04*

ภายในกลมุ่ 65.35 256 0.26

รวม 67.66 261

ดา้ นความสัมพนั ธ์ครอบครวั

ระหวา่ งกลมุ่ 0.61 5 0.12 0.23 0.95

ภายในกลุ่ม 138.29 256 0.54

รวม 138.90 261

ด้านสขุ ภาพร่างกาย

ระหวา่ งกลมุ่ 0.73 5 0.15 0.22 0.95

ภายในกลมุ่ 171.47 256 0.67

รวม 172.19 261

ด้านรายได้

ระหวา่ งกล่มุ 3.45 5 1.69 2.82 0.04*

ภายในกล่มุ 97.00 256 0.38

รวม 100.45 261

ดา้ นการชาระหนแี้ ละความมนั่ คง

ระหวา่ งกลมุ่ 6.90 5 1.38 2.53 0.03*

ภายในกลมุ่ 139.54 256 0.55

รวม 146.44 261

ด้านการวางแผนการเงิน

ระหวา่ งกลมุ่ 1.25 5 0.25 0.59 0.71

ภายในกลุ่ม 108.65 256 0.42

รวม 109.90 261

73

ตารางที่ 24 (ต่อ) SS df MS (n=262)
F Sig.
แหล่งความแปรปรวน 1.21 5 0.24
ภาพรวม 55.77 256 0.22 1.11 0.36
ระหวา่ งกลมุ่ 56.97 261
ภายในกลมุ่
รวม
* มนี ัยสาคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั 0.05

จากตารางท่ี 24 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า ประสบการณ์ทางานท่ีแตกต่างกัน มีผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของ
สมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองคก์ ร ในดา้ นประสิทธิภาพการทางาน ด้านรายได้ และด้าน
การชาระหน้ีและความม่ันคง แต่ไม่มีผลต่อความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิก
สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านความสัมพันธ์ครอบครัว ด้านสุขภาพร่างกาย และ
ดา้ นการวางแผนการเงิน

ตารางท่ี 25 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านประสิทธิภาพการทางาน จาแนก
ตามประสบการณท์ างาน ดว้ ยวิธี LSD

ประสบการณ์ Mean 5 - 10 11 - 15 16 - 20 21 - 25 26 - 30 ตัง้ แต่ 30 ปี
ทางาน ปี ปี ปี ปี ปี ขนึ้ ไป
3.42 3.53 3.35 3.38 3.25 3.68
0.07 0.36 0.17 -0.26
5 - 10 ปี 3.42 - -0.11 0.18 0.15 -0.15
11 - 15 ปี 3.53 - - - 0.28* -0.33
16 - 20 ปี 3.35 - - - -0.03 0.10 -0.30
21 - 25 ปี 3.38 - - - - 0.13 -0.43*
26 - 30 ปี 3.25 - - - - - -
ตั้งแต่ 30 ปี 3.68 - - -
ขน้ึ ไป -
* มนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ 0.05

74

จากตารางท่ี 25 พบว่า ความแตกต่างรายคขู่ องของระดบั ความคิดเห็นเกี่ยวกับคณุ ภาพชีวิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านประสิทธิภาพการทางาน
จาแนกตามประสบการณ์ทางาน ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนักงานที่มีประสบการณ์
ทางานระหว่าง 11 – 15 ปี มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ
จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านประสิทธิภาพการทางาน มากกว่า พนักงานที่มีประสบการณ์
ทางานระหว่าง 26 – 30 ปี

นอกจากน้ีพนักงานท่ีมีประสบการณ์ทางานระหว่าง 26 – 30 ปี มีความคิดเห็นเก่ียวกับ
คุณภาพชวี ติ การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านประสทิ ธิภาพการ
ทางาน มากกวา่ พนกั งานที่มีประสบการณท์ างานต้งั แต่ 30 ปี ขนึ้ ไป

ตารางที่ 26 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ จาแนกตามประสบการณ์
ทางาน ดว้ ยวธิ ี LSD

