The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวรรณกรรมเรื่องปลาบู่ทอง ส่วนหนึ่งของรายวิชาวรรณกรรมสำหรับนาฏยศิลป์ศึกษา สาขาวิชานาฏยศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phutthiphongbsru11, 2021-03-16 01:44:37

รายงานวรรณกรรมเรื่องปลาบู่ทอง

รายงานวรรณกรรมเรื่องปลาบู่ทอง ส่วนหนึ่งของรายวิชาวรรณกรรมสำหรับนาฏยศิลป์ศึกษา สาขาวิชานาฏยศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

วรรณกรรมสำหรบั งานนาฏยศลิ ป์ เรอ่ื ง ปลาบ่ทู อง

นายพุฒิพงศ์ รปู โอ
๖๑๘๑๑๖๓๐๑๑

รายงานนเ้ี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาหลกั สตู รครุศาสตรบัณฑติ
สาขาวิชานาฏยศิลปศ์ ึกษา คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา
ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓



คำนำ

รายงานวรรณกรรมสำหรับงานนาฏยศิลป์ เรื่อง ปลาบู่ทอง ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
วรรณกรรมสำหรับนาฏยศิลป์ศึกษา (๒๑๕๑๓๐๑) รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรครุศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชานาฏยศิลป์ศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจา้ พระยา

รายงานเล่มนเ้ี ป็นการวเิ คราะห์วรรณกรรมเรอ่ื งปลาบ่ทู อง(กลอนสวด) ซึง่ ในเนอื้ หาจะประกอบไปดว้ ย
ประวตั ขิ องวรรณกรรม ประวตั ิวรรณกรรมเรื่องปลาบทู่ อง เนอ้ื เรือ่ งย่อ บทประพันธแ์ ยกประเภทตามหลกั การ
การวิเคราะหต์ ัวละครในดา้ นกายภาพ จติ วิทยา และภมู หิ ลงั

จุดประสงคข์ องการจดั ทำรายงานฉบับน้เี พอื่ เปน็ การรกั ษาและสบื ทอดมรดกวัฒนธรรมดา้ น
วรรณกรรม ซง่ึ บรรพชนไดส้ ร้างสมไดแ้ ต่อดตี กาลวรรณกรรมเรื่องน้ีมีความงดงามบริบรู ณทื ัง้ ในดา้ นเน้ือหาและ
ด้านวรรณศิลปเ์ ปน็ อย่างมากและยังสะทอ้ นให้เหน็ วิถีชีวติ สังคมไทยในยุคสมัยน้นั และในเรอ่ื งน้ีเปน็ วรรณกรรม
พนื้ บ้านของภาคกลางและยงั เปน็ วรรณกรรมมุขปาฐะท่ีเล่าขานในสงั คมไทยมาชา้ นานอีกด้วยจงึ เหมาะแก่
การศึกษาสบื คน้ เรือ่ งราวในอดีตเพ่อื เปน็ การสืบทอดและอนุรักษไ์ ว้ซึง่ มรดกของชาติไทย

ผู้จัดทำมคี วามตง้ั ใจและหวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่ารายงานเล่มน้จี ะอำนวยประโยชน์ต่อผศู้ ึกษาและผทู้ ี่สนใจ
ในด้านความบันเทิง ความรู้ ในเชงิ คตชิ นวิทยาแก่ผู้สนใจวรรณกรรมไทย และในวิชานาฏยศลิ ปใ์ นขั้นสงู ต่อไป

พฒุ ิพงศ์ รูปโอ
ผู้จดั ทำ



กติ ติกรรมประกาศ

รายงานฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์รณกฤต เพชรเกลี้ยง อาจารย์ที่ปรึกษา
รายวิชาวรรณกรรมสำหรับนาฏยศิลป์ศึกษา (๒๑๕๑๓๐๑) ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ที่ได้ให้คำ
เสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ มาโดยตลอดจนรายงานฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึง
ขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู

กราบขอบพระคณุ พอ่ แม่ ทใี่ ห้กำลังใจดีในการทำรายงานฉบับนี้
ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) ที่ได้เสียสละ
เวลาในการคน้ คว้าหนังสอื วรรณกรรม “ปลาบ่ทู อง กลอนสวด” และได้ถ่ายเอกสารหนังสือเลม่ น้ี
ขอบคุณเพอ่ื นๆและบคุ คลรอบขา้ งที่ใหน้ ำแนะนำดๆี ตา่ งๆในการทำรายงานฉบับน้ี

พุฒพิ งศ์ รูปโอ
ผ้จู ัดทำ

สารบญั ค

คำนำ หน้า
กติ กิ รรมประกาศ ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ฃ
สารบัญตาราง ง
ประวัติความเป็นมาของวรรณกรรม จ
ประวัติความเปน็ มาวรรณกรรมเรอ่ื ง ปลาบ่ทู อง ๑
ประวัตผิ แู้ ต่ง ๗
เน้อื เร่ืองยอ่ ๑๒
บทประพนั ธ์ ๑๔
ตัวละคร ๑๗
วิเคราะห์ตวั ละคร ๔๖
๔๗
เอกสารอ้างองิ
ภาคผนวก ๕๗
ประวัตินักศกึ ษา ๕๘
๑๕๑

สารบญั ภาพ ง

ภาพท่ี หน้า

๑.ละครเรื่องปลาบทู่ อง ๙
๒.ภาพยนตรเ์ ร่ืองซนิ เดอเรลล่า ๑๒
๓.พระพุทธเลศิ หล้านภาลยั ร.๒ ๑๖
๔.การ์ตนู วรรณกรรมเร่ืองปลาบทู่ อง

สารบญั ตาราง จ

ตารางท่ี หนา้

๑.ตารางรปู แบบการนำเสนอ



วรรณกรรม

วรรณกรรม (Literature) หมายถึงวรรณคดีหรือศิลปะที่เปน็ ผลงานอนั เกดิ จากการคดิ และจินตนาการ

แล้วเรียบเรียง นำมาบอกเล่า บนั ทกึ ขับร้อง หรอื ส่ือออกมาด้วยกลวิธีตา่ งๆ

แบ่งวรรณกรรมเป็น ๒ ประเภท คือ

๑.วรรณกรรมลายลักษณ์ คือวรรณกรรมทีบ่ นั ทึกเป็นตวั หนังสือ

๒.วรรณกรรมมุขปาฐะ อันได้แก่ วรรณกรรมที่เล่าด้วยปาก ไม่ได้จดบันทึก วรรณกรรมที่ได้รับการยกย่องวา่
แตง่ ไดด้ ีเรียกว่า "วรรณคดี" สำหรบั วรรณคดีนั้นต้องเปน็ วรรณกรรม แต่วรรณกรรมไมจ่ ำเป็นตอ้ งเป็นวรรณคดี

คำนิยาม "วรรณกรรม คือภาษาศิลป์ ทสี่ ร้างจินตนาการ ใหอ้ ารมณ์ ใหค้ วามรแู้ ละความเพลดิ เพลนิ "

ซ่ึงปจั จุบันวรรณกรรมมงุ่ เน้นท่ีความรู้ และความเพลิดเพลินของผู้อา่ น สว่ นภาษาศลิ ปน์ ั้นจะเปน็ แบบใดกไ็ ด้

(สบื ค้นจาก:https://sites.google.com/site/reportofstudysubjects/bth-wrrnkrrm-naew-karmeuxng-
khxng-thiy/-khwam-hmay-wrrnkrrm)

วรรณกรรม (โดยเฉพาะวรรณคดี) เป็นหนังสือที่ได้ชื่อว่าบรรจุไว้ด้วยถ้อยคำภาษาที่ประณีตที่สุด ตรึง
ใจและแหลมคมที่สุด อาจใช้ภาษาที่เป็นภาษาชนิดพิเศษ คำพ้นสมัย สร้างศัพท์ใหม่ แผลงคำเอาตามใจชอบ
ของนักประพันธ์หรือกวี ใช้คำศัพท์ท้องถิ่นหรือพื้นเมือง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นการเพิ่มพูนความรู้ทางภาษา
ให้แก่ผู้อา่ นทั้งสิ้น โดยเฉพาะทางด้านคำศัพท์แล้ว นับว่ามีคุณค่าเอนกอนันต์ ตัวอย่างจากเรื่องลิลิตตะเลงพ่าย
เพียงเรื่องเดียวหากศึกษาถ้อยคำภาษาโดยละเอียดถ่องแท้ก็ทำให้เกิดความแตกฉาน ในเรื่องภาษาขึ้นได้มาก
ความรู้ทางภาษาท่ไี ด้จากการอ่านวรรณกรรม โดยเฉพาะวรรณคดี จะสง่ ผลตอ่ การศึกษาวรรณคดใี นระดบั ท่ีสูง
หรือยากยิ่งๆ ขึ้นไป ทั้งนี้เพราะภาษาในวรรณคดีมีหลายระดับ กาพย์กลอนของสุนทรภู่เป็นระดับหนึ่ง นิราศ
นรินทร์ระดับหนึ่ง ตะเลงพ่ายระดับหนึ่ง และยวนพ่ายก็เป็นอีกระดับหนึ่ง ความรู้ทางภาษาจากวรรณคดีที่ใช้
ภาษาอยา่ งง่าย ๆ ย่อมเป็นปจั จยั ที่สรา้ งภูมิปัญยาให้อ่านหนังสือท่หี นกั ๆ ข้ึนได้เรอื่ ยไปโดยไม่มีขอบเขต (อุดม
หนูทอง ๒๕๒๓ : ๕๗)

แบ่งตามต้นกำเนดิ ของวรรณกรรม แบ่งออกเปน็ ๓ ประเภทคอื

๑.วรรณกรรมปฐมภูมิ (Primary Source) เป็นวรรณกรรมที่เกิดจากความคิด ความริเริ่ม การค้นพบ และ
ประสบการณ์ของผู้ผลิตเองสำหรับนำไปใช้งานหรือเผยแพร่แก่สาธารณชน เช่น เอกสารจดหมายเหตุ
วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจยั และเอกสารสว่ นบคุ คล เป็นตน้



๒.วรรณกรรมทุติยภูมิ (Secondary Source) เป็นวรรณกรรมที่เกิดจากการรวบรวม วิเคราะห์เลือกสรร
ประมวล และเรียบเรียงข้อมูลมาจากวรรณกรรมปฐมภูมิ เช่น หนังสือตำราต่าง ๆ หนังสือพจนานุกรม และ
หนงั สือสารานุกรม เป็นตน้

๓.วรรณกรรมตติยภูมิ (Tertiary Source) เป็นวรรณกรรมที่เกิดจาก การรวบรวม วิเคราะห์ เลือกสรร
ประมวล และเรียบเรียงข้อมลู จากวรรณกรรมทตุ ิยภมู ิเป็นหลัก เชน่ เอกสารคำสอน รายงานของนกั ศึกษา และ
คู่มือศึกษากระบวนวชิ าตา่ ง ๆ เปน็ ต้น

แบ่งตามลกั ษณะของเน้อื หา (ซ่ึงจะเน้นไปทางด้านวรรณคดไี ทยเป็นส่วนใหญ)่ มี ๗ ประเภท คอื

๑.วรรณคดีนิราศ วรรณคดีประเภทนี้มีลักษณะเฉพาะตัว เป็นการเขียนในทำนองบันทึกการเดินทาง การพลัด
พราก การคร่ำครวญเมื่อต้องไกลที่อยู่อาศัย คนรักหรือสิ่งรัก การเขียนในเชิงนิราศนี้มีรูปแบบโดยเฉพาะ เป็น
วรรณคดีที่กวีนิยมเขยี นกนั มาก มีวรรณคดีมากมายหลายเรื่อง เช่น กำสรวลศรีปราชญ์ ทวาทศมาส นิราศของ
สนุ ทรภู่ นิราศของพระยาตรัง นิราศนรนิ ทร์ เป็นต้น

๒.วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ เป็นวรรณคดีในเชิงประวัตศิ าสตร์การบันทกึ เหตกุ ารณ์แผ่นดินในทำนองสรรเสริญ
พระเกียรตขิ องพระมหากษัตรยิ ์ วรรณคดี ประเภทนีม้ ปี รากฏอยู่ในวรรณคดเี ปน็ จำนวนมากมาย เชน่ ลลิ ิตยวน
พ่าย ลิลิตตะเลงพ่าย เพลงยาวเฉลิมพระเกียรติ และโคลงเฉลิมพระเกียรติต่าง ๆ รวมทั้งวรรณคดีประเภทที่
ต้องการบนั ทกึ เรือ่ งราวสำคญั บางประการ เช่น โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ เป็นตน้

๓.วรรณคดีศาสนา วรรณคดีประเภทนี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาทั้งโดยตรงและโดยทางอ้อม คือ มี
อิทธิพลมาจากความเชื่อทางศาสนา เช่น มหาชาติฉบับต่าง ๆ พระปฐมสมโพธิกถา ไตรภูมิพระร่วง ไตรภูมิ
ฉบบั ตา่ ง ๆ รวมท้งั วรรณคดจี ากชาดก ทงั้ นิบาตชาดกและปัญญาสชาดก พระมาลัยคำหลวง เปน็ ตน้

๔.วรรณคดีที่เกี่ยวกับพิธีการขนบธรรมเนียมประเพณี เนื้อหาของวรรณคดีประเภทนี้เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม
ประเพณี หรอื พธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ ตำรานางนพมาศ พระราชพิธีสบิ สองเดอื น ฯลฯ

๕.วรรณคดีสุภาษิต วรรณคดีประเภทนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับคำสอน ข้อเตือนใจ เช่น กฤษณาสอนน้องคำฉันท์
สภุ าษติ พระร่วง โคลงราชสวัสด์ิ อิศรญาณภาษิต เปน็ ตน้

๖.วรรณคดีการละครหรือนาฏวรรณคดี วรรณคดีประเภทนี้นำไปใช้แสดงละคร หรือการแสดงทางนาฏศิลป์ใน
ลักษณะอน่ื เช่น เรอ่ื งอเิ หนา รามเกียรติ์ สังขท์ อง ไกรทอง เปน็ ต้น

๗.วรรณคดีนิยาย วรรณคดีประเภทนี้ถ้าเขียนเป็นการประพันธ์ประเภทกลอนจะเรียกว่ากลอนประโลมโลกย์
วรรณคดีนิยายนี้มีทั้งไม่เขียนเป็นกลอน เช่น ลิลิตพระลอ และที่เขียนเป็นกลอน เช่น พระอภัยมณี เสภาขุน



ชา้ ง - ขุนแผน เปน็ ต้น (สืบคน้ จาก : https://sites.google.com/site/phasathiykhrupik/wicha-wrrnkrrm-
paccuban/hnwy-thi-1/khwamtaektangrahwangwrrnkrrmlaeawrrnkhdi )

คณุ คา่ ของวรรณกรรม

วรรณกรรม มิใช่เป็นแต่เพียงสื่ออย่างเดียว หากสิ่งที่แฝงลึกลงไปในช่องไฟระหว่างตัวอักษร ยังสะท้อนให้เห็น
ถึงความตื้นลึกหนาบางทางภูมิปัญญาของผู้เขียน และลึกลงไปในภูมิปัญญานั้นก็คือความจริงใจที่ผู้เขียน
สะท้อนตอ่ ตัวเองและต่อ ผู้อ่าน (พิทยา วอ่ งกลุ . ๒๕๔๐ : ๑)

๑. คุณค่าของวรรณกรรมต่อปจั เจกบคุ คล คือวรรณกรรมใหส้ ารประโยชน์ตอ่ บุคคลอนั เปน็ หนว่ ยหนง่ึ ของสงั คม

๑.๑ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้และฝกึ ทกั ษะ

๑.๑.๑ ส่งเสรมิ ปลกู ฝงั นิสัยรกั การอ่าน และฝึกทกั ษะในการอ่าน

๑.๑.๒ สง่ เสรมิ ในการเรียนรทู้ างดา้ นภาษา และชว่ ยให้มีโอกาสฝกึ ทกั ษะ

๑.๑.๓ ส่งเสรมิ ให้รู้จักใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์

๑.๒ ให้ความบันเทิงใจ

๑.๒.๑ เพลิดเพลนิ สนกุ สนานไปตามเนื้อเรื่อง

๑.๒.๒ สะเทือนใจ สะเทอื นอารมณ์ ท้งั อารมณร์ กั โกรธ แคน้ สงสาร และสมใจ เปน็ ตน้

๑.๒.๓ ฝันไปกบั ท้องเรอื่ ง

๑.๓ ประเทืองปัญญา

๑.๓.๑ ชใี้ หเ้ หน็ สภาพของชีวิตมนุษย์ในสงั คม

๑.๓.๒ ใหป้ ระสบการณจ์ ำลองชวี ิตในแง่มมุ ตา่ ง ๆ ชีวติ ท่สี มบูรณ์พูนสขุ ยากแค้น อับเฉา ถกู
กดขี่ จองเวร อาภัพอบั โชค เปน็ ต้น

๑.๓.๓ ใหม้ โนทัศน์ (Conception) ต่าง ๆ เก่ียวกับวถิ ชี วี ติ ของมนุษยใ์ นสงั คม

๒. คณุ ค่าวรรณกรรมตอ่ การสร้างสรรคส์ ังคม วรรณกรรมมีส่วนใหค้ วามสำนึกของสงั คม หรอื มโนทัศน์ร่วมของ
สังคม โดยวิธีเสนอแนวคิดต่อผู้อ่านโดยส่วนรวม เป็นการปลูกฝังทัศนคติต่อสังคมแก่ผู้อ่าน และมีกลวิธีในการ
นำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ผู้อ่านเห็นพ้องกับแนวคิดที่ผู้ประพันธ์เสนอมาในรูปวรรณกรรม หรือให้ผู้อ่าน
เลือกรูปแบบของสังคมตามทัศนะของตนเองรวมมากับการบันเทิงใจในวรรณกรรมด้วย ซึ่งเป็นตัวเร่งเร้า
ส่งเสรมิ ให้ผู้อ่านอนั เป็นหน่วยหน่ึงของสังคมยอมรับแนวคิดเหล่านน้ั และมมี โนทศั นร์ ่วมตอ่ สังคม คอื



๒.๑ กฎเกณฑต์ อ่ สังคม อันได้แก่ ศีลธรรม กรอบจารีตประเพณี และธรรมนยิ มต่าง ๆ

๒.๒ มีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมในฐานะเปน็ หน่วยหน่ึงของสงั คมนั้น

๒.๓ มโนทศั นเ์ กยี่ วกับการเปล่ยี นแปลงของสงั คม วรรณกรรมได้เสนอแนวคิดรว่ มของการเปลย่ี นแปลง
ทางดา้ นสังคมโดยไมห่ ยดุ นงิ่ เพอื่ ไปส่สู ภาพของสงั คมมนษุ ย์ทีด่ กี ว่า

๒.๔ เสนอแนวคิดร่วมในการเปล่ยี นแปลงสงั คมไปสสู่ ภาพทีด่ กี วา่ และชะลอการเปลยี่ น

