43
2) พฒั นาการให้บริการภาครฐั ผ่านการนาเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาประยกุ ตใ์ ช้
มาตรฐานสากล 3) ปรับวิธีการทางาน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาบริการภาครัฐท่ีมีคุณค่าและได้
• เปา้ หมายของแผนย่อย
งานบรกิ ารภาครัฐทปี่ รบั เปลย่ี นเปน็ ดิจิทลั เพ่มิ ขน้ึ
• การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนย่อย
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการขับเคล่ือนการพัฒนาบริการ
ประชาชนโดยการส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการ/บริการประชาชน
การเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้บริการประชาชนของศูนย์บริการประชาชนของกระทรวง ศึกษาธิการ 1579 การ
สนบั สนนุ การดาเนินงานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนย่อยท่ี 3.4 การพฒั นาระบบบริหารงานภาครฐั
• แนวทางการพฒั นาแผนย่อย
1) พัฒนาหน่วยงานภาครัฐให้เป็น “ภาครัฐทันสมัยเปิดกว้าง เป็นองค์กรขีด
สมรรถนะสงู ”
2) กาหนดนโยบายและการบรหิ ารจดั การทต่ี ัง้ อยบู่ นขอ้ มูลและหลักฐานเชิงประจักษ์
3) ปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การและออกแบบระบบการ
บรหิ ารงานใหม่ใหม้ ีความยืดหยนุ่ คล่องตวั กระชบั ทนั สมยั
• เป้าหมายของแผนย่อย
ภาครฐั มีขดี สมรรถนะสูงเทียบเทา่ มาตรฐานสากลและมคี วามคลอ่ งตวั
การบรรลุเป้าหมายตามแผนยอ่ ย
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบ
บริหารงานภาครัฐ โดยพัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด ภาค และฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษา ให้เป็นเอกภาพ
เชื่อมโยงกัน เป็นปัจจุบัน และทันต่อการใช้งาน และปรับปรุง โครงสร้างและอานาจหน้าท่ีของหน่วยงานให้มี
ความยืดหยุ่น คลอ่ งตวั ไมซ่ า้ ซ้อน และทันสมยั เอื้อต่อการพฒั นาประสิทธิภาพและขดี สมรรถนะองค์กร
แผนย่อยที่ 3.5 การสร้างและพัฒนาบุคลากรภาครฐั
• แนวทางการพฒั นาแผนยอ่ ย
1) ปรับปรุงกลไกในการกาหนดเปูาหมายและนโยบายกาลังคนในภาครัฐให้มี
มาตรฐานและเกดิ ผลในทางปฏบิ ัตไิ ด้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
ระบบคณุ ธรรมอยา่ งแท้จริง 2) เสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารงานบุคคลในภาครัฐให้เป็นไปตาม
3) พฒั นาบคุ ลากรภาครฐั ทกุ ประเภทให้มคี วามร้คู วามสามารถสงู มีทักษะการ
คิดวเิ คราะห์และการปรับตัวใหท้ ันต่อการเปลย่ี นแปลง
• เปา้ หมายของแผนย่อย
บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการทางานเพ่ือประชาชนยึดหลักคุณธรรม
จรยิ ธรรม มจี ติ สานึก มคี วามสามารถสูง มงุ่ มนั่ และเป็นมืออาชีพ
แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรร)
สานักงานศึกษาธิการจงั หวดั กาฬสินธุ์ สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
44
• การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนย่อย
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการขับเคลื่อนการสร้างและพัฒนา
บุคลากรภาครัฐ โดยการพัฒนาทักษะดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ พัฒนาระบบงานการบริหารงาน
บุคคลของข้าราชการพลเรือนและการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือยกระดับสมรรถนะการปฏิบัติงาน
ด้วยหลักสูตรและรูปแบบท่ีหลากหลาย
(9) แผนแม่บทท่ี 21 ประเดน็ “การต่อตา้ นการทุจริตและประพฤติมชิ อบ” (รอง)
(9.1) เปา้ หมายระดบั ประเด็นของแผนแม่บทฯ
• เปา้ หมายระดับประเด็น
ประเทศไทยปลอดการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
• การบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ
สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ดาเนินการขับเคลื่อนการในประเด็น การ
ต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยพัฒนาเครือข่ายต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบให้มีส่วนร่วมจัด
กจิ กรรมรณรงค์ เฝูาระวัง และติดตามพฤติกรรมเสย่ี งการทจุ ริต
(9.2) แผนย่อยของแผนแม่บทที่ 21
แผนยอ่ ยที่ 3.1 การปอู งกนั การทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ
• แนวทางการพัฒนาแผนย่อย
1) ปลกู และปลกุ จติ สานกึ การเป็นพลเมอื งทีด่ ี มีวัฒนธรรมสุจรติ และการปลูกฝงั
และหลอ่ หลอมวัฒนธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนทุกชว่ งวยั ทกุ ระดับ
2) ส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความใสสะอาด
ปราศจากพฤติกรรมทีส่ อ่ ไปในทางทุจรติ
ปฏิบตั งิ านของเจ้าหนา้ ที่ 5) ปรับระบบงานและโครงสร้างองค์กรท่ีเอื้อต่อการลดการใช้ดุลพินิจในการ
• เป้าหมายของแผนยอ่ ย
ประชาชนมวี ฒั นธรรมและพฤติกรรมซื่อสัตยส์ ุจริต
• การบรรลเุ ป้าหมายตามแผนยอ่ ย
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการขับเคล่ือนการปูองกันการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ โดยสรา้ งเครอื ขา่ ยการตอ่ ต้านการทุจริตประพฤติมิชอบของกระทรวงศึกษาธิการ การประเมิน
คุณธรรมและความโปรง่ ใสการดาเนินงานของสว่ นราชการในสังกัดของกระทรวงศึกษาธิการ
(10) แผนแม่บทที่ 22 ประเด็น กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม (รอง)
(10.1) เปา้ หมายระดบั ประเด็นของแผนแมบ่ ทฯ
• เป้าหมายระดับประเด็นท่ี 1
กฎหมายเป็นเคร่ืองมือให้ทุกภาคส่วนได้ประโยชน์จากการพัฒนาประเทศอย่างเท่า
เทยี มและเปน็ ธรรม
• การบรรลุเปา้ หมายตามแผนแม่บทฯ
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการขับเคลื่อนการประเด็น กฎหมาย
และกระบวนการยุติธรรม โดยเร่งรัด ปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับให้สอดคล้องและ
เหมาะสมกบั บรบิ ททเ่ี ปล่ยี นแปลง
แผนปฏบิ ัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณทไี่ ด้รับจัดสรร)
สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั กาฬสินธ์ุ สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
45
(10.2) แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทท่ี 22
แผนย่อยท่ี 3.1 การพัฒนากฎหมาย
• แนวทางการพัฒนาแผนยอ่ ย
1) พฒั นากฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับ
บรบิ ทและเอ้ือต่อการพัฒนาประเทศ
2) มวี ิธีการบัญญตั กิ ฎหมายอย่างมีสว่ นรว่ ม
3) พฒั นาการบังคบั ใชก้ ฎหมาย
4) ส่งเสรมิ เทคโนโลยดี จิ ิทัลและนวัตกรรมในกระบวนการกฎหมาย
• เป้าหมายของแผนย่อย
กฎหมายไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาภาครัฐ และภาคเอกชนอยู่ภายใต้กรอบ
กฎหมายทม่ี ุ่งให้ประชาชนในวงกวา้ งไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการพัฒนาประเทศโดยทั่วถึง
• การบรรลุเป้าหมายตามแผนยอ่ ย
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการขับเคลื่อนการพัฒนากฎหมาย
โดยทบทวน ปรับปรุง แกไ้ ข กฎหมาย กฎ ระเบยี บ และข้อบงั คบั ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบททเ่ี ปล่ียนแปลง
(11) แผนแมบ่ ทที่ 23 ประเดน็ การวิจยั และพัฒนานวัตกรรม (รอง)
(11.1) เป้าหมายระดบั ประเดน็ ของแผนแมบ่ ทฯ
• เป้าหมายระดับประเดน็ ท่ี 1
ความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างฐานทางเทคโนโลยี และด้าน
โครงสรา้ งพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตรข์ องประเทศเพ่ิมสงู ข้นึ
• การบรรลเุ ป้าหมายตามแผนแมบ่ ทฯ
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการขับเคล่ือนการประเด็น การวิจัย
และพฒั นานวัตกรรม โดยพัฒนาทักษะแรงงานฝีมือตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นท่ีและภูมิภาค
และสง่ เสรมิ การวิจัยและนวตั กรรมการบริหารและจัดการศึกษา และพัฒนาบคุ ลากรวจิ ยั ทางการศึกษา
(11.2) แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทที่ 23
แผนยอ่ ยที่ 3.4 การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมด้านองคค์ วามรู้พน้ื ฐาน
• แนวทางการพัฒนาแผนย่อย
2) พัฒนาองค์ความรู้พ้ืนฐานทางสังคมและความเป็นมนุษย์
• เป้าหมายของแผนย่อย
ท่กี ้าวหนา้ ในเอเชยี ประเทศไทยมีขีดความสามารถของเทคโนโลยฐี านท้ัง 4 ด้านทัดเทียมประเทศ
• การบรรลุเปา้ หมายตามแผนยอ่ ย
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการขับเคล่ือนการวิจัยและ
นวัตกรรมด้านองค์ความรู้พ้ืนฐาน โดยมีการบริหารและจัดการศึกษา และพัฒนาบุคลากรวิจัยทางการศึกษาเพื่อ
พฒั นางานวิจัยด้านผู้เรยี น ดา้ นครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาและการวจิ ัยในเชงิ พื้นท่ี
แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร)
สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
46
(12) แผนแม่บทเฉพาะกจิ ภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าตอิ นั เป็นผลมาจากสถานการณโ์ ควิด 19
พ.ศ. 2564 – 2565
(12.1) เปา้ หมาย
(1) คนสามารถยังชีพอยู่ได้ มีงานทา กลุ่มเปราะบางได้ รับการดูแลอย่างทั่วถึง
(3) เศรษฐกิจประเทศฟืน้ ตวั เข้าสูภ่ าวะปกติ
(12.2) แนวทางการพัฒนา
(1) การเสริม สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากภายในประเทศ (Local
Economy) (1.3) การกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจไปยังหัวเมืองหลักในภูมิภาคและเมืองรอง (3) การพัฒนา
ศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคนให้เป็นกาลังหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ (Human Capital)
(3.1) การพัฒนาทักษะแรงงานและการเรียนรู้
(12.3) การบรรลคุ ่าเปา้ หมาย
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการขับเคลื่อน โดยการการส่งเสริม
เว ที แ ล ะป ร ะช าค ม เ พ่ื อก า ร จั ด ทา รู ป แ บบ แ ล ะพัฒ น า หลั กสู ตรต่ อเน่ื องเช่ื อมโยงการศึ กษาข้ั นพ้ืนฐานกั บ
อาชวี ศกึ ษาและอุดมศึกษา และพัฒนาหลักสตู รท่ีมีทักษะอาชีพสูงตามความต้องการตลาดแรงงาน
15.2.2 แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบับปรบั ปรุง)
1) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านการศกึ ษา
เปา้ ประสงค์ เพ่ือยกระดบั คุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา มุ่ง
ความเปน็ เลิศและสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการ
ใช้ทรัพยากร เพิม่ ความคล่องตวั ในการรองรับความหลากหลาย ของการจัดการ ศึกษาและสร้างเสริมธรรมภิบาล ซ่ึง
ครอบคลมุ การปฏริ ูปการเรียนรตู้ ลอดชีวติ
ความสอดคล้องของการปฏิรูปประเทศดา้ นการศึกษากับยุทธศาสตรช์ าติ
1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ 4.2 การ
พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ข้อ 4.3 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงใน
ศตวรรษท่ี 21 ขอ้ 4.4 การตระหนักถึงพหปุ ัญญาของมนุษยท์ ี่หลากหลาย
2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ข้อ 4.1 การลด
ความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ ข้อ 4.2 การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม
และเทคโนโลยี ข้อ 4.3 การเสริมสรา้ งพลังทางสงั คม
ความสอดคลอ้ งของการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษากบั แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ
1. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
1.1 เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมากข้ึน 1.2 วัยเรียน/วัยรุ่น
มีความรู้ และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสานึกพลเมือง มีความกล้า
หาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่าง
มีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีขึ้น 1.3 แรงงานมีศักยภาพในการเพิ่มผลผลิต มีทักษะอาชีพสูง ตระหนักในความสาคัญ
ท่ีจะพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ สามารถปรับตัวและเรียนรู้สิ่งใหม่ตามพลวัตของโครงสร้างอาชีพและความ
ต้องการของตลาดแรงงานเพ่ิมข้ึน 1.4 มีคนไทยที่มีความสามารถและผู้เช่ียวชาญต่างประเทศเข้ามาทา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในอุตสาหกรรมเปูาหมายเพิ่มขึ้น 1.5 ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี
มีความมั่นคงในชีวิต มีทักษะการดารงชีวิต เรียนรู้พัฒนาตลอดชีวิต มีส่วนร่วมในกิจกรรมสังคม สร้างมูลค่า
เพม่ิ ใหแ้ กส่ งั คมเพ่มิ ขนึ้
แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรร)
สานกั งานศึกษาธิการจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
47
2. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ 2.1 คนไทยได้รับ
การศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จ้าเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถ
เข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตดีขนึ้
3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นพลังทางสังคม 3.1 ประชากรไทยมีการ
เตรียมการกอ่ นยามสงู อายเุ พอื่ ใหส้ งู วัยอยา่ งมคี ณุ ภาพเพิ่มขน้ึ
กจิ กรรม Big Rock ด้านการศกึ ษา ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏริ ูป
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเก่ยี วข้องกิจกรรมปฏิรูปท่ี 1 - 3
กิจกรรมปฏิรูปท่ี 1 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาต้ังแต่ระดับปฐมวัย
(หนว่ ยรบั ผดิ ชอบหลกั : กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา)
กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อ
ตอบสนองการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 (หน่วยรับผดิ ชอบหลัก : กระทรวงศึกษาธกิ าร)
กิจกรรมปฏิรูปท่ี 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาให้มีคณุ ภาพมาตรฐาน (หน่วยรบั ผดิ ชอบหลัก : กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม)
ภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีส่วนเกี่ยวข้องและสนับสนุนในข้ันตอน
ของกจิ กรรมปฏิรูปที่ 1, 2 และ 3 ดงั นี้
กิจกรรมปฏิรูปที่ 1 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาต้ังแต่ระดับปฐมวัย
(กองทุนเพือ่ ความเสมอภาคทางการศึกษา)
เปา้ หมายและตัวช้ีวดั ของกจิ กรรมปฏริ ูป
เปูาหมาย (1) เดก็ ปฐมวยั ชว่ งก่อนวยั เรียน (3-5 ปี) ทุกคน โดยเฉพาะอย่างย่ิง ผู้ขาดแคลนทุน
ทรพั ย์ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการจากสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีมีคุณภาพตาม
มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ และได้รับโอกาสทางการศึกษาท้ังใน และนอกระบบการศึกษา
รวมถงึ ระบบการศึกษาซึง่ จดั การโดยครอบครัวหรือกลุ่มของครอบครัวจนสาเร็จการศึกษาข้ันพื้นฐาน หรือระดับสูง
กว่าอยา่ งเสมอภาค ตามศกั ยภาพและความถนัด
ตัวช้ีวัด (1) อัตราการเข้าเรียนสุทธิ (Net Enrollment Ratio) ระดับก่อนวัยเรียน ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 ระดับประถมศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ระดับอุดมศึกษาหรือเทียบเท่าไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 35 ในปี 2565
กิจกรรมปฏิรูปท่ี 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อ
ตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 (กระทรวงศึกษาธกิ าร)
เปา้ หมายและตัวช้ีวดั ของกิจกรรมปฏริ ูป
เปาู หมาย (1) ผูเ้ รยี นทกุ ระดบั เป็นผู้มีความรู้ ทักษะและใฝุเรียนรู้ มีทักษะในการดารงชีวิตใน
โลกยคุ ใหม่ รเู้ ท่าทันการเปลยี่ นแปลงของสังคมและโลก เป็นพลเมืองที่ต่ืนรู้ มีความรับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ
(2) ครู/อาจารย์มีสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย การออกแบบการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ มีจิตวิทยาการเรียนรู้ ส่ือและการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ตามสภาพจริง มีความศรัทธาในวิชาชีพและความเป็นครู (3) ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหาร
การศึกษามีสมรรถนะในการ บริหารงานวิชาการ และการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย ด้านหลักสูตร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพ จริง
การนิเทศการจัดการเรียนรู้ มีภาวะผู้นาทางวิชาการมีจิตวิทยาในการส่งเสริมและสร้างขวัญกาลังใจในการ
แผนปฏบิ ัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ด้รบั จดั สรร)
สานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั กาฬสินธุ์ สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
48
จัดการเรียนรู้ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในการร่วมมือกับบุคคล หน่วยงานและชุมชนในการส่งเสริมและสร้าง
ระบบนเิ วศการเรยี นรูท้ ป่ี ลอดภัยสาหรบั ผูเ้ รียน
ตัวช้ีวัด (3) ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนแบบถักทอความรู้ ทักษะ
เจตคติค่านิยม และคุณลักษณะผู้เรียนเข้าด้วยกัน แบบ Active Learning ในทุกระดับการศึกษา (4) ระบบการ
ประเมนิ ผลลพั ธ์ผเู้ รียนมีความหลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เป็นรายบุคคล (personalized learning) และ
สามารถสะทอ้ นสมรรถนะของผูเ้ รียนได้ตามบริบทของสถานศึกษา ลดสัดส่วนของการนาผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน
ในระดับชาติ มาใช้ในการพจิ ารณาประเมินผลของครูและผู้บริหาร สถาบนั การศึกษา
กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐาน (กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม)
เป้าหมายและตัวชี้วัดของกจิ กรรมปฏิรปู
เปูาหมาย (1.2) กลไกและระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสายสามัญศึกษา
และสายอาชีวศกึ ษา ใหม้ คี ุณภาพ ประสทิ ธภิ าพ และมคี วามกา้ วหนา้ ในการประกอบอาชีพ
ตวั ช้วี ัด (4) มีกรอบมาตรฐานสมรรถนะวชิ าชีพครทู ้ังสายสามัญศึกษาและสายอาชีวศึกษาฯ
และการวเิ คราะห์และพฒั นาสมรรถครูและบุคลากรทางการศึกษาตามความต้องการจาเป็น (6) มีการปรับปรุง
ระบบกลไกการเลื่อนวิทยฐานะครู โดยนาผลการประเมินสมรรถนะเป็นส่วนสาคัญในการเลื่อนวิทยฐานะและ
การปรับปรงุ คา่ ตอบแทนทเ่ี หมาะสม
2) แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ดา้ นการบริหารราชการแผน่ ดิน (รอง)
เป้าประสงค์ เพ่ือให้ความสาคัญในการเตรียมความพร้อมเผชิญกับการเปล่ียนแปลง ในทุก
มิตแิ ละรองรบั ผลกระทบของสถานการณช์ วี ิตวิถีใหม่ และทศิ ทางทกี่ าหนดไวต้ ามยุทธศาสตร์ชาติ
กิจกรรม Big Rock ด้านการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ประกอบดว้ ย 5 กจิ กรรมปฏิรปู
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเก่ียวข้องทงั้ 4 กิจกรรมปฏิรปู
(1) ปรบั เปล่ยี นรูปแบบการบรหิ ารงานและการบริการภาครฐั ไปสู่ระบบดจิ ิทลั
(2) จัดโครงสร้างองค์กร และระบบงานภาครัฐให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัวและ
เปล่ียนแปลงไดต้ ามสถานการณ์
(3) ปรับเปล่ยี นการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐสู่ระบบเปิด เพื่อให้ได้มาและรักษาไว้
ซง่ึ คนเกง่ ดี และมคี วามสามารถอย่างคลอ่ งตวั ตามหลกั คุณธรรม
(4) สรา้ งความเข้มแขง็ ในการบริหารราชการในระดบั พ้ืนที่ โดยการมีสว่ นรว่ มของประชาชน
3) แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ดา้ นกฎหมาย (รอง)
เป้าประสงค์ เพื่อให้เกิดผลอันพึงประสงค์ในการมีกฎหมายท่ีดีและมีเพียงเท่าที่จาเป็น
