คำ� นำ�
สหกิจศึกษา(Cooperative Education) เป็นการศึกษา มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย เปน็ สถาบนั การศกึ ษาชนั้ นำ� ของ
ที่เน้นการปฏิบัติงานในสถานประกอบการอย่างมีระบบ โดย ประเทศสถาบันหน่ึงที่มีความ มุ่งมั่นในการจัดการเรียนการสอน
จัดให้มีการผสมผสานกิจกรรมการเรียนการสอนในสถานศึกษา และผลิตบัณฑิตท่ีเป็นท้ังคนดีและคนเก่ง เพ่ือไปรับใช้สังคมและ
รว่ มกบั การจดั ให้ นกั ศกึ ษาไปปฏบิ ตั งิ านจรงิ ณ สถานประกอบการ ประเทศชาติ ให้สมดังค�ำขวัญที่ว่า “คุณธรรมพัฒนาบัณฑิต
ที่ให้ความร่วมมือ การจัดการเรียนการสอนในระบบสหกิจศึกษา คุณภาพวิชาชีพ พัฒนาสังคมไทย” ดังน้ัน ในท่ามกลางการ
จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมให้นักศึกษาของมหาวิทยาลัยได้ แข่งขันของตลาดแรงงานที่ต้องการบัณฑิตที่มีความรู้ดี มีคุณภาพ
รับประสบการณ์ตรงในการท�ำงานส�ำหรับวิชาชีพที่เลือกศึกษา มหาวิทยาลัยจึงได้มีการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอ
เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน เป็นการแสดง นระบบสหกิจศึกษาขึ้น ในการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี
จดุ ยนื ทจี่ ะผลติ บณั ฑติ เพอื่ สนองความตอ้ งการของสถานประกอบการ ส�ำหรับทุกคณะวิชา เพ่ือเอ้ือประโยชน์ต่อนักศึกษาในการเพ่ิม
ให้มากทีส่ ุด ท้ังยังเปน็ การสรา้ งสมั พันธภาพระหว่างมหาวทิ ยาลยั ทกั ษะและขดี ความสามารถในการปฏิบตั งิ านในทกุ ๆ ด้าน ที่เปน็
และสถานประกอบการในการแลกเปล่ียนและพัฒนาวิชาความรู้ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของสถานประกอบการและนายจ้าง
และเทคโนโลยีร่วมกันอย่างต่อเน่ือง เพื่อการสร้างสมรรถนะทาง กอ่ นออกไปแขง่ ขัน ในตลาดงาน
วิชาชพี ทแ่ี ขง็ แกรง่ เพอ่ื การแข่งขันของประเทศ คู่มือสหกิจศึกษาฉบับนี้ จัดท�ำขึ้นเพื่อเป็นประโยชน์ใน
การติดต่อประสานงานและส่งเสริมความเข้าใจร่วมกันระหว่าง
คณาจารย์ นักศึกษาและสถานประกอบการ ในการด�ำเนินงาน
ระบบ สหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยได้รวบรวมแนว
ความคิด กระบวนการและข้ันตอนการด�ำเนินการของระบบ
สหกจิ ศกึ ษา ตลอดจนเอกสารการดำ� เนนิ งานตา่ งๆ ทใ่ี ชใ้ นโครงการ
หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือสหกิจศึกษาฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์
ต่อสถานประกอบการ คณาจารย์และนักศึกษา ตลอดจนผู้ท่ี
เกี่ยวข้องทุกท่านท่ีมีการติดต่อประสานงานร่วมกันและผู้สนใจ
ทัว่ ไป
โครงการสหกจิ ศกึ ษา กองวชิ าการ
ฝ่ายวชิ าการ มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย
สCOหOกPEิจRAศTกึIVEษEาDUCATION
สารบญั
ค�ำนำ�
สารบญั
บทท่ี 1 สหกจิ ศกึ ษามหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย 1
วตั ถุประสงค์ของสหกจิ ศกึ ษา 3
หลักสูตรสหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย 3
หนว่ ยงานและบคุ ลากรท่ีรบั ผิดชอบ 3
ลักษณะงานสหกจิ ศึกษา 4
ประโยชนท์ ี่สถานประกอบการจะไดร้ ับ 5
ประโยชน์ท่นี กั ศึกษาจะไดร้ บั 5
การรักษาความลับ 5
บทที่ 2 บทบาทและหนา้ ทขี่ องนกั ศึกษาและอาจารย์ทีป่ รึกษาสหกิจศึกษา 6
บทบาทและหนา้ ทข่ี องนกั ศึกษาสหกจิ ศึกษา 7
บทบาทและหนา้ ทข่ี องอาจารย์ทีป่ รึกษาสหกจิ ศึกษา 8
บทท่ี 3 บทบาทของสถานประกอบการกบั สหกจิ ศกึ ษา 9
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ 10
การรบั นกั ศึกษาสหกิจศึกษาเข้าปฏิบัติงาน 11
หน่วยงาน/บคุ คลของสถานประกอบการทม่ี บี ทบาทเก่ยี วขอ้ งโดยตรง 11
กับสหกจิ ศกึ ษา
บทท่ี 4 กระบวนการและขนั้ ตอนสหกจิ ศึกษา 14
การรับสมัครนกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษา 15
การเลอื กสมัครงานและสถานประกอบการ 16
การคดั เลอื กนักศกึ ษาโดยสถานประกอบการ/คณะวิชา 16
ค่าตอบแทนและสวัสดิการจากสถานประกอบการ 16
การเตรยี มความพรอ้ มนกั ศกึ ษาก่อนออกไปปฏบิ ัติงาน 17
การไปปฏบิ ตั ิงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ 18
การประเมนิ ผล 21
(1)
บทท่ี 5 ขอ้ แนะน�ำและแนวทางปฏิบตั สิ �ำหรับนักศกึ ษาสหกิจศึกษา 22
ขอ้ แนะน�ำในการติดตอ่ เกี่ยวกบั สหกิจศึกษา 23
การให้บริการของโครงการสหกจิ ศึกษา 25
- การจดั หางานและเตรยี มความพรอ้ มนักศกึ ษา 25
- การนิเทศงานสหกิจศึกษา 25
- งานวางแผนและทะเบยี นนกั ศึกษาสหกจิ ศกึ ษา 25
ภาคผนวก ก ขอ้ มลู เกย่ี วกบั คณะ สาขาวชิ าและลกั ษณะงานทเ่ี หมาะสมตามสาขาวชิ า 27
คณะบรหิ ารธุรกจิ 29
สาขาวชิ าการจดั การทรัพยากรมนษุ ย ์ 29
สาขาวิชาการเงนิ 30
สาขาวชิ าการตลาด 31
สาขาวิชาการบรหิ ารธุรกิจระหว่างประเทศ 32
สาขาวชิ าการจดั การ 33
สาขาวิชาการจดั การอตุ สาหกรรม 34
สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ 35
สาขาวชิ าการจัดการโลจสิ ติกส ์ 36
คณะบญั ชี 37
กลุ่มวชิ าการบญั ชสี ำ� หรับหน่วยงานภาคธรุ กจิ 37
กลมุ่ วชิ าสอบบญั ชีและตรวจสอบภายใน 37
กลุ่มวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ 37
คณะเศรษฐศาสตร์
39
กลุ่มวิชาเศรษฐศาสตรก์ ารเงิน
กลมุ่ วชิ าเศรษฐศาสตรธ์ รุ กจิ 39
กลุ่มวชิ าเศรษฐศาสตรท์ ฤษฎแี ละการวจิ ยั 40
กลุ่มวิชาเศรษฐศาสตรร์ ะหวา่ งประเทศ 41
กลมุ่ วชิ าเศรษฐศาสตรป์ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 42
43
คณะมนษุ ยศาสตร์และประยกุ ต์ศิลป์
44
สาขาวิชาภาษาองั กฤษเพ่อื การส่อื สารธุรกจิ
สาขาวชิ าภาษาญป่ี นุ่ 44
สาขาวชิ าภาษาองั กฤษและการแปล 45
สาขาวชิ าภาษาไทย 45
สาขาวิชาภาษาจนี 46
สาขาวิชาศลิ ปะการแสดง 47
48
(2)
คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 49
สาขาวชิ าวิทยาการคอมพิวเตอร์ 49
สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร 50
สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 51
สาขาวิชาวศิ วกรรมการเงิน 52
สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจอาหาร 53
สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์แอนิเมชัน่ 54
คณะนิเทศศาสตร์ 55
สาขานวตั กรรมสื่อสารมวลชน 55
- กลมุ่ วิชาสารศาสตรค์ อนเวอรเ์ จนซ์ 55
- กล่มุ วิชาการกระจายเสยี งและแพรภ่ าพ 56
- กลมุ่ วิชาภาพยนตด์ จิ ทิ ลั 57
สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยทุ ธ ์ 58
- กลมุ่ วชิ าการประชาสมั พนั ธเ์ ชิงกลยทุ ธ์ 58
- กลุม่ วิชาการโฆษณา 59
- กลุ่มวิชาการสรา้ งสรรค์และออกแบบสอ่ื 60
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 61
สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟ้าและพลงั งาน 61
สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และมลั ติมีเดยี 62
สาขาวชิ าวิศวกรรมธรุ กิจยานยนต ์ 63
สาขาวชิ าวิศวกรรมโลจสิ ติกส์ 64
สาขาวชิ าวศิ วกรรมการจดั การธรุ กิจเกย่ี วเนื่องกับระบบราง 65
คณะนิติศาสตร์ 66
คณะการทอ่ งเทีย่ วและอตุ สาหกรรมบริการ 67
สาขาวชิ าการจดั การการโรงแรม 67
สาขาวิชาการจดั การการทอ่ งเทีย่ ว 68
สาขาวิชาการทอ่ งเท่ยี ว 69
สาขาวิชาการจดั การประชุม นิทรรศการ และกจิ กรรมพเิ ศษ (อเี วน้ ท์/ไมซ)์ 70
สาขาวิชาการจัดการธุรกจิ สายการบนิ 71
ภาคผนวก ข แบบฟอรม์ สหกิจศึกษา 73
แบบฟอร์มภาษาไทย 74
CO-OP-S01 ใบสมคั รงานสหกจิ ศึกษา 75
CO-OP-S02 แบบรายงานตัวเขา้ ปฏิบัติงานและแบบแจ้งรายละเอยี ดงาน 78
ตำ� แหน่งงานและพนกั งานท่ปี รกึ ษา
(3)
CO-OP-S03 แบบแจง้ แผนปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา 80
CO-OP-S04 แบบแจ้งโครงร่างรายงานการปฏบิ ตั ิงาน 81
CO-OP-C01 แบบแจง้ ต�ำแหน่งงานเพ่อื รบั นักศึกษาสหกิจศกึ ษา 83
เขา้ ปฏบิ ตั งิ านในโครงการสหกจิ ศึกษา 85
CO-OP-C02 แบบประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านนักศึกษาสหกจิ ศึกษา 89
CO-OP-C03 แบบประเมินผลรายงานสหกิจศกึ ษา 91
CO-OP-C04 แบบประเมินผลโครงงานสหกิจศึกษา 93
CO-OP-A01 แบบรายงานการนเิ ทศงานของอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาสหกิจศึกษา 95
CO-OP-A02 แบบประเมนิ ผลการนิเทศงานนักศึกษาสหกิจศึกษา
ส�ำหรับอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาสหกจิ ศึกษา
CO-OP-A03 แบบประเมินผลรายงานสหกจิ ศึกษา 97
สำ� หรบั อาจารยท์ ี่ปรึกษาสหกิจศกึ ษา 99
แบบประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานโครงการสหกิจศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย 101
แบบบนั ทึกการปฏบิ ตั งิ านนกั ศึกษาสหกิจศกึ ษา มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 102
คำ� อธบิ ายเกีย่ วกับหวั ขอ้ ประเมนิ
แบบฟอรม์ ภาษาองั กฤษ 103
CO-OP-S02 REPORTS ON UNDERTAKING STUDENT'S CO-OP PERFORMANCE, 104
POSITION, JOB DESCRIPTION AND JOB SUPERVISOR 106
CO-OP-S03 UTCC CO-OP PERFORMANCE PLAN 107
CO-OP-S04 PERFORANCE REPORT PROPOSAL NOTIFICATION
CO-OP-C02 CO-OP STUDENT PERFORMANCE APPRAISAL 109
CO-OP-C03 CO-OP REPORT APPRAISAL 113
CO-OP-C04 CO-OP PROJECT APPRAISAL 115
Cooperative Education Project Evaluatoin, 117
University of the Thai Chamber of Commerce
RECORD OF CO-OP STUDENT PERFORMANCE 120
ภาคผนวก ค ส่วนประกอบและโครงรา่ งเน้อื หารายงาน 121
สว่ นประกอบของรายงานการปฏบิ ตั ิงานสหกิจศกึ ษา 122
โครงร่างเนือ้ หาของรายงานการปฏบิ ัตงิ านสหกิจศึกษา 123
ส่วนประกอบของรายงานโครงงานการปฏิบัติงานสหกิจศกึ ษา 124
โครงรา่ งเน้อื หาของรายงานโครงงานการปฏบิ ัตงิ านสหกิจศกึ ษา 125
คำ� อธบิ ายการพิมพ์รายงาน 126
(4)
1บทที่
สหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย
>>>>>> >>>>>>>> >>>>>>>>>>>>>> >>>>> > > > > >
สหกจิ ศกึ ษา (Cooperative Education)
เป็นการศึกษาท่ีเน้นการปฏิบัติงานในสถานประกอบการอย่างมีระบบ โดยจัดให้
มีการผสมผสานกิจกรรมการเรียน การสอนในสถานศึกษาร่วมกับการจัดให้นักศึกษา
ไปปฏบิ ตั งิ านจริง ณ สถานประกอบการทีใ่ หค้ วามร่วมมือ
ในทา่ มกลางสงั คมทมี่ กี ารแขง่ ขนั สงู โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การแขง่ ขนั ในตลาดแรงงาน
ที่ต้องการบัณฑิตที่มีความรู้ดี มีคุณภาพและมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของนายจ้าง
ทำ� ใหส้ ถานศกึ ษาตอ้ งเพมิ่ กลยทุ ธใ์ นการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี ออ้ื ประโยชนต์ อ่ นกั ศกึ ษา
ในการเพิ่มทกั ษะและขดี ความสามารถเพอ่ื การแขง่ ขันในตลาดงาน ซง่ึ ทักษะเหล่าน้ีได้แก่
การรจู้ กั พฒั นาตนเอง การทำ� งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื มนษุ ยสมั พนั ธ์ ความสามารถในการเปน็ ผนู้ ำ�
การปรับตัว การแก้ปัญหา ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ การสื่อสารและการถ่ายทอดข้อมูล
ความมีระเบยี บวนิ ยั คุณธรรมและจรยิ ธรรม เปน็ ตน้
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยได้ตระหนักถึงภาวะของตลาดงานท่ีมีการแข่งขันสูง
รวมท้ังประโยชน์สูงสุดที่จะท�ำให้บัณฑิตมีประสิทธิภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดงาน
จึงได้จัดให้มีการเรียนการสอนสหกิจศึกษา (Cooperative Education) ในหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2547 โดยมีโครงการสหกิจศึกษา สังกัดกองวิชาการ
ฝา่ ยวชิ าการ ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ศนู ยก์ ลางในการพฒั นารปู แบบและระบบการศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
ของมหาวทิ ยาลยั ฯ รวมทง้ั ประสานงานระหวา่ งนกั ศกึ ษา คณาจารยแ์ ละสถานประกอบการ
เพื่อให้นักศึกษาสหกิจศึกษามีความพร้อมในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลต่อการผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัยให้เป็นทั้ง
“คนเกง่ และคนดี”
2 คมู่ อื สหกิจศกึ ษา
วัตถปุ ระสงคข์ องสหกจิ ศึกษา
1. เพื่อเป็นการจัดการเรียนรู้และสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพแก่นักศึกษาของ หน่วยงาน
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ให้สอดคล้องกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน และบุคลากร
2. เพอื่ สรา้ งสมั พนั ธภาพระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย และสถานประกอบการ ทร่ี บั ผิดชอบ
พรอ้ มกบั แสดงความพรอ้ ม และจดุ ยนื ของมหาวทิ ยาลยั ฯ ทจี่ ะผลติ บณั ฑติ เพอื่ สนองความ
ต้องการของสถานประกอบการให้มากที่สุด
3. เพื่อแลกเปล่ียนและพัฒนาวิชาความรู้และเทคโนโลยีระหว่างมหาวิทยาลัย
หอการคา้ ไทยกบั สถานประกอบการเพอื่ เปน็ การสรา้ งสมรรถนะในการแขง่ ขนั ของประเทศ
หลกั สตู รสหกิจศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย ไดจ้ ดั ตงั้
มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย โครงการสหกิจศึกษา (Cooperative
Education) เพ่ือท�ำหน้าท่ีพัฒนารูปแบบ
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยได้จัดระบบการศึกษาเป็นระบบทวิภาค (Semester) ระบบการศกึ ษาแบบสหกจิ ศกึ ษาใหเ้ หมาะสม
โดยภาคเรยี นสหกจิ ศกึ ษา มรี ะยะเวลาเทา่ กบั 1 ภาคเรยี นปกติ คอื 16 สปั ดาห์ ในภาคตน้ มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ รว่ มมอื และประสานงาน
และภาคปลายชนั้ ปีท่ี 4 โดยมีลักษณะดังน้ี คือ ระหว่างนักศึกษา คณาจารย์และ
1. เป็นหลักสูตร แผนสหกิจศึกษาของทุกคณะ โดยเป็นไปตามการเลือก สถานประกอบการ ได้แก่ การจัดหา
แผนการเรียนของนกั ศกึ ษา ต�ำแหน่งงานท่ีเหมาะสมกับนักศึกษา
2. การจัดภาคเรียนสหกิจศึกษาจะจัดไว้ในภาคต้นหรือภาคปลายของปีท่ี 4 ก า ร คั ด เ ลื อ ก นั ก ศึ ก ษ า ท่ี มี คุ ณ ภ า พ
ท้ังน้ีภาคเรียนที่นักศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาจะแตกต่างกันไปในแต่ละ ท้ังด้านวิชาการและ ความประพฤติ
สาขาวิชา ตามหลักเกณฑ์ของโครงการสหกิจศึกษา
3. วิชาสหกจิ ศกึ ษามคี ่าเท่ากับ 6 หนว่ ยกิต ของมหาวิทยาลยั ฯ การเตรียมความพร้อม
4. ก�ำหนดให้นักศึกษาสหกิจศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ภาคเรียน ของนักศึกษา การประเมินผลนักศึกษา
โดยจะตอ้ งมรี ะยะเวลาการปฏิบัตงิ านตามทก่ี �ำหนด ทั้งน้ไี มน่ อ้ ยกวา่ 16 สัปดาห์ และรายงานผลต่อมหาวิทยาลัยฯ โดยมี
บคุ ลากรทร่ี บั ผิดชอบดงั น้ี
คมู่ อื สหกิจศกึ ษา 3
1. เจ้าหน้าทีส่ หกจิ ศกึ ษา (Co - op Coordinator) สCOหOกPEิจRAศTกึIVEษEาDUCATION
เป็นผู้รับผิดชอบในการด�ำเนินงานและประสานงาน เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่
สถานประกอบการ อาจารย์ และนกั ศึกษาในสว่ นที่เก่ยี วขอ้ งกับสหกจิ ศกึ ษาอยา่ งใกลช้ ิด
ดังนี้
- การจดั หาตำ� แหนง่ งานทเี่ หมาะสมและเพยี งพอกบั จำ� นวนนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
- การคัดเลอื กนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา
- การเตรียมความพร้อมของนักศึกษา โดยการจัดฝึกอบรมหัวข้อต่างๆ ตาม
ความจำ� เปน็ เพอื่ ใหน้ กั ศกึ ษาสามารถปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบการไดอ้ ยา่ ง
มปี ระสิทธภิ าพ
- ตดิ ตามการประเมนิ ผลนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาและรายงานผลตอ่ มหาวทิ ยาลยั ฯ
2. อาจารยท์ ่ีปรึกษาสหกิจศึกษา (Co - op Advisor)
ทำ� หน้าท่ีเป็นผูป้ ระสานงานดา้ นสหกจิ ศกึ ษา ของสาขาวชิ าดงั น้ี
- ให้ค�ำปรึกษาด้านวิชาการและการปฏิบัติงานแก่นักศึกษาสหกิจศึกษา
ของสาขาวิชา
- รับรองคุณภาพงานทส่ี ถานประกอบการเสนอ
- นิเทศงานและประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศกึ ษาของนกั ศึกษา
ลักษณะงานสหกจิ ศกึ ษา
1. ปฏบิ ัตงิ านเสมือนหนึง่ เปน็ ลกู จา้ งช่ัวคราว
2. มีหนา้ ท่รี ับผิดชอบท่แี นน่ อน (งานมคี ณุ ภาพ)
3. ปฏิบัติงานในต�ำแหน่งผู้ช่วยในวิชาชีพตามสาขาวิชา/ผู้ช่วยนักวิชาการและท�ำรายงาน/โครงงาน ท้ังนี้โดยความเห็นชอบ
ของสถานประกอบการและอาจารย์ทีป่ รึกษาสหกจิ ศึกษา
4. ท�ำงานเตม็ เวลา (Full Time)
5. ระยะเวลาปฏิบตั ิงาน 1 ภาคเรียน (16 สปั ดาห์)
6. มีค่าตอบแทนตามสมควร (หากไม่มีค่าตอบแทนให้เป็นไปตามความสมัครใจของนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา
สหกจิ ศกึ ษาใหก้ ารยอมรบั )
4 คู่มอื สหกจิ ศกึ ษา
ประโยชน์ท่ีสถานประกอบการจ ะได้รับจากการเขา้ รว่ ม
โครงการสหกจิ ศกึ ษา
1. ลดการจ้างงานและค่าตอบแทนลง โดยสามารถให้นักศึกษา สหกิจศึกษาซึ่งเป็นนักศึกษาที่มีความรู้วิชาการเพียงพอ
ระดับหน่ึงเข้าปฏิบัติงานทดแทนพนักงานที่ขาดไปหรือเป็นผู้ช่วยพนักงานและให้ค่าตอบแทนท่ีเหมาะสมกับลักษณะงาน โดยเป็น
ไปตามนโยบายของสถานประกอบการนัน้ ๆ
2. มนี กั ศกึ ษาทม่ี คี วามกระตอื รอื รน้ และมคี วามพรอ้ มทางวชิ าการชว่ ยปฏบิ ตั งิ าน
อย่างต่อเนอื่ งตลอดปีการศึกษา
3. พนักงานประจ�ำมีเวลามากขึ้นท่ีจะปฏิบัติงานในหน้าท่ีอื่นที่มีความยากและ
สำ� คญั มากกว่า
4. คณาจารยก์ บั นกั ศกึ ษา ไดม้ สี ว่ นชว่ ยในการแกป้ ญั หาใหก้ บั สถานประกอบการ
ซ่งึ เป็นการลดภาระงานภายในองค์กร
5. เกดิ ความรว่ มมอื ทางวชิ าการ ระหวา่ งผบู้ รหิ ารสถานประกอบการกบั คณาจารย์
ของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเน่ือง
6. เปน็ วธิ กี ารหนง่ึ ในการสรรหาพนกั งานประจำ� ทม่ี คี วามรู้ ความสามารถตรงกบั
ต�ำแหนง่ งานโดยอาจลดเวลาในการสอนงานและเวลาในการทดลองงานลงได้
7. เปน็ การสรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดกี บั สถาบนั การศกึ ษาและเสรมิ สรา้ งภาพลกั ษณ์
ทีด่ ีขององค์กรในดา้ นการส่งเสริมสนบั สนนุ การศกึ ษาและช่วยพัฒนาบณั ฑติ ของชาติ
ประโยชนท์ น่ี ักศกึ ษาจะไดร้ บั การรักษาความลบั
จากการปฏบิ ัตงิ านสหกิจศกึ ษา
มหาวิทยาลัยฯ ตระหนักดีว่าลักษณะงาน
1. ได้รับประสบการณ์วิชาชีพตามสาขาวิชาที่เรียนเพ่ิมเติมนอกเหนือ ของสถานประกอบการแต่ละแห่งย่อมมีข้อมูล
จากการเรยี น ในห้องเรียน ความลับท่ีไม่ต้องการเปิดเผย มหาวิทยาลัยฯ
2. เกดิ การเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเอง การทำ� งานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ความรบั ผดิ ชอบ จึงก�ำชับให้นักศึกษาสหกิจศึกษาทุกคนจะต้อง
และมีความม่ันใจในตนเองมากขึ้น ซึ่งเป็นคุณสมบัติท่ีพึงประสงค์ของ รักษาขอ้ มลู ท่เี ปน็ ความลบั ของสถานประกอบการ
สถานประกอบการ โดยการไมน่ ำ� มาเผยแพร่ หากไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตจาก
3. ส่งผลให้มีผลการเรียนดีขึ้นภายหลังการปฏิบัติงานเนื่องด้วยมีความ สถานประกอบการ ท้ังน้ีรวมถึงการท�ำรายงาน
เข้าใจในเน้ือหาวชิ ามากขึ้น จากประสบการณก์ ารปฏิบตั งิ านจริง โครงงานของ สถานประกอบการ ต้องได้รับ
4. เกดิ ทกั ษะการสือ่ สารขอ้ มลู อนุญาตจากสถานประกอบการก่อนที่จะด�ำเนิน
5. ไดร้ บั คา่ ตอบแทนการปฏบิ ตั งิ าน การทำ� และกอ่ นนำ� กลบั มาสง่ ใหอ้ าจารย์ ทปี่ รกึ ษา
6. สามารถเลอื กสายอาชพี ไดถ้ กู ตอ้ ง สหกิจศึกษา ภายหลังได้รับการตรวจให้คะแนน
เนื่องจากได้รับทราบความถนัดของตนเอง แลว้ ซงึ่ เอกสารของสถานประกอบการแตล่ ะแหง่
มากขน้ึ จะเก็บไว้ท่ีคณะวิชา โดยไม่มีการเผยแพร่
7. ส�ำเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตท่ีมี ข้อมลู ใดๆ
ศกั ยภาพในการทำ� งานและมโี อกาสไดร้ บั การ
เสนองานกอ่ นทจ่ี ะส�ำเรจ็ การศึกษา คูม่ อื สหกิจศึกษา 5
2บทท่ี
บทบาทและหนา้ ที่
ของนกั ศกึ ษาและอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
> > > > > >>>>> >>>>>>>>>>>>>> >>>>>>>> >>>>>>
บทบาทและหน้าที่ของนกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษา
1. คณุ สมบัตินักศกึ ษาสหกิจศึกษา
นกั ศกึ ษาทจี่ ะเขา้ รว่ มโครงการสหกจิ ศกึ ษา จะไดร้ บั การคดั เลอื กโดย
สาขาวิชาหรอื สถานประกอบการ ซง่ึ นกั ศกึ ษาจะต้องมีคณุ สมบตั ิดงั น้ี
1.1 เป็นนักศึกษาเลือกแผนการเรียนสหกิจศึกษา เม่ือนักศึกษา
ข้นึ ชน้ั ปีท่ี 2 โดยแจ้งความจ�ำนงทีส่ าขาวชิ า
1.2 มีผลการเรียนเฉล่ียตั้งแต่ 2.50 ข้ึนไป หรือ เป็นไปตามที่
คณะ/สาขาวิชาก�ำหนด
1.3 จะต้องสอบผ่านรายวิชาพ้ืนฐานท่ีสาขาวิชาก�ำหนดเป็นวิชา
เงื่อนไขของวิชาสหกิจศึกษา ก่อนภาคเรียนท่ีจะไปปฏิบัติงาน
สหกิจศกึ ษา
1.4 มคี วามประพฤตเิ รยี บรอ้ ย ไม่เคยผิดระเบยี บวนิ ยั นักศกึ ษา
1.5 มีวุฒิภาวะและสามารถพฒั นาตนเองได้ดี
2. หน้าท่ขี องนักศึกษาสหกจิ ศกึ ษาและ
ข้อแนะน�ำในการปฏิบตั ิงาน
นกั ศกึ ษาทผ่ี า่ นการคดั เลอื กใหเ้ ขา้ รว่ มโครงการสหกจิ ศกึ ษา มหี นา้ ที่ 2.4 ต้ังใจปฏิบัติงานท่ีได้รับมอบหมายจาก
ดังนี้ พ นั ก ง า น ที่ ป รึ ก ษ า อ ย ่ า ง เ ต็ ม ก� ำ ลั ง
2.1 ต้องเข้าร่วมกิจกรรมท่ีโครงการสหกิจศึกษาก�ำหนดอย่าง ความสามารถ
เครง่ ครัด ได้แก่ 2.5 ปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัยหรือข้อบังคับ
2.1.1 ต้องผ่านการอบรมการเตรียมความพร้อมก่อนไป ของสถานประกอบการโดยเคร่งครดั
ปฏิบัติงานยังสถานประกอบการตามที่โครงการสหกิจ 2.6 หลีกเลี่ยงการทะเลาะเบาะแว้งใน
ศกึ ษากำ� หนด สถานประกอบการทกุ กรณี
2.1.2 ต้องเข้าร่วมการปฐมนิเทศสหกิจศึกษา ตามที่ 2.7 ติดต่อส่งเอกสารท่ีก�ำหนด และให้ข่าวสาร
โครงการสหกิจศึกษาก�ำหนด ก่อนไปปฏิบัติงานยัง การปฏิบัติงานของตนเองกับโครงการ
สถานประกอบการ สหกิจศกึ ษา กองวชิ าการ ตลอดระยะเวลา
2.1.3 ต้องเข้าร่วมการสัมมนาสหกิจศึกษา หลังจากครบ ทปี่ ฏิบตั ิงาน ณ สถานประกอบการ
กำ� หนดระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบการ 2.8 หากมีปัญหาในการปฏิบัติงานจะต้องรีบ
ตามระยะเวลาที่โครงการสหกิจศกึ ษาก�ำหนด ติดต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา หรือ
2.2 ติดตามข่าวสารการประกาศต�ำแหน่งงานและประสานกับ เจา้ หน้าทข่ี องโครงการสหกิจศึกษาทนั ที
เจา้ หนา้ ทขี่ องโครงการสหกจิ ศกึ ษา เพอ่ื รบั ทราบความคบื หนา้
ในเร่อื งตา่ งๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง
2.3 ใสใ่ จในการฝกึ ฝนและเพม่ิ พนู ความรทู้ างวชิ าการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
กอ่ นไปปฏบิ ัติงานสหกจิ ศึกษา
คมู่ อื สหกจิ ศึกษา 7
บทบาทและหน้าท่ีของอาจารย์
ท่ีปรึกษาสหกจิ ศึกษา
อาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา (Co-op Advisor - CA) เป็นผู้ให้ค�ำปรึกษาแก่
นักศึกษาสหกิจศึกษาและประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่สหกิจศึกษา นักศึกษาและ