แปลงท่ีนำไปสสู่ ภาพชีวติ เลวลง หรือชะลอการเปลี่ยนแปลงท่ีคนเพียงกลมุ่ ใดกลุม่ หนง่ึ พยายามผลักดันจะให้
เป็นไปแต่ไมใ่ ช่มโนทศั นร์ ่วมของสงั คม

๒.๕ เสนอแนะ เร่งเรา้ มโนคติของปจั เจกบุคลลใหพ้ ยายามปรบั ตวั เขา้ กับการเปลี่ยนแปลงพัฒนา
ทางด้านสงั คมอันไม่เคยหยดุ น่งิ

ดงั นน้ั วรรณกรรมจงึ เป็นมรดกของสังคม เปน็ สว่ นหน่ึงของวฒั นธรรมทแ่ี สดงเอกลกั ษณ์ของความเปน็
ชาติ และเป็นเครอื่ งบง่ ชค้ี วามเป็นอารยะชองชนในชาติ ดงั คำกลา่ วทวี่ า่ "วรรณคดเี ปน็ อารยธรรมชนดิ ทไี่ ม่รู้จัก
สูญหาย" ดงั เชน่ วรรณคดีกรกี วรรณคดโี รมนั ปจั จบุ ันนยี้ ังคงมอี ยู่ แม้วา่ อาณาจกั รเหลา่ น้ีจะพนิ าศไปแล้วกต็ าม

(สบื คน้ จาก : https://sites.google.com/site/phasathiykhrupik/wicha-wrrnkrrm-paccuban/hnwy-
thi-1/khwamtaektangrahwangwrrnkrrmlaeawrrnkhdi)

โดยทัว่ ไปยอมรบั กันวา่ คณุ คา่ ของวรรณคดีมีหลากหลายดา้ น ดงั ต่อไปนี้

๑.คณุ ค่าทางอารมณ์ จดุ หมายหลักของวรรณคดีคอื ความเพลิดเพลนิ อารมณ์ ด่ังเช่นงานศิลปะอืน่ ๆ ท่ีกอ่ ให้เกิด
ความรู้สึกทางอารมณ์แก่ผู้รับรู้ วรรณคดีที่ยิ่งใหญ่ล้วนแล้วแต่ก่อให้เกิดอารมณ์ร่วมแก่ผู้อ่าน ไม่ ว่าจะเป็น
ความสุข ความเศร้า ความยินดี ความโกรธ ความตื่นเต้น หรือแม้แต่ความสงบ การมีอารมณ์ร่วมไปกับบท
ประพนั ธข์ องผอู้ า่ น ข้นึ อยูก่ บั ทักษะในการประพันธ์เรอ่ื งของกวผี ู้รจนา

๒.คุณค่าทางปัญญา วรรณคดีแทบทุกเรื่อง ล้วนมีเนื้อหาที่เป็นความรู้สอดแทรกอยู่เสมอ ทำให้ผู้ อ่านได้รับ
ความรู้ในเรื่องต่างๆ โดยปริยาย ทำให้เกิดปัญญาหากผู้อ่านขบคิดใคร่ครวญอย่างละเอียดถี่ถ้วน วรรณคดีที่ให้
ความรู้ในเรื่องศาสนา เช่น รามเกียรติ์ ไตรภูมิพระร่วง ลิลิตโองการแช่งน้ำ มหาเวสสันดรชาดก วรรณคดีที่ให้
ความรู้เรื่องการศึกสงคราม เชน่ สามก๊ก ราชาธิราช วรรณคดีทใ่ี หข้ อ้ คิดเตอื นใจ เช่น โคลงโลกนติ ิ เปน็ ต้น

๓.คุณค่าทางศีลธรรม หรือคุณค่าในการจรรโลงสังคม เมื่อคนมีความประพฤติอยู่ในศีลในธรรม หรือแม้จารีต
ประเพณีอันดี ก็ทำให้สังคมเกิดความผาสุก วรรณคดีส่วนมาก โดยเฉพาะวรรณคดีเก่าแก่ มักจะเชิดชูคุณธรรม
ความดีของตัวละคร เพอื่ ใหผ้ ูอ้ ่านซมึ ซบั ความดีน้นั ๆ และประพฤติปฏบิ ัติตาม หรอื แม้แตค่ วามประพฤตขิ องตัว



ละครที่บางครั้งเลวทราม ก็ยังสามารถยกเป็นตัวอย่างที่ไม่ควรปฏิบัติตามได้ เพราะตัวละครนั้นๆ มักประสบ
ชะตากรรมทีไ่ มด่ ี

๔.คุณค่าทางวัฒนธรรม วรรณคดีเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติ และยังเป็นบันทึกทาง
วัฒนธรรมที่บอกเล่าความรู้เกี่ยวกับคนรุ่นก่อน ทั้งวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ความเชื่อ ประเพณี ค่านิยม ที่ผู้อ่าน
สามารถสืบสาวหรือเชื่อมโยงอดีตหรือรากเหง้าของตนเองได้ วรรณคดีที่โดดเด่นในด้านวัฒนธรรม เช่น นิราศ
ตา่ งๆ ของสนุ ทรภู่ ขุนช้างขุนแผน สวสั ดริ ักษา สุภาษิตสอนหญงิ กาพยเ์ หช่ มเครอื่ งคาวหวาน กาพย์เห่เรือ เปน็
ตน้

๕.คุณค่าทางประวัติศาสตร์ แม้วรรณคดีจะมิได้มุ่งให้ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์อย่างถูกต้องตามจริง แต่
วรรณคดีหลายเรื่องก็ใช้ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เป็นข้อมูลพื้นฐานในการประพันธ์ บางครั้งเราจดจำ
ประวัติศาสตร์ได้จากการอ่านวรรณคดี มากกว่าการอ่านพงศาวดารเสียอีก วรรณคดีที่เน้นบอกเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร์ เช่น ลิลิตตะเลงพ่าย ลิลิตยวนพ่าย เป็นต้น หรือแม้แต่วรรณคดีที่เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเทพและ
อมนุษย์อย่างรามเกียรติ์ ก็มีการศึกษากันว่า น่าจะเป็นการแต่งเรื่องจากเค้าโครงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้น
จรงิ ในช่วงยุคท่ชี นชาตอิ ารยนั อพยพเข้ามาครอบครองพ้นื ทีท่ ่เี ป็นอนิ เดยี ในปัจจุบัน

๖.คุณค่าทางจิตนาการ เนื่องจากวรรณคดีเป็นเรื่องแต่งขึ้น โดยอาจจะอิงมาจากเรื่องจริงหรือไม่ก็ได้ ทำให้ผู้
แต่งต้องใส่จินตนาการที่กว้างไกลลงไปในงานประพันธ์เม่ื อผู้อ่านได้อ่านวรรณคดีเรื่องนั้นๆก็จะซึมซับ
จินตนาการของผู้แต่งและอาจจินตนาการต่อยอดออกไปได้อีกด้วย ซึ่งจินตนาการเป็นทักษะที่สำคัญอย่างหนง่ึ
ที่เราควรมี เพราะมีหลายต่อหลายคร้ังท่จี ินตนาการได้ช่วยให้เรากา้ วออกจากกรอบความคดิ เดิมๆ ได้ ทำให้เรา
แก้ปัญหาที่เผชิญอยู่หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆได้วรรณคดีไทยที่ได้รับการยอมรับว่าโดดเด่นด้านจินตนาการ
ได้แก่ พระอภัยมณีของสนุ ทรภู่

๗.คุณค่าทางทักษะเชิงวิจารณ์ การอ่านวรรณคดีมาก จะทำให้เราพัฒนาทักษะในการวิพากษ์วิจารณ์ เช่น เรา
เกิดความไม่เห็นด้วยกับเนื้อเร่ืองหรือแนวคิดบางอยา่ งที่วรรณคดีหนึ่งๆ เชิดชูว่าถูกต้อง อาจเป็นเพราะยุคสมยั
ที่เปลี่ยนไปทำให้ความเชื่อหรือค่านิยมของคนในสังคมหนึ่งๆ เปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น ในปัจจุบันเราอาจไม่
เห็นด้วยกับการทำทานด้วยลูกและเมียของพระเวสสันดร ในขณะที่คนสมัยก่อนอาจจะไม่รู้สึกตะขิดตะขวงใจ
เมือ่ อา่ นเร่ืองน้ี ทำใหเ้ ราเกิดความคดิ วิพากษ์วจิ ารณ์

๘.คุณค่าทางการใช้ภาษา วรรณคดีถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นด้วยภาษา นอกจากคุณค่าด้านอื่นๆ ที่จะถูก
ถ่ายทอดสู่คนรุ่นถัดไปแล้ว การใช้ภาษาในการประพันธ์ที่งดงามก็ได้รับการถา่ ยทอดไปสูค่ นรุ่นใหม่ด้วยเช่นกนั
การอ่านวรรณคดีมาก จะทำให้เราจดจำกลวิธีการร้อยเรียงถ้อยคำที่สวยงาม คมคาย และนำมาใช้พัฒนางาน
เขยี นของตนเองได้ตอ่ ไป



๙.คุณค่าที่เป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการสร้างวรรณกรรม และศิลปกรรมด้านต่างๆ วรรณคดีที่แพร่หลายใน
สังคมชนชาติหนึ่งๆ มาเป็นเวลายาวนาน อดไม่ได้ที่จะส่งผลต่อวรรณกรรมเรื่องอื่นๆ ที่มีผู้แต่งตามอย่าง ไม่ว่า
จะเป็นการอ้างอิงพื้นหลังของเรื่อง รูปแบบการดำเนินเรื่อง เป็นต้น อีกท้ังงานศิลปะด้านอื่นๆ ที่ศิลปินบรรจง
รังสรรค์ขึ้นด้วยความซาบซึ้งใจ ประทับใจในวรรณคดีต้นแบบ วรรณคดีของไทยที่มีอิทธิพลต่อวรรณคดี และ
วรรณกรรมอื่น รวมทั้งศิลปกรรมต่างๆ มากที่สุดก็คือ รามเกียรติ์นั่นเอง (สืบค้นจาก : ทีมงานทรูปลูก
ปัญญา./(๒๕๖๓)./[Online]./Available : http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34198)

ผ้ศู กึ ษาสรปุ ได้ว่า วรรณกรรมนั้นเปน็ คำนามทห่ี มายถงึ งานหนงั สือ งานประพันธ์ บทประพันธท์ ุกชนิด
ทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง ส่วนวรรณคดีก็เป็นคำนามและหมายถึง วรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี มี
คุณคา่ เชงิ วรรณศิลป์ และถ้าแบ่งประเภทของวรรณกรรมสามารถแบ่งไดเ้ ป็น ๓ ขอ้ หลักใหญๆ่ คอื

๑.ประเภทของวรรณกรรม

๒.แบง่ ตามต้นกำเนิดของวรรณกรรม

๓.แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา

การที่ให้วรรณกรรมมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น ก็จะใช้ความงามหรือศิลปะในการใช้ภาษาให้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสมกับเวลา โอกาส และบุคคล นอกจากนี้ ภาษาแต่ละภาษายังสามารถปรุงแต่ง ให้เกิดความเหมาะสม
ไพเราะ หรือสวยงามได้ ผู้สร้างสรรค์งานวรรณกรรม เรียกว่า นักเขียน นักประพันธ์ หรือ กวี วรรณกรรมเป็น
ศิลปะแห่งการประพันธ์เรื่องราว จากความหมาย คุณค่าโดยตรง คือคุณค่าทางอารมณ์ ทางภาษา และทาง
วัฒนธรรม มุ่งให้เกิดความเพลิดเพลินทางอารมณ์เป็นหลัก ใช้ภาษาในการถ่ายทอด และช่วยพัฒนาการใช้
ภาษาในเวลาเดยี วกัน



ประวตั คิ วามเปน็ มาของเรื่องปลาบทู่ อง

ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพื้นบ้านทางภาคกลางของไทย ที่เล่าโดยผ่านวิธมี ุขปาฐะ, ร้อยแกว้ , ร้อยกรอง มี
เน้ือหาเก่ยี วกบั เด็กสาวชาวบ้านผมู้ ใี จเมตตาได้แตง่ งานกบั กษัตรยิ ์ เคยเปน็ ภาพยนตร์และละครโทรทศั น์มาแล้ว
หลายครั้ง โดยเชือ่ วา่ มีทม่ี าจากชนชาตจิ ว้ ง-ลาว-ไท ในภาคใต้ของจนี เลา่ ถา่ ยทอดกนั มาแตด่ กึ ดำบรรพ์ และใน
ชนพื้นเมืองในหลายชาติของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เช่น ลาว, เขมร, พม่า ก็มีเรื่องราวทำนองคล้ายกันนี้ แต่
เรียกช่อื ต่างออกไป และคล้ายคลึงกบั นิทานพนื้ บ้านของยุโรป คือ ซินเดอเรลล่า

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ปลาบ่ทู องไดร้ ับการข้ึนทะเบียนใหเ้ ป็นมรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรมของไทย โดยกระทรวง
วฒั นธรรม

การดัดแปลง ปลาบู่ทองถูกนำมาสร้างครั้งแรกเป็นภาพยนตร์ ๑๖ มม. สร้างโดย เทพกรภาพยนตร์
โดย กิติมา เศรษฐภักดี เป็นผู้อำนวยการสร้าง กำกับโดย อำนวย กลัสนิมิ (ครูเนรมิต) ออกฉายครั้งแรกวันท่ี
๒๐ สิงหาคม ๒๕๐๘ ที่โรงหนังเฉลิมบุรี ต่อมาปลาบู่ทองถูกนำมาทำเป็นภาพยนตร์โทรทัศน์จักรๆวงศ์ๆครั้ง
แรกทาง ๗ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ เป็นภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่องแรกของ ดาราฟิล์ม กำกับโดย ไพรัช สังวริบุตร บท
โดย ประสม สงา่ เนตร มเี พลงนำเร่ืองขับร้องโดย เพญ็ ศรี พมุ่ ชูศรี ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ นำมาเปน็ ภาพยนตร์
๓๕ มม. ออกฉายในชื่อเรื่อง "แม่ปลาบู่" โดย วนิชศิลปภาพยนตร์ ของ อนันต์ ชลวนิช ออกฉายวันที่ ๑๔
พฤศจิกายน ๒๕๑๕ โดยฉายทีโ่ รงภาพยนตร์นิวบรอดเวย์

ปลาบู่ทองถกู นำมาทำเปน็ ภาพยนตร์อีก ๓ ครั้ง

o ในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ กำกับโดย ชติ ไทรทอง สรา้ งโดย ศิรมิ งคลโปรดคั ช่ัน อำนวยการสรา้ งโดย ชาญชยั
เนตรขำคม เข้าฉายเมอ่ื ๗ กรกฎาคม

o ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ กำกับโดย วิเชียร วีระโชติ อำนวยการสร้างโดย วิษณุ นาคสสู่ ขุ สรา้ งโดย วิษณุ
ภาพยนตร์

o ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ สร้างโดย กรุ๊ฟโฟร์ โปรดักชั่น กำกับโดย สิทธิชัย พัฒนดำเกิง บทภาพยนตร์โดย
อาทติ ย์ เขา้ ฉาย ๘ พฤศจิกายน

และถูกนำมาทำเป็นละครโทรทัศน์จักรๆวงศ์ๆทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง ๗ อีก ๒ ครั้ง ในปี พ.ศ.
๒๕๓๗ สร้างโดย บริษัท สามเศียร จำกัด และ บริษัท ดาราวีดีโอ จำกัด กำกับโดย สยม สังวริบุตร และ
สมชาย สังข์สวัสดิ์ บทโทรทัศน์โดย รัมภา ภิรมย์ภักดี (ภาวิต) และ ลุลินารถ สุนทรพฤกษ์ และในปี พ.ศ.
๒๕๕๒ สร้างโดย บริษัท สามเศียร จำกัด กำกับโดย คูณฉกาจ วรสิทธิ์ บทโทรทัศน์โดย รัมภา ภิรมย์ภักดี
(พิกุลแก้ว) ออกอากาศ ๖มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๕๒ ถึง ๒๘กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๓

(สืบค้นจาก:https://th.wikipedia.org/wiki)



นิทานปลาบู่ทอง ปีที่ขึ้นทะเบียน พ.ศ. ๒๕๕๔ ภูมิภาค ภาคกลาง สาระสำคัญโดยรวม เป็นนิทาน
พื้นบ้าน ที่นิยมเล่ากันอย่างแพร่หลาย ปรากฏทั้งรูปแบบที่เป็นมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์ที่มีการ
บันทึกในรูปแบบร้อยแก้วและร้อยกรอง เป็นเรื่องของความอิจฉาริษยาอาฆาตระหว่างเมียหลวงเมียน้อย เมีย
หลวงตายไปเกิดเป็นปลาบู่ทอง และต่อมาเกิดเป็นต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทอง นางเอื้อยผู้เป็นนางเอกถูกแม่เลี้ยงกล่ัน
แกล้งอย่างไมเ่ ป็นธรรมจนตกทุกขไ์ ด้ยาก แต่เมื่อกษัตรยิ ์ประพาสป่า นางเอื้อยเป็นผูถ้ อนต้นโพธิ์เงนิ โพธิ์ทองได้
จึงได้เป็นมเหสีของกษัตริย์ แต่ต่อมาก็หลงกลแม่เล้ียงจนตายไปและเกิดเป็นนกแขกเต้า จนฤาษีต้องมาช่วยชุบ
ชีวิตคืนมา ตอนท้ายเรื่องสะท้อนให้เห็นว่าคนดีย่อมตกน้ำไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ปลาบู่
ทอง เป็นนิทานที่มีคติสอนใจในเรื่องกฎแห่งกรรมและให้คนยึดมั่นในการทำความดี จึงได้มีการนำมาใช้เป็น
หนังสอื นิทานสำหรบั เดก็ และมีการสรา้ งเป็นบทภาพยนตรแ์ ละละครโทรทศั น์

(สืบค้นจาก : http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/folk-literature/252-folk/108-----m-s)

