The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565

คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565

คมู ือนกั เรยี น ครู และผูป กครอง
ปการศึกษา 2565

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื



อดีตผอู ำนวยการ
โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

ดร.วันชัย วเิ ศษโพธศิ รี นายประทวน วไิ ลศิลป
ระยะเวลาดำรงตำแหนง ระยะเวลาดำรงตำแหนง

พ.ศ. 2542 - 2547 พ.ศ. 2547 - 2548

นายเลอพงษ อทุ ธา วาที่ ร.ต.ชัยเดช บญุ รักษา
ระยะเวลาดำรงตำแหนง ระยะเวลาดำรงตำแหนง

พ.ศ. 2548 - 2555 พ.ศ. 2555 - 2559

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 3

พระราชดำรสั รชั กาลท่ี 9

“...การศกึ ษาเปนปจ จยั สำคญั ในการสรางและพฒั นาความรู ความคดิ ความประพฤติ
และคุณธรรมของบุคคลสังคมและบานเมืองใดใหการศึกษาท่ีดีแกเยาวชนไดอยางครบถวน
ลวนพอเหมาะกันทุก ๆ ดาน สังคมและบานเมืองนั้นก็จะมีพลเมืองมั่นคงของประเทศชาติไว
และพฒั นาใหก าวหนา ตอ ไปไดโ ดยตลอด...”

ความตอนหน่งึ ในพระบรมราโชวาท
พระราชทานแกครูและนักเรยี นทไี่ ดรับพระราชทานรางวลั

วันจนั ทรท ่ี 27 กรกฎาคม 2524

พระบรมราโชบายดา นการศึกษาในหลวงรชั กาลท่ี 10

การศึกษาตอ งมุงสรา งพื้นฐานใหแกผเู รียน 4 ดาน

1. มีทศั นคติที่ถกู ตองตอบานเมือง ขอ นม้ี ีคำขยายวา ตอ งมีความรคู วามเขาใจทม่ี ีตอชาติ
บา นเมือง ยดึ ม่นั ในศาสนา ม่นั คงในสถาบนั พระมหากษตั รยิ  และมคี วามเออ้ื อาทรตอครอบครัว
และชมุ ชนของตน

2. มพี นื้ ฐานชวี ติ ท่มี ่ันคง มีคุณธรรม ขอ นมี้ ีคำขยายวา ใหร ูจกั แยกแยะสิง่ ทีผ่ ิด - ทถ่ี กู
สงิ่ ช่ัว - สงิ่ ดี เพอ่ื ปฏบิ ัตแิ ตสงิ่ ทีช่ อบทีด่ งี าม ปฏเิ สธสง่ิ ทผี่ ดิ ท่ชี วั่ เพอ่ื สรา งคนดีใหแ กบ านเมอื ง

3. มงี านทำ มีอาชีพ ขอ นีม้ คี ำขยายวา ตองใหเด็กรกั งาน สูงาน ทำงานจนสำเรจ็ อบรม
ใหเรียนรกู ารทำงาน ใหส ามารถเลี้ยงตวั และเลี้ยงครอบครวั ได

4. เปนพลเมืองดี ขอนม้ี ีคำขยายวา การเปน พลเมอื งดเี ปน หนา ทีข่ องทุกคน สถานศึกษา
และสถานประกอบการตองสง เสรมิ ใหท ุกคนมีโอกาสทำหนา ทพ่ี ลเมอื งดี การเปนพลเมอื งดีหมาย
ถงึ การมีนำ้ ใจ มคี วามเอ้ืออาทร ตองทำงานอาสาสมัคร งานบำเพญ็ ประโยชน “เห็นอะไรทจ่ี ะทำ
เพือ่ บานเมืองไดก ต็ อ งทำ”

4 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

คำนำ

โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดจ ดั ทำคมู อื นกั เรยี น ประจำปก ารศกึ ษา 2565
ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงคเพ่อื ใหนักเรยี น ไดใชเปน แนวปฎบิ ตั ติ ามระเบยี บและกฎเกณฑตาง ๆ ของโรงเรียน

เนอื้ หาของคมู อื นกั เรยี นเลม น้ี ประกอบดว ยประวตั คิ วามเปน มาของโรงเรยี น ขอ มลู บคุ ลากรโครงสรา ง
การบรหิ ารของโรงเรยี น สาระสำคญั ทเ่ี ปน ประโยชนต อ นกั เรยี น ระเบยี บปฏบิ ตั แิ ละกฎกระทรวงตา ง ๆ ตลอด
จนขอเสนอแนะอ่ืน ๆ ท่ีนักเรียนควรทราบ ท้ังนี้เพ่ือใหนักเรียนไดเขาใจบทบาทหนาท่ีของโรงเรียน และการ
ปฏิบัติตลอดระยะเวลาที่ศกึ ษาเลาเรยี นอยูใ นสถานศึกษาแหงนี้

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือนักเรียนเลมน้ีจะเปน
ประโยชนสำหรบั นกั เรยี น ผปู กครอง ครทู ุกคน

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1 พฤษภาคม 2565

โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 5

สารบญั

สัญลกั ษณ 9
ขอ มูลท่ัวไป 11
ประวตั ิโรงเรียน 12
พนั ธกจิ 13
เปา หมาย 13
คานิยม 14
จดุ เนน 15
กลยุทธ 16
คำนิยมของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 17
สารจากผูอำนวยการ 18
คณะกรรมการบรหิ าร 19
หวั หนากลมุ สาระการเรยี นรู 20
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 21
ทำเนียบผบู ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 22
ขอ มูลจำนวนผูบริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา 24
โครงสรา งการบริหารงาน 25
เวลาประกอบพธิ ีเคารพธงชาติและคาบเรียนประจำวัน 26
คำปฏิญาณตน 26
มาตรฐานนกั เรียนโรงเรียนสากล World class 27
โรงเรียนมาตรฐานสากล 28
ทกั ษะทีจ่ ำเปนสำหรบั การพัฒนาหลักสตู ร 29
การเรยี นการสอนในศตวรรษท่ี 21 30
กลมุ บริหารกจิ การนักเรยี น 31
ระเบียบวาดว ยสภาพการเปนนกั เรยี น 31
กฎกระทรวง กำหนดความประพฤตขิ องนกั เรยี นและนกั ศกึ ษา (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562 32
กฎกระทรวง กำหนดความประพฤติของนกั เรยี นและนักศกึ ษา พ.ศ. 2548 33
ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวาดว ยการลงโทษนกั เรียนหรอื นักศึกษา พ.ศ. 2548 34

6 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

สารบญั (ตอ) 35
36
ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา ดว ยเคร่ืองแบบนกั เรยี น พ.ศ. 2551 37
ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา ดวยการไวท รงผมของนักเรยี น พ.ศ. 2563 38
ขอปฏบิ ตั ิของนกั เรียนโรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 43
ระเบยี บวาดว ยการแตง กายของนักเรียน 44
กิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตยในโรงเรยี น 47
ระเบียบวา ดวยการจัดกิจกรรมสภานักเรียน พ.ศ. 2562 49
การมาสาย 50
รายการตัดคะแนนความประพฤตินกั เรยี น 54
ระเบยี บวาดวยการลงโทษนักเรียน พ.ศ. 2563 57
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 67
โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล 78
ระเบียบวาดวยการวดั และประเมนิ ผลการเรียน 80
งานทะเบียนวัดผล 91
งานแนะแนว 93
งานกองทนุ เงนิ ใหกูยืมเพ่ือการศึกษา (กยศ.) 97
กลุมบริหารงานทว่ั ไป 98
ระเบยี บการใชหอ งสมุด 98
ระเบยี บการใชห อ งโสตทศั นศึกษา 99
อาคารทีใ่ ชใ นการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 103
ระเบียบการสวดมนตไหวพระของนักเรียน 104
เพลงสรรเสริญพระบารมี 104
บททีใ่ ชใ นพิธีไหวครู 104
เพลงชาติ 106
เพลงประจำโรงเรียน 107
หมายเลขโทรศพั ทภ ายใน 108
ผังแสดงพ้นื ทีอ่ าคาร
คณะกรรมการจดั ทำคูม ือนักเรียน ประจำปก ารศึกษา 2565

โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 7

8 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

สัญลักษณ ประจำโรงเรียน

วสิ ัยทศั น (Vision)

องคก รคณุ ภาพมาตรฐานสากล ผเู รียนมคี วาม
เปนเลิศทางวชิ าการและคุณธรรม
นอ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปรัชญา (Philosophy)

นิมิตตฺ ํ สาธุรปู านํ กตฺ กู ตเวทติ า
ความกตญั ูกตเวทีเปนเคร่อื งหมายของคนดี

เอกลกั ษณ (Unity)

ความเปนเลิศทางวิชาการและคณุ ธรรม

อัตลกั ษณ (Uniqueness)

“ต.อ. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตน กลาของแผนดนิ ”

ตนไมป ระจำโรงเรียน

ตน ราชพฤกษ (ตนคูณ)

สปี ระจำโรงเรยี น

สชี มพู

โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 9

สงิ่ ศกั ด์สิ ิทธ์ทิ ่ีเคารพบชู า

พระพุทธรูปปางหา มพยาธิ
พระอิริยาบถประทับยืน พระกรซา ยทอดยาวแนบขางพระวรกาย พระหัตถขวายกขน้ึ เสมอพระอรุ ะ

หงายฝาพระหัตถอ อกตง้ั ตรงหมายความวา ทรงระงับโรคระบาด และภยั พบิ ัตติ า งๆ
ศาลพระภูมิ

เปนทส่ี ถติ ของเทพารักษ อันมีพระศวิ ะ ตายาย สิง่ ศักดสิ์ ิทธ์ิ ทสี่ กั การะเพอื่ ใหเกิดความรมเย็น
และความเปนสิรมิ งคลแกช าว เตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
พระบรมรปู รชั กาลที่ 5

สรา งขนึ้ เมอื่ วนั ที่ 20 ตลุ าคม 2558 เพอื่ เปน การนอ มรำลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั และเปน ทเี่ คารพสกั การะและยดึ เหนย่ี วจติ ใจของชาวเตรยี มอดุ มศกึ ษา
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

10 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

ขอมลู ท่วั ไป

1. ท่ีต้งั
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ตง้ั อยูเลขท่ี 121 หมู 12 ถนนนติ โย
ตำบลสวา งแดนดิน อำเภอสวางแดนดิน จังหวดั สกลนคร รหัสไปรษณยี  47110 โทรศพั ท 042-721181
โทรสาร 042-722123 E-mail : [email protected] Website : www.tune.ac.th
2. การจดั การเรยี นการสอน

2.1 โครงการหอ งเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและสง่ิ แวดลอมโครงการหอ งเรยี นพเิ ศษ
วทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ มมกี ารเปด หอ งคขู นานซง่ึ จดั การเรยี นการสอนเปน ไปตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4-6 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และออกแบบ
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ตามแนวทางของ สสวท. เปน วชิ าเลอื ก โดยลดจำนวนหนว ยการเรยี นรดู า นวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร
และเทคโนโลยีลงแตยังคงมีเนื้อหาท่ีเขมขนเหมือนเดิมเพื่อใหนักเรียนมีเวลาในการคนควาหาความรูไดดวยตนเอง
อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและมเี วลาในการพฒั นาศกั ยภาพการคดิ แกป ญ หาไดอ ยา งสรา งสรรค มแี ผนการจดั ชน้ั เรยี นเปน
1-1-1 รวม 3 หอ งเรยี น มวี ตั ถปุ ระสงคก ารจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาและสง เสรมิ ผมู คี วามสามารถพเิ ศษทางวทิ ยาศาสตร
คณติ ศาสตร เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ ม ใหไ ดร บั การพฒั นาอยา งเตม็ ศกั ยภาพ เพอื่ เปน ฐานในการพฒั นากำลงั คนดา น
วทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยขี องประเทศ

2.2 โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล
เปน การพฒั นาหลกั สตู รและการสอนและการบรหิ ารจดั การใหเ ปน โรงเรยี นมาตรฐานสากลเปด สอน

ในระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4-6 มเี ปา หมายเพอ่ื พฒั นา/ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอนและการจดั การดว ย
ระบบคณุ ภาพ เพอื่ ใหผ เู รยี นมคี ณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข องผเู รยี นเปน มาตรฐานสากล อนั เปน การตอ ยอดคณุ ลกั ษณะ
ทีพ่ ึงประสงคท ่ีเปน มาตรฐานชาตดิ วยการจดั การศึกษาใหค นในชาติเปนคนเกง คนดี และมีความสขุ ตามปฏญิ ญาวา
ดวยการจัดการศึกษาของ UNESCO ท่ีมีเปาหมายใหผูเรียนได Learn to know–learn to be–Learn to do เพื่อ
ใหมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงคในฐานะพลเมืองของชาติและ Learn to live together เพ่ือสรางคุณลักษณะที่
พงึ ประสงคใ นฐานะพลโลก คอื เปน เลศิ วชิ าการ สอื่ สารสองภาษาลำ้ หนา ทางความคดิ ผลติ งานอยา งสรา งสรรค รว มกนั
รบั ผดิ ชอบตอ สงั คมโลกโรงเรยี นไดพ ฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา โดยยดึ หลกั การและแนวคดิ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และกรอบหลักสูตรทองถิ่นพุทธศักราช 2552 ทุกประการ คือ ใหผูเรียนไดเรียนกลุม
สาระการพนื้ ฐาน 8 กลมุ สาระ เรยี นสาระเพมิ่ เตมิ ตามจดุ เนน บรู ณาการสาระการเรยี นรทู อ งถน่ิ แบบสอดแทรกเขา ไป
ในหนว ยการเรยี นรแู ละกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นจดั ใหม กี ารเรยี นการสอนสาระเพมิ่ เตมิ ทเี่ ปน สากล 3 สาระ และเนน ให
ผเู รยี นไดเ รยี นภาษาตา งประเทศท่ี 1 ภาษาองั กฤษ และภาษาตา งประเทศที่ 2 คอื ภาษาจนี ไดป รบั เปลยี่ นวธิ กี ารวดั
และประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคือใหผูเรียนสรางสรรคผลงาน นำเสนอผลงานท้ังเปนเอกสารและดวยวาจา
ควบคไู ปกับการทำแบบทดสอบ
3. การมีสวนรวมจดั การศกึ ษาดานอ่ืนๆ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนโรงเรียนในฝนรุนที่ 1 ศูนยพัฒนาศักยภาพบุคคล
เพ่ือความเปนเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) สนามสอบมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สนามสอบ O-NET ศนู ย สอวน. ชวี วทิ ยา คา ย 1 มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน สนามสอบธรรมศกึ ษา สนามสอบ CU-TEP
สถานศกึ ษาแบบอยา งการจดั กระบวนการเรยี นการสอนและการบรหิ ารจดั การตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 11

ประวัติโรงเรยี น

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร
เปนโรงเรียนมัธยมศึกษา ท่ีเปดสอนเฉพาะระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เดิมสังกัดกรมสามัญศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ ปจจุบันสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ
ตั้งอยูเลขที่ 121 หมูท่ี 12 ตำบลสวางแดนดิน อำเภอสวางแดนดิน จังหวัดสกลนคร
โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เดมิ ชอ่ื “โรงเรยี นสวา ง” กอ ตงั้ เมอ่ื พ.ศ. 2502 โดยความ
เอ้ือเฟอของ หลวงปริวรรต วรพิจิตร สมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดสกลนครสมัยนั้น ครูใหญคนแรก
คือ นายประมวล อุปพงษ วันที่ 1 สิงหาคม 2506 นายนิรัตน วิภาวิน ดำรงตำแหนงครูใหญ และ ในปนี้
ไดเปล่ียนชื่อโรงเรียนเปน “โรงเรยี นสวา งศกึ ษา”

