The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Varunee P., 2021-04-20 03:59:42

IS 9854

IS 9854

85

ตารางที่ 35 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านการวางแผนการเงิน จาแนกตาม
รายได้พิเศษโดยเฉลย่ี ตอ่ เดอื น ดว้ ยวธิ ี LSD

รายไดพ้ ิเศษโดย Mean ไม่มี ไมเ่ กิน 5,001-10,000 10,001 บาทขึน้
เฉลยี่ ตอ่ เดอื น 5,000 บาท บาท ไป
3.19 3.49 3.34
ไม่มี 3.19 - 3.27 -0.30* -0.15
ไม่เกนิ 5,000 บาท 3.27 - -0.08 -0.22 -0.07
5,001-10,000บาท 3.49 - - 0.15
10,001 บาทขนึ้ ไป 3.34 - - - -
* มนี ยั สาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ 0.05 -
-

จากตารางที่ 35 พบว่า ความแตกตา่ งรายคู่ของของระดับความคิดเห็นเก่ยี วกับคุณภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร ดา้ นการวางแผนการเงนิ จาแนกตาม
รายได้พิเศษโดยเฉลี่ยต่อเดือน ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนักงานที่มีรายได้พิเศษโดย
เฉลี่ยต่อเดือนต่อเดือน 5,001 - 10,000 บาท มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของ
สมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองค์กร ในดา้ นการวางแผนการเงิน มากกวา่ พนกั งานท่ีไม่มี
รายได้พเิ ศษ

86

ตารางท่ี 36 ผลการทดสอบด้านประชากรศาสตร์ ที่มีผลต่อระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิต

การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร จาแนกตามรายจา่ ยเฉล่ยี ตอ่ เดือน

(n=262)

แหลง่ ความแปรปรวน SS df MS F Sig.

ดา้ นประสิทธภิ าพการทางาน

ระหว่างกลมุ่ 1.70 5 0.34 1.32 0.26

ภายในกลุ่ม 65.96 256 0.26

รวม 67.66 261

ด้านความสมั พนั ธค์ รอบครวั

ระหวา่ งกลุม่ 7.02 5 1.00 2.92 0.02*

ภายในกลมุ่ 133.88 256 0.52

รวม 138.90 261

ด้านสุขภาพร่างกาย

ระหว่างกลุ่ม 1.34 5 0.27 0.40 0.85

ภายในกลุ่ม 170.86 256 0.67

รวม 172.19 261

ดา้ นรายได้

ระหว่างกลุม่ 2.18 5 0.44 1.14 0.34

ภายในกล่มุ 98.27 256 0.38

รวม 100.45 261

ด้านการชาระหนี้และความมนั่ คง

ระหว่างกลุ่ม 2.42 5 0.48 0.86 0.51

ภายในกลุ่ม 144.01 256 0.56

รวม 146.44 261

ด้านการวางแผนการเงนิ

ระหว่างกลมุ่ 2.67 5 0.53 1.27 0.28

ภายในกลุม่ 107.23 256 0.42

รวม 109.90 261

87

ตารางที่ 36 (ต่อ) 1.79 5 0.36 1.66 0.14
ภาพรวม 55.18 256 0.22
ระหว่างกลุ่ม 56.97 261
ภายในกล่มุ
รวม
* มีนยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ 0.05

จากตารางที่ 36 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า จาแนกตามรายจา่ ยเฉล่ียต่อเดอื นที่แตกตา่ งกนั มีผลต่อความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองคก์ ร ด้านความสัมพนั ธ์ครอบครวั แต่ไมม่ ีผลต่อ
ความคิดเหน็ เก่ียวกับคณุ ภาพชีวติ การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ใน
ดา้ นประสทิ ธภิ าพการทางาน ดา้ นสุขภาพร่างกาย ดา้ นรายได้ ด้านการชาระหนี้และความมน่ั คง และ
ด้านการวางแผนการเงนิ

88

ตารางที่ 37 ผลการทบสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านความสัมพันธ์ครอบครัว จาแนก
ตามรายจ่ายเฉล่ยี ต่อเดอื น ดว้ ยวธิ ี LSD

รายจา่ ยเฉล่ยี Mean นอ้ ยกว่า 5,001- 10,001- 15,001- 20,001- 25,000

ต่อเดือน 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 ขึ้นไป

3.09 2.79 2.86 2.91 3.06 3.18

น้อยกว่า 5,000 3.09 - 0.30 0.23 0.18 0.03 -0.09

5,001-10,000 2.79 - - -0.07 -0.12 -0.27 -0.35*

10,001-15,000 2.86 - - - -0.05 -0.20 -0.32*

15,001-20,000 2.91 - - - - -0.15 -0.27

20,001-25,000 3.06 - - - - - -0.12

25,001 ข้ึนไป 3.18 - - - - - -

* มนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.05

จากตารางท่ี 37 พบว่า ความแตกตา่ งรายคขู่ องของระดบั ความคิดเห็นเกยี่ วกับคณุ ภาพชวี ิต
การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสรา้ งองค์กร ด้านความสัมพันธ์ครอบครัว จาแนก
ตามรายจ่ายเฉล่ียต่อเดือน ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ พนักงานท่ีมรี ายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือน
25,001 บาทขึ้นไป มคี วามคิดเหน็ เกีย่ วกับคุณภาพชีวติ การทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรับ
โครงสร้างองค์กร ในด้านความสัมพันธค์ รอบครวั มากกวา่ พนกั งานท่ีที่มีรายจ่ายเฉลยี่ ต่อเดอื น 5,001
- 10,000 บาท และ 15,001 – 15,000 บาท

89

2. ด้านปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรที่แตกต่างกัน ทาให้มีผลคุณภาพชีวิตการทางาน
ของสมาชิกสหกรณฯ์ จากการปรบั โครงสรา้ งองคก์ ร แตกต่างกนั

ตารางท่ี 38 ผลการทดสอบความแตกต่างของปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีแตกต่างกัน ทาให้มี
ผลคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร จาแนกตามด้าน
ประสทิ ธิภาพการทางาน

ด้านประสิทธิภาพการ n x S.D. F Sig.

ทางาน 3.60 0.59 7.51 0.00
3.41 0.44
ด้านกลยุทธ์ นอ้ ย 69 3.28 0.49
ด้านขนาดขององค์กร 3.42 0.51
ด้านเทคโนโลยี ปานกลาง 118 3.54 0.59 2.24 0.11
ด้านสภาพแวดล้อม 3.39 0.41
มาก 75 3.38 0.51
3.42 0.51
รวม 262 3.42 0.50 0.40 0.67
3.46 0.53
น้อย 67 3.34 0.55
3.42 0.51
ปานกลาง 74 3.38 0.55 0.46 0.64
3.45 0.47
มาก 121 3.44 0.50
3.42 0.51
รวม 262

น้อย 184

ปานกลาง 64

มาก 14

รวม 262

นอ้ ย 89

ปานกลาง 78

มาก 95

รวม 262

จากตารางท่ี 38 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านกลยุทธ์ ที่แตกต่างกัน มีผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับ
คุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านประสิทธิภาพการ
ทางาน แต่ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านขนาดขององค์กร ด้านเทคโนโลยี และด้าน
สภาพแวดล้อม ไม่มผี ลตอ่ ดา้ นประสทิ ธภิ าพการทางาน

90

ตารางที่ 39 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ดา้ นประสทิ ธิภาพการทางาน จาแนกตามดา้ นกลยุทธ์ ด้วยวิธี LSD

ประสิทธิภาพการ Mean มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง
3.60 3.41 3.28
ทางาน - 0.19* 0.32*
- 0.13
มากทส่ี ดุ 3.60 - - -
-
มาก 3.41

ปานกลาง 3.28

* มีนยั สาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั 0.05

จากตารางที่ 39 พบว่า ความแตกตา่ งรายคู่ของระดับความคดิ เห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวติ การ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองค์กร ในด้านประสิทธิภาพการทางาน จาแนก
ตามด้านกลยุทธ์ ที่ระดบั นัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ไดแ้ ก่ ดา้ นกลยุทธ์ ทมี่ ีผลตอ่ คุณภาพชวี ติ การทางาน
ของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสรา้ งองคก์ รในด้านประสทิ ธภิ าพการทางาน ความคดิ เหน็ ท่อี ยู่
ในระดบั มากทสี่ ุด มากกว่า ระดบั มาก และระดับปานกลาง

91

ตารางท่ี 40 ผลการทดสอบความแตกต่างของปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีแตกต่างกัน ทาให้มี
ผลคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร จาแนกตามด้าน
ความสมั พันธ์ครอบครัว

ดา้ นกลยทุ ธ์ ดา้ นความสัมพันธ์ n x S.D. F Sig.
ด้านขนาดขององค์ ครอบครวั
นอ้ ย 69 3.64 0.74 82.55 0.00
ปานกลาง 118 2.91 0.44
มาก 75 2.42 0.57
รวม 262 2.96 0.73
นอ้ ย 67 3.15 0.81 3.73 0.03
ปานกลาง 74 2.95 0.66

ดา้ นเทคโนโลยี มาก 121 2.85 0.71
ด้านสภาพแวดล้อม รวม 262 2.96 0.73
นอ้ ย 184 2.92 0.73 1.25 0.29
ปานกลาง 64 3.01 0.65
มาก 14 3.21 1.00
รวม 262 2.96 0.73
นอ้ ย 89 2.87 0.74 0.95 0.39
ปานกลาง 78 3.00 0.77
มาก 95 3.01 0.69
รวม 262 2.96 0.73

จากตารางที่ 40 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า ปจั จยั การปรบั โครงสร้างองค์กร ด้านกลยุทธ์ และดา้ นขนาดขององค์กร ทแ่ี ตกต่างกัน มีผลต่อ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร
ด้านความสัมพันธ์ครอบครัว แต่ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านเทคโนโลยี และด้าน
สภาพแวดลอ้ ม ไมม่ ผี ลต่อดา้ นความสัมพันธค์ รอบครวั

92

ตารางที่ 41 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองค์กร ในด้านความสัมพนั ธ์ครอบครัว จาแนก
ตามด้านกลยุทธ์ ดว้ ยวธิ ี LSD

ความสัมพันธ์ Mean มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง
3.64 2.91 2.42
ครอบครัว - 0.73* 1.22*
- 0.49*
มากท่สี ุด 3.64 - - -
-
มาก 2.91

ปานกลาง 2.42

* มนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั 0.05

จากตารางท่ี 41 พบวา่ ความแตกตา่ งรายค่ขู องระดบั ความคดิ เห็นเกย่ี วกับคณุ ภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านความสัมพันธ์ครอบครัว จาแนก
ด้านกลยุทธ์ ท่ีระดับนยั สาคัญทางสถิติ 0.05 ไดแ้ ก่ ดา้ นกลยุทธ์ ท่มี ผี ลตอ่ คณุ ภาพชีวติ การทางานของ
สมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กรในด้านความสัมพันธ์ครอบครัว ความคิดเห็นท่ีอยู่ใน
ระดับมากท่ีสุด มากกว่า ระดับมาก และระดับปานกลาง นอกจากนี้ความคิดเห็นที่อยู่ในระดับมาก
มากกว่า ระดบั ปานกลาง

ตารางที่ 42 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร ในด้านความสัมพันธ์ครอบครัว จาแนก
ตามดา้ นขนาดขององค์กร ด้วยวธิ ี LSD

ความสัมพนั ธ์ Mean มากที่สุด มาก ปานกลาง
3.15 2.96 2.85
ครอบครัว - 0.19 0.30*
- 0.11
มากทีส่ ดุ 3.15 - - -
-
มาก 2.96

ปานกลาง 2.85

* มนี ยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางท่ี 42 พบว่า ความแตกต่างรายคูข่ องระดบั ความคิดเห็นเก่ยี วกับคุณภาพชวี ิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านความสัมพันธ์ครอบครัว จาแนก

93

ตามด้านขนาดขององค์กร ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ด้านขนาดขององค์กร ที่มีผลต่อ
คณุ ภาพชีวติ การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านขนาดขององค์กร
ความคดิ เห็นทีอ่ ยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ มากกว่า ระดบั ปานกลาง

ตารางที่ 43 ผลการทดสอบความแตกต่างของปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรที่แตกต่างกัน ทาให้มี
ผลคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร จาแนกตามด้าน
สุขภาพร่างกาย