ตามหลกั การของมาตรา 258 ค. ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
กจิ กรรม Big Rock ด้านกฎหมาย ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏิรปู
สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเก่ยี วข้องกิจกรรมปฏริ ปู ที่ 1
(1) มีกลไกยกเลิกหรือแก้ไขปรบั ปรงุ กฎหมายท่ีสร้างภาระหรือเป็นอุปสรรคต่อการดารง ชีวิต
หรอื การประกอบอาชีพของประชาชน เพ่อื ขับเคลื่อนให้เกิดผลอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเปน็ รูปธรรม
4) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (รอง)
เปา้ ประสงค์ เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม ไดร้ ับการดูแล รักษาและฟื้นฟู อย่าง
เปน็ ระบบ มีประสทิ ธิภาพและมีความสมบูรณ์ย่ังยืน เป็นฐานการพัฒนาประเทศท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม
พร้อมท้ังเกิดความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ลดความขัดแย้งของการพัฒนาท่ีใช้ฐาน
แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไี่ ด้รับจดั สรร)
สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
49
ทรัพยากรธรรมชาติ บรรเทาผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและลดภัยพิบัติทางธรรมชาติ และมีระบบบริหารจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมทมี่ ีประสิทธภิ าพบนพนื้ ฐานการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนตามแนวทางประชารฐั
กจิ กรรม Big Rock ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ประกอบด้วย 4 กิจกรรมปฏริ ปู
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกี่ยวข้องกิจกรรมปฏริ ปู ท่ี 2
(2) การบริหารจดั การเขตทางทะเลและชายฝง่ั รายจงั หวดั (บรรจุในหลกั สูตรการศกึ ษาฯ)
9) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ
ประพฤติมชิ อบ (รอง)
เป้าประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ ให้มีการส่งเสริม สนับสนุน และให้
ความรู้แก่ประชาชนเก่ียวกับการทุจริตประพฤติมิชอบ และให้มีมาตรการควบคุม กากับ ติดตามการบริหาร
จดั การของหนว่ ยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะการปฏบิ ัติหน้าท่ดี ว้ ยความซอ่ื สตั ย์สุจริตของบุคลากรใช้
ดุลยพินิจโดยสุจริต ภายใต้กรอบธรรมาภิบาลและการกากับกิจการที่ดีอย่างแท้จริง รวมถึงการเปิดเผยข้อมูล
ขา่ วสารภาครฐั ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบไดแ้ ละสนบั สนุนแนวรว่ มปฏิบัติของภาคเอกชนในการ
ต่อตา้ นการทุจรติ เพอื่ ขจัดปัญหาการทจุ ริตท่ีเก่ยี วข้องกบั การติดต่อกับหน่วยงานภาครัฐ
กิจกรรม Big Rock ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ประกอบด้วย 5 กจิ กรรมปฏิรูป
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเก่ยี วข้องกิจกรรมปฏริ ูปที่ 4
(4) พฒั นาระบบราชการไทยให้โปร่งใส ไร้ผลประโยชน์
15.2.3 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12
1) วัตถปุ ระสงค์
1.1) เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย
ค่านยิ มท่ดี ี มจี ติ สาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่ง
ทม่ี ที กั ษะความร้คู วามสามารถและพฒั นาตนเองได้ต่อเน่ืองตลอดชวี ติ
1.2) เพ่ือให้คนไทยมีความม่นั คงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รบั ความเป็นธรรม ในการ
เข้าถึงทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมท้ังชุมชน มีความ
เขม้ แข็งพึ่งพาตนเองได้
1.3) เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน สร้างความ
เข้มแข็งของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมที่เข้มข้นมากขึ้น สร้างความ
เขม้ แขง็ ของเศรษฐกจิ ฐานราก และสร้างความม่นั คงทางพลงั งาน อาหาร และนา้
1.4) เพ่ือรักษาและฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถ
สนับสนนุ การเตบิ โตท่ีเป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ มและการมคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดีของประชาชน
1.5) เพอื่ ให้การบรหิ ารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และมีการทางาน
เชิงบูรณาการของภาคกี ารพฒั นา
1.6) เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อ
รองรบั การพัฒนายกระดับฐานการผลิตและบริการเดมิ และขยายฐานการผลิตและบริการใหม่
2) เป้าหมายรวม (สอดคล้อง 5 ข้อ)
2.1) คนไทยมีคุณลักษณะเปน็ คนไทยทส่ี มบรู ณ์
2.2) ความเหลื่อมล้าทางด้านรายได้และความยากจนลดลง
2.3) ระบบเศรษฐกิจมคี วามเขม้ แขง็ และแขง่ ขนั ได้
แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณทีไ่ ด้รับจัดสรร)
สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดกาฬสนิ ธุ์ สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
50
2.4) ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดลอ้ ม มีความมัน่ คงทางอาหาร พลงั งาน และนา้
2.6) มีระบบบริหารจัดการภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้
กระจายอานาจและมีสว่ นร่วมจากประชาชน
3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
3.1) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสรมิ สร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนษุ ย์ (หลัก)
3.1.1) เป้าหมายระดับยุทธศาสตร์ (1) คนไทยส่วนใหญ่มีทัศนคติและพฤติกรรมตาม
บรรทัดฐานท่ีดีของสังคมเพิ่มขึ้น (2) คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ และความสามารถเพ่ิมข้ึน (3) คน
ไทยไดร้ บั การศึกษาที่มคี ุณภาพสูงตามมาตรฐานสากล และสามารถเรียนรดู้ ้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง
3.1.2) แนวทางการพัฒนา
(1) ปรับเปล่ียนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดย (1.2) ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรก
คุณธรรม จรยิ ธรรม ความมวี นิ ัย จติ สาธารณะ
(2) พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้ และความสามารถในการดารงชีวิต
อย่างมีคุณค่า โดย (2.1) ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะทางสมองและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม (2.2)
พฒั นาเดก็ วัยเรยี นและวยั รนุ่ ใหม้ ที กั ษะการคดิ วเิ คราะหอ์ ย่างเป็นระบบ มีความคิดสร้างสรรค์ มที กั ษะการทางานและ
การใช้ชีวิตท่ีพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน (2.3) ส่งเสริมแรงงานให้มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพท่ี
เป็นไปตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
(3) ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดย (3.6) จัดทาสื่อการ
เรยี นรทู้ ีเ่ ปน็ สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์และสามารถใชง้ านผา่ นระบบอุปกรณส์ ่ือสารเคล่อื นที่ ให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึง
ได้ง่าย สะดวก ท่ัวถึง ไม่จากัดเวลาและสถานที่ (3.7) ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิง
สรา้ งสรรคแ์ ละมชี ีวิต
4) ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสร้างความเปน็ ธรรมและลดความเหล่ือมล้าในสงั คม (รอง)
4.1 เป้าหมายระดบั ยทุ ธศาสตร์ (2) เพ่ิมโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของ
ภาครัฐ (3) เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็ง เพ่ือให้ชุมชนพึ่งพาตนเองและได้รับ
ส่วนแบ่งผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ มากขึน้
4.2 แนวทางการพัฒนา (1) เพิ่มโอกาสให้กับกลุ่มเปูาหมายประชากร ร้อยละ 40
ที่มีรายได้ต่าสุดให้สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพของรัฐ และมีอาชีพ โดย (1.1) ขยายโอกาสการเข้าถึง
การศึกษาที่มีคุณภาพให้แก่เด็กและเยาวชนที่ด้อยโอกาสทางการ ศึกษาอย่างต่อเน่ือง โดยไม่ถูกจากัดศักยภาพจาก
สภาพครอบครัว พื้นท่ี และสภาพร่างกาย (2) กระจายการให้บริการภาครัฐทั้งด้านการศึกษา สาธารณสุข และ
สวัสดิการที่มีคุณภาพให้ครอบคลุมและทั่วถึง โดย (2.1) ส่งเสริมให้มีการกระจายการบริการด้านการศึกษาท่ีมี
คุณภาพให้มีความเท่าเทียมกันมากข้ึนระหว่างพ้ืนท่ี (3) เสริมสร้างศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
และการสร้างความเข้มแข็งการเงินฐานรากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือให้ชุมชนสามารถพึ่งพา
ตนเองได้ โดย (3.3) พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ส่งเสริมการประกอบอาชีพของผู้ประกอบการระดับชุมชน การ
สนับสนนุ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
5) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การเติบโตทเ่ี ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อมเพือ่ การพฒั นาอย่างย่ังยืน (รอง)
5.1) เป้าหมายระดับยุทธศาสตร์ (3) สร้างคุณภาพส่ิงแวดล้อมที่ดี ลดมลพิษ และลด
ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของ ประชาชนและระบบนิเวศ (การจดั การขยะมลู ฝอยและของเสยี อันตราย)
แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ไดร้ ับจดั สรร)
สานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดกาฬสินธ์ุ สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
51
5.2) แนวทางการพัฒนา (4) ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
(4.4) สร้างแรงจงู ใจเพ่อื ใหเ้ กดิ การปรบั เปลี่ยนไปสู่การบรโิ ภคทย่ี ัง่ ยนื สรา้ งความตระหนกั รู้ของผู้บรโิ ภค โดยใหข้ ้อมูล
ที่ถกู ตอ้ งพอเพยี ง เสรมิ สรา้ งทศั นคตใิ นการดารงชวี ิตใหเ้ ป็นวถิ ชี วี ติ ทพ่ี อเพยี งและย่ังยืน เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ดว้ ยการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ
6) ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความม่ัง
ค่ังและยัง่ ยืน (รอง)
6.1 เป้าหมายระดับยุทธศาสตร์ (1) ปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็น
สถาบันหลักของประเทศ (2) สังคมมีความสมานฉันท์ ผู้เห็นต่างทางความคิดของคนในชาติสามารถอยู่ร่วมกันได้
อย่างสันติ ประชาชนมีส่วนร่วมปูองกันแก้ไขปัญหาความม่ันคง (3) ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความ
ปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน มีโอกาสในการศึกษาและการประกอบอาชีพทีส่ รา้ งรายไดเ้ พิ่มขึน้
6.2) แนวทางการพฒั นา (1) การรกั ษาความมน่ั คงภายในเพอ่ื ใหเ้ กิดความสงบในสังคมและ
ธารงไวซ้ ่ึงสถาบันหลกั ของชาติ (1.1) สรา้ งจิตสานกึ ของคนในชาติให้มีความหวงแหน และธารงรักษาสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์ (1.2) เสริมสร้างความปรองดองของคนในชาติ ปลูกฝังค่านิยมและเสริมสร้างความรู้ความ
เขา้ ใจของการอย่รู ่วมกนั บนพนื้ ฐานความแตกตา่ งทางความคิด ภายใต้สิทธิและหน้าท่ีตามระบอบประชาธิปไตย (1.3)
ปูองกันและแกไ้ ข ปญั หาความไมส่ งบในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้โดยกระบวนการ สันติสุขแนวทางสันติวิธี ลดความ
รนุ แรงตามยทุ ธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เขา้ ถงึ พัฒนา”
7) ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ
และธรรมาภิบาลในสังคมไทย (รอง)
7.1) เป้าหมายระดับยุทธศาสตร์ (1) ลดสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรและเพิ่ม
ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการของภาครัฐ และประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจของประเทศ (3)
เพิม่ คะแนนดชั นกี ารรับรู้การทุจรติ ให้สงู ขน้ึ
7.2) แนวทางการพัฒนา (1) ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน บทบาท ภารกิจ และคุณภาพ
บุคลากรภาครัฐ ให้มีความโปร่งใส ทันสมัย คล่องตัว มีขนาดท่ีเหมาะสม เกิดความคุ้มค่า โดยกาหนดภารกิจ
ขอบเขต อานาจหน้าท่ีของราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และท้องถ่ิน ให้ชัดเจนและไม่ซ้าซ้อน (3)
เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับการให้บริการสาธารณะให้ได้มาตรฐานสากล โดยปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ
ภายในองคก์ ร (5) ปูองกันและปราบปราม การทจุ ริตและประพฤติมิชอบ โดยปอู งกันการทจุ รติ
8) ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานและระบบโลจิสติกส์ (รอง)
8.1) เป้าหมายระดับยุทธศาสตร์ (5) การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล สร้างผู้ประกอบการ
ธรุ กจิ ดจิ ทิ ัลรายใหม่เพ่มิ ข้ึน
8.2) แนวทางการพัฒนา (5) การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล (5.2 ) ส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยีดจิ ิทัล ในการสรา้ งมูลคา่ เพิ่มทางธรุ กจิ โดยส่งเสริมการพัฒนาผปู้ ระกอบการให้ปรับเปล่ียน รูปแบบการทา
ธุรกิจให้เป็นระบบดิจิทัล โดยจัดทาแพลตฟอร์ม (Platform) ธุรกิจดิจิทัลในภาคเกษตร ส่งเสริมธุรกิจของ
ผู้ประกอบการดจิ ิทัลรุ่นใหม่ (Startup) ผูป้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกจิ ชุมชน
9) ยุทธศาสตร์ท่ี 8 การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม
9.1) เปูาหมายระดับยุทธศาสตร์ (1) เพ่ิมความเข้มแข็งด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยขี องประเทศ (จานวนบุคลากรดา้ นการวจิ ัยและพัฒนาเพม่ิ เปน็ 25 คน ต่อประชากร 10,000 คน)
9.2 แนวทางการพัฒนา (3) พัฒนาสภาวะแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วจิ ัย และนวตั กรรม (3.1) ด้านบุคลากรวจิ ัย
แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไี่ ด้รับจดั สรร)
สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
52
10) ยุทธศาสตร์ท่ี 10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา (รอง)
10.1) เป้าหมายระดับยุทธศาสตร์ 4) ประเทศไทยเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาที่สาคัญ
ท้งั ในทกุ ระดับ
10.2) แนวทางการพัฒนา 6) สร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับประเทศ ในอนุ
ภูมิภาค ภมู ภิ าค และนานาประเทศ 6.1) เพมิ่ บทบาทและการมสี ่วนรว่ มของไทยในองค์การระหว่างประเทศใน
การผลักดัน การพัฒนาในอนุภูมิภาค และภูมิภาค รวมท้ังประเทศกาลังพัฒนาในภูมิภาคอ่ืนๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ในเรอ่ื ง การขบั เคลื่อนการพัฒนาตามเปาู หมาย การพฒั นา ท่ีย่ังยืน การแก้ปัญหาความยากจนและความเหลื่อม
ล้า การสร้างโอกาสและทยี่ ืนในสงั คมแก่ผู้ด้อยโอกาส สตรี และผู้สูงอายุ การบริหารจัดการภัยพิบัติ การสร้าง
ความม่ันคงด้านพลังงาน อาหารและนา้ และการลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก
15.2.4 นโยบายและแผนระดับชาติว่าดว้ ยความมน่ั คงแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 – 2565
นโยบายความม่ันคงแห่งชาติที่ 1 : เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและ
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข
1) แผนระดับชาติว่าดว้ ยความมั่นคงแห่งชาติ รองรับนโยบายท่ี .1- 16
2) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สถาบันพระมหากษัตริย์ภายใต้การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้รับการธารงรักษาด้วยการปกปูอง เชิดชูเทิดทูนอย่างสม
พระเกยี รติ
3) ตัวช้ีวัด (1) ระดับประสิทธิภาพในการพิทักษ์รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ (2) ระดับ
ความเข้าใจของทกุ ภาคสว่ นเกีย่ วกบั สถาบนั พระมหากษัตริย์
4) กลยุทธ์ที่ (2) ส่งเสริมทุกภาคส่วนในสังคมรวมถึงชุมชนไทยในต่างประเทศให้ตระหนักรู้
และเข้าใจถึงบทบาทและคุณค่าของสถาบันพระมหากษัตริย์ ในฐานะศูนย์รวมจิตใจของชาติ รวมถึงสร้างความ
เข้าใจถึงหลักการ เหตุผล และความจาเป็นในการพิทักษ์รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ (3) นาศาสตร์พระราชา
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้เพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน รวมถึงขยายผลตามโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดาริและแบบอย่างที่ทรงวางรากฐานไว้พร้อมทั้งเผยแพร่ผลการดาเนินงานให้แพร่หลาย
เป็นทปี่ ระจักษ์ทั้งในและต่างประเทศ
นโยบายที่ 2 : สร้างความเป็นธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันท์ในชาติ
1) แผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ “แผนท่ี 6 : การสร้างความสามัคคี
ปรองดอง”
2) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ยึดมั่นในหลักนิติรัฐ
และแนวทางสันติวิธี
3) ตวั ชี้วัด (1) ระดบั การอยูร่ ว่ มกันอย่างสมานฉันท์ในสังคมไทย
4) กลยุทธ์ท่ี (2) ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความสามัคคีปรองดองในทุกระดับ โดยเน้นสร้าง
ความรู้ ความเข้าใจในการดาเนนิ การภาครัฐ และสนบั สนุนการเขา้ มามสี ่วนรว่ มของภาคประชาชนในการร่วมกาหนด
แนวทางการสร้างความสามคั คีปรองดอง
นโยบายท่ี 3 : ป้องกันและแกไ้ ขการก่อเหตุรนุ แรงในจงั หวัดชายแดนภาคใต้
1) แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ “แผนที่ 7 : แผนการปูองกันและ
แก้ไขปัญหาการก่อเหตรุ ุนแรงในพน้ื ท่จี งั หวดั ชายแดนภาคใต้”
2) เปา้ หมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์ : ประชาชนในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยใน
ชวี ติ และทรัพย์สินและอยู่ร่วมกันอย่างสันตสิ ุข
แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ไดร้ บั จดั สรร)
สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
53
3) ตวั ช้ีวัด (1) จานวนเหตุการณค์ วามรุนแรงในพืน้ ท่ชี ายแดนภาคใต้
4) กลยุทธ์ท่ี (1) บูรณาการการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐให้เป็นระบบ มีเอกภาพ
และเปดิ โอกาสให้ภาคประชาชนมีสว่ นร่วม โดยน้อมนายุทธศาสตร์พระราชทาน “เขา้ ใจ เข้าถึง พัฒนา” หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ ซงึ่ เปน็ ศาสตร์พระราชาเป็นหลกั ในการปฏิบัติ รวมทั้งให้ความสาคัญกับการ
ดาเนนิ งาน ดว้ ยหลกั ธรรมาภิบาล พฒั นาองค์ความรู้นาหลกั วิชาการสากลมาประยุกต์ ใชใ้ นการแก้ไขปญั หา ตลอดจน
ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้บรรลุผลสัมฤทธ์ิโดยตรงต่อสาเหตุหลักของปัญหา
(5) สง่ เสริมสภาวะแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื อานวยต่อการสร้างสันติสขุ โดยยึดมั่นแนวทางสันติวิธี และสร้างความเข้าใจให้ภาค
ส่วนต่างๆ ภายในประเทศ รวมทั้งภาคประชาสังคมในพ้ืนท่ี ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ การเฝูาระวังแนวคดิ สุดโต่งท่ีเผยแพร่สู่กลุ่มผู้ปกครอง ครอบครัว สตรี เยาวชน ทั้งในและนอกสถานศึกษาซ่ึง
อยู่ในพื้นที่ นอกพ้ืนท่ี และในต่างประเทศอย่างท่ัวถึง ตลอดจนส่งเสริมให้มีการจัดระบบการศึกษาท่ีเก้ือหนุนให้เกิด
สภาวะสนั ติสขุ
นโยบายท่ี 5 : สร้างเสรมิ ศกั ยภาพการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามขา้ มชาติ และนโยบาย
ที่ 8 : เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ และภูมิคุ้มกันความมัน่ คงภายใน
1) แผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ “แผนที่ 10 : แผนการปูองกันและ
ปราบปรามยาเสพตดิ ”
2) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : การแพร่ระบาดของยาเสพติดลดลงและสังคมไทยมี
