The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวรรณกรรมเรื่องปลาบู่ทอง ส่วนหนึ่งของรายวิชาวรรณกรรมสำหรับนาฏยศิลป์ศึกษา สาขาวิชานาฏยศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phutthiphongbsru11, 2021-03-16 01:44:37

รายงานวรรณกรรมเรื่องปลาบู่ทอง

รายงานวรรณกรรมเรื่องปลาบู่ทอง ส่วนหนึ่งของรายวิชาวรรณกรรมสำหรับนาฏยศิลป์ศึกษา สาขาวิชานาฏยศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

๔๔

๑๐๐๙.ส่วนนางขนิษฐี ฟังคำนางอ่ี กริว้ โกรธโกรธา

พาลกู คนโหด โฉดเฉานักหนา มงึ อยา่ เจรจา กไู ม่อยากฟงั

เปน็ บทที่กล่าวถงึ ความโกรธของขนิษฐที มี่ ีตอ่ อ่ี ๑๐๐๙-๑๐๑๕

๑๐๑๖.ปา่ นนนี้ างอ้าย อย่สู ขุ สบาย กรยุ กรายไปมา

ไดเ้ ปน็ เมียเจ้า เปน็ ท้าวพญา ได้เป็นใหญก่ ว่า ทาสาเนืองนอง

เปน็ บททกี่ ล่าวถงึ ขนษิ ฐชี วนอทุ ารกไปหาอา้ ย ๑๐๖๑-๑๐๒๐

๑๐๒๑.คดิ แลว้ มชิ ้า เรียกลูกเข้ามา อยา่ ช้าเรว็ พลัน

เอาเนอื้ ส้มมา จงมากครามครนั เลือกเอาแตม่ ัน อยา่ ช้าเร็วพลัน

เปน็ บทที่กลา่ วถงึ ความโศกเศร้าเสียใจของอทุ ารก ขนิษฐี และอี่ท่ีอา้ ยตายไปและถูกนำมาทำเปน็ เน้ือสม้
๑๐๒๑-๑๐๔๑

๑๐๔๒.เกลอื กว่าท่านโกรธ จับเราคาดโทษ ฆา่ ให้สิ้นปราณ

จะอยู่เลา่ ไซร้ เหน็ ไม่เป็นการ เราจะคิดอ่าน ซุกซอนหนไี ป

เปน็ บทท่ีกลา่ วถึงความหวาดกลวั ของอุทารกและขนิษฐจี ึงพากันหนีเขา้ ป่าไป ๑๐๔๒-๑๐๔๖

ยานี กาพย์ ๑๑

๑๐๔๗.มพี ระปจั เจกโพธิ มาเทยี่ วโปรดหมเู่ วไนย

จรมาในป่าใหญ่ ถึงตน้ ไทรไพรพฤกษา

เปน็ บททกี่ ล่าวถงึ สะทอ้ นถึงพระพุทธศาสนา ๑๐๔๖-๑๐๔๙

๑๐๕๐.ผวั เมยี กราบบาทา ยกพาหาประนมกร

รำ่ ไรไหว้ งิ วอน เล่าทกุ ขร์ อ้ นแต่หลังมา

เป็นบททก่ี ลา่ วถงึ สะท้อนเรือ่ งเวรกรรมและหลกั ธรรมคำสอนได้แกศ่ ีลหา้ ๑๐๕๐-๑๐๖๑

๔๕

หมายเหตุสีใชใ้ นการแยกคำประพนั ธ์แต่ละประเภท
ส : ใชแ้ ทนลักษณะความโกรธ/ความรษิ ยา/หลอกลวง/โหดเหีย้ ม/คดิ รา้ ยเสแสร้ง/โกหก

: ใชแ้ ทนความพรรณนาธรรมชาต/ิ ชมนก/ชมปลา/ชมสัตว์ในป่าตา่ งๆ
: ใช้แทนความเชื่อ/กฎแหง่ กรรม/ธรรมะ/ไสยศาสตร/์ ความเมตตา/การทำบญุ รว่ มชาติ
: ใช้แทนลกั ษณะใจด/ี ไวใ้ จ/ความหว่ งใย/ความรัก/การดแู ล/การกตัญญู
: ใชแ้ ทนความพรรณนาเลา่ เรื่อง/การบรรยาย/การประพาสชมตา่ งๆ
: ใชแ้ ทนการชมโฉม/ความงาม/เครอ่ื งแตง่ กาย
: ใชแ้ ทนความโศกเศร้า/เสียใจ/สงสยั ตา่ งๆ/การตาย/ความทุกขท์ รมาน/ความกลัว

๔๖

ตัวละคร

ตัวละคร หมายถึง บุคคล หรอื นักแสดงพฤตกิ รรมตามเหตกุ ารณ์ของเน้ือเรื่อง จึงเป็นเหตุ ทำใหเ้ ร่อื ง
ดำเนินไปตามโครงเรอ่ื ง ในการเปรียบเทียบในด้านตัวละครคร้งั น้ี โดยจะเปรยี บเทยี บในดา้ นจำนวนตัวละคร
ชื่อตวั ละคร หนา้ ทีแ่ ละบทบาทของตัวละคร ลักษณะนสิ ยั พฤติกรรมตัวละคร หรอื ลักษณะทางกายภาพ ลักษณ
จติ ใจ และภูมิหลงั