รูปแบบการ เออ้ื ย / อ้าย พระเจ้าพรหมทัต เศรษฐี ขนิษฐา ขนิษฐี
นำเสนอ
ภาพยนตร์ ภาวนา ชนะจติ ไชยา สุริยัน สมควร กระจา่ ง วิไลวรรณ วัฒนพานิช ปรียา รุ่งเรอื ง
พ.ศ. ๒๕๐๘ ศาสตร์
ภาพยนตรช์ อ่ ง
๗ พ.ศ. ๒๕๑๐ เยาวเรศ นศิ ากร พัลลภ พรพิษณุ สวุ นิ สวา่ งรัตน์ นำ้ เงนิ บุญหนกั ศิรินทพิ ย์ ศิรวิ รรณ
ภาพยนตร์
พ.ศ. ๒๕๒๒ ลลนา สุลาวัลย์ ปฐมพงษ์ สงิ หะ สมควร กระจ่าง รัตนาภรณ์ อนิ ทรกำ อรสา พรหมประทาน
ภาพยนตร์ ศาสตร์ แหง
พ.ศ. ๒๕๒๗
ละครช่อง ๗ เพ็ญยุพา มณเี นตร สุรยิ า ชนิ พันธ์ุ สมภพ เบญจาธิกลุ อัมพวนั ศรีวไิ ล พศิ มยั วิไลศักดิ์
พ.ศ. ๒๕๓๗
ภาพยนตร์ อจั ฉรา ทองเทพ ปริญญา ปุ่นสกลุ ชาตรี พณิ โณ ปทั มา ปานทอง อรโุ ณทยั นฤนาท
พ.ศ. ๒๕๓๗
การต์ นู ชอ่ ง ๓ นวพร อินทรวิมล เกรยี ง ไกรมาก สรพงษ์ ชาตรี ขวญั ภริ มย์ หลนิ ปาลรี ฐั ศศธิ ร
พ.ศ. ๒๕๔๓
ละครช่อง ๗ นยั นา ทิพย์ศรี สุภาพ ไชยวิสทุ ธกิ ลุ ธงชัย ชาญชำนิ จฑุ ามาศ ชวนเจรญิ นยั นา ทพิ ย์ศรี
พ.ศ. ๒๕๕๒
ละครชอ่ งไอพี พชี ญา วฒั นามนตรี วสุ ประทุมรัตน์ อมั รินทร์ สิมะโรจน์ ทราย เจรญิ ปุระ นำ้ ทพิ ย์ เสยี มทอง
เอม็ วัฒนา
พ.ศ. ๒๕๕๙
ปุณฐิภาภคั ร์ ไชยวัฒน์ ผาย ณัฐพล รตั นพิ นธ์ อภิสรา รักชาติ สารดา เอง็ สิรภัส
สุวรรณราช สวุ รรณ

(ตารางท่ี ๑ ตารางอ้างองิ จาก : ไทยบันเทิงhttps://thaibunterng.fandom.com/th/wiki (2508) )



(ภาพท่ี ๑ อา้ งอิงจาก : https://thaibunterng.fandom.com/th/wiki)

(ภาพท่ี ๒ อ้างอิงจาก : https://th.wikipedia.org/wiki_2558)
นิทานเรื่องปลาบู่ทองเป็นนิทานที่ชาวจ้วง – ลาว – ไท เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ ชาวไทย
เรียก “ปลาบู่ทอง” ชาวล้านนาและไทใหญ่เรียก “เต่าน้อย อองคำ” หรือ “นางยีแสงกอ่ ” (คือนางเอื้อย) หรือ

๑๐

“นางอุทธรา” (คือนางเอื้อย) ทางลาวเรียก “เต่าคำ” ทางจ้วงเรียก “ตาเจี้ย” (นางกำพร้า, ‘ตา’ เป็นคำ
นำหนา้ เรยี กหญงิ สาว, ‘เจย้ี ’ แปลวา่ กำพรา้ )

นิทานเรื่องนี้แพร่หลายอยู่ในกลุ่มชนชาติตา่ ง ๆ ในกวางสี, เวียดนาม, กัมพูชา, ลาว, สยาม, พม่า, จีน และจาก
จีนเผยแพร่ไปถึงยุโรปในยุคราชวงศ์ถัง จนทำให้เกิดเทพนิยาย “ซินเดอเรลล่า” แก่นเนื้อหาของเรื่อง พ่อ
นางเอกมเี มยี สองคน เมียหลวงแมข่ องนางเอกตาย เมยี หลวงตายแล้วเกิดเปน็ ปลา (เตา่ หรอื ควาย) แม่เลี้ยงทำ
ร้ายทารุณลูกเลี้ยง และฆ่าปลา (เมียหลวง) ต่อมานางเอกได้เป็นเมียเจ้าชาย (เรื่องที่ชาวจีนนำนิทานจ้วงไ ป
เขียน จบเพียงเท่านี้) แม่เลี้ยงหลอกนางเอกกลับมาบ้านแล้วฆ่าตาย (นิทานของบางชนเผ่าจบลงเพียงนี้) แม่
เลี้ยงส่งลูกสาวตัวเองไปอยูก่ ับเจา้ ชาย แต่ในท่ีสุดความจริงก็ปรากฏ นางเอกฟื้นชีพได้ครองคูก่ บั เจ้าชายอยา่ งมี
ความสขุ

นิทานปรัมปราเรื่อง “ปลาบู่ทอง” นี้ ทางชาวจ้วงในกวางสี เรียกว่า “ตาเจี้ย ตาลูน” “ลูน” แปลว่าลูกคนน้อง
(อีสานเรียก “ลูกหล่า”, ทางล้านนายังใช้คำว่า “ลูน”) นิทานเรื่องน้ีแพร่หลายมาก เรื่องที่คนจีนนำไปเขียน
ปรบั ปรุงนน้ั แมข่ องนางเอก(ตาเจ้ยี ) ตายแล้วไปเกิดเปน็ ปลา แต่นทิ านท่แี พร่หลายอยู่ในหมชู่ าวจ้วงทุกวันนี้น้ัน
แม่ของ “ตาเจ้ยี ” ถูกแม่เล้ยี งซ่ึงเป็นแมม่ ดเสกใหก้ ลายเปน็ ควาย

“นทิ านโบราณ” มีคุณค่ามากในทางมานษุ ยวทิ ยา

แค่เรื่องที่นิทาน “ปลาบู่ทอง” “ตาเจี้ย ตาลูน” “เต่าน้อยอองคำ” “นางยีแสงก่อ” “นางอุทธรา” มีเนื้อหา
ตรงกัน กเ็ ปน็ เรื่องสำคญั แลว้

เวียดนามและกมั พชู ากม็ ีนทิ านเรือ่ งราวคล้ายคลึงกนั อีกดว้ ย

หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดพบจากนิยายที่ชาวจีนเขียนในยุคราชวงศ์ถัง ตวนเฉิงสื้อ ผู้เขียนนิยา ย “เย่เซียนกู
เหนยี ง” ระบวุ ่าดัดแปลงจากนทิ านของชาวจ้วงแถบ “ยงโจว” (หนานหนงิ )

นักวิชาการอเมริกันฟันธงว่า เทพนิยายเรื่อง“ซินเดอเรลล่า” ดัดแปลงไปจากนิยายเรื่อง “เย่เซียนกูเหนียง”
(ซึ่งดัดแปลงจากนทิ านจว้ ง) นั่นคอื ต้นเคา้ เรอ่ื งซนิ เดอเรลล่าก็คอื นทิ านเร่อื งปลาบู่ทองนั่นเอง!

(สืบค้นจาก : https://e-shann.com/35670)

พุทธศาสนาและความเชื่อหรือประเพณี ให้คติหลายเรื่อง เช่น การคิดดีทำดีต้องได้ดี เหมือนที่นาง
เอื้อยเป็นคนดี รักและกตัญญูต่อผู้เป็นมารดา และวันหนึ่งพระราชาเดินทางมาพบเข้า จึงได้รับนางเข้าเป็น
มเหสีในเมือง การให้อภัยซึ่งกันและกันทำให้จิตใจเราเป็นสุข อย่าอิจฉาริษยาคนที่ได้ดีกว่า อย่างตัวละครนาง
ขนิษฐีกับนางอา้ ย เป็นตัวอย่างของตัวละครที่ไม่ดี ไม่ควรถือเอาเป็นแบบอย่าง การอดทนอดกลั้น แม้จะถูก

๑๑

กลั่นแกล้งอย่างไร ก็ควรจะอดทนไม่ตอบโต้เขาไป ควรมีความกตัญญู ความเชื่อเรื่องกรรมแต่ชาติปาง
ก่อน ดังที่นางขนิษฐามาเกิดเป็นปลาในชาติน้ี ก็เป็นเพราะกรรมที่นางได้ทำไว้ แต่ด้วยความที่นางมีบุญ
บารมจี งึ ทำให้นางสามารถระลึกชาตไิ ด้ และไดก้ ลบั มาอยกู่ ับลกู สาวอันเป็นทร่ี ักของนาง

(สบื ค้นจาก : https://cackku.wixsite.com/phratrairat2/copy-of-45 )

ขอ้ คิดท่ไี ดจ้ ากเร่ือง ปลาบู่ทอง
๑.คิดดี ทำดี ต้องได้ดี
๒.การให้อภัยซึง่ กนั และกนั ทำใหจ้ ิตใจเราเปน็ สขุ
๓.ควรพอใจในสิง่ ที่ตนเองมีอยู่
๔.มีความกตัญญู
๕.แมเ้ ราจะถูกกลัน่ แกล้งอยา่ งไร กค็ วรจะอดทนไมต่ อบโตเ้ ขาไป

(สบื คน้ จาก : https://www.doesystem.com)

ผู้ศึกษาสรุปไดด้ ังนี้ ปลาบู่ทองเป็นวรรณกรรมพื้นบ้านของภาคกลางที่เล่าต่อๆกันมา เชื่อว่ามีท่ีมาจาก
ชนชาติจ้วง-ลาว-ไท ในภาคใต้ของจีน เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ แต่บางตำราอ้างว่าพระพุทธเลิศหล้า
นภาลัย ร.๒ เป็นผู้ประพันธ์เรื่องปลาบู่ทองขึ้น และบทประพันธืเรื่องนี้มีความคล้ายคลึงกับนิทานพื้นบ้านของ
ยุโรป คือ ซินเดอเรลล่า ในภายหลังได้มีนักเขียนบันทึกไว้หลากหลายสำนวน ซึ่งในรูปแบบกลอนสวดเป็นการ
บนั ทึกที่นา่ สนใจ นอกจากนี้ ปลาบูท่ องยงั ได้รับการถา่ ยทอดมาเป็นหนังสอื นิทาน การ์ตนู และละครโทรทศั น์ถึง
๙ ครั้งด้วยกันตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๘-๒๕๕๙ ในปี ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ปลาบู่ทองได้รับการขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดก
ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของไทยโดยกระทรวงวัฒนธรรม เพราะมีเนื้อหาและการดำเนินเรื่องท่ีสนุกสนานน่า
ติดตาม แฝงข้อคิดสอนใจใหท้ ำความดี รู้จักให้อภัยผู้อื่น ที่เป็นความเชือ่ ทางพระพุทธศาสนา ปลาบู่ทองอยู่ใน
นิทานประเภทปรัมปราหรือนิทานทรงเครื่อง เพราะเป็นเรื่องยาวที่มีเหตุการณ์ มีอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ต่างๆ
สถานที่เกิดเหตุไม่แน่ชัดว่าอยู่ที่ใด ตัวเอกของเรื่องสามารถต่อสู้อุปสรรคขวากหนามทำให้ศัตรูพ่ายแพ้ไปใน
ที่สุดและจบลงด้วยความสุข เนื้อหาเต็มไปด้วยจินตนาการ เช่นมีฤาษีเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยเหตุนี้จึงทำให้นำมา
ดัดแปลงเป็นละคร ภาพยนตร์และการแสดงอื่นๆ ปลาบู่ทองยังมีข้อคิดและคำสอนอย่างมากมายที่สะท้อนให้
ถึงสงั คมอย่างชัดเจน เชน่ ความกตัญญู แสดงออกถงึ ความรบู้ ุญคณุ คำนย้ี ังใช้ได้ตัง้ แต่สมยั เกา่ -ถงึ ปจั จบุ ัน

๑๒

ประวตั ผิ ู้แตง่

(ภาพที่ ๓ อ้างอิงจาก : https://sites.google.com/site/tertgyhujio/rachkal-thi2)

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน ๔ ขึ้น ๗ ค่ำ ปีกุน ตรง
กับวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ มีพระนามเดิมตามหนังสือราชวงศ์สกุลว่า ฉิม เป็นพระราชโอรสใน
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกและสมเด็จพระอมรินทราและบรมราชินี ในเวลานั้นพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี นามเดิมว่า ทองด้วง พระองค์ทรง
พระราชสมภพ ณ บ้านสวนอมั พวา จงั หวัดสมทุ รสงคราม

เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกู้อิสรภาพ ตั้งพระนครหลวงยกเมืองธนบุรีขึ้นเป็นราชธานีแล้ว ได้เชิญให้
หลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรีมาปฏิบัติราชการในตำแหน่งที่ราชฐานั นดรเป็นพระราชวรินทร์เจ้ากรมพระ
ตำรวจนอกขวามีนิวาสสถานอยู่ใต้วัดระฆังโฆสิตาราม จนได้รับการเลื่อนยศบรรดาศักดิ์ขึ้นเป็นสมเด็จ
เจ้าพระยามหากษัตรยิ ์ศึกฯ

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงตามเสด็จพระราชบิดาไปในการศึกสงครามตั้งแต่มี
พระชนมายุเพียง ๘ ชันษา เมื่อพระชนมายุได้ ๑๓ ชันษา สมเด็จพระราชบิดาให้ทำพิธีโสกันต์ (โกนจุก) แล้ว
นำไปฝากมอบไว้กับสมเด็จพระวันรัต (ทองอยู่) ที่วัดระฆังโฆสิตารามหรือวัดบางหว้าใหญ่ ได้ศึกษาอักษร
ศาสตร์จากทน่ี ่ันและไดต้ ามเสด็จไปในการสงครามหลายครั้ง

พ.ศ. ๒๓๒๔ กรุงธนบุรีเกิดยุคเข็ญ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ได้เสด็จปราบดาภิเษกเป็นปฐม
บรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีวงศ์และทรงย้ายพระนครหลวงมายั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของกรุงธนบุรี พระราชทาน
นามว่า กรุงเทพมหานครอมรรัตนโกสินทร์ฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ และโปรดให้สถาปนาพระบาทสมเด็จพระพุทธ
เลิศหล้านภาลัย พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุ ๑๖ พรรษา ให้เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยา
เธอ เจา้ ฟา้ กรมหลวงอิศรสุนทร

๑๓

พ.ศ. ๒๓๓๑ ทรงผนวชที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีสมเด็จพระสังฆราช (สี) วัดระฆังเป็นพระ
อุปัชฌาย์ แล้วเสด็จไปประทบั ท่ีวัดสมอราย (วัดราชาธิวาส) จนกระทั่งออกพรรษาเมือ่ กรมพระราชวังบวรมหา
สุรสิงหนาท พระอนุชาธิราชของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จสวรรคตแล้ว ทรงได้รับพระ
อสิ รยิ ยศเป็นพระมหาอปุ ราชา ผู้รบั รัชทายาทโปรดใหม้ กี ารตัง้ พระราชพธิ ีอปุ ราชาภิเษก เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๔๙

พ.ศ. ๒๓๕๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จสวรรคต พระองค์ก็เสด็จเถลิงถวัลยราช
สมบัติ ขณะมีพระชนมายุ ๔๒ พรรษา แล้งเสด็จประทับ ณ พระบรมมหาราชวัง ทรงพระบรมนามาภิไธยว่า
พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั เปน็ รชั กาลที่ ๒ แหง่ กรงุ รตั นโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัยเสด็จ
ดำรงอยู่ในสิริราชสมบัติตลอดเวลา ๑๕ ปี สวรรคตเมื่อวันพุธ แรม ๑๑ ค่ำ เดือน ๘ ปีวอก ตรงกับวันที่ ๒๑
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ เวลาประมาณ ๑๘.๓๐ น. ตามพระราชพงศาวดาร

๑๔

เน้ือเรื่องยอ่

ปลาบทู่ อง เป็นนทิ านพื้นบา้ นภาคกลางของไทย เร่อื งราวเกย่ี วกับเดก็ สาวชาวบา้ นผู้มใี จเมตตาและมี
ความกตัญญูต่อมารดาบดิ าไดแ้ ต่งงานกบั กษตั ริย์เคยสร้างเป็นภาพยนต์และละครโทรทัศน์มาแลว้ หลายครั้ง
เน้ือเรอ่ื งสนุกสนานเพลิดเพลนิ และใหแ้ ง่คิดสอนใจที่ดไี ว้อีกดว้ ย

นานมาแล้ว มชี ายหาปลาคนหน่ึงช่อื วา่ “ ทารก ”(ทาระกะ) เขามีภรรยาสองคน คนแรกช่ือวา่
“ ขนิษฐา ” คนทีส่ องช่ือว่า “ ขนิษฐี ” นางกนษิ ฐามีลกู สาวคนเดยี วชื่อว่า “ เอ้ือย ” ในขณะทน่ี างขนิษฐมี ลี กู
สาวสองคน คนแรกช่อื “ อา้ ย ” กับ “ อ่ี ”

ชายหาปลาไม่ชอบภรรยาหลวงและลกู สาวของนาง จึงมกั จะดดุ า่ และบงั คบั ใหท้ ำงานหนักทกุ วันใน
ขณะที่นางขนิษฐีผเู้ ปน็ ภรรยาน้อยกับลูกสาวสองคนใชช้ วี ติ อยูอ่ ย่างสบายเพราะไม่ต้องทำงานหนกั เหมอื นอย่าง
แมล่ กู คนู่ ัน้ …อย่างไรก็ตามทั้งนางขนิษฐแี ละลูก ๆ ของนางกย็ ังเกลียดนางกนิษฐาและเอื้อยอกี ซำ้ ยังอิจฉาริษยา
และหาทางกล่ันแกลง้ สองแมล่ กู อยตู่ ลอดเวลา… ทกุ ๆ เชา้ ชายหาปลาจะออกไปทอดแหหาปลาในแมน่ ำ้ และ
จะมีภรรยาสองคนผลดั กนั เป็นคนพายเรือ ให้คนละวนั หลงั จากได้ปลามากพอในแตล่ ะวันแลว้ ก็จะนำไปขายที่
ตลาดกอ่ นกลบั บ้าน

อยู่มาวนั หนึง่ นางกนษิ ฐาทำหน้าที่เปน็ คนพายเรือใหส้ ามใี นขณะหาปลา แตว่ า่ ไม่ได้ปลาสักตวั เดียว
นอกจากปลาบูท่ องตวั หนึง่ เท่านนั้ ตลอดทง้ั วนั ชายหาปลาทอดแหแลว้ ทอดอีกก็ไดแ้ ต่ปลาบู่ทองตัวเดิมมาทกุ ที
เขาปลอ่ ยมนั ลงไปในน้ำแตไ่ ม่นานมนั กต็ ดิ แหขึน้ มาอีก เขาโมโหมาก แตก่ ็ไมร่ ูจ้ ะทำอยา่ งไรดี และทกุ ครง้ั ทเ่ี ขา
ไดป้ ลาบู่ข้นึ มาภรรยาของเขากจ็ ะขอเขาไวเ้ พื่อเก็บไวใ้ หล้ ูกของตนเล้ียงเล่นแตเ่ ขาจะโยนมันทิง้ ไปโดยไม่แยแส
คำขอรอ้ งของภรรยาตนแตใ่ นทสี่ ุดกเ็ กิดบนั ดาลโทสะอยา่ งแรงจนถงึ ข้นั ตบตนี างและผลักนางลงน้ำไป ภรรยา
ของเขาจงึ จมนำ้ ตายเพราะว่ายนำ้ ไม่เป็น