ดา้ นกลยทุ ธ์ ดา้ นสุขภาพ n x S.D. F Sig.
ด้านขนาดขององค์กร ร่างกาย
ดา้ นเทคโนโลยี นอ้ ย 69 3.37 1.06 15.62 0.00
ด้านสภาพแวดล้อม ปานกลาง 118 2.80 0.72
มาก 75 2.65 0.70
รวม 262 2.91 0.86
น้อย 67 3.47 0.96 31.50 0.00
ปานกลาง 74 2.99 0.42
มาก 121 2.54 0.83
รวม 262 2.91 0.86
นอ้ ย 184 2.92 0.88 0.05 0.95
ปานกลาง 64 2.89 0.77
มาก 14 2.86 1.02
รวม 262 2.91 0.86
น้อย 89 2.69 0.88 4.17 0.02
ปานกลาง 78 3.02 0.68
มาก 95 3.01 0.94
รวม 262 2.91 0.86

จากตารางท่ี 43 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า ปจั จัยการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านกลยุทธ์ ด้านขนาดขององค์กร และด้านสภาพแวดล้อมท่ี
แตกต่างกัน มีผลตอ่ ความคิดเห็นเก่ียวกบั คุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับ

94

โครงสร้างองค์กร ด้านสุขภาพรา่ งกาย แต่ปัจจัยการปรบั โครงสรา้ งองค์กร ด้านเทคโนโลยี ไม่มีผลต่อ
ดา้ นสขุ ภาพรา่ งกาย

ตารางท่ี 44 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านสุขภาพร่างกาย จาแนกตามดา้ น
กลยุทธ์ ดว้ ยวธิ ี LSD

สขุ ภาพร่างกาย Mean มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง
3.37 2.80 2.65
มากท่สี ดุ 3.37 - 0.57* 0.73*
- 0.15
มาก 2.80 - - -
-
ปานกลาง 2.65

* มีนัยสาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ 0.05

จากตารางที่ 44 พบวา่ ความแตกตา่ งรายคู่ของระดบั ความคดิ เห็นเก่ยี วกับคณุ ภาพชวี ิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านสุขภาพร่างกาย จาแนกตามด้าน
กลยุทธ์ ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ด้านกลยุทธ์ ท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของ
สมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านสุขภาพร่างกาย ความคิดเห็นที่อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด มากกว่า ระดบั มาก และระดับปานกลาง

95

ตารางที่ 45 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองค์กร ในดา้ นสุขภาพร่างกาย จาแนกตามด้าน
ขนาดขององค์กร ด้วยวิธี LSD

ดา้ นสุขภาพ Mean มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง
3.47 2.99 2.54
รา่ งกาย - 0.48* 0.93*
- 0.45*
มากทีส่ ุด 3.47 - - -
-
มาก 2.99

ปานกลาง 2.54

* มนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ 0.05

จากตารางท่ี 45 พบวา่ ความแตกต่างรายคขู่ องระดบั ความคดิ เห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านสุขภาพร่างกาย จาแนกตามด้าน
ขนาดขององค์กร ทรี่ ะดับนยั สาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ดา้ นขนาดขององคก์ ร ที่มผี ลต่อคุณภาพชีวิต
การทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองคก์ รในด้านสุขภาพร่างกาย ความคิดเหน็ ท่ี
อยู่ในระดับมากท่ีสุด มากกว่า ระดับมาก และระดับปานกลาง นอกจากน้ีความคิดเห็นที่อยู่ในระดับ
มาก มากกวา่ ระดบั ปานกลาง

96

ตารางท่ี 46 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร ในด้านสุขภาพร่างกาย จาแนกตามดา้ น
สภาพแวดล้อม ด้วยวธิ ี LSD

ดา้ นรายได้ Mean มากที่สดุ มาก ปานกลาง
2.81 3.14 3.13
มากที่สดุ 2.81 - -0.33* -0.32*
- 0.01
มาก 3.14 - - -
-
ปานกลาง 3.13

* มีนัยสาคญั ทางสถิติท่รี ะดบั 0.05

จากตารางที่ 46 พบวา่ ความแตกตา่ งรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกยี่ วกับคุณภาพชวี ิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร ในด้านสุขภาพร่างกาย จาแนกตามด้าน
สภาพแวดลอ้ ม ท่ีระดับนัยสาคญั ทางสถติ ิ 0.05 ได้แก่ ด้านสภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อคุณภาพชีวติ การ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองคก์ รในด้านสุขภาพร่างกาย ความคิดเห็นท่ีอยู่
ในระดับ มากท่ีสุด มากกวา่ ระดบั มาก และระดบั ปานกลาง

97

ตารางท่ี 47 ผลการทดสอบความแตกต่างของปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีแตกต่างกัน ทาให้มี
ผลคุณภาพชวี ติ การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสรา้ งองค์กร จาแนกตามดา้ นชาระ
หน้ีสินและความมนั่ คง

ดา้ นกลยทุ ธ์ ดา้ นชาระหน้สี ิน n x S.D. F Sig.
ดา้ นขนาดขององค์กร และความม่ันคง
ดา้ นเทคโนโลยี 69 3.30 0.80 5.92 0.00
ด้านสภาพแวดล้อม นอ้ ย 118 3.04 0.50
ปานกลาง 75 2.98 0.55
262 3.09 0.62
มาก 67 3.27 0.66 4.39 0.01
รวม 74 3.09 0.50
น้อย 121 2.99 0.64
ปานกลาง 262 3.09 0.62
มาก 184 3.10 0.64 0.17 0.84
รวม 64 3.08 0.56
นอ้ ย 14 3.00 0.63
ปานกลาง 262 3.09 0.62
มาก 89 3.12 0.66 0.17 0.84
รวม 78 3.08 0.58
นอ้ ย 95 3.07 0.62
ปานกลาง 262 3.09 0.62
มาก
รวม

จากตารางที่ 47 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า ปัจจัยการปรับโครงสร้างองคก์ รด้านกลยทุ ธ์ ด้านขนาดขององค์กร ที่แตกต่างกนั มีผลตอ่ ความ
คิดเหน็ เกยี่ วกับคณุ ภาพชีวติ การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ดา้ นชาระ
หน้ีสินและความมนั่ คง แต่ปจั จยั การปรับโครงสร้างองค์กร ด้านเทคโนโลยี และดา้ นสภาพแวดลอ้ ม ไม่
มผี ลต่อด้านชาระหนี้สินและความมน่ั คง

98

ตารางที่ 48 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านชาระหนี้สินและความม่ันคง
จาแนกด้านกลยทุ ธ์ ดว้ ยวธิ ี LSD

การชาระหนส้ี ิน Mean มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง
3.30 3.04 2.98
และความมนั่ คง - 0.26* 0.32*
- 0.06
มากทส่ี ุด 3.30 - - -
-
มาก 3.04

ปานกลาง 2.98

* มนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั 0.05

จากตารางที่ 48 พบว่า ความแตกต่างรายคู่ของระดับความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั คุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านชาระหนี้สินและความมั่นคง
จาแนกตามดา้ นกลยุทธ์ ท่ีระดบั นัยสาคญั ทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ดา้ นกลยทุ ธ์ ที่มีผลต่อคณุ ภาพชวี ิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสรา้ งองค์กร ในด้านชาระหน้สี ินและความม่ันคง ความ
คิดเหน็ ทีอ่ ย่ใู นระดบั มากที่สุด มากกว่าระดบั มาก และระดบั ปานกลาง

99

ตารางที่ 49 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานกู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) จากัด จากการปรับโครงสร้าง
องค์กร ในด้านชาระหนีส้ นิ และความมน่ั คง จาแนกตามด้านขนาดองคก์ ร ดว้ ยวิธี LSD

ด้านชาระหนี้สิน Mean มากท่ีสุด มาก ปานกลาง
3.27 3.09 3.00
และความม่นั คง - 0.18 0.27*
- 0.09
มากทส่ี ุด 3.27 - - -
-
มาก 3.09

ปานกลาง 3.00

* มีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.05

จากตารางที่ 49 พบวา่ ความแตกตา่ งรายคขู่ องระดับความคดิ เห็นเก่ียวกับคุณภาพชวี ิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านชาระหนี้สินและความมั่นคง
จาแนกตามด้านขนาดองค์กร ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ด้านขนาดองค์กร ท่ีมีผลต่อ
คุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กรในด้านชาระหนี้สินและ
ความม่ันคง ความคดิ เหน็ ทอี่ ยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ มากกว่า ระดับปานกลาง

100

ตารางที่ 50 ผลการทดสอบความแตกต่างของปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีแตกต่างกัน ทาให้มี
ผลคณุ ภาพชีวติ การทางานของสมาชิกฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร จาแนกตามดา้ นรายได้

ด้านกลยทุ ธ์ ดา้ นรายได้ n x S.D. F Sig.
ดา้ นขนาดขององค์กร 69 3.14 0.92 12.99 0.00
ด้านเทคโนโลยี นอ้ ย 118 2.81 0.60
ดา้ นสภาพแวดล้อม ปานกลาง 75 2.54 0.68
262 2.82 0.75
มาก
รวม 67 3.14 0.73 10.54 0.00
น้อย 74 2.82 0.63
ปานกลาง 121 2.64 0.77
มาก 262 2.82 0.75
รวม 184 2.81 0.75 0.33 0.72
นอ้ ย 64 2.87 0.75
ปานกลาง 14 2.70 0.81
มาก 262 2.82 0.75
รวม 89 2.76 0.77 0.42 0.66
นอ้ ย 78 2.86 0.73
ปานกลาง 95 2.84 0.76
มาก 262 2.82 0.75
รวม

จากตารางท่ี 50 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบวา่ ปจั จัยการปรับโครงสรา้ งองค์กร ด้านกลยุทธ์ และดา้ นขนาดขององค์กร ท่ีแตกต่างกัน มีผลต่อ
ความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร
ด้านรายได้ แต่ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านเทคโนโลยี และด้านสภาพแวดล้อม ไม่มีผลต่อ
ดา้ นรายได้

101

ตารางที่ 51 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ จาแนกตามด้านกลยุทธ์
ดว้ ยวิธี LSD

ด้านรายได้ Mean มากที่สดุ มาก ปานกลาง
3.14 2.81 2.54
มากทส่ี ุด 3.14 - 0.33* 0.60*
- 0.27*
มาก 2.81 - - -
-
ปานกลาง 2.54

* มีนัยสาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.05

จากตารางท่ี 51 พบว่า ความแตกตา่ งรายคู่ของระดับความคิดเห็นเก่ยี วกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ จาแนกตามด้านกลยุทธ์ ท่ี
ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ด้านกลยุทธ์ ท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิก
สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กรในด้านรายได้ ความคิดเห็นที่อยู่ในระดับมากท่ีสุด มากกว่า
ระดบั มาก และระดบั ปานกลาง นอกจากนค้ี วามคิดเห็นทอี่ ยูใ่ นระดับมาก มากกวา่ ระดับปานกลาง

102

ตารางที่ 52 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ จาแนกตามด้านขนาด
องคก์ ร ด้วยวิธี LSD

ดา้ นรายได้ Mean มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง
3.15 2.82 2.64
มากท่ีสุด 3.15 - 0.33* 0.51*
- 0.18
มาก 2.82 - - -
-
ปานกลาง 2.64

* มนี ัยสาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05

จากตารางท่ี 52 พบว่า ความแตกตา่ งรายคขู่ องระดบั ความคดิ เห็นเกย่ี วกับคณุ ภาพชวี ติ การ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านรายได้ จาแนกตามด้านขนาด
องค์กร ทีร่ ะดบั นัยสาคญั ทางสถิติ 0.05 ไดแ้ ก่ ด้านขนาดองค์กร ทีม่ ผี ลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของ
สมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองคก์ รในด้านดา้ นรายได้ ความคดิ เห็นที่อยใู่ นระดับมากที่สุด
มากกวา่ ระดับมาก และระดบั ปานกลาง

103

ตารางที่ 53 ผลการทดสอบความแตกต่างของปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีแตกต่างกัน ทาให้มี
ผลคณุ ภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร จาแนกตามด้านการ
วางแผนการเงนิ

ดา้ นกลยุทธ์ ดา้ นการวางแผน n x S.D. F Sig.
ด้านขนาดขององค์กร การเงนิ
ด้านเทคโนโลยี น้อย 69 3.37 0.83 0.79 0.45
ด้านสภาพแวดลอ้ ม ปานกลาง 118 3.26 0.55
มาก 75 3.24 0.61
รวม 262 3.28 0.65
นอ้ ย 67 3.46 0.67 3.76 0.02
ปานกลาง 74 3.27 0.57
มาก 121 3.20 0.67
รวม 262 3.28 0.65
นอ้ ย 184 3.26 0.65 0.38 0.69
ปานกลาง 64 3.34 0.62
มาก 14 3.33 0.81
รวม 262 3.28 0.65
นอ้ ย 89 3.18 0.74 1.76 0.18
ปานกลาง 78 3.31 0.62
มาก 95 3.36 0.58
รวม 262 3.28 0.65