สถานประกอบการ โดยสาขาวชิ าหนง่ึ ๆ จะมอี าจารยท์ ่ปี รึกษาสหกจิ ศึกษามากหรือนอ้ ย
ขนึ้ อยู่กบั จ�ำนวนนกั ศกึ ษาของสาขาวชิ าน้นั ๆ
อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาสหกิจศึกษา มบี ทบาทหนา้ ที่ดังนี้
1. ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษาการลงทะเบียนรายวิชาสหกิจศึกษาและกิจกรรมสหกิจ
ศกึ ษาในทุกๆ ด้าน
2. ประสานงานกบั เจา้ หนา้ ทส่ี หกจิ ศกึ ษาในเรอื่ งกจิ กรรมตา่ งๆ ระหวา่ งการปฏบิ ตั ิ
งานสหกิจศกึ ษาของนกั ศกึ ษา
3. รับรองคณุ ภาพงานทไ่ี ด้รบั การเสนอหรอื มอบหมายจากสถานประกอบการ
4. ใหค้ �ำปรึกษา แนะน�ำ ติดตามการจดั ท�ำรายงานของนักศึกษา
5. นเิ ทศงานสหกิจศึกษาระหว่างทนี่ ักศึกษาปฏบิ ัติงานและรายงานผลการนิเทศ
งานสหกจิ ศึกษาเสนอตอ่ โครงการสหกจิ ศึกษา
6. ประสานงานและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับสถานประกอบการในเร่ืองสหกิจ
ศึกษา
7. พิจารณาและเสนอให้นักศึกษาลาออกจากโครงการสหกิจศึกษาโดยผ่าน
ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสหกจิ ศึกษาระดับคณะ และโครงการสหกิจศกึ ษา
8. ตรวจประเมนิ รายงาน/โครงงานของนักศึกษาในรายวิชาสหกิจศกึ ษา
9. ร่วมกับสาขาวชิ าประเมนิ ผลนกั ศึกษาในรายวชิ าสหกจิ ศกึ ษา
10. ประสานงานการจัดกิจกรรมสหกิจศึกษากับคณาจารย์และนักศึกษาสหกิจ
ศกึ ษาภายในสาขาวชิ า
สCOหOกPEจิ RAศTึกIVEษEาDUCATION
8 คมู่ อื สหกจิ ศึกษา
3บทที่
บทบาท ของสถานประกอบการกบั สหกจิ ศกึ ษา
>>>>>> >>>>>>>> >>>>>>>>>>>>>> >>>>> > > > > >
การด�ำเนินงานของโครงการสหกิจศึกษามีรูปแบบและข้ันตอนการด�ำเนินงานอย่าง สCOหOกPEิจRAศTกึIVEษEาDUCATION
เป็นระบบ ซ่ึงการด�ำเนินงานโครงการสหกิจศึกษา จะประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์
ท่ีก�ำหนดไว้ได้น้ัน จ�ำเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมืออย่างใกล้ชิดจากสถานประกอบการ
ดังน้ันสถานประกอบการจึงมีบทบาทส�ำคัญในการก�ำกับและดูแลนักศึกษา ในระหว่างการ
ปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา โดยใหน้ ักศึกษาไดป้ ฏิบัตงิ าน ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อสถานประกอบการ
ให้มากที่สุด ซ่ึงสถานประกอบการควรมกี ารดำ� เนินงานเก่ยี วกับสหกจิ ศกึ ษา ดงั น้ี
การเตรียมความพร้อมของ
สถานประกอบการ
1. ผู้บริหารฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ พนักงานที่ปรึกษาและฝ่ายปฏิบัติการของ
สถานประกอบการ ศึกษาข้อมูลเพื่อให้เกิดความเข้าใจและให้ความส�ำคัญ
เกี่ยวกับกระบวนการและข้ันตอนสหกิจศึกษา เพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานได้
อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
2. สถานประกอบการควรก�ำหนดต�ำแหนง่ งานและลกั ษณะงานทจ่ี ะใหน้ กั ศกึ ษา
สหกิจศึกษาปฏิบัติ โดยเป็นงานที่ให้ประโยชน์กับสถานประกอบการ และ
ให้โอกาสนักศึกษาได้ใชค้ วามรู้ความสามารถทเ่ี รียนมา ซง่ึ เป็นงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
กับสาขาวิชาท่ีนักศึกษาสังกัด ทั้งน้ีอาจเสนอเป็นโครงการที่เกี่ยวข้องกับ
การปรบั ปรงุ หรอื แกไ้ ขใหก้ ารดำ� เนนิ งานในสถานประกอบการมผี ลการผลติ และ
มคี ณุ ภาพดขี น้ึ หรอื เปน็ งานโครงการทคี่ ดิ ขนึ้ ใหมท่ พ่ี นกั งานประจำ� ไมม่ เี วลาทำ�
3. สถานประกอบการควรจดั หาพนักงานที่ปรึกษา (พี่เลย้ี ง) เพือ่ ทำ� หน้าท่ีก�ำกับ
ดูแลและสอนงานนักศึกษาให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง ท�ำหน้าท่ีเสมือน
อาจารย์และหัวหน้างาน พร้อมทงั้ ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานของนกั ศกึ ษา
10 ค่มู ือสหกจิ ศึกษา
การรบั นักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาเ ข้าปฏิบัตงิ าน
สถานประกอบการควรด�ำเนินการในการรับนักศึกษาเข้าปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
ในสถานประกอบการดังนี้
1. พิจารณาคัดเลือกนักศึกษาโดยพิจารณาจากเอกสารสมัครงานและการ
สมั ภาษณโ์ ดยประสานงานการรบั นกั ศกึ ษากบั เจา้ หนา้ ทโี่ ครงการสหกจิ ศกึ ษา
2. ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษา เพอ่ื ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั องคก์ รแกน่ กั ศกึ ษาในเรอื่ งโครงสรา้ ง
องค์กร ผลติ ภณั ฑ์ ความคาดหวงั และขอ้ ปฏิบตั ิต่างๆ
3. สง่ นกั ศกึ ษาเขา้ รบั การปฏบิ ตั งิ าน ณ หนว่ ยงานทต่ี อ้ งไปปฏบิ ตั งิ าน โดยใหพ้ บกบั
ผบู้ งั คบั บญั ชา/พนกั งานทป่ี รกึ ษา เพอ่ื แนะนำ� สถานทท่ี ำ� งาน ลกั ษณะงานและ
ความรบั ผดิ ชอบใหแ้ กน่ กั ศกึ ษา พรอ้ มทงั้ มอบเอกสารใหก้ บั พนกั งานทป่ี รกึ ษา
ดงั น้ี
1) แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ าน 2) แบบประเมนิ ผลรายงาน
4. ใหน้ กั ศกึ ษาปฏบิ ตั งิ านตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย โดยมพี นกั งานทป่ี รกึ ษาคอยดแู ล
ให้ค�ำแนะน�ำ สอนและให้ความช่วยเหลือตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน
ในสถานประกอบการ
หนว่ ยงาน/บคุ คลของสถานประกอบการ ส่ิงส�ำคัญอย่างยิ่ง เรื่องที่นักศึกษาควรรู้
ท่มี บี ทบาทเกี่ยวขอ้ งโดยตรงกบั จากการปฐมนิเทศ ได้แก่ เร่ืองที่พักอาศัย
สหกิจศกึ ษา มคี วามปลอดภยั การเดนิ ทางมายงั ทที่ ำ� งาน
การเข้าออกงาน ระเบียบวินัย วัฒนธรรม
1. ฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คลหรือฝ่ายทรพั ยากรมนุษย์ องค์กรของสถานประกอบการท่ีนักศึกษา
จะต้องปฏิบัติ การรักษาความปลอดภัย
ฝ่ายบริหารงานบุคคลหรือฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ของ สถานประกอบการจะ ในการท�ำงาน ตลอดจนการให้ความรู้
ท�ำหน้าท่ีประสานงานการรับนักศึกษาเข้าปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ เป็นผู้ให้ เกีย่ วกบั สถานประกอบการ โครงสรา้ งทาง
คำ� แนะนำ� และอธบิ ายแนวความคดิ เกย่ี วกบั สหกจิ ศกึ ษาแกผ่ บู้ รหิ ารของสถานประกอบการ การบรหิ ารงานและเรอ่ื งอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง
บคุ ลากร พนกั งานท่ีปรกึ ษาของนักศกึ ษา และท�ำหน้าที่ให้คำ� ปรกึ ษาแกน่ ักศกึ ษาในเรอื่ ง
ตอ่ ไปนี้
1.1 ระเบยี บวินัย ฝา่ ยบรหิ ารงานบุคคลจะก�ำหนดใหน้ ักศึกษาปฏิบัตติ นตาม
ระเบียบการบรหิ ารงานบุคคลของสถานประกอบการนัน้ ๆ เสมือนหน่ึงเปน็
พนกั งานชว่ั คราว เชน่ กำ� หนดเวลาเขา้ ทำ� งาน การลางาน การแตง่ กาย ฯลฯ
1.2 การปฐมนิเทศ การเขา้ ปฏบิ ตั ิงานในวันแรกและชว่ งสปั ดาหแ์ รก จะเป็น
ช่วงเวลาที่นักศึกษามีความวิตกกังวล โดยเฉพาะนักศึกษาท่ีไปปฏิบัติงาน
ในสถานประกอบการต่างจังหวัด ซึ่งต้องจากครอบครัว ดังน้ันการจัดการ
ปฐมนเิ ทศเพอื่ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื และแนะนำ� เรอ่ื งตา่ งๆ แกน่ กั ศกึ ษา จงึ เปน็
คู่มือสหกิจศกึ ษา 11
2. พนักงานทป่ี รึกษา (Job Supervisor)
พนักงานที่ปรึกษา หมายถึง บุคลากรหรือเจ้าหน้าที่ท่ีสถานประกอบการ
มอบหมายให้ท�ำหน้าท่ีดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานของนักศึกษา อาจจะเป็นผู้บังคับ
บัญชาหรือเป็นหัวหน้างานในการปฏิบัติงานตลอดระยะเวลา 4 เดือนเต็ม พนักงาน
ที่ปรึกษาจึงเปรียบเสมือนอาจารย์ของนักศึกษา ณ สถานประกอบการ เป็นผู้ท่ีให้
ค�ำแนะน�ำและเป็นท่ีปรึกษาทั้งทางด้านการปฏิบัติงานและการปรับตัวให้เข้ากับ
การปฏิบัติงานของนักศึกษา ดังน้ันพนักงานที่ปรึกษาจึงเป็นผู้ท่ีมีความส�ำคัญที่สุดที่
จะท�ำให้การปฏิบัติงาน สหกิจศึกษาของนักศึกษาส�ำเร็จไปได้ด้วยดี พนักงานที่ปรึกษา
ควรพจิ ารณาดำ� เนนิ การในสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งอนั จะทำ� ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านสำ� เรจ็ ลงไดด้ ว้ ยดี ดงั นี้
สCOหOกPEจิ RAศTึกIVEษEาDUCATION 2.1 กำ� หนดลกั ษณะงาน(JobDescription)และแผนการปฏบิ ตั งิ าน
(Co-op Work Plan)
12 คู่มือสหกจิ ศกึ ษา
ในสปั ดาหแ์ รกของการปฏบิ ตั งิ าน พนกั งานทปี่ รกึ ษาควรกำ� หนดตำ� แหนง่
งานของนักศึกษาและขอบเขตหน้าท่ีท่ีนักศึกษาจะต้องปฏิบัติ และแจ้ง
ให้นักศึกษาได้รับทราบ ซ่ึงควรมอบหมายงาน ที่ตรงตามสาขาวิชาของ
นกั ศกึ ษา ประเภทงานทป่ี ฏบิ ตั อิ าจจะเปน็ งานประจำ� ทตี่ อ้ งการใหน้ กั ศกึ ษา
ช่วยเหลือหรือโครงงาน (Project) หรืองานวิจัย ซ่ึงจะเน้นการปฏิบัติงาน
ที่เป็นประโยชน์แก่ สถานประกอบการให้มากท่ีสุด โดยให้นักศึกษาฝึกหัด
และด�ำเนินการจริงตลอด 4 เดือน ซ่ึงงานท่ีมอบหมายไม่ควรเป็นการ
เวียนไปฝึกงานหรือดูงานในแผนกต่างๆ โดยไม่มีภาระงานท่ีจะต้อง
รับผิดชอบโดยตรง รวมทั้งควรก�ำหนดระยะเวลาการเสนอ/ส่งรายงาน
และการประเมนิ ผลตามท่ีโครงการสหกจิ ศกึ ษาก�ำหนด
2.2 การจัดท�ำรายงานสหกจิ ศึกษา
หลักสูตรสหกิจศึกษาก�ำหนดให้นักศึกษาได้ฝึกฝนทักษะการท�ำงานจริง
และกำ� หนดใหจ้ ดั ทำ� รายงานวิชาการ 1 ฉบับ เสนอตอ่ สถานประกอบการ
โดยรายงานฉบับน้ีอาจจะประกอบด้วยเนื้อหาท่ีสถานประกอบการ
จะสามารถนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดต้ อ่ ไปหรอื เปน็ รายงานทน่ี กั ศกึ ษาไดป้ ฏบิ ตั งิ าน
ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ซ่งึ รายงานอาจจะมลี ักษณะดังน้ี
1) โครงงานหรอื งานวจิ ยั หากงานทนี่ กั ศกึ ษาไดร้ บั มอบหมายเปน็ โครงงาน • แผนการปฏิบัติงานตลอดระยะ
หรอื งานวจิ ยั นกั ศกึ ษาจะตอ้ งทำ� รายงานในหวั ขอ้ ของโครงงาน/งานวจิ ยั เวลาการปฏบิ ัตงิ าน
ดังกล่าว • หวั ข้อรายงานสหกิจศึกษาและ
2) ในกรณีงานท่ีได้รับมอบหมายเป็นงานประจ�ำ รายงานของนักศึกษา ความก้าวหนา้
อาจจะเป็นดงั นี้ • การพัฒนาตนเองของนักศกึ ษา
• รายงานวธิ แี ละขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านประจำ� ทไี่ ดร้ บั มอบหมายทงั้ หมด • ผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
• รายงานหัวข้อพิเศษ ซ่ึงเป็นหัวข้อท่ีสถานประกอบการสนใจ และความประพฤติ
ในลักษณะรายงาน/ปัญหาพิเศษเรื่องใดเร่ืองหน่ึง โดยให้นักศึกษา • ปัญหาต่างๆ ท่ีสถานประกอบ
คน้ คว้า สรุป วิจารณแ์ ละรวบรวมเป็นเลม่ เพ่ือเปน็ ประโยชน์ ให้กบั การพบ เกี่ยวกับการปฏบิ ตั งิ าน
สถานประกอบการ ซึ่งหัวข้อของรายงานท่ีท�ำอาจจะไม่สัมพันธ์ ของนักศกึ ษา
กับงานประจ�ำของนกั ศกึ ษากไ็ ด้
• การจดั ทำ� สถติ หิ รอื คมู่ อื เชน่ การรวบรวมสถติ ิ วเิ คราะหผ์ ลหรอื การแปล 4. การประเมนิ ผลนกั ศกึ ษา
• การรวบรวมคู่มอื การทำ� งานหรอื การจัดท�ำคมู่ อื การปฏบิ ัตงิ าน เมื่อ
พนักงานทป่ี รึกษากำ� หนดหวั ขอ้ รายงานแลว้ นกั ศึกษาจะตอ้ งจดั ท�ำ พนักงานที่ปรึกษาจะเป็นผู้ด�ำเนิน
โครงรา่ งรายงานโดยหารอื กบั พนกั งานทป่ี รกึ ษาแลว้ จดั สง่ ใหโ้ ครงการ การประเมนิ ผลนักศึกษา 2 ส่วนดงั น้ี
สหกิจศึกษา เพื่อส่งมอบให้อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาประจ�ำ
สาขาวิชาให้ความเห็นชอบก่อน จึงจะส่งให้นักศึกษาด�ำเนินการ 4.1 การประเมินผลรายงาน
ต่อไป ลักษณะรายงานจะเป็นรายงานท่ีมีรูปแบบตามรายงาน สหกิจศึกษา พนักงานท่ี
วชิ าการ ความยาวไมค่ วรเกนิ 25 หนา้ ในสว่ นภาคผนวกสามารถ