ตวั ละครท่ีเป็นมนุษย์

๑.ทา้ วพรหมทัต ๒.อทุ ารกเศรษฐี

๓.นางแกว้ ขนิษฐา ๔.นางเออื้ ย

๕.นางขนิษฐี ๖.นางอ้าย

๗.นางอี่ ๘.ฤาษี

๙.ลบกุมาร ๑๐.ยายเฒา่

๑๑.แมค่ รวั

ตัวละครทเี่ ป็นสตั ว์

๑.นกแขกเตา้

๒.ปลาบทู่ อง

๓.หนู

๔.เปด็

๕.หมาและแมว

ตวั ละครท่เี ป็นพืช

๑.ตน้ โพธ์เิ งนิ โพธิ์ทอง

๒.ต้นมะเขือเปราะ

๔๗

วิเคราะห์ตวั ละครทเี่ ปน็ มนุษย์

๑.ท้าวพรหมทัต

ลกั ษณะทางกายภาพ

กษัตริย์ปกครองเมอื งพาราณาสี เปน็ ชายหนุ่มรูปงาม ใจดี มีเมตตาแตย่ ังหาพระมเหสีไมไ่ ด้ เป็น
พระมหากษัตรยิ ท์ ่คี รอบครองทั่วราชบรุ ี เรม่ิ มีบทบาทเม่อื เสด็จปา่ แลว้ พบตน้ โพธเ์ิ งินโพธิ์ทอง เป็นเหตุบันดาล
ให้ไดร้ ู้จักนางเอื้อย

ลักษณะทางจติ วทิ ยา

มีจิตใจออ่ นโยนและทรงคณุ ธรรม มเี มตตา แตย่ ังหาพระมเหสีไม่ได้ และได้มาเจอกับนางเอื้อย และรับ
นางเป็นพระมเหสี เช่น เมือ่ พระองคไ์ ด้ทราบเรื่องราวชีวิตของนางเอ้ือยพระองค์ทา่ นเกิดความสงสารและ
เมตตาแกน่ างเอื้อย และในเมอื่ ที่ทราบว่านางอา้ ยเปน็ ผผู้ ิดถกู ลงโทษแตพ่ ระองคย์ ังทรงฟงั เหตผุ ลและลดโทษให้
ตอนทนี่ างเออื้ ยมาขออภัยให้น้องสาว ดงั คำกล่าวในบทประพันธ์ที่กลา่ วว่า

ขา้ คิดเท่าน้ี ขอพระพนั ปี โปรดเถดิ ทนู หวั

ขา้ กลัวเวรา จะมาถึงตัว ขา้ บาทคิดกลัว จะมว้ ยชวี า

ท้าวฟังนางนาฏ พระทัยไหวหวาด ตรัสประภาษชงคา

เจ้าทองทั้งตวั เจ้ากลวั เวรา พ่นี ้ีไม่ว่า ตามแต่พระทยั

พรงุ่ นีเ้ ถิดหนา เจา้ จงสั่งขา้ ชาววังนอกใน

วนั นจี้ วนค่ำ พ้นเวลาไป พร่งุ นจ้ี งึ ให้ ถอดมันออกมาฯ

(ปลาบทู่ อง , ๒๕๕๗:๘๕)

ภมู หิ ลงั

ภายหลังจากท่ที ้าวพรหมทตั ออกไปในปา่ และได้กลับมารเู้ รอื่ งราวความจรงิ ทงั้ หมดจากลบกมุ าร จงึ ให้
นำนางเอ้ือยกลบั มายังวงั และครองรักกันอยา่ งมีความสขุ

๒.อุทารกเศรษฐี

ลักษณะทางกายภาพ

๔๘

เป็นสามีของนางขนิษฐาและขนษิ ฐี ซงึ่ เป็นบิดาของนางเอื้อย (ลกู ของอุทารกเศรษฐกี ับนางขนษิ ฐา)
นางอ้าย และนางอี่ (ลูกของอทุ ารกเศรษฐกี บั นางขนิษฐี) เศรษฐมี ีอาชีพหาปลา เป็นหัวหนา้ ครอบครัว รกั ทุกๆ
คนในครอบครวั ไม่เท่ากัน

ลักษณะทางจติ วิทยา

แต่ชอบฟังความข้างเดยี ว ข้ีโมโห (ขาดเหตผุ ล) โกรธงา่ ยหายเรว็ แล้วยังเป็นตัวละครท่ีมีบทบาทสำคัญต่อนาง
เอ้ือย คอื เปน็ บิดาที่ไม่ไดแ้ สดงความรกั ให้แกล่ กู คอื นางเอื้อยโดนทบุ ตี และเป็นคนท่ีโหดรา้ ยและไม่มเี มตตาต่อ
ลูกและภรรยา ดงั ทฆ่ี ่านางขนษิ ฐาลงนำ้ ตายเปน็ ตัน ในตอนทา้ ย อทุ ารกเศรษฐีกส็ ำนึกผิดแล้วได้เปลี่ยน
ลกั ษณะนสิ ัยตน ดงั คำกลา่ วในบทประพันธ์ทกี่ ล่าวว่า