จากตารางท่ี 53 ปรากฏว่า จากการทดสอบสมมติฐานด้วย One-way ANOVA (F-test)
พบว่า ปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านขนาดขององค์กร ที่แตกต่างกัน มีผลต่อความคิดเห็น
เกี่ยวกับคณุ ภาพชีวติ การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองค์กร ด้านการวางแผน
การเงิน แต่ปัจจัยการปรบั โครงสรา้ งองค์กร ดา้ นกลยุทธ์ ด้านเทคโนโลยี และดา้ นสภาพแวดล้อม ไม่มี
ผลตอ่ ดา้ นการวางแผนการเงนิ

104

ตารางที่ 54 ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองคก์ ร ในดา้ นการวางแผนการเงนิ จาแนกตาม
ดา้ นขนาดองค์กร ด้วยวิธี LSD

ดา้ นการวางแผน Mean มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง
3.46 3.27 3.20
การเงิน - 0.19 0.26*
- 0.07
มากทีส่ ุด 3.46 - - -
-
มาก 3.27

ปานกลาง 3.20

* มนี ัยสาคัญทางสถิติทีร่ ะดบั 0.05

จากตารางท่ี 54 พบว่า ความแตกตา่ งรายคู่ของระดับความคิดเหน็ เกยี่ วกบั คุณภาพชีวติ การ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ในด้านการวางแผนการเงิน จาแนกตาม
ดา้ นขนาดองคก์ ร ท่ีระดับนัยสาคญั ทางสถติ ิ 0.05 ได้แก่ ด้านขนาดองค์กร ทมี่ ีผลต่อคุณภาพชีวติ การ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรบั โครงสร้างองค์กรในขนาดองคก์ ร ความคิดเหน็ ท่ีอยู่ในระดับ
มากท่สี ุด มากกวา่ ระดับปานกลาง

ตารางที่ 55 สรปุ ผลการทดสอบสมมติฐาน

ตวั แปร ดา้ นประสทิ ธภิ าพ ผลกระท
ปจั จยั สว่ นบุคคล การทางาน ดา้ นความสัมพันธ์ ดา้

ปจั จยั ดา้ นประชากรศาสตร์  ครอบครวั
1. เพศ สถิติท่ีใช้ t-tes
2. อายุ
3. สถานภาพสมรส 
4. ระดบั การศึกษา 
5. จานวนสมาชกิ ใน
ครอบครวั 
6. แผนก/สงั กดั งาน
7. ประสบการณ์
ทางาน
8. รายไดต้ ่อเดือน

112

ทบจากการปรบั โครงสร้างองค์กร

านสขุ ภาพ ดา้ นรายได้ ดา้ นการชาระหนี้ ด้านการ ภาพรวม
วางแผนการเงิน
ร่างกาย และความมั่นคง

st และ F-test




 

 


105

ตารางที่ 55 (ต่อ)

ตัวแปร ด้านประสทิ ธิภาพการ ผลกระท
ปจั จัยส่วนบุคคล ทางาน ด้านความสมั พันธ์ ดา้

ปัจจัยดา้ นประชากรศาสตร์ ครอบครัว
สถติ ิที่ใช้ t-tes
9. รายได้พิเศษโดย

เฉลีย่ ต่อเดือน

10. รายจ่ายเฉลีย่ ต่อ 

เดอื น

ปัจจัยดา้ นการปรบั โครงสร้างองค์กร

1. กลยุทธ์ 

2. ขนาดขององค์กร 

3. เทคโนโลยี

4. สภาพแวดลอ้ ม

หมายเหตุ : มนี ัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ 0.

113

ทบจากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร

านสุขภาพ ด้านรายได้ ดา้ นการชาระหน้ี ด้านการ ภาพรวม
วางแผนการเงิน
ร่างกาย และความม่ันคง

st และ F-test



  
 



106

107

บทที่ 5

สรุปผลการศึกษาและขอ้ เสนอแนะ

การศึกษาวิจัยเรื่อง “ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กรที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานกู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) จากัด” มีวัตถุประสงค์เพ่ือ
ศึกษาผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์
ออมทรพั ย์พนักงานกู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) จากัด เพื่อเปน็ แนวทางพร้อมทัง้ เสนอแนะแนวทางในการ
ปรับตัวของสหกรณ์ฯ ให้สอดคล้องกับผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กร ผู้ศึกษาได้ใช้กลุ่ม
ตวั อย่าง คือ สมาชิกสหกรณ์ฯ จานวน 262 คน ใช้เป็นแบบสอบถามเป็นเคร่ืองมอื ในการเก็บรวบรวม
ข้อมูล และข้อมูลที่ได้นามาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางสถิติ โดยสถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ และค่า
ร้อยละ สาหรับข้อมูลท่ัวไปของสมาชิก และทดสอบสมมติฐานด้วย Independent sample t-test
ใช้เปรยี บเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉล่ียของกล่มุ ตัวอย่าง 2 กลุ่ม ที่เป็นอิสระกัน ระหว่างปัจจัย
ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ และแผนก/สังกัดงานปัจจุบัน และใช้สถิติ One-way Analysis of
Variance (ANOVA) ในการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวระหวา่ งปัจจัยข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่
อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา จานวนสมาชิกในครอบครัว ประสบการณ์ทางาน รายได้ต่อเดือน
และรายจ่ายต่อเดือน และปัจจัยการปรับโครงสร้างองค์กร ท่ีมีต่อผลคุณภาพชีวิตการทางานของ
สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานกู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) จากัด จากการปรับโครงสร้างองค์กร โดย
ผลการวิจัยได้ตามลาดบั ดงั ต่อไปนี้

สรุปผลการศกึ ษา
ขอ้ มูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผลการศึกษาข้อมลู ท่ัวไปของสมาชิก พบว่า กลุ่มตวั อย่างสมาชิกสหกรณ์ฯ จานวน 262 คน

ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 96.95) มีอายุระหว่าง 41-55 ปี (ร้อยละ 43.51) มีสถานภาพสมรส
(ร้อยละ 75.95) การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา (ร้อยละ 40.46) มีจานวนสมาชิกในครอบครัว 3 - 4
คน (ร้อยละ 62.60) มีตาแหน่งงานเป็นพนักงานรายช่ัวโมง (ร้อยละ 91.98) มีประสบการณ์ทางาน
5 – 10 ปี (ร้อยละ 24.81) มีรายได้ต่อเดือน 10,001 - 20,000 บาท (ร้อยละ 43.13) สมาชิกส่วนใหญ่
ไม่มรี ายไดพ้ เิ ศษ (ร้อยละ 43.13) และมีรายจ่ายเฉล่ยี ตอ่ เดือน 10,001 - 15,000 บาท (รอ้ ยละ 27.86)

108

ปจั จัยการปรับโครงสร้างองคก์ ร
ผลการศึกษาปัจจัยการปรับโครงสร้างองคก์ ร พบว่า ปัจจัยการปรับโครงสรา้ งองค์กรดา้ นกล
ยุทธ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซ่ึงกลยุทธ์ท่ีชัดเจนในการกาหนดอานาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบ
จะทาให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน และสามารถปฏิบัติงานได้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระดับ 3.97 ด้านขนาด
องค์กร โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งการปรับโครงสร้างองค์กรจะทาให้องค์กรมีบุคลากรที่เพียงพอ
นอกจากน้ีโครงสร้างองค์กรจะมีความเหมาะสมกับขนาดขององค์กรและการปฏิบัตงิ าน มีค่าเฉล่ียอยู่
ระดับ 3.93 ด้านเทคโนโลยี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซ่ึงการปรับโครงสร้างองค์กรจะมีการเช่ือมโยง
ขอ้ มูลสารสนเทศระหวา่ งหน่วยงานภายใน มีคมู่ ือและจานวนเครือ่ งมือที่ใช้เพยี งพอในการปฏิบตั ิงาน
มีค่าเฉล่ียอยู่ระดับ 3.91 และด้านสภาพแวดล้อม เช่น แสงสว่าง อุณหภูมิ มีความเหมาะสมจะทาให้
สามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ มีค่าเฉลยี่ อยู่ระดับ 3.80

คณุ ภาพชวี ิตการทางานท่ีมีผลจากการปรับโครงสร้างองคก์ ร
ผลการศึกษาคุณภาพชวี ิตการทางานที่มีผลจากการปรับโครงสร้างองค์กร พบว่า โดยรวมมี
ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า คุณภาพชีวิตการทางาน ด้าน
ประสิทธิภาพการทางาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งการปรับโครงสร้างองค์กรควรชี้แจงให้ทราบ
ข้อมูลหรือนโยบายท่ีชัดเจน มีค่าเฉล่ียอยู่ระดับ 3.42 ด้านความสัมพันธ์ครอบครัว โดยรวมอยู่ใน
ระดบั ปานกลาง ซ่ึงการปรบั โครงสรา้ งองคก์ รจะทาให้มีเวลาให้ตนเองและครอบครวั นอ้ ยลงเพราะตอ้ ง
ทางานมากข้นึ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระดับ 2.96 ด้านสุขภาพร่างกาย โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง การปรับ
โครงสรา้ งองค์กรต้องทางานมากข้นึ ทาให้รสู้ ึกอ่อนล้าหรอื ร่างกาย ส่งผลต่อการลาพักรอ้ นหรอื ลาปว่ ย
เกินเดือนละ 1 ครั้ง มีค่าเฉลี่ยอยู่ระดับ 2.89 ด้านรายได้ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งพนังงาน
ส่วนใหญ่มีรายได้หลักจากเงินเดือน โดยที่มีรายได้พิเศษและรายได้เพ่ิมเติมอย่างอ่ืนน้อยมาก มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ระดับ 3.09 ด้านการชาระหน้ีและความม่ันคง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง การปรับ
โครงสร้างองค์กรจะส่งผลต่อปัญหาการรบั ภาระค้าประกัน ส่งผลต่อความรู้สึกมั่นคงในการทางาน มี
คา่ เฉล่ียอยู่ระดับ 2.82 ดา้ นการวางแผนการเงินโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ซง่ึ การปรับโครงสร้าง
องค์กร จะต้องทาให้กาหนดวงเงินใช้จา่ ยในการอุปโภคบรโิ ภค เกดิ ความต้องการให้สหกรณ์ช่วยเหลือ
ในด้านการเงิน การวางแผนในการหารายได้ให้พียงพอต่อรายจ่ายที่มี และเหลือเพียงพอต่อการเก็บ
ออมมคี ่าเฉลยี่ อยูร่ ะดบั 3.28

109

ผลการทดสอบสมมตฐิ าน
จากการทดสอบสมมตฐิ านขอ้ ที่ 1 พบวา่ ปจั จัยด้านประชากรศาสตร์ ดา้ นเพศทแ่ี ตกต่างกัน

มผี ลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯจากการปรับโครงสรา้ งองค์กร ด้านประสทิ ธภิ าพ
การทางาน ดา้ นความสมั พนั ธค์ รอบครวั และด้านการชาระหนี้และความม่นั คง อย่างมีระดบั นัยสาคัญ
ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.05

ด้านอายุที่แตกต่างกัน มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับ
โครงสรา้ งองคก์ ร ด้านการวางแผนการเงนิ อย่างมรี ะดับนยั สาคัญทางสถติ ิที่ระดบั 0.05

ดา้ นสถานภาพที่แตกต่างกัน มผี ลตอ่ คณุ ภาพชีวติ การทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการ
ปรับโครงสร้างองค์กร ด้านความสัมพันธ์ครอบครัว ด้านการชาระหนี้และความมั่นคง และด้านการ
วางแผนการเงิน อย่างมีระดับนยั สาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.05

ด้านประสบการณ์ทางานท่ีแตกต่างกัน มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิก
สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ดา้ นประสทิ ธิภาพการทางาน ด้านรายได้ และดา้ นการชาระ
หนแ้ี ละความมนั่ คง อยา่ งมรี ะดับนยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั 0.05

ด้านรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ
จากการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านความสัมพันธ์ครอบครัว ด้านรายได้ ด้านการชาระหน้ีและความ
มน่ั คง และดา้ นการวางแผนการเงิน อย่างมรี ะดับนัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ 0.05

ด้านรายไดพ้ ิเศษโดยเฉล่ยี ต่อเดือนทแ่ี ตกตา่ งกัน มผี ลต่อคณุ ภาพชวี ิตการทางานของสมาชิก
สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านรายได้ และด้านการวางแผนการเงิน อย่างมีระดับ
นัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั 0.05

ด้านรายจา่ ยเฉลี่ยต่อเดือนทแ่ี ตกตา่ งกนั มผี ลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชกิ สหกรณ์
ออมทรัพย์พนักงานกู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) จากัด จากการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านความสัมพันธ์
ครอบครวั อย่างมรี ะดบั นยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.05