เพิ่มข้อมูลได้ตามความจ�ำเป็น นักศึกษาจะต้องจัดพิมพ์รายงาน ปรึกษาตรวจแก้ไขรายงาน
ดังกล่าวให้เรียบร้อย และส่งให้พนักงานที่ปรึกษาตรวจและ ให้นักศึกษาและประเมินผล
ประเมินผลก่อนสิ้นสุดการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ สง่ โครงการสหกจิ ศกึ ษาภายใน
อยา่ งนอ้ ย 2 สัปดาห์ สัปดาห์สุดท้ายของการ
ปฏิบัตงิ านของนักศกึ ษา
3. การนิเทศงาน (Student Visiting)
4.2 การประเมินผลการ
ในระหว่างการปฏิบัติงานของนักศึกษา เจ้าหน้าที่สหกิจศึกษาจะนัดหมาย ปฏบิ ตั งิ านพนกั งานทป่ี รกึ ษา
กับพนักงานที่ปรึกษา เพ่ือให้อาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาเข้ามานิเทศงาน ณ
สถานประกอบการ โดยจะมหี วั ขอ้ การหารอื กบั เจา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยบคุ คลหรอื พนกั งานทป่ี รกึ ษา จะเป็นผู้ประเมินผลการ
ในระหวา่ งการนเิ ทศงานดังนี้ ปฏิบัติงานของนักศึกษา
• รปู แบบของสหกจิ ศกึ ษา การดำ� เนนิ การของโครงการสหกจิ ศกึ ษาและหลกั สตู ร อยา่ งชา้ ทสี่ ดุ ภายในสปั ดาห์
• ลักษณะงานท่มี อบหมายให้นักศึกษาปฏิบตั ิ สุดท้ายของการปฏิบัติงาน
ของนักศึกษา โดยอาจจะ
ชี้แจงผลการประเมินให้
นักศึกษาทราบ และมอบ
ผลการประเมินโดยการ
ปิดผนกึ และมอบให้นกั ศึกษา
น�ำส่งโครงการสหกิจศึกษา
โดยตรงหรอื อาจจดั สง่ ผลการ
ประเมินให้กับมหาวิทยาลัย
ทางไปรษณียก์ ไ็ ด้
คมู่ ือสหกิจศึกษา 13
4บทที่
กระบวนการและขนั้ ตอน สหกจิ ศกึ ษา
> > > > > >>>>> >>>>>>>>>>>>>> >>>>>>>> >>>>>>
หลกั สตู รสหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย มีกระบวนการและขน้ั ตอนดงั นี้ สCOหOกPEิจRAศTกึIVEษEาDUCATION
การรับสมคั รนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
เพ่ือให้การเตรียมการเก่ียวกับการไปปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา
เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและนักศึกษามีคุณสมบัติพร้อมที่จะไปปฏิบัติงานใน
สถานประกอบการ คณะกรรมการสหกิจศึกษาและสาขาวิชาได้ก�ำหนดระเบียบการ
ท่ีเกยี่ วกบั การสมัครเขา้ ร่วมโครงการสหกิจศึกษาไวด้ งั นี้
1. การรับสมคั รเขา้ โครงการสหกจิ ศกึ ษา
กำ� หนดใหน้ กั ศกึ ษาชนั้ ปที ่ี 2 ทกุ สาขาวชิ าทมี่ คี วามประสงคจ์ ะเรยี นแผนการเรยี น
สหกิจศกึ ษา ย่ืนแบบคำ� ร้องต่อคณะวชิ าที่สงั กดั ผา่ นอาจารยท์ ี่ปรึกษาของตน โดยเป็นไป
ตามเงือ่ นไขทแี่ ตล่ ะคณะวิชา/สาขาวชิ ากำ� หนด
2. การแจง้ ความจำ� นงไปปฏิบัตงิ านสหกจิ ศกึ ษา
คณะวิชาจะต้องรวบรวมสรุปผลการส�ำรวจความต้องการของนักศึกษาท่ีจะไป
ปฏิบัติงาน สหกิจศึกษาส่งมายังโครงการสหกิจศึกษาภายในระยะเวลาที่โครงการสหกิจ
ศกึ ษากำ� หนด เพอ่ื ทจ่ี ะไม่ใหเ้ กดิ ความลา่ ช้าในขัน้ ตอนกระบวนการของสหกิจศึกษา
คู่มือสหกิจศกึ ษา 15
การเลอื กสมคั รงาน
และสถานประกอบการ
นักศึกษาสามารถเลือกสมัครงานตามต�ำแหน่งงานท่ีได้รับการเสนอจาก
สถานประกอบการ โดยนกั ศกึ ษาขอรบั ใบสมคั รงานสหกจิ ศกึ ษา (CO-OP-S01) ไดท้ ี่
โครงการสหกิจศึกษา กองวิชาการ ซึ่งการเลือกต�ำแหน่งงาน/สถานประกอบการ
จากบอรด์ ประกาศตำ� แหนง่ งานของโครงการสหกจิ ศกึ ษา นกั ศกึ ษาสามารถเลอื กได้
3 ต�ำแหน่ง ต่อ 1 คน และควรเลือกต�ำแหน่งงาน/สถานประกอบการท่ีตรงกับ
ความสนใจและความถนัดของนกั ศึกษาเป็นหลกั
การคัดเลอื กนกั ศกึ ษาโดย
สถานประกอบการ/คณะวิชา
1. สถานประกอบการจะคัดเลือกนักศึกษาไปปฏิบัติงานโดยพิจารณาจาก
ใบสมัครงานและ/หรือจากการสัมภาษณ์นักศึกษาก็ได้ กรณีท่ีสถานประกอบการ
ไม่สะดวกที่จะคัดเลือกนักศึกษาด้วยตนเอง อาจมอบหมายให้คณะวิชา/สาขาวิชา
พจิ ารณาคดั เลือกให้ หลงั จากนั้นคณะวชิ า/สถานประกอบการจะส่งผลการคัดเลือก
นกั ศึกษาใหโ้ ครงการสหกิจศกึ ษา เพื่อตดิ ประกาศให้นกั ศกึ ษาทราบต่อไป
2. โครงการสหกิจศึกษาโดยความเห็นชอบจากคณะ/สาขาวิชาจะจัดให้
นักศกึ ษา ไปปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการตามทีไ่ ดร้ บั คัดเลอื ก
ค่าตอบแทนและสวัสดิการ กับเจ้าหน้าท่ีสหกิจศึกษา เพื่อติดต่อ
จากสถานประกอบการ ฝ ่ า ย บุ ค ค ล ใ ห ้ ช ่ ว ย จั ด ห า ท่ี พั ก ที่ มี
ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม ใ ห ้ แ ก ่
โดยปกติตามหลักการของสหกิจศึกษา สถานประกอบการจะจ่ายค่าเบี้ยเล้ียง นักศึกษา เช่น พักรวมกับบุคลากรของ
ให้แก่นักศึกษาในอัตราที่สถานประกอบการก�ำหนด แต่ในกรณีที่สถานประกอบการ สถานประกอบการ พกั ใกลๆ้ บรเิ วณทพ่ี นกั งาน
เสนองานให้แก่นักศึกษาโดยไม่มีค่าตอบแทนนั้น โครงการสหกิจศึกษาจะรับงานให้แก่ พักและมีรถของสถานประกอบการรับส่ง
นักศึกษาหรือไมน่ นั้ มีเงอ่ื นไขดังนี้ อ�ำนวยความสะดวก เปน็ ต้น
1. ยอมรับงานใหแ้ กน่ กั ศกึ ษาโดยหารือและเห็นชอบรว่ มกันกับคณะ/สาขาวิชา
2. เปน็ ไปตามความตอ้ งการของนกั ศกึ ษา โดยมเี หตผุ ลอนั ควร เชน่ สถานประกอบการ
ตงั้ อยู่ในภูมิลำ� เนาของนกั ศึกษา นกั ศกึ ษาสนใจลักษณะงานที่สถานประกอบการเสนอ
กรณีท่ีสถานประกอบการจัดที่พักให้นักศึกษาถือว่าเป็นสวัสดิการเพ่ิมเติม
หากนกั ศกึ ษาไมส่ ะดวกในเรอื่ งทพ่ี กั ทสี่ ถานประกอบการจดั ให้ นกั ศกึ ษาสามารถหาทพ่ี กั
เองได้แต่จะน�ำมาเป็นข้ออ้างในการไม่ไปปฏิบัติงานหรืองดปฏิบัติงานหรือเปล่ียนสถานท่ี
ปฏบิ ตั งิ านไมไ่ ด้ ในกรณที สี่ ถานประกอบการไมจ่ ดั ทพี่ กั ให้ นกั ศกึ ษาสามารถประสานงาน
16 ค่มู อื สหกจิ ศกึ ษา
การเตรยี มความพรอ้ มนักศึกษา ใหก้ บั นกั ศกึ ษาฯ โดยจะแนะนำ� การปฏบิ ตั ติ น
ก่อนออกไปปฏิบัตงิ าน ในสถานประกอบการก่อนภาคเรียน
ท่นี กั ศึกษาจะไปปฏิบตั ิงานฯ
1. การลงทะเบียนล่วงหน้ารายวชิ าสหกิจศกึ ษา 3. การจดั การปฐมนเิ ทศ
นักศกึ ษาสหกิจศึกษา
นักศึกษาที่จะไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ต้องลงทะเบียนล่วงหน้า ก่อนการไปปฏิบตั งิ าน
ก่อนภาคการศึกษาท่ีจะไปปฏิบัติงาน พร้อมท้ังช�ำระเงินค่าลงทะเบียน การลงทะเบียน
ภายหลังระยะเวลาทกี่ ำ� หนดถอื วา่ เปน็ การลงทะเบียนล่าชา้ เช่นเดยี วกับรายวิชาอืน่ ๆ โครงการสหกิจศึกษาจะจัดให้มี
การปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาประมาณ 2 สปั ดาห์
2. การจดั การอบรมเตรยี มความพร้อมนกั ศกึ ษา ก่อนการไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เพื่อให้
สหกิจศกึ ษากอ่ นการไปปฏิบตั งิ าน คำ� แนะนำ� แกน่ กั ศกึ ษาในการปฏบิ ตั งิ านและ
รบั แฟม้ เอกสารสง่ ตวั นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
โครงการสหกิจศึกษา จะจัดให้มีการอบรมนักศึกษาก่อนการไปปฏิบัติงานสหกิจ
ศกึ ษา ทง้ั นเี้ พอื่ ใหน้ กั ศกึ ษา มคี วามพรอ้ มสงู สดุ ในการไปปฏบิ ตั งิ าน ณ สถานประกอบการ
นักศึกษาจะต้องเคร่งครัดในการเข้ารับการอบรม เพื่อเตรียมความพร้อมของตน
นักศึกษาท่ีขาดการอบรมการเตรียมความพร้อมฯ ต้องท�ำรายงานชดเชยในหัวข้อที่ไม่ได้
เข้ารับการอบรมให้เสร็จส้ินตามเวลาที่โครงการสหกิจศึกษาก�ำหนด มิฉะนั้นจะไม่ได้รับ
การพจิ ารณาใหไ้ ปปฏบิ ตั งิ านและตอ้ งออกจากการเปน็ นกั ศกึ ษาหลกั สตู รสหกจิ ศกึ ษา ซง่ึ
โครงการสหกจิ ศกึ ษาจะดำ� เนนิ การจดั อบรมเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเขา้ สสู่ ถานประกอบการ
คมู่ อื สหกจิ ศกึ ษา 17
การไปปฏิบตั งิ านสหกิจศกึ ษา ณ สถานประกอบการ
นักศึกษาต้องเดินทางถึงสถานประกอบการในวันที่ก�ำหนด ท้ังน้ีโครงการสหกิจ 3) ในระหว่างสัปดาห์ท่ี 4 ของ
ศกึ ษาจะประสานงาน ใหส้ ถานประกอบการทราบลว่ งหนา้ หากนกั ศกึ ษาตอ้ งการเดนิ ทาง การปฏิบัติงาน นกั ศึกษาจะต้องจัดสง่ แบบ
ไปปฏบิ ตั งิ านกอ่ นกำ� หนดหรอื เกดิ เหตขุ ดั ขอ้ ง ในระหวา่ งเดนิ ทาง ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถเดนิ ทาง แจ้งโครงร่างรายงานการปฏิบัติงาน (CO-
ไปถงึ ไดต้ ามกำ� หนดเวลา นกั ศกึ ษาจะตอ้ งโทรศพั ทต์ ดิ ตอ่ สถานประกอบการ โดยดว่ นทสี่ ดุ OP-S04) เพื่อให้อาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจ
นอกจากนคี้ วรหลกี เลย่ี งการเดนิ ทางไปถงึ สถานประกอบการในวนั หยดุ เพราะจะไมส่ ะดวก ศกึ ษาไดต้ รวจสอบและใหค้ ำ� แนะนำ� หาก
ในการตดิ ต่อ และหาท่พี กั อาจารย์ที่ปรึกษาไม่ได้แก้ไข/ตอบกลับ
เมื่อนักศึกษาไปปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการ นกั ศึกษาจะมีพนักงานทปี่ รกึ ษา ให้นักศึกษา นักศึกษาสามารถติดต่อ
ชว่ ยใหก้ ารดูแลและชี้แนะ นักศึกษาจะต้องตงั้ ใจและมีความรับผดิ ชอบในการปฏิบัติงาน สอบถามอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาผา่ นทางโทรศพั ท์
เชอ่ื ฟงั และใหค้ วามเคารพพนกั งานทปี่ รกึ ษา เพอ่ื สรา้ งความสมั พนั ธท์ ดี่ ใี นระหวา่ งปฏบิ ตั งิ าน และแกไ้ ขปรบั ปรงุ ตามทอี่ าจารยฯ์ แนะนำ�
ทงั้ นใี้ นระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ าน นกั ศกึ ษาจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บการบรหิ ารงาน ไดด้ ว้ ยตนเอง จากนนั้ จงึ นำ� ไปใหพ้ นกั งาน
บคุ คลของสถานประกอบการอยา่ งเครง่ ครดั ทกุ ประการ เชน่ การแตง่ กาย เวลาเขา้ ออกงาน ท่ปี รึกษาตรวจและลงนามรับทราบ หาก
วนั หยดุ และวนั ลา เปน็ ตน้ มขี อ้ ขดั ขอ้ งประการใด ทท่ี ำ� ใหไ้ มส่ ามารถ
จัดส่งเอกสารได้ตามก�ำหนด นักศึกษา
1. กจิ กรรมระหว่างการปฏบิ ัติงานของนกั ศกึ ษา จะตอ้ งแจง้ ใหเ้ จา้ หนา้ ทส่ี หกจิ ศกึ ษาทราบ
ทางโทรศัพท์ทันที
เพ่ือให้การประสานงานระหว่างนักศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย นักศึกษา 4) นกั ศกึ ษาตอ้ งสง่ รายงานทเี่ สรจ็
จะตอ้ งจดั ส่งเอกสารทจี่ �ำเปน็ ให้กับโครงการ สหกิจศกึ ษา ภายในระยะเวลาที่ก�ำหนดดังนี้ สมบูรณ์ให้แก่พนักงานท่ีปรึกษาก่อน
1) ในระหว่างสัปดาห์ท่ี 1 นักศึกษาจะต้องส่งแบบรายงานตัวเข้าปฏิบัติงาน สน้ิ สดุ การปฏบิ ตั งิ านอยา่ งนอ้ ย 2 สปั ดาห์
รายละเอยี ดงาน ตำ� แหนง่ งานและพนกั งาน ทป่ี รกึ ษา (CO-OP-S02) เพอ่ื แจง้ รายละเอยี ด และจะต้องแก้ไขตามท่ีพนักงานที่ปรึกษา
เก่ียวกับท่ีพักของนักศึกษาระหว่างการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา สถานท่ีปฏิบัติงาน แนะนำ� ใหเ้ สร็จเรียบร้อย
(ชื่อสถานประกอบการและท่ีอยู่) ช่ือพนักงานที่ปรึกษา หมายเลขโทรศัพท์และโทรสาร 5) ภายในสปั ดาหแ์ รก หลงั สน้ิ สดุ
ทีจ่ ะตดิ ต่อกบั นกั ศึกษาและพนกั งานทีป่ รกึ ษาใหโ้ ครงการสหกิจศึกษาทราบ การปฏบิ ตั ิงาน (สัปดาห์ที่ 17) นักศกึ ษา
2) ในระหว่างสัปดาหท์ ่ี 3 นกั ศกึ ษาจะตอ้ งสง่ แบบแจ้งแผนการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ จะตอ้ งสง่ รายงานฉบบั ทผี่ า่ นการตรวจและ
ศึกษา (CO-OP-S03) เพอ่ื แจง้ แผนการปฏิบตั งิ านให้โครงการสหกิจศึกษาทราบ ประเมินผลจากพนักงานท่ีปรึกษาให้
โครงการสหกิจศึกษา เพื่อจะได้รวบรวม
ส่งให้อาจารย์ท่ีปรึกษา ได้ตรวจประเมิน
ผลต่อไป
สCOหOกPEจิ RAศTึกIVEษEาDUCATION
18 คมู่ อื สหกจิ ศกึ ษา
2. การนเิ ทศงานสหกิจศกึ ษาของอาจารยท์ ีป่ รึกษา
6) การแลกเปลย่ี นความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ
ซ่ึ ง กั น แ ล ะ กั น ร ะ ห ว ่ า ง อ า จ า ร ย ์ ท่ี ป รึ ก ษ า กั บ
สถานประกอบการ
7) การประเมินการด�ำเนินงานและรวบรวม
ข ้ อ มู ล ที่ เ ป ็ น ป ร ะ โ ย ช น ์ ต ่ อ ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ล ะ