ความปลอดภยั จากยาเสพติด
3) ตัวช้วี ดั (1) ระดบั ความสาเร็จในการปอู งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
4) กลยุทธ์ที่ (4) รณรงค์ให้เด็ก เยาวชน ผู้ใช้แรงงานและประชากรกลุ่มเสี่ยง
ตระหนกั รถู้ ึงโทษของยาเสพติด เพื่อปูองกันการเข้าไปยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาค
ส่วนในการเฝาู ระวังและแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในระดับพ้นื ที่ โดยใช้กลไกประชารฐั
นโยบายที่ 9 : เสริมสร้างความมน่ั คงของชาตจิ ากภัยการทุจรติ
1) แผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ “แผนที่ 11 : แผน การเสริมสร้างความ
ม่นั คง ของชาติจากภยั ทจุ ริต”
2) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : หน่วยงานภาครัฐมีระบบปูองกันและแก้ไขการทุจริต
รวมท้ังประชาชนไม่เพิกเฉยต่อการทุจริตของหน่วยงานภาครัฐ 3) ตัวชี้วัด (1) ค่าดัชนีชี้วัดการรับรู้การทุจริต
(Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย (2) ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้าน
การทุจริต
4) กลยุทธ์ท่ี (4) รณรงค์ให้ความรู้แก่ทุกภาคส่วนถึงภัยทุจริต เพื่อสร้างค่านิยมต่อต้าน
และปฏิเสธการทจุ ริต
นโยบายที่ 10 : เสรสิ ร้างความมนั่ คงปลอดภยั ไซเบอร์
1) แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ “แผนท่ี 15 : การปูองกันและแก้ไขปัญหา
ความมัน่ คงทางไซเบอร์
2) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : ประเทศไทยมีความมั่นคงปลอดภัยและมีความพร้อม
ในการรับมือกบั ภยั คกุ คามทางไซเบอร์
3) ตัวช้ีวัด (2) ระบบปูองกันทางไซเบอร์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถ ปกปูองข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ของรฐั บาล ตลอดจนโครงสรา้ งพ้นื ฐานสาคญั ดา้ นไซเบอร์
4) กลยุทธ์ที่ (3) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ องค์ความรู้ และความตระหนักรู้ถึงความสาคัญ
ของภัยคกุ คามความม่นั คงทางไซเบอร์
แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทไ่ี ด้รบั จดั สรร)
สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
54
๑6. บทบาทและหน้าที่ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัด
ตามคาส่ังคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 ลงวันท่ี 3 เมษายน 2560 ข้อ 11 ให้มี
สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการเพื่อปฏิบัติภารกิจ
ของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษาตามท่ีกฎหมายกาหนดการปฏิบัติราชการ
ตามอานาจหน้าที่ นโยบาย และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต่างๆ ท่ีมอบหมายและให้มีอานาจหน้าท่ีในเขต
จงั หวัด ดังต่อไปนี้
1) รับผิดชอบงานธรุ การของ กศจ. อกศจ. คณะอนุกรรมการบรหิ ารราชการเชิงยุทธศาสตร์
คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา คณะอนุกรรมการและคณะทางาน รวมทั้งปฏิบัติงานราชการ
ทเี่ ปน็ ไปตามอานาจและหน้าที่ของ กศจ. และตามที่ กศจ. มอบหมาย
2) จดั ทาแผนพัฒนาการศึกษาและแผนปฏิบตั กิ าร
3) สัง่ การ กากบั ดูแล เรง่ รดั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของสว่ นราชการหรือ
หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ ารให้เปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
4) จดั ระบบ ส่งเสรมิ และประสานงานเครอื ขา่ ยขอ้ มลู สารสนเทศและเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพื่อการศกึ ษา
5) ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การศึกษาเพ่ือคนพกิ าร ผู้ดอ้ ยโอกาส และผมู้ ีความสามารถพิเศษ
6) ดาเนินงานเกี่ยวกบั การบริหารงานบุคคลของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
7) ส่งเสรมิ สนับสนนุ และดาเนินการเก่ียวกบั งานด้านวิชาการ การนิเทศ และแนะแนวการศึกษา
ทุกระดับและทุกประเภท รวมทงั้ ตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบรหิ ารและการจัดการศึกษา
8) ดาเนนิ การเกย่ี วกบั การตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบญั ชีของส่วนราชการหรอื
หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
9) สง่ เสริมและประสานงานการศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม และการกฬี าเพ่ือการศึกษา
10) ส่งเสรมิ สนบั สนุน และดาเนนิ การเกย่ี วกบั การจัดการศกึ ษาเอกชน
11) ปฏิบตั ภิ ารกิจตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการหรือตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย รวมทั้ง
ปฏบิ ัตภิ ารกจิ เกยี่ วกับราชการประจาท่ัวไปของกระทรวงศึกษาธกิ าร และประสานงานตา่ ง ๆ ในจงั หวดั
17. ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดกาฬสินธุ์
สรปุ ผลการวิเคราะห์ ปัจจัยภายใน
จดุ แข็ง จดุ อ่อน
โครงสร้าง (Structure) มีหนว่ ยงานทางการศกึ ษา และมกี าร ขาดการบูรณาการ การเชือ่ มโยงระหวา่ ง
S1 บรหิ ารจดั การชัดเจน หน่วยงานในจังหวดั กาฬสินธ์ุ
การบริการ (services) การบริการทางการศึกษาสรา้ งโอกาส การบริการทางการศึกษาบางพน้ื ท่ีไมค่ รอบคลุม
S2 ในการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต ทัว่ ถึง
Man 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามี 1. มีการจดั การเรยี นรู้ยังไม่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ
(M1) จานวนเพยี งพอ/เกนิ 2. โรงเรยี นขนาดเล็กครูไม่ครบชน้ั และไมต่ รง
2. ครูไดร้ ับขวญั และกาลงั ใจ สาขา
(มวี ทิ ยฐานะ)
M0ney งบประมาณของแต่ละหนว่ ยงาน - โรงเรียนขนาดเล็กงบประมาณไม่เพียงพอ
(M2) เพียงพอ - การบรหิ ารจดั การของหนว่ ยงานไมเ่ ทา่ เทยี มกนั
Material วัสดุ อุปกรณ์ สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ - การใช้สอื่ และแหล่งเรยี นรไู้ ม่คมุ้ ค่ากับวัสดุ
(M3) เพยี งพอ อปุ กรณ์
แผนปฏบิ ัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรร)
สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
55
Method จุดแข็ง จุดอ่อน
(M4)
แตล่ ะหนว่ ยงานมรี ะบบการบรหิ าร -กระบวนการจัดการเรยี นรไู้ มส่ ะท้อนคุณภาพ
จัดการตามระบบราชการทดี่ ีและ ของผู้เรียน
ชดั เจน -การบริหารต้องการความโปร่งใส
-คิดสร้างสรรค์
สรปุ ผลการวิเคราะห์ ปัจจยั ภายนอก
โอกาส อปุ สรรค
สังคม(Social) -มเี อกลักษณแ์ ละอตั ลกั ษณ์ ทชี่ ดั เจน 1. คา่ นิยมของผูป้ กครองไมส่ ง่ เสริมให้บุตรหลาน
เรยี นต่อท่ีจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
วฒั นธรรม (culture) เชน่ แพรวา โปงลาง วฒั นธรรมภูไท 2. ไมส่ ่งเสรมิ ให้ลกู หลานเรยี นตอ่ สายอาชพี
-คา่ นิยมความเชื่อตอ่ ระบบราชการ/ผู้
อาวุโส/ผู้มกี ารศึกษา
Technology ทุกหน่วยงาน/สถานศึกษา มีเครอื ขา่ ย 1. การพฒั นานวัตกรรม หรอื เทคโนโลยที ีใ่ ชใ้ น
เทคโนโลยี ในการจัดการศกึ ษา การสอื่ สารไมค่ รอบคลุมและไมท่ ่ัวถงึ
2. การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยไี ดป้ ระโยชน์
ไม่ค้มุ ค่า
Economy เป็นแหล่งตน้ กาเนดิ ของโครงการใน จังหวัดกาฬสนิ ธุเ์ ป็นจงั หวัดทย่ี ากจน
พระราชดารขิ องรัชการที 9 ศาสตร์
Legal พระราชา อุโมงค์ผนั นา้ ลาพะยงั แกม้ ลิง 1. การปฏบิ ตั ิตามกฎหมายไมเ่ คร่งครัด
Politics ข้าวเขาวง ผา้ ไหมแพรวา ทอ่ งเทยี่ ว ภมู ิ 2. การเลือกปฏิบตั ิ
Environment ปญั ญาท้องถนิ่ เป็นแหล่งไดโนเสาร์ มี การนานโยบายลงสู่การปฏิบัติ
ความอดุ มสมบรู ณ์ แหลง่ เรยี นรู้เกิดมลภาวะ เน่อื งจากอยู่ใกล้
มีกฎหมายทเ่ี ออื้ ต่อการบริหารจดั การ โรงงานอุตสาหกรรม (โรงนา้ ตาล แปงู มนั )
จงั หวดั กาฬสนิ ธ์เุ ปน็ จงั หวัดนารอ่ ง
แก้ปญั หาความยากจน
มีโรงงานอุตสาหกรรม รองรบั ผเู้ รยี นที่
จบสายอาชพี
แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ไดร้ ับจัดสรร)
สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั กาฬสินธุ์ สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
ส่วนท่ี 3
สาระสาคญั ของแผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดกาฬสินธ์ุ
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ไดร้ บั จดั สรร)
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธ์ุ ได้ศึกษาวิเคราะห์ทบทวนบริบทที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงมีการ
ปรับเปล่ียนตามสถานการณ์ระดับประเทศ ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติ
ว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) แถลงต่อรัฐสภา
เม่ือวันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายด้านการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 นโยบายและจุดเน้น
กระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2565 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กาหนดเป็นกรอบ
แนวทางในการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
กาฬสินธ์ุ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรร) ดังนี้
วสิ ัยทศั น์
บรหิ ารจดั การศึกษาแบบบูรณาการทม่ี ีประสิทธภิ าพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผู้เรียนไดร้ บั การเรียนรู้ตลอดชวี ิตอยา่ งมีคุณภาพ และมีทักษะทจี่ าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
พนั ธกจิ
1. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การบริหารจดั การศึกษาแบบบรู ณาการ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง ทุกระดบั ทุกประเภท ทกุ สังกัด
2. สง่ เสริม สนบั สนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในจงั หวัดทกุ ระดบั ทกุ ประเภท ทุกสงั กดั
เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนมีทกั ษะการเรยี นรู้ท่ีจาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
3. ส่งเสรมิ การสรา้ งโอกาสการเข้าถึงการศึกษาของประชากรทกุ ช่วงวยั ให้ไดร้ ับการเรียนรู้ตลอดชวี ติ
อย่างทว่ั ถึงและเสมอภาค
4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การขบั เคล่อื นการศึกษาทสี่ อดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติ และเชอื่ มโยงกับ
ทิศทางการพัฒนาจังหวดั ภายใต้ยุทธศาสตร์เกษตรปลอดภัย ทอ่ งเท่ียววถิ ีใหม่ ไมท่ ้ิงใครไวข้ ้างหลงั
เป้าประสงคร์ วม
1. สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดกาฬสินธุ์ มกี ารบรหิ ารจดั การศึกษาแบบบรู ณาการ อย่างมี
ประสิทธิภาพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. ผูเ้ รยี นทุกชว่ งวัยในจงั หวดั ไดร้ บั การศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพอยา่ งท่ัวถึง เสมอภาค เรยี นรู้ตลอดชีวติ
และมีทักษะทีจ่ าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
3. ผเู้ รยี นทกุ ชว่ งวัยในจงั หวัด เป็นคนดี อยู่รว่ มกนั ได้ในสงั คมพหุวฒั นธรรม และสามารถ
ดารงชีวิตไดอ้ ย่างเป็นสุขตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทไี่ ด้รับจัดสรร)
สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
57
ประเดน็ ยุทธศาสตร์สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาการจัดการศกึ ษาเพ่อื ความม่นั คง
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาผเู้ รียนทุกชว่ งวัยใหม้ ีคุณภาพ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 สร้างโอกาส ความเสมอภาค และลดความเหลื่อมลา้ ทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 จัดการศกึ ษาเพ่ือเสรมิ สร้างคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 พัฒนารปู แบบการบริหารจดั การทม่ี ีประสิทธิภาพตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
คา่ นยิ ม “KALASIN” ความรู้
K = Knowledge สมั ฤทธผิ์ ล
A = Achievement มีเหตผุ ล
L = Logical วิชาการ
A = Academic ความยัง่ ยืน
S = Sustainable การบรู ณาการ
I = Integration เครอื ข่าย
N = Network
วัฒนธรรมองค์กร
“ตระหนักในหน้าท่ี สามคั คี มจี ติ อาสา”
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาการจดั การศกึ ษาเพ่ือความม่ันคง
เปา้ ประสงค์รายประเด็นยุทธศาสตร์ ผเู้ รยี นทกุ ช่วงวยั มคี ุณภาพ ทกั ษะ และสมรรถนะการเรยี นรู้ที่
จาเป็นในศตวรรษที่ 21 สอดคลอ้ งเหมาะสมกับการเสรมิ สร้างความมัน่ คงในแตล่ ะบรบิ ท
กลยุทธ์ 1. ปลกู ฝังคา่ นิยมและหลกั คิดที่ถกู ต้อง เพ่อื เสริมสร้างเสถียรภาพสถาบันหลัก ของชาติ
ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข น้อมนา เผยแพรศ่ าสตร์พระราชา หลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางพระราชดาริ
2. บูรณาการระบบบรหิ ารจัดการการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาภัยคุกคามรปู แบบใหม่
(ยาเสพติด , ภยั ไซเบอร์ , ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติ , โรคอบุ ัติใหม่ ฯลฯ)
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พฒั นาผู้เรียนทุกชว่ งวัยใหม้ ีคณุ ภาพ
เป้าประสงคร์ ายประเดน็ ยุทธศาสตร์ ผเู้ รียนทกุ ช่วงวยั มคี ุณภาพ ทักษะและสมรรถนะการเรยี นร้ทู ี่
จาเป็นในศตวรรษท่ี 21
กลยทุ ธ์ 1. สง่ เสริมการจดั การเรียนการสอนพัฒนากระบวนการคดิ อย่างเปน็ ระบบผ่านประสบการณ์
ตรงจากการลงมือปฏบิ ตั ิ
2. สร้างเสรมิ และพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ทส่ี มวัย ทกั ษะอาชพี และทักษะชวี ิตทีเ่ ทา่ ทันและ
สามารถอย่รู ่วมในสังคมศตวรรษที่ 21
3. พฒั นาทักษะการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและสมรรถนะทจ่ี าเป็นของผ้เู รียน ครู และ
บคุ ลากรทางการศึกษาในศตวรรษท่ี 21
4. สง่ เสริมการสรา้ งและนาแพลตฟอรม์ ดิจิทลั รองรบั การเรียนรูร้ ปู แบบใหม่
5. บูรณาการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่ีเสรมิ สรา้ งหลักคิดและทศั นคติที่ถูกต้อง ดา้ นระเบียบ
วนิ ัย คณุ ธรรมจริยธรรม จิตสาธารณะ ความเป็นพลเมือง
แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทไ่ี ด้รบั จัดสรร)
สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั กาฬสินธุ์ สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
58
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 3 สร้างโอกาส ความเสมอภาค และลดความเหลอื่ มลา้ ทางการศกึ ษา
เป้าประสงค์รายประเด็นยุทธศาสตร์ ผูเ้ รยี นทกุ ประเภท ทกุ ชว่ งวัย ได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาที่มีคุณภาพ
อย่างทัว่ ถงึ และเสมอภาคด้วยรปู แบบท่หี ลากหลาย
กลยทุ ธ์ 1. เพิม่ โอกาสทางการศกึ ษาใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเข้าถงึ การเรียนรทู้ ่มี คี ณุ ภาพ ทุกระดับ
ทกุ ประเภท ทกุ สังกดั
2. ส่งเสรมิ การพัฒนาโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน เพื่อใหผ้ ู้เรียนไดร้ บั โอกาสทางการศึกษา
ทีม่ ีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเสมอภาค
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 จดั การศึกษาเพือ่ เสริมสรา้ งคุณภาพชวี ติ ทเี่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม
เป้าประสงค์รายประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงาน สถานศกึ ษาและผู้เรยี นมีการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
อนั พึงประสงค์ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมกจิ กรรมการจัดการคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมด้วยกระบวนการมีสว่ นร่วม
2. สง่ เสรมิ กจิ กรรมยวุ เกษตรอจั ฉริยะ “อาหารดีมีรายได้”
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 5 พฒั นารูปแบบการบริหารจัดการทมี่ ปี ระสิทธภิ าพตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
เป้าประสงคร์ ายประเด็นยุทธศาสตร์ หนว่ ยงานมีระบบการบรหิ ารจัดการทมี่ ีประสิทธิภาพ ตอบสนอง
ความตอ้ งการของผู้รบั บริการไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ 1. ส่งเสรมิ และพัฒนาการนาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาประยุกต์ ใชใ้ นการบริหารจดั การ
2.พฒั นากลไกการบรหิ ารจัดการศึกษาแบบบรู ณาการ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเช่ือมโยงทุกระดบั ทุกประเภท ทุกสังกดั
3. จัดเกบ็ รวบรวมฐานขอ้ มลู และพฒั นาสารสนเทศด้านการศึกษาของจงั หวัด ใหม้ ีคุณภาพ
เชื่อมโยง เปน็ ปจั จบุ นั และทันตอ่ การใชง้ านรวมทง้ั การมสี ่วนรว่ มกับทุกภาคสว่ น
แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทไ่ี ด้รบั จัดสรร)
สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดกาฬสินธุ์ สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
แผนผงั ความเชอ่ื มโยงแผน ๓ ระดับ ของประเทศ สู่แผนปฏบิ ตั ริ
ระดับ ๑ ๑. ความมน่ั คง ๒. การสร้างความสามารถ ๓. การพฒั นาและเ
ในการแขง่ ขนั ทรพั ยาก
ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)
ระดับ ๒ 1.1 ประเด็นความมน่ั คง 2.1 ประเดน็ การพัฒนาการเกษตร 3.1 ประเด็นการปรับเ
1.2 ประเดน็ การต่างประเทศ 2.2 ประเด็นอุตสาหกรรมและบรกิ าร วฒั นธรรม
แผนแมบ่ ทภายใต้ แห่งอนาคต 3.2 ประเด็นการพฒั น
ยุทธศาสตรช์ าติ 2.3 ประเดน็ การทอ่ งเทยี่ ว ตลอดชว่ งชวี ติ
2.4 ประเด็นการพฒั นาพน้ื ทแี่ ละเมืองนา่ อยู่ 3.3 ประเด็นการพฒั น
(23 ประเด็นพฒั นา) อัจฉริยะ 3.4 ประเดน็ การเสรมิ ส
“คณะกรรมการยุทธ์ศาสตร์ชาต”ิ 2.5 ประเด็นโครงสร้างพื้นฐาน ระบบ- มสี ขุ ภาวะท่ีดี
โลจสิ ตกิ ส์ และดจิ ทิ ัล 3.5 ประเด็นการพัฒน
2.6 ประเดน็ การพัฒนาเศรษฐกิจบนพนื้ ฐาน
ผ้ปู ระกอบการยคุ ใหมแ่ ละวสิ าหกิจ
ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม
2.7 ประเดน็ เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก
2.8 ประเด็นวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม
แผนปฏิรูปประเทศ 1.1 การเสรมิ สร้างวฒั นธรรมทางการเมือง 1.1 การเสรมิ สรา้ งวัฒ
และการมสี ว่ นรว่ มของ
๑ = ด้านการเมอื ง และการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระ
๒ = ด้านการการบริหารราชการแผ่นดิน ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็น ประมุข
๓ = ดา้ นกฎหมาย ประมขุ 9.5 การมสี ่วนรว่ ม กา
๔ = ด้านกระบวนการยุตธิ รรม การส่งเสรมิ กจิ กรรมทา
๕ = ดา้ นเศรษฐกิจ หน่วยงานไม่ได้นา้ เสนอภารกจิ ในประเดน็ น้ี
๖ = ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 1. การเสริมสร้างและพ
๗ = ด้านสาธารณสุข 5. การเสรมิ สรา้ งความมน่ั คงแห่งชาติเพือ่ การ 1. การเสริมสรา้ งและพฒั นาศกั ยภาพ ทุนมนุษย์
๘ = ดา้ นสื่อสารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ พัฒนาประเทศสคู่ วามมั่นคงและย่ังยนื ทุนมนุษย์ 9. การพฒั นาภาค เมอื
๙ = ดา้ นสังคม 3. การสร้างความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจและ
๑๐ = ด้านพลังงาน แข่งขนั ไดอ้ ยา่ งย่งั ยนื
๑๑ = ดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการ 7. การพัฒนาโครงการพนื้ ฐานและระบบ
ทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ โลจิสตกิ ส์
8. การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย
(ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับ สป. : ป.ศธ.เห็นชอบ) และนวัตกรรม
9. การพัฒนาภาค เมอื ง และพืน้ ทเ่ี ศรษฐกิจ
แผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
(เกี่ยวข้องกบั สป.)