แต่ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ด้านระดับการศึกษา ด้านจานวนสมาชิกในครอบครัว และ
ด้านแผนก/สังกัดงาน ไมม่ ีผลต่อคุณภาพชีวติ การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้าง
องค์กร

จากการทดสอบสมมติฐานข้อที่ 2 พบว่า ปัจจยั การปรับโครงสร้างองค์กร ด้านกลยุทธ์ ด้าน
ขนาดขององค์กร ท่ีต่างกัน มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกฯ จากการปรับโครงสร้าง
องค์กร ด้านประสิทธิภาพการทางาน ด้านความสัมพันธ์ครอบครัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านรายได้
และด้านการชาระหนี้และความม่ันคง และปจั จัยการปรับโครงสรา้ งองค์กร ด้านขนาดขององคม์ ีผลต่อ
คณุ ภาพชวี ิตการทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสรา้ งองคก์ ร ด้านการวางแผนการเงิน

110

นอกจากนป้ี ัจจยั การปรับโครงสร้างองคก์ รสภาพแวดลอ้ ม มีผลต่อคณุ ภาพชีวติ การทางานของสมาชิก
สหกรณ์ฯ จากการปรับโครงสร้างองค์กรด้านสุขภาพรา่ งกาย อย่างมีระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
0.05

การอภปิ รายผลการผลการวิจยั
จากการศึกษาเร่ือง ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการ

ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ผลการศึกษาในภาพรวม พบว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีความแตกตา่ งทาง
สถานภาพ มีความสัมพันธ์กับผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการ
ทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ โดยภาพรวม และพบว่าจานวนสมาชิกในครอบครัว มีความสัมพันธ์กับ
ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ โดย
ภาพรวมด้วย ผู้วิจัยจึงตั้งข้อสังเกตว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีความแตกต่างทางสถานภาพ ต่างก็มี
ความรูส้ ึกไม่มน่ั คง และเปน็ กังวลในการปรับตวั ให้เขา้ กบั การปรบั โครงสร้างองค์กรทมี่ ีการปรับเปลยี่ น
กระบวนการทางานใหม่ และในขณะเดยี วกันสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีความแตกต่างดา้ นจานวนสมาชกิ ใน
ครอบครัว ต่างก็ต้องปรับตวั ในการทางานให้สอดรบั กบั กระบวนการทางานใหม่เพอื่ ให้สามารถทางาน
อยใู่ นองคก์ รได้ต่อไป เม่ือพิจารณารายละเอยี ดในแต่ละดา้ น อธบิ ายไดด้ งั ตอ่ ไปนี้

ด้านประสิทธิภาพการทางาน พบว่า การปรับโครงสร้างองค์กร มีผลกระทบต่อสมาชิก
สหกรณ์ฯ ท่ีมี เพศ และประสบการณ์ทางานแตกต่างกัน อาจเป็นเพราะส่วนใหญ่มีความคิดว่าการ
ปรับโครงสร้างองค์กรใหม่อาจมีการรับพนักงานใหม่เข้ามาช่วยทางานมากข้ึน ทาให้การทางานมี
ประสิทธภิ าพสงู ขึน้ ดว้ ย

โดยสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีประสบการณ์ทางาน 26 - 30 ปี มีความคิดเห็นต่อผลกระทบจาก
การปรับโครงสร้างองค์กร ด้านประสิทธิภาพการทางาน แตกต่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มี
ประสบการณ์ทางาน 11 - 15 ปี และสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีประสบการณ์ทางานตั้งแต่ 30 ปีข้ึนไป
อาจเป็นเพราะ สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีประสบการณ์ทางาน 26 - 30 ปี ต้องการความก้าวหน้าใน
ตาแหน่งงานที่ตนปฏิบัติ จึงมีความกังวลในเร่ืองความก้าวหน้า หากบริษัทฯ มีการปรับโครงสร้าง
องค์กรให้มีขนาดเล็กลงจากเดิม ส่วนพนักงานที่มีประสบการณ์ทางาน 11 - 15 ปี อาจต้องการ
ประสบการณ์ทางานท่ีสงู ข้ึน จึงรู้สึกกังวลต่อการเปล่ียนแปลงบทบาทการปฏิบัติงานและภาระความ
รับผิดชอบที่มีอยู่เดิม หากการปรับโครงสร้างองค์กรมีการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน
กระบวนการทางาน สาหรับพนักงานท่ีมีประสบการณ์ 26 - 30 ปี อาจรู้สึกกังวลต่อการปรับตัวและ
พัฒนาตนเองให้สอดรบั กบั การปรบั โครงสร้างองค์กรที่มกี ารปรบั เปลี่ยนกระบวนการทางานใหม่

111

กลยุทธ์หรือนโยบายเป็นสิ่งสาคัญท่ีองค์กรต้องมีเป้าหมายท่ีชัดเจน มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล
ตลอดจนมีทิศทางเดินไปสู่จุดหมายให้เห็น เม่ือมีเป้าหมายท่ีชัดเจนแล้วย่อมต้องมีนโยบายธุรกิจ
ตลอดจนนโยบายองค์กรทอี่ อกมาเปน็ แนวทางปฎิบตั ิงานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพดว้ ย

การปรับโครงสร้างองค์กรด้านกลยุทธ์หรือนโยบายจะส่งผลให้กระบวนการทางานต่าง ๆ
ขององค์กรดาเนินไปด้วยความมีประสิทธิภาพที่ดีย่ิงขึ้น มีความคล่องตัวในการทาธุรกิจ รวมถึง
สามารถลดขนั้ กระบวนการในการทางาน ซึ่งช่วยลดต้นทุน และลดรายจ่ายที่ไม่จาเป็นขององค์กรลง
ได้ ทาให้องค์กรสามารถแข่งขันทางธุรกิจได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ทาให้บริษัทฯ สามารถปรบั ตวั ใหท้ ัน
กับสภาพแวดล้อมท่ีเปลีย่ นแปลงไป โดยการปรบั ลดและปรับปรุงหน่วยงานทไ่ี มท่ ากาไร และการควบ
รวมหนว่ ยงานทม่ี คี วามซา้ ซ้อนเข้าด้วยกัน ช่วยให้กระบวนการทางานดาเนนิ ไปไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
สูงสุดและชว่ ยให้องค์กรสามารถทากาไรได้ในอนาคต (ธาดา รัชกิจ, 2562)

นอกจากน้ีการปรบั โครงสร้างองคก์ รด้านขนาดองค์กร มผี ลด้านประสิทธิภาพการทางาน ซึ่ง
องค์กรมีขนาดใหญ่ขึ้นเท่าไร จานวนคนก็ยิ่งมากมายขึ้นเท่านั้น จะไม่มีการแบ่งการทางาน โดยการ
ปรับลดขนาดองค์การให้เล็กลงเพ่ือให้เกิดการทางานที่มีประสิทธภิ าพมากขึ้น สอดคล้องกับ เกษวลี
สังขทิพย์ (2556) ได้พบว่า การปรับโครงสร้างองคก์ รด้านขนาดองค์กร มีผลต่อการปฏิบตั ิงานการเงิน
และการบัญชีขององค์กรอิสระในด้านความถูกตอ้ งในการทางาน ทาใหง้ านมคี วามเช่อื ม่ันและคณุ ภาพ
มากขึน้

ดังน้นั บริษัทฯ จงึ ควรมีการสือ่ สารกลยทุ ธ์ หรือนโยบายการปรับโครงสร้างองค์กรใหส้ มาชิก
สหกรณ์ฯ ได้รับรู้ข้อมูลท่ีถูกต้อง เนื่องจากการปรับโครงสร้างองค์กรจะมีการบริหารจัดการวิธีการ
ทางานใหม่เพื่อลดความซับซ้อนในการทางานให้รวดเร็วย่ิงขึ้น และควรลดขนาดขององค์กร ซึ่งไม่ได้
หมายความว่าจะเป็นการลดคนงาน แต่รวมถึงลดงานต่าง ๆ และตัดหน้าที่การปฏิบัติงานบางอย่าง
ออกไป ธุรกจิ อาจจะต้องซื้อเคร่ืองมือเครื่องใช้มาทดแทนพนักงานที่ถูกตัดออกไป คอื การนาเครื่องจักร
เข้ามาใช้แทนแรงงานคน หรือนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการทางานเพื่อความถูกต้องแม่นยา
ของข้อมูล ซึ่งนาไปใช้ประโยชน์การตัดสินใจบริหารงานของผู้บริหารระดับสูง นอกจากนี้ ผู้บริหาร
ระดบั สูงควรมีนโยบายการวางแผนเตรยี มความพรอ้ มพนักงานให้มีทักษะ และความสามารถในสายงาน
ท่ตี ้องถูกโยกย้าย ซ่ึงถือเป็นเร่ืองที่สาคัญที่ต้องดาเนินการก่อนปรบั เปลี่ยนโครงสร้างองค์กร เพ่ือให้การ
ปรับโครงสรา้ งองค์กรสามารถเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการทางานไดอ้ ย่างแท้จรงิ

ด้านความสัมพันธ์ครอบครัว พบว่า การปรับโครงสร้างองค์กร มีผลกระทบต่อสมาชิก
สหกรณ์ฯ ที่มีความแตกต่างทางเพศ โดยมีผลกระทบในด้านความสัมพันธ์ครอบครัว อาจเป็นเพราะ
รู้สึกขาดความม่ันคงในการทางาน และคิดว่าหากองค์กรมีการปรับเปลี่ยนนโยบายหรือขนาดองค์กร
โดยการโยกย้ายพนักงานหรือมีการลดจานวนพนักงานลงจะส่งผลให้มีปริมาณงานเพ่ิมมากยิ่งขึ้น
และทาให้ความสมั พันธใื นครอบครวั ด้านการมเี วลาให้กบั ครอบครวั นอ้ ยลง

112

และพบอีกว่า การปรบั โครงสร้างองคก์ ร มีผลกระทบต่อสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมคี วามแตกต่าง
ทางเพศ สถานภาพและรายได้ต่อเดือน กล่าวคอื สมาชิกสหกรณฯ์ ทเ่ี พศ แตกต่าง อาจรู้สึกขาดความ
มน่ั คงในการทางาน และคิดวา่ หากมกี ารปรบั เปลี่ยนโยกย้ายพนกั งานหรอื มกี ารลดจานวนพนกั งานลง
จะส่งผลใหม้ ีปรมิ าณงานเพิ่มมากยง่ิ ขึน้ ทาให้มเี วลาให้กบั ครอบครวั น้อยลง

ส่วนสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีความแตกต่างด้านสถานภาพ พบว่า สถานภาพสมรส มีความ
คิดเห็นต่อผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองคก์ ร ด้านความสมั พนั ธ์ครอบครัว แตกต่างจากสมาชิก
สหกรณ์ฯ ที่มีสถานภาพหม้าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่ อาจเป็นเพราะสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีสถานภาพ
สมรส อาจร้สู ึกขาดความม่นั คงในหน้าทกี่ ารทางาน และกลัวผลกระทบจากการลดจานวนพนักงานลง
ทาให้พนักงานต้องเตรียมความพร้อมด้านการเงินในยามไม่มีงานทา ในขณะที่สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมี
สถานภาพหม้าย/หย่ารา้ ง/แยกกันอยู่ อาจมีความรู้สึกเครียด หากต้องตกงานและไม่มรี ายได้จากการ
ทางาน

ในขณะท่ีสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้ต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท มีความคิดเห็นต่อ
ผลกระทบจากการปรบั โครงสร้างองค์กรด้านความสมั พันธ์ครอบครวั แตกต่างจากสมาชิกสหกรณฯ์ ท่ี
มรี ายได้ต่อเดือน 10,001 - 20,000 บาท และสมาชกิ สหกรณ์ฯ ที่มรี ายได้ต่อเดือน 30,001 - 40,000
บาท อาจเป็นเพราะ สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้ต่อเดือน 20,001-30,000 บาท ส่วนใหญ่อยู่ในช่วง
อายุท่ีมีความมุ่งม่ันในการทางานเพื่อความก้าวหน้าท่ีม่ันคง จึงพร้อมท่ีจะปรับตัวและพัฒนาตนเอง
เพอื่ รองรับการปรับโครงสร้างองคก์ รให้ตนเองเติบโตในตาแหน่งงาน สว่ นสมาชิกสหกรณฯ์ ที่มีรายได้
ต่อเดือน 10,001 - 20,000 บาท ก็มีความพรอ้ มท่ีจะพัฒนาตนเองและเรียนรู้งานใหม่ ๆ เพื่อส่ังสม
ประสบการณ์ให้สูงข้ึน สาหรับสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีรายได้ต่อเดือน 30,001 - 40,000 บาท อาจมี
ความกงั วลในเรื่องของเวลาทีม่ ใี ห้กับครอบครวั น้อยลง เพราะต้องใช้เวลาในการทางานหนักในชว่ งการ
ปรบั โครงสร้างองค์กร แต่อาจทาให้ผลประกอบการท่ีดีมกี าไรมากข้ึน บริษัทฯ กจ็ า่ ยผลตอบแทน เช่น
โบนสั การปรับข้ึนเงินเดือน หรือสวสั ดิการ ให้แกพ่ นักงานไดม้ ากขึ้น สง่ ผลใหค้ รอบครัวของพนักงาน
มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีความสัมพันธ์ภายในครอบครัวท่ีดีขึ้นด้วย ดังนั้น บริษัทฯ จึงควรมีการให้
ข้อมลู ขา่ วสารท่ีเกี่ยวกับการปรบั โครงสรา้ งองคก์ รฯ ใหม้ ีความชดั เจนเพอื่ ให้รู้สึกมั่นใจ ลดความสบั สน
และมกี ารเตรยี มความพร้อมรับมือกบั การเปลยี่ นแปลงท่จี ะเกดิ ขนึ้ ในองคก์ รได้อยา่ งชดั เจน