สถานประกอบการ
โครงการสหกิจศึกษาได้จัดให้มีการนิเทศงานโดยอาจารย์ที่ปรึกษา ขนั้ ตอนการนเิ ทศงานสหกจิ ศกึ ษา ประกอบ
สหกิจศึกษาประจ�ำสาขาวิชาที่มีนักศึกษาไปปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ ดว้ ย
อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาต้องเดินทางไปนิเทศงานตามท่ีได้นัดหมายไว้ 1) เจ้าหน้าท่ีโครงการสหกิจศึกษาประสาน
กับสถานประกอบการ โดยควรไปนิเทศงานในสัปดาห์ที่ 2-3 ในช่วงระหว่าง งานกับอาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาทุกสาขาวิชา
การปฏิบัติงานของนักศึกษา 1 ครั้งและ อาจไปนิเทศงานในสัปดาห์ที่ 6-8 เพื่อก�ำหนดแผนการนิเทศงานของสาขาวิชาทั้งภาค
อีก 1 คร้ัง เพ่ือติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบตั ิงานของนกั ศกึ ษา ท้งั น้กี าร การศึกษา โดยนักศึกษาทกุ คนทไ่ี ปปฏบิ ตั งิ านจะตอ้ ง
นิเทศงานสหกจิ ศึกษาประกอบด้วย ไดร้ บั การนเิ ทศงาน อยา่ งนอ้ ย 1 ครงั้ ในระหวา่ งการ
1) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้บังคับบัญชา พนักงาน ปฏบิ ตั งิ าน
ท่ีปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาเกี่ยวกับการให้ความรู้ทางทฤษฎีและความรู้ 2) เจ้าหน้าที่โครงการสหกิจศึกษาหรือ
ทเี่ กดิ จากประสบการณใ์ นการทำ� งานรว่ มกนั รวมทง้ั การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาประสานงานกับผู้แทน
ของนักศึกษา โดยพนักงานท่ีปรึกษาจะเป็นผู้รายงานให้อาจารย์ท่ีไปนิเทศงาน สถานประกอบการ เพ่ือนัดวันและเวลาที่อาจารย์
ไดท้ ราบ จะเดนิ ทางไปนเิ ทศงานนกั ศกึ ษา ณ สถานประกอบการ
2) การตรวจสอบคุณภาพงานและหัวข้อรายงานท่ีสถานประกอบการ 3) อาจารยเ์ ดนิ ทางไปนเิ ทศงานสหกจิ ศกึ ษา
มอบหมายให้แก่นักศึกษา เพ่ือติดตามผลการปฏิบัติงานและความก้าวหน้า ณ สถานประกอบการ โดยด�ำเนินการใน 2 ลกั ษณะ
ในการจัดท�ำรายงานของนักศึกษา ดังน้ี
3) การสร้างขวัญและก�ำลังใจให้แก่นักศึกษาท่ีก�ำลังปฏิบัติงาน - อาจารย์พบนักศึกษา เพ่ือนิเทศงาน
ณ สถานประกอบการ โดยลำ� พงั
4) การดูแลให้ค�ำปรึกษาและติดตามผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา - อาจารยพ์ บกบั ผบู้ งั คบั บญั ชาและ/หรอื
ให้เปน็ ตามวัตถปุ ระสงค์ของสหกิจศกึ ษา พนักงานทป่ี รกึ ษาโดยล�ำพงั
5) การให้ความช่วยเหลือนักศึกษาในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ีอาจ 4) ภายหลังการไปนิเทศงานสหกิจศึกษา
เกิดขึ้นในระหว่างการปฏิบัติงาน ทั้งปัญหาด้านวิชาการและปัญหาการปรับตัว อาจารย์ที่ปรึกษาจะประเมินผลการนิเทศงาน ทั้ง
ของนักศกึ ษา ในสภาวการณข์ องการทำ� งานจรงิ สถานประกอบการและนักศึกษาจากระบบสหกิจ
ศกึ ษา
คมู่ อื สหกจิ ศกึ ษา 19
3. กิจกรรมภายหลงั เสร็จส้นิ การปฏบิ ตั ิงาน สำ� หรบั อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
ณ สถานประกอบการ
1) ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแกน่ กั ศกึ ษาในกรณที น่ี กั ศกึ ษามปี ญั หา
สำ� หรบั สถานประกอบการ หรือข้อขอ้ งใจในเรื่องตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับสหกิจศึกษา
2) ตรวจประเมนิ รายงานของนกั ศกึ ษาตามทโี่ ครงการ
ในสัปดาห์สุดท้ายของการปฏิบัติงาน พนักงานท่ีปรึกษาจะ สหกิจศึกษารวบรวมให้และก�ำหนดช่วงเวลาที่ชัดเจนในการ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านและรายงานของนักศึกษาฯ ดงั นี้ ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ ในกรณีที่ต้องการให้นักศึกษาแก้ไข
1) ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านจากแบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน รายงาน
นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา (CO-OP-C02) 3) รว่ มกบั คณะวชิ าในการกำ� หนดรายละเอยี ดสำ� หรบั
2 ) ประเมนิ ผลรายงานแบบประเมนิ รายงานสหกิจศึกษาหรือ ใหน้ กั ศกึ ษาเสนอผลการปฏบิ ตั งิ านและการจดั บอรด์ นทิ รรศการ
ประเมินผลโครงงาน (CO-OP-C04) และเม่ือประเมนิ เสรจ็ เรยี บรอ้ ย ในงานสัมมนาสหกิจศึกษา รวมท้ังให้ค�ำปรึกษาแก่นักศึกษา
แลว้ ใหส้ ถานประกอบการปดิ ผนกึ ผลการประเมนิ และมอบให้นักศึกษา ในการจดั งานสมั มนาสหกจิ ศกึ ษา
นำ� กลบั มาใหโ้ ครงการสหกจิ ศกึ ษาทนั ที ในวนั ทเี่ ดนิ ทางกลบั สมู่ หาวทิ ยาลยั 4) ร่วมกับคณะวิชาในการก�ำหนดเกณฑ์ประเมินผล
หรอื อาจสง่ ใหโ้ ครงการสหกจิ ศกึ ษาทางไปรษณยี ์ การปฏบิ ตั งิ าน รายงานและการประเมนิ การเขา้ รว่ มการสมั มนา
สหกิจศึกษาของนักศึกษา ตลอดจนการประเมินผลคะแนน
สำ� หรบั นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา สหกิจศึกษาร่วมกันภายในคณะวิชาให้เสร็จสิ้นภายในระยะ
เวลาท่มี หาวิทยาลยั ก�ำหนด
1) นกั ศกึ ษาเขา้ รายงานตวั ตอ่ โครงการสหกจิ ศกึ ษา กองวชิ าการ 5) รว่ มกบั คณะวชิ าในการสรปุ ผลการดำ� เนนิ งานดา้ น
พร้อมทั้งส่งรายงาน/โครงงานท่ีผ่านการตรวจประเมินจากพนักงาน สหกิจศึกษาของคณะวิชาในแต่ละภาคการศึกษา เพ่ือเป็น
ทป่ี รกึ ษาต่อโครงการสหกิจศึกษา เพื่อโครงการฯ จะได้ส่งให้อาจารย์ ขอ้ มลู ในการพฒั นาการเรยี น การสอนของรายวชิ าสหกจิ ศกึ ษา
ท่ีปรึกษา สหกิจศึกษาตรวจประเมินผลอีกคร้ัง ในกรณีที่ต้องมีการ ร่วมกับโครงการสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยต่อไป
แก้ไข นักศึกษาจะต้องท�ำการแก้ไขให้เสร็จสมบูรณ์ตามระยะเวลา
ท่อี าจารย์ทีป่ รึกษาฯ ก�ำหนด
2) กรณีท่ีนักศึกษามีปัญหาหรือมีข้อข้องใจ อาจเข้าพบ
อาจารย์ทป่ี รกึ ษาฯ เพ่อื ซกั ถามปัญหา / ขอค�ำปรกึ ษาดา้ นตา่ งๆ จาก
อาจารยท์ ป่ี รึกษาได้ ภายหลงั กลับจากการปฏบิ ัตงิ าน
3) นักศึกษาต้องเข้าร่วมการสัมมนาสหกิจศึกษา เพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน โดยโครงการสหกิจศึกษาจะจัดให้
นักศึกษาที่กลับจากสถานประกอบการเข้าร่วมสัมมนาแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหว่างนักศึกษากันเอง ภายใต้การก�ำกับดูแลของ
อาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาประจ�ำสาขาวิชา โดยการน�ำเสนอและ
ถ่ายทอดประสบการณ์ของตนในระหว่างที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
ท้ังในรูปแบบการสัมมนาและการจัดนทิ รรศการ
20 คมู่ ือสหกิจศึกษา
สCOหOกPEจิ RAศTึกIVEษEาDUCATION
การประเมนิ ผล
การประเมินผลจะเป็นการให้ระดับคะแนนแทนด้วยตัวอักษร คือ สัญลักษณ์
S (Satisfactory - พอใจ/ผา่ น) และ U (Unsatisfactory - ไมพ่ อใจ/ไม่ผ่าน) ทงั้ น้ี
มีกระบวนการที่ใชใ้ นการประเมนิ ผลดงั น้ี
1. นักศึกษาต้องเข้าร่วมกิจกรรมและการอบรมเตรียมความพร้อมฯ ท่ีโครงการ
สหกจิ ศกึ ษากำ� หนดไวโ้ ดยครบถว้ นและไดร้ บั การสรปุ ผลการพจิ ารณาวา่ เปน็ ผทู้ เี่ หมาะสม
สำ� หรบั การไปปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบการ หากนกั ศกึ ษาขาดการเขา้ รว่ มกจิ กรรม หรอื
การอบรมตามทกี่ ำ� หนดจะตอ้ งมาตดิ ตอ่ ขอทำ� รายงานชดเชยในเรอื่ งนนั้ ๆ โดยสรปุ เนอ้ื หากจิ กรรม
จากเอกสารการอบรมหรืองานที่โครงการสหกิจศึกษามอบหมายให้เสร็จส้ินตามเวลา
ทีโ่ ครงการสหกจิ ศกึ ษาก�ำหนด
2. นักศึกษาต้องเข้ารับการปฐมนิเทศสหกิจศึกษาท่ีโครงการสหกิจศึกษาจัดข้ึน
กอ่ นการไปปฏิบตั งิ านของนกั ศึกษา
3. นกั ศกึ ษาตอ้ งเขา้ รว่ มกจิ กรรมสมั มนาสหกจิ ศกึ ษาภายหลงั กลบั จากการปฏบิ ตั ิ
งานสหกิจศกึ ษาอยา่ งครบถ้วน
4. นกั ศกึ ษาตอ้ งไดร้ บั ผลการประเมนิ ความสามารถในการปฏบิ ตั งิ านและรายงาน
โดยได้สัญลักษณ์ S
5. นักศึกษาท่ีร่วมทุกกิจกรรมของโครงการสหกิจศึกษาและผ่านการประเมิน
จากสาขาวิชา จะได้รับคะแนนเป็นสัญลักษณ์ S ในกรณีท่ีนักศึกษาได้รับคะแนน
เป็นสัญลักษณ์ U นักศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาใหม่หรืออาจขออนุมัติ
เปลี่ยนไปเรียนรายวิชาอื่น เพื่อทดแทนวิชาสหกิจศึกษา ตามที่คณะ/สาขาวิชาก�ำหนด
ท้ังนจ้ี ะมีผลทำ� ใหส้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาช้ากว่ากำ� หนด
คมู่ อื สหกจิ ศึกษา 21
5บทที่
ขอ้ แนะนำ� และแนวทางปฏบิ ตั สิ ำ� หรบั นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
> > > > > >>>>> >>>>>>>>>>>>>> >>>>>>>> >>>>>>
ขอ้ แนะน�ำในการตดิ ต่อเกี่ยวกบั
สหกจิ ศกึ ษา
เพื่อให้การเตรียมการเก่ียวกับการไปปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาเป็นไป
ด้วยความเรียบร้อย และเพ่ือให้นักศึกษามีคุณสมบัติพร้อมท่ีจะไปปฏิบัติงานในสถาน
ประกอบการ คณะกรรมการสหกจิ ศกึ ษา ไดก้ �ำหนดแนวปฏบิ ตั ิ ท่เี ก่ียวกับการสมัครเข้า
รว่ มโครงการสหกจิ ศึกษาไว้ ดงั น้ี
1. การแจง้ รายละเอียดเขา้ รว่ มโครงการสหกิจศกึ ษา
นักศึกษาที่สนใจเข้าร่วมแผนการเรียนสหกิจศึกษาจะต้องเลือกแผนการเรียน 3. การแจง้ ความจ�ำนงไป
และแจ้งรายละเอียดการสมัครเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา เม่ือนักศึกษาขึ้นปีที่ 2 ปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา
ตามระยะเวลาที่คณะวิชาก�ำหนด การคัดเลือก/อนุมัติให้เข้าเรียนในแผนการเรียน
สหกิจศึกษาจะเป็นหน้าท่ีของคณะวิชา โดยยึดหลักการและเงื่อนไขตามท่ีแต่ละ นักศึกษาสหกิจศึกษาจะต้อง
คณะ/สาขาวิชาก�ำหนด ตรวจสอบภาคการศึกษาท่ีได้แจ้งความ
ประสงค์จะไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
2. การอบรมหลกั สตู รการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเข้าสู ่ ท่ีโครงการสหกิจศึกษา กรณีที่ต้องการ
สถานประกอบการ จะปล่ียนแปลงภาคการศึกษาท่ีจะไป
ปฏิบัติงาน จะต้องแจ้งให้คณะวิชาทราบ
นักศึกษาสหกิจศึกษาทุกคนจะต้องเข้ารับการอบรมในหัวข้อต่างๆ ตามที่ เ พื่ อ ค ณ ะ วิ ช า จ ะ ไ ด ้ พิ จ า ร ณ า อ นุ มั ติ
โครงการฯก�ำหนด เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนการไปปฏิบัติงาน หากนักศึกษาเข้าร่วม และแจ้งให้โครงการสหกิจศึกษาทราบ
กิจกรรมใดไม่ได้ จะต้องยื่นค�ำร้องต่อโครงการสหกิจศึกษาโดยผ่านอาจารย์ท่ีปรึกษา ต่อไป
สหกิจศึกษาล่วงหน้า และจะต้องท�ำรายงานชดเชยในหัวข้อท่ีไม่ได้เข้ารับการอบรม
ตามท่ีโครงการฯ มอบหมายภายในระยะเวลาท่ีก�ำหนด หากนักศึกษาเข้าอบรม หรือ
ท�ำรายงานไม่ครบถ้วนจะถูกตัดสิทธ์ิการไปปฏิบัติงานทันที โครงการฯ จะประกาศ
รายชื่อผู้มีสิทธ์ิไปปฏิบัติงานอย่างช้า 1 สัปดาห์ ก่อนภาคเรียนสหกิจศึกษาท่ีนักศึกษา
จะต้องไปปฏบิ ตั งิ าน
ค่มู ือสหกิจศกึ ษา 23
4. การขอเลอ่ื นการไปปฏบิ ตั ิงาน 7. ก�ำหนดจ�ำนวนภาค
เม่ือนักศึกษาย่ืนใบสมัครงานแล้ว แต่มีเหตุจ�ำเป็นจะต้องเลื่อนการไปปฏิบัติงาน การศกึ ษาสหกิจศึกษา
ใหน้ กั ศกึ ษายน่ื คำ� รอ้ งตอ่ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา และสง่ ใหโ้ ครงการสหกจิ ศกึ ษา โดยทง้ั นใี้ หอ้ ยู่ นักศึกษาสหกิจศึกษาจะต้องไป
ในดุลยพินจิ ของคณะกรรมการสหกิจศึกษา ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งนอ้ ย 1 ภาคการศกึ ษาปกติ
(16 สปั ดาห์)
8. กรณยี นื่ ใบคำ� รอ้ งตา่ งๆ
ค�ำร้องท่ีคณบดีอนุมัติแล้วจะมีผล
ในวนั ทโี่ ครงการสหกจิ ศกึ ษา กองวชิ าการ
รับเรอื่ ง ไม่ใช่วนั ท่นี ักศกึ ษาเขียนค�ำร้อง
5. การขอเปลย่ี นแปลงจากหลักสูตรแผนปกตมิ าเรยี น