ในป พ.ศ. 2541 กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายกระจายคุณภาพไปสูภูมิภาค
เพอื่ เปด โอกาสใหน กั เรยี นในตา งจงั หวดั มคี ณุ ภาพทดั เทยี มกบั โรงเรยี นทม่ี ชี อ่ื เสยี งในกรงุ เทพมหานคร จงึ ประกาศ
จดั ตงั้ โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาขนึ้ ทงั้ 4 ภาค ซง่ึ จดั การเรยี นการสอนแบบเดยี วกนั กบั โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา
กรุงเทพมหานคร วันท่ี 1 มิถุนายน 2542 กระทรวงศึกษาธิการไดเปลี่ยนชื่อ “โรงเรียนสวางศึกษา” เปน
“โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ” ไดด ำเนนิ การรบั นกั เรยี นและเปด ทำการเรยี นการสอน
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 ตงั้ แตปการศกึ ษา 2542 เปนตนมา ปจจุบนั โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มพี ้ืนที่ 57 ไร 2 งาน 84 ตารางวา

12 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

พันธกจิ (Mission)

1. มุง มัน่ บรหิ ารจัดการอยา งเปน ระบบตามหลักธรรมาภิบาลและเนนการมีสว นรวม
2. จดั หลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรทู มี่ งุ เนน ใหผ เู รยี นเปน เลศิ ดา นวชิ าการ และคณุ ธรรมนอ มนำหลกั ปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. สงเสรมิ โรงเรียนใหเ ปนองคกรแหงการเรียนรู
4. สงเสริมบุคลากรใหรักองคกรมจี ริยธรรมและเปน บุคคลแหง การเรยี นรู

เปา หมาย (Goal)

1. ดา นนกั เรียน
ผเู รยี นเปนบคุ คลแหง การเรียนรูต ลอดชวี ิต มีทักษะในการใชเ ทคโนโลยี และภาษาเพือ่ การสอื่ สาร
ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค และคานิยมอันดีงาม เขาใจภูมิปญญาไทยและ
ทองถ่นิ รักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ 
ผเู รยี นมคี วามเปน ผนู ำและผตู าม มคี วามเสยี สละ มมี นษุ ยสมั พนั ธ และความรบั ผดิ ชอบอนรุ กั ษส งิ่ แวดลอ ม
และธรรมชาติ

2. ดา นครู
บุคลากรทุกฝายมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม มีศักยภาพในหนาท่ีของตน ดวยการอบรม สัมมนา นิเทศ
ศึกษาตอ ทัศนศึกษา ดูงานทั้งในประเทศและตางประเทศ ยกยองและเชิดชูเกียรติบุคลากรที่ปฏิบัติงานดี
มีจรรยาบรรณ
ครแู ละนกั เรยี นเปน บคุ คลแหง การเรยี นรู รกั การอา น รกั การเรยี นรตู ลอดชวี ติ มคี วามรเู ปน สากลสามารถ
ใชเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม มีทักษะสื่อสารดวยภาษาไทยและภาษาตางประเทศอยางนอย 1 ภาษา
มที กั ษะการทำงานและการบริหารจดั การ และโรงเรียนเปน องคก รแหง การเรียนรู
ครูมีศักยภาพในการเตรยี มความพรอ มใหก ับนักเรียนสำหรบั การแขงขันโอลมิ ปกวิชาการ
มีบุคลากรเจาของภาษา เพื่อสอนวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุน และบุคลากรอื่น
ท่ีมีความเช่ียวชาญเฉพาะดาน

3. ดา นกิจกรรมการเรียนการสอน
มีการเตรียมความพรอมสำหรับนักเรียนเพื่อการสอบเขามหาวิทยาลัย การสอบแขงขันชิงทุนศึกษาตอ
ในตางประเทศและการแขงขนั ดา นตา ง ๆ ในประเทศ
นักเรียนมีคุณสมบัติตามมาตรฐานนักเรียนเตรียมอุดมศึกษา ไดแก มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเปนเลิศ
ทางวิชาการ เปนผูนำและผูตามท่ีดี มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี มีความสามารถในการสื่อสาร
มบี คุ ลกิ ภาพทดี่ ี

โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 13

4. ดา นหลกั สูตร
มีหลักสูตรการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ แบบสหศึกษา เพ่ือมุงเตรียมผูเรียนเขาศึกษา
ตอในระดับอุดมศึกษา โดยคัดเลือกจากนักเรียนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และดำเนินงานตามแนวทาง
ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545
(ฉบับท่ี 3) พุทธศักราช 2553 (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2562 และนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน นกั เรยี นสามารถเลอื กแผนการเรยี นไดต ามความชอบ ความรแู ละความสามารถของตน
มีหลักสูตรตามมาตรฐานสากล เนนกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับความตองการของ
ผูเรียนทองถ่ินและประเทศชาติ เหมาะกับศักยภาพของผูเรียน มีรายวิชาการศึกษา คนควาดวยตนเอง
(Independent Study : IS) ประกอบดวย การศึกษาคนควาและสรางองคความรู (Research and
Knowledge Formation : IS1) , การสอื่ สารและการนาเสนอ (Communication and Presentation : IS2)
การนำองคค วามรไู ปใชบ รกิ ารสงั คม (Social Service Activity : IS3)

5. ดา นระบบ ICT และระบบฐานขอมลู
มีสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีอยางเพียงพอ บุคลากรสามารถผลิต ใชส่ือนวัตกรรม และเทคโนโลยี
ในการจดั การเรยี นการสอน ใชเ ทคโนโลยใี นการพฒั นางานทกุ ระบบและมกี ารบำรงุ รกั ษาการใชส อ่ื นวตั กรรม
และเทคโนโลยอี ยา งคมุ คา

6. ดา นการพฒั นาเครือขา ย
มเี ครอื ขา ยรว มพฒั นา สามารถชว ยเหลอื ดา นวชิ าการและดา นทนุ ทรพั ย แกโ รงเรยี นเครอื ขา ยเตรยี มอดุ มศกึ ษา
โรงเรยี นพ/่ี นอ ง และโรงเรยี นทขี่ อความอนเุ คราะหแ ละบรจิ าค เพอื่ สาธารณกศุ ลตามความเหมาะสม ตอ นรบั
ใหความรูแกคณะผมู าศึกษาดงู าน
มกี ารประชาสมั พนั ธข า วสารและขอ มลู สารสนเทศของโรงเรยี นแกผ เู กย่ี วขอ งอยา งทว่ั ถงึ สมำ่ เสมอ ตลอดจน
ใชข อ มลู สารสนเทศและงานวจิ ยั เพ่ือการพัฒนา

คา นิยม (Values) TRIAMUDOM.NE Model

T = Teaching and learning concentration เนน การเรยี นการสอน
R = Rights and Responsibility สิทธิและความรบั ผิดชอบในหนาทขี่ องผเู รียน
I = Implement home – school partnership การสรา งความสมั พนั ธบ า นและโรงเรยี น
A = Aim จุดมงุ หมาย/เปาหมาย
M = Management by Professional Leadership การจดั การโดยผนู ำมอื อาชพี
U = Unity ความเปน น้ำหนง่ึ ใจเดยี วกนั
D = Discipline ระเบียบวนิ ัย
O = Organizing a Learning Environment to a Leaning Organization สรา งบรรยากาศแหง การเรยี นรเู พอ่ื เปน

องคก รแหงการเรยี นรู
M = Monitoring Progress การตรวจสอบความกาวหนา
N = Network การสรางเครือขาย
E = Encouragement การสนับสนุน สงเสรมิ เพอ่ื ใหม ีประสทิ ธภิ าพ

14 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

จดุ เนน (Indicator)

1. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 5 กลุมสาระวิชาหลกั เพ่ิมข้ึนอยางนอยรอ ยละ 10
2. ผเู รียนทกุ คนมีจติ สำนึกในความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ 
3. เพ่ิมศักยภาพผูเรียนในดานคณิตศาสตร ดานวิทยาศาสตร ดานภาษา และดานเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาสู

ระดับมาตรฐานสากล
4. สรางทางเลือกในการเรียนรู ทเ่ี นนศกึ ษาตอและประกอบอาชีพ ลดอัตราการออกกลางคัน
5. สง เสริมการจดั การศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
6. ผูเรียน ครู บคุ ลากร และสถานศึกษา ไดรบั การพฒั นาพรอ มเขาสปู ระชาคมอาเซียน
7. มภี มู ิคมุ กันตอการเปลีย่ นแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม
8. โรงเรียนผานการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในเขมแข็ง และผานการรับรอง

การประเมินคณุ ภาพภายนอกจาก สมศ.
แนวทางการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

โรงเรียนดำเนินการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาตามขอเสนอแนะ จากการประเมินคุณภาพ
การศกึ ษาภายในและภายนอก ดังน้ี

1. จัดการศึกษาใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และ ที่แกไข
เพมิ่ เตมิ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) เพอื่ ประโยชน
ตอผเู รยี นและสังคมใหบ รรลคุ วามมงุ หมายทก่ี ำหนด ซ่งึ เปนการศกึ ษาตลอดชวี ติ

2. จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหกับนักเรียนปกติ นักเรียนพิการ นักเรียนดอยโอกาส และนักเรียนที่มี
ความสามารถพเิ ศษ

3. ใชร ปู แบบการจดั การศึกษาในระบบ การจัดการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
4. ปฏิรูปการเรียนรูตามหลักการและแนวทางที่กำหนดไว อาทิ จัดตามธรรมชาติและศักยภาพ
ของนักเรียนแตละวัย และแตละคน จากแหลงเรียนรูตาง ๆ ท้ังในและนอกโรงเรียนตลอดท้ังจัดการวัด
และประเมินผลตามสภาพจรงิ
5. จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยยึดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง 2560) และมีความเหมาะสมสอดคลองกับกรอบหลักสูตรทองถิ่นของสำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสกลนคร
6. จดั กระบวนการเรยี นรตู ลอดชวี ติ ใหแ กป ระชาชนในชมุ ชน โดยใหก ารศกึ ษาอบรมตามความจำเปน
และความเหมาะสม
7. จดั ใหม กี ารวจิ ยั เกย่ี วกบั การเรยี นการสอนและการบรหิ ารจดั การ ตลอดทงั้ มงุ สง เสรมิ ใหใ ชก ระบวน
การวจิ ยั ในชัน้ เรยี น
8. บริหารจัดการโรงเรียนตามกระบวนการกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษา ท้ังดานวิชาการ
ดานงบประมาณและดานการบริหารทั่วไป ดานการบริหารบุคลากร สอดคลองกับหลักการบริหารโดยใช
โรงเรยี นเปนฐานและการมสี ว นรวมของชมุ ชน องคกรชมุ ชน และผมู สี วนเกยี่ วขอ ง
ที่กำหนด9. จัดการประกันคุณภาพการศึกษาท้ังคุณภาพภายในและภายนอก ตามเกณฑมาตรฐานการศึกษา

โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 15

10. พฒั นาวชิ าชพี ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพอื่ จดั การเรยี นการสอนใหส อดคลอ งกบั แนวทางหลกั การ
ทีก่ ำหนดตามแนวทางการปฏริ ปู การศึกษา

11. แสวงหานวัตกรรมเทคโนโลยี ภูมิปญญาไทย และภูมิปญญาทองถ่ินมาใชในการจัดการเรียนการสอน
ในโรงเรยี น

3. กลยทุ ธการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา

กลยทุ ธ (Strategy) โครงการ

กลยุทธท ี่ 1 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การสู 1. โครงการพัฒนาองคก รสคู วามเปน เลศิ ตาม
มาตรฐานสากล มาตรฐานสากล
2. โครงการประกันคุณภาพการศึกษาพัฒนา
อยางย่ังยนื
3. โครงการสรางจิตสาธารณะเสียสละเพื่อ
สว นรวม

กลยทุ ธท ่ี 2 พฒั นาหลกั สตู รและกระบวนการ 4. โครงการพัฒนาหลักสตู รและกระบวนการ
จดั การเรยี นรทู ม่ี งุ เนน ใหผ เู รยี นมคี วามเปน เลศิ จดั การเรยี นรทู ท่ี นั สมยั หลากหลายตอบสนอง
ดา นวชิ าการคณุ ธรรมนอ มนำหลกั ปรชั ญาของ ความตองและศกั ยภาพของผูเรยี น
เศรษฐกิจพอเพยี ง 5. โครงการนอ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
6. โครงการพฒั นาองคก รใหเ ออื้ ตอ การเรยี นรู

กลยุทธที่ 3 พัฒนาโรงเรียนใหมีบรรยากาศ 7. โครงการปลูกฝงคณุ ลกั ษณะเอกลักษณ
เอื้อตอการเรียนรูและเปนองคกรแหงการ นักเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา
เรยี นรดู วยนวัตกรรม ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
8. โครงการสารสนเทศถูกตองพรอมใชเตม็ ใจ
ประชาสัมพนั ธส่ือสารกัน
9. โครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยแี ละ
นวัตกรรม

กลยทุ ธท่ี 4 พฒั นาผูบ ริหาร ครแู ละบุคลากร 10. โครงการบริการเสริมดานสวัสดิภาพและ
ใหมีจริยธรรมและเปนบุคคลแหงการเรียนรู สวสั ดกิ ารของบุคลากรและนักเรียน
ดว ยกระบวนการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21 11. โครงการจัดจางบุคลากรทดแทนอัตรา
กำลังท่ขี าดใหไ ดต ามเกณฑ
12. โครงการพัฒนาความรแู ละจริยธรรมของ
บคุ ลากร

16 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

คำนิยม

ของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพิม่ เติม ใหค วามสำคญั ตอการมีสว นรวม
ในการบริหารสถานศึกษา ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไดกำหนดใหมีคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงมีสวนรวมเปนเจาของสถานศึกษา รวมท้ังมีหนาที่สำคัญในการสงเสริม สนับสนุน
สถานศกึ ษา ใหม กี ารจดั การศกึ ษาไดอ ยา งมคี ณุ ภาพ มคี วามคลอ งตวั และเกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ

ในนามคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ขอใหนักเรียน ผูปกครอง ตลอดท้ังผูท่ีมีสวนเก่ียวของทุกคนไดศึกษาคูมือนักเรียนที่โรงเรียนมอบใหน้ี
อยา งละเอยี ด และนำไปปฏบิ ตั อิ ยา งถกู ตอ ง โดยหวงั เปน อยา งยงิ่ วา นกั เรยี นจะเรยี นรอู ยา งมคี วามสขุ