ระดับ ๓ ยุทธศาสตร์แผนปฏิบัตริ าชการฯ 1. พัฒนาการจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความม่นั คง 2. พัฒนากา้ ลังคน การวจิ ัย เพอื่ สร้าง 3. พัฒนาและเส
สป. ปี 256๕ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทรพั ยากรมนุษ
1. จัดการศกึ ษาเพอื่ ความมนั่ คง
ยทุ ธศาสตร์แผนปฏบิ ัติราชการฯ ของสงั คมและประเทศชาติ 2. วิจยั คิดค้น และพฒั นานวัตกรรม 3. พฒั นาศักยภา
ศธจ.กส. ปี 256๕ ทางการศกึ ษา
แผนปฏบิ ตั ริ าชกา
ราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ของสานกั งานศึกษาธิการจังหวดั กาฬสนิ ธุ์
เสริมสรา้ งศักยภาพ ๔. การสรา้ งโอกาสและ ๕. การสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ๖. การปรับสมดุลและพฒั นาระบบการ
กรมนุษย์ ความเสมอภาคทางสังคม
ทเี่ ป็นมติ รตอ่ ส่งิ แวดล้อม บรหิ ารจดั การภาครฐั
เปลยี่ นค่านยิ มและ 4.1 ประเดน็ การเสรมิ สร้างพลงั ทางสังคม 5.1 ประเด็นการสร้างการเตบิ โตอย่างยงั่ ยนื 6.1 ประเด็นการพฒั นาการบรกิ ารประชาชน
4.2 ประเด็นการพัฒนาความเสมอภาค 5.2 ประเด็นการบรหิ ารจดั การนา้ ท้งั ระบบ และการพัฒนาประสิทธภิ าพภาครฐั
นาศักยภาพคน และส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก 6.2 ประเดน็ การต่อตา้ นการทจุ ริตและ
4.3 ประเดน็ การสร้างหลกั ประกันทางสังคม ประพฤติมิชอบ
นาการเรยี นรู้ 6.3 ประเดน็ การพัฒนากฎหมาย
สร้างใหค้ นไทย และการพัฒนากระบวนการยุตธิ รรม
นาศกั ยภาพการกฬี า
ฒนธรรมทางการเมือง ๖.1 เสริมสร้างระบบบริหารจดั การมลพิษ 2.2 ระบบข้อมูลภาครฐั มมี าตรฐาน ทนั สมยั
งประชาชนในระบอบ
ะมหากษัตรยิ ท์ รงเป็น ทแ่ี หล่งกา้ เนดิ ใหม้ ีประสิทธภิ าพ และเช่ือมโยงกนั ก้าวสูร่ ฐั บาลดจิ ทิ ัล
8.6 การปฏิรูประบบการบรหิ ารจัดการขอ้ มูล 2.3 โครงสรา้ งภาครัฐกะทัดรัด ปรับตัวไดเ้ ร็ว
ารเรียนรู้ การรับรู้ และ ขา่ วสารภาครัฐ และระบบงานมีผลสมั ฤทธิ์สงู
างสังคม 3.1 มกี ลไกให้การออกกฎหมายเปน็ กฎหมาย
หนว่ ยงานไมไ่ ด้นา้ เสนอภารกจิ ในประเดน็ น้ี ทด่ี ีและเท่าท่จี ้าเป็น รวมทัง้ มกี ลไกในการ
ทบทวนกฎหมาย ทม่ี ีผลบังคับแล้วเพอ่ื ให้
สอดคลอ้ งกับหลักการตามมาตรา 77 ของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
11.1 ดา้ นการปอ้ งกนั และเฝา้ ระวัง
11.2 ด้านการป้องปราม
พัฒนาศักยภาพ 1. การเสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพ 4. การเตบิ โตทเี่ ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 6. การบรหิ ารจดั การในภาครฐั การปอ้ งกนั
อง และพื้นท่เี ศรษฐกิจ ทนุ มนษุ ย์ เพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื การทุจริตประพฤติมชิ อบและธรรมาภิบาล
2. การสร้างความเปน็ ธรรมและลดความ 7. การพัฒนาโครงการพนื้ ฐาน (พลงั งาน ในสงั คมไทย
เหลื่อมล้าในสงั คม เป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม) 9. การพัฒนาภาค เมือง และพื้นท่ีเศรษฐกิจ
9. การพฒั นาภาค เมือง และพนื้ ท่ีเศรษฐกิจ 9. การพัฒนาภาค เมือง และพืน้ ทเี่ ศรษฐกจิ
สริมสร้างศักยภาพ 4. สรา้ งโอกาสและความเสมอภาค 5. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ 6. บรหิ ารจดั การแบบบรู ณาการ
ษยใ์ หม้ ีคุณภาพ ทางการศกึ ษา ให้มีประสทิ ธิภาพ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพตามหลกั ธรรมาภิบาล
าพผเู้ รียนทุกชว่ งวยั 4. สรา้ งโอกาส และลดความเหล่ือมล้า 5. จัดการศกึ ษาเพื่อเสริมสร้างคณุ ภาพชวี ิต
ทางการศึกษา ทเี่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๕ (ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณท่ไี ดร้ บั จัดสรร) สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ 59
แผนผงั ความเชือ่ มโยงสาระสาคัญของแผนปฏิบัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
วิสยั ทศั น์ บรหิ ารจัดการศึกษาแบบบูรณาการที่มีประสิทธภิ าพ ตามหลกั ปรชั ญาของเ
พันธกจิ ๑. ส่งเสริม สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการศึกษาแบบ 2. สง่ เสรมิ สนบั สนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
บูรณาการ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในจงั หวัดทุกระดบั ทกุ ประเภท ทกุ สังกัด เพื่อให้
ผ้เู รียนมที ักษะการเรียนรู้ที่จาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
ทุกระดับ ทุกประเภท ทกุ สงั กัด
เปา้ ประสงคร์ วม 1. สานักงานศึกษาธิการจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ มีการบรหิ ารจัดการศึกษา 2. ผ้เู รียนทกุ ชว่ งวยั ในจังหวัด ไดร้ ับการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต และมีทักษ
แบบบูรณาการ อย่างมปี ระสิทธภิ าพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
ประเด็น 1. พฒั นาการจดั การศึกษา ๒. พัฒนาผเู้ รียนทกุ ชว่ งวัย ๓. สรา้ งโอกาส ค
ยุทธศาสตร์ เพื่อความมั่นคง ให้มีคุณภาพ และลดความเหล่ือม
เปา้ ประสงค์ 1. ผเู้ รียนทกุ ชว่ งวยั มคี ณุ ภาพ ทกั ษะ 2. ผเู้ รียนทุกชว่ งวยั มีคณุ ภาพ ทกั ษะ 3. ผเู้ รยี นทกุ ประ
ตามประเด็น และสมรรถนะการเรียนรู้ทีจ่ าเปน็ ใน และสมรรถนะการเรียนรู้ท่จี าเปน็ ไดร้ บั โอกาสทางการ
ยทุ ธศาสตร์ ศตวรรษที่ 21 สอดคล้องเหมาะสม ในศตวรรษที่ 21 อย่างทวั่ ถึง และเสมอ
กบั การเสริมสรา้ งความม่ันคงในแต่ละ
ทห่ี ลากห
บริบท
2565 ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ตามงบประมาณที่ได้รับจดั สรร)
เศรษฐกิจพอเพียง ผเู้ รียนไดร้ บั การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ อยา่ งมีคณุ ภาพ และมีทกั ษะท่ีจาเปน็ ในศตวรรษที่ 21
๓. ส่งเสริมการสรา้ งโอกาสการเข้าถงึ การศึกษา 4. สง่ เสริม สนบั สนุนการขบั เคล่ือนการศึกษาทส่ี อดคลอ้ งกับ
ของประชากรทุกชว่ งวยั ใหไ้ ด้รบั การเรียนร้ตู ลอดชวี ิต ยุทธศาสตร์ชาติ และเช่อื มโยงกบั ทิศทางการพฒั นาจงั หวดั
อยา่ งทั่วถึงและเสมอภาค ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์เกษตรปลอดภัย ทอ่ งเที่ยววิถีใหม่
ไม่ทิง้ ใครไวข้ ้างหลงั
รศึกษาท่ีมีคุณภาพอยา่ งท่ัวถึง เสมอภาค 3. ผู้เรียนทกุ ช่วงวยั ในจังหวัด เป็นคนดี อยรู่ ่วมกันได้ในสังคมพหวุ ฒั นธรรม
ษะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 และสามารถดารงชวี ติ ได้อย่างเป็นสขุ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ความเสมอภาค ๔. จัดการศกึ ษาเพ่ือเสรมิ สร้าง 5. พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการ
มล้าทางการศึกษา คณุ ภาพชีวิตทเี่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม ท่ีมีประสิทธภิ าพตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ะเภท ทุกช่วงวยั 4. หนว่ ยงาน สถานศกึ ษาและผู้เรียนมี ๕. หน่วยงานมีระบบการบริหารจดั การ
รศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพ การปรับเปลย่ี นพฤติกรรม ทม่ี ีประสิทธิภาพ ตอบสนองความตอ้ งการ
อภาคด้วยรูปแบบ ของผู้รบั บรกิ ารได้อย่างสะดวก รวดเรว็
หลาย อันพงึ ประสงค์ที่เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม โปรง่ ใส ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
60
61
สรปุ งบประมาณจาแนกตามประเภทงบประมาณและประเดน็ ยุทธศาสตร์
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณทไี่ ดร้ บั จดั สรร)
1. งบประมาณที่ไดร้ บั จดั สรร จานวนเงนิ หมายเหตุ
งบประมาณรายจา่ ย
29,200,000
1. งบบุคลากร
1.1 เงนิ เดือนและคา่ จา้ งประจา 1,507,516
392,000
2. งบดาเนินงาน 221,200
2.1 คา่ ตอบแทน ใชส้ อยและวัสดุ 31,320,716
2.2 ค่าสาธารณูปโภค
3. งบรายจ่ายอ่ืนๆ
รวมเงนิ งบประมาณ (1+2+3)
2. แผนงาน/โครงการ ตามแผนปฏบิ ัตริ าชการ จานวนทงั้ สน้ิ …34… โครงการ โดยแยกตาม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาจงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ ดงั น้ี
ท่ี โครงการ งบประมาณ หมายเหตุ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 พฒั นาการจดั การศกึ ษาเพื่อความมั่นคง
1 โครงการสง่ เสริมและพฒั นาระบบฐานข้อมลู ด้านลกู เสือ ยวุ กาชาดและ 11,500 งบ สป.
กิจการนักเรยี น
โดยกลมุ่ ลกู เสือ
2 โครงการสร้างและสง่ เสรมิ ความเป็นพลเมืองดีตามรอยพระยคุ ลบาทดา้ น 160,000
การศึกษาสู่การปฏบิ ตั ิ
3 โครงการ ศธ.จิตอาสาบาเพญ็ ประโยชน์ ประจาปี 2565 ๒๓,๕๐๐
๔ โครงการส่งเสรมิ ระเบยี บวนิ ัยลูกเสือ เนตรนารี ประจาปี ๒๕๖5 ๒๗,๕๐๐
๕ โครงการคัดเลือกผมู้ ีผลงานดเี ด่นต่อการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ ๙,๖๐๐
ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปี ๒๕๖5
๖ โครงการโรงเรียนดีวถิ ลี ูกเสือ ประจาปี ๒๕๖5 ๙,๐๐๐
๗ โครงการนเิ ทศการจดั กิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา ๑๐,๐๐๐
ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5
๘ โครงการเปดิ โลกทัศนส์ ร้างเสรมิ และพฒั นาสมรรถนะ ยวุ กาชาดดีเด่น ๔,๐๐๐
โล่พระราชทานฯ ประจาปี 2565
๙ โครงการนเิ ทศการจัดกิจกรรม ยวุ กาชาดในสถานศึกษา ประจาปี 2565 ๑๐,๐๐๐
๑๐ โครงการหมูย่ ุวกาชาดตน้ แบบ ปี 2565 ๑๐,๐๐๐
๑๑ โครงการส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรมเนื่องในวันคลา้ ยวันสถาปนา ๔๐,๐๐๐
ยวุ กาชาดไทย “๑๐๐ ปี ยุวกาชาดไทย”
๑๒ โครงการฝึกอบรมผบู้ งั คับบญั ชายุวกาชาด หลกั สตู ร 4๐,๐๐๐
“ครผู สู้ อนกจิ กรรมยุวกาชาด”
แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณทไี่ ดร้ ับจัดสรร)
สานกั งานศึกษาธิการจังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
62
ที่ โครงการ งบประมาณ หมายเหตุ
๑๓ โครงการสง่ เสรมิ ศักยภาพการตรวจ ติดตาม ความประพฤตินกั เรียนและ ๑๑,๙๐๐
นักศึกษา ประจาปี ๒๕๖5
๑๔ โครงการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การดาเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมความ ๓๐,๐๐๐
ประพฤตนิ ักเรียนและ นกั ศกึ ษา ศูนย์เสมารักษส์ านักงานศึกษาธิการ
จงั หวัดกาฬสินธุ์ ประจาปี ๒๕๖5
๑๕ โครงการลกู เสือ เนตรนารี จราจร ประจาปี ๒๕๖๕ ๑๐๐,๐๐๐
๑๖ โครงการฝกึ อบรมแกนนาส่งเสริมความประพฤตนิ ักเรยี นและนกั ศึกษา ๒๓๖,๐๐๐
ประจาปี ๒๕๖5
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาผเู้ รยี นทกุ ชว่ งวยั ใหม้ ีคณุ ภาพ
1 โครงการ พัฒนาตวั ชี้วัดร่วมและกรอบการประเมินตวั ชีว้ ัดร่วมของสว่ น 20,000 งบ ศธจ.กส.
ราชการหรือหนว่ ยงานและสถานศึกษาสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ในจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
2 โครงการโครงการขบั เคล่ือนการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและ 90,900 แผน 65 สป.
ประสทิ ธภิ าพการศกึ ษาจงั หวัดโดยผา่ นกลไกล กศจ.
3 โครงการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดบั พน้ื ที่ 70,000 แผน 65 สป.