ในหลักสตู รสหกิจศึกษา
9. การย่นื ขอสำ� เร็จ
นักศึกษาที่เรียนในหลักสูตรแผนปกติ สามารถเข้าร่วมโครงการฯ ภายหลังจาก การศกึ ษาในภาคเรยี น
วันท่ีคณะวิชาก�ำหนดได้ โดยย่ืนค�ำร้องต่อหัวหน้าสาขาวิชาที่ตนสังกัดภายในภาคเรียน สหกจิ ศกึ ษา
ก่อนภาคเรียนสหกิจศึกษา เพื่อให้โครงการสหกิจศึกษาด�ำเนินการจัดหาต�ำแหน่งงาน
และสถานประกอบการให้ นอกจากนน้ั นกั ศกึ ษาจะตอ้ งเขา้ รบั การอบรมเตรยี มความพรอ้ ม กรณที นี่ กั ศกึ ษาจะยนื่ ขอสำ� เรจ็ การ
สหกจิ ศกึ ษากอ่ น ซงึ่ โครงการฯไดด้ ำ� เนนิ การจดั อบรมให ้ นกั ศึกษาในภาคการศึกษาก่อนท่ี ศึกษาในภาคเรียนสหกิจศึกษาสามารถ
นักศึกษาจะไปปฏิบตั ิงานสหกิจศกึ ษา ท�ำได้โดยจะต้องปฏิบัติตามระเบียบการ
ลงทะเบียนเรียน และระเบียบการแจ้ง
6. การขอลาออกจากโครงการสหกจิ ศกึ ษา ขอส�ำเร็จการศึกษาตามที่ส�ำนักทะเบียน
และประมวลผล ก�ำหนดไว้ วันส�ำเร็จ
6.1 นักศึกษาที่ได้รับคัดเลือกจากคณะ/สาขาวิชาให้เรียนในหลักสูตรแผน ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น
สหกิจศึกษาจะขอลาออกจากการเป็นนักศึกษาในหลักสูตรดังกล่าวได้ สหกิจศึกษาเป็นภาคการศึกษาสุดท้าย
เมื่อมีเหตุจ�ำเป็นโดยย่ืนค�ำร้องต่อหัวหน้าสาขาวิชาที่ตนสังกัด ทั้งนี้ต้อง ก่อนจบน้ัน จะถือเอาวันท่ีคณะวิชา
ยื่นค�ำร้องก่อนที่จะประกาศผลการคัดเลือกนักศึกษาไปปฏิบัติงาน ส่งผลการประเมินวิชาสหกิจศึกษาไปยัง
สหกิจศึกษา เพอ่ื ให้คณะกรรมการสหกจิ ศกึ ษาพจิ ารณา เป็นรายกรณไี ป ส�ำนกั ทะเบยี นและประมวลผล
6.2 เม่ือประกาศผลการคัดเลือก นักศึกษาที่ไปปฏิบัติงานจะลาออกจาก
โครงการฯ หรอื เลอ่ื นเวลาไปปฏบิ ตั งิ านไมไ่ ดโ้ ดยเดด็ ขาด ยกเวน้ กรณเี จบ็ ปว่ ย
ฉุกเฉินหรือมีความจ�ำเป็นซึ่งคณะวิชาและคณะกรรมการสหกิจศึกษา
จะพิจารณาเป็นรายกรณีไป นอกจากน้ันส�ำหรับนักศึกษาที่ไปปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการและมีเหตุสุดวิสัยท่ีไม่สามารถปฏิบัติงานต่อไปได้
ให้นักศึกษายื่นค�ำร้องเพื่อขอกลับเข้าศึกษาในแผนการเรียนปกติที่โครงการ
สหกิจศึกษา ภายในสัปดาห์ท่ี 3 หลังจากท่ีได้ไปปฏิบัติงานใน
สถานประกอบการ เพื่อให้โครงการฯ แจ้งให้คณะวิชาท่ีนักศึกษาสังกัด
พจิ ารณาอนมุ ัติร่วมกับคณะกรรมการสหกจิ ศึกษาตอ่ ไป
24 คมู่ ือสหกิจศึกษา
การใหบ้ รกิ ารของโครงการสหกจิ ศกึ ษา การนิเทศงานสหกิจศึกษา
การจดั หาตำ� แหนง่ งานและเตรยี มความพร้อมนกั ศกึ ษา ใหบ้ รกิ ารเก่ียวกบั
ใหบ้ รกิ ารเก่ียวกับ 1. ประสานงานกับสถานประกอบ
1. ประสานงานกบั คณะวชิ า/อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา เกยี่ วกบั การคดั เลอื ก การและคณาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษา
นักศึกษาเข้าโครงการสหกิจศึกษาตามคุณสมบัติของนักศึกษาและ ในการนเิ ทศงานนกั ศึกษาสหกจิ ศึกษา
คณุ ภาพงาน การจดั หางาน การจดั อบรมและกิจกรรมสหกิจศึกษาท่เี ก่ียวขอ้ ง 2. ให้ค�ำปรึกษาเพ่ือแก้ไขปัญหา
2. รว่ มกบั อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาประจำ� สาขาวชิ า เพอ่ื จดั หาตำ� แหนง่ งาน แก่นักศึกษาในระหว่างการปฏิบัติงาน ณ
ใหเ้ พยี งพอกับจำ� นวนนักศกึ ษาท่ีจะไปปฏิบัติงาน สถานประกอบการ
3. ให้ข้อมูลและค�ำแนะน�ำเก่ียวกับการหางาน แหล่งงาน การสมัครงาน 3. ประสานงานกบั หนว่ ยงานภายใน
ลักษณะงานท่ีจะปฏิบัติ ลักษณะธุรกิจของสถานประกอบการท่ีนักศึกษา มหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน
จะไปปฏิบัติงาน ปัญหาที่เกิดข้ึนระหว่างการปฏิบัติงาน การพัฒนาตนเอง ของนักศึกษาและการไปนิเทศงานของ
ของนักศึกษา อาจารย์ท่ปี รึกษา
4. ประสานงานการจัดอบรมเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษา และก�ำกับดูแล
ใหน้ ักศกึ ษาเข้าอบรมโดยครบถว้ น
5. จดั ท�ำประวัติการปฏิบัตงิ านของนกั ศึกษา งานวางแผนและทะเบียน
6. รบั ใบสมัครงานสหกิจศกึ ษาของนักศกึ ษา นักศึกษาสหกจิ ศกึ ษา
7. ประกาศผลการคัดเลอื กนกั ศกึ ษาไปปฏิบตั ิงาน
8. ให้ข้อมลู สถานประกอบการ เช่น ชอื่ ทีอ่ ย่ทู สี่ ามารถติดตอ่ ได้ ใหบ้ ริการเก่ียวกบั
1. ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ ์ ข ่ า ว ส า ร
ความเคล่ือนไหวของงานสหกิจศึกษา
ใหน้ ักศกึ ษาทราบ
2. จัดท�ำตารางปฏิทินกิจกรรม
ของงานสหกจิ ศกึ ษา แจง้ ใหน้ กั ศกึ ษาทราบ
3. ประสานงานกบั สาขาวชิ าในการ
จัดนักศึกษาเข้าเรียนในแผนการเรียน
สหกิจศึกษาและการตรวจสอบข้อมูลให้
ทันสมัย
นกั ศึกษาสามารถขอคำ� ปรกึ ษาหรอื หารือขอ้ มูลเก่ียวกบั สหกจิ ศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ไดจ้ ากเจ้าหน้าทส่ี หกจิ ศกึ ษาไดท้ ุกวันท�ำการ
ระหวา่ งเวลา 08.30 - 17.00 น. ณ โครงการสหกจิ ศึกษา กองวิชาการ อาคาร 10 ช้ัน 5
คมู่ ือสหกจิ ศึกษา 25
ภาคผนวก
กภาคผนวก ขอ้ มลู เกย่ี วกับคณะ สาขาวิชา
และลักษณะงานท่ีเหมาะสมตามสาขาวชิ า
>>>>>> >>>>>>>> >>>>>>>>>>>>>> >>>>> > > > > >
คณะบริหารธุรกจิ
School of Business
สาขาวิชาการจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์
Human Resource Management
เน้ือหาหลักสูตร
ศกึ ษาเกย่ี วกบั การจดั คนเขา้ ทำ� งานไดแ้ ก่ การศกึ ษาวเิ คราะหง์ าน • ทักษะการใช้โปรแกรมส�ำเร็จรปู ด้านการน�ำเสนอรายงาน
การวางแผนกำ� ลงั คน การสรรหาและคดั เลอื กบคุ คล การบรหิ ารผลการ • ทักษะด้านการใชภ้ าษาไทยและภาษาองั กฤษ
ปฏิบตั ิงาน และการจา่ ยค่าตอบแทนแบบต่าง ๆ การจดั สวัสดิการ • ทกั ษะการส่ือสาร การประสานงานและการเจรจาตอ่ รอง
ชว่ ยเหลอื พนกั งาน การแรงงานสมั พนั ธ์ กฎหมายแรงงาน การจดั การ • การเขยี นรายงานการประชมุ
ความปลอดภยั ในการทำ� งาน การสรา้ งขวญั และกำ� ลงั ใจในการปฏบิ ตั ิ
งานและระบบสารสนเทศในการจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์ ลักษณะงานท่ีเหมาะสมกบั นกั ศกึ ษา
หน่วยงานหลักของการปฏิบัติงานคือ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
ทกั ษะพ้ืนฐานที่นักศึกษาควรไดร้ ับ ขององค์กรตา่ งๆ งานท่ีฝกึ เช่น
การฝกึ ฝนก่อนออกปฏบิ ตั ิงานสหกิจศึกษา • งานในฝ่ายวางแผนก�ำลงั คน
• งานดา้ นการสรรหาและคัดเลอื กพนักงาน
นกั ศกึ ษามคี วามรพู้ น้ื ฐานในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป วชิ าแกนธรุ กจิ • งานดา้ นการฝกึ อบรม พฒั นาและการประเมนิ ผลงาน
วชิ าเอกการจดั การทรัพยากรมนษุ ยแ์ ละวชิ าโทที่สนใจ นอกจากน้ี • งานด้านการบริหารค่าตอบแทน และสวัสดิการ
ควรเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ในการเข้าสู่การท�ำงานในสถาน • งานดูแลเก่ยี วกับแรงงาน หรอื พนกั งานสมั พันธ์
ประกอบการ ดังน้ี • งานด้านการจัดการความปลอดภยั ในการทำ� งาน
• การมมี นษุ ยสมั พนั ธแ์ ละการปรบั ตวั ในการทำ� งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื • งานวชิ าการด้านการศึกษาวจิ ัยเกีย่ วกับปญั หาบคุ ลากร
• การปรบั บุคลกิ ภาพใหเ้ หมาะสมกบั การทำ� งาน • งานทป่ี รกึ ษาใหค้ ำ� แนะนำ� ตา่ ง ๆ แกอ่ งคก์ รทม่ี ปี ญั หาดา้ น
• การวางตวั มารยาททางสงั คม และการแตง่ กายใหถ้ กู กาลเทศะ ทรพั ยากรบุคคล
• มีทัศนคติท่ีดีต่อการท�ำงาน เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ • งานดา้ นการพัฒนาองค์กร
มคี วามพยายาม อดทนและพรอ้ มเรยี นรสู้ ิ่งใหมๆ่ • งานดา้ นการจัดการเชิงกลยทุ ธ์
• ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รปู เพอื่ ใชใ้ นงานดา้ นเอกสาร • งานดา้ นเทคโนโลยดี า้ นการจดั การทรัพยากรมนุษย์
(Microsoft Office)
คู่มอื สหกจิ ศกึ ษา 29
สCOหOกPEจิ RAศTกึIVEษEาDUCATION
สาขาวิชาการเงนิ
Finance
เน้ือหาหลักสูตร
ศึกษาเก่ียวกับการก�ำหนดกลยุทธ์และนโยบายทางการเงิน • การวางตัว มารยาททางสังคม และการแต่งกายให้ถูก
เพ่ือสนับสนุนแผนกลยุทธ์ให้ธุรกิจมีผลประกอบการที่ดีและ กาลเทศะ
เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันได้ เทคนิคต่างๆ ที่ใช้ในการบริหาร • มีทัศนคติท่ีดีต่อการท�ำงาน เป็นผู้ท่ีมีความรับผิดชอบ
การเงนิ ทงั้ ในดา้ นการตดั สนิ ใจลงทนุ การจดั หาเงนิ ทนุ ใหเ้ หมาะสม มคี วามพยายาม อดทนและพร้อมเรยี นรูส้ ่งิ ใหมๆ่
การด�ำเนินงานของสถาบันการเงินในประเทศและต่างประเทศ • ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รปู เพอื่ ใชใ้ นงานดา้ นเอกสาร
วิธีการและเทคนิคการป้องกันความเสี่ยงทางการเงินในสภาพ (Microsoft Office)
แวดลอ้ มทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ การใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ • ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมส�ำเร็จรูปด้านการน�ำเสนอรายงาน
เพื่อช่วยค�ำนวณและวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน การน�ำเสนอ • ทักษะด้านการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
รายงานทางการเงนิ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการใชข้ อ้ มลู เพอื่ การตดั สนิ ใจ • ทกั ษะการสอ่ื สาร การประสานงานและการเจรจาต่อรอง
ของผ้บู ริหาร • การเขยี นรายงานการประชุม
ลักษณะงานท่ีเหมาะสมกบั นักศกึ ษา
ทกั ษะพน้ื ฐานที่นักศึกษาควรไดร้ ับ
การฝกึ ฝนกอ่ นออกปฏิบตั งิ านสหกิจศกึ ษา
นกั ศกึ ษามคี วามรพู้ น้ื ฐานในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป วชิ าแกนธรุ กจิ
วิชาเอกการเงินและวิชาโทท่ีสนใจ นอกจากน้ีควรเตรียมความ
พร้อมดา้ นตา่ งๆในการเข้าสูก่ ารท�ำงานในสถานประกอบการ ดงั นี้
• การมีมนุษยสัมพนั ธแ์ ละการปรบั ตัวในการทำ� งานรว่ มกับ
ผอู้ ่นื
• การปรับบคุ ลกิ ภาพให้เหมาะสมกับการท�ำงาน
30 ค่มู ือสหกจิ ศกึ ษา หน่วยงานหลักของการปฏิบัติงานคือ สถาบันการเงินและ
องค์กรต่างๆ เช่น ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน และบริษัท
หลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทมหาชน
บรษิ ทั เอกชน งานท่ฝี กึ เช่น
• งานด้านการบรหิ ารเงิน
• งานดา้ นการวางแผนและควบคุมทางการเงนิ
• งานดา้ นการธนาคารพาณชิ ย์
• งานดา้ นการบญั ชี
• งานด้านการลงทุน
• งานดา้ นการวิเคราะห์ทางการเงิน
สหกิจศึกษา • งานดา้ นการบรหิ ารความเสยี่ ง
COOPERATIVE EDUCATION
สาขาวชิ าการตลาด
Marketing
เนอื้ หาหลกั สตู ร • ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รปู เพอ่ื ใชใ้ นงานดา้ นเอกสาร
(Microsoft Office)
ศกึ ษาเกี่ยวกบั พฤตกิ รรมผ้บู ริโภค การจัดการผลิตภัณฑแ์ ละ • ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รูปดา้ นการนำ� เสนอรายงาน
ราคา การจัดการช่องทางการตลาด การส่งเสริมและการสื่อสาร • ทกั ษะดา้ นการใชภ้ าษาไทยและภาษาอังกฤษ
ทางการตลาด การบรหิ ารการคา้ ปลกี คา้ สง่ การจดั การดา้ นการขาย • ทักษะการส่ือสาร การประสานงานและการเจรจาตอ่ รอง
และเทคนิคการขาย การวิจัยตลาด การจัดการทางการตลาด • การเขยี นรายงานการประชุม
การวางแผนทางการตลาด การกำ� หนดกลยทุ ธก์ ารตลาด การวเิ คราะห์
ปญั หาทางด้านการตลาดท่เี กดิ ข้นึ อย่างเป็นระบบ ลกั ษณะงานที่เหมาะสมกับนกั ศกึ ษา
ทกั ษะพนื้ ฐานทีน่ ักศึกษาควรได้รับ หน่วยงานหลักของการปฏิบัติงานคือ ฝ่ายขายและหรือ
การฝึกฝนกอ่ นออกปฏิบตั ิงานสหกิจศกึ ษา การตลาด ฝ่ายจัดซ้อื ขององคก์ รต่างๆ งานทฝี่ กึ เชน่