(นายประสาร ภดู ี)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

โรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 17

สารจากผอู ำนวยการ

โรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

ผมในนามคณะครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
รูสึกดีใจ และภูมิใจกับนักเรียนท่ีไดเขามาศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 ปการศึกษา 2565 นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปท่ี 4 ของปการศึกษานี้เปนรุนท่ี 26 ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ถือวา เปนสถานศกึ ษาทผ่ี ปู กครองและนักเรียนตลอดจน
ชุมชนใหการยอมรับสงบุตรหลานมาเรียนจำนวนมาก ผมสัญญาวาจะคงสภาพในดานการศึกษาของโรงเรียน
ใหดีที่สุด ตามคำขวัญท่ีวา “ความเปนเลิศทางวิชาการ และคุณธรรม” คูมือนักเรียนเลมนี้จะใชเปนแนวทาง
ในการสอ่ื สารระหวา ง โรงเรยี น นกั เรยี น ผปู กครองนกั เรยี น และชมุ ชน เพอ่ื ใหท ราบแนวปฏบิ ตั ริ ว มกนั
ในการจดั การเรยี นการสอนและรวมพฒั นาโรงเรยี นใหมีความเจริญกา วหนาตอ ไป

วา ที่ ร.ต.
(ดร.สุกจิ ศรพี รหม)
ผูอ ำนวยการ

โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

18 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

คณะกรรมการบรหิ าร

โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

วา ท่ี รอยตรี ดร.สุกิจ ศรีพรหม
ผูอำนวยการ

ดร.ไพบูลย สรุ ารักษ นายพงษข จร บญุ พงษ นายปรเมศว นมิ่ มา นายอธวิ ัฒน วงษาไชย
รองผอู ำนวยการ รองผูอ ำนวยการ รองผอู ำนวยการ รองผอู ำนวยการ

นางสาวกริ ยิ า ทิพมาตย นางพรปวีณ เจริญปรดี รี ัชต นางสาวนงลักษณ บวั ทอง
หวั หนา กลุมบริหารท่วั ไป หวั หนากลมุ บริหาร หัวหนา กลมุ บริหารงานบุคคล

แผนงานและงบประมาณ

นายชํานาญ เพริดพราว นายเสนีย ธีรสิรนิ านนท 19

หวั หนากลมุ บริหารวิชาการ หวั หนากลุมบรหิ ารกิจการนักเรียน

โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

หวั หนากลุมสาระการเรียนรู

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

นางพศิ มัย พานโฮม นางพรปวีณ เจรญิ ปรดี ีรัชต นายนพดล ศรีสาคร

หัวหนา กลุม สาระการเรียนรู หัวหนากลุม สาระการเรียนรู หัวหนา กลุม สาระการเรยี นรู
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี คณติ ศาสตร ภาษาไทย

นางธิกานดา ศรสี าคร นายสุวชล สรุ าษฎร นางหทัยชนก งอยแพง

หัวหนากลมุ สาระการเรียนรู หัวหนา กลมุ สาระการเรียนรู หวั หนากลมุ สาระการเรียนรู
สังคมศึกษา ศาสนา ภาษาตา งประเทศ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
และวัฒนธรรม

นางสาวกิรยิ า ทพิ มาตย นางสาวรุจิราภรณ สายบุญรอด นายสถาพร สตุ ิบุตร
หวั หนา กลมุ สาระการเรียนรู หวั หนากลุมกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น
หวั หนา กลมุ สาระการเรียนรู ศิลปะ
การงานอาชพี

20 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

บญั ชรี ายชอื่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประจำป 2565

1. นายประสาร ภูดี
ประธานกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
2. นายเกรียงไกร วรรณพงษ
กรรมการผแู ทนผปู กครอง
3. ดร. ไพบลู ย สรุ ารกั ษ
กรรมการผูแทนครู
4. นางภาณุมาส ธรรมถาวรสกุล
กรรมการผูแทนศิษยเกา
5. นางพกั ตรกลุ พงษสทิ ธศิ กั ดิ์
กรรมการผูแทนองคกรชุมชน
6. นายปฐมพล บญุ ยืน
กรรมการผูแทนองคก รปกครองสว นทอ งถิ่น
7. พระอาจารยท องปาน จารุวณั โณ
กรรมการผแู ทนพระภกิ ษสุ งฆ
8. พระครูปริยัตสิ ริ วิ ัฒน
กรรมการผูแทนพระภิกษุสงฆ
9. นายพิทักษ จันทศรี
กรรมการผูท รงคณุ วุฒิ
10. นายณฐ ฝุนเงิน
กรรมการผูทรงคุณวฒุ ิ
11. นายสมเกียรติ สุวรรณเทน
กรรมการผูทรงคณุ วุฒิ
12. นายศุภลกั ษณ สกลุ เจริญกิจ
กรรมการผูท รงคุณวุฒิ
13. ร.ต.อ. บุญจันทร ศรสี ถาน (นายประสาร ภูดี)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
กรรมการผูทรงคณุ วุฒิ โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
14. นายเฉลิมชนม วนุ บำรงุ
กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ
15. วา ท่ี ร.ต. ดร. สุกิจ ศรพี รหม
กรรมการและเลขานกุ าร

โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 21

ทำเนยี บผบู รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

1. คณะผูบริหาร
วาที่ ร.ต. ดร. สุกิจ ศรีพรหม ผอู ำนวยการ ค.บ. , ศษ.บ , ศษ.ด
ดร. ไพบูลย สุรารักษ รองผูอำนวยการกลมุ บริหารวชิ าการ กศ.บ. , กศ.ม. , ปร.ด.
นายพงษขจร บุญพงษ รองผูอ ำนวยการกลมุ บริหารแผนงานและงบประมาณ
นายปรเมศว น่ิมมา รองผอู ำนวยการกลุมบรหิ ารงานบคุ คล
นายอธิวฒั น วงษาไชย รองผูอ ำนวยการกลุมบรหิ ารทว่ั ไป
นางสาวชญั ญาพัทธ ธนดิษฐาพงศ ค.บ.
2. กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย นางนันทิยา เชอื้ คำฮด วท.บ.
นายนพดล ศรีสาคร หวั หนา กลุมสาระฯ ค.บ. นางสาวดลนภา พรรน่ื เริง ศศ.ม.
นางสาวสุนทรี เลศิ สงคราม ศษ.บ. นางสาวอุทมุ พร ศรสี าคร กศ.ม.
นางสาวอมรรตั น เทยี มราช ศษ.บ. นางสาวปยะนุช บุญชาญ ศษ.ม.
นางสาวศกลวรรณ ฝนุ เงนิ นางสาวบุษกร เสโนฤทธิ์ กศ.ม.
นางสาวอมรรตั น โพธ์ปิ ดชา นางศศินนั ท สาขามลุ ะ วท.บ.
นายศิรวิ ัฒน ไชยตะมาตย นางสาวพิมพร อนุ แกว ค.บ.
นางสาวมริสา ไชยวงศค ต นางสาวเอมมิกา วเิ ศษอุน ค.บ.
นางสาวเรอื งรนิ สนิ ธรุ ะวทิ ย ศษ.บ.
3. กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร นายวิฑรู ย พลแสน ค.บ.
นางพรปวณี  เจรญิ ปรีดรี ชั ต หวั หนากลุม สาระฯ ศษ.ม. นางสาวศริ ิขวญั ขันทะ ศษ.บ.
นางสนุ ิสา จงขจรพนั ธุ ศษ.บ. นางสาวผกาวรรณ กลางชมภู วท.บ.
นางรพพี ร สุรารกั ษ กศ.ม. นายชัยมงคล อาจโยธา วท.ม.
นางอญั ชลี สุขพิลาภ วท.บ. นายเจษฎา ถาปนแกว ศศ.ม.
นายเสกสรร จําปาออ น ค.บ. นางสาวศรญั ญา วงษศลิ า ศศ.ม.
นายอรรตพล กอ นตาล ค.บ. นางสาวปยะนชุ อรรคฮาด วท.บ.
นางฐรัชญา กนิ รี วท.บ. นางสาวศภุ ากร พวงยอด วท.บ.
นายวัชระ เหมือนสวสั ดิ์ ค.บ. นายภานุวฒั น อนิ ทรเกษม
นางสาวรงุ ทิพย ไชยทองพันธุ ศศ.บ. นางสาวอเนชา วลิ าไชย
นายภัทรกร วรตุ าธนสาร ค.บ. นายธิติรัตน ดาราช
นางสาวอจั ฉรยิ า เช้ือเพชร ศษ.บ. นางสาวมยุรี จักรสทิ ธ์ิ
5. กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
นางขวัญทรพั ย พริ กั ษ ศษ.บ. นางธิกานดา ศรสี าคร หัวหนากลมุ สาระฯ ค.บ.
นางสาวชนาพร ดาโอภา
นายธีรวัฒน พิรกั ษ นายภูวนาท พูนสวสั ดิ์ ศษ.ม
นายอภิสทิ ธิ์ ตองกงิ่ แดง นางชุมากานต สรุ เสยี ง บธ.ม.
นายอษั ฎา ลามคำ นางเสาวคนธ สิงหอร กศ.บ.
นางสาวนงลักษณ บวั ทอง ศษ.ม.
4. กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศสตรและเทคโนโลยี นางสาวพิมพช นก แจงภูเขยี ว ค.บ.
นางพศิ มัย พานโฮม หวั หนา กลมุ สาระฯ ค.ม.,ศษ.ม นางสาวปารชิ าติ พนั ธศ ิริ ศษ.บ.
นายกติ ตศิ ักดิ์ สิงหอ ร กศ.บ. นายอิสระ ดอนหลักคาํ ค.บ.
นายชาํ นาญ เพรดิ พราว ศษ.ม. นางสาวอัมพา เพ็ญสวุ รรณ บธ.บ
นางสาววิยะดา สริ อิ มตธรรม ศษ.ม. นางสาวกษิรา อเนกนพโภคิน
นายสถาพร สุตบิ ุตร ศศ.ม. 6. กลุมสาระการเรยี นรูสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
นางสาวสุภาวดี ทัศมี ค.บ. นางหทยั ชนก งอยแพง หวั หนากลมุ สาระฯ วท.บ.
นางสาวบณุ ฑรกิ บตุ ราช ค.ม. นายเสนีย ธรี สริ ินานนท ค.บ.
นางกวินนาฏ เสยี งเลศิ ค.บ. นางสาวอารีลักษณ คาํ โสภา ศษ.ม.
นางสวุ ิมล สุริยะ ค.บ. นางสาวอรไท สอนพิมพ
นางกัลยารัตน นาคีย ค.ม. นายอนวุ ฒั น คำลอื ชยั
นางสาวศรอี ดุ ร ลา นสาวงษ วท.บ. นายพิชติ พล สำราญทอง ศษ.บ.

22 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

7. กลมุ สาระการเรียนรศู ิลปะ 12. ลูกจา งชว่ั คราว (ปฏบิ ตั ิการสอน) ค.บ.
นางสาวรจุ ริ าภรณ สายบญุ รอด หวั หนา กลมุ สาระฯ ศษ.บ. นายธวัชชยั สงั ขฤกษ ค.บ.
นายทชั นนท สตั ถาผล ศป.บ นายธวัชชัย ภอู าศัย ค.บ.
นางสาวอัจฉราภรณ จนั ทมาศ นางสาวนรี พัฒน ฟองออน ค.บ.
นางสาวอาทิตฐาพณั ณ รกั ษาสทิ ธิ์ นางสาวธารารตั น จนั ชมภู ศศ.บ.
นางสาวศุภาพร พิกลุ ศรี
8. กลมุ สาระการเรยี นรูการงานอาชพี กศ.ม. นางสาวมานิตา เจรญิ เชอื้ วท.บ.
นางสาวกิรยิ า ทพิ มาตย หัวหนา กลุมสาระฯ ค.บ. นายเกรียงไกร ยมิ้ แยม ค.บ.
นางสาวมาลณิ ี แกว เกดิ มี นางสาวบงั อร จตุ าผิว วท.บ.
นายสมาน ล้ำลอง ศศ.บ นายสุรสทิ ธ์ิ ตดิ มา น.บ.
นายสหชัย สุวรรณการ ค.บ. นางสาวภาวิณี สขุ คร ทล.บ
นายธราพงษ ศิริบรู ณ 13. ลูกจางช่ัวคราว (ประจำสำนักงาน)
นางณิชากร โสภาพร นางสาววลิ านี สุทา
นายพิษณุ คำภู นางสาวสชุ าดา การสุวรรณ
นางสาวศุชนั ษา อนิ หา นางสาวปย วดี สัตถาผล
นางสาวปภัสรา คมึ ยะราช นายกฤษฏ์ิพงศ สมบรู ณพรอ ม
นายธิติภทั ร ไชยพร นายฐาปนพงศ พรรื่นเริง
นางสาวธีราภรณ ยลอนนั ต
9. กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ ค.บ. นางสาวภคมน สมุ มาตร
นายสวุ ชล สรุ าษฎร หัวหนากลุมสาระฯ ศษ.บ. นางสาวสุดารัตน นลิ มาตร
นายววิ ธิ นันท หยเู หง ศษ.ม. นางสาวแพรพรรณ เอ๊ยี บทวี
นางภริ นนั ท ชว งทพิ ย ค.ม.
นางสาวสายสนุ ีย ไชยสขุ ค.บ. 14. ลูกจา งช่ัวคราว (SP2) วท.บ
นายศกั ดิ์เกยี รติ จันทรลือชัย ค.บ. นางสาวพรศริ ิ จนั ใด
นางสาวเมวชิ ญา ชวภณพิพฒั ศศ.ม.
นายนเรศ เปลยี่ นคาํ ศษ.ม. 15. ลูกจางประจำ ม.ศ.3
นางจันทรจ ริ า แงพรหม ศศ.บ. นายวศนิ บรรจทุ รัพย ม.ศ.3
นางกนกชญา หารธงชัย ศศ.บ. นายสขุ สวัสดิ์ เนตรฉยั ยา
นางสาวจริ าภรณ เหลอื งสินศิริ
นางสาวมาลพี ร ดว งโตด ศศ.บ. 16. ลกู จา งชว่ั คราว (แมบ า น,คนสวน,คนขบั รถ,รปภ.)
นายทศพร ศรพี ลพา ศศ.บ. นายวฒั นา โสภาจร ม.3
นางสาววสิ ุดา ตลบหอม นายฐิตพิ รรธน พิลาวงศ ม.6
นางสาวภรณชนก บุญจวง นายอนนั ต กดออ น
นางสาวศริ วิ รรณ นนทะชัย นายวทิ ยา จันทรประทักษ
นางสาวสทุ ธิกานต บุตราช นางสาวรักใคร ศวิ ลิ ัย ป.6
นายณฐั พงศ จันทรศรีเมอื ง นางสาวลัดดา แวงวรรณ
นางสาวกนั ตวีร คำชนะ นางสาววาสนา ผิวยะเมือง
นางสาวเตม็ สริ ิ ธรรมวิเศษ
นางสาววิภาดา นามทอง

10. กลุม กิจกรรมพฒั นาผเู รียน นางสาวสธุ ติ า ไมสงู เนิน
นายเสกสทิ ธิ์ ปาละสิทธ์ิ นางสาวอำพร มหาพรม
วท.บ. นางสายใจ สโุ พธ์ิ

11. พนักงานราชการ 17. ครพู เิ ศษ
นางสาวพมิ ณัฏฐา ชนิดกลุ ค.บ. นายภานุพงษ สุวรรณรงค วท.บ.
นางสาวจริ ารัตน แกวกอย ค.บ. นายวทิ ศั นยั พรมราช กศ.บ.

โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 23



ขอมูลจำนวนผบู ,, ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศึกษ–- า -
,,,

ทำเนยี บผบู รหิ าร )

,, 26 1016 --
21 876 ––
- 31 ,, 696 ––
72 ,, , --
2 ,, ,, ,, --
11
1 26 แผนการรับนักเรยี นท่ีเปดสอน))ปก ารศึกษา 2565
ตามหลกั สตู ร ปการศกึ ษา 25–65 - 72567
ขอมูลครูและบุคลาก27รทาง1ก-2ารศึกษ129า

-1 1 จำนวนแผนก2า26ร6เรียนท่ีเป11ด001ส166อน
887766
77 262-- 122211 396,6,9966
22 121 126121616 133011 - –1 27

8 27

-77 1122 1199 – –2 30 61
--2-2- -- 22
311 311 – –– 77

1 26 26

66 11070 –-- 11122 3399
–– 211 2277
22 66 88 - –– 822777

-- - ––- –– 122 3300 6611
-- –
-- 33 – ––– 311 3 2266 1212686
33 -
,, 77 - ––– 2 92
--
ขอมูลนกั เรียน (ปการศึกษา 25)65) 11 - 8877
22
--
26 1016 11
876

21 696 –– 33 33 111188
, –– 22 9922
–– 11
24 คู มื อ นั ก เ รี ย น –ประจ7ำป 2565 --

โครงสรางการบริหารงานโรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ผอู ำนวยการโรงเรยี น

คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน รองผูอ ำนวยการของโรงเรียน สมาคมศษิ ยเกาสวางศกึ ษา/เตรียม
ของโรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาฯ
สนามสอบ O-NET , สนามสอบ สอวน. , สนามสอบ มสธ.
สนามสอบ ธรรมศึกษา , สนามสอบ CU-TEP , สนามสอบ HCEC

กลุม บริหารงานวิชาการ กลุมบริหารงานบคุ คล กลมุ บรหิ ารงานงบประมาณและแผนงาน กลุมบรหิ ารท่ัวไป

โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 25 1. การพัฒนาหรือการดำเนินการเก่ียวกับการใหความเห็น 1. วางแผนอตั รากำลงั 1. จดั ทำแผนงบประมาณและคำขอตง้ั งบประมาณเพอ่ื เสนอตอ 1. พัฒนาระบบและเครอื ขายขอมูลสารสนเทศ
การพัฒนาสาระหลกั สตู รทองถ่ิน 2. การจดั สรรอตั รากำลงั ขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารหรอื เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั 2. การประสานงานและพฒั นาเครือขายการศึกษา
2. การวางแผนงานดา นวิชาการ 3. การสรรหาและบรรจแุ ตง ตง้ั พน้ื ฐานแลว แตก รณี 3. การวางแผนการบริหารงานการศกึ ษา
3. การจดั การเรยี นการสอนในสถานศึกษา 4. การเปลย่ี นตำแหนง ใหส งู ขนึ้ การยา ยขา ราชการครแู ละบคุ ลากร 2. การจดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารใชจ า ยเงนิ ตามทไี่ ดร บั จดั สรรงบประมาณ 4. งานวจิ ยั เพ่ือพฒั นานโยบายและแผน
4. การพฒั นาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา ทางการศกึ ษา จากสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานโดยตรง 5. การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองคก ร
5. การพฒั นากระบวนการเรียนรู 5. การดำเนนิ การเกย่ี วกบั การเลอื่ นขน้ั เงนิ เดอื น 3. การอนมุ ตั กิ ารใชจ า ยงบประมาณทไ่ี ดร บั จดั สรร 6. การพัฒนามาตรฐานการปฏบิ ัติงาน
6. การวดั ประเมนิ ผลและดำเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น 6. การลาทกุ ประเภท 4. การขอโอนและการขอเปลยี่ นแปลงงบประมาณ 7. งานเทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษา
7. การวจิ ยั เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา 7. การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน 5. การรายงานผลการเบกิ จา ยงบประมาณ 8. การดำเนินงานธกุ าร
8. การพัฒนาสง เสริมใหม แี หลง เรียนรู 8. การดำเนนิ การทางวนิ ยั และการลงโทษ 6. การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใชง บประมาณ 9. การดูแลอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอ ม
9. การนเิ ทศการศึกษา 9. การสง่ั พกั ราชการและการสงั่ ใหอ อกจากราชการไวก อ น 7. การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใชผ ลผลติ จากงบประมาณ 10. การจัดทำสำมะโนผูเรียน
10. การแนะแนว 10. การรายงานการดำเนนิ การทางวนิ ยั และการลงโทษ 8. การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ เพอ่ื การศกึ ษา 11. การรบั นกั เรยี น
11. การพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐาน 11. การอทุ ธรณแ ละการรอ งทกุ ข 9. การปฏบิ ตั งิ านอนื่ ใดตามทไ่ี ดร บั มอบหมายเกย่ี วกบั กองทนุ เพอื่ 12. การนำเสนอความเห็นเก่ียวกบั เรอื่ งการจดั ตงั้ ยบุ
การศึกษา 12. การออกจากราชการ การศกึ ษา รวมหรอื เลิกสถานศึกษา
12. การสงเสรมิ ชุมชนใหมีความเขมแข็งทางวิชาการ 13. การจดั ระบบและการจดั ทำทะเบยี นประวตั ิ 10. การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษา 13. การประสานการศึกษาในระบบนอกระบบ
13. การประสานความรว มมอื ในการพฒั นาวิชาการกับ 14. การจดั ทำบญั ชรี ายชอ่ื และใหค วามเหน็ เกย่ี วกบั การนำเสนอ 11. การวางแผนพสั ดุ และตามอธั ยาศยั
สถานศกึ ษาและองคก รอ่ืน ขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ 12. การกำหนดรปู แบบรายการหรอื คณุ ลกั ษณะเฉพาะของครภุ ณั ฑ 14. การระดมทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษา
14. การสงเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแกบ ุคคล 15. การสง เสรมิ ประเมนิ วทิ ยฐานะขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทาง หรอื สง่ิ กอ สรา งทใ่ี ชง บประมาณเพอ่ื เสนอตอ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 15. การทศั นศกึ ษา
ครอบครวั องคกร หนว ยงานสถาประกอบการและสถาบนั การศกึ ษา หรอื เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานแลว กรณี 16. งานกจิ การนักเรยี น
อื่นท่จี ัดการศึกษา 16. การสง เสรมิ และยกยอ งเชดิ ชเู กยี รติ 13. การพฒั นาระบบขอ มลู และสารสนเทศเพ่ือการจัดทำและจัด 17. การประชาสมั พนั ธงานการศกึ ษา
15. การจัดทำระเบยี บและแนวปฏิบตั เิ กยี่ วกบั งานดาน 17. การสง เสรมิ มาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณวชิ าชพี หาพัสดุ 18. การสง เสรมิ สนบั สนนุ และประสานการจดั การศึกษา
วชิ าการของสถานศึกษา 18. การสง เสรมิ วนิ ยั ธรรมและจรยิ ธรรมสำหรบั ขา ราชการครแู ละ 14. การจดั หาพสั ดุ ของบุคคล ชุมชน องคก ร หนวยงานและสถาบนั สงั คมอืน่
16. การคดั เลอื กหนังสือ เพ่ือใชใ นสถานศึกษา บคุ ลากรทางการศกึ ษา 15. การควบคมุ ดแู ล บำรงุ รกั ษาและจำหนา ยพสั ดุ ที่จดั การศกึ ษา
17. การพัฒนาและใชสอื่ เทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษา 19. การรเิ รมิ่ สง เสรมิ การขอใบอนญุ าต 16. การจดั หาผลประโยชนจ ากทรพั ยส นิ 19. งานประสานราชการกบั ภูมิภาคและสวนทองถิน่ (ท)
20. การพฒั นาขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาการดำเนนิ 17. การเบกิ เงนิ จากคลงั การรายงานผลการปฏิบตั งิ าน
การทเี่ กย่ี วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลใหเ ปน ไป ตามกฏหมายวา ดว ย 18. การรบั เงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการจา ยเงนิ 20. การจัดระบบการควบคมุ ภายในหนวยงาน
การนน้ั 19. การนำเงนิ สง คลงั 21. แนวทางการจัดกจิ กรรมเพ่ือปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมใน
20. การจดั ทำบญั ชกี ารเงนิ การลงโทษนกั เรียน
21. การจดั ทำรายงานทางการเงนิ และงบการเงนิ
22. การจดั ทำหรอื จดั หาแบบพมิ พบ ญั ชี ทะเบยี น และรายงาน

เวลาประกอบพธิ เี คารพธงชาตแิ ละคาบเรียนประจำวัน

เวลา 07.55 – 08.00 น. สัญญาณเพลงท่ี 1 เตรียมตวั เพอื่ เขาแถวท่หี นาเสาธง (มารช ต.อ.)
08.00 – 08.20 น. ประกอบพธิ หี นา เสาธง
08.30 – 09.20 น. คาบเรยี นท่ี 1
09.20 – 10.10 น. คาบเรยี นท่ี 2
10.10 – 11.00 น. คาบเรยี นท่ี 3
11.00 – 11.50 น. คาบเรียนท่ี 4 (พักเทย่ี งนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 6)
11.50 – 12.40 น. คาบเรียนที่ 5 (พักเที่ยงนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 4)
12.40 – 13.30 น. คาบเรียนท่ี 6 (พกั เที่ยงนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 5)
13.30 – 14.20 น. คาบเรียนที่ 7
14.20 – 15.10 น. คาบเรยี นที่ 8

วันสำคัญของโรงเรยี น

1. วนั สถาปนาโรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ วันท่ี 1 มถิ นุ ายน
2. พธิ ปี ระดับพระเกี้ยวนักเรียนใหม และวันไหวครูตรงกับวันพฤหสั บดี สัปดาหที่ 2 ของเดือนมิถนุ ายน
3. มอบประกาศนยี บตั รแกนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6
4. กิจกรรมปจ ฉิมนเิ ทศ กิจกรรมสง ตน กลาสูแผนดนิ
5. พิธีถวายบงั คม รชั กาลที่ 5 เนอ่ื งในวนั ปยมหาราช

คำปฏญิ าณตน

ขาพเจาขอใหคำปฏิญาณไวแ ก โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื วา
ขอ 1 ขา พเจา จะปฏบิ ัติตนตามระเบียบของ โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออก
เฉยี งเหนือทกุ ประการ
ขอ 2 ขา พเจา จะเชอ่ื ฟง และปฏิบัตติ ามคำแนะนำส่ังสอนของคณุ ครูอาจารยดวยความเคารพ
ขอ 3 ขา พเจา จะประพฤติตนใหเปน ผูม ีคุณธรรมอยา งสมำ่ เสมอ
ขอ 4 ขาพเจาจะต้ังใจศกึ ษาเลาเรียนและฝก ฝนตน เพื่อจะเปนพลเมืองท่ีดขี องชาติ
ขอ 5 ขา พเจา จะรกั ษาไวซ ่งึ คณุ คา และศักดศ์ิ รี ของโรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออก
เฉียงเหนอื ตลอดไป

คุณสมบตั ิของนักเรียนที่เขา พิธีประดบั พระเกยี้ ว

นกั เรยี นปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บของโรงเรยี นและประพฤตติ นเหมาะสมกบั สภาพความเปน นกั เรยี น
โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

นักเรียนท่ีไมมีคุณสมบัติดังกลาว ครูที่ปรึกษาจะแจงใหกลุมบริหารกิจการนักเรียนทราบเพื่อ
พิจารณางดการเขารวมพิธีประดับพระเกยี้ ว เปน ราย ๆ ไป

26 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานนกั เรียนโรงเรียนสากล World class

มาตรฐานที่ 2 เปน ผมู คี ุณธรรม จริยธรรม
มาตรฐานท่ี 3 1.1 มคี วามซ่อื สตั ย
มาตรฐานท่ี 4 1.2 มคี วามกตัญกู ตเวที
มาตรฐานท่ี 5 1.3 มคี วามอดทน
มาตรฐานท่ี 6 1.4 มค่ี วามขยนั หม่นั เพียร
มาตรฐานท่ี 7 1.5 มคี วามรบั ผิดชอบตอ ตนเอง หนาท่ี ประเทศชาติ และสังคมโลก
มาตรฐานที่ 8 1.6 มีความเสียสละ มีจิตสาธารณะ
1.7 มีความมธั ยสั ถ ประหยดั อดออม รจู กั ความพอเพียง
1.8 มีความคิดถกู ตองตามทำนองคลองธรรม
เปน ผรู ักความเปนไทย
2.1 มคี วามภาคภมู ใิ จและซาบซ้งึ ในศิลปวัฒนธรรมไทย
2.2 มคี วามจงรักภักดีในสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย
เปน ผมู ีความเปนเลศิ ทางวชิ าการ
3.1 เปนบุคคลแหงการเรียนรู
3.2 สามารถคิดวิเคราะห สงั เคราะห อยางมีเหตุผล
3.3 มคี วามคิดสรา งสรรค สามารถนำความรูม าประยกุ ตใ ชใหเกิดประโยชน
3.4 สามารถใชเทคโนโลยแี ละเครอื่ งมือแสวงหาความรู
เปนผูนำและผตู ามทด่ี ี
4.1 สามารถเปน ผูนำและผตู ามทด่ี ี
4.2 รบู ทบาทหนา ทขี่ องตนเอง
4.3 รจู กั ยอมรบั ผูอ ืน่
4.4 รจู ักการทำงานเปนทมี
เปนผมู สี ุขภาพกายสุขภาพจติ ดี
5.1 มีรา งกายแขง็ แรง รูจกั รกั ษาสุขภาพตนเอง
5.2 ปลอดจากยาเสพติดและอบายมขุ ทุกชนิด
5.3 มจี ติ ใจรา เรงิ แจมใส
5.4 มองโลกในแงด ี
5.5 สามารถปรับตวั เขา กับสงิ่ แวดลอ มได
เปน ผมู คี วามสามารถในการสอ่ื สาร
6.1 มีทักษะการสือ่ สาร ดานการฟง การพดู การอาน และการเขยี นในระดับดี
6.2 สามารถใชภ าษาไทยและภาษาตา งประเทศอยา งนอ ย 1 ภาษาสื่อสารกบั คนอ่นื ได
6.3 สื่อสารไดเหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล
เปน ผมู ีบุคลิกภาพดี
7.1 แตง กายสะอาดเรยี บรอ ย ถกู ตอ งตามกาลเทศะ
7.2 มีกิริยามารยาทและวาจาสุภาพเรยี บรอย
7.3 มีความมั่นใจในตวั เอง
7.4 มคี วามออ นนอ มถอมตน
7.5 มีมนุษยสัมพันธ มีความเปน มติ ร
มคี วามเปน ประชาธปิ ไตย
8.1 รูจกั บทบาทหนาท่ีของตนเอง
8.2 รูจกั เคารพสทิ ธิเสรภี าพของผูอ ืน่
8.3 เขาใจระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข
8.4 สามารถแสดงความคดิ เห็นไดอ ยา งมเี หตผุ ล

โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 27

โรงเรยี นมาตรฐานสากล โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

ความคาดหวัง
1. พัฒนาผูเรยี นใหมีศักยภาพเปน พลโลก
2. ยกระดับการจัดการเรยี นการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล
3. ยกระดับการบรหิ ารจดั การระบบคุณภาพ