ประสบการณ์ Mean 5 - 10 11 - 15 16 - 20 21 - 25 26 - 30 ต้งั แต่ 30 ปี
ทางาน ปี ปี ปี ปี ปี ขน้ึ ไป
3.04 3.17 3.02 3.19 2.76 3.24
0.02 0.28 -0.20
5 - 10 ปี 3.04 - -0.13 0.15 -0.15 -0.07
11 - 15 ปี 3.17 - - - -0.02 0.41* -0.22
16 - 20 ปี 3.02 - - - -0.17 0.26 -0.05
21 - 25 ปี 3.19 - - - 0.43* -0.48*
26 - 30 ปี 2.76 - - - - -
ตัง้ แต่ 30 ปี 3.24 - - - -
ขึ้นไป - -
* มนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.05

จากตารางที่ 26 พบว่า ความแตกต่างรายคู่ของของระดบั ความคิดเห็นเกี่ยวกับคณุ ภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ จาแนกตาม
ประสบการณ์ทางาน ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ไดแ้ ก่ พนกั งานท่มี ปี ระสบการณ์ทางานระหวา่ ง
11 – 15 ปี มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ ฯ จากการปรับ
โครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ มากกวา่ พนักงานท่ีมปี ระสบการณท์ างานระหว่าง 26 – 30 ปี

75

พนักงานท่ีมีประสบการณ์ทางานระหว่าง 21 – 25 ปี มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร ในในด้านรายได้ มากกว่า พนักงานท่ี
มีประสบการณท์ างานระหว่าง 26 – 30 ปี

นอกจากน้ีพนักงานที่มีประสบการณ์ทางานต้ังแต่ 30 ปี ขึ้นไป มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ
คุณภาพชวี ิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร ในในด้านรายได้ มากกว่า
พนกั งานท่มี ปี ระสบการณ์ทางานระหว่าง 26 – 30 ปี

ตารางที่ 27 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการชาระหนี้และความม่ันคง
จาแนกตามประสบการณ์ทางาน ดว้ ยวิธี LSD

ประสบการณ์ Mean 5 - 10 11 - 15 16 - 20 21 - 25 26 - 30 ต้ังแต่ 30 ปี
ทางาน ปี ปี ปี ปี ปี ขึน้ ไป
2.80 3.04 2.73 2.78 2.41 3.03
0.07 0.02 0.39 -0.23
5 - 10 ปี 2.80 - -0.24 0.01
11 - 15 ปี 3.04 - - 0.31* 0.26* 0.63* -0.30
16 - 20 ปี 2.73 - - - -0.05 0.32 -0.25
21 - 25 ปี 2.78 - - - 0.37 -0.62*
26 - 30 ปี 2.41 - - - - -
ตัง้ แต่ 30 ปี 3.03 - - - - -
ขึ้นไป - -
* มีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั 0.05

จากตารางที่ 27 พบว่า ความแตกตา่ งรายคขู่ องของระดบั ความคิดเห็นเกยี่ วกับคุณภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการชาระหนี้และความมั่นคง จาแนก
ตามประสบการณ์ทางาน ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนักงานท่ีมีประสบการณ์ทางาน
ระหว่าง 11 – 15 ปี มีความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการ
ปรบั โครงสรา้ งองคก์ ร ในด้านการชาระหนีแ้ ละความม่ันคง มากกว่า พนกั งานทมี่ ีประสบการณ์ทางาน
ระหวา่ ง 16 – 20 ปี ระหวา่ ง 21 – 25 ปี และระหวา่ ง 26 – 30 ปี

76

นอกจากน้ีพนักงานท่ีมีประสบการณ์ทางานต้ังแต่ 30 ปี ขึ้นไป มีความคิดเห็นเก่ียวกับ
คุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการชาระหน้ีและความ
มั่นคง มากกว่า พนักงานท่ีมปี ระสบการณท์ างานระหวา่ ง 26 – 30 ปี

ตารางที่ 28 ผลการทดสอบด้านประชากรศาสตร์ ที่มีผลต่อระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต

การทางานของสมาชิกฯ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร จาแนกตามรายไดต้ อ่ เดือน

(n=262)

แหลง่ ความแปรปรวน SS df MS F Sig.