ด้านสุขภาพร่างกาย พบว่าจานวนสมาชิกในครอบครัว มีความสัมพันธ์กับผลกระทบจาก
การปรับโครงสรา้ งองคก์ รท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ ด้านสขุ ภาพร่างกาย
กล่าวคือ สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีจานวนสมาชิกในครอบครัวต่างกัน เห็นว่าการปรับโครงสร้างองค์กร
ด้านกลยทุ ธ์และดา้ นขนาดองค์กรจะชว่ ยให้กระบวนการทางานมคี วามสะดวกรวดเร็วถูกต้องแม่นยา
ซ่ึงจะทาให้พนักงานมีเวลาในการเอาใจใส่สุขภาพของตนเองมากข้ึนด้วย อีกท้ังสภาพแวดล้อมและ
บรรยากาศในการทางาน เปน็ ปัจจัยด้านสุขภาพทั้งร่างกายและจติ ใจท่สี ่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กร

113

ในระดับสูง (สุชน ทิพย์ทิพากร และประสพชัย พสุนนท์, 2560) ดังนั้น บริษัทฯ ควรมีนโยบายท่ี
ชัดเจนเก่ียวกับนโยบายด้านพนักงาน และต้องคานึงถึงผลกระทบต่อพนักงานท่ีอาจเกิดการสูญเสีย
บุคลากรที่มคี วามสาคญั ดว้ ยการลาออกด้วยการวางแผนทดแทนตาแหนง่ งานมารองรับ

ด้านการชาระหนแ้ี ละความมั่นคง พบวา่ การปรับโครงสรา้ งองคก์ ร มีผลกระทบต่อสมาชิก
สหกรณ์ฯ ที่มีความแตกต่างทางเพศ สถานภาพประสบการณ์ทางานและรายได้ต่อเดือนโดยมี
ผลกระทบใน ด้านการชาระหน้ีและความม่ันคง กล่าวคือ สมาชิกสหกรณ์ฯ ไม่ว่าจะเป็นเพศชายและ
เพศหญิง ต่างก็รู้สึกขาดความมั่นคงในการทางาน ถ้าองค์กรมีกลยุทธ์ หรือนโยบายในการลดขนาด
องค์กร เพราะคดิ วา่ หากตนเองถกู ปลดออกจากการเป็นพนักงานตามนโยบายของบริษัทฯ ทาให้รู้สึก
สับสนและกังวลเก่ียวกับรายได้ของตนเอง ในขณะที่สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีสถานภาพสมรส มีความ
คิดเห็นต่อผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กร ด้านการชาระหน้ีและความม่ันคง แตกต่างจาก
สมาชกิ ที่มีสถานภาพหมา้ ย/หย่าร้าง/แยกกนั อยู่ อาจเป็นเพราะสมาชกิ สหกรณ์ฯ ท่ีมีสถานภาพสมรส
ซ่ึงเป็นช่วงอายุที่ต้องสร้างฐานะทางครอบครัวให้ม่ันคง จึงกังวลต่อการปรับโครงสร้างองค์กร
หากเกิดผลกระทบจากการลดพนกั งานตามโครงสร้างใหม่ และมีความกงั วลหากไม่มีรายได้นาไปชาระ
หน้ี ในขณะทสี่ มาชกิ สหกรณฯ์ ท่ีมสี ถานภาพหม้าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่ อาจมีความกังวล หากตนเอง
ต้องตกงานไมม่ ีงานทา และไม่มีรายได้นาไปชาระหนี้ (ฤทัยรัตน์ ดวงชืน่ , 2558)

สว่ นสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมปี ระสบการณ์ทางาน 11 - 15 ปี มคี วามคดิ เห็นตอ่ ผลกระทบจาก
การปรับโครงสร้าง ด้านการชาระหน้ีและความมั่นคง แตกต่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีประสบการณ์
ทางาน 16 - 20 ปี สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีประสบการณ์ทางาน 21 - 25 ปี และสมาชิกสหกรณ์ฯ
ท่ีมีประสบการณ์ทางาน 26 - 30 ปีอาจเป็นเพราะ สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีประสบการณ์ทางานน้อยกว่า
ยังตอ้ งการเรยี นรู้การทางานเพอ่ื ส่ังสมประสบการณ์ให้สูงขึ้น และมีศักยภาพทจ่ี ะเปล่ียนงานใหม่ได้ไม่
ยาก และมีโอกาสที่จะได้รับเงินเดือนท่ีสูงกว่า จึงมีความกังวลในเรื่องการชาระหน้ีและความม่ันคง
น้อยกว่า ส่วนพนักงานท่ีมีประสบการณ์ทางานมากกว่า อาจมีความกังวลในเรื่องการปรับตัว
และเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองใหส้ อดรับกบั การปรับเปล่ยี นกระบวนการทางานใหม่ และอาจมคี วามคิด
วา่ หากตนเองไม่สามารถปรับตวั ให้เขา้ กับกระบวนการทางานใหม่ ก็อาจถกู ปลดจากพนักงานซ่งึ สง่ ผล
กระทบต่อรายได้

นอกจากนี้สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้ต่อเดือน 50,001 บาทขึ้นไป มีความคิดเห็นต่อ
ผลกระทบจากการปรับโครงสร้าง ด้านการชาระหนี้และความม่ันคง แตกต่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ
ท่ีมีรายได้ต่อเดือน 10,001 - 20,000 บาท สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีรายได้ต่อเดือน 20,001 - 30,000
บาท และสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีรายได้ต่อเดือน 30,001 - 40,000 บาท อาจเป็นเพราะ สมาชิก
สหกรณ์ฯ ที่มีรายได้ต่อเดือนมากกว่าส่วนใหญ่จะมีอายุงานมากกวา่ และอาจมีอายุค่อนข้างมากด้วย

114

จึงอาจมีความคุน้ เคยกับการทางานวธิ ีการแบบเดิม ๆ และคดิ วา่ ตนเองอาจปรับตัวในการทางานแบบ
ใหม่ได้ยาก จงึ วางแผนทจี่ ะเกษยี ณอายุงานกอ่ นกาหนดและมกี ารวางแผนการชาระหน้ี

ส่วนสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้ต่อเดือนน้อยกว่า อาจการวางแผนเตรียมความพร้อมใน
การเพ่ิมพูนทักษะและความสามารถในสายงานท่ีตนเองอาจถูกโยกย้าย เพื่อพัฒนาตัวเองให้มี
ความสามารถรองรับการปรับเปลี่ยนในตาแหน่งหน้าท่ีการงาน นอกจากนี้ยังพบอีกว่า ปัจจัย
สถานภาพ และรายได้พิเศษโดยเฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับผลกระทบจากการปรับโครงสร้าง
องค์กรท่ีมผี ลต่อคณุ ภาพชวี ติ การทางานของสมาชกิ สหกรณ์ฯ ด้านการชาระหน้แี ละความมนั่ คง

กล่าวคือ สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีสถานภาพต่าง ๆ มีความเห็นว่า การปรับโครงสร้างองค์กร
ช่วยให้บริษัทฯ สามารถแข่งขันทางธรุ กิจได้เป็นอยา่ งดี และช่วยให้บริษัทฯ มีโอกาสในธุรกิจที่จะทา
กาไรได้มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้พนักงานได้รับผลตอบแทนเพิ่มขึ้นสามารถชาระหน้ีสินได้และรู้สึกถึง
ความมั่นคงขึ้นด้วย และพบวา่ สมาชกิ สหกรณฯ์ ท่ีมีรายไดพ้ ิเศษโดยเฉล่ียต่อเดอื นต่างกัน มคี วามเห็น
ว่าการปรับโครงสร้างองค์กร ทาให้บริษัทฯ เติบโตและสามารถทาผลกาไรได้ในระยะยาว จึงทาให้
พนักงานมีรายได้พเิ ศษเพม่ิ มากขึ้นจากการทางานล่วงเวลาหรือผลตอบแทนพิเศษทท่ี างบริษทั ฯ จ่าย
ใหแ้ ก่พนกั งาน ส่งผลให้พนักงานรู้สกึ ถึงความมง่ั คงในชวี ติ มากขนึ้

ดังนั้น บริษัทฯ จึงควรส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์ฯ มีส่วนร่วมไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะ
เกิดข้ึนในการปรับโครงสร้างองค์กร ท้ังการเปิดโอกาสให้สมาชิกสหกรณ์ฯ ได้แสดงความคิดเห็น
นาเสนอทางออกจากผลกระทบที่ได้รับ ตลอดจนการพัฒนาตัวเองให้มีความสามารถรองรับการ
ปรับเปลี่ยนในตาแหน่งหน้าท่ีการงาน และบริษัทฯ ควรมีนโยบายวางแผนเตรียมความพร้อมแก่
สมาชิกสหกรณ์ฯ ให้มีทักษะ และความสามารถในสายงานที่ต้องถูกโยกย้าย จึงเป็นเรื่องท่ีผู้บริหาร
ต้องดาเนนิ การก่อนปรบั เปล่ยี นโครงสรา้ งองค์กร

ด้านรายได้ พบว่า การปรับโครงสร้างองค์กร มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตการทางาน
สมาชกิ สหกรณ์ฯ ที่มคี วามแตกต่างทางประสบการณท์ างาน รายไดต้ ่อเดือนและรายไดพ้ ิเศษโดยเฉล่ีย
ต่อเดือน โดยเฉพาะการปรับโครงสร้างองค์กรด้านนโยบายท่ีมีการลดขนาดองค์ให้เล็กลง ซึ่งย่อม
หมายถึงจะมีพนักงานจานวนหน่ึงต้องได้รับผลกระทบโดยตรง ทเี่ ห็นชัดเจนคือ ดา้ นรายได้ อาจเป็น
เพราะสมาชิกสหกรณฯ์ ทมี่ ีประสบการณ์ทางาน 26 - 30 ปี มีความคิดเห็นต่อผลกระทบจากการปรับ
โครงสร้างด้านรายได้ แตกต่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีประสบการณ์ทางาน 11 - 15 ปี และสมาชิก
สหกรณ์ฯ ท่ีมีประสบการณ์ทางาน 21 - 25 ปี อาจเป็นเพราะ สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีประสบการณ์
ทางาน 26 - 30 ปี ต้องการความก้าวหน้าในตาแหน่งงานท่ีตนปฏิบัติ จึงมีความกังวลในเรื่อง
ความก้าวหน้า หากบรษิ ัทฯ มีการปรับโครงสร้างองค์กรให้มีขนาดเล็กลง แต่มีภาระหน้าท่ีรับผิดชอบ
เพิม่ มากขึ้นไมส่ มั พนั ธ์กันรายได้ทีไ่ ดร้ ับ

115

ส่วนพนักงานที่มีประสบการณ์ทางาน 11 - 15 ปี และพนกั งานที่มีประสบการณ์ 21 - 25
ปี ยังคงต้องการประสบการณ์ทางานท่ีสูงข้ึน เพ่ือเติบโตในหน้าที่การงาน ทาให้บางส่วนต้องปรับตัว
และพัฒนาตนเองใหส้ อดรับกบั การปรับเปลยี่ นกระบวนการทางานใหมต่ ่อไป แต่บางคนอาจกังวลต่อ
การถูกปลดพนกั งานซึ่งจะสง่ ผลกระทบต่อรายได้

ในขณะที่สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีรายได้ต่อเดือนต่ากว่า 10,000 บาท มีความคิดเห็นต่อ
ผลกระทบจากการปรับโครงสร้าง ด้านรายได้ แตกต่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีรายได้ต่อเดือน
10,001 - 20,000 บาท สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้ต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท สมาชิก
สหกรณ์ฯ ที่มีรายได้ต่อเดือน 30,001 - 40,000 บาท และสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้ต่อเดือน
40,001 - 50,000 บาท