โรงเรยี นมาตรฐานสากล
World-Class Standard School

รว มกันรบั ผดิ ชอบ เปน เลศิ วิชาการ สือ่ สารสองภาษา
ตอ สังคมโลก ผเู รียน ล้ำหนา
ผลิตงาน
อยา งสรางสรรค มศี ักยภาพเปน พลโลก ทางความคิด
World Citizen

หลกั สูตร การบริหารจัดการ
และการจัดการเรียนการสอน ระบบคุณภาพ
เทียบเคียงมาตรฐานสากล Quality System
World-Class Standard Management

Curriculum
And Instruction

28 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

ทกั ษะท่ีจำเปน สำหรบั การพัฒนาหลกั สูตร
เพอ่ื การบม เพาะพลเมอื งโลกในศตวรรษที่ 21
(Curriculum Development for Future Global Citizen)

ทกั ษะพื้นฐาน ทักษะการเรยี นรูและพัฒนา
(Core Skills)
(Personal Learning & Development Skills)

ทักษะพลเมอื ง/ความรับผิดชอบตอสงั คม ทกั ษะการทำงาน
(Citizenship Skills) (Employability Skills)

ทกั ษะพนื้ ฐาน (Core Skills) ทกั ษะการเรยี นรแู ละพฒั นา
การส่อื สาร (Personal Learning & Development Skills)
การดำเนินงาน เห็นคณุ คา และเชอื่ ม่ันในตนเอง
การใช ICT ตระหนักรูในตน และรจู กั ตนเอง
การแกปญ หา ทศั นะเชงิ บวกตอการเรยี นรู
การทำงานกับผูอ่นื จัดการ/ควบคมุ ตนเองได
คดิ /วิเคราะหอยางมีเหตผุ ล
ทักษะพลเมือง/ความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม
(Citizenship Skills) ทกั ษะการทำงาน
มสี ว นรวมกบั กจิ กรรมชุมชน/สงั คม (Employability Skills)
เคารพความหลากหลาย วางแผนงาน/กจิ กรรมได
เห็นบทบาท/มีสว นรวมในการสรางใหเกดิ ความ มีทกั ษะการจดั การตนเองและผูอ น่ื
เทา เทียม ความยุติธรรมในสังคม ตรงเวลา มวี นิ ัย ทำงานดวยตนเองได
ศึกษา/เห็บปญหาสังคม และลงมือทำเพื่อ จัดลำดบั ความสำคญั ของงานและทำงานได
ไปสูการเปลี่ยนแปลง ตามเวลา
เขา ใจวาสทิ ธมิ าพรอ มความรบั ผดิ ขอบ สามารถทำงานรวมกับคนอ่นื
และปฎิบตั ติ ามนั้น ตัง้ ใจ เตรียมการลว งหนา และยดื หยนุ
มขี ันตติ อความหลากหลาย และไมเลือกปฏบิ ตั ิ มจี ริยธรรมในการทำงาน

โรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 29

การเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21

ทกั ษะของเดก็ ในศตวรรษที่ 21 ทกั ษะดา นการคดิ อยางมีวิจารณญาณ
และทักษะในการแกป ญ หา
3R x 8C
(Critical Thinking and Problem Solving)

Reading ทกั ษะดา นการสรางสรรค และนวตั กรรม
Writing (Cross cultural Understanding)
Arithmetic ทกั ษะดา นความเขาใจตา งวัฒนธรรม

ตา งกระบวนทัศน
(Cross cultural Understanding)
ทกั ษะดา นความรว มมือ การทำงานเปนทมี

และภาวะผูนำ

(Collaboration, Teamwork and Leadership)
ทักษะดา นการสอื่ สาร สารสนเทศ และรเู ทาทันสอ่ื

(Communications, Information,
and Media Literacy)

ทักษะดา นคอมพวิ เตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสอื่ สาร

(Computing and ICT Literacy)

ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู
(Career and Learning Skills)

ความเมตตากรุณา (Compassion)
(วนิ ัย, คณุ ธรรม, จริยธรรม ฯลฯ)

30 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

งานกจิ การนกั เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงคข องผเู รียน

1. รักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย (love of nation, religion and king )
2. ซื่อสัตยสจุ ริต (honesty and intergrity)
3. มีวนิ ยั (self-discripline)
4. ใฝเรยี นรู (avidity for learning)
5. อยูอ ยางพอเพียง (observance of principles of suffic economy philosopjy one’s way of life)
6. มุงมน่ั ในการทำงาน (dedication)
7. รักในความเปนไทย (cherishing thai-ness)
8. มีจติ สาธารณะ (public-mindedness)

ระเบยี บโรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
วาดว ยสภาพการเปน นักเรยี น พ.ศ. 2549 (แกไ ขครงั้ ที่ 2 พ.ศ. 2553)

ผเู ขาเรยี นจะมีสภาพการเปน นักเรียนโรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอ เมอ่ื ไดปฏิบตั ิ
ตามระเบยี บนักเรยี นได จงึ กำหนดระเบยี บวา ดวยสภาพเปนนักเรยี นไวด ังนี้

1. การมีสภาพการเปนนักเรียน นักเรียนทุกคนจะตองมีสภาพนักเรียนก็ตอเม่ือไดมารายงานตัวมอบตัว
ลงทะเบยี นและชำระเงนิ ตามจำนวนท่ีโรงเรียนไดก ำหนด

2. การมีบัตรประจำตัวนักเรียน นักเรียนทุกคนจะตองมีบัตรประจำตัวนักเรียนตามแบบของโรงเรียน เพื่อ
เปนหลักฐานแสดงสภาพการเปนนักเรียนและใชประกอบการลงทะเบียน การตรวจสอบการมาเรียนประจำ
การตรวจสอบผลการเรียน การเขาหองสอบ การขอใบรับรองความประพฤติ การบันทึกกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน
นักเรียนจะตองนำบัตรดังกลาวติดตัวทกุ ครง้ั

3. การพน สภาพการเปนนกั เรียน ใหเปนไปตามนัยดังนี้
3.1 สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
3.2 ลาออก
3.3 ขาดคณุ สมบตั ติ ามประกาศรบั สมคั รนกั เรยี นโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
3.4 ถึงแกก รรม
3.5 นักเรียนกลุมเส่ียงตามระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนท่ีโรงเรียนเห็นวา เพื่อประโยชนและความ

ปลอดภยั ของนกั เรยี น มีความจำเปน ตองใหยายสถานศกึ ษาไปอยใู นความดแู ลของผปู กครองและหนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ ง
อยา งใกลชิด

3.6 ไมม ารายงานตวั และลงทะเบยี นตามวันและเวลาทีโ่ รงเรยี นกำหนด โดยโรงเรยี นไดแ จง ใหทราบ
ทางไปรษณียลงทะเบียนแลว 2 ครัง้

3.7 ไมม ี “ผปู กครอง” (ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา ดว ย เรอ่ื งผปู กครอง นกั เรยี น นกั ศกึ ษา
พ.ศ. 2552) ที่จะสามารถดูแลความประพฤติและการศึกษาเลาเรียน ทางบานหรือผูเล้ียงดูท่ีไมมาติดตอกับโรงเรียน
ซึ่งโรงเรยี นไดแ จงทราบทางไปรษณยี ลงทะเบยี นแลว

ประกาศ ณ วันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2565

วา ท่ี ร.ต.
(ดร.สกุ ิจ ศรพี รหม)
ผอู ำนวยการ

โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 31

กฎกระทรวง
กำหนดความประพฤติของนักเรยี นและนกั ศึกษา (ฉบับท่ี 2)

พ.ศ. 2562
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546
รฐั มนตรีวา การกระทรวงศกึ ษาธิการออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปน้ี
ขอ 1 ใหย กเลิกความใน (6) และ (7) ของขอ 1 แหง กฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียน
และนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2548 และใหใชความตอ ไปน้แี ทน
“(6) กอ เหตุทะเลาะวิวาท ทำรายรางกายผูอื่น เตรียมการหรือการกระทำใดๆ อันนาจะกอใหเกิด
ความไมสงบเรียบรอยหรือขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือรวบกลุมหรือมั่วสุมเพื่อกระทำการดังกลาว
(7) แสดงพฤติกรรมทางชูสาวอันไมเหมาะสม กระทำการลามกอนาจาร แตงกายลอแหลม หรือไม
เรยี บรอ ยในโรงเรียนหรอื สถานศึกษา หรือแตงเคร่ืองแบบนกั เรยี นหรอื นักศึกษาไมเรียบรอ ย”
ขอ 2 ใหย กเลกิ ความใน (9) ของขอ 1 แหง กฎกระทรวงกำหนดความประพฤตขิ องนกั เรยี นและนกั ศกึ ษา
พ.ศ. 2548 และใหใ ชความตอไปนี้แทน
“(9) เทยี่ วเตรน อกสถานทพี่ กั รวมกลมุ หรอื มวั่ สมุ อนั เปน การสรา งความเดอื นรอ นใหแ กต นเองหรอื ผอู นื่ ”

ใหไ ว ณ วันที่ 14 สงิ หาคม พ.ศ. 2562
ณฎั ฐพล ทปี สวุ รรณ

รฐั มนตรวี าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยที่กฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของ
นักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 ไดใชบังคับมาเปนเวลานาน สมควรแกไขเพ่ิมเติมการกำหนดความประพฤติ
ของนักเรียนและนักศึกษาใหเหมาะสมย่ิงข้ึน เพ่ือสงเสริมความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาที่เหมาะสม
มีความรับผิดชอบตอสังคม และคำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียนและนักศึกษา จึงจำเปนตองออก
กฎกระทรวงน้ี

32 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

กฎกระทรวง
กำหนดความประพฤตขิ องนักเรยี นและนักศกึ ษา

พ.ศ. 2548
อาศยั อำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 68 แหง พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 อนั เปน
กฎหมายท่ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุดคล ซ่ึงมาตรา 29 ประกอบกับ
มาตรา 31 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 39 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราช
อาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทำไดโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวง
ศกึ ษาธกิ ารออกกฎกระทรวงไวด งั ตอ ไปน้ี
ขอ 1 นักเรยี นและศึกษาตอ งไมป ระพฤติตน ดังตอ ไปนี้

(1) หนีเรยี นหรอื ออกนอกสถานศกึ ษา โดยไมไ ดร บั อนญุ าตในชวงเวลาเรยี น
(2) เลนการพนนั จดั ใหม กี ารเลนการพนัน หรอื ม่วั สมุ ในวงการพนนั
(3) พกพาอาวุธหรือวัตถรุ ะเบดิ
(4) ซ้ือ จำหนาย แลกเปล่ียน เสพสุราหรือเครื่องด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล ส่ิงมึนเมา บุหรี่ หรือ

ยาเสพตดิ
(5) ลักทรัพย กรรโชกทรัพย ขม ขู หรือบังคับชืน่ ใจเพอื่ เอาทรพั ยบคุ คลอ่นื
(6) กอหตทุ ะเลาะววิ าท ทำรา ยรา งกายผอู น่ื เตรยี มการหรอื กระทำการใด ๆ อนั นา จะกอ ให

เกิดความไมส งบเรยี บรอยหรือขัดตอ ศลี ธรรมอันดขี องประชาชน
(7) แสดงพฤตกิ รรมทางชสู าว ซง่ึ ไมเหมาะสมในที่สาธารณะ
(8) เก่ียวขอ งกับการคา ประเวณี
(9) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางวัน เพื่อเท่ียวเตรหรือรวมกลุม อันเปนการสรางความ

เดอื ดรอ นใหแกตนเองหรอื ผูอ่นื
ขอ 2 ใหโ รงเรยี นหรอื สถานศกึ ษากำหนดระเบยี บดว ยวา ดว ยความประพฤตขิ องนกั เรยี นและนกั ศกึ ษา
ไดเ ทา ที่ไมข ดั หรือแยงกบั กฎกระทรวงน้ี

ใหไว ณ วนั ท่ี 27 ธนั วาคม พ.ศ. 2548
จาตุรนด ฉายแสง

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศกึ ษาธิการ
หมายเหตุ :- เหตุในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับน้ี คอื โดยที่มาตรา 164 แหงพระราชบัญญัตคิ มุ ครองเดก็
พ.ศ. 2546 บญั ญตั ใิ หน กั เรยี นและนกั ศกึ ษาตอ งประพฤตติ นตามระเบยี บของโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษา และตาม
ท่ีกำหนดในกฎกระทรวง จึงจำเปนตองออกกฎกระทรวงน้ี

โรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 33

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
วา ดวยการลงโทษนกั เรียนหรอื นกั ศกึ ษา พ.ศ. 2548

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีวา
การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ วางระเบียบวาดวยการลงโทษนกั เรยี นและนักศึกษาไวด งั ตอไปนี้

ขอ 1 ระเบียบน้ีเรยี กวา “ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวาดวยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. 2548”
ขอ 2 ระเบยี บนใี้ หใชบ ังคับตง้ั แตวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน ตน
ขอ 3 ใหย กเลิกระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวา ดวยลงโทษนักเรียนหรือนกั ศึกษา พ.ศ. 2543
ขอ 4 ในระเบยี บนี้
“ผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความวา ครูใหญ อาจารยใหญ ผูอำนวยการอธิการบดี หรือหัวหนาของ
โรงเรียน หรือสถานศกึ ษา หรือตำแหนงท่ีเรียกช่อื อยางอน่ื ของโรงเรยี นหรือสถานศกึ ษานั้น
“การกระทำผดิ ” หมายความวา การทนี่ กั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาประพฤตฝิ า ฝน ระเบยี บขอ บงั คบั ของสถานศกึ ษาหรอื ของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ หรือกฎกระทรวงวาดว ยความประพฤติของนักเรยี นและนกั ศกึ ษา
“การลงโทษ” หมายความวา การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทำความผิด โดยมีความมุงหมายเพ่ือการสั่งสอน
ขอ 5 โทษทจี่ ะลงโทษแกน ักเรยี นหรอื นกั ศกึ ษาที่กระทำผดิ มี 4 สถาน ดงั น้ี