ดว้ ยเหตุน้ีชายหาปลาจงึ กลบั บ้านเพยี งลำพัง และพบเอือ้ ยกำลังรอแมข่ องตนกลับมาอยู่ และเมื่อลกู
สาวถามหาแม่เขาก็ปฏเิ สธที่จะพูดอะไรออกไปเมอื่ ลูกสาวคะย้ันคะยออยตู่ ลอดเวลา เขาจงึ บอกว่าแมข่ องนาง
ไปอยูใ่ ตน้ ำ้ และจะกลบั มาในอกี ๓ วัน และบอกให้ลูกสาวหยดุ ร้องไห้มิฉะน้นั แล้วแมข่ องนางจะไม่กลับมาอีก
เลย…และถงึ แมว้ ่าเด็กสาวจะไม่เข้าใจวา่ บดิ าของตนพูดอะไร แตก่ น็ กึ เอาว่ามารดาของตนตอ้ งประสบอนั ตราย
อยา่ งแน่นอน ดงั นั้นนางจึงร้องไหโ้ ฮออกมา ฝ่ายชายหาปลาเกรงว่าข่าวการหายไปของภรรยาตนจะแพรห่ ลาย
จึงบงั คับให้ลูกสาวหยดุ รอ้ งไหใ้ นทนั ทแี ละเร่มิ ทุบตีนาง เพือ่ นบา้ นเข้ามาขดั ขวางและถามถงึ ภรรยาหลวงของ
เขา ชายหาปลาก็พดู โกหกไปว่าหนีตามชไู้ ปแต่ก็ไม่มีใครเชอ่ื คำพูดของเขา เพราะทกุ คนรู้วา่ ชายหาปลาผู้น้ี
เกลียดภรรยาหลวงและรกั ภรรยานอ้ ยมากกวา่ แต่ก็ไมอ่ าจจะช่วยอะไรได้มาก ได้แต่เพยี งช่วยปลอบใจเออ้ื ย
เท่านัน้

รุ่งเชา้ พ่อกบั แม่เลยี้ งบอกใหน้ างทำงานบา้ น แตน่ างยงั เจ็บแผลทถ่ี ูกเฆี่ยนตอี ย่จู งึ ขอหยุดพักแต่ทง้ั คู่ ไม่
ยอมฟังนาง ตรงกนั ขา้ มกบั ลกู สาวท้ังสองคนของแม่เล้ียง ที่ไม่ต้องทำอะไรเลย พวกเขาเพียงแตก่ ินและเลน่ เท่า
น้นั เอง หลงั จากจมนำ้ ตาย นางกนิษฐากไ็ ปเกดิ เปน็ ปลาบู่ทอง ว่ายน้ำมาที่ท่านำ้ หนา้ บ้านและรอเอ้อื ยดว้ ยความ

๑๕

รัก ปลาบ่ทู องเลา่ เรอื่ งทง้ั หมดใหเ้ อือ้ ยฟัง นางสงสารผ้เู ปน็ แม่มาก นางจะนำอาหารมาให้ปลาผู้เป็นมารดาและ
พูดคยุ กันเพื่อจะไดล้ ืมความทกุ ข์โศกทงั้ ปวง

แต่ไมน่ านนัก…อ้ายกร็ เู้ ร่ืองเขา้ จึงไปบอกให้แมต่ นเองทราบและแล้วผูเ้ ป็นแม่กว็ างแผนฆา่ ปลาบู่ทอง
เสีย…ในขณะทเ่ี อ้อื ยได้รับคำส่งั ให้ไปเล้ียงววั ในท่งุ นา ปลาบทู่ องกถ็ ูกล่อไปฆ่ากินเป็นอาหาร ผเู้ ป็นแมเ่ ล้ยี ง ให้
หมาและแมวกนิ ก้างปลาบูท่ องหมดและโยนเกลด็ ท้ิงไป ดว้ ยความสงสารเอื้อยจงึ ไปถามหมาและแมวซงึ่ ทงั้ สอง
ก็ปฏเิ สธทจ่ี ะบอกความจริง เปด็ เขา้ มาปลอบเอื้อยและมอบเกลด็ ปลาบทู่ องให้นาง เอื้อยเสยี ใจมากทไ่ี ด้รู้เรือ่ ง
ด้งั นั้นนางจึงฝงั เกล็ดปลาบทู่ องไว้ในป่า และตงั้ อธฐิ านขอให้แมม่ าเกดิ เป็นตน้ มะเขือเปราะ
ดว้ ยพรของเทวดา ทนั ใดนนั้ …ก็เกดิ ตน้ มะเขอื เปราะงอกงามขน้ึ นบั แตน่ ้นั มาเอือ้ ยก็มคี วามสขุ ไดม้ ากราบไหว้
และพดู คุยกับตน้ มะเขอื เปราะทกุ วนั แตโ่ ชครา้ ย…อา้ ยกแ็ อบมาเห็นอกี จงึ ไปบอกแมข่ องตน ผู้เป็นแม่จงึ ส่ังให้
นางถอนตน้ มะเขือเปราะทง้ิ แลว้ นำผลมาทานทนั ที หลงั จากกินแล้วก็โยนเม็ดมะเขือเปราะทิ้งไป เป็ดกเ็ ก็บเม็ด
มะเขือไวใ้ หเ้ อือ้ ยอีก เออ้ื ยเสียใจอย่างสุดซ้งึ นางจึงนำเม็ดมะเขอื ไปปลกู ไว้ในป่าแลว้ อธฐิ าน ขอใหแ้ มเ่ กิดเป็น
ตน้ โพธ์ิ เพ่ือท่ีนางจะได้ กราบไหวบ้ ชู า และดว้ ยพรของเทวดาตน้ โพธ์ิเงนิ โพธ์ิทองกง็ อกงามขึ้นในบัดดล
ในกาลตอ่ มา…พระเจ้าพรหมทตั เสดจ็ มาทรงเห็นตน้ โพธิ์ก็ทรงอยากไดไ้ ปปลูกในวงั จงึ ใหถ้ ามหาเจา้ ของ และเมอื่
ไดร้ บั การกราบทูลใหท้ รงทราบพระองค์กท็ รงประสงคท์ ่ีจะพบเอ้ือย และเอื้อยก็ได้กราบทูลเรื่องราวทง้ั หมดให้
ทรงทราบ ดว้ ยความสงสารในตัวนาง พระองคจ์ งึ ตัดสนิ พระทยั ที่จะอภิเษกสมรสกบั เอ้อื ยและตัง้ ให้เป็นพระ
ราชนี ี และพระเจา้ พรหมทัตทรงถอนตน้ โพธิไ์ มข่ นึ้ แมจ้ ะมไี พร่พลช่วยกต็ าม จึงทรงรบั ส่ังใหเ้ ออื้ ยถอนมาให้
พระองค์ และเมื่อเออื้ ยขออนุญาตมารดาของตนกส็ ามารถถอนต้นโพธิ์ขึ้นไดโ้ ดยงา่ ย พระเจ้าพรหมทัตทรง
แปลกพระทัย และทรงดำริว่าเอ้ือยมบี ญุ บารมีสมเป็นพระชาชนิ ี จึงพาไปอย่ใู นวังและทรงตั้งใหเ้ ป็น…พระชาชนิ ี
ของพระองค์

ในขณะเดียวกนั แมเ่ ลีย้ งและลูกสาวทั้งสองของนางก็เกดิ ความอิจฉาริษยาอย่างมากทไ่ี ด้รู้ขา่ วว่า เออ้ื ย
ตอนนีไ้ ดก้ ลายเปน็ พระราชินีไปแล้ว จงึ ไปหายายเฒ่าผู้หนึง่ ซ่งึ ก็ออกอบุ ายใหส้ ง่ ขา่ วไปบอกราชนิ ีเอื้อยวา่ บดิ า
ของนางเจ็บหนักใกลจ้ ะตายแลว้ ทันทีทไี่ ดร้ บั ขา่ วราชนิ เี ออ้ื ยผกู้ ตัญญกู ็รีบกลบั มาเยี่ยมบดิ าทบี่ า้ น แตก่ ่อนทีจ่ ะ
เขา้ บา้ น ผู้เป็นแมเ่ ลย้ี งบอกใหน้ างถอดเครื่องทรงราชินีออกแลว้ ใหไ้ ปอาบน้ำก่อนจึงค่อยไปพบบิดา ในขณะเดนิ
เข้าไปในห้องด้านใน พระราชินผี ู้น่าสงสารกต็ กลงไปในกระทะน้ำเดอื ดท่นี างแม่เล้ยี งจอมรษิ ยาซ่อนไวเ้ บอ้ื งลา่ ง
ยังผลให้พระราชนิ สี นิ้ พระชนม์ในทันที จากนน้ั อ้ายก็รบี แต่งเครื่องทรงพระราชนิ ี และกลับวังโดยปลอมเป็น
เออ้ื ย นางเข้าไปพบพระราชาผซู้ ่งึ แสดงอาการไม่ค่อยจะเชอื่ วา่ เป็นเอื้อย แต่อา้ ยกใ็ ชค้ าถาท่ียายเฒ่าใหม้ าเสก
ใหพ้ ระราชาอยู่ใต้อำนาจของตน แม้กระนน้ั พระราชากย็ ังคงสงสัยอย่ดู วี ่าทำไมตน้ โพธิ์ จงึ ดเู หยี่ วเฉาไม่มี
ชีวติ ชีวา

หลังจากถกู ฆาตกรรมแล้วราชนิ เี ออ้ื ยกไ็ ปเกดิ เป็นนกแขกเต้า ด้วยความรักและหว่ งใยในพระราชา จึง
บินมาหาพระองค์และกราบทลู ให้พระองค์ทราบเร่ืองราวทั้งหมด หลงั จากสตั วผ์ ู้นา่ สงสารกราบทลู เรอื่ งราวให้
ทรงทราบ พระองค์กท็ รงเลี้ยงดูนกแขกเตา้ ไวใ้ นกรงทอง และทรงพูดคยุ ด้วยเสมอ และแล้ววนั หน่งึ ราชนิ ปี ลอม
อ้ายก็แอบมารูจ้ นได้ ดงั น้นั ในขณะท่ีพระราชาเสดจ็ ออกปา่ เพื่อคล้องชา้ งเผือกมาสบู่ ารมี ราชินปี ลอมกจ็ ับนก
แขกเต้าผนู้ า่ สงสารถอนขนจนหมดแล้วสง่ ไปใหแ้ ม่ครวั แกง นกแขกเตา้ แกลง้ ทำเปน็ นอนตาย แมค่ รวั เลยไม่

๑๖

สนใจปล่อยมันไวใ้ นครวั รอเวลาท่จี ะทำแกงนกถวายพระราชนิ ใี นตอนเย็น…เจ้านกแขกเตา้ ผู้ปราศจากขนและ
ทกุ ขท์ รมาน จงึ สบโอกาสหนเี ขา้ ไปซ่อนตวั อยูใ่ นโพรงหนู เมือ่ หานกทน่ี อนตายอยูไ่ ม่พบและกลวั จะมีความผดิ
แม่ครวั จงึ ไปหาซอ้ื นกอืน่ มาแกงถวายพระราชินีแทน ฝ่ายแม่ครัวไดร้ ับรางวลั ตอบแทนเป็นผา้ สะไบ…เจา้ นก
แขกเตา้ ผนู้ ่าสงสารอาศยั อยู่ในโพรงหนู จนกระทั่งขนขนึ้ เตม็ ตวั กบ็ อกลาหนู ซง่ึ กอ็ าสาพาไปส่งถงึ ชายป่า
ในขณะทอ่ งเทยี่ วไปในป่าอยู่ตามลำพงั ก็เกือบจะถูกงกู ินไปแลว้ โชคดีท่นี กใหญ่มาจบั งกู ินเสยี กอ่ น และแลว้ …
นกแขกเตา้ ก็มาพบพระฤาษีผซู้ ึ่งเกิดความสงสารก็เลยช่วยชบุ นกแขกเต้าใหก้ ลายเปน็ หญิงสาวสวย พระฤาษีก็
เลี้ยงดเู อ้อื ยอยา่ งลกู สาวของตน แต่กส็ งั เกตเห็นว่าลูกบญุ ธรรมของตนดูจะเหงาหงอยอยู่ตลอดเวลา ดังนนั้ ท่าน
จึงวาดรูปขึ้นหลายๆ รูปแล้วใหเ้ อื้อยเลือกเอารปู เดยี ว หลังจากเลอื กแลว้ ท่านกจ็ ะเสกใหเ้ ป็นคน เอ้อื ยได้เลอื ก
เอารูปเดก็ ชายมอบใหฤ้ าษี ฤาษีใช้คาถาเสกให้เป็นคนเพอ่ื ท่ีนางจะได้เลี้ยงดูเปน็ บุตรชาย ท่านฤาษีจงึ ต้งั ชื่อ
เดก็ ชายนนั้ วา่ “ลบกุมาร”

ผา่ น ไปหลายปี เจ้าลบเกิดความสงสัยว่าพ่อเปน็ ใคร เอ้อื ยจงึ เล่าเรอ่ื งราวตา่ งๆ ให้ฟัง ทำใหล้ บร้องขอ
ท่ีจะเข้าไปในวังเพอ่ื กราบทูลพระเจา้ พรหมทัตใหท้ รงทราบความจรงิ เออ้ื ยไดร้ ้อยพวงมาลัยฝากไปถวายพระ
เจา้ พรหมทตั ด้วย ลพเดินทางมาถงึ พระราชวงั ก็พยายามหาทางจนได้โอกาสเขา้ เฝา้ พระเจ้าพรหมทัตและถวาย
พวงมาลัย พระเจ้าพรหมทัตเห็นฝมี ือรอ้ ยมาลัยก็จดจำได้วา่ เป็นฝมี อื ของเอื้อย ลพจงึ กราบทลู เร่ืองราวของเออ้ื ย
ถวาย พระเจ้าพรหมทัตดพี ระทัยท่เี ออื้ ยยงั มชี ีวติ อยู่ จงึ เสด็จไปรับเอือ้ ยกลบั คนื สูพ่ ระราชวงั

เม่อื อา้ ยทราบวา่ เอ้ือยได้กลับมาทีพ่ ระราชวังแล้วอา้ ยกลัวความผิดจึงชงิ ด่มื ยาพษิ ฆ่าตวั ตายไปกอ่ น
สว่ นขนิษฐแี ละอีก่ ถ็ ูก พระเจา้ พรหมทตั ลงโทษ ดว้ ยการขบั ออกนอกวังกลบั บ้านไปและให้ถอื ศีลบำเพญ็ ความดี
ตลอดชวี ิต…เอื้อยและตน้ โพธเิ์ งนิ โพธิ์ทองกม็ ชี วี ติ ทส่ี งบสขุ นับจากน้นั เปน็ ตน้ มา

(ภาพที่ ๔ อ้างองิ จาก : https://sites.google.com/site/gearapisaraporn/page1)

๑๗

บทประพันธ์

ยานี กาพย์ ๑๑

๑.นโมขา้ จงใจ ยอกรไหวค้ ุณสัตโถ

ตสั สภควโต เปน็ รม่ โพธ์ิพน้ บ่วงมาร

๒.อรแลหนั โต ดับโมโหด้วยพระญาณ

ปญั ญาฆ่าสังหาร ประจญมารคอื ราคา

๓.สัมมาทั้งสมั พทุ เปน็ ท่สี ุดลำ้ โลกา

ธัสสเปน็ ศาสดา ตรัสเทศนาทั่วโลกี

๔.ขา้ ไหว้คุณพระธรรม อันเลิศล้ำใสเ่ กศี

สวา่ งทกุ ทว่ั ธาตรี ดว้ ยบารมลี ำ้ โลกา

๕.ข้าไหว้ซ่งึ พระสงฆ์ อันทา่ นทรงไตรสกิ ขา

สาวกพระศาสดา ขา้ วนั ทาทุกราตรี

เปน็ บทการบชู าพระรัตนตรยั คอื พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์

๖.ขา้ ไหว้ซึ่งคณุ ครู สอนใหร้ ู้พระบาลี

ใส่ไวใ้ นเกศี ข้ายนิ ดที กุ เวลา

เป็นบทบูชาครผู ู้ใหว้ ชิ าความรู้

๗.ข้าไหวค้ ณุ บวร ทั้งบดิ รแลมารดา

ปกปอ้ งครองรักษา ญาตกิ าทุกสถาน

เปน็ บทการบชู าพ่อแมผ่ มู้ ีพระคุณ

๘.ข้าไหวเ้ สรจ็ สรรพแล้ว ทั้งคณุ แกว้ สามประการ

อรหัตมรรคญาณ เขา้ นิพพานแลว้ ลว่ งลับไป

๙.ข้าขอมปี ญั ญา อันแกลว้ กล้ามาว่องไว

สุโขมโนใน ได้ดงั ใจข้าจำนง

๑๘

๑๐.อกุศลอยา่ ตอ้ งพาน ในสนั ดานใหง้ วยงง

เขียนอา่ นอยา่ พะวง จติ ใจปลงจงแว่นไว

๑๑.อกั ขระแลอกั ษร ให้แน่นอนอยูในใจ

อออะอาอำไอ จำไวไ้ ด้เป็นเรือ่ งราว

๑๒.ขา้ เจา้ ไม่ฉลาด ใช่นักปราชญจ์ กั ขอกลา่ ว

บทกลอนน้นั ยดื ยาว แกแ่ ลสาวอยา่ นนิ ทา

๑๓.ตวั ข้านะทา่ นเอย ยังไมเ่ คยเขียนเลยนา

รกั นกั พน้ ปญั ญา จ่ึงตัวขา้ อตสา่ หเ์ ขยี น

๑๔.พนี่ อ้ งขา้ ถ้วนหนา้ อยา่ นินทาวา่ ตเิ ตียน

สวดอา่ นอย่าใหเ้ พ้ยี น อยา่ ตเิ ตียนข้อนนินทา

๑๕.สวดไปใหถ้ ว้ นถี่ ตามบาลนี ั้นเถิดนา

อยา่ เอาอื่นมาว่า กลอนขา้ งหนา้ จะเขนิ ไป ฯ

(เปน็ บทการละเว้นความช่วั ประเภทเทศนาโวหาร ๑๐)

(เปน็ บทสอนใหร้ ู้จักฝึกการสวดมนต์ประเภทเทศนาโวหาร ๑๑-๑๕)

สรุ างคนาง กาพย์ ๒๘

๑๖.จะกล่าวตำนาน ตามเรือ่ งนิทาน แตบ่ รู าณมา

ยังมีกรงุ ไกร กวา้ งใหญน่ กั หนา เมืองนน้ั ชือ่ ว่า พาราณสี

๑๗.มีบรมกระกษตั ริย์ ช่ือทา้ วพรหมทตั ครอบครองบูรี

ปรากฏยศศักดิ์ เดโชไชยศรี สขุ เขษมเปรมปรีด์ิ ทวั่ ทั้งกรงุ ไกร

๑๘.ยังมเี ศรษฐี ผหู้ น่งึ มง่ั มี ทรพั ย์สินเหลอื ไตร

ช่ือว่าอทุ ารก ปรากฏขา้ ไท ภรรยานนั้ ไซร้ “นางแก้วขนิษฐา”