ในขณะเดียวกันก็พบว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้ต่อเดือน 10,001 - 20,000 บาท
มีความคิดเห็นต่อผลกระทบจากการปรับโครงสร้าง ด้านรายได้ แตกต่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ
ทมี่ ีรายได้ต่อเดือน 30,001 - 40,000 บาท อาจเป็นเพราะมีรายได้ต่อเดือนน้อยกวา่ เพิ่งเร่ิมต้นชีวิต
การทางานจึงตอ้ งการทีจ่ ะเรียนรแู้ ละส่ังสมประสบการณท์ างานให้สูงขึน้ จงึ ร้สู ึกมีความกังวลและร้สู ึก
ว่ามีความไม่มั่นคงในงานน้อยกว่าด้วย ส่วนสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีรายได้ต่อเดือนมากกว่า อาจมีความ
กังวลในเรื่องความไม่แน่นอนที่จะต้องปรับตัวจากการเปลี่ยนกระบวนการทางานใหม่ โดยเฉพาะใน
เรอ่ื งการตกงานหรือการปลดพนักงานจากการปรบั โครงสรา้ งองค์กรซ่ึงอาจส่งผลกระทบต่อรายได้ต่อ
เดอื น

และพบว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่ไม่มีรายได้พิเศษโดยเฉล่ียต่อเดือนมีความคิดเห็นต่อ
ผลกระทบจากการปรับโครงสรา้ ง ด้านรายได้ แตกต่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้พิเศษโดยเฉล่ีย
ตอ่ เดอื น 5,000 - 10,000 บาท และสมาชกิ สหกรณ์ฯ ที่มีรายได้พเิ ศษโดยเฉลย่ี ต่อเดอื น 10,000 บาท
ขึ้นไป อาจเป็นเพราะ สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่ไม่มีรายได้พิเศษหรือมีรายได้พิเศษโดยเฉลี่ยต่อเดือนน้อย
กวา่ อาจมคี วามรู้สึกกังวลว่า การปรบั โครงสร้างองค์กรท่ีอาจส่งผลใหอ้ งค์กรมีขนาดเล็กลง จึงต้องลด
จานวนพนักงานเพ่ือลดรายจ่ายขององค์กร และอาจส่งผลกระทบต่อรายได้ที่มีอยู่อาจไม่พอใช้จ่าย
ภายในครอบครัว หรืออาจให้พนกั งานหยดุ งานโดยไม่รับคา่ จ้าง แตไ่ ม่ไล่ออก สว่ นสมาชกิ สหกรณ์ฯ ที่
มีรายได้พิเศษโดยเฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า อาจมีความกังวลท่ีวา่ พนักงานอาจตอ้ งถูกโอนย้ายตาแหน่ง
งานไปทาหนา้ ทท่ี ีม่ ีความรบั ผดิ ชอบสงู ข้นึ

จะเห็นได้ว่าสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีรายได้ต่อเดือนต่างกัน มีความคิดเห็นว่าการปรับ
โครงสร้างองค์กรทาให้บริษัทฯ ควรหันมาให้ความสาคัญกับพนักงานในการส่งเสริมให้พนักงานมี
ทักษะ ความรู้ความสามารถต่าง ๆ ที่จะช่วยในการปรับปรุงกระบวนการทางานให้มีประสิทธิภาพดี
ยิ่งข้ึน และทาให้พนักงานมีประสบการณ์ทางานและทักษะการทางานสูงข้ึน โดยบริษัทฯ มีนโยบาย
รกั ษาบคุ ลากรไว้ให้อยู่กบั องค์กรต่อไป

116

ดังนั้น เพ่ือให้บรษิ ัทฯ สามารถแข่งขันทางธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสรา้ งผลกาไร
ของบริษัทฯ ให้เติบโตในระยะยาวได้ บริษัทฯ จึงควรสร้างแรงจูงใจให้พนักงานด้วยการให้
ผลตอบแทนเพ่มิ ขึ้นให้แกพ่ นักงานเพ่อื เปน็ ขวญั และกาลังใจท่ีดีและมนี โยบายในการรักษาพนักงานให้
ทางานอยูก่ บั องคก์ รต่อไป

ด้านการวางแผนการเงิน พบว่า การปรับโครงสร้างองค์กรด้านขนาดขององค์กร
มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ทมี่ ีความแตกต่างทางสถานภาพ รายได้
ต่อเดือน และรายได้พิเศษโดยเฉล่ียต่อเดือน โดยมีผลกระทบในด้านการวางแผนการเงิน โดยพบว่า
สมาชิกสหกรณฯ์ ท่มี ีสถานภาพสมรส มีความคดิ เห็นต่อผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองคก์ ร ด้าน
การวางแผนการเงิน แตกต่างจากสมาชิกที่มีสถานภาพหม้าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่ อาจเป็นเพราะ
สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีสถานภาพสมรส มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสร้างฐานะความเป็นอยู่ของตนให้ม่ันคง
จึงรู้สึกกังวลกับผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองค์กรที่อาจส่งผลต่อรายได้ ส่วนสมาชิกสหกรณ์ฯ
ท่มี ีสถานภาพหมา้ ย/หย่ารา้ ง/แยกกันอยู่ อาจมคี วามรูส้ กึ ไมม่ ่ันคงหากการปรบั โครงสร้างองค์กรมกี าร
ลดพนักงาน ส่งผลให้สมาชิกสหกรณ์ฯ ต้องตกงานไม่มีรายได้ ซ่ึงเป็นผลกระทบต่อสมาชิกสหกรณ์ฯ
ในเร่ืองขวัญและกาลังใจในการทางาน ดังน้ัน ผู้บริหารจึงต้องมีแผนงานรองรับผลกระทบการปรับ
โครงสรา้ งองค์กร (วศริ ิญา ตังนฤมิตร, 2558)

ในขณะที่สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้ต่อเดือนต่ากว่า 10,000 บาท มีความคิดเห็นต่อ
ผลกระทบจากการปรับโครงสร้าง ด้านการวางแผนการเงิน แตกต่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีรายได้
ต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีรายได้ต่อเดือน 40,001 - 50,000 บาท
และสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้ต่อเดือน 50,000 บาทขึ้นไป อาจเป็นเพราะ สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มี
รายได้ตอ่ เดือนนอ้ ยกว่า อาจเพิ่มเร่ิมชีวติ การทางานทต่ี ้องส่ังสมประสบการณ์การทางานและพรอ้ มที่
จะเรียนรู้งานใหม่ ๆ อีกท้ังยังมภี าระรับผิดชอบด้านการเงินไม่มากนัก จึงเกิดความรู้สึกกังวลต่อการ
ปรับโครงสรา้ งองค์กรและการปรบั เปลี่ยนหน้าท่ีความรับผดิ ชอบไมม่ ากนัก ส่วนสมาชกิ ที่มีรายได้ต่อ
เดือนมากกว่า อาจมีความรู้สึกกังวลต่อการปรับโครงสร้างองค์กรมากกว่า โดยเฉพาะหากมีการ
ปรับเปลี่ยนหน้าที่ความรับผิดชอบในงานและการปรับตัวเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ
ทางานและพบว่า สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่ไม่มีรายได้พิเศษโดยเฉลี่ยตอ่ เดือนมีความคิดเห็นต่อผลกระทบ
จากการปรับโครงสร้าง ด้านการวางแผนการเงิน แตกต่างจากสมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้พิเศษโดย
เฉล่ยี ตอ่ เดือน 5,000 - 10,000 บาท

สมาชิกสหกรณ์ฯ ที่ไม่มีมีรายได้พิเศษ อาจรู้สึกกังวลว่า การปรับโครงสร้างองค์กร
อาจส่งผลกระทบต่อรายได้ของตน จึงต้องวางแผนการใช้จ่ายเงินให้เพียงพอกับการอุปโภคบริโภค
ส่วนสมาชิกสหกรณ์ฯ ที่มีรายได้พิเศษโดยเฉล่ียต่อเดือน 5,000 - 10,000 บาท อาจมีความกังวลว่า
การปรับโครงสร้างองค์กร อาจทาให้บทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบในงานเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งอาจ

117

ส่งผลกระทบกับเวลาในการหารายได้พิเศษนอกจากนี้ยังพบอีกว่า ปัจจัยรายได้พิเศษโดยเฉลี่ยต่อ
เดอื น และรายจา่ ยเฉล่ียต่อเดอื น มีความสัมพนั ธก์ ับผลกระทบจากการปรับโครงสรา้ งองค์กรท่ีมผี ลต่อ
คุณภาพชวี ิตการทางานของสมาชกิ สหกรณฯ์ ดา้ นการวางแผนการเงิน

กล่าวคือ สมาชิกสหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้พิเศษโดยเฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน มีความเห็นว่า การ
ปรับโครงสร้างองค์กร ทาให้บริษัทฯ ปรับปรุงกระบวนการทางานให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่
เปล่ียนแปลงสามารถเพ่ิมส่วนแบ่งการตลาดและการเติบโตทางการตลาด บริษัทฯ จึงต้องมีการ
วางแผนเพื่อเตรียมพร้อมรองรับหรือคาดการณ์เพื่อเตรียมวางแผนไว้ล่วงหน้า และพบว่า สมาชิก
สหกรณ์ฯ ท่ีมีรายได้พิเศษโดยเฉล่ียต่อเดือนต่างกัน มีความเห็นว่า การปรับโครง สร้างองค์กร
ทาให้บริษัทฯ ต้องวางแผนทางการเงิน และการบริหารองค์กรเพ่ือปรับปรุงกระบวนการทางานของ
องค์กรให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลง เพื่อให้สามารถตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้อย่าง
ถกู ต้องเหมาะสมกับการดาเนนิ ธุรกจิ ขององค์กร

ดงั นัน้ ผู้บริหารบริษทั ฯ จาเปน็ ต้องวิเคราะหแ์ ละการวางแผนทางการเงินในด้านปัญหาและ
ผลกระทบในการดาเนินธุรกิจ เช่น ยอดขาย คาส่ังซ้ือสินค้าหรือบรกิ าร รวมถึงกาลงั การผลติ เป็นต้น
ท้ังนี้เพ่ือให้บริษัทฯ สามารถแข่งขันทางธุรกิจได้ ตลอดจนควรมีการร่วมกันวางแผนกับผู้บริหาร
ระดบั สงู เพื่อหาทางออกของปญั หาท่ีอาจเกดิ ขึ้นจากการปรบั โครงสรา้ งองคก์ ร

ขอ้ เสนอแนะสาหรับสหกรณ์ฯ
จากผลการศึกษาผู้วิจยั มีขอ้ เสนอแนะทเ่ี ปน็ ประโยชน์เพื่อเปน็ แนวทางแก้ไขในการปฏิบัติงาน

ของสหกรณฯ์ ดังน้ี
1. การผ่อนผันชาระหนี้ คือการท่ีลูกหนี้และเจ้าหนี้ตกลงประนอมหน้ีกัน เม่ือลูกหนี้เริ่มมี

ปัญหาในการชาระหน้ี แต่ยังพอจะมีหนทางแก้ไข มีการเจรจาและปรึกษาหารือ เพื่อแก้ไขหน้ีท่ีเป็น
ปญั หา โดยดาเนนิ การตามสัญญาเดิมที่มีอยู่ ดว้ ยแนวทางพักชาระหน้แี ละ/หรือการปรบั งวดชาระหนี้
โดยมีแนวทางการลดเงินต้น อาจลดยอดเงินต้นลงในชว่ งแรกแล้วค่อยเพิ่มขึ้นภายหลัง และการปรับ
ลดอัตราดอกเบี้ย อาจลดอตั ราดอกเบ้ยี ลงในช่วงแรกแล้วคอ่ ยเพมิ่ ขึ้นภายหลัง

2. การปรับโครงสร้างหนี้ คือ การขยายระยะเวลาในการชาระหน้ีซ่ึงอาจจะเป็นเจ้าหน้ี
รายใหม่ หรือเจา้ หน้ีรายเดมิ ก็ได้ แต่หนข้ี องลูกหน้ีไม่หมดไป เพียงแต่ยืดระยะเวลาในการผ่อนนานข้ึน
โดยการรวมหน้ีให้เป็นยอดเดียว ท้ังนี้ปจั จัยสาคญั ในการปรบั โครงสรา้ งหน้ี คือ เป็นหนีท้ ่ีมีหลักทรัพย์
เป็นประกันหรือไม่มีหลักทรัพย์เป็นประกัน และมีมูลค่าคุ้มกับหนี้ท่ีเหลือหรือไม่ การปรับโครงสร้าง
จากระยะส้ันเป็นระยะยาว เป็นการปรับระยะเวลาผ่อนชาระให้ยาวขึ้น และปรับงวดชาระหน้ีให้มี
วงเงินน้อยลง เพอื่ แก้ปัญหาความสามารถในการชาระหนี้