(1) วา กลา วตกั เตอื น ใชใ นกรณีกระทำความผิดไมรา ยแรง
(2) ทำทัณฑบน
(3) ตัดคะแนน
(4) ทำกจิ กรรมเพือ่ ใหป รบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม
ขอ 6 หา มลงโทษนกั เรยี นและนกั ศกึ ษาดว ยวธิ รี นุ แรง หรอื แบบกลน่ั แกลง หรอื ลงโทษดว ยความโกรธหรอื ดว ย
ความพยาบาท โดยคำนึงถึงอายุนักเรียนหรือนักศึกษา และความรายแรงของพฤติการณประกอบการลงโทษดวย
การลงโทษนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาใหเ ปน ไปเพอื่ เจตนาทจี่ ะแกน สิ ยั และความประพฤตไิ มด ขี องนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาใหร สู ำนกึ
ในความผดิ และกลบั ประพฤตติ นในทางทด่ี ตี อ ไปใหผ บู รหิ ารโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาหรอื ผทู บ่ี รหิ ารโรงเรยี น หรอื สถาน
ศกึ ษามอบหมายเปนผูมีอำนาจในการลงโทษนกั เรียน นักศึกษา
ขอ 7 การวา กลา วตักเตือน ใชในกรณีนักเรียนหรอื นักศึกษากระทำความผดิ ไมร า ยแรง
ขอ 8 การทำทณั ฑบ นใชใ นกรณนี กั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาทป่ี ระพฤตติ นไมเ หมาะสมกบั สภาพนกั เรยี น หรอื นกั ศกึ ษา
ตามกฎกระทรวงวา ดว ยความประพฤตนิ กั เรยี นและนกั ศกึ ษา หรอื กรณที ำใหเ สอื่ มเสยี ชอื่ เสยี ง และเกยี รตศิ กั ดข์ิ องสถาน
ศกึ ษา/ฝา ฝน ระเบยี บของสถานศกึ ษา/ไดร บั โทษวา กลา วตกั เตอื นแลว แตย งั ไมเ ขด็ หลาบการทำทณั ฑบ นใหท ำเปน หนงั สอื
และเชญิ บิดามารดา หรอื ผปู กครองมาบนั ทกึ รบั ทราบความผดิ และรับรองการทำทณั ฑบ นไวด วย
ขอ 9 การตดั คะแนนความประพฤตใิ หเ ปน ไปตามระเบยี บปฏบิ ตั วิ า ดว ยการตดั คะแนนความประพฤตนิ กั เรยี น
และนกั ศกึ ษาของแตล ะสถานศึกษากำหนด และใหท ำบันทึกขอ มลู ไวเ ปน หลกั ฐาน
ขอ 10 ทำกิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใชในกรณีท่ีนักเรียนและนักศึกษากระทำความผิดที่สมควร
ตองปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม
ขอ 11 ใหป ลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารรกั ษาการใหเ ปน ไปตามระเบยี บนแ้ี ละใหม อี ำนาจตคี วามและวนิ จิ ฉยั ปญ หา
เกยี่ วกับการปฏบิ ัตติ ามระเบยี บน้ี

ประกาศ ณ วนั ท่ี 18 มกราคม พ.ศ. 2548
อดศิ ัย โพธารามิก

รฐั มนตรวี า การกระทรวงศึกษาธิการ

34 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา ดวยเคร่อื งแบบนักเรียน พ.ศ. 2551

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติเคร่ืองแบบนักเรียน พ.ศ. 2551
รฐั มนตรีวา การกระทรวงศึกษาธกิ าร จึงวางระเบยี บไว ดงั ตอไปน้ี

ขอ 1 ระเบียบน้เี รียกวา “ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวา ดว ยเครอื่ งแบบนกั เรยี น พ.ศ. 2551”
ขอ 2 ระเบยี บนใี้ หใ ชบ ังคับต้งั แตวนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน ตนไป
ขอ 3 ใหย กเลิก

1. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดว ยเครอ่ื งแบบนักเรยี นและนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2527
2. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา ดวยเคร่อื งแบบนักเรยี นและนักศกึ ษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540
3. ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวา ดว ยเครอ่ื งแบบนกั เรียนและนักศกึ ษา (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2542
4. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดว ยเครอ่ื งแบบนักเรียนและนกั ศกึ ษา (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2546

บรรดาระเบยี บ ขอ บงั คบั หรอื คำสงั่ อน่ื ใดในสว นทก่ี ำหนดไวแ ลว ในระเบยี บน้ี หรอื ซงึ่ ขดั หรอื แยง
กับเรยี บนใ้ี หใชร ะเบียบนแ้ี ทน
ขอ 4 ระเบียบนี้ใหใชบังคับแกนักเรียนผูซึ่งศึกษาในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ต่ำกวาปริญญาตามกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ เวนแตสถานศึกษาน้ันจะมีกฎหมายกำหนด
เรอ่ื งการแตงกายไวเ ปนการเฉพาะแลว
ขอ 5 ลกั ษณะของเครอื่ งแบบนักเรียนแบงตามระดบั ประเภทการศึกษา ดงั น้ี
1. เคร่อื งแบบนกั เรียนระดบั กอ นประถมศกึ ษา
2. เครือ่ งแบบนกั เรยี นระดับประถมศกึ ษา
3. เคร่อื งแบบนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน
4. เคร่อื งแบบนักเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายประเภทสามัญศกึ ษา
เครอื่ งแบบนกั เรยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายประเภทสามัญศกึ ษา
นกั เรยี นชาย
1. เสอ้ื ผา สขี าว แบบคอเชติ้ แขนสนั้
2. เครอื่ งหมาย ใชช่ืออักษรยอของสถานศกึ ษาปก ท่อี กเส้อื เบ้อื งขวา บนเนอื้ ผา ดว ยดายหรือไหม
โดยสถานศึกษารฐั ใชสนี ำ้ เงิน สถานศกึ ษาเอกชนใชสีแดง
3. กางเกง ผา สีดำ หรอื สนี ำ้ ตาล สกี รมทา หรือสกี ากี แบบสุภาพ ขาสนั้
4. เขม็ ขัด หนงั สดี ำ หรือสนี ำ้ ตาล หัวเขม็ ขัดเปน โลหะรูปส่เี หลีย่ มผืนผา ชนิดหัวกลดั
5. รองเทา หนงั หรือผาใบ สีดำหรือสนี ้ำตาล แบบหุมสนชนิดผกู
6. ถุงเทา สั้นสีขาวหรือสีน้ำตาล
นกั เรียนหญงิ
1. เสอื้ ผา สขี าว แบบคอเชิต้ แขนส้นั
2. เคร่ืองหมาย ใชชอื่ อกั ษรยอ ของสถานศกึ ษาปกที่อกเส้อื เบ้อื งขวา บนเนื้อผาดว ยดา ยหรอื ไหม
โดยสถานศกึ ษารัฐใชส ีนำ้ เงิน สถานศึกษาเอกชนใชส ีแดง
3. กระโปรง ผาสดี ำ หัวเข็มขดั รปู สี่เหลย่ี มผืนผา ชนิดหัวกลดั หมุ ดวยหนงั หรอื ผาสเี ดยี วกนั กับเข็มขดั
4. รองเทา หนังหรือผา ใบสีดำ แบบหุม สน หมุ ปลายเทา มีสายรัดหลังเทา
5. ถงุ เทา สั้น สีขาว

โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 35

ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ
วาดวยการไวท รงผมของนกั เรยี น พ.ศ. 2563

โดยที่เปน การสมควรกำหนดขอ ปฏิบัตแิ ละขอ หามปฏบิ ัตใิ นการไวท รงผมของนกั เรียนเพ่อื ใหเ กดิ ความชดั เจน
ในการดำเนินการของสถานศึกษา มีความเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบันและการปฏิบัติตนของนักเรียนเปนไปดวย
ความถูกตอง รวมทง้ั เปนการคมุ ครองศกั ดศิ์ รีความเปน มนุษย

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 รฐั มนตรีวา การกระทรวงศึกษาธกิ ารจงึ วางระเบยี บไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ระเบยี บนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา ดว ยการไวท รงผมของนกั เรียน พ.ศ. 2563”
ขอ 2 ระเบยี บน้ใี หใชบงั คับต้ังแตวนั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปนตน ไป
ขอ 3 ในระเบยี บน้ี
“นกั เรยี น” หมายความวา บุคคลซ่งึ กำลงั ศึกษาอยูใ นสถานศกึ ษา
“สถานศึกษา” หมายความวา สถานศึกษาในสังกัดหรือกำกับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีจัดการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน เวนแตก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
“หัวหนาสถานศึกษา” หมายความวา ผูอำนวยการ หรือหัวหนาสถานศึกษาที่เรียกชื่ออยางอ่ืนที่มีอำนาจ
หนา ทห่ี รอื วัตถุประสงคใ นการจดั การศึกษา
ขอ 4 นกั เรียนตองปฏบิ ตั ิตนเกย่ี วกบั การไวท รงผม ดงั นี้

(1) นักเรียนชายจะไวผมส้ันหรือผมยาวก็ได กรณีไวผมยาวดานขาง ดานหลังตองยาวไมเลยตีนผม
ดา นหนา และกลางศรี ษะใหเ ปน ไปตามความเหมาะสมและมคี วามเรียบรอย

(2) นกั เรยี นหญงิ จะไวผ มสนั้ หรอื ผมยาวกไ็ ด กรณไี วผ มยาวใหเ ปน ไปตามความเหมาะสมและรวบให
เรยี บรอ ย

ขอ 5 นักเรียนตอ งหา มปฏบิ ตั ติ น ดังนี้
(1) ดดั ผม
(2) ยอมสีผมใหผ ดิ ไปจากเดมิ
(3) ไวหนวดหรอื เครา
(4) การกระทำอ่ืนใดซ่ึงไมเหมาะสมกับสภาพการเปนนักเรียน เชน การตัดแตงทรงผมเปนรูปทรง

สัญลักษณห รอื เปน ลวดลาย
ขอ 6 ความในขอ 4 และขอ 5 มิใหนำมาใชบังคับแกนักเรียนท่ีมีเหตุผลความจำเปนในการปฏิบัติตามหลัก

ศาสนาของตนหรือการดำเนินกจิ กรรมของสถานศกึ ษา
ขอ 7 ภายใตบ งั คบั ขอ 4 ใหส ถานศกึ ษาโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาหรอื คณะกรรมการ

บรหิ ารโรงเรยี นวางระเบยี บเกยี่ วกบั การไวท รงผมของนกั เรยี นทม่ี คี วามเฉพาะเจาะจงไดเ ทา ทไี่ มข ดั หรอื แยง กบั ระเบยี บน้ี
การดำเนนิ การตามวรรคหนงึ่ ใหย ดึ ถอื หลกั ความเหมาะสมในการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพทด่ี ขี องนกั เรยี น และการมี

สวนรวมของนักเรยี น สถานศกึ ษา ผูป กครอง และชมุ ชนทองถ่นิ
ขอ 8 ใหป ลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารรกั ษาการใหเ ปน ไปตามระเบยี บนี้ และใหม อี ำนาจตคี วามและวนิ จิ ฉยั ปญ หา

เก่ยี วกับการปฏิบัติตามระเบยี บน้ี
ใหไว ณ วันท่ี 30 มีนาคม พ.ศ. 2563
ณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ
รฐั มนตรีวาการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

36 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

ขอปฏิบัตขิ องนักเรียน
โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

1. นกั เรยี นยอ มมหี นา ทเ่ี ลา เรยี นและมสี ภาพของนกั เรยี นจงึ สมควรทจี่ ะยดึ ถอื หลกั ปฏบิ ตั ติ อ ไปน้ี และไมพ งึ กระทำ
ในส่ิงตอไปนี้
1.1 ไมเที่ยวเตรใ นสาธารณสถาน
1.2 ไมสรางความรำคาญใหแกผ สู ัญจรไปมา
1.3 ประพฤติตนไมส มควรแกผ สู ัญจรไปมา

2. ความประพฤตทิ ไี่ มเหมาะสมกับการเปนนกั เรียน ไดแก
2.1 สูบบุหร่ี ดืม่ สุรา เสพยาบา หรือเสพของมึนเมาอยา งอ่นื
2.2 เลนการพนนั หรอื การเลนทม่ี ลี กั ษณะคลายการพนัน
2.3 เขาไปในสถานที่ จำหนายสุรา, เลน การพนัน, โรงจำนำหรือสถานท่ีคาประเวณี
2.4 ประพฤติตนในทำนองชูสาว
2.5 แสดงกริ ยิ าวาจา หรอื กระทำอยางใดท่ีไมสุภาพ
2.6 เทีย่ วเตรใ นเวลากลางคืนหลงั เวลา 22.00 น.

3. นักเรียนเปน ผูท เี่ ลน กีฬาเปน ดูกฬี าเปน รูแ พ รูชนะ รอู ภัย
4. นกั เรยี นตองเคารพ ยำเกรงบิดา มารดา ผูใ หญ ครู และควรปรกึ ษากับผูใหญ เมอ่ื มปี ญ หาเกิดขน้ึ
5. นักเรียนสวมเครอ่ื งแบบ ตอ งรักษาช่ือเสียงของโรงเรยี น ตองแตง กายใหเรยี บรอย ไมสวมรองเทาแตะ เสือ้ ไม

ปลอ ยลอยชาย
6. นักเรยี นตอ งเปน ผูม ีระเบยี บวินยั อนั ดงี าม เคารพกฎระเบียบของโรงเรียน และเคารพกฎหมายของบานเมอื ง
7. นกั เรียนควรยดึ ถือในคุณธรรมตอไปนี้

7.1 ขยัน
7.2 ประหยดั
7.3 ซอ่ื สัตย
7.4 มรี ะเบยี บวนิ ัย
7.5 สภุ าพ
7.6 สะอาด
7.7 สามัคคี
7.8 มีน้ำใจ
8. นักเรยี นพึงปฏบิ ตั ิตามคา นิยมพ้นื ฐาน ๕ ประการ
8.1 ความรกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ 
8.2 การประหยัดและออม
8.3 การมรี ะเบียบวินยั และเคารพกฎหมาย
8.4 การปฏิบัติตามคณุ ธรรมของศาสนา
8.5 การพ่ึงตนเอง ขยันหม่ันเพียร และมีความรับผิดชอบ

โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 37

ระเบยี บวา ดวยการแตง กายของนักเรยี น

การประดับเคร่ืองหมาย ประดบั เขม็ พระเก้ียวท่บี ริเวณอกเสื้อดานขวา เหนอื อกั ษร ต.อ.

กระเปา ใหใ ชก ระเปา ตามทโ่ี รงเรยี นกำหนดเทา นนั้ และตอ งถอื กระเปา นกั เรยี นมาดว ยทกุ วนั

เคร่อื งประดบั อนญุ าตใหสวม นากา สรอ ยคอ แวน ตา ใหเ หมาะสมกับสภาพการเปนนักเรยี น

ตัวอยา งอกั ษร : ต:.}อ.หามประดบั สรอยขอมือ นกั เรียนชายหามใสเ คร่อื งประดบั หรอื ตมุ หู
ตวั หนอน 2 จดุ อยูบนอกั ษร ต.อ.
นักเรียนชาย 1.5 ซม.