4 โครงการสง่ เสรมิ เวทแี ละประชาคมเพื่อการจัดทารปู แบบและแนวทาง 142,000 แผน 65 สป.
พัฒนาหลักสูตรต่อเนือ่ งเชื่อมโยงการศกึ ษาข้ันพื้นฐานกับอาชวี ศึกษา
และอดุ มศึกษา จังหวดั กาฬสินธุ์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565
5 โครงการ Innovation For Education (IFTE) นวัตกรรมทางการศกึ ษา 96,000 แผน 65 สป.
เพอื่ การพฒั นาการศึกษาไทย
6 โครงการขับเคลอ่ื นการปฏิรูปการศึกษาในสว่ นภูมิภาค แผน 65 สป.
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และลดความเหล่อื มล้าทางการศกึ ษา
1 โครงการการสร้างโอกาสเพอื่ ความเสมอภาคและความเท่าเทยี มทาง 25,275 งบ ศธจ.กส.
การศึกษา
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 จดั การศกึ ษาเพือ่ เสรมิ สร้างคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
๑ โครงการส่งเสริม สนับสนุนการขบั เคลื่อนการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์ ๑๕,๐๐๐ งบ สป.
โรงเรยี นในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ โดยกลมุ่ ลูกเสือฯ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 พฒั นารปู แบบการบรหิ ารจดั การทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1 โครงการตรวจ ติดตาม ประเมินผลการดาเนนิ งานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ 60,000 แผน 65 สป.
2 โครงการประชุมปฏิบตั ิการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ 20,000 งบ ศธจ.กส.
พ.ศ. 2565 (ตามงบประมาณที่ได้รับจดั สรร)
3 โครงการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาจงั หวัดระยะหา้ ปี พ.ศ. 2566-2570 30,300 แผน 65 สป.
4 โครงการ “ฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เรื่อง หลกั เกณฑ์และวิธีการประเมนิ 10,000 งบ ศธจ.กส.
ตาแหนง่ และวทิ ยฐานะขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ว. PA (Performance Appraisal)”
แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ไี ดร้ ับจดั สรร)
สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
63
ที่ โครงการ งบประมาณ หมายเหตุ
40,000 แผน 65 สป.
5 โครงการเสรมิ สรา้ งศักยภาพข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาของ 20,000 งบ ศธจ.กส.
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธ์ุ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 30,000 งบ ศธจ.กส.
99,325 งบ ศธจ.กส.
6 โครงการประชุมคณะผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาโรงเรยี น 20,900 งบ ศธจ.กส.
เอกชน จงั หวดั กาฬสินธ์ุ 24,500 งบ ศธจ.กส.
7 โครงการขับเคล่ือนภารกจิ งานตรวจสอบภายใน ตามแผนการตรวจสอบ ๑,๕๔๗,๒๐๐
ประจาปี ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕
8 โครงการพฒั นาสมรรถนะศักยภาพในการปฏบิ ัตงิ านแบบมสี ่วนรว่ ม ของ
ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
9 โครงการประชุมช้แี จงและแนวทางการจัดทาคารับรองการปฏิบัตริ าชการ
ของสานักงานศึกษาธิการจงั หวดั กาฬสินธุ์ ประจาปี 2565
10 โครงการพัฒนากระบวนการดาเนนิ การจดั ทาควบคมุ ภายใน การบรหิ าร
จดั การเพ่ือพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การของสานกั งานศกึ ษาธิการ
จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ
รวมทงั้ สน้ิ
แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณท่ีได้รบั จัดสรร)
สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
รายละเอยี ดงาน/โครงการ ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ประจาปีงบป
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 พฒั นาการจดั การศกึ ษาเพื่อความมั่นคง
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชวี้
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
๑. โครงการสง่ เสรมิ และ
พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู 1. เพ่อื สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ เชงิ ปรมิ าณ เชงิ ปริมาณ
ดา้ นลกู เสอื ยวุ กาชาดและ เกยี่ วกบั การใชง้ านระบบข้อมูล บุคลากร เจ้าหนา้ ทผ่ี ูร้ ับผิดชอบงาน บคุ ลากร เจา้ หนา้ ท
กจิ การนกั เรยี น สารสนเทศในการบนั ทึกข้อมลู ลกู เสอื ยวุ กาชาดและกิจการ ลูกเสอื ยวุ กาชาด แ
ลกู เสอื ยวุ กาชาดและกจิ การ นักเรยี น จานวนทงั้ สน้ิ 80 คน เจ้าหนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ ค
นกั เรียน เชงิ คุณภาพ นกั เรยี นและนักศกึ
2.เพื่อใหม้ ขี ้อมลู สารสนเทศ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ ความ จานวน 80 คน
ลูกเสือ ยวุ กาชาด และพนกั งาน เข้าใจเกย่ี วกบั การใช้งานระบบข้อมูล เชิงคณุ ภาพ
เจ้าหนา้ ท่สี ง่ เสรมิ ความประพฤติ สารสนเทศในการบนั ทึกข้อมลู ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการม
นักเรยี นและนกั ศึกษา ทถี่ ูกตอ้ ง ลกู เสอื ยวุ กาชาด และพนักงาน เข้าใจเกย่ี วกบั การใ
เป็นปจั จบุ นั เจา้ หน้าที่สง่ เสรมิ ความประพฤติ สารสนเทศ ในการบ
3. เพือ่ ใหส้ ามารถนาขอ้ มลู นกั เรียนและนกั ศกึ ษา สามารถ ลกู เสอื ยวุ กาชาด แ
สารสนเทศไปใช้ในการวางแผน บันทกึ ข้อมูล ลกู เสือ เจา้ หน้าท่สี ง่ เสริมค
พัฒนาบุคลากรทางการลกู เสือ ยวุ กาชาด และพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ นักเรยี นและนกั ศกึ
และจดั กจิ กรรมพัฒนาลูกเสอื ยวุ ส่งเสรมิ ความประพฤตนิ ักเรยี นและ บนั ทกึ ขอ้ มูล ลกู เสือ
กาชาด และพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี นักศึกษา ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เป็น ยวุ กาชาด และพนกั
สง่ เสรมิ ความประพฤตินกั เรยี น ปจั จุบัน และสามารถนาขอ้ มูล ส่งเสริมความประพ
และนักศกึ ษา สารสนเทศไปใชใ้ นการวางแผน นกั ศึกษา ได้อยา่ งถ
พัฒนาบุคลากรทางการลูกเสอื ปัจจบุ ัน และสามาร
ยวุ กาชาด และพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ สารสนเทศไปใชใ้ นก
ส่งเสริมความประพฤตนิ กั เรียน พัฒนาบุคลากรทาง
ยุวกาชาด และพนกั
สง่ เสรมิ ความประพ
นักศึกษา จานวน 8
ประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ท่ี สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชว้ี ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
ทผี่ ู้รับผิดชอบงาน 11,500 ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั การพฒั นา
และพนักงาน 12 กาฬสนิ ธุ์ การศกึ ษา จ.
ความประพฤติ
กษา ต.ค.64- กลุ่ม 3 13 3 4 1
ก.ย.65 ลูกเสือฯ
มีความรู้ ความ
ใชง้ านระบบขอ้ มลู
บันทกึ ข้อมลู
และพนักงาน
ความประพฤติ
กษา สามารถ
อ
กงานเจ้าหนา้ ที่
พฤตนิ กั เรียนและ
ถูกตอ้ ง เปน็
รถนาขอ้ มูล
การวางแผน
งการลกู เสือ
กงานเจ้าหนา้ ที่
พฤตนิ ักเรียนและ
80 คน
64
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชวี้
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
2. โครงการสรา้ งและ 1. เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นได้ศกึ ษา เชิงปรมิ าณ ตวั ชว้ี ดั เป้าหมาย
ส่งเสรมิ ความเปน็ พลเมอื ง เรียนรู้พระราชกรณียกจิ ของพระ นกั เรียน อายรุ ะหวา่ ง ๑๑-๑๘ ปี นักเรยี น อายุระหว
ดตี ามรอยพระยคุ ลบาท ราชวงศ์จักรี วทิ ยากรและครู บุคลากรทางการ วทิ ยากรและบคุ ลา
ดา้ นการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 2. เพอื่ สง่ เสริมใหผ้ ้เู รียน ครูและ ศึกษา จานวน ๖๖๐ คน รวมจานวน ๖๖๐ ค
บุคลากรทางการศึกษา เชิงคณุ ภาพ ตัวช้ีวดั ผลลัพธ์
มีเจตคติท่ดี ีตอ่ บา้ นเมือง ผเู้ ข้าร่วมโครงการรอ้ ยละ ๑๐๐ ผู้เขา้ ร่วมโครงการร
มีโอกาสทาหนา้ ทเ่ี ป็นพลเมืองดี ไดเ้ รยี นรู้พระราชกรณยี กจิ ของพระ ไดเ้ รยี นร้พู ระราชก
มีพ้ืนฐานชวี ติ ท่มี ่นั คง ราชวงศ์จกั รี มเี จตคตทิ ่ดี ีตอ่ ราชวงศ์จักรี มีเจตค
มีคุณธรรม สามารถวางแผนการ บา้ นเมอื ง มโี อกาสทาหนา้ ที่เป็น บา้ นเมอื ง มีโอกาสท
ประกอบอาชพี เพื่อให้มีงานทา พลเมอื งดี มีพ้ืนฐานชวี ติ ทม่ี ่นั คง พลเมอื งดี มพี ืน้ ฐาน
3. เพ่อื สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี น ครู และ มีคณุ ธรรม สามารถวางแผนการ มคี ณุ ธรรม สามารถ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา ประกอบอาชพี เพอื่ ใหม้ ีงานทา ประกอบอาชีพเพ่ือ
ได้เรยี นรู้ถงึ นวัตวิถีของท้องถ่ิน ไดเ้ รยี นรู้ถงึ นวตั วิถีของท้องถิน่ และ ไดเ้ รยี นรูถ้ ึงนวัตวิถ
และชุมชนมีจติ สานกึ รกั และ ชมุ ชน มจี ติ สานึกรกั และภมู ิใจใน ชุมชน มีจติ สานกึ รัก
ภมู ใิ จในท้องถิ่นชมุ ชนของตนเอง ทอ้ งถน่ิ ชมุ ชนของตนเอง ท้องถน่ิ ชุมชนของต
ความรู้ไปประยกุ ตใ์
พลเมืองที่ดีของประ
3. โครงการ ศธ.จติ อาสา ๑. เพอ่ื น้อมราลกึ ในพระมหา เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ ตัวชี้วดั เปา้ หมายโค
บาเพญ็ ประโยชน์ กรุณาธคิ ณุ ของพระบาทสมเด็จพระ ลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ลกู เสอื เนตรนารี ย
ประจาปี 2565 บรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ย นกั ศึกษาวชิ าทหาร และบุคลากร นกั ศกึ ษาวิชาทหาร
เดชมหาราชบรมนาถบพติ ร ทางการศกึ ษา จากหนว่ ยงานทาง ทางการศกึ ษา จาก
2. เพ่ือปลกู ฝงั สร้างจติ สานกึ การศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาสังกดั กระ
ท่ดี ีใหก้ บั ลูกเสอื เนตรนารี และสถานศึกษาทกุ สังกัดในจงั หวดั และสถานศึกษาทุก
ยวุ กาชาด นกั ศึกษาวชิ าทหาร กาฬสนิ ธ์ุ จานวน ๑,๐๐๐ คน กาฬสนิ ธ์ุ จานวน ๑
และบคุ ลากรทางการศึกษา
ได้ร่วมทากจิ กรรมจิตอาสา เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ ตัวช้วี ัดผลลัพธ์
บาเพญ็ ประโยชน์ รู้คณุ คา่ ของ ผูเ้ ข้าร่วมโครงการรอ้ ยละ ๑๐๐ ผู้เขา้ ร่วมโครงการร
การแบง่ ปันและการช่วยเหลือ ไดร้ ่วมนอ้ มราลกึ ในพระมหา ไดร้ ว่ มน้อมราลกึ ใน
ผอู้ นื่ กรณุ าธิคณุ ของพระบาทสมเด็จ- กรณุ าธคิ ุณของพระ
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ท่ี สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชวี้ ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
ว่าง ๑๑-๑๘ ปี 160,000 ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั การพฒั นา
ากรทางการศึกษา 12 กาฬสนิ ธ์ุ การศกึ ษา จ.
คน
ต.ค.64- กลุ่ม 3 13 3 4 1
ก.ย.65 ลูกเสือฯ
ร้อยละ ๑๐๐
กรณียกิจของพระ
คตทิ ด่ี ี ตอ่
ทาหนา้ ทเี่ ป็น
นชวี ติ ทมี่ ่นั คง
ถวางแผนการ
อให้มงี านทา
ถีของท้องถิน่ และ
กและภมู ิใจใน
ตนเอง สามารถนา
ใชแ้ ละเป็น
ะเทศชาติ
ครงการ ๒๓,๕๐๐ ต.ค.64- กลมุ่ 3 13 3 5 1
ยวุ กาชาด ก.ย.65 ลกู เสือฯ
ร และบุคลากร
กหนว่ ยงานทาง
ะทรวงศึกษาธิการ
กสังกดั ในจงั หวัด
๑,๐๐๐ คน
รอ้ ยละ ๑๐๐ 65
นพระมหา
ะบาทสมเด็จ-
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชวี้
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
4. โครงการสง่ เสรมิ
ระเบยี บวนิ ยั ลกู เสอื เนตร 3. เพื่อให้ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ล พระบรมชนกาธเิ บศ
นารี ประจาปี ๒๕๖5 มีจติ สาธารณะและใช้เวลาวา่ งให้ อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร อดลุ ยเดชมหาราช
เปน็ ประโยชน์ มีจิตสานกึ ท่ีดี ไดร้ ว่ มทากิจกรรมจติ มีจิตสานึกท่ดี ี ไดร้ ่ว
อาสาบาเพ็ญประโยชน์ ร้คู ณุ คา่ ของ อาสาบาเพ็ญประโย
1. เพ่อื สง่ เสรมิ ใหผ้ ้บู ังคบั บัญชา การแบ่งปันและการช่วยเหลอื ผู้อ่ืน การแบ่งปนั และการ
ลกู เสือ ลูกเสือ เนตรนารี มี มจี ติ สาธารณะและรูจ้ กั ใช้เวลาว่าง มจี ติ สาธารณะและ
คณุ ธรรม จริยธรรม เป็นพลเมอื ง ให้เปน็ ประโยชน์ ให้เปน็ ประโยชน์
ดี มรี ะเบียบ วนิ ัย
มคี วามเขม้ แข็ง อดทน มีความ เป้าหมายเชิงผลผลติ เชงิ ปรมิ าณ
เป็นผนู้ า รู้รักสามัคคี รู้จกั ผู้บังคับบัญชาลกู เสอื ,ลูกเสอื เนตร ผู้บงั คบั บญั ชาลูกเส
เสียสละ ชว่ ยเหลอื ผอู้ ่ืน นารี และเจ้าหนา้ ที่ เข้าร่วมกิจกรรม นารี และเจา้ หนา้ ท
มีทกั ษะการอย่รู ว่ มกันสร้างเสรมิ การประกวดระเบยี บแถวลกู เสือ การประกวดระเบยี
ประสบการณ์ชวี ิตและสามารถ เนตรนารี จานวนทัง้ สนิ้ ๒๗๐ คน เนตรนารี จานวนท
นาไปประยกุ ตใ์ ช้ใน เปา้ หมายเชิงผลลพั ธ์ เชงิ คณุ ภาพ
ชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ ผบู้ ังคบั บัญชาลกู เสอื ,ลกู เสอื เนตร ผบู้ งั คับบัญชาลกู เส
2. เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจแนวทาง นารี และเจ้าหนา้ ท่ี ทีเ่ ขา้ ร่วม นารี มีคณุ ธรรม จร
วธิ กี ารและหลกั เกณฑก์ าร โครงการ ร้อยละ ๑๐๐ พลเมอื งดี มีระเบีย
ประกวดระเบยี บแถวลูกเสือ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม เปน็ พลเมอื งดี มีความเข้มแขง็ อด
เนตรนารี ใหผ้ บู้ ังคับบญั ชา มีระเบียบ วินยั มคี วามเข้มแขง็ ผู้นา ร้รู กั สามัคคี รจู้
ลูกเสือ ลูกเสอื เนตรนารี อดทน มคี วามเปน็ ผ้นู า ร้รู ักสามัคคี ชว่ ยเหลอื ผู้อนื่ มที กั
ตลอดจนไดม้ โี อกาสแลกเปลย่ี น รู้จักเสยี สละช่วยเหลือผู้อนื่ มที กั ษะ ร่วมกนั สร้างเสรมิ ป
เรยี นรูป้ ระสบการณ์ ไดเ้ พ่ิมพนู การอยู่รว่ มกนั สามารถนาไป และสามารถนาไปป
ทกั ษะ ได้รับการยกย่อง ไดร้ บั ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันไดอ้ ย่าง ชีวิตประจาวันไดอ้ ย
เกยี รตบิ ัตร,รางวลั เป็นตวั แทน มีคุณภาพ มคี วามเขา้ ใจแนวทาง มีความเขา้ ใจแนวท
ระดบั จังหวดั เขา้ ประกวด วธิ ีการและหลกั เกณฑ์การประกวด หลักเกณฑก์ ารประ
ระดับประเทศ และสามารถนา ระเบยี บแถวลูกเสอื เนตรนารี ลกู เสอื เนตรนารี ต
ประสบการณจ์ ากการแขง่ ขนั ไป ตลอดจนได้มโี อกาสแลกเปล่ียน โอกาสแลกเปลยี่ นเ
ปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ เรยี นร้ปู ระสบการณ์ ประสบการณ์ ได้เพ
ได้เพม่ิ พูนทักษะ ได้รบั การยกย่อง ไดร้ ับการยกยอ่ ง ได
ไดร้ บั เกยี รติบตั ร,รางวลั เปน็ ตัวแทน ,รางวลั เปน็ ตวั แทน
ระดับจังหวัดเขา้ ประกวด เข้าประกวดระดบั ป
ระดบั ประเทศ และสามารถนา สามารถนาประสบก
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ที่ สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชว้ี ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
ศร มหาภมู ิพล ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั
บรมนาถบพติ ร 12 กาฬสนิ ธ์ุ การพฒั นา
วมทากจิ กรรมจติ การศกึ ษา จ.