• งานด้านการวิจยั ตลาด
นกั ศกึ ษามีความรพู้ ้นื ฐานในหมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป วชิ าแกน • งานด้านการวางแผนการตลาด
ธรุ กจิ วชิ าเอกการตลาดและวิชาโททสี่ นใจ นอกจากนค้ี วรเตรยี ม • งานดา้ นการกำ� หนดกลยุทธผ์ ลิตภัณฑแ์ ละราคา
ความพรอ้ มดา้ นตา่ งๆในการเขา้ สกู่ ารทำ� งานในสถานประกอบการ • งานด้านการบริหารการขาย
ดงั น้ี • งานดา้ นการวางแผนสื่อสารการตลาด
• การมมี นษุ ยสมั พันธ์และการปรับตัวในการทำ� งานร่วมกบั • งานดา้ นการสง่ เสริมการตลาดสินค้า
ผู้อืน่ • งานดา้ นการประสานงานโฆษณาสินคา้
• การปรบั บุคลกิ ภาพใหเ้ หมาะสมกบั การท�ำงาน • งานด้านการตลาดระหวา่ งประเทศ
• การวางตัว มารยาททางสังคม และการแต่งกายให้ถูก • งานด้านการตลาดส�ำหรับธุรกจิ บริการ
กาลเทศะ • งานด้านการบริการลูกค้าสมั พนั ธ์
• มีทัศนคติที่ดีต่อการท�ำงาน เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ • งานด้านการบริหารรา้ นค้าปลกี -สง่
มคี วามพยายาม อดทนและพร้อมเรยี นรูส้ ง่ิ ใหม่ๆ
สCOหOกPEจิ RAศTกึIVEษEาDUCATION คู่มอื สหกิจศึกษา 31
สาขาวิชาการบรหิ ารธุรกจิ ระหวา่ งประเทศ
International Business Management
เนอื้ หาหลักสตู ร • การมมี นุษยสมั พันธ์และการปรบั ตัวในการทำ� งานร่วมกับ
ผอู้ น่ื
ศึกษาเก่ียวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อองค์กรธุรกิจ • การปรับบคุ ลิกภาพให้เหมาะสมกบั การท�ำงาน
ระหวา่ งประเทศ ศกึ ษาทฤษฎแี ละนโยบายตา่ งๆ ทใี่ ชใ้ นการบรกิ าร • การวางตัว มารยาททางสังคม และการแต่งกายให้ถูก
ธรุ กจิ ระหวา่ งประเทศ รวมถงึ กฎระเบยี บและขอ้ บงั คบั ตา่ ง ๆ ของ กาลเทศะ
การจัดการธุรกจิ ระหว่างประเทศ และศึกษาดา้ นการเงินระหว่าง • มีทัศนคติที่ดีต่อการท�ำงาน เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ
ประเทศ การตลาดระหว่างประเทศ การบริหารทรัพยากรมนษุ ย์ มีความพยายาม อดทนและพร้อมเรียนรู้สิ่งใหมๆ่
ในองค์กรข้ามชาติและการส่งก�ำลังบ�ำรุง การน�ำเข้าและส่งออก • ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รปู เพอ่ื ใชใ้ นงานดา้ นเอกสาร
สินค้าต่างๆ และสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับธุรกิจ (Microsoft Office)
ระหวา่ งประเทศ • ทกั ษะการใช้โปรแกรมส�ำเร็จรปู ดา้ นการน�ำเสนอรายงาน
ทักษะพ้ืนฐานทนี่ กั ศึกษาควรไดร้ ับ • ทักษะด้านการใชภ้ าษาไทยและภาษาองั กฤษ
• ทักษะการสือ่ สาร การประสานงานและการเจรจาต่อรอง
การฝกึ ฝนกอ่ นออกปฏิบัติงานสหกิจศกึ ษา • การเขียนรายงานการประชมุ
นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในหมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป วิชาแกน ลักษณะงานที่เหมาะสมกับนักศึกษา
ธรุ กจิ วชิ าเอกการบรหิ ารธรุ กจิ ระหวา่ งประเทศและวชิ าโททสี่ นใจ
นอกจากนคี้ วรเตรยี มความพรอ้ มดา้ นตา่ งๆในการเขา้ สกู่ ารทำ� งาน หน่วยงานหลักของการปฏิบัติงานคือ ฝ่ายน�ำเข้าส่งออก
ในสถานประกอบการ ดังน้ี ฝ่ายขายและหรือการตลาด ฝ่ายจัดซ้ือ ฝ่ายธุรกิจต่างประเทศ
ขององคก์ รต่างๆ งานทฝี่ ึก เชน่
• งานดา้ นนำ� เข้าและสง่ ออก
• งานดา้ นธรุ กิจบริการระหว่างประเทศ
• งานด้านการธนาคารพาณชิ ย์
• งานดา้ นโลจิสติกส์
• งานด้านการตลาดระหวา่ งประเทศ
• งานดา้ นการวิจัยธรุ กิจระหวา่ งประเทศ
• งานดา้ นการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรมนษุ ยร์ ะหวา่ งประเทศ
• งานดา้ นการก�ำหนดกลยทุ ธใ์ นธุรกิจระหว่างประเทศ
• งานดา้ นการเปน็ ผชู้ ว่ ยผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ระหวา่ งประเทศ
32 คูม่ ือสหกิจศึกษา COOPERAสTIVหEกEDจิ UศCกึATษIONา
สาขาวชิ าการจดั การ
General Management
เนอ้ื หาหลกั สตู ร • ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รปู เพอื่ ใชใ้ นงานดา้ นเอกสาร
(Microsoft Office)
ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีองค์การและการออกแบบ การพัฒนา • ทักษะการใช้โปรแกรมสำ� เรจ็ รปู ด้านการนำ� เสนอรายงาน
ธรุ กจิ ทย่ี ง่ั ยนื กลยทุ ธก์ ารบรหิ ารการสอื่ สาร ความเปน็ ผปู้ ระกอบการ • ทักษะดา้ นการใช้ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
การเจรจาต่อรอง การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการห่วงโซ่ • ทกั ษะการสอ่ื สาร การประสานงานและการเจรจาตอ่ รอง
อุปทาน การวิเคราะหเ์ พอื่ การตัดสนิ ใจและการแก้ปัญหาทางการ • ทกั ษะการเขียนแผนธุรกิจ และรายงานการประชุม
จัดการ การบริหารโครงการ การจัดการนวัตกรรมและการ
เปลย่ี นแปลง ตลอดจนทักษะผบู้ ริหาร ลกั ษณะงานทเ่ี หมาะสมกับนักศกึ ษา
ทักษะพนื้ ฐานทน่ี กั ศกึ ษาควรได้รับ หนว่ ยงานหลกั ของการปฏิบัติงานคือ ฝา่ ยจัดซอื้ ฝา่ ยพัฒนา
การฝึกฝนก่อนออกปฏิบัตงิ านสหกิจศกึ ษา ธรุ กจิ ขององคก์ รตา่ งๆ งานท่ีฝึก เชน่
• งานด้านการบรหิ ารการจัดการองคก์ าร
นักศึกษามคี วามรู้พน้ื ฐานในหมวดวิชาศึกษาท่วั ไป วชิ าแกน • งานก�ำหนดกลยุทธ์ และนโยบาย
ธรุ กจิ วิชาเอกการจดั การและวชิ าโททส่ี นใจ นอกจากนค้ี วรเตรียม • งานธุรการ
ความพรอ้ มดา้ นตา่ งๆในการเขา้ สกู่ ารทำ� งานในสถานประกอบการ • งานด้านวิเคราะห์นโยบายและแผน และการวิเคราะห์
ดงั นี้ โครงการ
• การมมี นษุ ยสัมพนั ธ์และการปรับตวั ในการท�ำงานร่วมกบั • งานจดั การทวั่ ไป งานจัดการส�ำนกั งาน
ผ้อู ่นื • ส่วนงานกำ� กบั สว่ นงานตรวจสอบ ส่วนงานควบคมุ
• การปรับบุคลกิ ภาพใหเ้ หมาะสมกับการทำ� งาน • การวางกฎระเบียบ ข้อบงั คับ
• การวางตัว มารยาททางสังคม และการแต่งกายให้ถูก • งานจัดการประชมุ
กาลเทศะ
• มีทัศนคติท่ีดีต่อการท�ำงาน เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ
มีความพยายาม อดทนและพรอ้ มเรยี นรูส้ ิ่งใหม่ๆ
สCOหOกPEิจRAศTึกIVEษEาDUCATION คู่มอื สหกิจศึกษา 33
สาขาวิชาการจัดการอตุ สาหกรรม
Industrial Management
เนอื้ หาหลกั สูตร
ศึกษาเก่ียวกับบทบาทของการบริหารการจัดการเก่ียวกับ
ปจั จยั พน้ื ฐานในการปฏบิ ตั กิ ารหรอื การผลติ เพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั ประโยชน์
สงู สดุ ในระบบงานของการผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร โดยศกึ ษาถงึ การ
จัดหน่วยงานผลติ การจัดหาทุน การตลาด การจดั การทรัพยากร
มนษุ ย ์ สำ� หรบั การผลติ การเลอื กทำ� เลทตี่ งั้ การวางแผนผงั โรงงาน
การออกแบบ การควบคุมคุณภาพ ความปลอดภัยในโรงงาน
การบ�ำรุงรักษา บัญชีต้นทุนสินค้า การบริหารเงินเดือนและ
คา่ จา้ ง ศกึ ษาภาวะแวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ งานเขยี นแบบวศิ วกรรม
เทคนิคการควบคุมสินค้าคงคลัง เทคนิคเชิงปริมาณ และทฤษฎี • มีทัศนคติที่ดีต่อการท�ำงาน เป็นผู้ท่ีมีความรับผิดชอบ
ทางการประเมนิ และแบบจำ� ลองทางคณติ ศาสตรต์ า่ ง ๆ เพอ่ื ทำ� ให้ มคี วามพยายาม อดทนและพรอ้ มเรยี นรสู้ ิ่งใหม่ๆ
การผลติ สินคา้ และบรกิ ารมีประสทิ ธภิ าพ • ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รปู เพอื่ ใชใ้ นงานดา้ นเอกสาร
(Microsoft Office)
• ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รูปดา้ นการนำ� เสนอรายงาน
ทักษะพ้นื ฐานทนี่ ักศึกษาควรไดร้ บั โปรแกรมส�ำเร็จรูปด้านการจดั การสินคา้ คงคลงั
การฝึกฝนก่อนออกปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา • ความรพู้ น้ื ฐานทางดา้ นการวเิ คราะห์เชิงปริมาณ
นักศึกษามีความรู้พ้ืนฐานในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป วิชา • ทักษะด้านการใชภ้ าษาไทยและภาษาอังกฤษ
แกนธุรกิจ วิชาเอกการจัดการอุตสาหกรรม และวิชาโทที่สนใจ • ทกั ษะการสอ่ื สาร การประสานงานและการเจรจาต่อรอง
นอกจากนคี้ วรเตรยี มความพรอ้ มดา้ นตา่ งๆในการเขา้ สกู่ ารทำ� งาน • การเขียนรายงานการประชุม
ในสถานประกอบการ ดังน้ี
• การมมี นษุ ยสมั พนั ธแ์ ละการปรบั ตวั ในการทำ� งานรว่ มกบั ลกั ษณะงานทเ่ี หมาะสมกบั นกั ศึกษา
ผู้อ่นื
• การปรบั บุคลิกภาพให้เหมาะสมกับการทำ� งาน หน่วยงานหลักของการปฏิบัติงานคือ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ
• การวางตัว มารยาททางสังคม และการแต่งกายให้ถูก ฝา่ ยวจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ฝา่ ยวเิ คราะหส์ นิ เชอื่ ทางอตุ สาหกรรม
กาลเทศะ ขององคก์ รตา่ งๆ งานที่ฝกึ เชน่
• งานดา้ นการวางแผนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
• งานด้านการวางแผนและควบคุมสนิ ค้าคงคลงั
• งานวเิ คราะห์และประเมนิ โครงการอุตสาหกรรม
• งานอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ในการทำ� งานในโรงงาน
• งานควบคมุ คุณภาพการผลติ ในโรงงาน
• งานดา้ นการตลาดสินคา้ อุตสาหกรรม/โรงงาน
34 คู่มอื สหกจิ ศึกษา COOPERAสTIVหEกEDิจUศCกึATษIONา
สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ
Business Computer
เน้ือหาหลกั สตู ร
สร้างความพร้อมแก่นักศึกษา เพ่ือให้เป็นผู้ท่ีมีศักยภาพ • มคี วามรคู้ วามชำ� นาญในการใชง้ านคอมพวิ เตอร์ ทงั้ เครอ่ื ง
ระดับสูงท้ังในด้านคอมพิวเตอร์และด้านธุรกิจ โดยมีความรู้ แม่ข่าย ลูกข่าย และระบบเครือข่ายต่างๆ (Network)
ความเช่ียวชาญในการใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูป การเขียนโปรแกรม รวมท้งั เครือขา่ ยสาธารณะ (Internet)
ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ต่างๆ และมีความช�ำนาญเก่ียวกับ • รู้จักและสามารถใช้งานโปรแกรมต่างๆ ท่ีเป็นโปรแกรม
เทคโนโลยีสารสนเทศ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การออกแบบ ส�ำเรจ็ รูป และโปรแกรมทพี่ ัฒนาขึ้นเอง
และวเิ คราะหร์ ะบบงานการออกแบบฐานขอ้ มลู การพฒั นาเวบ็ เพจ • รจู้ กั และสามารถใชง้ านโปรแกรมประยกุ ตต์ า่ งๆ ทอ่ี อกแบบ
รวมถงึ สามารถประยกุ ตใ์ ชก้ บั ความรทู้ างดา้ นธรุ กจิ เชน่ การจดั การ มาเฉพาะงาน เชน่ โปรแกรมสำ� นกั งาน โปรแกรมออกแบบ
ภายในองคก์ ร การบรหิ ารงานบคุ คล การบรหิ ารกจิ การขนาดกลาง และจัดการเว็บ โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล โปรแกรม
และขนาดยอ่ ม ฯลฯ อยา่ งมีประสิทธิภาพ ชว่ ยในการตัดสนิ ใจตา่ งๆ
ทกั ษะพ้นื ฐานท่ีนกั ศกึ ษาควรได้รบั ลักษณะงานท่ีเหมาะสมกบั นักศึกษา
การฝึกฝนกอ่ นออกปฏิบัตงิ านสหกจิ ศึกษา
หน่วยงานหลักของการปฏิบัติงานคือ ฝ่ายคอมพิวเตอร์
นักศึกษามคี วามรูพ้ ื้นฐานในหมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป วิชาแกน ฝา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ ขององค์กรท่ีเกี่ยวข้องกับงานทฝ่ี ึก เชน่
ธุรกิจ วิชาเอกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และวิชาโทท่ีสนใจ นอกจากน้ี • งานดา้ นการวิเคราะห์ทางธรุ กจิ (Business Analyst)
ควรเตรียมความพร้อมด้านต่างๆในการเข้าสู่การท�ำงานในสถาน • งานด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบคอมพิวเตอร์
ประกอบการ ดังน้ี (System Analyst)
• การมีมนุษยสัมพันธ์และการปรบั ตวั ในการทำ� งานรว่ มกบั • งานดา้ นการออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซต์ (Web Designer
ผู้อ่นื & Developer)