สามขี ้ึงโกรธหนักหนา ลกุ แลน่ เขา้ มา

บฑี าบไ่ ด้ปราศรยั

ขัดอกฟกช่ำผ่ายใน มาม้วยบรรลัย

จมไปในน้ำพระคงคา

เม่อื นางจะส้นิ ชีวา รำพึงถึงปลา

ที่วา่ จะฝากลูกตน

ดบั จิตชีวติ วายชนม์ จึงเอาปฏิสนธ์ิ

เป็นนางปลาบเู่ หน็ ดี

ฝ่ายอทุ ารกเศรษฐี ใจร้ายราวี

มาตเี มียตนให้ตาย

คร้ันเมยี ม้วยมอดวอดวาย เศรษฐใี จร้าย

ผันผายก็กลับคืนมา

(ปลาบู่ทอง ,๒๕๕๗:๘-๙)

๔๙

ภมู ิหลัง

ภายหลังอุทารกเศรษฐี หลังจากทีส่ ง่ ให้นางอ้ายมาปลอมตวั เป็นเอ้อื ยเขา้ วัง ท้าวพรหมทัตได้ส่งเน้ือส้ม
ของนางอา้ ยมาให้กิน แตพ่ อได้รอู้ ทุ ารกเศรษฐแี ละนางขนษิ ฐกี ลัวต้องพระอาญาจนส้ินชีวติ จึงพากนั ท้งิ
บา้ นเรือนหนเี ขา้ ป่า และไดพ้ บกับปจั เจกพุทธเจา้ ที่ต้นไทรใหญ่ พระปจั เจกพุทธเจา้ ตรัสสง่ั สอนให้ถอื เอาพระ
รตั นตรยั เป็นท่ีพึง่ และรกั ษาศีลห้าไมเ่ บยี ดเบยี นผ้อู ่ืน ดงั คำกลา่ วในบทประพนั ธท์ ี่กลา่ ววา่

บดั นี้โพธิสัตว์ ตรัสเหน็ เหตุเวทนา

พระเจา้ จงึ่ เทศนา เป็นคาถาโปรดสัง่ สอน

ดูราท้งั สามคน กรรมของตนมแี ตก่ ่อน

ตรี นั กนั มว้ ยมรณ์ หนีซอกซอนจรในไพร

เพราะกรรมมาตามตน อกศุ ลเข้าดลใจ

ทำผดิ คดิ กลัวภยั กรรมสง่ ให้สองเศรษฐี

ทัง้ สามจงึ คดิ เหน็ ความยากเข็ญแสนทวี

เขญ็ ใจรา้ ยอปั ปรีย์ ทำมดิ แี ต่กอ่ นมา

จำศีลภาวนา รกั ษาไตรสรณคมน์

(ปลาบทู่ อง ,๒๕๕๗:๙๓)

๓.นางแกว้ ขนิษฐา

ลักษณะทางกายภาพ

แมข่ องเอ้ือย ซึ่งเป็นภรรยาหลวงของอุทารกเศรษฐี นางแกว้ ขนิษฐาเป็นหญิงสาวสวยจติ ใจงาม

ลักษณะทางจติ วิทยา

นางแก้วขนษิ ฐาเป็นแม่ทรี่ ักและคอ่ ยหว่ งใยลูกอย่เู สมอ ใจดีมเี มตตา รักเออื้ ยมาก เปน็ แม่ทมี่ ีจติ ใจดี
งาม มีความรกั ภกั ดีแก่ลกู สามี และยงั ไมร่ งั เกยี จลกู ของนางขนษิ ฐที ่เี ป็นเมียนอ้ ยอีกดว้ ย

ภูมิหลัง

ผา่ นเนอื้ เรือ่ งผูศ้ ึกษาเหน็ ไดอ้ ยา่ งชัดเจนว่า ถงึ แม้วา่ ตนตายไปแล้ว กก็ ลบั ชาตมิ าเกิดเปน็ ปลาบทู่ อง
ต้นมะเขอื และต้นโพธทิ์ องโพธ์ทิ อง ดังคำกลา่ วในบทประพนั ธ์ทีก่ ล่าววา่

๕๐

สว่ นแมข่ องพังงา อนั มรณาไปเปน็ ผี

ในจติ คิดปราณี ถึงเทวีผู้ลูกยา

เม่ือตายวายชวี ิต ในดวงจิตคิดถึงปลา

ครน้ั นางดับสังขาร์ เกิดเปน็ ปลางามเพริศพราย

เกิดเป็นปลาบู่ทอง ว่ายลอยลอ่ งงามเฉดิ ฉาย

ตริตรึกนึกมงุ่ หมาย วา่ กตู ายมาแต่ไหน

ฉันใดเกิดเป็นปลา กศุ ลมาเขา้ ดลใจ

รำพึงคะนึงไป คดิ ขน้ึ ได้เปน็ นารี

(ปลาบูท่ อง ,๒๕๕๗:๑๕)