เป็นบทที่กลา่ วถงึ การบรรยายโวหารบทชมเมอื งโดยบรรยายถึงรายละเอยี ดของเมอื งพาราณศรี มกี ษัตริย์ชื่อ
ทา้ วพรหมทตั และมภี รรยาช่อื นางแกว้ ขนษิ ฐา ๑๖-๑๘

๑๙

๑๙.อทุ ารกปกครอง อภริ มย์สมสอง รว่ มหอ้ งเสนห่ า

ทุกข์โศกโรคภยั บไ่ ดบ้ ีฑา อยจู่ ำเนียรมา กัลยามีครรภ์

เป็นบทท่ีกล่าวถงึ ความรกั และการอยู่ด้วยกันของสามภี รรยา

๒๐.ครัน้ ถว้ นทศมาส จงึ่ คลอดกลอยสวาดิ์ นารีศรีสวรรค์

คอ่ ยใหญ่ขึน้ มา พกั ตราแจ่มจนั ทร์ ให้ชื่อลกู นน้ั นางเอ้ือยพสิ มัย

เป็นบทชมโฉมความงามของนางเอื้อย

๒๒.จงึ ให้ไปกลา่ ว นางนั้นเป็นสาว โฉมเจา้ เอววลั ย์

ยอ่ มเน้อื เช้อื วงศ์ พวกพงศ์เผ่าพันธุ์นามกรนางนน้ั ชื่อนางขนิษฐี

เปน็ บทท่ีกล่าวถงึ ชมโฉมความงามของนางขนษิ ฐี

๒๔.ฝา่ ยนางขนษิ ฐี เหน็ หมอไหนดี หามาใหท้ ำ

เศรษฐสี ามี ยนิ ดีฟงั คำ มนตรค์ นเขาทำ เศรษฐหี ลงใหล

๒๕.เห็นหนา้ เมียหลวง กลุ้มกลัดขดั ทรวง ดาลเดอื ดภายใน

จะใครล่ ้างผลาญ ใหม้ ้วยบรรลัย หวานนอกขมใน อกไหม้เศร้าหมอง

เปน็ บทที่กลา่ วถึงเร่อื งความเชอ่ื ทางไสยศาสตร์

๒๖.ขนษิ ฐีนฤิ มล เกดิ ลกู สองคน เปน็ หญิงทง้ั สอง

นางอ้ายหวั ปี นางอี่สุดทอ้ ง ทัง้ สองพน่ี อ้ ง คลา้ ยคล้ายเหมือนกัน

เปน็ บทกล่าวถึงความเชอ่ื ในเร่อื งการทำชว่ั / เปน็ คนชว่ั ยอ่ มมแี ต่สงิ่ ไม่ดใี นชวี ิต เช่นนางขนษิ ฐเี กิดลูก แลว้ มีแต่
ความฉบิ หาย ๒๖-๒๘

๒๙.นวลนางขนษิ ฐี ว่าแก่สามี โดยใจอาธรรม์

ชวนไปทอดแห น่แี ลคมสนั จะได้เล้ียงกนั คำ่ เช้าเพรางาย

เป็นบททีก่ ลา่ วถงึ การแสดงหาเช้ากินคำ่ ๒๙-๓๐

๓๑.ครนั้ รงุ่ ราตรี อุทารกเศรษฐี ส่ังลูกทันใจ

นางเออื้ ยนางอา้ ยนางอี่ศรีใส พนี่ อ้ งทรามวัย เล้ียงกนั จงดี

๒๐

เปน็ บทท่ีกล่าวถึงสอนใหล้ กู รกั ดแู ลกัน และการเล้ยี งชพี จากการหาอาหารในแมน่ ้ำ กล่าวถงึ บทชมธรรมชาติใน
แม่น้ำมี กุ้ง ก้ัง ปลาสังกะวาด ปลาสลาด ปลากราย ปลาช่อน ปลาชะโด ปลาเทโพ ปลาสวาย ๓๑-๓๓

๓๔.สว่ นนางขนิษฐา อยเู่ ฝา้ เคหา เล้ียงลูกนิฤมล

อาบนำ้ ป้อนขา้ ว เจา้ ทั้งสามคน เหมือนลกู แห่งตน เกิดในอทุ ร

เป็นบทกล่าวถงึ อุปมาความรักของนางขนิษฐาว่ารักลกู ทงั้ สามคนเหมือนลูกแทๆ้ ๓๔-๓๕

ฉบงั กาพย์ ๑๖

๓๖.บัดนัน้ ผวั เมยี สองรา คร้นั ถงึ เพลา

กม็ าถงึ บา้ นดว้ ยพลนั

เปน็ บทที่กลา่ วถงึ การบรรยายเหตุการณ์หลงั จากอทุ ารกกับขนิษฐกี ลับมาจากหาปลาและประกอบอาชีพค้าขาย
ท่จี บั ปลามาได้ ๓๖-๔๒

๔๓.ขนิษฐเี มียน้อยอาธรรม์ ไปดว้ ยทุกวนั

ไดก้ ุ้งไดป้ ลาเหลอื ใจ

เป็นบทที่กลา่ วถึงการบรรยายเหตกุ ารณ์ทอ่ี ทุ ารกกบั ขนษิ ฐาออกไปหาปลาดว้ ยกัน ๔๓-๕๔

๕๕.ผวั ว่ากุง้ ปลาไม่พอ มึงแคน่ วอนขอ

ใหเ้ ป็นแขนงหนกั หนา

เปน็ บททก่ี ล่าวถึงอารมณ์ความโกรธของสามที ่ีมีต่อขนิษฐา เพราะหากงุ้ หาปลาไม่ได้ ไดแ้ ต่ปลาบู่ จงึ ทำร้าย
จนถงึ แก่ความตาย ๕๕-๖๑

๖๒.เม่อื นางจะสนิ้ ชวี า รำพึงถึงปลา

ท่ีวา่ จะฝากลกู ตน

เปน็ บททก่ี ลา่ วถึงการรำพึงรำพันถงึ ปลาบู่ และเป็นการกลบั ชาตมิ าเกิดของขนิษฐา ๖๒-๖๓

๖๔.ฝ่ายอทุ ารกเศรษฐี ใจรา้ ยราวี

มาตีเมยี ตนให้ตาย

เปน็ บททก่ี ลา่ วถึงการบรรยายเหตกุ ารณ์หลงั จากอุทารกกลบั มาบา้ นโดยท่ีขนิษฐาไมไ่ ดก้ ลับมาดว้ ยคำนยั ต่างๆ
๖๔-๖๙

๒๑

๗๐.นางเออ้ื ยฟงั คำปรารมภ์ อกไหมไ้ สข้ ม

เกรยี มกรมก็ฟายน้ำตา

เปน็ บทที่กลา่ วถึงความโศกเศรา้ (สัสปงั คพสิ ยั )ของเอ้อื ยที่แมไ่ ม่ไดก้ ลบั มาบา้ นเออื้ ยรำพึงรำพันถึงแม่ ๗๐-๗๑

๗๒.ครน้ั รงุ่ ราตรสี รุ ยิ ์ใส นางเอ้อื ยเขา้ ไป

กราบไหว้ก็ถามบดิ า

เป็นบทที่กลา่ วถงึ พอ่ กล่าวถึงเหตุผลทแี่ มข่ องเอ้ือยไมไ่ ดก้ ลบั มาบา้ นด้วยกัน ๗๒-๗๘

๗๙.นางเอือ้ ยฟงั คำพ่อวา่ ร่ำไรโศกา

ฉายาสลบซบไป

เป็นบททกี่ ล่าวถึงความโศกเศรา้ เสยี ใจ(สัลปงั คพิสยั )ของเออ้ื ยที่ร้วู า่ แมข่ องตนจมนำ้ ตาย ๗๙-๘๑

สรุ างคนางค์ กาพย์ ๒๘

๘๒.แมค่ ณุ บุญปลูก แม่มาจากลกู แตต่ วั เอกา

สิ่งของหายสนิ้ ลกู กนิ น้ำตา แมเ่ จ้ามาพา ลกู ไปเมอื งผี

เป็นบทการรำพึงรำพันของแมท่ ี่ตายไป ๘๒-๘๖

๘๗.สว่ นพ่อจงั ไร ได้ยินทรามวยั ร้องไห้ไปมา

เข้าคุมรุมโทษ กริ้วโกรธโกรธา เมียน้อยจงึ ว่า ยยุ งส่งไป

เปน็ บททก่ี ล่าวถงึ ความโกรธ(พิโรธวาทงั )ของพ่อทีไ่ ดย้ ินเอื้อยร้องไห้ โดยมีขนิษฐคี อยยุยงใหล้ งโทษเอ้อื ย ๘๗-
๘๘

ฉบัง กาพย์ ๑๖

๘๙.ผัวเมยี ข้ึงโกรธโกรธา บัดเด๋ยี วมิช้า

ก็พาเอานางลงไป

เปน็ ท่ีกลา่ วถึงพอ่ กับแม่เลย้ี งลงโทษเออ้ื ย ๘๙-๙๒

๙๓.แมม่ งึ มาตามชายไป มงึ มาร่ำไร

ว่าแมม่ ึงมาวายปราณ

๒๒

เป็นท่ีขนษิ ฐกี ลา่ วถึงขนิษฐาในทางท่ีไมด่ ี และความโกรธแค้นท่ีมตี ่อเอื้อย ๙๓-๙๕

๙๖.โบยรนั ตัวส่นั รวั รัว นางขอโทษตวั

ทูนหัวอย่าให้ลูกตาย

เป็นบทท่กี ลา่ วถงึ ความทรมานของเอ้อื ยทงั้ ทางกายท่ีโดนทุบตีและทางจติ ใจทแ่ี ม่ตาย ๙๖-๑๐๒

๑๐๓.เพื่อนบ้านเตือนกันวุ่นวาย เหน็ ตโี ฉมฉาย

จะตายเสียแลว้ แลนา

เปน็ บทท่ชี าวบ้านเขา้ มาหา้ มใหล้ งโทษแตพ่ อหลาบจำ ๑๐๓-๑๐๖

๑๐๗.ผวั เมียทำผดิ คิดอาย รอ้ งว่าว่นุ วาย

จะตใี ห้ตายไยนา

เป็นบทท่กี ลา่ วว่าขนฐิ ษาคบชู้และขโมยของ ๑๐๗-๑๐๘

๑๐๙.เพ่อื นบา้ นว่าถ้าแมน้ ตี ใหม้ ว้ ยเปน็ ผี

รู้ที่จะหาแห่งใด

เปน็ บททีก่ ลา่ วถงึ การบรรยายเหตกุ ารณข์ องชาวบา้ นทเี่ ข้ามาชว่ ยเหลอื เอื้อย ๑๐๙-๑๒๒

๑๒๓.รอ้ งไห้รักตวั กลวั ตาย ใจจติ คิดหมาย

โฉมฉายคดิ ถึงมารดา

เป็นบทท่ีกล่าวถงึ ความคิดถึงแมข่ องเอื้อย (สลั ลาปงั คพิสยั ) ๑๒๓-๑๒๗

๑๒๘.ลกู รกั เพยี งจักขาดใจ อกร้อนคอื ไฟ

มาละลกู ไว้เอกา

เป็นบทท่ีกล่าวถึงการตัดพอ้ และโศกเศรา้ ของเอือ้ ย (พิโรธวาทงั ,สลั ลาปงั คพสิ ยั ) ๑๒๘-๑๓๐

ยานี กาพย์ ๑๑

๑๓๑.ผัวเมียทง้ั สองรา ตื่นขึน้ มาหนา้ ขุ่นหมอง

จึ่งลุกออกจากหอ้ ง เมยี จ่งึ ร้องว่าลงไป

เป็นบททีก่ ล่าวถงึ ขนิษฐไี มม่ คี วามเมตตาต่อเอ้อื ย แต่เออื้ ยยังเปน็ เด็กดเี ช่ือฟังคำสอน ๑๓๑-๑๓๕

๒๓

๑๓๖.ขนิษฐีออี ุบาทว์ ร้องตวาดมปิ ราศรัย

มึงเจ็บมาบอกใคร อจี ังไรไมร่ ักษา

เปน็ บทท่กี ลา่ วถึงความใจรา้ ยและความโกรธของขนิษฐี ๑๓๖-๑๓๗

๑๓๘.สงสารแก้วกำพร้า ฟงั ท่านวา่ นำ้ ตาไหล

ขนุ เป็ดแลขนุ ไก่ พรางร้องไหถ้ งึ มารดา

เป็นบททกี่ ล่าวถงึ ความโศกเศรา้ ของเอือ้ ย ๑๓๘-๑๓๙

๑๔๐.สว่ นแม่ของพังงา อนั มรณาไปเป็นผี

ในจติ คดิ ปราณี ถงึ เทวีผู้ลูกยา

เปน็ บททก่ี ล่าวถึงขนิษฐาแมข่ องเออื้ ยที่ได้ไปเกดิ เป็นปลาบู่ ๑๔๐-๑๔๓

๑๔๔.สามนี น้ั พามา ฆา่ กใู หใ้ วยเปน็ ผี

เอน็ ดูแตบ่ ตุ รี ของกนู ี้น้อยนกั หนา

เป็นบททก่ี ลา่ วถงึ สามีทำใหน้ างขนิษฐาตายและลูกต้องกำพร้าแม่ ๑๔๔-๑๔๕

๑๔๖.คดิ แลว้ จง่ึ ว่ายล่อง ตามนำ้ นองคงคาไหล

คลายคลายเจ้าวา่ ยไป มาบัดใจถึงบ้านตน

เป็นบททีก่ ลา่ วถึงความรอ้ นใจท่ไี ม่เห็นหนา้ ลูกและห่วงใยลกู ของแม่ปลาบู่ ๑๔๖-๑๔๘

๑๔๙.กำพร้าขุนไก่เป็ด สำเรจ็ แลว้ ค่อยผนั ผาย

นำ้ ตาลงบ่วาย คดิ เสยี ดายแตม่ ารดา

เปน็ บทที่กลา่ วถึงการตดั พ้อและคดิ ถึงแม่ของเอ้อื ย และความเจบ็ ปวดของแม่ปลาบู่ ๑๔๙-๑๕๓

๑๕๔.กำพร้าเจ้าอาบน้ำ ปลาบทู่ องมาดว้ ยพลนั

สลบอย่ยู ันยัน ดว้ ยลกู รกั จักวายชนม์

เปน็ บททก่ี ลา่ วถึงเออ้ื ยคิดวา่ แม่เกิดมาเปน็ ปลาบู่ (ตามความเช่ือเรือ่ งการกลบั ชาตมิ าเกดิ ) ๑๕๔-๑๕๗

สรุ างคนางค์ กาพย์ ๒๘

*พลิ าป*

๒๔

๑๕๘.ปลาบู่โศกนกั เห็นหนา้ ลูกรัก มีความเมตตา

กลัดกลมุ้ คลุ้มใจ ที่ในวิญญา ดงั หนงึ่ ชีวา จะมาวอดวาย

เป็นบทที่กลา่ วถงึ ความเศรา้ และกังวลของแม่ปลาบู่ ๑๕๘-๑๕๙

๑๖๐.พอ่ เจ้าตรี นั แม่ม้วยอาสัญ ทีใ่ นคงคา

เจ้าทองทั้งตวั ทนู หัวแม่อา ใครตใี ครครา่ เจา้ ยบั ทงั้ ตวั

เป็นบทที่กล่าวถงึ เหตทุ ่ที ำใหข้ นษิ ฐาตายและเอ้ือยรวู้ ่าปลาบู่คือแม่ของตน ๑๖๐-๑๖๑

๑๖๒.คอ่ ยฟื้นขิ้นได้ ค่อยผอ่ นถอนใจ ค่อยได้สมประดบี

ลูกมาประสบ พานพบชนนี ท้ังสองหมองศรี ต้ังแตก่ นิ นำ้ ตา

เปน็ บททกี่ ล่าวถงึ การบรรยายท่ีเอ้ือยโดนดุดา่ ทำร้ายจากพอ่ และแมเ่ ล้ียง และความรกั ของแมท่ ่มี ีตอ่ ลูกถงึ ตัวจะ
ตายไปแล้วกต็ าม ๑๖๒-๑๖๘

๑๖๙.ลกู เล่าความยาก แต่แรกพลัดพราก พลัดจากมารดา

แม่เจ้าลูกเอย ทนเวทนา ท่านตที ่านด่า ขา้ มาสลบไป

เปน็ บททก่ี ลา่ วถงึ ความคร่ำครวญของเอ้ือยถงึ เหตทุ ต่ี อ้ งกำพรา้ ๑๖๙-๑๗๐

๑๗๑.สง่ิ สนิ ขา้ วของ ผ้าผ่อนเงนิ ทอง ของเราเล่าไซร้

ทลุ ังขนั น้ำ ทองคำกำไร เจา้ ยังไดไ้ ว้ บา้ งฤาทนู หวั

เปน็ บทท่ีกล่าวถงึ อธบิ ายสิ่งที่เอือ้ ยถกู กระทำหลงั จากทีแ่ ม่ตาย ๑๗๑-๑๗๔

๑๗๕.เมือ่ นนั้ นางปลา ฟังคำลกู วา่ นำ้ ตาแดงฉนั

โอแ้ กว้ แม่อา เวรามาทัน เจา้ ตอ้ งตีรนั เจบ็ ทั่วกายา

เป็นบททกี่ ล่าวถงึ ความโศกเศรา้ และร้อนรนใจท่ลี ูกต้องทรมาน ๑๗๕-๑๗๖

๑๗๗.แม่ลูกครวญครำ่ อย่รู ิมฝัง่ นำ้ ปิม้ จะบรรลัย

ลกู รกั หา้ มว่า มารดาอยา่ ไป เปน็ เพอื่ นเขญ็ ใจ ลกู ก่อนเถดิ รา

เปน็ บทท่ีกลา่ วถึงความโศกเศร้าของแมก่ บั ลกู ท่ีตอ้ งจากกนั ๑๗๗-๑๘๔

ยานี กาพย์ ๑๑

๒๕

๑๘๕.ต้งั แต่วนั นั้นมา นางกำพร้าผทู้ รามวยั

รำอ่อนเจ้าร่อนไว้ จำนงให้แกม่ ารดา

เปน็ บทท่ีกลา่ วถึงความโศกเศร้าของเอือ้ ยเริ่มจะหายไป และอ้ายเข้ามาเหน็ เหตุการณ์ ๑๘๕-๑๙๑