118

3. การจัดทนุ สวสั ดิการ และจดั ตั้งกองทนุ เพือ่ ช่วยเหลือสมาชิก ทาให้สมาชกิ มคี วามภูมใิ จที่
ได้เป็นสมาชิกสหกรณ์ควรมีการจัดสวัสดิการต่าง ๆ ให้แก่สมาชิกสหกรณ์ ได้แก่ค่ารักษาพยาบาล
ทุนการศึกษาบุตรสมาชิก การคัดเลือกสมาชิกดีเด่นไปศึกษาดูงาน การตรวจสุขภาพประจาปีการให้
ของขวัญบุตรสมาชกิ แรกเกิด การให้บริการอุปกรณเ์ ครื่องใช้ในการจัดงานต่าง ๆ และการประกนั ภัย
ประกนั อบุ ัติเหตุเป็นตน้

4. การส่งเสริมดา้ นอื่น ๆ ดงั นี้
- ส่งเสรมิ ให้สมาชกิ นารายไดจ้ ากเงินปันผล เงนิ เฉลี่ยคนื ฝากไว้ในสหกรณแ์ ลว้ คอ่ ยทยอย

ถอนไปใชจ้ า่ ยยามจาเป็น
- ใหข้ องขวัญ หรอื ของรางวลั แก่สมาชิก
- สง่ เสริมใหม้ ีการเช่ือมโยงธุรกจิ ระหว่างสหกรณ์ใหม้ ากขึ้น

ข้อเสนอแนะสาหรับบริษทั ฯ
จากผลการศกึ ษาผู้วิจยั มีขอ้ เสนอแนะท่ีเปน็ ประโยชน์เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา แก้ไข

วางแผนนโยบายสาหรบั การบรหิ ารงานของบริษัทฯ ดงั นี้
1. จากผลการศึกษาพบว่าพนักงาน ต้องการได้รบั ข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายท่ีชัดเจนเก่ียวกับ

การปรับโครงสร้างองค์กร ทาให้มีความเข้าใจท่ีถูกต้อง และสามารถปฏิบัติงานได้สอดคล้องกับ
นโยบายขององคก์ รอันจะเป็นประโยชน์ตอ่ องคก์ รมากข้นึ และทาให้รู้สึกผูกพันกบั องค์กรมากขึ้นดว้ ย

2. จากผลการศึกษาพบว่าองค์กรควรเปิดโอกาสให้พนักงาน ได้แสดงความคิดเห็นและ
ขอ้ เสนอแนะต่อการปรบั โครงสรา้ งองค์กรอย่างท่ัวถงึ ซงึ่ จะทาใหร้ ู้สกึ ว่าตนเองมคี ุณคา่ และมสี ว่ นร่วม
รับผดิ ชอบการดาเนินการขององคก์ รในการปรับโครงสรา้ งองค์กรคร้งั นี้

3. จากผลการศึกษาการปรับโครงสร้างองค์กรส่งผลให้พนักงาน ต้องทุ่มเทปฏิบัติงานให้
บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ จึงทาให้เกิดความเครียดหรือความอ่อนล้าจากการทางาน
หนกั จึงควรส่งเสริมใหม้ กี ารดูแลรกั ษาสุขภาพร่างกายให้มคี วามแข็งแรงอยู่เสมอ

4. จากผลการศึกษาพบว่าเนื่องจากการปรับโครงสร้างองค์กรส่งผลกระทบต่อการ
เปล่ียนแปลงองค์กรและส่งผลกระทบต่อพนักงานโดยตรง จึงควรมีการชี้แจงให้ทราบว่าต้องปรบั ตัว
อยา่ งไรให้เข้ากบั โครงสรา้ ง และการทางานในรูปแบบใหมเ่ พื่อให้การปฏิบตั งิ านกบั องค์กรใหม่ได้อย่าง
มปี ระสิทธิภาพ

5. ผู้บริหารควรจัดหาพนักงานท่ีมีความรู้ความสามารถเข้ามาทางานในตาแหน่งงานท่ีว่าง
กอ่ นเพ่ือเป็นการสารวจอัตราพนักงานให้สอดคล้องกบั โครงสร้างองค์กร ก่อนรับพนักงานใหม่เข้ามา
ทางาน

119

6. ผู้บริหารองค์กรควรแสดงให้พนักงานรับรู้ทิศทางการปรับโครงสร้างองค์กรที่ชัดเจน
เพื่อให้บุคลากรเข้าใจ และร่วมดาเนินการให้ถึงเป้าหมายขององค์กรและเกิดเป็นความภาคภูมิใจใน
ฐานะเป็นสว่ นหน่งึ ขององคก์ ร

7. ผู้บริหารองค์กรควรพัฒนากระบวนการทางานโดยให้พนักงานมีการวิเคราะห์ และ
รวบรวมองค์ความรู้ร่วมกันระหว่างหน่วยงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพอื่ นาองคค์ วามรู้ท่ีสาคัญ
มาต่อยอดพัฒนางาน

8. ควรมีการกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานในทุกกระบวนการทางานเพื่อให้หน่วยงาน
ภายในองค์กรสามารถนาไปปรบั ใช้ได้ใหเ้ ป็นไปในทิศทางเดยี วกัน

ข้อเสนอแนะในการศึกษาคร้งั ตอ่ ไป
ในการศึกษาในครั้งตอ่ ไปควรศกึ ษาองค์ประกอบ “ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างองคก์ ร
ท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานกู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย)
จากัด" ในด้านอื่น ๆ ท่ียังไม่ได้นามาศึกษาในคร้ังน้ี เพื่อศึกษาเพ่ิมเติมว่ามีผลกระทบใดอีกบ้างท่ีเกิด
จากการปรับโครงสร้างองค์กรท่ีมผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ การทางานของสมาชิกสหกรณ์ฯ ทั้งในมุมมองของ
สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ และในมุมมองของผู้บรหิ ารองค์กร เพื่อนาไปสู่การพัฒนาการปฏบิ ัติงาน
ของพนกั งานหรือสมาชิกสหกรณ์ฯ ใหด้ าเนนิ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธิผลมากย่ิงข้นึ

120

บรรณานุกรม

กานต์ สินธวานนธ์ . (2547). ความคิดเห็นของพนักงานท่ีมีต่อการปรับโครงสร้างองค์กร กรณีศกึ ษา
บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตปริญญาศิลปศาสตร์
(รฐั ศาสตร)์ . มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

กิตติ กง่ิ ไทร และกฤษณา ไวสารวจ. (2560). การปรับโครงสร้างการบริหาร บริษทั การบินไทย จากัด
(ม ห า ช น ). วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ม ห า บั ณ ฑิ ต ป ริ ญ ญ า ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ (รั ฐ ศ า ส ต ร์ ).
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เกษวลี สังข์ทิพย์. .(2556). การปรับโครงสร้างองค์กรที่มีผลต่อการปฏิบัติงานการเงินและการบัญชี
ขององค์กรอิสระ. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการบัญชี
คณะบรหิ ารธรุ กิจ. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ .ี

สุรีย์พร คละสกุล. (2546). ทศั นคติของพนักงานบรษิ ัท ทศท. คอรป์ อเรช่ัน จากัด (มาหาชน) ในการ
ปรับโครงสร้างองค์กรเป็นบริษัทจากัด (มหาชน). การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการบญั ชี. มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.
สถาบันพลาสติก (2561). บทวิเคราะห์เรื่อง ทิศทางอุตสาหกรรมยางล้อของไทย. โครงการ

พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู เชงิ ลึกอุตสาหกรรมผลิตภัณฑย์ างและไม้ยางพารา.
ธนาคารแห่งประเทศไทย (2561). รายงานภาวะเศรษฐกิจไทย ปี 2561.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สาหรับการวิจัย (พิมพ์คร้ังที่ 3). กรุงเทพฯ:

สานกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
ปุระชยั เป่ยี มสมบูรณ์ และสมชาติ สว่างเนตร. (2535). การวิเคราะห์เส้นโยงด้วยลิสเรล: สถิติสาหรับ

นักวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคมและพฤติกรรม. กรุงเทพฯ: สถาบัน-บัณฑิตพัฒนบริหาร
ศาสตร.์
สชุ าติ ประสิทธ์ิรฐั สินธุ์, กรรณิการ์ สุขเกษม, โศภิต ผ่องเสรี และถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์. (2549).
แบบจาลองสมการโครงสร้าง: การใช้โปรแกรม LISREL, PRELIS และ SIMPLIS. กรุงเทพฯ:
สานักพมิ พ์สามลดา.
สภุ มาศ อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา และรชั นีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2548). เอกสารประกอบการ
อบรมการใช้โปรแกรมลิสเรล: โปรแกรมทางสถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และ
สงั คมศาสตร์ รุ่นที่ 6. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.

121

Barnard I. Chester. (1938). Function of Executive. Cambridge, Mass: Harvard University
Press.

Cronbach, L. J. (1978). Essentials of psychological testing.(4th ed). New York : Harper
& Row.

David, Fred R. (1997). Strategic Management.(6th ed). New Jersey : Pearson Prentice-
Hall.

Edwin A. Gerlof. (1981). Public organization behavior and development. Cambridge,
MA: Winthrop.

Fink, Stephen. (1984). Administrative knowledge and skills of special education
Administrators in the State of Indaho, Brigham Young University. New York:
Mcgraw-Hill.

Herbert, Hick G. (1972). The Management of Organzatio: A Systems and Humann
Resources Approach. 12nd ed. New York: Appletion-Century-Crofts.

John M. Pfifner and Frank P. Sherwood. (1937). The Theory and Management of
Systems. 3rd. Ed. New York: McGraw–Hill Book Company.

Katz, D., & Kahn, R.L. (1978). The Social Psychology of Organization (2nd ed.). New
York: John Wiley & Sons.

Mullins, Laurie J. (2002). Management and Organizational behavior 6th ed. New
Jersey: Prentice-Hall.

William, N. H. (1950). Administration action. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-
Hall.

Mintzberg, H. (1979). The structuring of organizations. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-
Hall.

Riley, Richard Lee and Mooney, Ruth A. (1996). Principles of Organization. New York:
Khuwer Academic Publishers.

Costa, M., Cavaliere, G., & Iezzi, S. (2005). The Role of the Normal Distribution in
Financial Markets University of Bologna.

Field, A. (2005). Discovering statistics using SPSS (2nd ed.). London: Sage.
Hair, J. F., Anderson, R. E., Tatham, R. L., & Black, W. C. (1998). Multivariate data

analysis (5th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

122

Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data
analysis: A global perspective (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006).
Multivariate data analysis (6th ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Lin, J. C.-C., & Lu, H. (2000). Towards an understanding of the behavioral intention to
use a web site. International Journal of InformationManagement, 20(3), 197-
208.

Pedhazur, E. J. (1997). Multiple regression in behavioral research: Explanation and
prediction (3rd ed.). Forth Worth, Orlando, Florida: Harcourt Brace College.