• การปรับบุคลกิ ภาพใหเ้ หมาะสมกับการท�ำงาน • งานดา้ นการดแู ล ควบคมุ และบำ� รงุ รกั ษาเวบ็ ไซต์ (Webmaster)
• การวางตัว มารยาททางสังคม และการแต่งกายให้ถูก • งานด้านการพฒั นาซอฟตแ์ วร์ (Software Developer)
กาลเทศะ • ทปี่ รกึ ษาด้านคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ (IT Consultant)
• มีทัศนคติท่ีดีต่อการท�ำงาน เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ • งานด้านบริหารระบบฐานข้อมูล (Database Adminis-
มีความพยายาม อดทนและพรอ้ มเรียนรสู้ ่ิงใหม่ๆ trator)
• ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รปู เพอื่ ใชใ้ นงานดา้ นเอกสาร • งานด้านการตรวจสอบคุณภาพซอฟต์แวร์ (Software
(Microsoft Office) Quality Assurance)
• ทกั ษะการใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปด้านการน�ำเสนอรายงาน
• ทักษะดา้ นการใชภ้ าษาไทยและภาษาอังกฤษ คูม่ อื สหกิจศกึ ษา 35
• ทกั ษะการสื่อสาร การประสานงานและการเจรจาตอ่ รอง
• การเขยี นรายงานการประชุม
สCOหOกPEิจRAศTึกIVEษEาDUCATION
สาขาวชิ าการจัดการโลจิสติกส์
Logistics Management
เนื้อหาหลกั สูตร
ศกึ ษาเกย่ี วกบั บทบาทของการบรหิ ารการจดั การเกย่ี วกบั ปจั จยั
พน้ื ฐานในการปฏบิ ตั กิ ารหรอื การผลติ เพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั ประโยชนส์ งู สดุ
ในระบบงานของการผลิตสินค้าและบริการ โดยศึกษาด้านการ
จัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ มีทักษะและประสบการณ์การ
เรียนรู้และการฝึกปฏิบัติส�ำหรับการบริหารการจัดการโซ่อุปทาน
และโลจสิ ตกิ ส์ การแกป้ ญั หาและการพฒั นาความรใู้ นวชิ าการและ
วชิ าชพี ด้านการจัดการโซ่อปุ ทานและโลจสิ ติกส์
ทักษะพืน้ ฐานท่นี ักศึกษาควรไดร้ ับ
การฝกึ ฝนก่อนออกปฏิบตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา ลักษณะงานทเ่ี หมาะสมกับนักศึกษา
นกั ศกึ ษามคี วามร้พู น้ื ฐานในหมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป วชิ าแกน หน่วยงานหลักของการปฏิบัติงานคือ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซ้ือ
ธุรกิจ วชิ าเอกการจัดการโลจสิ ตกิ ส์ และวิชาโทท่สี นใจ นอกจากน้ี ฝ่ายวจิ ัย และพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ ขององค์กรตา่ งๆ งานที่ฝึก เชน่
ควรเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ในการเข้าสู่การท�ำงานในสถาน • งานดา้ นการจดั ซ้อื
ประกอบการ ดังน้ี • งานดา้ นการวางแผนการผลิต
• การมมี นษุ ยสมั พนั ธแ์ ละการปรบั ตวั ในการทำ� งานรว่ มกบั • งานดา้ นวางแผนและประสานงานเชอ่ื มโยงระบบโลจสิ ตกิ ส์
ผูอ้ ื่น • งานด้านคลังสนิ ค้าและศูนยก์ ระจายสินค้า
• การปรับบุคลิกภาพให้เหมาะสมกับการท�ำงาน • งานดา้ นวางแผนการขนส่ง นำ� เข้า - ส่งออก
• การวางตัว มารยาททางสังคม และการแต่งกายให้ถูก • งานดา้ นบรหิ ารลูกคา้ ในธรุ กิจขนส่ง
กาลเทศะ • งานด้านระบบการใหบ้ ริการโลจิสตกิ ส์
• มีทัศนคติที่ดีต่อการท�ำงาน เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ
มคี วามพยายาม อดทนและพร้อมเรยี นรู้สิ่งใหม่ๆ
• ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รปู เพอ่ื ใชใ้ นงานดา้ นเอกสาร
(Microsoft Office)
• ทกั ษะการใช้โปรแกรมสำ� เรจ็ รูปด้านการน�ำเสนอรายงาน
• โปรแกรมส�ำเรจ็ รปู ด้านการจัดการสินค้าคงคลงั
• ความรพู้ นื้ ฐานทางดา้ นการวิเคราะหเ์ ชิงปรมิ าณ
• ทกั ษะดา้ นการใชภ้ าษาไทยและภาษาองั กฤษ
• ทกั ษะการสือ่ สาร การประสานงานและการเจรจาตอ่ รอง
• การเขยี นรายงานการประชุม
36 คมู่ อื สหกิจศึกษา COOPERAสTIVหEกEDิจUศCึกATษIONา
คณะบัญชี
School of Accountancy
เน้ือหาหลกั สตู ร
ศึกษาเกี่ยวกับความส�ำคัญและวัตถุประสงค์ของการ
บญั ชี การบนั ทกึ บญั ชี การจดั ทำ� งบการเงนิ ตามมาตรฐาน
รายงานทางการเงนิ และกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง การวเิ คราะห์
ข้อมูลทางบัญชเี พ่ือการวางแผน ควบคมุ และตดั สนิ ใจของ
ธรุ กิจ การสอบบญั ชแี ละตรวจสอบภายใน การภาษีอากร
ที่เก่ียวข้องกับธุรกิจรวมท้ังศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั วชิ าชพี บญั ชี นอกจากนยี้ งั มกี ารเนน้ ความรเู้ ฉพาะดา้ นมากขนึ้ โดยแบง่ เปน็ 3 กลมุ่ วชิ า คอื กลมุ่ วชิ าการบญั ชสี ำ� หรบั หนว่ ยงาน
ภาคธรุ กิจ กลุ่มวิชาสอบบัญชีและตรวจสอบภายใน และกลมุ่ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษาเลอื กกลุ่มวิชาทสี่ นใจเป็นพิเศษ
กลุม่ วิชาการบญั ชีสำ� หรบั หน่วยงานภาคธรุ กิจ
Corporate Accounting
เป็นกลุ่มวิชาท่ีเน้นศึกษาเกี่ยวกับการจัดท�ำบัญชีและการจัดท�ำงบการเงินของ
ธรุ กจิ การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งของตน้ ทนุ การใชข้ อ้ มลู ทางบญั ชใี นการบรหิ าร รวมทงั้ หวั ขอ้
ทางด้านการวางแผนภาษีอากร เพ่ือพัฒนาสู่การเป็นนักบัญชีส�ำหรับหน่วยงานธุรกิจ
อย่างมืออาชีพ
กลมุ่ วิชาสอบบัญชีและตรวจสอบภายใน
Auditing and Internal Auditing
เปน็ กลมุ่ วชิ าทเี่ นน้ ศกึ ษาเกยี่ วกบั บทบาทของผสู้ อบบญั ชรี บั อนญุ าตและผตู้ รวจสอบ
ภายใน กระบวนการตรวจสอบและควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี รวมถงึ การใช้
ขอ้ มลู ทางบัญชเี พ่ือตรวจสอบการทุจรติ เพ่ือพฒั นาสู่การเปน็ ผู้สอบบญั ชรี บั อนญุ าตและ
ผ้ตู รวจสอบภายในต่อไปในอนาคต
กลุม่ วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ คู่มือสหกจิ ศึกษา 37
Information Technology
เป็นกลุ่มวิชาที่เน้นศึกษาเก่ียวกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในงานด้านบัญชี ซ่ึงจะ
เป็นพ้ืนฐานความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอย่างเพียงพอที่จะพัฒนาไปเป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน
ระบบสารสนเทศทางการบัญชีในองคก์ รชนั้ นำ�
สCOหOกPEจิ RAศTึกIVEษEาDUCATION
ทกั ษะพนื้ ฐานท่นี ักศึกษาควรไดร้ ับ COOPERAสTIVหEกEDิจUศCกึATษIONา
การฝกึ ฝนก่อนออกปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา
นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในวิชาศึกษาทั่วไป วิชาแกน
วชิ าเอกบงั คบั ดา้ นบญั ชแี ละภาษอี ากรตามทร่ี ะบไุ วใ้ นหลกั สตู รแลว้
นักศกึ ษาควรเตรยี มความพรอ้ มดา้ นตา่ ง ๆ เพม่ิ เติม ดังนี้
• ทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษ
• ทกั ษะการฝึกปฏบิ ัติงานเกีย่ วกบั ภาษีอากร
• ทักษะการฝึกปฏิบัติเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขัน้ พืน้ ฐาน
• ด้านมนุษยสัมพันธ์และเทคนิคการท�ำงานรว่ มกบั ผ้อู ่ืน
• ดา้ นบคุ ลกิ ภาพทเี่ หมาะสมในสถานทท่ี ำ� งาน
• ด้านทัศนคติในการท�ำงานท่ีต้องมีความซ่ือสัตย์ ขยัน
และอดทน
• ด้านความรู้ความเขา้ ใจในจรรยาบรรณวชิ าชพี
ลกั ษณะงานทเ่ี หมาะสมกับนกั ศกึ ษา
• งานในฐานะนกั บญั ชขี ององคก์ รธรุ กจิ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง
และขนาดย่อมทุกประเภท
• งานท่เี กีย่ วขอ้ งกบั ภาษอี ากรขององคก์ ร
• งานในฐานะผู้ช่วยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและผู้ช่วย
ผตู้ รวจสอบภายใน
• งานที่เก่ียวข้องกับระบบสารสนเทศทางการบัญชีของ
องค์กรธุรกจิ ทกุ ประเภท ทั้งในแง่ผจู้ ดั ท�ำ และผ้พู ฒั นา
38 คมู่ ือสหกจิ ศกึ ษา
คณะเศรษฐศาสตร์
School of Economics
กลมุ่ วิชาเศรษฐศาสตรก์ ารเงนิ
Financial Economics
ทกั ษะพืน้ ฐานทน่ี ักศกึ ษาควรไดร้ ับ
การฝกึ ฝนกอ่ นออกปฏิบตั ิงานสหกจิ ศึกษา
เนือ้ หาหลักสตู ร • การเตรยี มตวั ดา้ นมนษุ ยสมั พนั ธแ์ ละเทคนคิ ในการทำ� งาน
ร่วมกับผอู้ ื่น
• การปรับตวั ใหม้ ีบคุ ลกิ ภาพทเ่ี หมาะสมในสถานที่ทำ� งาน
• การเขา้ ใจโลกทศั นข์ องชวี ติ การทำ� งานทตี่ อ้ งมคี วามพยายาม
ความอดทนและนิสัยใฝ่เรียนรู้
• ฝกึ ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ เ่ี ปน็ พน้ื ฐานในการ
ทำ� งาน
• การจัดการด้านงานเอกสารและการติดต่องานธุรกิจ
เปน็ ตน้
ศึกษาวิชาแกนที่เป็นทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ต่างๆ รวมไปถึง ลกั ษณะงานท่เี หมาะสมกับนักศกึ ษา
วชิ าแกนทเ่ี ปน็ เครอื่ งมอื ในการวเิ คราะหป์ ญั หาทางเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่
คณิตศาสตร์ สถิติ บัญชี การวิเคราะห์เชิงปริมาณและระเบียบ งานทใ่ี ชพ้ นื้ ความรทู้ างดา้ นเศรษฐกจิ การเงนิ การจดั การดา้ น
วิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์และศึกษาวิชาเฉพาะของกลุ่มวิชา เช่น การเงิน งานวเิ คราะหด์ า้ นการเงิน งานวิจัยเก่ยี วกบั เศรษฐศาสตร์
การเงินธุรกิจส�ำหรับนักเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีและนโยบายการเงิน และการเงินท่ีมีอยู่ในองค์กรธุรกิจต่างๆ ธนาคาร บริษัทเงินทุน
เศรษฐศาสตรก์ ารเงนิ ระหวา่ งประเทศ การเงนิ ธรุ กจิ ระหวา่ งประเทศ หลักทรัพย์ และหนว่ ยงานราชการเปน็ ต้น
การจัดการทางการเงินและสัมมนาเศรษฐศาสตร์การเงิน เป็นต้น
ทั้งน้ีเพื่อให้ผู้เรียนสามารถน�ำหลักการด้านเศรษฐศาสตร์การเงิน
ไปใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาเศรษฐกิจและการจัดการ
ทางการเงนิ ทั้งในและระหว่างประเทศได้
สCOหOกPEิจRAศTกึIVEษEาDUCATION ค่มู ือสหกจิ ศึกษา 39
กลมุ่ วิชาเศรษฐศาสตร์ธรุ กิจ COOPERAสTIVหEกEDิจUศCกึATษIONา
Business Economics
เนือ้ หาหลักสตู ร
ศึกษาวิชาแกนที่เป็นทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ต่างๆ รวมไปถึง
วิชาแกนที่เป็นเคร่ืองมือในการวิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐกิจ
ได้แก่ คณิตศาสตร์ สถิติ บัญชี การวิเคราะห์เชิงปริมาณและ
ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางเศรษฐศาสตรแ์ ละศกึ ษาเชงิ บรู ณาการระหวา่ ง
เศรษฐศาสตรก์ บั การบริหารธรุ กจิ ในวิชาเฉพาะของกลุ่มวิชา เช่น
กฎหมายธุรกิจ เศรษฐศาสตร์การตลาด การบริหารธุรกิจขนาด
ย่อม การวิเคราะห์โครงการและการลงทุน เศรษฐศาสตร์องค์กร
อุตสาหกรรม สัมมนาปัญหาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ โดยน�ำเอาหลัก
การเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ใช้ในการตัดสินปัญหาต่างๆ ท้ังทาง
เศรษฐกจิ และธุรกจิ ได้อยา่ งเหมาะสม
ทกั ษะพ้นื ฐานท่นี กั ศึกษาควรไดร้ ับ
การฝึกฝนก่อนออกปฏบิ ัติงานสหกิจศึกษา
• การเตรยี มตวั ดา้ นมนษุ ยสมั พนั ธแ์ ละเทคนคิ ในการทำ� งาน
ร่วมกบั ผู้อนื่
• การปรบั ตวั ให้มีบคุ ลกิ ภาพทเี่ หมาะสมในสถานท่ีท�ำงาน
• การเขา้ ใจโลกทศั นข์ องชวี ติ การทำ� งานทต่ี อ้ งมคี วามพยายาม
ความอดทน และนสิ ัยใฝเ่ รียนรู้
• ฝกึ ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ เี่ ปน็ พนื้ ฐานในการ
ท�ำงาน
• การจดั การดา้ นงานเอกสารและการตดิ ตอ่ งานธรุ กจิ เปน็ ตน้
ลกั ษณะงานท่ีเหมาะสมกบั นกั ศกึ ษา
งานที่ใช้ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจเพ่ือการตัดสินใจ
เช่น งานวิจัยตลาด ฝึกวิเคราะห์โครงการลงทุนเฉพาะด้านท่ีมี
อยู่ในบริษัทธุรกิจต่างๆ ธนาคาร บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ และ
หนว่ ยงานราชการ เป็นต้น
40 ค่มู อื สหกจิ ศึกษา