๑๙๒.กำพรา้ เจ้าไมร่ ู้ มนั แอบดูเมอ่ื ยภายเยน็

แมล่ กู ชมกนั เล่น มนั แลเหน็ ปลาบู่ทอง

เป็นบทท่ีกล่าวถงึ เออ้ื ยกำลงั มีความสุขอย่กู ับแม่โดยทไ่ี มร่ ู้ว่าอ้ายแอบดแู ละนำเหตกุ ารณ์ทเ่ี หน็ ไปบอกแมข่ อง
ตน จึงทำใหข้ นิษฐีโกรธเมอ่ื รเู้ รื่องราวและจะฆา่ ปลาบู่ ๑๙๒-๑๙๙

๒๐๐.ส่วนวา่ แกว้ กำพรา้ ชมแมป่ ลาเปน็ อาจณิ

รำออ่ นรอ่ นให้กนิ รำส้นิ แลว้ แกว้ กลับมา

เปน็ บททก่ี ล่าวถงึ การชมปลาบู่ ๒๐๐-๒๐๑

๒๐๒.วันหนึง่ อีแม่เลีย้ ง มนั แผดเสยี งอยเู่ ปรี้ยงปรัน

เห็นกำพรา้ นน้ั มนั กระชน้ั เรียกนางมา

เป็นบทที่กลา่ วถึงขนิษฐีวางแผนฆา่ ปลาบโู่ ดยใหเ้ ออ้ื ยไปเลีย้ งววั ๒๐๒-๒๐๔

๒๐๕.สว่ นวา่ นางกำพรา้ ฟังมารดากม้ หน้าอยู่

ประนมมือขนึ้ ชู นางโฉมตรรู บั วาจา

เป็นบทที่กล่าวถงึ ความโศกเศรา้ ของเออื้ ยท่ีคิดถงึ แม่ และความมีจิตเมตตาของวัว ๒๐๕-๒๐๙

๒๑๐.ส่วนวา่ อคี นถ่อย ลูกเมยี น้อยแสนกาลี

ทำเล่ห์เหมือนเทวี นางมารศรอี ันเคยมา

เปน็ บททก่ี ลา่ วถงึ อา้ ยมนี สิ ยั เหมอื นแม่(ลูกไมห้ ล่นไม่ไกลตน้ ) และเอือ้ ยปลอมตัวเปน็ อา้ ยหลอกใหแ้ มป่ ลาบู่
ออกมา พอออกมาแล้วไมน่ านแม่ปลาบู่ก็รตู้ วั ๒๑๐-๒๑๔

๒๑๕.ปลาบูไ่ มม่ ขี วญั กลวั ตัวสน่ั อยูร่ ัวรวั

ความตายมาถึงตวั เจา้ ทนู หวั จะคอยหา

เปน็ บทที่กลา่ วถงึ ความกลัวตายและกลัวจะไม่ไดเ้ จอลกู อกี ของแม่ปลาบู่ ๒๑๕-๒๑๙

๒๖

๒๒๐.ทรามรักเจา้ ทรมาน แม่ปราราภ์เจา้ นักหนา

จะน่งั ฟายน้ำตา แก้วกำพร้าจะเปลา่ ใจ

เป็นบททก่ี ลา่ วถงึ ความโกรธของอา้ ยทีแ่ มป่ ลาบู่รคู้ วามจริง และความโหดร้ายของอ้ายกับแม่ท่ฆี ่าปลาบู่แลว้
เอาไปแกง นำส่วนต่างๆไปใหส้ ัตวก์ ิน ๒๒๐-๒๒๗

๒๒๘.ส่วนเปด็ อันเล้ียงไว้ เที่ยวซอนไซก้ นิ ดินทราย

ได้เกลด็ อนั พรดั พราย ปลาบตู่ ายรู้เต็มใจ

เป็นบทท่กี ล่าวถงึ ความเมตตาของเป็ดที่มีตอ่ เอ้ือย จึงคาบเอาเกลด็ ของแมป่ ลาบมู่ ารอเอือ้ ย ๒๒๘-๒๓๐

สุรางคนาง กาพย์ ๒๘

๒๓๑.เยน็ ลงรอนรอน กำพรา้ เนอ้ื อ่อน ตอ้ นววั เขา้ ไป

ถึงบา้ นพงั งา มชิ า้ คลาไคล เอารำลงไป จะให้มารดา

เป็นบทที่กลา่ วถงึ ความกังวลใจของเอ้ือยทีเ่ รยี กหาแม่ปลาบแู่ ลว้ ไมม่ า ๒๓๑-๒๓๔

๒๓๕.เรยี กพลางแลหา ริมฝั่งคงคา นำ้ ตาหล่ังไหล

แม่ปลาเพอื่ นยาก จากอกลกู ไป กรรมเราชือ่ ไร ดัง่ นีน้ ะมารดา

เป็นบททก่ี ลา่ วถงึ เอ้อื ยคร่ำครวญและความสงสยั ถึงสาเหตทุ แ่ี ม่หายไป และยังสงสัยท่ีขนิษฐใี ชใ้ หไ้ ปเล้ียงววั
๒๓๕-๒๓๘

๒๓๙.อยา่ เลยจะไป สอดลอดถามไถ่ แยบคายร้ายดี

กลับข้ึนมาถาม สุนัขอันมี สนุ ัขกระลี มันโกรธโกรธา

เปน็ บทที่กลา่ วถึงไม่วา่ จะถามสัตว์ใดก็ไมไ่ ด้คำตอบ ๒๓๙-๒๔๑

๒๔๒.กำพรา้ รอ้ งไห้ เปด็ เห็นทรามวัย มใี จเมตตา

ร้องเรียกอรไท อย่าไห้เลยนา เขา้ มาใกลข้ ้า จะบอกเอาบญุ

เปน็ บททีก่ ลา่ วถึงเปด็ มคี วามเมตตา

๒๔๓.เจ้าจงึ เข้าไป พจี่ ะบอกให้ ฤาเจา้ ประคณุ

แม้นพี่ได้ไว้ ใหน้ อ้ งเอาบญุ ข้าจะแทนคณุ พ่เี จ้าจนตาย

๒๗

เป็นบททีก่ ลา่ วถงึ ความรู้บญุ คณุ ของเออ้ื ย และเป็ดยงั บรรยายเหตกุ ารณท์ ่ีทำให้แมป่ ลาบู่ตาย ๒๔๓-๒๔๕

๒๔๖.ยกขึน้ ทนู หวั ลกู อย่แู ตต่ วั คนเดยี วเอกา

เหน็ เปน็ เทีย่ งแท้ วา่ แม่มรณา ลูกร้องไหห้ า จักขาดใจตาย

เปน็ บททก่ี ล่าวถึงการครำ่ ครวญถงึ แม่ของเออ้ื ย ๒๔๖-๒๕๑

๒๕๒.นางยกมอื ไหว้ ขอฝูงเทพไท จงไดเ้ มตตา

อกี ทงั้ พระไพร ทีใ่ นกลางป่า ได้โปรดเกศา ข้าคนเขญ็ ใจ

เป็นบทท่กี ลา่ วถงึ ความเชื่อเร่ืองสงิ่ ศกั ด์สทิ ธิ์ ทสี่ ะท้อนให้เหน็ การกลบั ชาติมาเกดิ จากปลาบู่เป็นตน้ มะเขอื
๒๕๒-๒๕๗

๒๕๘.บัดใจไมช่ ้า เรียกลูกมันมา ทั้งสองสายใจ

ลูกรกั แมอ่ า อยา่ ชา้ เรง่ ไป แม่อจี งั ไร มันเป็นขน้ึ มา

เปน็ บททีก่ ลา่ วถึงขนิษฐใี หล้ ูกไปทำลายตน้ มะเขือ ๒๕๘-๒๖๓

๒๖๔.วนั น้ันเทวี น่ังชมชนนี มชิ ้าคลาไคล

กำพร้าคนยาก ออกจากริมไพร ระวังระไว ดคู นท้งั หลาย

เป็นบททีก่ ล่าวถึงความกตญั ญขู องเอ้ือย และความห่วงใยของแม่

๒๖๕.ส่วนวา่ อีมาร มนั แกลง้ ตามผลาญ มนั เหน็ เปล่าดาย

มนั เขา้ ถอนชกั หักใบกระจาย แลว้ ใสก่ ระทาย ผ่อนผันกลบั มา

เปน็ บทที่กล่าวถึงความสะใจของอา้ ยท่ีได้ทำลายต้นมะเขือ ๒๖๕-๒๖๗

๒๖๘.ส่วนเปด็ ซอนไซ้ ได้เลด็ ลูกใน มะเขอื อันมี

อมเอาไวท้ า่ กำพร้าเทวี เนอื้ แท้ชนนี กำพรา้ จอมขวัญ

เป็นบททก่ี ลา่ วถึงความมเี มตตาของเปด็ และความอาฆาตของอา้ ยทมี่ ีต่อขนษิ ฐา ๒๖๘-๒๖๙

๒๗๐.ยามเยน็ เยน็ ยำ่ พระสุรยี ์ตกตำ่ ใกล้ค่ำสนธยา

กำพรา้ หนุ่มเหนา้ จะเขา้ ไปลา กราบไหวม้ ารดา เคยมาทุกวนั

เปน็ บททก่ี ลา่ วถึงความโศกเศรา้ ของเอ้ือยทแี่ ม่โดนฆ่าซำ้ แลว้ ซำ้ เลา่ แต่ยงั มคี วามสงสารของฝงู ววั ๒๗๐-๒๗๗

๒๘

ยานี กาพย์ ๑๑

๒๗๘.ครั้นฟ้นื ตนื่ ขึน้ ได้ ตอ้ นววั ไปถึงบ้านพลนั

ส่วนเป็ดเห็นนางนน้ั ออกมาพลันรบั เทวี

เปน็ บททีก่ ลา่ วถงึ การสนทนาระหวา่ งเออ้ื ยกับเป็ดถงึ สาเหตทุ ่แี ม่โดนฆา่ ๒๗๘-๒๘๒

๒๘๓.ไปถึงกลางท่งุ นา แก้วกำพร้าเร่งโศกศลั ย์

ไล่โคไปตามกัน ฝูงโคนน้ั ก็เอน็ ดู

เปน็ บทท่กี ล่าวถึงความสงสารเอ้ือยของฝูงววั ๒๘๓-๒๘๕

๒๘๖.นางเอาเลด็ มะเขือ ทนู ไวเ้ หนือเกล้าเกศี

ถ้าว่าคือชนนี ของขา้ น้แี มน่ แท้ใจ

เป็นบทท่ีกลา่ วถงึ ความเช่ือเร่อื งการกลับชาติมาเกดิ ๒๘๖-๒๘๙

๒๙๐.เทวาอนั สงิ สู่ คิดเอน็ ดูนางเทวี

บันดาลใหเ้ กิดมี ทง้ั โพธเิ์ งินแลโพธ์ิทอง

เป็นบทท่กี ล่าวถงึ ความเอ็นดูของเทวดาท่มี ีต่อเอือ้ ยจึงดลบันดาลตามใจหวัง ๒๙๐-๒๙๑

๒๙๒.นวลละอองทองกำพรา้ เหน็ แกต่ านางทรามวยั

เทวเี จา้ ดใี จ นางกราบไหว้ผ้มู ารดา

เปน็ บทที่กล่าวถึงความดีใจของเออ้ื ยอกี ครงั้ ที่ไดเ้ จอแม่อีกครง้ั ๒๙๒-๒๙๓

๒๙๔.บดั นน้ั จงึ มารดา อนั มรณาไปเปน็ ผี

สิงสู่อยใู่ นท่ี ตน้ โพธทิ์ องของฉายา

เป็นบททก่ี ลา่ วถงึ เอือ้ ยได้ทราบวา่ แม่ของตนคอื ต้นโพธ์ิ ๒๙๔-๒๙๖

๒๙๗.แม่เอยโอ้แมเ่ จา้ ลูกสร้อยเศรา้ บเ่ สบย

ทูนหวั ของลกู เอย๋ ลกู มิเคยยากนกั หนา

เป็นบททก่ี ล่าวถงึ ความห่วงใยของเอ้ือยท่ีมีต่อแม่ และดีใจ หายกงั วลใจ สุดท้ายแม่ลกู ก็รำ่ ลากนั ๒๙๗-๓๐๑

สุรางคนางค์ กาพย์ ๒๘

๒๙

๓๐๒.เม่ือน้ันพระบาท พรหมทัตธริ าช พระทัยรำคาญ

จกั ใคร่ประพาส ปา่ พดงดาน มรี าชโองการ ตรสั สง่ั เสนา

เปน็ บทที่กล่าวถึงการบรรยายถึงการเสด็จประพาสของท้าวพรหมทัต ๓๐๒-๓๐๙

๓๑๐.ทา้ วบา่ ยหนา้ ชา้ ง เข้าในปา่ กว้าง ชมไพรพฤกษา

รักโรกโศกสรอ้ ย หอ้ ยย้อยลงมา ชุมแสงแจงป่า เคลด็ หว้าพลอง

เป็นบททก่ี ลา่ วถงึ การชมธรรมชาติ และพรรณนาการเสด็จประพาส ๓๑๐-๓๒๕

๓๒๖.ท้าวตรัสใหแ้ ตง่ บรรณาการแสร้ง แตง่ เครอ่ื งโภชนา

ขนมนมเนย ธูปเทียนชวาลา ถวายแกเ่ ทวา อารกั ษ์พระไทร

เปน็ บททก่ี ลา่ วถึงความเชอ่ื เรื่องการบชู าเทวดา

๓๒๗.ท้าวไทใหม้ ี เสภาดนตรี โหรเี พลงใน

กระจบั ป่สี ซี อ ขบั กรอกันไป กลอ่ มพระจอมไตร ท้าวไทบรรทม

เป็นบททก่ี ล่าวถงึ การพรรณนาการพกั ผ่อนของท้าวพรหมทตั ๓๒๗-๓๒๙

๓๓๐.ท้าวเห็นโพธิ์ทอง โพธเิ์ งนิ ทงั้ สอง เรืองรองรจนา

ใครหนอปลูกไว้ ฤางอกขน้ึ มา สมเด็จราชา คดิ ในพระทัย

๓๓๓.เดก็ เล้ียงววั น้ัน จ่งึ บอกออกพลัน แก่เจา้ อันมา

โพธ์เิ งินโพธิ์ทอง ทั้งสองน้นั หนา ของนางกำพรา้ ปลกู ไว้ท้งั สอง

เป็นบทที่กลา่ วถงึ เดก็ เล้ียงวัวตอบคำถามเรอ่ื งต้นโพธ์ิ ๓๓๓-๓๓๔

๓๓๕.เสนาไดฟ้ งั แลน่ ไปโดยหวงั เท่ยี วหาทรามวัย

พบนางกำพร้า ต้อนโคคลาไคล อำมาตยเ์ ขา้ ไป ถามนางกลั ยา

เป็นบททกี่ ลา่ วถงึ การพูดคยุ ระหวา่ งอำมาตย์กบั เอ้ือย ในเร่อื งความเชื่อเรื่องโชคลาภ และเร่อื งเทพเทวดา
๓๓๕-๓๔๑

ฉบัง กาพย์ ๑๖

๓๔๒.เมือ่ นน้ั สมเด็จราชา ทอดพระเนตรแลมา

๓๐

เห็นนางกำพร้านารี

เปน็ บทท่กี ลา่ วถึงการชมโฉมและกล่าวถงึ ขนบธรรมเนยี มประเพณี และท้าวพรหมทตั กถามเออ้ื ยเร่อื งตน้ โพธ์ิ
และเอ้ือยก็ตอบคำถาม โดยอธบิ ายถึงสาเหตุท่ีทำให้แม่ตาย ๓๔๒-๓๖๑

๓๖๒.ผัวเมยี โกรธแคน้ แสนเทวี ช่วยกนั ด่าตี

ข้านี้แทบมว้ ยมรณา

เปน็ บทท่ีกลา่ วถึงความโกรธแคน้ ของพ่อและขนิษฐี ๓๖๒-๓๖๗

๓๖๘.ฝูงเปด็ ได้เล็ดเดยี วดาย ให้ขา้ โฉมฉาย

หอ่ ไวก้ ับชายภูษา

เปน็ บทที่กลา่ วถงึ เอื้อยบรรยายสาเหตุที่ทำใหแ้ ม่ตายจนถงึ กลับชาตมิ าเกิดเป็นต้นโพธ์ิ ๓๖๘-๓๗๓

๓๗๔.จ่ึงท้าวฟังคำฉายา หฤทัยราชา

ละหอ้ ยด้วยนางเทวี

เปน็ บททก่ี ล่าวถึงความเอน็ ดูท่ที ้าวพรหมทตั มตี ่อเออื้ ยจงึ จะพาไปเปน็ พระมเหสี ๓๗๔-๓๗๘

๓๗๙.ชาติกอ่ นนวลนางทรามวัย เคยเกบ็ ดอกไม้

ร่วมใจดว้ ยกดู ดู ี

เป็นบททก่ี ล่าวถงึ ความเชื่อเรอ่ื งการทำบญุ รว่ มชาติ ๓๗๙-๓๘๐

๓๘๑.คิดพลางโองการตรัสพลนั วา่ แกจ่ อมขวญั

โพธิน์ ้นั เราขอเถิดรา

เป็นบททก่ี ล่าวถงึ ท้าวพรหมทตั ขอต้นโพธิแ์ ละเอื้อยกย็ กให้ ๓๘๑-๓๘๕

๓๘๖.ท้าวฟงั คำนางทรามวยั เสด็จลงไป

เขา้ ใกลใ้ ห้ขุดดุจปอง

เป็นบททก่ี ล่าวถงึ ใชว้ ิธีการใดกข็ ดุ ต้นโพธิไ์ ม่ขน้ึ แตพ่ อเอ้อื ยมาชว่ ยยกต้นโพธ์ิก็ขน้ึ ๓๘๖-๔๐๐

สุรางคนางค์ กาพย์ ๒๘

๔๐๑.ขา้ ไหว้เทวา อันอยรู่ กั ษา โพธิเ์ งนิ โพธ์ิทอง

๓๑

พระคณุ ทลู เกล้า เข้าช่วยปกปอ้ ง นางปลาบูท่ อง ช่วยลูกดว้ ยรา

เปน็ บททีก่ ล่าวถึงความเชือ่ เกยี่ วกับเทพารักษ์ และความเชือ่ เร่อื งการการสิงสู่ของเทวดาทุกสถานที่ ๔๐๑-๔๐๘