ยชน์ รคู้ ุณคา่ ของ
รชว่ ยเหลือผ้อู น่ื
ะร้จู ักใช้เวลาวา่ ง
๒๗,๕๐๐ ต.ค.64- กลุ่ม 3 13 3 4 1
สอื ,ลกู เสือ เนตร ก.ย.65 ลูกเสอื ฯ
ที่ เข้ารว่ มกิจกรรม
ยบแถวลกู เสอื
ทั้งสนิ้ ๒๗๐ คน
สอื ลูกเสอื เนตร 66
ริยธรรม เปน็
ยบ วินัย
ดทน มคี วามเป็น
จักเสยี สละ
กษะการอยู่
ประสบการณช์ ีวติ
ประยกุ ต์ใช้ใน
ยา่ งมคี ุณภาพ
ทาง วิธกี ารและ
ะกวดระเบียบแถว
ตลอดจนไดม้ ี
เรยี นรู้
พม่ิ พูนทกั ษะ
ด้รับเกียรตบิ ตั ร
นระดับจงั หวดั
ประเทศ และ
การณจ์ ากการ
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
5. โครงการคดั เลอื กผมู้ ี 3. เพื่อสง่ เสรมิ การจัดกิจกรรม ประสบการณจ์ ากการแขง่ ขันไปปรับ แขง่ ขันไปปรบั ใชใ้ น
ผลงานดเี ดน่ ตอ่ การพฒั นา การเรียนการสอนลกู เสือ เนตร ใช้ ในชวี ติ ประจาวัน และมกี าร และมีการสง่ เสริมก
กจิ กรรมลกู เสอื ของ นารี เพิม่ มากขึ้น สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมการเรยี นการ การเรียนการสอนล
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สอนลกู เสอื เนตรนารี เพิ่มมากขนึ้ เพมิ่ มากขนึ้
ประจาปี ๒๕๖5 1. เพอื่ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติ สร้าง
ขวัญกาลงั ใจสาหรับผ้มู ีผลงาน เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ ตวั ชวี้ ดั เป้าหมายโค
ดเี ด่นเป็นท่ปี ระจกั ษแ์ ละเปน็ ๑) ผ้มู ีผลงานดีเดน่ ตอ่ การพัฒนา ๑) ผมู้ ีผลงานดีเดน่
แบบอยา่ ง ทด่ี ที างการลูกเสือ กิจกรรมลูกเสือในระดบั จงั หวัด กจิ กรรมลูกเสอื ในร
2. เพอ่ื ส่งเสริมใหผ้ มู้ สี ่วน จานวน ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ จานวน ๓ ประเภท
เกีย่ วขอ้ งท้งั ภาครัฐและเอกชนให้ ประเภทผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ผู้บริหารสถานศกึ ษ
การสนับสนนุ กิจกรรมลกู เสอื และ ประเภทครูผูส้ อนและประเภทผูใ้ ห้ ครูผูส้ อนและประเภ
มีเจตคติ ท่ีดตี อ่ การพฒั นา การสนับสนนุ สนับสนนุ
กจิ กรรมลกู เสือ ๒) คณะกรรมการและเจา้ หนา้ ท่ี ๒) คณะกรรมการแ
3. เพอ่ื สง่ เสริมให้มีการจัด จานวน 1๒ คน จานวน 1๒ คน
กจิ กรรมการเรียนการสอนลกู เสือ เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ ตวั ชี้วัดผลลพั ธ์
เนตรนารี เพ่มิ มากข้นึ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู บคุ ลากร ผบู้ ริหารสถานศึกษ
ทางการลกู เสือ ผูใ้ หก้ ารสนบั สนนุ ทางการลูกเสอื ผ้ใู ห
และผทู้ มี่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ที่ส่ง ผลงาน และผูท้ ี่มีส่วนเก่ียวข
ดีเดน่ เปน็ ทป่ี ระจักษแ์ ละเปน็ ดเี ด่นเป็นทป่ี ระจักษ
แบบอยา่ งทดี่ ที างการลกู เสอื เขา้ รบั แบบอยา่ งทด่ี ีทางก
การคัดเลอื กไดร้ บั การยกย่องเชิดชู ๑๐๐ ทีเ่ ขา้ รับการค
เกียรติ เกิดขวัญกาลังใจ ใหก้ าร ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รต
สนบั สนนุ กิจกรรมลกู เสอื เกิดเจตคติ ใหก้ ารสนับสนุนกา
ที่ดีต่อการพัฒนากิจกรรมลกู เสือ ลกู เสือ เกิดเจตคติท
ตลอดจนส่งเสริมสนับสนุนการจดั กิจกรรมลูกเสอื ตล
กิจกรรมการเรียนการสอนลูกเสอื สนบั สนุนจัดกจิ กรร
เนตรนารี เพม่ิ มากขนึ้ สอนลูกเสอื เนตรน
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ที่ สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชว้ี ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
นชวี ิตประจาวนั ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั
การจดั กิจกรรม 12 กาฬสนิ ธุ์ การพฒั นา
ลกู เสือ เนตรนารี การศกึ ษา จ.
ครงการ 9,600 ต.ค.64- กลมุ่ 3 13 3 4 1
นต่อการพฒั นา
ระดับจงั หวดั ก.ย.65 ลกู เสือฯ
ท ได้แกป่ ระเภท
ษา ประเภท
ภทผใู้ ห้การ
และเจา้ หนา้ ที่
ษา ครู บคุ ลากร
หก้ ารสนับสนนุ
ขอ้ ง ท่สี ง่ ผลงาน
ษ์และเปน็
การลกู เสือรอ้ ยละ
คัดเลอื กไดร้ ับการ
ติ เกิดขวญั กาลังใจ
ารจดั กจิ กรรม
ที่ดตี อ่ การพฒั นา
ลอดจนส่งเสริม
รมการเรียนการ
นารี เพิ่มมากข้นึ
67
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชวี้
6. โครงการโรงเรยี นดวี ถิ ี ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
ลกู เสอื ประจาปี ๒๕๖5
1. เพ่ือส่งเสริมผูบ้ ังคบั บัญชา เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ ตัวชว้ี ดั เป้าหมายโค
7. โครงการนเิ ทศการจดั ลูกเสอื ใหม้ คี วามร้แู ละสามารถ ผู้บงั คบั บัญชาลูกเสอื และบคุ ลากรที่ ผบู้ ังคบั บัญชาลกู เส
กจิ กรรมลกู เสอื ใน จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เก่ียวขอ้ ง จากโรงเรียนทส่ี มัครเข้ารบั เก่ียวขอ้ ง จากโรงเร
สถานศกึ ษา ประจาปี ลกู เสือ ในสถานศกึ ษาได้ถกู ต้อง การคัดเลอื กในจังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ การคัดเลอื กในจังห
การศกึ ษา ๒๕๖5 2. เพื่อใหส้ ถานศกึ ษา, จานวน ๘๐ คน จานวน ๘๐ คน
ผู้บังคับบัญชาลูกเสอื ไดร้ บั การ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ ตัวชี้วัดผลลพั ธ์
ยกยอ่ ง เชดิ ชเู กยี รติ เกิดขวัญ ผ้บู งั คบั บัญชาลูกเสอื มคี วามรแู้ ละ ผ้บู ังคับบญั ชาลูกเส
กาลังใจ มีเจตคตทิ ี่ดีต่อการ สามารถจดั กจิ กรรมการเรียนการ มีความรูแ้ ละสามาร
พัฒนากจิ กรรมลูกเสอื สอนลกู เสอื ในสถานศกึ ษา เรียนการสอนลกู เส
3.เพอื่ ให้มสี ถานศกึ ษาทีเ่ ปน็ ศูนย์ ผู้บงั คับบัญชาลกู เสือ ได้รบั การยก ได้ถูกตอ้ ง สถานศึก
เรียนรู้ โรงเรยี นดวี ถิ ีลกู เสือใน ย่อง เชิดชูเกียรติ เกิดขวญั กาลังใจ ลูกเสือ ได้รับการยก
จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ๑ แหง่ มีเจตคติท่ีดตี อ่ การพฒั นากิจกรรม เกิดขวญั กาลังใจ ม
ลูกเสอื และมีสถานศึกษาทีเ่ ป็นศูนย์ พฒั นากจิ กรรมลูกเ
1. เพ่ือให้ผบู้ ังคบั บัญชาลูกเสือ เรียนรู้ โรงเรยี นดีวิถีลกู เสอื ในจังหวดั เรยี นรู้ โรงเรียนดีวิถ
เขา้ ใจนโยบายและแนวทางการ จานวน ๑ แหง่ กาฬสนิ ธุ์ จานวน ๑
พัฒนากจิ การลูกเสือ เนตรนารี
2. เพอ่ื ให้ผ้บู งั คับบัญชาลูกเสอื เป้าหมายเชงิ ปริมาณ ตัวชว้ี ัดเชงิ ปรมิ าณ
ไดท้ บทวน การแตง่ เครอ่ื งแบบ ผ้บู งั คบั บัญชาลกู เสอื บุคลากรและ ผู้บังคับบัญชาลกู เส
ลูกเสือ การเปดิ -ปิดประชุมกอง เจ้าหน้าท่ี จากโรงเรียนในพ้นื ที่ ในจงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ
3. เพอ่ื ให้ผู้บงั คับบัญชาลกู เสือได้ จังหวัดกาฬสินธุจ์ านวนทง้ั สน้ิ ๑๐๐คน ตัวชี้วัดเชงิ คณุ ภาพ
มโี อกาสแลกเปล่ียนเรยี นรู้การจดั เป้าหมายเชงิ คุณภาพ ผูบ้ งั คับบัญชาลกู เส
กจิ กรรมการเรียนการสอนลูกเสือ ผู้บังคบั บญั ชาลกู เสือ เข้าใจนโยบาย และแนวทางการพัฒ
เนตรนารี ไดแ้ ลกเปลีย่ น และแนวทางการพฒั นากิจการ ลกู เสอื เนตรนารี ได
ประสบการณ์ ได้เพมิ่ พนู ทกั ษะ ลูกเสอื เนตรนารี แตง่ เครื่องแบบลกู เ
และสามารถจัดกจิ กรรมการเรยี น ไดท้ บทวนเรอ่ื งการแต่งเครื่องแบบ การเปดิ -ปดิ ประชมุ
การสอนลกู เสือตามระดับชนั้ ได้ ลูกเสอื การเปิด-ปดิ ประชมุ กอง แลกเปล่ยี นเรียนร้กู
อย่างถูกตอ้ ง มโี อกาสแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ารจดั การเรียนการสอนล
กิจกรรมการเรยี นการสอนลูกเสือ- แลกเปล่ยี นประสบ
เนตรนารี แลกเปล่ยี นประสบการณ์ ทักษะ และสามารถ
ได้เพิ่มพนู ทักษะ และสามารถจดั เรียน การสอนลูกเ
กิจกรรมการเรยี น การสอนลกู เสือได้ ระดบั ชั้นไดอ้ ย่างถูก
ตามระดบั ชั้นไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ๑๐๐ คน
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ที่ สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชว้ี ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั
12 กาฬสนิ ธ์ุ การพฒั นา
การศกึ ษา จ.
ครงการ 9,000 ต.ค.64- กลมุ่ 3 13 3 4 1
สอื และบุคลากรท่ี ก.ย.65 ลกู เสอื ฯ
รียนท่ีสมคั รเข้ารบั
หวดั กาฬสนิ ธุ์
สือ รอ้ ยละ ๑๐๐
รถจัดกิจกรรมการ
สือในสถานศึกษา
กษา,บงั คบั บญั ชา
กยอ่ ง เชดิ ชเู กยี รติ
มีเจตคติท่ดี ตี ่อการ
เสอื และมีศูนย์
ถลี ูกเสือในจงั หวัด
๑ แหง่
10,000 ต.ค.64- กลุ่ม 3 13 3 4 1
สอื จากสถานศึกษา ก.ย.65 ลกู เสือฯ
จานวน ๑๐๐ คน
พ
สอื เขา้ ใจนโยบาย
ฒนากิจการ
ด้ทบทวนเรอ่ื งการ
เสือ
มกองมโี อกาส
การจัดกิจกรรม
ลกู เสือ-เนตรนารี
บการณ์ ไดเ้ พม่ิ พนู
ถจัดกจิ กรรมการ
เสือได้ตาม
กตอ้ ง จานวน 68
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
8. โครงการเปดิ โลกทศั น์
สรา้ งเสรมิ และพฒั นา 1. เพือ่ ยกย่องเชิดชูเกียรติ สร้าง เป้าหมายเชงิ ปริมาณ ตวั ชว้ี ัดเชงิ ปรมิ าณ
สมรรถนะยวุ กาชาดดเี ดน่ ขวญั กาลงั ใจแก่ผบู้ รหิ าร 1. สถานศึกษาทจี่ ัดกจิ กรรมยวุ 1. สถานศกึ ษาทจี่ ัด
โลพ่ ระราชทานฯ ประจาปี ผบู้ งั คบั บญั ชายุวกาชาด สมาชิก กาชาด รวมจานวน ๔ แห่ง กาชาด รวมจานวน
2565 ยวุ กาชาด และผู้ให้การสนบั สนนุ 2. ผ้บู งั คบั บัญชายวุ กาชาดดีเดน่ จาก 2. ผู้บงั คบั บัญชายวุ
การจัดกจิ การยุวกาชาดมาเป็น หนว่ ยงาน , สถานศึกษา รวม หนว่ ยงาน , สถาน
อย่างดีและต่อเน่อื ง จานวน ๑๐ คน จานวน ๑๐ คน
2. เพื่อสง่ เสริมให้ผบู้ ริหาร เป้าหมายเชงิ คุณภาพ ตวั ชว้ี ัดเชิงคณุ ภาพ
สถานศกึ ษา ผปู้ ฏิบัตแิ ละผู้ที่ ผ้บู ังคบั บัญชายุวกาชาดและสมาชกิ ผบู้ ังคับบญั ชายุวกา
เก่ียวขอ้ งกบั กจิ การยุวกาชาด ยวุ กาชาด ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการฯ ยุวกาชาด ท่ีเขา้ ร่วม
ทงั้ หลายไดเ้ ห็นความสาคัญ ร้อยละ ๑๐๐ ได้รบั การยกยอ่ งเชิดชู ร้อยละ ๑๐๐ ไดร้ บั
ให้การสนบั สนนุ ส่งเสริมการ เกยี รติ มขี วัญกาลงั ใจใหก้ าร เกยี รติ มีขวัญกาลัง
ดาเนนิ กิจการยุวกาชาดมาก สนบั สนนุ กจิ กรรมยวุ กาชาด สนับสนนุ กิจกรรมย
ยิง่ ขึ้น เหน็ ความสาคัญ ใหก้ ารสนบั สนนุ เหน็ ความสาคญั ให
3. เพ่อื เปน็ การประชาสมั พนั ธ์ ส่งเสรมิ การดาเนินกจิ การยวุ กาชาด สง่ เสรมิ การดาเนินก
กิจการยุวกาชาดใหเ้ ปน็ ทีร่ ูจ้ กั มากยิ่งขน้ึ ตลอดจนได้ มากย่งิ ขึ้น ตลอดจน
แพรห่ ลายยิ่งข้ึน ประชาสัมพนั ธก์ จิ การยวุ กาชาดให้ ประชาสมั พนั ธก์ จิ ก
เปน็ ท่รี จู้ กั แพร่หลายยิ่งขนึ้ เป็นทรี่ จู้ กั แพร่หลา
9. โครงการนเิ ทศการจดั 1. เพ่อื ใหผ้ ู้บังคบั บัญชายวุ เป้าหมายเชิงปริมาณ ตัวชวี้ ัดเปา้ หมายโค
กจิ กรรม ยวุ กาชาดใน กาชาดในสังกดั มีความรู้ ผู้บังคบั บัญชายวุ กาชาดในจงั หวดั ผู้บงั คับบัญชายุวกา
สถานศกึ ษา ประจาปี ความเข้าใจการจัดกจิ กรรม กาฬสนิ ธุ์ รวมจานวน ๕๐ คน กาฬสินธ์ุ รวมจานว
2565 ยวุ กาชาดในสถานศึกษา เปา้ หมายเชิงคุณภาพ ตัวช้ีวดั ผลลพั ธ์
ตระหนักและเหน็ ความสาคัญใน ผบู้ งั คบั บัญชายุวกาชาดท่เี ขา้ ร่วม ผบู้ งั คบั บัญชายุวกา
กระบวนการของกจิ กรรมยวุ โครงการฯ ร้อยละ 95 มคี วามรู้ โครงการฯ ร้อยละ
กาชาดใหเ้ ป็นไปตามอุดมการณ์ ความเข้าใจการจดั กจิ กรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใ
ของกาชาด ยุวกาชาดในสถานศึกษา ตระหนัก ยุวกาชาดในสถานศ
2. เพอ่ื ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชา และเห็นความสาคัญ และเห็นความสาคัญ
ยุวกาชาด ได้แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ในกระบวนการของกิจกรรม ของกจิ กรรมยวุ กาช
เกดิ การพฒั นากจิ กรรมยวุ กาชาด ยุวกาชาดให้เป็นไปตามอุดมการณ์ อุดมการณ์ของกาช
ในสถานศึกษา ของกาชาด ไดแ้ ลกเปลย่ี นเรียนรู้ เรยี นรู้ เกดิ การพฒั
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ที่ สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชวี้ ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั
12 กาฬสนิ ธ์ุ การพฒั นา
การศกึ ษา จ.