123

ภาคผนวก

124

ภาคผนวก ก
แบบสอบถาม

125

แบบสอบถาม

เรือ่ ง ผลกระทบจากการปรบั โครงสร้างองค์กรที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของสมาชิก
สหกรณอ์ อมทรพั ยพ์ นักงานกู๊ดเยยี ร์ (ประเทศไทย) จากดั

วัตถุประสงค์แบบสอบถามนี้จดั ทาขึน้ เพอื่ รวบรวมขอ้ มูลสาหรบั การศึกษาค้นควา้ อิสระ เพื่อ
การศกึ ษาของนิสิตระดับปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยขอ้ มูลแบบสอบถามน้ีจะนาไปใช้
ประโยชน์ในการศกึ ษาเทา่ นัน้

ทง้ั นผ้ี ู้วจิ ัยขอขอบพระคณุ ทุกท่านเปน็ อยา่ งยิ่งท่ีกรุณาสละเวลาใหค้ วามร่วมมือในการตอบ
แบบสอบถามมา ณ โอกาสนี้ โดยแบบสอบถามทไ่ี ดร้ ับจากท่านจะถูกเกบ็ ไวเ้ ปน็ ความลบั
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------
คาช้แี จง

1. ใหท้ ่านตอบแบบสอบถามตอ่ ไปน้โี ดยใส่เคร่ืองหมาย √ ลงในชอ่ ง หนา้ ข้อท่ตี รงกบั
ขอ้ เท็จจรงิ มากที่สดุ หรือเติมขอ้ ความลงในชอ่ งวา่ ง

2. แบบสอบถามมีท้งั หมด 3 ส่วน
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ส่วนท่ี 2 ผลกระทบจากการปรบั โครงสรา้ งองค์กรท่มี ผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ การทางานของ

สมาชกิ สหกรณอ์ อมทรัพยพ์ นักงานกู๊ดเยยี ร์ (ประเทศไทย) จากดั
ส่วนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

1. เพศ ชาย หญิง
2. อายุ
- 25 ปี - 30 ปี
3. สถานภาพ - 35 ปี - 40 ปี
- 55 ปี มากกวา่ 55 ปขี น้ึ ไป

โสด สมรส
หมา้ ย หยา่ ร้าง/แยกกันอยู่

126

4. ระดับการศึกษา

มธั ยมศึกษา ปวช. / ปวส. / อนุปริญญา

ปรญิ ญาตรี ปริญญาโทหรอื สงู กว่า

5. แผนก/สงั กัดงานปัจจุบัน

พนักงานรายช่วั โมง

พนกั งานรายเดอื น

6. ประสบการณท์ างานของทา่ นในปัจจุบนั

ต่ากว่า 5 ปี ระหว่าง 5 – 10 ปี

ระหว่าง 11 – 15 ปี ระหวา่ ง 16 – 20 ปี

ระหวา่ ง 21 – 25 ปี ระหวา่ ง 26 – 30 ปี

ต้ังแต่ 30 ปี ขึ้นไป

7. รายไดต้ อ่ เดือน

0 - 10,000 บาท 10,001 - 20,000 บาท

20,001 - 30,000 บาท 30,001 - 40,000 บาท

40,001 - 50,000 บาท 50,001 บาทข้ึนไป

8. รายไดพ้ เิ ศษโดยเฉลยี่ ตอ่ เดอื น

ไม่มี ไม่เกนิ 5,000 บาท

– 10,000 บาท บาท ขึ้นไป

9. รายจา่ ยเฉล่ยี ต่อเดือน

น้อยกวา่ 5,000 บาท – 10,000 บาท

– 15,000 บาท - 20,000 บาท

– 25,000 บาท บาท ข้ึนไป

10. จานวนสมาชกิ ในครอบครัวของท่านมจี านวนเทา่ ใด

1 – 2 คน 3 – 4 คน

5 – 6 คน มากกวา่ 6 คน (โปรดระบุ)..............

127

ส่วนที่ 2 ผลกระทบจากการปรบั โครงสร้างองค์กรที่มีผลตอ่ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพยพ์ นักงานกู๊ด
เยียร์ (ประเทศไทย) จากัด

คาชี้แจง โปรดพิจารณาขอ้ ความต่อไปนี้แลว้ ทาเครื่องหมาย √ ในแต่ละขอ้ ใหต้ รงความ
คดิ เห็นของท่าน โดยพิจารณาตามระดับความสาคัญ

ปัจจัยการปรบั โครงสรา้ งองค์กร มาก ระดบั ความสาคัญ นอ้ ย
ทสี่ ุด มาก ปาน นอ้ ย ทสี่ ดุ
1.ดา้ นกลยุทธ์ 5 1
1.มกี ารกาหนดกลยุทธข์ ององคก์ รทช่ี ดั เจนและ กลาง
สามารถปฏิบตั ิได้ 4 32
2.กลยทุ ธ์ขององคก์ รมกี ารปรบั เปลย่ี นให้
สอดคล้องกบั การปฏบิ ัตงิ าน
3.ท่านเห็นด้วยกับกลยุทธ์การปรับโครงสร้าง
องคก์ ร
4.มีกลยทุ ธท์ ชี่ ัดเจนในการกาหนดอานาจหน้าท่ี
และความรบั ผดิ ชอบในการปฏิบัตงิ าน
2.ด้านขนาดองคก์ ร
5.โครงสร้างองค์กรมคี วามเหมาะสมกับขนาด
ขององคก์ ร
6.บุคคลากรในองค์กรมเี พยี งพอหลังจากการ
ปรบั โครงสรา้ งองค์กร
7.ขนาดขององค์กรมคี วามเหมาะสมในการ
ปฏิบัติงาน
3.ดา้ นเทคโนโลยี
8.จานวนเครือ่ งมือทใี่ ชใ้ นการปฏิบตั งิ านมี
เพียงพอต่อความต้องการในการปฏบิ ัตงิ าน
9.การเชอ่ื มโยงข้อมลู สารสนเทศระหว่าง
หน่วยงานภายในเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการใน
การปฏิบตั งิ าน

128

ปัจจัยการปรบั โครงสร้างองคก์ ร มาก ระดับความสาคัญ นอ้ ย
ที่สุด มาก ปาน น้อย ทสี่ ุด
10.คู่มอื /แนวทางท่นี ามาใชใ้ นการปฏิบัติงานมี 5 1
ความเหมาะสม กลาง
4.ด้านสภาพแวดล้อม 4 32
11.หนว่ ยงานของท่านมีเคร่อื งมือและวัสดุ
อุปกรณ์ในการปฏบิ ตั งิ านทีค่ รบถว้ น ทนั สมยั
และเพียงพอ
12.หน่วยงานของทา่ นมหี ้องทางานและโตะ๊
ทางานเพยี งพอตอ่ การปฏิบัตงิ าน
13.หนว่ ยงานของท่านมกี ารจัดบรเิ วณใหเ้ ปน็
สัดส่วนท่เี หมาะสมกบั การปฏบิ ัตงิ าน
14.สภาพแวดล้อมในการทางาน เช่น แสงสว่าง
อุณหภมู ิ มคี วามเหมาะสมทาให้สามารถ
ปฏิบัติงานได้อย่างสะดวกสบาย

คุณภาพชีวิตการทางาน มาก ระดับความสาคัญ นอ้ ย
ทสี่ ุด มาก ปาน น้อย ท่ีสดุ
5.ดา้ นประสิทธภิ าพการทางาน 5 1
15.การปรับโครงสร้างองค์กรกอ่ ให้เกดิ กลาง
ประสทิ ธภิ าพในการทางาน 4 32
16.การปรบั โครงสรา้ งองคก์ รจะมีผลต่อการ
ปฏบิ ัติงานให้บรรลเุ ป้าหมาย
17.การปรับเปลี่ยนโครงสรา้ งมสี ่วนชว่ ยในการ
ประสานในทุกดา้ นใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย
18.การปรับเปลีย่ นโครงสรา้ งมสี ว่ นช่วยให้
กระบวนการปฏิบัติงานคล่องตัวและมี
ประสิทธภิ าพ

129

คุณภาพชวี ติ การทางาน มาก ระดบั ความสาคัญ น้อย
ที่สดุ มาก ปาน น้อย ท่ีสดุ
19.ความรบั ผดิ ชอบในหนา้ ทข่ี องท่านมมี าก 5 1
เกินไป กลาง
20.ปริมาณงานไม่มคี วามเหมาะสมกบั 4 32
อัตรากาลงั ที่เป็นอยู่
21.ปริมาณคนมนี อ้ ยเกนิ ไปไม่เหมาะสมกับ
ภาระงานทีเ่ พม่ิ มากข้ึน
22.การเพิม่ อัตราพนกั งานชว่ ยทาใหก้ ารทางาน
มปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ
23.หลังจากการปรบั โครงสรา้ ง ทาให้
โครงสร้างขององค์กรมลี ักษณะเอ้ืออานวยหรือ
จูงใจใหพ้ นักงานสามารถปฏบิ ัตงิ านไดด้ แี ละมี
ประสทิ ธภิ าพมากข้นึ
24.เป้าหมายขององคก์ รสอดคลอ้ งกบั การ
ปฏบิ ตั งิ านของทา่ น
25.ทา่ นรูส้ กึ ท้ายทายกบั การปรับโครงสรา้ ง
องค์กร(ทาให้ท่านปฏบิ ตั งิ านได้หลากหลายมาก
ข้นึ )
26.ก่อนการปรับโครงสร้างองค์กรบรษิ ทั มกี าร
ชแ้ี จงใหพ้ นกั งานทราบ ไดร้ ับขอ้ มูลหรอื
นโยบายที่ชดั เจน
6.ด้านความสมั พนั ธ์ครอบครัว
27.ทา่ นมเี วลาให้ตนเองและครอบครัวน้อยลง
28.ความสมั พันธ์ของท่านและบคุ คลใน
ครอบครวั ไมป่ กติเหมือนเดิม หรือลดนอ้ ยลง
29.ท่านทะเลาะหรอื มปี ัญหากับบุคคลใน
ครอบครวั บ่อยคร้งั ข้ึน

130

คณุ ภาพชวี ติ การทางาน มาก ระดบั ความสาคัญ น้อย
ท่ีสุด มาก ปาน นอ้ ย ท่สี ุด
7.ด้านสขุ ภาพรา่ งกาย 5 1
30.ทา่ นมคี วามเครยี ดเพมิ่ มากขน้ึ หลงั จากปรับ กลาง
โครงสรา้ งองคก์ ร 4 32
31.ทา่ นต้องทางานหนักมากขึน้ หลกั จากปรบั
โครงสรา้ งองค์กร
32.ท่านรู้สึกออ่ นลา้ หรอื ร่างกายไมส่ ามารถ
ทางานติดตอ่ เกนิ 8 ชม ได้
33.ทา่ นลาพกั ร้อน หรือลาป่วยเกนิ เดือนละ 1
ครั้ง
34.ท่านมีโรคประจาตวั เพ่มิ มากขน้ึ หรือมภี าวะ
จะเป็นโรคต่างๆ เพิ่มขึ้น
8.ด้านรายได้
35.ท่านคดิ วา่ ผลตอบแทนทไี่ ด้จากการทางานที่
ท่านได้รบั มีความเหมาะสม
36.ท่านหารายได้พิเศษเพอื่ หารายไดเ้ พิ่มเตมิ
37.ท่านรูส้ กึ ถึงความไม่แน่นอนทางดา้ นรายได้
38.ท่านมีรายได้หลักจากเงินเดือนและคา่ จ้าง
39.ทา่ นกระต้นุ หรอื สรา้ งแรงจงู ใจให้ตนเอง
อยากมรี ายไดเ้ พมิ่ ขึน้
40.การปรบั โครงสรา้ งองคก์ รทาทา่ นไดร้ ับ
รายไดเ้ พิ่มมากข้ึน
41.การปรบั โครงสร้างองคก์ รทาท่านได้รับ
สวสั ดกิ ารเพม่ิ มากขึ้น
9.ด้านการชาระหนี้และความม่นั คง
42. หลังจากการปรับเปลีย่ นโครงสร้างของ
องค์กรทาให้ท่านร้สู ึกเสยี ขวญั และกาลังใจใน
การทางาน

131

คณุ ภาพชีวติ การทางาน มาก ระดบั ความสาคัญ น้อย
ท่ีสดุ มาก ปาน นอ้ ย ท่ีสุด
43. ท่านมปี ัญหาการรบั ชาระหน้ที ท่ี ่านมีอย่กู บั 5 1
สหกรณ์ กลาง
44. มีการบริหารเวลาเพ่อื ความเป็นระเบียบ 4 32
เรียบร้อยในชวี ติ
45. ทา่ นรู้สกึ ว่าการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ
องค์กรทาให้คุณภาพชวี ิตของท่านแย่ลง
46. ท่านมีปญั หาการรับภาระค้าประกนั
เนอ่ื งจากมกี ารปรบั โครงสรา้ งองค์กร
47.การปรับโครงสร้างองค์กรทาใหท้ ่านมโี อกาส
ก้าวหน้าในตาแหน่งทส่ี ูงขนึ้
48.ท่านรู้สกึ ม่นั คงในการทางานมากข้นึ
หลังจากปรับโครงสร้างองคก์ ร
10.ดา้ นการวางแผนการเงิน
49.ทา่ นมีการกาหนดวงเงนิ ใชจ้ ่ายในการ
อุปโภคบรโิ ภค
50.ท่านวางแผนการใชจ้ ่ายโดยคานงึ ถงึ ความ
จาเป็น
51.ทา่ นมกี ารลงทุนโดยควบคุมความเสี่ยงอยา่ ง
ดี
52.ทา่ นต้องการให้สหกรณช์ ว่ ยเหลือในด้าน
การเงนิ
53.ทา่ นมเี งินออมตอ่ เดือนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ
10 ของเงินเดอื น
54..ทา่ นมกี ารวางแผนในการหารายได้ใหพ้ ียง
พอต่อรายจ่ายทีม่ แี ละเหลือเพียงพอตอ่ การเกบ็
ออม

132

ความคิดเห็น และขอ้ เสนอแนะ
……………………………………………………………...………………………………………………………………………………
………...……………………………………………………………………………………………………………………...……………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง


Click to View FlipBook Version