๔๐๙.มือขวานางนอ้ ง ชูตน้ โพธทิ์ อง เรอื งรองรจนา

มอื ซ้ายนางชู โพธิ์เงินโสภา นางนอ้ งยกมา ถวายแกภ่ ูมี

เป็นบททีก่ ลา่ วถงึ ความเชื่อเรื่องบญุ บารมี ๔๐๙-๔๑๒

๔๑๓.ครัน้ ทา้ วคิดแล้ว เสดจ็ จากแท่นแกว้ รับนางฉายา

เสดจ็ ขนึ้ ช้างตน้ มงคลมหมึ า พานางกำพร้า ไปยังบรู ี

เป็นบททก่ี ล่าวถงึ เอ้อื ยไดเ้ ป็นพระมเหสีของทา้ วพรหมทตั ๔๑๓-๔๑๕

๔๑๖.เมือ่ นัน้ ขนษิ ฐี รู้วา่ เทวี ผู้ยอดเยาวมาลย์

ไดเ้ ป็นมเหสี สมเด็จภูบาล รษิ ยาสาธารณ์ จะฆ่าอรไท

เปน็ บทที่กลา่ วถึงความโกรธของขนษิ ฐีท่ีเหน็ เออ้ื ยได้ดี ๔๑๖-๔๑๘

๔๑๙.คดิ แลว้ มชิ า้ บัดใจไคลคลา ถึงเคหาใน

ยายเฒา่ กลีสาด ผาดเห็นนางไป รอ้ งทกั แต่ไกล เจ้าไปไหนมา

เป็นบททก่ี ลา่ วถงึ ความอิจฉารษิ ยาของขนิษฐีจงึ ให้ยายช่วยหาทางทำร้ายเออื้ ย และยายเฒา่ ก็อธบิ ายแผนการ
แกข่ นษิ ฐี ๔๑๙-๔๓๐

ยานี กาพย์ ๑๑

๔๓๑.เม่อื นัน้ นางขนษิ ฐี เรยี กนางอแี่ ลนางอ้าย

พีน่ ้องสองผันผาย ให้โฉมฉายเจ้าเข้าไป

เปน็ บทที่กล่าวถงึ ขนิษฐีสั่งใหอ้ ้ายกับอ่ที ำตามแผนการท่ีตง้ั ไว้ ๔๓๑-๔๓๔

๔๓๕.คร้ันถึงประตเู มอื ง ค่อยยา่ งเยอ้ื งชำเลืองไป

ถึงวังพระจอมไตร จ่ึงถามไถน่ ายประตู

เปน็ บททก่ี ล่าวถงึ การพดู คยุ ระหว่างอา้ ยกับกี่และคนเฝ้าประตู ๔๓๕-๔๓๙

๔๔๐.สมเดจ็ นางพญา ฟังทาสาก็ยินดี

๓๒

ตรสั ใหร้ ับเทวี ท้งั สองศรีน้ีเขา้ มา

เป็นบททก่ี ล่าวถงึ ความใจดีของเออื้ ยและอนญุ าตใหเ้ ขา้ พบ ๔๔๐-๔๔๒

๔๔๓.นางอา้ ยแลนางอี่ กล่าวคดีแก่พ่ียา

แต่พ่จี ากนอ้ งมา ขา้ ครวญหาทกุ ราตรี

เป็นบทท่ีกลา่ วถึงอ้ายกบั อ่ีหลอกให้เอือ้ ยไปกับตนโดยบอกวา่ พอ่ ปว่ ยหนัก ที่เออื้ ยไปเพราะความไวเ้ นอ้ื เช่อื ใจ
๔๔๓-๔๔๗

๔๔๘.นางทรงเคร่อื งรจนา สรอ้ ยมาลารุ่งเรืองศรี

รดั เกล้าเกศเมาลี แซมเกศงี านรุง่ เรือง

เปน็ บททก่ี ลา่ วถงึ การพรรณนาบรรยายถงึ การแตง่ องคท์ รงเครื่องของเออื้ ย ๔๔๘-๔๕๒

๔๕๓.ถงึ บ้านนางเทวี จงึ นางอนี่ างอ้ายไซร้

ไปบอกแม่ทันใด มาถงึ แลว้ นะมารดา

เป็นบทที่กล่าวถงึ ความเสแสรง้ ของขนษิ ฐี ๔๕๓-๔๕๖

๔๕๗.บิดาเจ้าปว่ ยหนัก เชญิ ลูกรกั เขา้ ไปหา

อยู่นี่ก่อนเถดิ รา เพราะเจา้ มาแต่ทางไกล

เป็นบททก่ี ลา่ วถึงขนษิ ฐเี ลา่ ถึงอาการปว่ ยของพ่อ และความไว้เนอ้ื เช่อื ใจท่เี อื้อยไปกับนางขนษิ ฐโี ดยเพียงลำพงั
๔๕๗-๔๖๔

๔๖๕.ยายเฒ่ากลีสาด เห็นนางนาฏมาบดั ดล

มนั แตง่ กระดานยนต์ ไว้ชอบกลดังใจหมาย

เป็นบททก่ี ลา่ วถึงการลอ่ ลวงเอ้ือยไปทำร้ายตามแผนของยายเฒ่า ๔๖๕-๔๖๖

๔๖๗.กำพร้าพาซ่ือหลง เปลือ้ งเคร่อื งทรงจากกายา

โฉมยงไมส่ งกา สรงคงคาเหยยี บถูกยนต์

เปน็ บททกี่ ลา่ วถงึ ความไวใ้ จของเอือ้ ย

๔๖๘.กระดานหกตกไป ดิน้ อยู่ในน้ำรอ้ นรน

๓๓

พองลอกปอกท้งั ตน นางนิฤมลมว้ ยมรณา

เป็นบททีก่ ลา่ วถึงความทุกขท์ รมานจนตายของเอือ้ ย

๔๖๙.อเี ฒา่ กลสี าด กบั นางนาฏอนั ริษยา

เห็นนางแกว้ กำพร้า สิ้นชีวามนั ดใี จ

เปน็ บทที่กลา่ วถึงความเหีย้ มโหดของยายเฒา่ และขนิษฐี

๔๗๐.ทีนส้ี มความคิด อีคนผดิ มันบรรลัย

แต่นม้ี ิกลวั ใคร พน้ ทุกข์ภยั แลว้ แลนา

เปน็ บททกี่ ลา่ วถึงการปลกู ฝงั ลกู ใหโ้ กหกหลอกลวงของขนษิ ฐี ๔๗๐-๔๗๗

๔๗๘.นำ้ มันเสกให้ใส่ ใหท้ ้าวไทรักทวี

ลมื หลงด้วยมนตรน์ ี้ ให้ยินดีในพระทัย

เป็นบทที่กล่าวถงึ ความเช่ือเร่ืองไสยศาสตร์

๔๗๙.ครนั้ แต่งแลว้ มิช้า เดินออกมาเรยี กสาวใช้

เถา้ แก่ชาวแมใ่ น ว่ิงเข้าไปทั้งซ้ายขวา

เป็นบทที่กล่าวถงึ อา้ ยปลอมเป็นเออ้ื ยเข้าไปในวัง ๔๗๙-๔๘๒

๔๘๓.เม่ือนัน้ จอมกษตั รยิ ์ พรหมทัตพระภูบาล

ครั้นคำ่ ราตรีกาล ใหร้ ำคาญกล้มุ พระทัย

เป็นบทที่กลา่ วถงึ ความเชอ่ื เรือ่ งไสยศาสตร์ ๔๘๓-๔๙๓

สุรางคนางค์ กาพย์ ๒๘

๔๙๔.กำพร้านางแกว้ ครน้ั เจา้ ตายแล้ว ส้นิ ชพี เปน็ ผี

นางเอากำเนิด เกิดเป็นปกั ษี เพราะกรรมยังมี นางไดส้ รา้ งมา

เปน็ บทที่กล่าวถงึ ความเชื่อเรอื่ งการกลับชาติมาเกดิ (เอื้อยเกดิ เปน็ นกแขกเตา้ ) ๔๙๔-๔๙๕

๔๙๖.เดชะกศุ ล ปางเกา่ เข้าดล ใจแห่งนงคราญ

รำลึกชาติได้ เหน็ ไปทกุ ประการ ตายจากถิน่ ฐาน มาเปน็ ปกั ษี

๓๔

เปน็ บททก่ี ลา่ วถึงความเช่อื เรื่องการระลึกชาติ ๔๙๖-๔๙๘

๔๙๙.โพธิ์ทองนนั้ เล่า พระคณุ แมเ่ จ้า อนั งามเฉิดฉัน

เม่อื ยังเปน็ คน ไดย้ ลทกุ วัน ลกู ม้วยอาสัญ ปา่ นน้ีเปน็ ไฉน

เปน็ บททก่ี ล่าวถึงความห่วงใย และความกังวลใจของเออ้ื ยท่มี ีต่อแม่ ๔๙๙-๕๐๐

๕๐๑.นางนกแขกเตา้ จับอยูง่ ว่ งเหงา สรอ้ ยเศร้าโศกา

จะบินไปดู ให้รู้ก่อนรา โพธ์ทิ องมารดา ยังเป็นฤาตาย

เปน็ บททก่ี ล่าวถงึ ความโศกเศรา้ เสียใจของเอื้อยทีแ่ มต่ ายไปอกี ครั้ง ๕๐๑-๕๐๔

๕๐๕.ถึงพระมริ กั พระองคท์ รงศกั ด์ิ ไมเ่ อ็นดเู มยี

หลงรกั คนอืน่ ลมื เมยี ตนเสีย ไม่คิดถึงเมีย กำพรา้ นารี

เป็นบทที่กลา่ วถึงความเสียใจและอาลัยอาวรณข์ องเออื้ ยตอ่ ท้าวพรหมทตั ๕๐๕-๕๐๖

๕๐๗.บดั นั้นพระบาท พรหมทัตธิราช จากอาสน์คลาดคลา

เผยหน้าบัญชร ภูธรแลมา เหน็ นางปกั ษี ร่ำรอ้ งไปมา

เป็นบททก่ี ล่าวถึงการชมนก ๕๐๗-๕๐๘

๕๐๙.ดูราแขกเต้า เราขอถามเจ้า บอกเราโดยดี

โพรงรงั อยูไ่ หน ปา่ ไม้ไพรศรี ฤาตัวเจา้ นี้ ใครเลีย้ งรกั ษา

เปน็ บททก่ี ลา่ วถงึ การถามไถข่ องทา่ วพรหมทตั ถึงท่อี ยอู่ าศยั ของนกแขกเต้า ๕๐๙

๕๑๐.นางนกแขกเต้า ฟงั คำพระเจ้า ตรัสถามความมา

นางรอ้ งประเทยี บ เปรยี บพระราชา โอพ้ ระผา่ นฟา้ ขา้ ไมเ่ หน็ ใคร

เปน็ บทท่กี ล่าวถึงความอาลยั อาวรณข์ องเอ้ือย(นกแขกเต้า)ทต่ี ้นโพธต์ิ าย ๕๑๐-๕๑๔

๕๑๕.สมเดจ็ พระเจ้า ฟงั นกแขกเตา้ พูดพลางปราศรัย

ฉงนจลจิต คดิ อยู่ในใจ ท้าวตรสั ถามไป แก่นางปักษี

เป็นบทที่กลา่ วถงึ ความสงสัยของทา้ วพรหมทตั ถงึ การที่ตน้ โพธิ์ตาย ๕๑๕-๕๑๗

๕๑๘.นางนกแขกเต้า ฟงั คำผัวเจ้า เจ้ากลา่ วมิเกรง

๓๕

แจ้งเร่อื งใหฟ้ ัง แตห่ ลงั ปางพราง ขา้ น้อยนีเ้ อง มิใช่อน่ื ไกล

เปน็ บทที่กล่าวถงึ นกแขกเตา้ บอกแก่ทา้ วพรหมทตั ว่าตนคือเอื้อยและเหตุทตี่ ้องจากกัน ๕๑๘-๕๑๙

๕๒๐.พระคุณเมียอา ไมค่ ิดเมตตา กำพร้าเมยี ขวญั

แรกท้าวสมสอง ร่วมห้องดว้ ยกัน พระองค์ทรงธรรม์ ยอ่ มโปรดเกศา

เป็นบทท่ีกล่าวถึงการตัดพอ้ ของเอ้ือยที่มบี ญุ น้อยต้องตายไม่ไดอ้ ยู่กบั สามแี ละต้องกลายเป็นนกแขกเตา้ ๕๒๐-
๕๒๓

๕๒๔.สมเด็จผ่านเกลา้ ฟังนกแขกเตา้ เลา่ ความอนุสนธิ์

ในพระหฤทยั คอื ไฟลามลน นำ้ เนตรจมุ พล ไหลคือธารา

เป็นบทที่กล่าวถึงความเสียใจของท้าวพรหมทตั ถึงเหตุการณ์ท่ีเกดิ ขนึ้ ๕๒๔-๕๒๗

๕๒๘.เจ้าทองทง้ั ตวั แต่พรากจากผวั ไดห้ ลายราตรี

พ่พี ึ่งร้ขู ่าว เพราะเจ้าวนั น้ี เจา้ มว้ ยชีวี ด้วยเหตอุ ันใด

เป็นบทท่ีกล่าวถึงความสงสยั ของท้าวพรหมทตั ถงึ สาเหตกุ ารตายของเอ้ือย ๕๒๘-๕๒๙

๕๓๐.บดั นัน้ แขกเต้า บังคมกม้ เกล้า แทบบาทราชา

เล่าความแตห่ ลัง ตั้งแรกเดิมมา สมเดจ็ ผา่ นฟา้ ทราบพระหฤทัย

เปน็ บททีก่ ลา่ วถึงบรรยายสาเหตกุ ารตายของเออื้ ย ๕๓๐-๕๓๑

๕๓๒.ครนั้ วายโศกแล้ว สมเด็จพระแกว้ ตรสั สั่งเสนา

ใหแ้ ต่งกรงทอง ของนางปักษา เอาแก้วเปน็ ฝา ประดับด้วยทอง

เป็นบททกี่ ลา่ วถึงบรรยายความรกั และการดแู ลทท่ี ้าวพรหมทตั มตี อ่ เอ้อื ย(นกแขกเตา้ ) ๕๓๒-๕๓๔

๕๓๕.อย่มู าชา้ นาน กรรมถงึ เยาวมาลย์ กำพร้าปักษา

ยงั มนี ายพราน นำข่าวสารมา กราบทูลราชา พรหมทัตภมู ี

เป็นบทท่ีกล่าวถงึ ความโชคร้ายของเออื้ ย และการกลา่ วทลู ทา้ วพรหมทตั ของนายพราน ๕๓๕-๕๓๖

ฉบงั กาพย์ ๑๖

๕๓๗.เมือ่ นั้นพรหมทตั ภูบาล คร้ันไดฟ้ งั สาร

๓๖

นายพรานมาทูลแถลงไข

เปน็ บททีก่ ล่าวถงึ นายพรานทูลทา้ วพรหมทตั เกีย่ วกับช้างปา่ ๕๓๗-๕๔๔

๕๔๕.ทา้ วฟังอำมาตยท์ ลู ไข เข้าสปู่ รางค์ใน

ท้าวไทสระสรงสำราญ

เปน็ บทที่กลา่ วถงึ ความสขุ สบายของทา้ วพรหมทัต และการพรรณนาการทรงชา้ ง การเคล่อื นพลไปยงั ป่า และ
การพรรณนาถงึ การตามหาช้างตวั นน้ั ๕๔๕-๕๕๓

๕๕๔.โห่ร้องกึกกอ้ งน่นี ัน แรดควายผายผัน

สงิ สัตว์ทกุ พรรณขวญั หาย

เปน็ บทที่กลา่ วถึงพรรณนาถึงความตกใจและหนเี ตลิดของสตั วต์ า่ งๆ ๕๔๕-๕๕๕

๕๕๖.ยังมพี ระไพรเจา้ ป่า ดำรติ ริตรา

แก่เทวดาเพ่อื นกัน

เป็นบททก่ี ล่าวถึงสะทอ้ นความเช่ือเร่อื งเจา้ ป่าเจ้าเขา,เทวดา ๕๕๖-๕๖๐

๕๖๑.ทา้ วสั่งอำมาตย์ซ้ายขวา เร่งเร็วอยา่ ช้า

ตรวจตราใหพ้ รอ้ มลอ้ มไว้

เป็นบททก่ี ล่าวถงึ สะทอ้ นเรอ่ื งประหาร ๗ ชวั่ โคตร ๕๖๑-๕๖๒

๕๖๓.ท้าวทรงชา้ งตอ่ ตัวหาญ เลือกเอาหมอควาญ

ชำนาญที่คลอ้ งกลางแปลง

เป็นบทท่ีกลา่ วถงึ การโกรธตัวเองของท้าวพรหมทัตท่ีคล้องชา้ งไม่ได้ ๕๖๓-๕๗๕

ยานี กาพย์ ๑๑

๕๗๖.นางอ้ายใจอาธรรม์ ร้สู ำคญั วา่ เทวี

เกดิ เป็นนางปักษี พระภมู ีเลย้ี งรักษา

เป็นบทที่กลา่ วถึงความโหดเหีย้ มของอา้ ยท่ีแอบมาเอานกแขกเต้าไปฆา่ ๕๗๖-๕๘๒

๕๘๓.แขกเตา้ รูแ้ ยบคาย แสรง้ ทำตายไมพ่ รบิ ตา

๓๗

ด่ังหน่ึงสิน้ ชีวา ไม่หายใจให้ใครเหน็

เปน็ บทท่ีกล่าวถึงความรูเ้ ท้าทันของนก และความโหดเห้ียมของแมค่ รัว ๕๘๓-๕๘๕

๕๘๖.ส่วนว่านกแขกเต้า เห็นยายเฒา่ เขา้ ขา้ งใน

กล้งิ เกลือเสอื กตวั ไป ตกลงไดม้ ทิ ันนาน

เปน็ บทที่กล่าวถึงการพรรณนาเอาตวั รอด และความตกใจและสงสยั ของหนวู ่าตัวอะไรตกลงมาในรขู องตน
๕๘๖-๕๙๖

๕๘๗.แขกเตา้ รูว้ า่ หนู เจ้าของรูฤาไฉน

เจา้ คุณเชิญมาใกล้ แม่ข้าไหว้ไดป้ ราณี

เปน็ บทที่กล่าวถงึ ความอ่อนน้อมถอ่ มตนของนก และพูดคุยกันถึงสาเหตุที่นกตกลงไปในรู ๕๙๗-๖๐๒

๖๐๓.จนแล้วนะแมห่ นู จงเอน็ ดูโปรดเถดิ รา

เจ้าคณุ ไดเ้ มตตา ทำคณุ ขา้ ขออาศยั

เปน็ บททก่ี ล่าวถึงการรจู้ ักบุญคุณ และการมนี ำ้ ใจของหนู ๖๐๓-๖๑๐

๖๑๑.ยายครัวน้นั เล่าหนา หาเขยี งพร้าอยชู่ ้านาน

กระทะปะเชิงกราน หาลนลานบัดเด๋ียวมา

เป็นบททก่ี ลา่ วถงึ การเตรยี มจะคัว่ นกแต่พบวา่ หายไป ๖๑๑-๖๑๔

๖๑๕.เทีย่ วมองตามชอ่ งเปลา่ เปดิ หม้อเขา้ ควานเตาไฟ

สับสนเที่ยวค้นไป เฒา่ ตกใจหนา้ คอื ผี

เป็นบททก่ี ล่าวถงึ ความกงั วลใจของยายเฒ่า ๖๑๕-๖๑๗

๖๑๘.ไมเ่ หน็ นกแขกเตา้ วนั นนั้ เล่าเฒา่ ตกใจ

ถ้ารู้ถงึ นางใน ตัวกูไม่พน้ โทษทัณฑ์

เปน็ บททก่ี ล่าวถึงความกลัวโดนลงโทษของยายเฒ่า(แมค่ รวั )จึงไปซ้อื นกในตลาดมาควั่ แทนนกแขกเต้า ๖๑๘-
๖๒๐