4,000 ต.ค.64- กลุ่ม 3 13 3 ๔ 1
ดกจิ กรรมยวุ ก.ย.65 ลกู เสอื ฯ
น ๔ แห่ง
วกาชาดดเี ดน่ จาก
ศึกษา รวม
พ
าชาดและสมาชกิ
มโครงการฯ
บการยกยอ่ งเชิดชู
งใจให้การ
ยวุ กาชาด
หก้ ารสนบั สนุน
กิจการยวุ กาชาด
นได้
การยวุ กาชาดให้
ายย่งิ ขนึ้
ครงการ 10,000 ต.ค.64- กลมุ่ 3 13 3 4 1
าชาดในจงั หวัด ก.ย.65 ลกู เสือฯ
วน ๕๐ คน
าชาดทีเ่ ขา้ รว่ ม 69
95
ใจการจดั กิจกรรม
ศกึ ษา ตระหนกั
ญในกระบวนการ
ชาดให้เป็นไปตาม
ชาด ได้แลกเปลี่ยน
ฒนากจิ กรรม
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชวี้
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
10. โครงการหมู่
ยวุ กาชาดตน้ แบบ ๓. เพอ่ื สร้างขวญั กาลงั ใจให้ เกดิ การพัฒนากจิ กรรมยวุ กาชาด ยุวกาชาดในสถานศ
ปี 2565 ผบู้ งั คับบญั ชายุวกาชาด และเกิด ในสถานศกึ ษา เกดิ ขวญั กาลงั ใจ กาลงั ใจ เกิดกลมุ่ เค
กลุ่ม เครือขา่ ยความรว่ มมือใน เกดิ กลมุ่ เครอื ข่ายความรว่ มมือใน ร่วมมอื ในการส่งเสร
11. โครงการสง่ เสรมิ การ การส่งเสริมพฒั นากจิ กรรม การสง่ เสรมิ พฒั นากิจกรรมยวุ กาชาด ยุวกาชาด
จดั กจิ กรรมเนอ่ื งในวนั ยุวกาชาด
คลา้ ยวนั สถาปนา เป้าหมายเชิงปริมาณ ตวั ชว้ี ัดเป้าหมายโค
ยวุ กาชาดไทย 1. เพื่อยกย่องเชิดชเู กยี รติ สรา้ ง ผู้บงั คับบญั ชายุวกาชาด ผู้บังคบั บญั ชายวุ กา
“๑๐๐ ปี ยวุ กาชาดไทย” ขวญั กาลงั ใจแก่ผู้บริหาร ผู้ใหก้ าร ในจังหวดั สกลนคร และเจ้าหนา้ ทผ่ี รู้ ับผ
สนับสนุน ครูผู้สอนกจิ กรรม รวมจานวน ๒๕ คน ยวุ กาชาด รวมจาน
ยุวกาชาดและสมาชิกยุวกาชาด เป้าหมายเชิงคุณภาพ ตัวชี้วดั ผลลัพธ์
ทีใ่ ห้การสนับสนนุ ตลอดจน ผู้บังคับบญั ชายวุ กาชาดทเี่ ขา้ ร่วม ผบู้ ังคบั บญั ชายุวกา
ดาเนนิ กจิ การยุวกาชาดมาเป็น โครงการฯ รอ้ ยละ ๑๐๐ ไดน้ าเสนอ โครงการฯ รอ้ ยละ
อย่างดีและต่อเนอื่ ง ผลงาน เกดิ ความภาคภูมใิ จ มขี วัญ ผลงาน เกิดความภ
2. เพ่ือสง่ เสริมใหส้ ถานศึกษา กาลังใจได้รับการยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ กาลังใจไดร้ ับการยก
จดั ตงั้ หมู่ยวุ กาชาดเพิม่ มากขนึ้ มีความรู้ความเข้าใจในการขอจดั ตงั้ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ
3. เพอ่ื เปน็ การประชาสัมพนั ธ์ หมู่ยวุ กาชาด ไดป้ ระชาสัมพนั ธ์ หม่ยู ุวกาชาด ได้ปร
กจิ การยวุ กาชาดให้เปน็ ทร่ี ู้จกั กิจกรรมยวุ กาชาดและเกดิ กลมุ่ กจิ กรรมยวุ กาชาดแ
แพร่หลายยง่ิ ขึ้น เกิดกลุม่ เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ในการสง่ เสริม เครอื ขา่ ยความร่วม
เครอื ข่ายความรว่ มมอื ในการ พฒั นากจิ กรรมยุวกาชาด พฒั นากจิ กรรมยวุ ก
ส่งเสริมพัฒนากจิ กรรมยุวกาชาด เป้าหมายเชงิ ปริมาณ ตวั ชี้วดั เป้าหมายโค
ผบู้ งั คับบญั ชายวุ กาชาด สมาชกิ ยุว ผู้บังคบั บญั ชายวุ กา
๑. เพ่อื ใหผ้ ้บู ังคบั บญั ชาและ กาชาด และเจ้าหนา้ ท่ี รวมจานวน กาชาดและเจ้าหนา้
สมาชิกยวุ กาชาดไดร้ ะลกึ ถงึ ๒๐๐ คน คน
บคุ คลสาคัญผ้กู อ่ ต้ังกิจการยวุ เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ ตวั ช้ีวดั ผลลพั ธ์
กาชาดขึน้ ในประเทศไทย ได้รว่ ม ผู้เขา้ ร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ ผเู้ ข้าร่วมโครงการร
พธิ ีทบทวนคาปฏิญาณและสวน ได้ร่วมระลกึ ถงึ บคุ คลสาคญั ทีเ่ ปน็ ได้ร่วมระลกึ ถงึ บคุ ค
สนาม ผู้ก่อต้งั กจิ การยวุ กาชาดข้นึ ใน ผูก้ ่อต้งั กิจการยุวกา
2. เพือ่ ใหผ้ ูบ้ งั คับบญั ชาและ ประเทศไทย ได้ร่วมพิธที บทวนคา ประเทศไทย ได้ร่วม
สมาชกิ ยวุ กาชาด รแู้ ละเขา้ ใจ ปฏญิ าณและสวนสนาม รแู้ ละเขา้ ใจ ปฏิญาณและสวนส
ฐานกจิ กรรมกาชาดและยุว ฐานกจิ กรรมกาชาดและยวุ กาชาด ฐานกจิ กรรมกาชาด
กาชาดฐานกจิ กรรมสขุ ภาพ ฐาน ฐานกจิ กรรมสุขภาพ ฐานกจิ กรรม ฐานกจิ กรรมสุขภาพ
กิจกรรมสัมพนั ธภาพและความ
เข้าใจอนั ดี และฐานกิจกรรม
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ท่ี สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชว้ี ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั
12 กาฬสนิ ธุ์ การพฒั นา
การศกึ ษา จ.
ศึกษา เกดิ ขวญั
ครือขา่ ยความ
ริมพฒั นากจิ กรรม
ครงการ 10,000 ต.ค.64- กลุ่ม 3 13 3 ๔ 1
าชาด กรรมการ ก.ย.65 ลกู เสือฯ
ผดิ ชอบงาน
นวน ๒๕ คน
าชาดที่เขา้ ร่วม
๑๐๐ ไดน้ าเสนอ
ภาคภูมิใจ มขี วญั
กยอ่ งเชดิ ชเู กียรติ
จในการขอจัดต้ัง
ระชาสมั พันธ์
และเกิดกล่มุ
มมอื ในการสง่ เสรมิ
กาชาด
ครงการ 40,000 ต.ค.64- กลุม่ 3 13 3 4 1
าชาด สมาชิกยุว ก.ย.65 ลกู เสือฯ
าที่ จานวน ๒๐๐
ร้อยละ ๑๐๐ 70
คลสาคัญทเ่ี ป็น
าชาดขึ้น ใน
มพิธที บทวนคา
สนาม รแู้ ละเขา้ ใจ
ดและยวุ กาชาด
พ ฐานกจิ กรรม
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
บาเพญ็ ประโยชนร์ ูค้ ุณคา่ ของการ สัมพนั ธภาพและความเข้าใจอันดี สัมพันธภาพและคว
แบง่ ปันและการช่วยเหลอื ผู้อืน่ และฐานกจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์ และฐานกจิ กรรมบ
3. เพอื่ สง่ เสรมิ ให้ผูบ้ รหิ ารและ รู้คณุ คา่ ของการแบง่ ปันและการ รูค้ ณุ คา่ ของการแบ
ผู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ใหก้ ารสนบั สนุน ชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื ตลอดจนส่งเสรมิ ให้ ชว่ ยเหลือผ้อู ื่น ตลอ
สง่ เสริมกจิ การยวุ กาชาดมาก ผบู้ รหิ ารและผ้ทู ่ีเกยี่ วข้อง ใหก้ าร ผบู้ ริหารและผทู้ ีเ่ กยี่
ยิ่งขึ้น สนบั สนนุ ส่งเสรมิ กจิ การยวุ กาชาด สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ก
มากยิง่ ขึน้ มากยิ่งขนึ้
12. โครงการฝกึ อบรม ๑. เพือ่ ให้ครูผสู้ อนหรือ เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ ตัวชวี้ ดั ความสาเรจ็
ผบู้ ังคบั บญั ชายวุ กาชาด ผู้บงั คับบัญชายุวกาชาดทเ่ี ขา้ รบั ครผู ้สู อนหรอื ผบู้ งั คบั บญั ชา ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบร
หลกั สตู ร “ครผู สู้ อน การฝกึ อบรมฯ มีความรู้ความ ยวุ กาชาดจากโรงเรยี นตา่ งๆ ร้อยละ ๑๐๐ ผา่ นก
กจิ กรรมยวุ กาชาด” เข้าใจ มที กั ษะ ประสบการณ์ จานวน ๑ ร่นุ ๔๐ คน ได้รับวุฒบิ ตั รพรอ้ ม
มเี ทคนิคต่างๆ ท่จี ะนาไปปฏบิ ัติ เป้าหมายเชงิ คุณภาพ ครูผ้สู อนกจิ กรรมย
หนา้ ทคี่ รผู ูจ้ ดั กจิ กรรมยวุ กาชาด ครูผูส้ อนหรือผู้บังคับบญั ชายุว
ทีด่ ีและมีประสทิ ธภิ าพ กาชาด มีความรู้ความเขา้ ใจ มีทกั ษะ
2. เพื่อเป็นแนวทางในการ ประสบการณ์ มเี ทคนคิ ต่างๆ ที่จะ
สง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมยวุ กาชาด จัดกจิ กรรมยวุ กาชาดและบริหารงาน
ตามอุดมการณ์ของกาชาดและ ยวุ กาชาดในหมยู่ ุวกาชาดโรงเรยี น
สอดคลอ้ งกบั หลักสตู รแกนกลาง ของตนเองไดถ้ ูกตอ้ งและมี
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ประสทิ ธภิ าพ
๒๕๕๑
3. เพอื่ กระตุ้นใหม้ กี ารเรียนการ
สอนยุวกาชาดในโรงเรยี นมากขน้ึ
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ที่ สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชว้ี ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
วามเข้าใจอันดี ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั
บาเพ็ญประโยชน์ 12 กาฬสนิ ธ์ุ การพฒั นา
บง่ ปนั และการ การศกึ ษา จ.
อดจนสง่ เสรมิ ให้
ยวข้อง ใหก้ าร
กิจการยุวกาชาด
จ 40,000 ต.ค.64- กลุม่ 3 13 3 ๔ 1
รม
การประเมนิ ก.ย.65 ลกู เสอื ฯ
มเครอื่ งหมาย
ยุวกาชาด
71
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
13. โครงการสง่ เสรมิ
ศกั ยภาพการตรวจ 1. เพือ่ ให้พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี เป้าหมายเชงิ ปริมาณ ตัวชว้ี ดั เป้าหมายโค
ตดิ ตาม ความประพฤติ ส่งเสรมิ ความประพฤตินกั เรยี น 1. พนกั งานเจ้าหนา้ ท่สี ่งเสริมความ 1. พนกั งานเจ้าหน
นกั เรยี นและนกั ศกึ ษา และนกั ศกึ ษา มีความรู้เรอื่ ง ประพฤตินกั เรยี นและนักศกึ ษา ประพฤตินักเรยี นแ
ประจาปี ๒๕๖5 กฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การ ศูนยเ์ สมารกั ษส์ านกั งานศึกษาธกิ าร ศูนยเ์ สมารกั ษ์สานัก
ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ จงั หวดั กาฬสินธุ์ จานวน ๒๐ คน จังหวดั กาฬสินธุ์ จา
2. เพ่อื ใหพ้ นักงานเจา้ หนา้ ที่ 2. พนักงานเจ้าหน้าท่สี ่งเสรมิ ความ 2. พนักงานเจา้ หน
ส่งเสริมความประพฤตนิ ักเรียน ประพฤตนิ ักเรยี นและนักศึกษา ประพฤตินักเรียนแ
และนักศกึ ษา ออกปฏิบตั หิ นา้ ที่ ศนู ย์เครือขา่ ย จานวน ๘๐ คน ศูนย์เครอื ข่าย จาน
ตรวจ และรายงานความ 3. นักเรยี นและนกั ศึกษา ได้รับการ 3. นกั เรยี นและนกั
ประพฤตนิ กั เรียนและนกั ศึกษา ปกป้อง แก้ไข คุ้มครองและสง่ เสริม ปกป้อง แก้ไข คุม้ ค
ในพื้นทเี่ ส่ยี ง เฝ้าระวงั ประพฤติ รู้และเขา้ ใจบทบาทหนา้ ท่ี ประพฤติ รู้และเขา้
สถานการณ์ ปญั หาความ ของตนเอง จานวน ๑๐๐ คน ของตนเอง จานวน
ประพฤตินกั เรียนและนักศึกษา เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ ตวั ชีว้ ัดผลลพั ธ์
3. เพ่อื ให้นกั เรยี นและนักศึกษา เขา้ รวมโครงการร้อยละ ๙๐ เขา้ รวมโครงการรอ้
ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั กาฬสินธ์ุ ไดร้ ับ มคี วามรู้เรอื่ งกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้องกบั มคี วามรเู้ รือ่ งกฎหม
การปกปอ้ ง แกไ้ ข ค้มุ ครองและ การปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ออกปฏบิ ตั หิ น้าท่ี การปฏิบัตหิ นา้ ท่ี อ
สง่ เสริมประพฤติ รู้และเขา้ ใจ ตรวจและรายงานความประพฤติ ตรวจและรายงานค
บทบาทหน้าทข่ี องตนเอง ปฏบิ ตั ิ นกั เรยี นและนักศึกษาตาม นักเรียนและนกั ศึก
ตามกฎระเบยี บของ แบบฟอรม์ ในพ้นื ทเี่ สีย่ ง ตลอดจน แบบฟอรม์ ในพืน้ ท
กระทรวงศกึ ษาธิการ ข้อบงั คับ เฝ้าระวงั สถานการณ์ ปัญหาความ เฝา้ ระวงั สถานการณ
ของสถานศึกษา มคี วามประพฤติ ประพฤตินักเรียนและนกั ศึกษา ประพฤตนิ กั เรียนแ
เหมาะสมกบั สภาพและวยั นักเรียนและนกั ศึกษาไดร้ บั การ นักเรียนและนักศึก
ตลอดจนดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ปกปอ้ ง แกไ้ ข ค้มุ ครองและส่งเสริม ปกป้อง แกไ้ ข ค้มุ ค
และนกั ศึกษาในสถานการณ์ ประพฤติ รแู้ ละเขา้ ใจบทบาทหน้าที่ ประพฤติ รูแ้ ละเขา้
ฉกุ เฉนิ ของตนเอง ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ของตนเอง ปฏิบัติต
4. เพอ่ื ใหไ้ ด้ปฏบิ ตั ิงานสง่ เสริม ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ของกระทรวงศึกษา
และคมุ้ ครองความประพฤติ
นักเรยี นและนกั ศึกษาร่วมกบั
หนว่ ยงาน ในพ้นื ที่ เครือขา่ ย
องค์กรภาครฐั และเอกชน
ตลอดจนหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้อง
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ท่ี สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชว้ี ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
ครงการ ๑๑,๙๐๐ ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั การพฒั นา
นา้ ท่ีส่งเสรมิ ความ 12 กาฬสนิ ธ์ุ การศกึ ษา จ.
และนกั ศึกษา
กงานศึกษาธกิ าร ต.ค.64- กลมุ่ 3 13 3 4 1
านวน ๒๐ คน
นา้ ทส่ี ่งเสรมิ ความ ก.ย.65 ลกู เสอื ฯ
และนักศึกษา
นวน ๘๐ คน
กศึกษา ไดร้ ับการ
ครองและสง่ เสรมิ
าใจบทบาทหน้าที่
น ๑๐๐ คน
อยละ ๙๐
มายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั
ออกปฏบิ ัตหิ น้าท่ี
ความประพฤติ
กษาตาม
ท่ีเส่ยี ง ตลอดจน
ณ์ ปญั หาความ
และนักศกึ ษา
กษาได้รับการ
ครองและส่งเสรมิ
าใจบทบาทหนา้ ที่
ตามกฎระเบยี บ
าธิการ
72
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชวี้
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
14. โครงการสง่ เสรมิ
สนบั สนนุ การดาเนนิ งาน 1. เพ่ือทบทวนความรเู้ กีย่ วกบั เปา้ หมายเชิงปริมาณ ตัวชว้ี ดั เปา้ หมายโค
ของคณะกรรมการ กฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งในการปฏบิ ตั ิ 1. พนกั งานเจา้ หน้าทส่ี ง่ เสริมความ 1. พนกั งานเจ้าหน
ส่งเสรมิ ความประพฤติ หน้าทีข่ องพนักงานเจา้ หนา้ ที่ ประพฤตนิ ักเรียนและนกั ศกึ ษา ประพฤตนิ กั เรยี นแ
นกั เรยี นและ นกั ศกึ ษา สง่ เสริมความประพฤตินกั เรยี น จานวน ๑๐๐ คน ศนู ย์เสมารกั ษส์ านัก
ศนู ยเ์ สมารกั ษส์ านกั งาน และนกั ศกึ ษา การปฏบิ ัตหิ น้าท่ี 2. นักเรยี นและนกั ศกึ ษา ได้รบั การ จงั หวัดกาฬสินธแ์ุ ล
ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ออกตรวจ ติดตามความประพฤติ ปกป้อง แก้ไข คุ้มครองและส่งเสริม จานวน ๑๐๐ คน
ประจาปี ๒๕๖5 นักเรียนและนักศึกษาในพนื้ ท่ี ประพฤติ รแู้ ละเขา้ ใจบทบาทหนา้ ท่ี 2. นกั เรียนและนกั
เส่ียง เฝา้ ระวงั สถานการณ์ ของตนเอง จานวน ๒๐๐ คน ปกปอ้ ง แก้ไข คุ้มค
ปญั หาความประพฤตนิ กั เรียน เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ ประพฤติ รแู้ ละเขา้
และนักศกึ ษา พนักงานเจา้ หนา้ ท่ีส่งเสริมความ ของตนเอง จานวน
2. เพื่อประชาสมั พันธ์ศนู ย์ ประพฤตินกั เรยี นและนักศึกษา ตัวช้ีวดั ผลลัพธ์
เครือข่ายการปอ้ งกัน แกไ้ ข ได้ทบทวนความรูเ้ กย่ี วกับกฎหมาย ผู้เขา้ รวมโครงการร
ปญั หา ความประพฤตินกั เรียน ทเ่ี กีย่ วขอ้ งในการปฏิบัตหิ นา้ ท่ีของ ได้ทบทวนความรู้เก
และนกั ศึกษาตลอดจนคุ้มครอง พนกั งานเจ้าหนา้ ทส่ี ่งเสรมิ ความ ที่เกี่ยวขอ้ งในการป
สิทธขิ องนักเรยี นและนกั ศกึ ษา ประพฤตนิ กั เรียนและนกั ศกึ ษา การ พนกั งานเจ้าหนา้ ท่สี
3. เพือ่ ใหพ้ นักงานเจา้ หนา้ ที่ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทอี่ อกตรวจ ติดตามความ ประพฤตินักเรยี นแ
ส่งเสรมิ ความประพฤตินกั เรยี น ประพฤตินกั เรยี นและนกั ศกึ ษาใน ปฏิบตั หิ น้าทอ่ี อกต
และนกั ศกึ ษา มแี ผนการ พ้นื ทเ่ี สย่ี ง เฝา้ ระวังสถานการณ์ ประพฤตินักเรยี นแ
ปฏิบัติงาน ออกปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ปญั หาความประพฤตินกั เรียนและ พน้ื ทเี่ ส่ียง เฝา้ ระว
สง่ เสรมิ ความประพฤตินักเรียน นกั ศึกษา ไดป้ ระชาสัมพนั ธศ์ นู ย์ ปญั หาความประพฤ
และนักศกึ ษาร่วมกับหนว่ ยงาน เครอื ข่ายการปอ้ งกนั แก้ไขปญั หา นกั ศกึ ษา ไดป้ ระชา
ในพืน้ ที่ เครือขา่ ยองคก์ รอน่ื ๆ ความประพฤตินกั เรียนและนกั ศกึ ษา เครือขา่ ยการปอ้ งก
ตลอดจนคุ้มครองสทิ ธขิ องนกั เรียน ความประพฤตนิ กั เร
และนักศึกษา มีแผนการปฏบิ ัติงาน ตลอดจนคุ้มครองส
ออกปฏบิ ัตหิ น้าทส่ี ่งเสริมความ และนักศกึ ษาฯ
ประพฤตนิ ักเรยี นและนกั ศกึ ษา
ร่วมกบั หนว่ ยงานในพืน้ ท่ี เครอื ข่าย
องค์กรอ่ืน
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ที่ สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชวี้ ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
ครงการ 30,000 ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั การพฒั นา
น้าที่สง่ เสริมความ 12 กาฬสนิ ธ์ุ การศกึ ษา จ.