1. ผม ใหไวทรงผมแบบรองทรง ดานหนา ยาวไมเ กนิ คว้ิ
1.1 หา มแสกกลาง

1.2 หามไวจ อน

1.3 หามไวหนวดเครา

1.4 หามยอ มหรือกัดสผี ม

1.5 หา มทานำ้ มัน หรือ เยล

2. เสอ้ื แบบเชต้ิ คอตงั้ ผา สขี าวไมบ างจนเกนิ สมควร ตดั ตวั ตรงไมร ดั รปู (ไมม เี กรด็ ดา นหลงั ) ผา อกตลอดสาบ

ท่ีอกกวาง 4 ซม. ใชกระดุมสีขาว แบนเสนผานศูนยกลางไมเกิน 1 ซม. แขนสั้น เพียงขอศอก มีกระเปาเหนือราว

นมดานซาย อกขวาปกอักษรยอโรงเรียน ต.อ. ดวยไหมสีน้ำเงิน สูงไมเกิน 1.5 ซม. และใหเก็บชายเสื้อไวในกางเกง

ไมด งึ เสื้อปดเข็มขดั

3. กางเกง ใชผ า สำดำซบิ ดา นหนา ขาสนั้ เพยี งเหนอื เขา พน จากกงึ่ กลางลกู สะบา ไมเ กนิ 5 ซม. เมอื่ ยนื ตรง

สวนกวางของขากางเกงหางจากขา 7 – 12 ซม. ตามสวนขยาดของปลายพับเขาขางในกวาง 5 ซม. ผานตรงสวน

หนา มกี ระเปา ตามแนวตะเขบ็ ขา งละ 1 กระเปา มจี บี ดา นหนา ละสองจบี ขอบมหี สู ำหรบั รอ ยเขม็ ขดั และไมม กี ระเปา

หลงั เวลาสวมใหทบั ชายเสือ้ ไวด านในใหเรยี บรอ ย

4. เขม็ ขดั ใชเ ขม็ หนงั สดี ำ ผวิ เรยี บขนาดกวา ง 3.5 - 4.0 ซม. ตามสว นของรา งกายนกั เรยี น หวั เขม็ ขดั เปน

โลหะสีทองรูปสี่เหล่ียมผืนผามน มีเหล็กกลัด 1 อัน มีปลอกหนังสีเดียวกับเข็มขัด กวาง 1.0 - 1.5 ซม. สำหรับสอด

ปลายเขม็ ขัด เวลาคาดใหสอดหกู างเกงใหเ รยี บรอ ย

5. กระเปาเป ใหใ ชของโรงเรียนเทา นน้ั หากฝาฝนโรงเรยี นจะยดึ กระเปานัน้ ไว
6. รองเทา หุมสนสีดำชนิดผูกเชือกทำดวยหนังหรือผาใบ ขอบและตาไกสำหรับรอยเชือกตองเปน

สีดำหา มสวมรองเทามีลวดลายหรือหนงั กลบั หวั แหลม หรอื สน สงู และไมใสร องเทา เหยยี บสน

7. ถงุ เทา ไมมีแถบสแี ละลวดลาย ยาวครง่ึ แขง ไมพับถงุ เทา

38 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

นกั เรียนหญงิ

1. ผม
1.1 ความยาวจรดดา นลา งปกเส้ือพอดีถา ยาวเกนิ กวานใี้ หร วบและผูกโบวส ดี ำ
1.2 ถา ไวย าว ปลายผมไมเ กนิ กลางหลงั และตอ งรวบใหเ รยี บรอ ยหากใชส ายรดั ทที่ ำแทนหนงั สตกิ๊
ตอ งใชส ีดำเทา น้ัน
1.3 ใชริบขึ้นผูกผมที่รวบไว ริบข้ึนตองมีเน้ือเงียบไมมีลวดลายในตัวขนาดของริบบ้ินกวางไมเกิน
1 นิ้ว มสี ีดำเทา นน้ั หา มใชแ บบสำเร็จหรือสายรัดผาทุกสี
1.4 ไมอนุญาตใหผูกโบวตรงกลางศรี ษะหรือติดก๊ิบขนาดใหญห รือเกลามวยผม
1.5 กบ๊ี ท่ีใชตติ ผมตอ งมขี นาดเลก็ สดี ำเทา นั้นและตองใชเพอ่ื กันผมตกลงมา
1.6 ไมใ หฉีดสเปรยห รอื ใชเยลใหผ มแขง็ และยกผมดา นหนาสูง
1.7 หามทำผมทรงแปลก ๆ เชน ถักเปยเล็กหลายอันไวบนศีรษะ ผมตรงกลางตัดส้ันและตั้งตรง
ผมท่ีมีจอนยาวกวาสวนอ่ืน ผมสองขางตัดใหยาวไมเทากันสวนทายทอยไวยาวคลายหางเตา
ซอยผมส้ันแบบผูชาย ยอมหรือกัดสีผมหรือไวผมแบบอ่ืน ๆ ท่ีขัดตอบุคลิกภาพของการเปน
นักเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
1.8 หา มใชเ ครอื่ งสำอาง และทาลปิ สติกสี

2. เสื้อ
2.1 ใชผ า สขี าวเนอื้ เรยี บไมม ลี วดลายและหนาพอทจ่ี ะไมเ หน็ เสอื้ ชน้ั ใน หา มใชผ า แพรหรอื ผา ไหม
2.2 เปนคอเชต้ิ ท่อี กเสอ้ื ทำเปนสาบตลบเขา ขางใน กวา ง 3 ซม. มจี บี ยกทีไ่ หลและจบี รดั ท่ีปลาย
แขนขอบแขนกวา ง 3 ซม.
2.3 ปลายแขนตอ งติดตะขอหรอื กระดมุ ใหเ รียบรอ ยตอ งใสเ ส้ือทับชัน้ ในทุกครงั้
2.4 อกขวาปก ชอื่ ยอ โรงเรียน ต.อ. ดวยไหมสีน้ำเงนิ สูง 1.5 ซม.

3. กระโปรง
3.1 ใชผาสดี ำเนอื้ เรยี บไมมีลวดลาย หา มใชผา แพรหรอื ผา ไหม
3.2 ดา นหนา และดา นหลงั พบั เปน จบี ขา งละสามจบี ความลกึ ของจบี 3 - 4 ซม. หนั จบี ออกดา นนอก
เยบ็ ทบั บนจบี จากใตก ระโปรง 7 - 8 ซม. และใหช ายกระโปรงยาวคลมุ เขา (วดั จากใตห วั เขา )

4. เขม็ ขดั ใชเ ขม็ ขดั หนงั สดี ำ ผวิ เรยี บขนาด 3.5 - 4 ซม. ตามสดั สว นของนกั เรยี น หวั เขม็ ขดั เปน โลหะสเี งนิ
รูปส่ีเหลี่ยมผืนผามีเหล็กกลัด 1 อัน มีปลอกหนังสีเดียวกันกับเข็มขัดนักเรียนหญิงตองคาดเข็มขัดใหเรียบรอยไม
ตึงเสอื้ ปด เขม็ ขัด

5. รองเทา รองเทาหนังดำหุมสน หัวมนชนิดมสี ายรดั ขางหลงั เทา ไมมีลวดลายไมเหยียบสนรองเทา
6. ถุงเทา สีขาวเรียบ ไมมีลวดลาย ไมมีแถบสีและดอกดวง ยาวคร่ึงแข็งแลวพับขอบประมาณ 3 ซม. ไว
เหนือตาตุม
7. ตา งหู อนญุ าตใหเ จาะหเู พอื่ ใสต ม หู เพยี งขา งละ 1 รู ใหใ ชต า งหทู ม่ี สี เี งนิ หรอื สที อง หรอื จดุ กลมดำเปน
รปู หว งเลก็ ๆ แบบเสน ลวด ไมม ลี วดลาย เสน ผา นศนู ยก ลางไมเ กนิ 1 เซนตเิ มตร ตา งหทู มี่ ตี มุ กลมอนั เดยี วไมม ลี วดลาย
ขนาดเลก็ เสนผา นศนู ยกลางไมเกนิ 0.25 ซม.
8. เล็บ ตดั สั้น รักษาความสะอาด ไมไ วเ ล็บ ไมท าเลบ็

โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 39

9. เคร่ืองแตง กายแบบอื่น ๆ
9.1 ตามระเบยี บ ในคาบเรยี นกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นจะตอ งแตง เครอ่ื งแบบชดุ กจิ กรรมของโรงเรยี น
ใหถูกตองระเบียบ กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหารจะตองแตงเครื่องแบบชุดนักศึกษาวิซาทหาร
ใหถ กู ตอ งตามระเบยี บ
9.2 ในคาบเรยี นพลศกึ ษา คาบฝก งานชา ง คาบฝก งานเกษตร คาบฝก งานศลิ ปะ หรอื อนื่ ๆ ทคี่ ลา ย
กันใหนักเรียนแตงกายตามแบบท่ี โรงเรยี นกำหนด

คุณสมบัตขิ องนักเรยี นเขา พิธีประดับพระเกี้ยว

1. แตงกายเรยี บรอ ย ตามระเบยี บของโรงเรยี น
2. ตลอดเวลาตงั้ แตเ ปด เรยี น นกั เรยี นตอ งปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บของโรงเรยี นประพฤตติ นหมาะสมกบั แตง กาย
เรียบรอ ย ตามระเบียบของโรงเรยี นสภาพการเปน นักเรยี น และสามารถปฏบิ ัติตามคำปฏญิ าณตนได
3. เปนผมู นี ำ้ ใจ ใหความรวมมือกบั สว นรวม มีจิตสาธารณะ
นักเรียนที่ขาดคุณสมบัติดังกลาว ครูท่ีปรึกษาจะแจงรายชื่อใหกลุมบริหารงานกิจการนักเรียทราบเพื่อ
พิจารณางดการเขารว มพธิ ีประดบั พระเกย้ี วตามควรแกก รณเี ปนราย ๆ ไป

เครอ่ื งแบบพลศกึ ษา

นกั เรียนชาย
1. เสอ้ื ใชเ สอื้ แขนสน้ั สกี รมทา มกี ระเปา ขา งซา ย ทกี่ ระเปา มเี ครอื่ งหมายพระเกย้ี วสชี มพู ชายเสอ้ื ตอ งเกบ็ ไว

ในกางเกงใหเ รยี บรอ ย
2. กางเกงนกั เรียน กางเกงวอรม ขายาวสีกรมทา เอวรัด มีแถบพมู า สชี มพูแถบเดียว ท้งั สองขางปลายขามีชิป

รดู ดา นนอกท้ัง 2 ขา
3. ถงุ เทา สนั้ สีขาว
4. รองเทา ผาใบสีดำ หมุ สน

นกั เรียนหญงิ

1. เส้ือ ใชเ สอื้ แขนส้ัน คอโปโล สกี รมทา มีกระเปา ขางซาย 1 ใบ ทีก่ ระเปา มีเครื่องหมายพระเก้ียวสีชมพู
2. กางเกงวอรม ขายาว สีกรมทา เอวรัด มแี ถบพูมา สชี มพแู ถบเดยี วท้ังสองขา ง ปลายขามชี ปิ รดู ดา นนอก

ทงั้ 2 ขา
3. ถงุ เทา สั้น สีขาว
4. รองเทาผาใบสขี าว หุมสน ไมมีลวดลายขางรองเทา

หมายเหตุ 1. ไมอนุญาตใหนักเรียนพบั แขนเสื้อพลศกึ ษา
2. รองเทาผาใบตอ งผูกเชือกใหเ รียบรอย
3. อนญุ าตใหส วมเครื่องแบบพลศกึ ษาเฉพาะช่วั โมงเรียนพลศกึ ษาเทาน้ัน

40 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

ตัวอยางการแตงกาย
ชดุ นกั เรยี นชาย

ตวั อยา งการแตง กาย
ชดุ นักเรยี นหญิง

ตวั อยา งการแตง กาย
ชุดกจิ กรรมชาย

โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 41

ตวั อยางการแตง กาย
ชุดกจิ กรรมหญิง

ตัวอยา งการแตงกาย
ชุดพลศกึ ษาชาย

ตัวอยางการแตงกาย
ชุดพลศกึ ษาหญงิ

42 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

กิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน

สภานักเรยี น

หลักการและเหตุผล

เนอื่ งจากประเทศไทยเปน ประเทศทมี่ รี ะบบการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยทม่ี พี ระมหากษตั รยิ 
เปน ประมขุ เพอื่ เปน การสง เสรมิ ระบอบประชาธปิ ไตยแกน กั เรยี นใหเ ปน รปู ธรรม และฝก ฝนใหน กั เรยี นไดร จู กั
การทำกจิ กรรมรว มกนั ระหวา งครู และนกั เรยี นของโรงเรยี นทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น จงึ เหน็ สมควรให
มีคณะกรรมการนกั เรยี นของโรงเรยี นขน้ึ

วตั ถุประสงค

1. เพื่อสงเสริมใหนักเรียนเขาใจและรักระบอบการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
เปนประมุข

2. เพอื่ สง เสริมใหนกั เรียนรูจักการทำกจิ กรรมอยา งมรี ะบบแบบแผนท่ถี กู ตอ งของสังคม
3. เพื่อเสริมสรางบุคลิกภาพและประสบการณใหแกนักเรียน เพ่ือการใชชีวิตประจำวันอยางมีสุข
และเจริญกาวหนา ทันตอเหตุการณทุกรูปแบบ

คุณสมบตั อิ นั พึงประสงคของสภานกั เรยี น

1. เปนผูที่ปฏิบัติตนมีระเบียบวินัยเหมาะสมแกการเปนนักเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ เปนแบบอยา งที่ดแี กนักเรยี นท่ัวไปได

2. มีความสนใจ รัก และมีความทุมเทท่ีจะทำกิจกรรมพรอมที่จะสละเวลา เพ่ือชวยเหลือกิจกรรม
ของโรงเรยี น

3. มคี วามเสียสละทัง้ แรงกาย แรงใจ เวลา และความรบั ผดิ ชอบตอ หนาท่ที ่ีไดรับมอบหมาย
4. มีความกระตือรอื รน และหม่นั ติดตามงานอยูเสมอ
5. เขารวมการประชุมทกุ ครง้ั ไมขาดประชมุ โดยไมมีเหตอุ ันสมควร
6. มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา งสรรค มคี วามรู มจี ติ สำนกึ ในหนา ทผี่ แู ทนนกั เรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 43

ระเบียบโรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
วาดว ยการจดั กจิ กรรมสภานักเรยี น พ.ศ. 2562

เพื่อใหการจัดตั้งคณะกรรมการนักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนไปตาม
นโยบายของโรงเรยี น อาศยั อำนาจตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา ดว ยการจดั กจิ กรรมในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2558
และระเบียบวาดวยการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา พ.ศ. 2521 ฉบับแกไข จึงเห็นสมควรใหวางระเบียบ วาดวยการ
จัดกจิ กรรมสภานักเรยี น ดงั ตอไปน้ี
หมวดท่ี 1 บทท่วั ไป

ขอท่ี 1 ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วาดวยการจัด
กิจกรรมสภานกั เรียน พ.ศ. 2562”

ขอท่ี 2 ระเบียบนม้ี ผี ลบังคับใชต ัง้ แตว ันท่ีประกาศใชเปน ตนไป
ขอที่ 3 ต้ังแตวันที่ใชระเบียบน้ี ใหยกเลิกระเบียบ หรือหลักการจัดกิจกรรมคณะกรรมการนักเรียน
โรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือใด ๆ ที่ขดั แยง กบั ระเบยี บนี้
ขอท่ี 4 ในระเบียบน้ี คำวา “โรงเรียน” หมายถงึ โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

“นกั เรยี น” หมายถึง นกั เรยี นโรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
“คณะครู” หมายถึง คุณครู ท่ีปฏิบัติหนาที่สอนหรือปฏิบัติหนาท่ีใน สายงานปกครองวิชาการ
ธุรการบริหารและแผนงานของโรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
“ครทู ีป่ รกึ ษา” หมายถงึ ครูท่ที ำหนาที่เปนท่ีปรกึ ษาของสภาการนกั เรยี น
“คณะกรรมการ” หมายถึง คณะกรรมการสภานักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวัน
ออกเฉยี งเหนอื
“ประธานนกั เรยี น รองประธานนกั เรยี น เลขานกุ าร เหรญั ญกิ ปฏคิ ม ประชาสมั พนั ธ สวสั ดกิ าร
และกรรมการ ตำแหนงอื่น ๆ” หมายถึง ประธานนักเรียน รองประธานนักเรียน เลขานุการ เหรัญญิก ปฏิคม
ประชาสัมพันธ สวัสดิการ กรรมการตำแหนงอ่ีนๆ ของคณะกรรมการนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ
“ผูอ ำนวยการ” หมายถึง ผูอำนวยการโรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
“ครหู วั หนา คณะนกั เรยี น”“กรรมการกลางของสภาการนกั เรยี น”“ผชู ว ยคณะกรรมการ
บริหาร”
หมวดที่ 2 วัตถปุ ระสงคของการจัดต้งั สภานกั เรยี น
ขอ ที่ 5 วัตถุประสงคข องการจัดตั้งคณะกรรมการนกั เรียน มีดงั น้ี
5.1 เพื่อเปน การสงเสรมิ และฝก การทำงานรว มกนั อยา งมรี ะบบ
5.2 เพื่อเปนตัวแทนของนักเรียนท่ีจะติดตอประสานงานกับโรงเรียน หรือ หนวยงานภายนอก
โรงเรียนทีโ่ รงเรียนมอบหมาย
5.3 เพื่อสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียน ซ่ึงอาจจะมอบหมายใหรับผิดชอบ เชน งานปกครอง
ปรับปรงุ สภาพแวดลอมในโรงเรยี น เปนตน