ด้านประสทิ ธภิ าพการทางาน

ระหว่างกล่มุ 0.17 5 0.03 0.13 0.99

ภายในกลุ่ม 67.49 256 0.26

รวม 67.66 261

ด้านความสมั พนั ธค์ รอบครวั

ระหว่างกลมุ่ 4.19 5 1.84 2.59 0.04*

ภายในกลมุ่ 134.71 256 0.53

รวม 138.90 261

ด้านสขุ ภาพรา่ งกาย

ระหวา่ งกลุ่ม 3.09 5 0.62 0.94 0.46

ภายในกลุ่ม 169.11 256 0.66

รวม 172.19 261

ดา้ นรายได้

ระหว่างกลุ่ม 3.98 5 1.80 2.91 0.03*

ภายในกลมุ่ 96.48 256 0.38

รวม 100.45 261

77

ตารางที่ 28 (ตอ่ ) 5.49 5 1.10 2.99 0.04*
ดา้ นการชาระหนแ้ี ละความม่ันคง 140.95 256 0.55
ระหว่างกลุ่ม 146.44 261
ภายในกล่มุ
รวม 3.68 5 1.74 2.77 0.02*
ด้านการวางแผนการเงิน 106.22 256 0.41
ระหวา่ งกลมุ่ 109.90 261
ภายในกล่มุ
รวม 1.04 5 0.21 0.95 0.45
ภาพรวม 55.94 256 0.22
ระหวา่ งกลุม่ 56.97 261
ภายในกลุ่ม
รวม
* มีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั 0.05

จากตารางที่ 28 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า รายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิก
สหกรณฯ์ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในดา้ นความสัมพันธ์ครอบครัว ดา้ นรายได้ ดา้ นการชาระหน้ี
และความม่ันคง และด้านการวางแผนการเงิน แต่ไม่มีผลต่อความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านประสิทธภิ าพการทางาน และดา้ น
สุขภาพร่างกาย

78

ตารางที่ 29 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านความสัมพนั ธ์ครอบครวั จาแนก
ตามรายไดต้ ่อเดือน ดว้ ยวธิ ี LSD

รายได้/เดือน Mean 1-10,000 10,001- 20,001- 30,001- 40,001- 50,001 บาท -
20,000 30,000 40,000 50,000 ขึ้นไป
บาท บาท บาท บาท บาท
3.04
2.94 3.01 2.81 3.20 2.98

1-10,000 บาท 2.94 - -0.07 0.13 -0.26 -0.04 -0.10

10,001-20,000 บาท 3.01 - - 0.20* -0.19 0.03 -0.03

20,001-30,000 บาท 2.81 - - - -0.39* -0.17 -0.23

30,001-40,000 บาท 3.20 - - - - 0.22 0.16

40,001-50,000 บาท 2.98 - - - - - -0.06

50,001 บาทขึ้นไป 3.04 - - - - - -

* มีนยั สาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ 0.05

จากตารางที่ 29 พบว่า ความแตกตา่ งรายคูข่ องของระดับความคิดเห็นเก่ยี วกับคุณภาพชีวิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านความสัมพันธ์ครอบครัว
จาแนกตามรายได้ต่อเดือน ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนักงานท่ีมีรายได้ต่อเดือน
10,001 - 20,000 บาท มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ ฯ
จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านความสัมพันธ์ครอบครัว มากกว่า พนักงานท่ีมีรายได้ต่อเดือน
20,001 - 30,000 บาท

นอกจากนี้พนักงานท่ีมีรายได้ต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ
คุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านความสัมพันธ์
ครอบครัว มากกว่า พนกั งานทม่ี รี ายได้ต่อเดอื น 30,001 - 40,000 บาท

79

ตารางที่ 30 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ จาแนกตามรายได้ต่อ
เดือน ด้วยวิธี LSD

รายได/้ เดอื น Mean 1-10,000 10,001- 20,001- 30,001- 40,001- 50,001 บาท -
20,000 30,000 40,000 50,000 ข้ึนไป
บาท บาท บาท บาท บาท
3.02
2.52 3.05 3.10 3.31 3.24
-0.53* -0.58* -0.79*
1-10,000 บาท 2.52 - -0.05 -0.26* -0.72* -0.50
- -0.21
10,001-20,000 บาท 3.05 - - - -0.19 0.03
- - -
20,001-30,000 บาท 3.10 - - - - -0.14 0.08
- - -
30,001-40,000 บาท 3.31 - 0.07 0.29