และนกั ศกึ ษา
กงานศึกษาธกิ าร ต.ค.64- กลุ่ม 2 13 3 4 1
ละเครอื ขา่ ย รวม
ก.ย.65 ลกู เสือฯ
กศึกษา ได้รับการ
ครองและส่งเสรมิ
าใจบทบาทหน้าที่
น ๒๐๐ คน
รอ้ ยละ ๑๐๐
กีย่ วกับกฎหมาย
ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีของ
ส่งเสริมความ
และนักศึกษา การ
ตรวจ ติดตามความ
และนักศึกษาใน
วังสถานการณ์
ฤตินกั เรียนและ
าสมั พันธ์ศูนย์
กนั แกไ้ ขปญั หา
รียนและนกั ศึกษา
สทิ ธิของนกั เรียน
73
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
15. โครงการลกู เสอื 1. เพ่ือสง่ เสริมให้ลูกเสือ เนตร เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ ตัวช้ีวดั เปา้ หมายโค
เนตรนารี จราจร ประจาปี นารี มีความรู้ความเขา้ ใจเร่อื ง 1. ผ้บู งั คับบัญชาลูกเสอื ผบู้ ังคบั บัญชาลกู เส
๒๕๖๕ กฎหมายจราจร การใช้รถใช้ถนน เนตรนารี และวทิ ยากร ลกู เสือ เนตรนารี
อย่างปลอดภัย มที กั ษะการใช้ จานวน ๒0 คน รวมจานวน ๑๐๐ ค
สญั ญาณมอื สญั ญาณนกหวีด ๒. ลกู เสอื เนตรนารี จราจร ใน ตวั ช้ีวดั ผลลพั ธ์
ในการปฏบิ ัติหนา้ ทกี่ ารอานวย สถานศกึ ษา จานวน 80 คน ผู้เข้ารบั การฝกึ อบร
ความสะดวก ดา้ นการจราจร เป้าหมายเชิงคุณภาพ มคี วามรู้ความเขา้ ใ
ร่วมกับเจ้าหน้าทต่ี ารวจจราจร ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมร้อยละ ๙๐ จราจร การใชร้ ถใช
และสามารถนาความรู้ ทกั ษะ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเรอื่ งกฎหมาย ปลอดภยั มที ักษะก
ไปใชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน จราจร การใช้รถใชถ้ นน อยา่ ง สัญญาณนกหวีดใน
ไดอ้ ย่างถกู ต้อง ปลอดภัย มีทักษะการใชส้ ัญญาณมือ การอานวยความสะ
2. เพื่อส่งเสริมใหเ้ กดิ การจดั ต้ัง สญั ญาณนกหวีดในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี การจราจรรว่ มกบั เ
เครอื ขา่ ยจิตอาสาและการ การอานวยความสะดวก ดา้ น จราจร และสามารถ
บาเพ็ญประโยชนเ์ พือ่ ชว่ ยเหลอื การจราจรรว่ มกับเจ้าหน้าทีต่ ารวจ ทักษะ ไปใช้ในการ
สังคม ด้านการจราจรของลกู เสอื จราจร และสามารถนาความรู้ ชวี ติ ประจาวนั ไดอ้
เนตรนารี ในสถานศกึ ษาและ ทักษะ ไปใชใ้ นการดาเนิน ตงั้ เครือขา่ ยจิตอาส
ระหว่างสถานศึกษา ชวี ติ ประจาวัน ได้อยา่ งถูกตอ้ ง มกี าร ประโยชน์เพอ่ื ชว่ ยเ
3. เพื่อสง่ เสรมิ การจัดกิจกรรม ตั้งเครอื ข่ายจิตอาสาและการบาเพญ็ การจราจรของลูกเส
การเรยี นการสอนลกู เสอื เนตร ประโยชน์เพื่อชว่ ยเหลอื สงั คมด้าน สถานศึกษาและระ
นารี เพ่มิ มากขึ้น การจราจรของลูกเสอื เนตรนารี ใน ตลอดจนสง่ เสริมกา
สถานศกึ ษาและระหวา่ งสถานศึกษา เรยี นการสอนลกู เส
ตลอดจนส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรมการ มากข้นึ
เรียนการสอนลูกเสือ เนตรนารี เพิ่ม
มากขึน้
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ที่ สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชวี้ ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
ครงการ 100,000 ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั การพฒั นา
สอื วทิ ยากร 12 กาฬสนิ ธ์ุ การศกึ ษา จ.
ต.ค.64- กลุ่ม 3 13 3 4 1
ก.ย.65 ลูกเสือฯ
คน
รมร้อยละ ๙๐
ใจเรือ่ งกฎหมาย
ช้ถนนอยา่ ง
การใชส้ ัญญาณมอื
นการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี
ะดวก ดา้ น
เจ้าหนา้ ท่ตี ารวจ
ถนาความรู้
รดาเนนิ
อย่างถูกต้อง มกี าร
สาและการบาเพ็ญ
เหลอื สงั คมดา้ น
สอื เนตรนารี ใน
ะหว่างสถานศึกษา
ารจัดกจิ กรรมการ
สือ เนตรนารี เพ่ิม
74
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชวี้
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
16. โครงการฝกึ อบรม
แกนนาสง่ เสรมิ ความ 1. เพ่อื ใหน้ ักเรยี นและนกั ศึกษา เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ ตัวช้วี ดั เป้าหมายโค
ประพฤตนิ กั เรยี นและ มีความรู้เรื่องการสง่ เสริมความ 1. นักเรยี นและนกั ศึกษาแกนนา 1. นกั เรยี นและนกั
นกั ศกึ ษา ประจาปี ประพฤตินกั เรยี นและนกั ศกึ ษา จานวน ๘๐ คน จานวน ๘๐ คน
๒๕๖5 บทบาทและหนา้ ทข่ี องแกนนา 2. พนักงานเจ้าหนา้ ที่ส่งเสรมิ ความ 2. พนกั งานเจา้ หน
ส่งเสริมความประพฤตินกั เรยี นและ ประพฤตินักเรยี นและนักศกึ ษา, ประพฤตนิ ักเรียนแ
นักศึกษา,ทกั ษะการใหค้ าปรกึ ษา, วิทยากรและเจ้าหน้าที่ วทิ ยากรและเจ้าหน
การปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาการ จานวน ๒๐ คน จานวน ๒๐ คน
รังแกกนั ,การใช้สอื่ ออนไลนอ์ ยา่ ง เป้าหมายเชงิ คุณภาพ ตวั ชี้วัดผลลพั ธ์
สรา้ งสรรคแ์ ละปลอดภัย,การแกไ้ ข ผูเ้ ข้ารวมโครงการรอ้ ยละ ๘๐ ผเู้ ข้ารวมโครงการร
ปญั หาความขดั แย้งอย่างสนั ตวิ ธิ ี มีความร้เู รื่องการสง่ เสริมความ มีความรูเ้ รอ่ื งการส่ง
ตลอดจนรแู้ ละเขา้ ใจการใชท้ กั ษะ ประพฤตินกั เรยี นและนักศกึ ษา ประพฤตนิ กั เรียนแ
ชีวิตในศตวรรษท่ี ๒๑ บทบาทและหนา้ ทีข่ องแกนนา บทบาทและหน้าที่ข
2. เพือ่ สรา้ งนกั เรียนและ ส่งเสรมิ ความประพฤตนิ กั เรียนและ สง่ เสริมความประพ
นกั ศึกษาให้รู้บทบาทหนา้ ทกี่ ารเปน็ นกั ศกึ ษา,ทักษะการให้คาปรึกษา, นักศกึ ษา,ทกั ษะกา
แกนนาในการสง่ เสรมิ ความ การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาการ การป้องกนั และแก
ประพฤตนิ กั เรยี นและนกั ศกึ ษาโดย รงั แกกัน,การใชส้ ่ือออนไลน์อย่าง รังแกกัน,การใช้สื่ออ
จดั ตัง้ และเขา้ ร่วมเป็นองค์กรแกน สรา้ งสรรคแ์ ละปลอดภัย,การแก้ไข สร้างสรรค์และปลอ
นาส่งเสริมความประพฤตินกั เรยี น ปญั หาความขดั แยง้ อยา่ งสันติวธิ ี ปัญหาความขดั แย้ง
3. เพอ่ื ให้นกั เรยี นและนกั ศึกษา ตลอดจนรูแ้ ละเข้าใจการใชท้ กั ษะ ตลอดจนร้แู ละเข้าใ
สามารถนาความรู้ทไ่ี ดร้ ับจากการ ชวี ติ ในศตวรรษที่ ๒๑ รว่ มเป็นแกน ชวี ิตในศตวรรษที่ ๒
ฝกึ อบรมไปประยกุ ตใ์ ช้ในการ นาในการสง่ เสรมิ ความประพฤติ นาในการสง่ เสรมิ ค
ดารงชีวิตประจาวนั และเปน็ แกน นกั เรียนและนักศึกษาโดยจัดตง้ั เปน็ นกั เรยี นและนักศึก
นาในการขบั เคล่อื นการ องค์กรแกนนาสง่ เสรมิ ความ องค์กรแกนนาส่งเส
ดาเนนิ งานส่งเสรมิ ความประพฤติ ประพฤตนิ ักเรียน สามารถนาความรู้ ประพฤตนิ กั เรียน ส
นักเรยี นและนักศกึ ษา ใน ท่ีได้รบั จากการฝึกอบรมไป ที่ไดร้ ับจากการฝกึ อ
สถานศึกษา รวมทั้งเป็นเครอื ขา่ ย ประยุกต์ใชใ้ นการดารงชีวติ ประยกุ ตใ์ ช้ในการด
การสง่ เสริมความประพฤติ ประจาวันและเป็นแกนนาในการ ประจาวันและเปน็ แ
นักเรยี นและนักศึกษาระหวา่ ง ขบั เคลื่อน การดาเนินงานสง่ เสริม ขับเคลื่อน การดาเน
สถานศกึ ษา และ ศนู ยเ์ สมารักษ์ ความประพฤตินกั เรียนและนกั ศึกษา ความประพฤตินกั เร
สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดได้ ในสถานศึกษา ในสถานศึกษา
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ท่ี สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชวี้ ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
ครงการ ๒๓๖,๐๐๐ ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั การพฒั นา
กศกึ ษาแกนนา 12 กาฬสนิ ธุ์ การศกึ ษา จ.
ต.ค.64- กลมุ่ 3 13 3 4 1
ก.ย.65 ลูกเสอื ฯ
นา้ ที่ส่งเสริมความ
และนกั ศึกษา,
น้าที่
ร้อยละ ๘๐
งเสริมความ
และนกั ศึกษา
ของแกนนา
พฤตนิ กั เรยี นและ
ารใหค้ าปรกึ ษา,
ก้ไขปญั หาการ
ออนไลนอ์ ยา่ ง
อดภัย,การแกไ้ ข
งอยา่ งสันติวธิ ี
ใจการใช้ทกั ษะ
๒๑ ร่วมเปน็ แกน
ความประพฤติ
กษาโดยจดั ตง้ั เปน็
สรมิ ความ
สามารถนาความรู้
อบรมไป
ดารงชีวติ
แกนนาในการ
นนิ งานส่งเสรมิ
รียนและนกั ศกึ ษา
75
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาผเู้ รยี นทกุ ชว่ งวยั ใหม้ ีคณุ ภาพ
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
1.โครงการ พฒั นาตวั ชว้ี ดั 1. เพื่อวิเคราะหแ์ ละสรปุ ผลการ เป้าหมายเชงิ ผลผลิต ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็
รว่ มและกรอบการ ประเมินตัวชวี้ ัดร่วมของส่วน 1. รอ้ ยละของส่วนราชการหรือ 1. รอ้ ยละของสว่ น
ประเมนิ ตวั ชวี้ ดั รว่ มของ ราชการหรือหนว่ ยงานและ หน่วยงานและสถานศกึ ษา สงั กดั หน่วยงานและสถาน
สว่ นราชการหรอื สถานศึกษา สงั กัด กระทรวงศึกษาธิการ ในจังหวดั กระทรวงศกึ ษาธกิ า
หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ในจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ มีผลการประเมนิ ผลการ กาฬสินธุ์ มผี ลการป
สงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กาฬสนิ ธุ์ ปฏิบตั งิ านตามตวั ชี้วัดรว่ ม ในระดบั ปฏบิ ัติงานตามตวั ช
ในจังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ 2. เพ่ือจัดทารายงานผลการ คุณภาพ ดี คุณภาพ ดี
ประเมนิ ตัวชีว้ ัดร่วมของ 2. รายงานผลการประเมินตวั ชว้ี ดั 2. รายงานผลการป
หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา สังกัด ร่วมของส่วนราชการหรอื หนว่ ยงาน ร่วมของส่วนราชกา
กระทรวงศึกษาธิการ ในจังหวดั ราชการและสถานศกึ ษา สังกัด ราชการและสถานศ
กาฬสินธุ์ กระทรวง ศึกษาธกิ าร ในจังหวัด กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร
กาฬสินธุ์ กาฬสินธ์ุ จานวน 1
เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
1. สว่ นราชการหรือหนว่ ยงานและ
สถานศกึ ษา สงั กดั กระทรวง
ศึกษาธกิ าร ในจงั หวดั กาฬสินธ์ุ ได้รบั
การกากบั ดแู ล เร่งรดั ตดิ ตาม และ
ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของสว่ น
ราชการหรือหนว่ ยงานและสถาน
ศกึ ษา ให้เปน็ ไปตามนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ
2. บูรณาการความร่วมมอื ระหว่าง
ส่วนราชการหรอื หน่วยงานและ
สถานศึกษา สังกัด
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ในจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ พัฒนาการเรยี นรู้
ท่ตี อบสนองการเปลย่ี นแปลงใน
ศตวรรษท่ี 21
วดั / งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ ที่ สอดคลอ้ งกบั
ยของตวั ชวี้ ดั (หนว่ ย : บาท) (ระบเุ ดอื น) รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั น นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
จ 20,000 ชาติ 20 ปี าฉบบั รฐั บาล ศธ. จงั หวดั การพฒั นา
นราชการหรือ 12 การศกึ ษา จ.
นศกึ ษาสงั กัด 4
าร ในจังหวดั ต.ค.64- นิเทศฯ 3 1 8 1 2,4
ประเมินผลการ
ชี้วัดรว่ ม ในระดบั ก.ย.65
ประเมินตัวช้วี ัด
ารหรือหนว่ ยงาน
ศกึ ษา สังกดั
ร ในจงั หวัด
1 ฉบบั
76
โครงการ/กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชวี้
ของโครงการ ของโครงการ คา่ เปา้ หมาย
2. โครงการโครงการ
ขบั เคลอื่ นการยกระดบั 1. เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพ เป้าหมายเชิงผลผลติ 1. สานักงานศกึ ษา
คุณภาพการศกึ ษาและ การศกึ ษาและการเรยี นรใู้ ห้มี 1. ดาเนนิ กจิ กรรมสาคัญเพอื่ กาฬสินธมุ์ ีการดาเน
ประสทิ ธภิ าพการศกึ ษา คณุ ภาพ เท่าเทียม และทว่ั ถงึ ขบั เคลอื่ นแผนพัฒนาการศึกษาของ ทเี่ ปน็ การขับเคล่ือน
จงั หวดั โดยผา่ นกลไกล ตามบรบิ ทของจังหวดั ทกี่ าหนด จงั หวัดลงส่กู ารปฏบิ ัติ ผ่านโครงการ แผนพฒั นาการศกึ ษ
กศจ. ข้ึนอย่างมสี ว่ นรว่ ม ขับเคลอื่ นการการยกระดับคณุ ภาพ การปฏบิ ตั ิ อย่างนอ้
2. เพอ่ื ขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตรก์ าร การศกึ ษาโดยผ่านกลไก 2. จานวนประเดน็
กจิ กรรม : พัฒนาการศึกษาของจังหวัด คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พัฒนาการศึกษาขอ
1. ยกระดบั คุณภาพ กาฬสินธุ์ ประจาปีงบประมาณ 2. การขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การ การขับเคลอื่ นลงสู่ก
การศึกษาของผู้เรยี น พ.ศ.2565 พฒั นาการศึกษาของจังหวัดให้ เป็นรปู ธรรม ระดับ
ระดับการศึกษาขัน้ สอดคลอ้ งกับแผนระดับ 1 ระดบั 2
พื้นฐาน (ยกระดบั และแผนกระทรวงศึกษาธกิ าร
O-Net /NT/RT ) 3. การจัดโครงสร้างบริหารแบบ
๒. สง่ เสรมิ การพัฒนา ร่วมมือ (Matrix Organization )
ครผู ู้สอน ดา้ น และระบบการบรหิ ารเชงิ บูรณาการ
กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ในการจัดการศกึ ษาของหนว่ ยงาน
ใหผ้ เู้ รียนมีทกั ษะท่จี าเป็น สังกัดกระทรวงศึกษาธกิ ารในจังหวดั
ในศตวรรษท่ี 21 กาฬสินธ์ุ
๓. ส่งเสรมิ การพัฒนา เป้าหมายเชิงผลลพั ธ์
กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 1. จงั หวดั กาฬสินธ์ุมกี ารขบั เคล่ือน
ในสภาวะสถานการณ์แพร่ แผนพฒั นาการศกึ ษาลงสูก่ ารปฏิบัติ
ระบาดของโรคติดเช้ือ อยา่ งเหน็ ผลเปน็ รูปธรรม โดยผ่าน
ไวรสั โคโรนา 2019 กลไกคณะกรรมการศึกษาธกิ าร
๔. ส่งเสริมการจดั จังหวดั
การศึกษาเพอื่ การอนรุ กั ษ์ 2. จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์มกี ารพฒั นา
และพฒั นาสงิ่ แวดล้อม คุณภาพการจดั การศึกษาทุก
๕. การพัฒนาคณุ ภาพ ระดับสูงขึน้ จากรูปแบบการจดั
การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับ โครงสรา้ งบรหิ ารแบบรว่ มมอื
ทศิ ทางการพัฒนาจังหวดั (Matrix Organization ) และระบบ
เพ่อื ความเปน็ อัตลกั ษณ์ การบริหารเชงิ บูรรณาการในการจัด
ของจงั หวดั การศึกษาของหน่วยงานสงั กัด
กระทรวงศกึ ษาธิการ