๔.นางเอื้อย

ลกั ษณะทางกายภาพ

นางเอ้อื ยเปน็ คนเอือ้ ย เป็นตัวละครท่สี ำคญั มากในเร่อื งทท่ี ำให้เรอ่ื งดำเนนิ ตงั้ แต่ตน้ จนจบเร่ือง นาง
เอือ้ ยเป็นบตุ รขี องนายอุทารกเศรษฐกี ับนางขนษิ ฐา นางเออื้ ยเป็นผหู้ ญงิ ทมี่ หี น้าตาสวยงดงาม มีจติ ใจดี ชว่ ย
ดูแลน้อง ๆ อกี สองคนท้งั นางอา้ ย และนางอี่ ท่เี ปน็ พน่ี ้องต่างมารดากัน หากกล่าวถงึ ชวี ิตของนางเอ้ือยผา่ น
นิทาน นางเอ้ือยเปน็ คนท่ีมีความเมตตา และอภัยใหผ้ ู้อนื่ อยเู่ สมอ แมก้ ระทัง้ คนทเี่ คยทำรา้ ยแกช่ ีวติ ของตนก็
ตาม เช่น นางอา้ ย กน็ างเอือ้ ยให้ อภัยเช่นเดยี วกนั ดังตวั อย่างทก่ี ลา่ วถึงนางเอื้อยในวรรณกรรมนทิ าน เรอื่ งปลา
บ่ทู องกลอนสวดฉบบั ภาษาไทยภาคกลางว่า การชมความงามของนางเอ้ือยตอนท่ที า้ วพรหมทัตทอดพระเนตร
เห็นนางเอื้อย พระองค์ ก็ทรงประทบั ใจในความงามของนางเออ้ื ย

ลักษณะทางจติ วทิ ยา

นางเออ้ื ยเป็นคนทีม่ จี ิตใจดี นางเออ้ื ยก็ถูกกลั่นแกลง้ จากแมเ่ ล้ียงและนางอา้ ยลูกแม่เล้ียงต่างๆนานา
แตน่ างกเ็ ป็นคนที่มคี วามกตัญญรู คู้ ุณยงิ่ แมแ้ ม่จะเป็นปลากย็ ังหาอาหารไปให้แม่ ครนั้ แม่ปลาถูกฆา่ ตายกลาย
ไปเปน็ ต้นมะเขอื กพ็ ยายามบำรุงรดนำ้ ต้นมะเขอื อยา่ งดีครั้นมะเขอื ถูกทำลายกห็ าทางนำเมล็ดไปปลูกใหม่จน
กลายเป็นตน้ โพธิ์เงนิ โพธิ์ทอง แต่ก็ยังมีชวี ติ ประกอบไปด้วยความทกุ ขท์ รมานอย่างมากหลังจากท่ี มารดาของ
ตนไดต้ ายไป สว่ นเรื่องความสุขของนางเออื้ ยน้นั คือตอนทีไ่ ดอ้ ภิเษกกบั ท้าวพรหมทตั แตก่ ม็ ี ความสขุ ไม่ได้นาน
หนักกต็ ้องพลัดพรากตายไปเปน็ นกแขกเตา้ ในขณะที่เกดิ เป็นนกแขกเต้ากย็ ังถกู ตามทำรา้ ยแกช่ ีวิตจนได้รบั

๕๑

ความชว่ ยเหลือจากฤาษแี ละหนูเปน็ ต้น และในตอนจบของเร่ืองนางเอือ้ ยกป็ ระสบความสุขกบั ท้าวพรหมทัต
และลกู ของตนและ ครองบ้านเมอื งประกอบดว้ ยความเจรญิ รุ่งเรอ่ื ง

ภูมหิ ลัง

นางเอือ้ ยไดถ้ กู ลักลอบฆ่าจากครอบครวั ของตน ไมว่ า่ จะเปน็ แผนของพ่อ แมเ่ ล้ยี งและลกู ๆ ดั่งจากเรอื่ ง
ว่าหลังจากนางเออ้ื ยได้อภิเสกเป็นมเหสีของท้าวพรหมทตั ไมไ่ ด้นาน นางเอื้อยกล็ วงอบุ าย ของนางขนษิ ฐี แลว้
ได้กำเนิดมาเปน็ นกแขก และยงั มลี บกมุ ารจากฤาษีทช่ี บุ ชวี ิตให้ และมคี วามรักต่อลบกุมารดงั ลูกทีค่ ลอดจาก
อทุ รของตนจรงิ ๆ และลบกมุ ารนั้นกร็ กั นางเออื้ ยเสมอื นเป็นมารดาที่แท้จรงิ ของตนเช่นกนั

นางเออ้ื ยเป็นลูกของนางขนิษฐาและอทุ ารกเศษรฐี และมีแมเ่ ล้ียงคอื นางขนษิ ฐแี ละมลี กู ชือ่ นางอา้ ย
และนางอ่ี แต่พ่อของเอื้อยเป็นคนที่โหดรา้ ยได้ทุบตนี างขนษิ ฐาจนเสยี ชีวติ ลงไปในน้ำ อุทารกเศรษฐเี ปน็ ตัว
ละครทีม่ จี ิตใจโหดร้ายแล้วไมม่ คี วามเมตตาแก่ภรรยาและลกู ของตน ส่วนนางขนิษฐา เปน็ แมข่ องนางเอ้ือย ซึ่ง
เป็นภรรยาหลวงของอุทารกเศรษฐี ขนษิ ฐาเป็นผ้หู ญงิ หรือเปน็ แม่ทม่ี ีจติ ใจดงี าม มีความรกั ภกั ดีแกล่ ูก สามี และ
ยงั ไม่รังเกลยี ดลกู ของขนษิ ฐีท่ีเปน็ เมียน้อยอีกดว้ ย สว่ นนางเออื้ ยนน้ั เป็นผ้หู ญงิ ท่ีมีหนา้ ตาสวยงดงาม มจี ิตใจดี
ช่วยดูแลนอ้ ง ๆเปน็ คนท่ีมคี วามเมตตา และอภยั ให้ผู้อื่นอยูเ่ สมอ แมก้ ระท้ังคนท่เี คยทำรา้ ยแกช่ ีวติ ของตนกต็ าม
แต่นางเปน็ คนทมี่ ีความกตัญญกู ตเวทีเปน็ อยา่ งมากตอ่ ผู้มพี ระคณุ รูว้ ่าแม่ของตนเป็นปลาบู่ก็นำอาหารไปให้ จน
ผลบุญนนั้ ส่งผลใหนางเอ้ือยได้เขา้ ไปอยใู่ นวงั แต่บญุ มแี ต่กรรมกย็ ังบัง เพราะโดนครอบครวั หลอกให้กลบั มา
บ้านแลว้ กฆ็ า่ และไดไ้ ปเกดิ เปน็ นกแขกเต้า ดังคำกลา่ วในบทประพนั ธ์ที่กล่าววา่