40,001-50,000 บาท 3.24 - - 0.22

50,001 บาทข้ึนไป 3.02 - --

* มีนัยสาคัญทางสถติ ิทีร่ ะดบั 0.05

จากตารางที่ 30 พบวา่ ความแตกตา่ งรายค่ขู องของระดบั ความคิดเห็นเกยี่ วกับคณุ ภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในดา้ นรายได้ จาแนกตามรายได้ต่อ
เดือน ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนักงานที่มีรายได้ต่อเดือน 10,001 - 20,000 บาท,
20,001 - 30,000 บาท, 30,001 - 40,000 บาท และ40,001 - 50,000 บาท มีความคิดเห็นเก่ียวกับ
คุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ มากกว่า
พนักงานทมี่ ีรายไดต้ ่อเดือน 1-10,000 บาท

นอกจากน้ีพนักงานท่ีมีรายได้ต่อเดือน 30,001-40,000 บาท มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ
คุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ มากกว่า
พนกั งานท่มี ีรายได้ตอ่ เดอื น 10,001-20,000 บาท

80

ตารางท่ี 31 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการชาระหนี้และความมั่นคง
จาแนกตามรายได้ต่อเดอื น ด้วยวิธี LSD

รายได/้ เดือน Mean 1-10,000 10,001- 20,001- 30,001- 40,001- 50,001 บาท -
40,000 50,000 ขึ้นไป
บาท 20,000 30,000 บาท บาท
2.24
บาท บาท 3.02 2.74

2.64 2.89 2.75

1-10,000 บาท 2.64 - -0.25 -0.11 -0.38 -0.10 0.40

10,001-20,000 บาท 2.89 - - 0.14 -0.13 0.15 0.65*

20,001-30,000 บาท 2.75 - - - -0.27 0.01 0.51*

30,001-40,000 บาท 3.02 - - - - 0.28 0.78*

40,001-50,000 บาท 2.74 - - - - - 0.50

50,001 บาทขน้ึ ไป 2.24 - - - - - -

* มีนัยสาคญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั 0.05

จากตารางที่ 31 พบวา่ ความแตกต่างรายคขู่ องของระดบั ความคิดเห็นเกยี่ วกบั คุณภาพชีวิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองคก์ ร ในด้านการชาระหน้ีและความมั่นคง
จาแนกตามรายได้ต่อเดือน ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนักงานท่ีมีรายได้ต่อเดือน
10,001 - 20,000 บาท, 20,001 - 30,000 บาท และ 30,001 - 40,000 บาท มคี วามคดิ เห็นเกีย่ วกับ
คุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการชาระหน้ีและความ
ม่ันคง มากกว่า พนกั งานท่มี ีรายได้ตอ่ เดอื น 50,001 บาทขนึ้ ไป

81

ตารางที่ 32 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร ในดา้ นการวางแผนการเงิน จาแนกตาม
รายไดต้ ่อเดอื น ด้วยวธิ ี LSD

รายได้/เดือน Mean 1-10,000 10,001- 20,001- 30,001- 40,001- 50,001 บาท -
20,000 30,000 40,000 50,000 ขนึ้ ไป
บาท บาท บาท บาท บาท
3.39
2.69 3.22 3.40 3.26 3.33

1-10,000 บาท 2.69 - -0.53 -0.71* -0.57 -0.64* -0.70*

10,001-20,000 บาท 3.22 - - -0.18 -0.04 -0.11 -0.17

20,001-30,000 บาท 3.40 - - - 0.14 0.07 0.01

30,001-40,000 บาท 3.26 - - - - -0.07 -0.13

40,001-50,000 บาท 3.33 - - - - - -0.06

50,001 บาทข้นึ ไป 3.39 - - - - - -

* มีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั 0.05

จากตารางท่ี 32 พบวา่ ความแตกตา่ งรายคูข่ องของระดับความคิดเหน็ เกย่ี วกับคณุ ภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการวางแผนการเงิน จาแนก
ตามรายได้ต่อเดือน ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนักงานท่ีมีรายได้ต่อเดือน 20,001 -
30,000 บาท, 40,001 - 50,000 บาท และ 50,001 บาทข้ึนไป มีความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการวางแผนการเงนิ มากกว่า
พนักงานทมี่ รี ายได้ต่อเดอื น 1 - 10,000 บาท