๖๒๑.นางอา้ ยเจ้าไม่รู้ เปิดออกดูกด็ ใี จ

๓๘

ทนี ้ีมงึ บรรลัย กูตั้งใจกนิ เนื้อมงึ

เปน็ บทที่กลา่ วถงึ ความโหดเหีย้ มของอ้าย ทีใ่ ห้ปดิ บงั เรือ่ งการหายไปของนกแขกเตา้ และยายฒา่ ก็ได้รางวลั ตอบ
แทน ๖๒๑-๖๒๗

สรุ างคนางค์ กาพย์ ๒๘

๖๒๘.พรหมทตั จอมปรางค์ อย่ใู นปา่ กวา้ ง คล้องช้างมิได้

คบั แค้นแน่นทรวง ในดวงพระทัย คอื หน่งึ ดงั ไฟ มาไหมเ้ ผาผลาญ

เปน็ บททก่ี ล่าวถงึ ความโกรธของทา้ วพรหมทัต ๖๒๘-๖๓๗

๖๓๘.สั่งเสรจ็ เขา้ ห้อง ท้าวเหน็ กรงทอง เศร้าหมองพระทยั

คิดถึงสาลกิ า ปักษาทรามวยั พระองคส์ งสยั หฤทยั คดิ หวงั

เป็นบทท่กี ลา่ วถงึ ความโศกเศรา้ เสยี ใจ และคร่ำครวญถงึ นกแขกเต้าของท้าวพรหมทตั ๖๓๘-๖๔๑

๖๔๒.แขกเต้าโฉมตรู อยใู่ นปล่องหนู เปน็ นานเปน็ ช้า

ปกี หางล่ยุ หลุด คอ่ ยผดุ ข้ึนมา นวลนางปักษา รำพงึ ถึงตวั

เป็นบทที่กลา่ วถงึ ความกลัวยายเฒ่าจะเห็นตนเอง เพราะตนเองไม่มีปกี ๖๔๒-๖๔๔

๖๔๕.หนฟู ังคำนก ยอกรข้อนอก ตระหรกตกใจ

เคยกินเคยอยู่ เคยคอู่ าศยั จะจากพ่ีไป กระไรปกั ษี

เปน็ บททก่ี ล่าวถงึ การกลา่ วลาหนขู องนกดว้ ยความอาลัย และความอาลยั อาวรณข์ องหนูทม่ี ีต่อนก ๖๔๕-๖๕๒

๖๕๓.แขกเต้าขวญั หาย ทีนตี้ ดิ ตาย แลนาพีอ่ า

จักออกกลใด จนใจนักหนา หนูจึงต้งั ว่า เจ้าอย่าร้อนใจ

เป็นบทที่กลา่ วถึงความรอ้ นรนใจของนก และสุดทา้ ยนกกด็ ใี จท่หี นอี อกมาได้ ๖๕๓-๖๕๕

๖๕๖.หนมู องรอ้ งส่งั นางทองรอ้ ยชัง่ ระวงั ระไว

เขม้นขมดั เรง่ รัดรอดไป ขอจงพน้ ภัย เจา้ ไปจงดี

เปน็ บททกี่ ลา่ วถงึ การพูดคุยอย่างอาลัยอาวรณ์ระหวา่ งนกกบั หนู ๖๕๖-๖๕๙

๖๖๐.แขกเตา้ รอ้ งไห้ น้ำตาหล่ังไหล เร่ยี หนทางมา

๓๙

วนั หนึง่ พบงู แฝงอยู่กอหญา้ ตกใจนกั หนา ขวญั หนบี ินบน

เป็นบททก่ี ลา่ วถึงการต่อสรู้ ะหวา่ งนกกับงู ๖๖๐-๖๖๗

๖๖๘.วา่ ตัวกนู ี้ รอดตายหลายที คร้ังน้ีบญุ ตัว

ขวัญหนดี ฝี อ่ ระย่อคดิ กลวั ขนพองสยองหัว เจา้ กลัวมรณา

เป็นบทที่กลา่ วถงึ การพรรณนาการเดินในปา่ ของนกแขกเตา้ ๖๖๘-๖๗๐

๖๗๑.ยังมดี าบส องค์หนง่ึ ทรงพรต อยใู่ นพงพี

เธอน้ันรกั ษา ภาวนาบารมี ด้วยมนตรม์ นุ ี ฤาษีกวดขัน

เป็นบททก่ี ล่าวถึงความเชือ่ เรือ่ งการเหาะเหินเดินอากาศ ๖๗๑-๖๗๓

๖๗๔.ฉนั แตพ่ ฤกษา ผลไมใ้ นป่า เธอหาอาศยั

เชา้ เยน็ กลับมา ยังศาลาลยั สำนกั อาศัย ที่ในพงพี

เป็นบททกี่ ลา่ วถงึ ความเอน็ ดสู งสารทฤี่ าษมี ีต่อนกแขกเตา้ จงึ ไดช้ ุบชวี ิตใหก้ ลบั มาเป็นสตรี ๖๗๔-๖๘๗

๖๘๘.ดาบสถามไป ดรู าอรไท เม่อื เป็นปักษี

ไฉนจึงมา ถึงอาศรมนี้ ปีกหางไมม่ ี ยบั ท่วั กายา

เปน็ บททก่ี ลา่ วถงึ การพดู คุยกนั ระหวา่ งฤาษีกับเอือ้ ยถึงเรอื่ งทีไ่ ดต้ าย ๖๘๘-๖๙๓

๖๙๔.พระเจ้าใจบญุ ขอแทนพระคณุ กว่าจะสิน้ ปราณ

ชบุ ข้าเป็นคน พ้นจากเดยี รฉาน หายความรำคาญแหง่ ข้าฉายา

เปน็ บททก่ี ล่าวถงึ ความกตัญญูรคู้ ณุ ของเอ้อื ย ๖๙๔-๖๙๗

๖๙๘.โอต้ ัวกเู อ๋ย ไม่มใี ครเลย เป็นเพ่ือนเจรจา

เห็นแต่ฤาษี ที่เป็นบิดา บัดน้ไี ปปา่ ชา้ อยู่วา่ ไร

เป็นบททก่ี ลา่ วถึงความน้อยเนื้อต่ำใจในวาสนาของเอื้อย ๖๙๘-๗๐๕

๗๐๖.ออี ้ายเจ้ากรรม มันแสร้งแกล้งทำ ชกั นำกมู า

ลวงวา่ พ่อไข้ ใหเ้ ข้าไปหา แลว้ รมุ กนั ฆา่ ใหม้ ้วยชีวี

เปน็ บทท่ีกล่าวถึงความชำ้ ใจของเออ้ื ยท่ีน้องทำกบั ตน ๗๐๖-๗๐๘

๔๐

ฉบงั กาพย์ ๑๖

๗๐๙.เยน็ ยำ่ คำ่ ลงรอนรอน ฤาษโี คจร

มาถึงศาลาอาศรม

เป็นบททกี่ ล่าวถงึ การพรรณนาบรรยายการท่ฤี าษชี ุบชวี ิตลกู ชายให้เอ้ือย ๗๐๙-๗๓๖

ยานี กาพย์ ๑๑

๗๓๗.อย่มู าหลายวนั วาร จ่งึ กมุ ารผโู้ ฉมศรี

จ่ึงถามชนนี ว่าเดมิ ทีเป็นฉนั ใด

เป็นบทที่กล่าวถงึ การพดู คยุ ระหวา่ งเอื้อยกับลกู ถงึ เร่ืองพ่อ ยาย และอา้ ยและเร่อื งราวเก่ยี วกบั เออ้ื ย ๗๓๗-
๗๔๖

๗๔๗.บดั นนั้ นางกำพร้า ฟังลูกยากช็ ่ืนบาน

ใจจติ คดิ รำคาญ ใคร่พบพานองค์ราชา

เป็นบททกี่ ล่าวถึงการพรรณนาการชมดอกไม้ ๗๔๗-๗๕๕

๗๕๖.นางกรองพวงมาลา เป็นปรศิ นาเรือ่ งนยิ าย

แตต่ น้ มาจนปลาย เปน็ นยิ ายของฉายา

เปน็ บทที่กล่าวถงึ การพรรณนาถงึ ท่ีเออื้ ยแต่งกายใหล้ กู เพือ่ เขา้ ไปเมอื ง ๗๕๖-๗๖๓

๗๖๔.ชาวตลาดเห็นกุมาร พวกชาวบา้ นเดนิ เขา้ มา

พรัง่ พรูดพู กั ตรา ละลานตาด้วยรปู ทรง

เปน็ บทที่กลา่ วถึงความสงสัยและแตกต่นื ทไ่ี ดพ้ บเจอลกู ของเออื้ ย ของบรรดาคนทพี่ บเหน็ ๗๖๔-๗๖๙

๗๗๐.เจา้ ลบฟังเขาถาม จงึ่ โฉมงามมีวาจา

ตวั เราลกู ชาวป่า สว่ นมารดาขา้ เขญ็ ใจ

เป็นบทท่ีกลา่ วถึงการพูดคยุ ระหว่างขา้ หลวงกับลกู ของเอื้อยถึงตน้ โพธ์ทิ อง ๗๗๐-๗๗๕

สรุ างคนางค์ กาพย์ ๒๘

๗๗๖.เมอ่ื นั้นเสนา เข้าเฝ้าราชา พรหมทัตภบู าล

๔๑

ทูลท้าวธิบดี วา่ มีกุมาร โฉมยงนงคราญ มายังกรงุ ไกร

เป็นบทท่ีกลา่ วถงึ เสนาทูลท้าวพรหมทัตเก่ียวกับเดก็ ผ้ชู าย ๗๗๖-๗๘๐

๗๘๑.เม่ือนั้นราชา ได้ฟงั เสนา บงั คมทูลฉลอง

ทราบพระหฤทัย นกึ ในใจปอง ออกช่อื โพธท์ิ อง ท่านท้าวคดิ ฉงน

เปน็ บททีก่ ลา่ วถงึ ความสงสยั ของทา้ วพรหมทตั เกย่ี วกับเด็กผ้ชู ายคนน้นั ว่าใช่นกแขกเต้ากลับชาตมิ าเกดิ หรือไม่
และไดพ้ ดู คยุ กัน ๗๘๑-๗๘๖

๗๘๗.สมเดจ็ ราชา พิศดูพงั งา เหน็ ดอกไมก้ รอง

ตรสั เรยี กนิฤมล ขนึ้ บนแท่นทอง พระหัตถ์ทง้ั สอง ลูบไล้ไฉยา

เปน็ บทที่กล่าวถงึ ความสงสยั ของทา้ วพรหมทัตเกี่ยวกบั พวงมาลัย จนทำใหค้ ิดถึงเร่อื งของเอื้อย ๗๘๗-๗๙๕

๗๙๖.อุ้มองคก์ ุมาร เขา้ ไปในสถาน ตรสั ถามโดยหมาย

เจ้าบอกออกรา พังงาโฉมฉาย เดมิ ทดี ีรา้ ย เจ้าจงบอกนา

เปน็ บทท่ีกลา่ วถึงเดก็ ชายเล่าถงึ แมข่ องตนให้ทา้ วพรหมทตั ฟงั ๗๘๖-๘๐๓

๘๐๔.ท้าวได้ฟังอรรถ รอ้ นรมุ กลมุ้ กลัด โทมนัสนกั หนา

ทา้ วทรงเศร้าโศก วิโยคโศกา กันแสงไห้หา กำพรา้ นารี

เปน็ บททีก่ ลา่ วถงึ ความเสยี ใจของทา้ วพรหมทตั เป็นอยา่ งมาก ๘๐๔-๘๒๖

๘๒๗.แต่องค์พระบาท กบั โอรสราช ยรุ ยาตรดว้ ยกัน

ครนั้ ถงึ กฎุ ี ฤาษีทรงธรรม์ ก้มเกลา้ อภิวันท์ กราบดว้ ยดษุ ฎี

เปน็ บทที่กลา่ วถงึ การพดู คุยระหว่างฤาษกี บั ทา้ วพรหมทตั และฤาษีให้ไปลกู ไปบอกเออ้ื ยท่ที ้าวพรหมทัตมาหา
๘๒๗-๘๓๒

ยานี กาพย์ ๑๑

๘๓๓.บัดนน้ั นางเทวี ฟังบุตรกี ห็ รรษา

คิดพลางนางยาตรา ถึงศาลาเห็นสามี

เป็นบทท่ีกลา่ วถงึ การไดพ้ บเจอกันของท้าวพรหมทัตกับเออ้ื ยอยา่ งมีความสขุ ๘๓๓-๘๓๗

๔๒

๘๓๘.ตัวพนี่ ้พี ึง่ รู้ เพราะโฉมตรูสายสมร

โอรสเจา้ บทจร ถงึ นครบอกคดี

เปน็ บททก่ี ลา่ วถึงการพดู คุยระหวา่ งทา้ วพรหมทตั กบั เออื้ ยถงึ เหตกุ ารณ์ทีเ่ กดิ ข้ึนกับเอือ้ ย ๘๓๘-๘๕๔

๘๕๕.ข้าบาทรักเป็นลกู คดิ พนั ผูกโอรสา

ดังบุตรอันเกดิ มา ในอทุ รขา้ ผู้เทวี

เปน็ บทที่กลา่ วถึงสะท้อนถึงความเปน็ แม่ของเอือ้ ยที่รกั ลกู แมจ้ ะไม่ใช่ลกู ทตี่ นตงั้ ท้อง ๘๕๕-๘๗๑

๘๗๒.ครัน้ วายหายโศกแล้ว ชวนนางแกว้ กัลยา

มาเราจะกราบลา พระเจ้าตาไปเวียงไชย

เป็นบททก่ี ลา่ วถงึ การรับรบู้ ญุ คณุ ของเอ้อื ยทมี่ ตี ่อฤาษี ๘๗๒-๘๗๖

๘๗๗.พระเจา้ ตาจงจำเจริญ เปน็ สุขเพลนิ เทยี่ วจงกรม

จงทา้ วเสวยรมย์ ต้งั ใจชมพรหมจรรยา

เปน็ บทท่กี ล่าวถงึ ความรกั และความหว่ งใยทฤี่ าษมี ีตอ่ เอื้อย ๘๗๗-๘๘๓

ฉบัง กาพย์ ๑๖

๘๘๔.เมื่อนั้นจงึ่ สองกษตั ริย์ รบั พรฤาษี

บพติ รใสเ่ กลา้ เกศา

เป็นบทท่ีกลา่ วถึงเออื้ ยกบั ท้าวพรหมทตั กลบั ไปยงั เมืองและได้อภเิ ษกกนั ๘๘๔-๘๙๘

สรุ างคนาง กาพย์ ๒๘

๘๙๙.ครั้นทำขวัญแล้ว สมเดจ็ พระแกว้ พรหมทัตภาสาย

ตรสั ส่ังชาวแม่ เถ้าแกเ่ รียงราย ให้หานางอา้ ย ข้ึนมาทันใด

เป็นบททีก่ ล่าวถงึ ทา้ วพรหมทตั สั่งให้คนไปตามอ้ายใหไ้ ปหา ๘๙๙-๙๐๑

๙๐๒.นางฟงั คำเขา อรุ ะร้อนเร่า อกเจา้ คอื ไฟ

พเี่ จ้าทั้งส่ี ได้ยนิ ว่าไร เหตเุ ปน็ ฉันใด บอกให้ร้รู า

เปน็ บทท่กี ลา่ วถงึ ความร้อนใจและลนลานของอา้ ย ๙๐๒-๙๐๕

๔๓

๙๐๖.คร้ันถึงหน้าฉาน ก้มเกล้ากราบกราน บังคมดษุ ฏี

ทา้ วเห็นนางมา โกรธาแสนทวี ในทรวงพนั ปี ดัง่ ไฟลานลน

เป็นบทที่กล่าวถึงความโกรธของทา้ วพรหมทัตจงึ สง่ั ลงโทษและถามหาความจรงิ จากเอ้อื ย ๙๐๖-๙๒๐

๙๒๑.พระบาทคาดโทษ ผิดแลว้ แต่จะโปรด อย่าใหบ้ รรลยั

ท้งั น้ีมารดา ของข้าบาทไท้ เสย้ี มสัง่ สอนให้ ทำความมดิ ี

เปน็ บททก่ี ลา่ วถงึ การบรรยายการกระทำของอ้ายท่ที ำกบั เอ้ือย ๙๒๑-๙๒๙

๘๓๐.รอ้ งพลางแลไป เหน็ องค์อรไท กำพรา้ นารี

คดิ อยูใ่ นใจ มใิ ชเ่ ทวี กำพร้านารี เป็นคนข้ึนมา

เปน็ บทท่ีกล่าวถงึ การทอ่ี า้ ยขอใหเ้ อ้ือยช่วย ด้วยทีท่ ำอะไรลงไปโดยไมค่ ดิ ๙๓๐-๙๓๕

๙๓๖.ใหส้ บื ถามไป เมอ่ื ครัง้ อรไท เจา้ เปน็ ปักษี

คิดการกับใคร บอกให้จงดี กรงทองปกั ษี อย่ถู งึ ปรางค์ใน

เป็นบทท่ีกลา่ วถึงท้าวพรหมทัตถามถงึ คนท่รี ว่ มมอื กบั อ้าย ๙๓๖-๙๓๙

๙๔๐.นางแกว้ กำพร้า ครั้นถึงเวลา เขา้ เฝา้ ภบู าล

นางคิดแตใ่ น หฤทัยนงคราญ นางอา้ ยใจพาล รบั พระอาญา

เปน็ บทที่กลา่ วถึงสะทอ้ นถึงเรอ่ื งเวรกรรมวา่ เมื่อเรากระทำสิ่งใดย่อมไดส้ ่งิ นัน้ ๙๔๐-๙๕๖

ฉบัง กาพย์ ๑๖

๙๕๗.เม่อื นน้ั นางอ้ายโสภา รบั ซง่ึ อาญา

เจ็บปวดนกั หนาแทบตาย

เป็นบททกี่ ลา่ วถงึ ความกลัวตายของอา้ ย ๙๕๗-๙๖๐

๙๖๑.มากจู ะกนิ ยาตาย อยลู่ ำบากกาย

จะตายให้พ้นรำคาญ

เปน็ บททกี่ ลา่ วถงึ สะท้อนถึงเร่ืองเวรกรรมของอา้ ย ๘๖๑-๑๐๐๘

สุรางคนางค์ กาพย์ ๒๘


Click to View FlipBook Version