กำพร้านางแก้ว คร้นั เจา้ ตายแลว้ สิน้ ชีพเปน็ ผี

นางเอากำเนดิ เกิดเป็นปักษี เพราะกรรมยังมี นางไดส้ รา้ งมา

กำพรา้ หนุม่ เหนา้ เปน็ นกแขกเต้า โฉมเจ้าโสภา

นางนึกตรึกดู ตัวกูเกดิ มา แห่งหนใดหนา มาเปน็ เดยี รฉาน

เดชะกศุ ล ปางเก่าเขา้ ดล ใจแหง่ นงคราญ

รำลึกชาตไิ ด้ เหน็ ไปทกุ ประการ ตายจากถน่ิ ฐาน มาเปน็ ปกั ษี

(ปลาบทู่ อง ,๒๕๕๗:๔๕)

๕๒

๕.นางขนษิ ฐี

ลกั ษณะทางกายภาพ

ภรรยาอีกคนของอทุ ารกเศรษฐี เปน็ คนขี้อจิ ฉา ชอบแกลง้ ขนิษฐา และเอ้อื ยตา่ งๆนานา รกั ลกู แต่
ส่งเสริมลูกใน ทางที่ไม่ดี ฉลาดแกมโกง เปน็ แมข่ องอ้ายและอ่ี ซึ่งเป็นภรรยาน้อยของอทุ ารกเศรษฐี

ลกั ษณะทางจติ วทิ ยา

นางขนิษฐเี ปน็ ผหู้ ญิงหรือแมท่ ี่มจี ติ ใจดรุ า้ ย ริษยา เช่นใสร่ า้ ยนางขนษิ ฐา วา่ ไปแอบมีผู้ชายคนใหม่
นอกใจสามขี องตนแลว้ ยงั ทำทารุณตอ่ นางเอือ้ ย สว่ นในการเล้ยี งดลู ูกจะเห็นได้ว่านางขนิษฐีสั่งสอนลูกใน
ทศิ ทางที่ไมด่ ี เชน่ ส่งั ให้นางอ้ายไปจบั ปลาบู่มาทำอาหาร ไปถอนตน้ มะเขอื เปราะ และยังใชก้ ลอบุ ายลวงนาง
เออื้ ยมาเหยียบกระดานยนต์ตกน้ำร้อนตาย ในส่วนบทบาทนนั้ ผู้ศกึ ษาเหน็ วา่ นางขนิษฐีมบี ทบาทสำคญั ทท่ี ำให้
นางเอือ้ ยรับความเดือนรอ้ น ดังคำกลา่ วในบทประพันธ์ทกี่ ล่าวว่า

ขนิษฐฟี งั ลูกบอก คอื ระลอกตคี งคา

ลกู รักจบั เอาปลา เราจักฆา่ แมม่ นั เสีย

แมน้ เหน็ หน้าลกู มนั ใจป่วนปั่นคอื ไฟเสีย

เราฆ่าแมม่ นั เสยี ตามอุบายให้อาสญั

(ปลาบ่ทู อง ,๒๕๕๗:๒๐)

ภูมิหลัง

เชน่ เดียวกับอทุ ารกเศรษฐีเพราะหลงั จากที่สง่ ใหน้ างอา้ ยมาปลอมตวั เป็นเอื้อยเขา้ วงั ทง้ั สามคนรวม
นางอี่ ก็กลัวต้องพระอาญาจนสนิ้ ชวี ติ จึงพากันท้งิ บ้านเรือนหนเี ข้าปา่ และได้พบกับปัจเจกพุทธเจา้ ท่ีตน้ ไทรใหญ่
พระปจั เจกพุทธเจ้าตรสั สงั่ สอนใหถ้ อื เอาพระรัตนตรัยเป็นที่พงึ่ และรกั ษาศีลหา้ ไมเ่ บียดเบยี นผู้อ่ืน