82

ตารางที่ 33 ผลการทดสอบด้านประชากรศาสตร์ ท่ีมีผลต่อระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิต

การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร จาแนกตามรายได้พเิ ศษโดยเฉล่ียต่อ

เดือน

(n=262)

แหลง่ ความแปรปรวน SS df MS F Sig.

ดา้ นประสิทธภิ าพการทางาน

ระหว่างกลมุ่ 0.12 3 0.04 0.15 0.93

ภายในกลุม่ 67.54 258 0.26

รวม 67.66 261

ด้านความสมั พันธ์ครอบครัว

ระหว่างกลมุ่ 0.84 3 0.28 0.52 0.67

ภายในกลุ่ม 138.06 258 0.54

รวม 138.90 261

ดา้ นสขุ ภาพร่างกาย

ระหวา่ งกลุ่ม 2.95 3 0.98 1.50 0.22

ภายในกลุ่ม 169.24 258 0.66

รวม 172.19 261

ด้านรายได้

ระหวา่ งกลุ่ม 3.63 3 1.21 3.23 0.02*

ภายในกลุม่ 96.82 258 0.38

รวม 100.45 261

ด้านการชาระหนี้และความมนั่ คง

ระหว่างกลุ่ม 0.88 3 0.29 0.52 0.67

ภายในกลุม่ 145.56 258 0.56

รวม 146.44 261

ด้านการวางแผนการเงิน

ระหว่างกลมุ่ 3.26 3 1.09 2.63 0.05*

ภายในกลมุ่ 106.64 258 0.41

รวม 109.90 261

83

ตารางท่ี 33 (ตอ่ ) SS df MS (n=262)
F Sig.
แหลง่ ความแปรปรวน 0.52 3 0.17
ภาพรวม 56.45 258 0.22 0.80 0.50
ระหว่างกลุ่ม 56.97 261
ภายในกลุ่ม
รวม
* มนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.05

จากตารางท่ี 33 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า รายได้พิเศษโดยเฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านรายได้ และดา้ นการวางแผนการเงิน
แต่ไม่มีผลต่อความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ ฯ จากการปรับ
โครงสร้างองค์กร ในด้านประสทิ ธิภาพการทางาน ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านความสัมพันธ์ครอบครัว
และด้านการชาระหนีแ้ ละความมน่ั คง

84

ตารางที่ 34 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสรา้ งองค์กร ด้านรายได้ จาแนกตามรายไดพ้ ิเศษโดย
เฉลี่ยตอ่ เดือน ดว้ ยวธิ ี LSD

รายไดพ้ เิ ศษโดย Mean ไมม่ ี ไมเ่ กนิ 5,001-10,000 10,001 บาทข้นึ
เฉลย่ี ตอ่ เดือน 5,000 บาท บาท ไป
2.97 3.25 3.21
ไม่มี 2.97 - 3.13 -0.28*
ไมเ่ กนิ 5,000 บาท 3.13 - -0.16 -0.12 -0.24*
5,001-10,000บาท 3.25 - - -0.08
10,001 บาทข้นึ ไป 3.21 - - - 0.04
* มนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.05 -
- -

จากตารางท่ี 34 พบวา่ ความแตกตา่ งรายคู่ของของระดับความคิดเห็นเกย่ี วกับคุณภาพชีวิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านรายได้ จาแนกตามรายได้พิเศษ
โดยเฉลี่ยต่อเดือน ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนักงานท่ีมีรายได้พิเศษโดยเฉล่ียต่อเดือน
ต่อเดือน 5,001 - 10,000 บาท และ 10,001 บาทขึ้นไป มีความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ มากกว่า พนักงานท่ีไม่มี
รายไดพ้ เิ ศษ


Click to View FlipBook Version