๖.ลบกุมาร

ลกั ษณะทางกายภาพ

เปน็ กมุ ารที่ฤาษชี บุ ใหก้ บั นางเอือ้ ยเพ่ือมาเป็นเพือ่ นของนางเอื้อย

ลกั ษณะทางจติ วทิ ยา

ลบกุมาร แมว้ า่ จะไมใ่ ช่ลกู ทคี่ ลอดออกจากทอ้ งของนางเอื้อยอย่างแทจ้ รงิ กต็ าม แตล่ บกมุ ารมีความรกั
และ เคารพปัตตบิ ตั รแก่นางเออื้ ยเปรียบเสมอื นมารดาแทๆ้ ของตน ดงั ตัวอย่างคำประพนั ธท์ ี่วา่

๕๓

ดาบสรับเอาบ่นาน จึงชุบกมุ าร

มินานกเ้ ปน็ ขึ้นมา

ทรงโฉมโลมใจฉายา นางแก้วกำพร้า

อุ้มเอากุมารทนั ใด

ส่วนว่ากุมารชาญชยั คร้นั นางอุม้ ไป

สายใจเจา้ ควา้ กนิ นม

โลมลูบจบู พลางนางชม จูบเกลา้ จบู ผม

เอวกลมเจา้ รกั นักหนา

ดาบสอวยพรพงั งา ใหน้ ามนดั ดา

ชื่อวา่ เจ้าลบกุมาร

(ปลาบ่ทู อง, ๒๕๕๗:๖๕)

ภูมหิ ลงั

มกี ำเนิดจากการชบุ ของพระฤาษี

วิเคราะห์ตวั ละครทเ่ี ปน็ สัตว์

๗.ปลาบทู่ อง

ลักษณะทางกายภาพ

ปลาบู่ทอง ปลาบเู่ ป็นปลาชนิดหนง่ึ ทอ่ี าศัยอยใู่ นน้ำจดื มเี กล็ดสีดำแลว้ มรี อยจดุ ตาม ลำตวั ในเนอ้ื เรื่อง
ผูแ้ ต่งไดส้ รา้ งปลาบ่ทู องมาเป็นตวั ละครสำคัญ และผแู้ ตง่ ยงั ได้ใชเ้ ป็นชอ่ื เรือ่ งของนทิ าน

ลักษณะทางจติ วิทยา

ในนทิ านเรือ่ งปลาบทู่ องตอนเร่ิมเรอ่ื ง ปลาบทู่ องมบี ทบาทสำคญั คอื ทำให้นางขนิษฐา ประทบั ใจ
อยากไดแ้ ล้วเอามาฝากลกู และปลาบู่มคี วามทกุ ขเ์ สยี ใจมากเมอ่ื เห็นนางเอือ้ ยไดร้ บั ความทกุ ขท์ รมานจากการ
ทบตีจากนางขนษิ ฐี และลูกๆ ดังคำกลา่ วในบทประพันธท์ ่กี ลา่ วว่า

ลกู เจ็บในอก เลือดรนิ ไหลตก ฟกบวมข้ึนมา

๕๔

ย่อยยบั ท้ังตวั ทูนหัวลกู อา เลอื ดไหลอาบหนา้ โอห้ นอชนนี

ทง้ั ตีท้งั ถอง สุดแรงลูกรอ้ ง แทบมว้ ยเปน็ ผี

เพอื่ นบา้ นถว้ นหนา้ ทา่ นมาปราณี ขอโทษโบยตี จึ่งรอดเป็นคน

ปลาบ่โู ศกเศรา้ ฟังคำลกู เลา่ เจ้าเพียงวายชนม์

สลบซบไป บ่ไดฟ้ น้ื ตน ไหร้ ักนิฤมล เพียงจะมว้ ยเปน็ ผี

ฟื้นตัวขนึ้ ได้ พิลาปร่ำไร ไม่สมประฤดี

บาปใดกำจดั ให้พลดั ชนนี ตอ้ งโบยต้องตี ยับท้ังกายา

ฤาเราพรากลูกนก ทนู หัวจากอก พรากพลัดมารดา

คมุ เหงเจ้าได้ ใชต้ ่างทาสา ลูกรักแมอ่ า เวราส่ิงไร

(ปลาบทู่ อง ,๒๕๕๗:๑๗-๑๘)

ภมู หิ ลัง

เมือ่ นางขนิษฐาตายก็ไดม้ าเกดิ เปน็ ปลาบู่ทองเพราะจติ ใจยังจด จ่ออยูก่ บั ปลาบตู่ ัวนั้นเสมอ ให้ตวั ละคร
ปลาบทู่ องมกี ริ ยิ าอาการเหมือนมนษุ ย์ เพราะเปน็ นางขนิษฐาทไ่ี ด้กลบั ชาติมาเกดิ ปลาบู่ทองคดิ ถงึ ลูกจึงว่ายนำ้
มาหาลูกท่ที ่านำ้ หนา้ บ้าน

๘.เป็ด

ลกั ษณะทางกายภาพ

เปน็ สัตว์ทช่ี ว่ ยเหลือนางเอือ้ ยไว้

ลกั ษณะทางจติ วิทยา

เปด็ เป็นตัวละครที่มคี ุณธรรมและมีบทบาทสำคญั ในการใหค้ วามชว่ ยเหลือแกน่ างเอื้อย ดังทผ่ี วู้ จิ ยั เห็น
จากเนอ้ื เรอ่ื งว่า เปด็ ช่วยเหลอื นางเอื้อยสองครง้ั คอื ครง้ั แรกเม่อื นางขนิษฐีใหล้ ูกจบั ปลาบู่มาฆา่ และทำเป็น
อาหาร เปด็ เกบ็ เกล็ดปลาบทู่ องไว้ใหน้ างเอ้ือย ส่วนครง้ั ทสี่ องเมือ่ แมน่ างเอื้อย กลับชาตมิ าเป็นมะเขอื แลว้ ต้น
มะเขอื ถกู ทำรา้ ยโดยนำเอาผลมาทำเปน็ อาหาร เปด็ ตัวเดมิ ไดเ้ ก็บเมลด็ มะเขอื ไวใ้ ห้นางเอ้ือย เช่น ดงั คำ
ประพันธท์ ่กี ลา่ วถงึ การชว่ ยเหลอื ครง้ั แรกของเป็ดมีตอ่ นางเอ้อื ย

แม่ลกู ร่วมใจกัน กวาดเสียพลันมิทนั ชา้

๕๕

สิ้นเสรจ็ เกลด็ นางปลา หัวเราะรา่ เล่นสบาย

สว่ นเปด็ อันเล้ียงไว้ เที่ยวซอนไซก้ นิ ดินทราย

ได้เกล็ดอันพรัดพราย ปลาบู่ตายรู้เต็มใจ

มิจติ คดิ เอ็นดู นางปลาบ่อู ันตายไป

กำพร้ากลับมาได้ จะร้องไห้หามารดา

เกล็ดนกี้ ูไซไ้ ด้ จะเอาไวใ้ หเ้ ถิดรา

คดิ แล้วเป็ดอมมา เอาไวท้ ่านางทรามวยั ฯ

(ปลาบู่ทอง, ๒๕๕๗:๒๒-๒๓)

ภมู หิ ลัง

เปด็ ไดช้ ่วยเหลอื นางแกว้ ขนษิ ฐาไวโ้ ดยอมเกลด็ ปลาไว้ใหน้ างเออ้ื ย

วิเคราะหต์ วั ละครทเ่ี ปน็ พชื

๙.ตน้ มะเขอื เปราะ

ลกั ษณะทางกายภาพ

จดั เปน็ ไมพ้ มุ่ ท่ีมคี วามสูงของตน้ ประมาณ ๒-๔ ฟุต ลำตน้ สวยงาม ผศู้ ึกษาพอสนั นิฐานไดว้ า่ ผูแ้ ต่ง
เรื่องอยากบ่งบอกถึง ความเรียบงา่ ยในการดำรงชีวิตของชาวไทย ทีผ่ ูกพันอยู่กับพชื โดยนำพชื มาเป็นผักกนิ เปน็
อาหาร โดยเฉพาะอาหารประเภทเนอื้ สม้ หรอื น้ำพริกที่ตอ้ งรับประทานกบั ผกั ดงั นั้น มะเขอื เปราะจงึ เป็นพืช
ชนิดหนึ่งท่ีคนไทยนยิ มนำมารบั ประทานกบั ปลาสม้ (เน้ือสม้ ) หรอื น้ำพรกิ ดังคำกล่าวในบทประพันธ์ที่กล่าวว่า

วันน้ันเทวี นั่งชมชนนี มชิ ้าคลาไคล

กำพร้าคนยาก ออกจากริมไพร ระวังระไว ดูคนทง้ั หลาย

สว่ นวา่ อีมาร มนั แกลง้ ตามผลาญ มันเห็นเปลา่ ดาย

มันเข้าถอนชกั หกั ใบกระจาย แล้วใสก่ ระทาย ผอ่ นผนั กลับมา

ไดแ้ ล้วคลาไคล เรง่ รีบลัดไป เข้าในพฤกษา

แลลอดปลอดหนาม เดนิ ตามมรคา ครั้นถึงเคหา พอ่ แม่ดใี จ

๕๖

หุงขา้ วขึ้นพลัน แลว้ มันชวนกัน กินใหบ้ รรลยั

ลกู หกั ก่งิ ก้าน ทิ้งลงนำ้ ไหล ใหส้ าแก่ใจ กำพร้านารี

(ปลาบทู่ อง, ๒๕๕๗:๒๖)

ลักษณะทางจติ วทิ ยา

ตน้ มะเขือเปราะมบี ทบาทไม่มากแต่กม็ ีสว่ นสำคัญในการสรา้ งเป็น เหตกุ ารณ์สอดคลอ้ งสัมพนั ธใ์ นการ
ดำเนนิ เรอ่ื ง คือต้นมะเขอื เปราะช่วยใหน้ างเอื้อยไดค้ ลายความทุกข์ โศกในใจ แตค่ วามคลายทุกข์โศกนัน้ อยู่ได้
ไม่ไดน้ าน ก็ถกู ทำร้าย โดยการหักกิ่งกา้ นโยนทิง้ ลงแมน่ ้ำ และนำผลมะเขอื เปราะมากนิ เป็นอาหาร

ภมู ิหลัง

ต้นมะเขือเปราะเปน็ นางขนษิ ฐาที่ได้กลบั ชาติมาอีกคร้งั หลังจากทน่ี าง ขนิษฐีกบั ลกู ไดจ้ ับปลาบ่มู าฆา่
แลว้ ทำเป็นอาหารกิน เมอื่ ปลาบูต่ ายไปเปด็ ตวั เมยี ตัวหนึ่งได้เก็บเกล็ดของแม่ ปลาบูไ่ ว้ใหน้ างเออ้ื ย นางเออื้ ยได้
นำเอาเกลด็ ปลาไปฝ่ังดนิ แลว้ ตง้ั จิตอธิฐานของให้เกลด็ ปลาได้เกิด

๑๐.ตน้ โพธิ์เงินโพธท์ิ อง

ลกั ษณะทางกายภาพ

ตน้ โพธิเ์ ป็นตน้ ไม้ยืนทม่ี ตี ้นขนาดใหญ่ มใี บหนาลักษณะคลายๆรปู หวั ใจและมีก่ิงก้านสาขาใหร้ ม่ เงาเย็นสบาย ดงั นั้น
การทีป่ รากฏให้มีตวั ละครเป็นต้นโพธิ์เงนิ โพธทิ์ องนั้น จึงเปน็ การสื่อว่านางเอื้อยกำลงั จะไดร้ ับความสุขสบาย และส่ือถงึ ความ
ร่ำรวย ความเจริญรุ่งเรือง

ลักษณะทางจติ วทิ ยา

บทบาทสำคัญในการช่วยเหลอื นางเอ้อื ยใหไ้ ด้รบั ความสุข ตน้ โพธเิ์ งนิ โพธ์ิทองจงึ เปน็ สง่ิ นำพาใหท้ ้าวพรหมทัตไดร้ จู้ ัก
กับนางเอ้ือย นอกจากนแ้ี ล้ว ต้นโพธเ์ิ งินโพธท์ิ องยังเป็นต้นไมท้ ศ่ี กั ดิส์ ิทธิ์ เชน่ ตอนทที่ า้ วพรหมทัดส่ังให้ถอนต้นโพธ์ิเงินโพธ์ทิ อง
โดย ใช้กำลังคมแตถ่ อนไมไ่ ด้ แต่เม่ือนางเอื้อยต้ังใจอธิฐานทำให้เหล่าพลเสนาถอนต้นโพธเิ์ งนิ โพธท์ิ องได้ งา่ ย ในการนำเอาต้น
โพธ์เิ งินโพธ์ิทองมาเปน็ ตัวละครนั้น ผู้ศึกษาสนั นิฐานไดว้ า่ เพื่อให้สอดคล้องกบั วถิ ชี ีวติ ชาวไทยทนี่ บั ถอื พทุ ธศาสนา ด้ังน้ันผแู้ ต่ง
หรอื ผเู้ ลา่ นทิ านจึงเลือกตน้ โพธ์ิเงินโพธ์ทิ องที่ เป็นตน้ ไมอ้ นั ทเ่ี ปน็ สญั ลกั ษณข์ องพุทธศาสนาทผ่ี ้คู นรจู้ กั กนั อยา่ งแพรห่ ลาย โดย
ปกตแิ ล้วต้นโพธ์ิเงิน โพธท์ิ องไม่นิยมปลูกไวใ้ นบ้านเรือน ส่วนมากมักจะเหน็ อยใู่ นวัด

ภูมหิ ลงั

ต้นโพธ์เิ งนิ โพธทิ์ อง เป็นนางขนิษฐาท่ีกลับชาติมาเกดิ อีกครัง้ หลงั จากที่นางขนิษฐกี บั ลูก ได้ถอนตน้ มะเขอื เปราะและ
หักกง่ิ ก้านและนำผลมาทำเป็นอาหารกิน นางเอื้อยไดน้ ำเมล็ดของมะเขือ เปราะท่ีเปด็ เกบ็ ไว้ให้ไปฝั่งดิน เมลด็ มะเขือเปราะก็
เตบิ โตมาเป็นต้นโพธเิ์ งินโพธ์ิทอง ต้นโพธิ์เงนิ โพธิท์ อง

๕๗

เอกสารอ้างองิ

กรมศลิ ปากร(๒๕๕๗).ปลาบู่ทองกลอนสวด : บรษิ ัท เอดิสัน เพรส โพรดกั ส์ จำกดั
อรณุ ยันต์ทอง.วเิ คราะห์วรรณกรรมปลาบทู่ อง : ลพบุรี : ศนุ ยศ์ ลิ ปวฒั นธรรม วทิ ยาลัยครเู ทพสตรี
สชุ ยา วาทะพุกกณะ,การศกึ ษาอกั ษรและภาษาวรรณกรรมพน้ื บา้ นชนดิ กลอนสวดเรื่องปลาบู่ทอง
(วิทยานพิ นธบ์ ัณฑติ วิทยาลัย คณะศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์,๒๕๕๕)
Peng Phat,การเปรียบเทียบวรรณกรรมนิทานเรอ่ื งปลาบูท่ องฉบบั ภาษาไทยกบั มรณมาตา ฉบบั ภาษาเขมร
(วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม,๒๕๖๒ )

๕๘

ภาคผนวก

๕๙

๖๐

๖๑

๖๒

๖๓

๖๔

๖๕

๖๖

๖๗

๖๘

๖๙

๗๐

๗๑

๗๒

๗๓

๗๔

๗๕

๗๖

๗๗

๗๘

๗๙

๘๐

๘๑

๘๒

๘๓

๘๔

๘๕

๘๖

๘๗

๘๘

๘๙

๙๐

๙๑

๙๒

๙๓


Click to View FlipBook Version