44 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

5.4 เพื่อเปน การฝก การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย เปนประมุข
5.5 เพ่ือสงเสรมิ ความเปน ผูนำท่ีมีคณุ ภาพ และคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ท่ดี ีงาม
5.6 เพ่ือพัฒนาบคุ ลิกภาพประชาธิปไตย
หมวดท่ี 3 หนา ทีข่ องสภานกั เรียน
ขอ ที่ 6 หนา ทขี่ องสภานักเรียน มดี ังน้ี
6.1 ปฏบิ ตั ิงานทไ่ี ดรับมอบหมายจากทางโรงเรยี น
6.2 ชว ยเหลอื และสนับสนนุ กิจกรรมของโรงเรยี น ภายในขอบขายที่นักเรียนพึงกระทำได
6.3 เปน ตัวแทนของนกั เรยี น ซึ่งไดร บั มอบหมายจากทางโรงเรยี น
6.4 ชวยเหลือ สนับสนุน และดำเนินกิจกรรมของโรงเรียน ภายในขอบเขตท่ีนกั เรยี นพงึ กระทำได
6.5 รักษาสิทธิอันชอบธรรมของนักเรียนโดยไมขัดกับกฎหมายหรือกฎระเบียบและขอบังคับของ
โรงเรยี น
6.6 ประพฤตแิ ละปฏิบัตติ นเปนผูนำท่ีดี เพ่อื เปน แบบอยางแกน กั เรียน
หมวดท่ี 4 องคป ระกอบของคณะกรรมการนกั เรยี น
ขอ ท่ี 7 องคป ระกอบของคณะกรรมการนกั เรยี น มดี ังนี้
7.1 ประธานนักเรียน 1 คน
7.2 รองประธานนกั เรียน 2 คน
7.3 เลขานุการ 1 คน
7.4 เหรญั ญกิ 1 คน
7.5 ปฏคิ ม 1 คน
7.6 สาราณยี ากร 1 คน
7.7 ประชาสมั พันธ 1 คน
7.8 สวัสดิการ 1 คน
ประธานคณะสี เปน กรรมการกลางโดยตำแหนง
ประธานคณะกรรมการบรหิ ารชั้นเรยี น เปนกรรมการกลางโดยตำแหนง
ประธานชมรม/ชมุ นุม เปน กรรมการกลางโดยตำแหนง
กรรมการบริหารตามขอ 7.3 , 7.4 , 7.5 , 7.6 , 7.7 , 7.8 อาจมีสิทธิ์แตงต้ังผูชวยเพ่ิมข้ึนไดอีก
ตามความเหมาะสม ตำแหนงละ 1 คน โดยอยใู นดลุ ยพินจิ ของครทู ีป่ รกึ ษา
หมวดที่ 5 ครูทป่ี รกึ ษา
ขอท่ี 8 ครทู ป่ี รกึ ษาของสภานักเรียน ประกอบดว ย
8.1 ครูหวั หนาสภาการนกั เรยี น
8.2 ครูทสี่ ภานกั เรยี นเสนอชือ่ 5 คน ถาเสนอชอ่ื มากกวา 5 คน ใหเรยี งตามลำดบั ที่
8.3 ใหหัวหนางานกิจกรรมนกั เรยี นโรงเรียนเปนครทู ่ปี รกึ ษาโดยตำแหนง
8.4 หวั หนาระดบั ปกครองทกุ ระดับชั้น เปนครูทีป่ รึกษาโดยตำแหนง
หมวดที่ 6 การไดมาซงึ่ คณะกรรมการนกั เรียน
ขอที่ 9 กรรมการบริหารของคณะกรรมการนกั เรียน มที ีม่ าดังนี้

โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 45

9.1 ใหผูสมัครประธานนักเรียนแตงตั้งคณะกรรมการบริหารขึ้นมา 1 ชุด มีจำนวนตามที่กำหนด
ไวใ นขอ 7.2 - 7.8 สวนตำแหนงประธานนกั เรียน ไดม าจากการเลือกตง้ั โดยมคี ณุ สมบัตดิ ังน้ี

9.1.1 ตองเปนนกั เรียนช้นั สูงสดุ ของโรงเรียนในปก ารศกึ ษาน้นั
9.1.2 ตอ งเปนนกั เรยี นที่สอบไดค ะแนนเฉลี่ยอยใู นภาคเรียนทีผ่ านมาไมต่ำกวา 2.5
9.1.3 เปน ผูท มี่ คี วามประพฤติเรยี บรอ ย มีครูลงช่ือรบั รองไมนอยกวา 2 คน
9.1.4 มสี ว นรวมในกิจกรรมของโรงเรียนมากอน โดยมีครูท่ีปรึกษารับรองไมนอยกวา
5 คน
9.2 รองประธานนักเรยี น ตอ งเปน นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 5 ในปก ารศึกษาน้ัน ๆ ซ่ึงประธาน
นักเรยี นเปน ผคู ัดเลือก
9.3 ประธานนักเรียน และรองประธานนักเรียนเปนผูคัดเลือกกรรมการนักเรียน ในขอ 7.3 , 7.4
7.5 , 7.6 , 7.7 , 7.8
9.4 คณะกรรมการนกั เรยี นในขอ 7.3 – 7.8 เปน ผคู ดั เลอื กกรรมการซงึ่ เปน ผชู ว ยของตนตามความ
เหมาะสม ไดอีกตำแหนง ละ 1 คน ตามความเหมาะสม
9.5 ใหค ณะกรรมการนกั เรยี นเสนอรายชอ่ื ครทู ป่ี รกึ ษาจำนวน 5 คน ตอ ทางโรงเรยี นภายใน 7 วนั
เพือ่ ประกาศแตงตงั้ ประธานนักเรยี น
9.6 ใหประธานนักเรียนนำรายชื่อกรรมการบริหารของคณะกรรมการนักเรียนท้ังหมดเสนอตอ
ครูที่ปรึกษารับทราบและไดรับความเห็นชอบภายใน 15 วัน นับตั้งแตวันท่ีไดประกาศแตงตั้งประธานนักเรียนให
ครูที่ปรึกษานำเสนอทางโรงเรียนเพ่ือประกาศแตงตั้งใหเสร็จสิ้นภายใน 3 วัน หลังจากการนำรายชื่อคณะกรรมการ
เสนอตอ ทางโรงเรียน
9.7 ใหโ รงเรียนแตง ตั้งคณะกรรมการจดั การเลือกประธานนกั เรยี นขึ้นมา 1 ชุด โดยใหม ีการเลือก
ต้งั ตามขน้ั ตอนดงั ตอ ไปน้ี
9.7.1 ผูที่สมัครรับเลือกตั้งเปนประธานนักเรียนตองมาจากนักเรียนระดับชั้นท่ี 5 ท่ีลง
สมัครรับเลอื กต้ังโดยมีคุณสมบตั ิ ขอ 13.1 และตอ งมคี รูทีป่ รึกษาลงช่ือรบั รอง
9.7.2 ใหนกั เรียนระดับช้ัน ม.4 และ ม.5 เลอื กตง้ั ประธานนักเรียน 1 คน
9.7.3 การเลือกตั้งประธานนักเรียนตองดำเนินการใหแลวเสร็จในสัปดาหสุดทายของ
เดอื นมกราคมในปก ารศึกษานั้น
9.7.4 การพิจารณาผูชนะการเลือกตั้งตามขอ 13.7.2 ใหพิจารณาดังนี้ ผูท่ีไดคะแนน
สูงสุดจากการนบั คะแนนเปน ประธานนกั เรียน
ขอ ที่ 10 กรรมการกลางของคณะกรรมการนกั เรียน มที ีม่ าดังน้ี
10.1 ประธานคณะกรรมการนกั เรยี น
10.2 ประธานชมรม/ชุมนม เปน ผูที่ไดร ับเลือกตัง้ จากสมาชิกของแตล ะชมรม/ชุมนมุ ตามระเบยี บ
โรงเรียน
10.3 หวั หนาชนั้ /ประธานกรรมการบรหิ ารชั้นเรียน
ขอ ท่ี 11 คณะกรรมการบรหิ ารชนั้ เรยี นจดั ตงั้ ตามโครงการ สง เสรมิ ประชาธปิ ไตยในหอ งเรยี นมจี ำนวน 10 คน

46 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

การมาสาย

การมาสาย นักเรียนทีม่ าโรงเรยี น หลงั ธงชาติขนึ้ สยู อดเสาแลว ถอื วาสาย
ระเบยี บการเขาแถวเคารพธงชาติ

1. เวลา 07.50 น. ใหส ญั ญาณโดยเปด เพลงประจำโรงเรยี น
2. เวลา 08.00 น. เคารพธงชาติ
3. นกั เรยี นปฏบิ ัติกจิ กรรมหนาเสาธง

- รอ งเพลงชาติ เพลงมารชโรงเรยี น
- สวดมนตไหวพระ แผเ มตตาสงบนงิ่
- กลา วคำปฏญิ าณตนของนกั เรยี น
- สืบสานวถิ ไี ทย ย้ิมไหวทักทายพีน่ อ งและคณุ ครู
4. แจง ประกาศตามฝา ยตาง ๆ
5. อบรมชีแ้ จงตามความเหมาะสม
6. เวลา 08.20 น. เดินแถวเขาหองเรยี นอยางมรี ะเบยี บ หรือพบครทู ีป่ รึกษาเพ่อื รับการโฮมรูม
7. เวลา 08.30 น. เร่ิมเรียน
การรักษาความสะอาด
1. ใหน ักเรยี นนงั่ ตามแผนผงั ท่ีกำหนดไว
2. จัดโตะ เกา อใ้ี นหองเรยี นใหเ ปนระเบียบตามแผนผังที่กำหนด
3. ใหน กั เรยี นรักษาโตะ เกา อี้ และหองเรียนใหสะอาดอยูเ สมอ
4. ไมขีด เขียน ทำลาย เกา อี โตะ ฝาผนงั หอ งเรยี น ประตู หนา ตา งสกปรก หรอื ทำลายสง่ิ ของตา ง ๆ
ใหเ สียหาย
5. ทำความสะอาดหองเรียนทกุ วนั ตามเวลากำหนด
6. หามเคลื่อนยา ยโตะ เกาอ้ี และเคร่อื งใชตาง ๆ ออกนอกหองเรียนโดยไมไ ดรับอนญุ าต
7. ตอ งชดใชค าเสียหาย และรบั โทษจากโรงเรียนในกรณที ่ีทำลายทรัพยสนิ ของโรงเรยี น
ระเบยี บการอยูภายในหอ งเรยี น
1. นักเรียนทุกคน ตองรักษามารยาทในการอยูในหองเรียน และถอดรองเทากอนเขาเรียนทุกครั้ง
และจดั วางใหเ ปน ระเบยี บ
2. นักเรียนตองนงั่ ตามที่ครูจดั ไวใ ห หา มสับเปลี่ยนตามความพอใจ
3. นกั เรยี นพงึ ชว ยกนั รกั ษาความสะอาดของหอ งเรยี น ผใู ดกระทำความเสยี หายใหร ายงานครทู ป่ี รกึ ษา
การปฏิบัติของผมู าสาย
1. ตองลงชอื่ รายงานตวั ตอ ครูเวรประจำวันหรือผูที่ไดร ับมอบหมาย
2. ทำพิธีหนาเสาธง เชนเดียวกับผูท่ีมาทัน และฟงการอบรมของครูเวรแตละวัน สำหรับนักเรียนท่ีมาสาย
บอ ยครัง้ โรงเรียนจะดำเนินการอยางใดอยา งหนึง่ ดงั นี้
2.1 ครูเวรประจำวันทำโทษตามสมควร
2.2 ครทู ป่ี รกึ ษาประจำชน้ั สำรวจ แจง ใหผ ปู กครองทราบพรอ มกบั เสนอตอ กลมุ บรหิ ารจดั การนกั เรยี น

โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 47

2.3 กลุมบรหิ ารกิจการนกั เรียน เชิญผปู กครองมาพบเพอื่ หาทางแกปญ หา
2.4 กลุม บรหิ ารกิจการนกั เรียน บนั ทึกไวใ นแฟมประวัติ (ทกุ คร้ัง)
3. การออกนอกหอ งเรียนตองไดร ับอนุญาตจากครปู ระจำวชิ าหรือครผู ูสอนทุกคร้งั
4. เม่ือเขาหองเรียนแลวครูประจำวิชาไมเขาหองใหหัวหนานั้นหรือรองหัวหนานั้นรายงานใหหัวหนากลุม
สาระทวนเพอ่ื จัดครูเขามาสอนแทน
5. ไมนำวชิ าอื่นข้ึนมาเรยี น หรือใชโทรศัพทโ ดยทคี่ รูผูส อนไมอนุญาต
6. หัวหนา นนั้ ตองรายงานตามแบบสำรวจการเรยี นการสอนทุกช่วั โมงตามความเปน จริง
ระเบียบการรับประทานอาหาร - น้ำดมื่
1. อนุญาตใหนักเรียนรับประทานอาหารไดในตอนเชากอนทำกจิ กรรมหนาเสาธง
2. เขาแถวซือ้ อาหารอยางมีระเบียบ
3. รับประทานอาหารเสรจ็ แลว นำภาชนะไปคนื ท่ีเกบ็ ภาชนะ
4. ไมค ุยเสียงดังและในทง้ั เศษอาหารลงบนโตะ หรอื พ้ืน
5. รับประทานเสรจ็ แลวควรรบี ออกไปเพอ่ื ใหบ ุคคลอนื่ ไดใชส ถานท่ี
6. ไมน ำอาหารน้ำดม่ื ทกุ ชนิดขน้ึ ไปรบั ประทานในอาคารเรยี น
7. ไมซ ือ้ อาหารขา งร้วั นอกโรงเรยี น
ระเบยี บการออกนอกบริเวณโรงเรยี น
ทางโรงเรียนกวดขันการออกนอกบริเวณโรงเรียนในระหวางเรียนเปนพิเศษโดยนัดยามเฝาท่ีประตูโรงเรียน
คอยตรวจบัตรอนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรียน
ลกั ษณะการออกนอกบริเวณโรงเรยี น มี 2 ลกั ษณะ คือ
1. ทราบลว งหนา วา จะออกไปทำธรุ ะทจี่ ำเปน ตอ งมหี นงั สอื ขออนญุ าตจากผปู กครองมคี วามจำเปน อยา งยงิ่
ทจ่ี ะออกไป
2. ไมสบายเจ็บปวยมีความจำเปนตองไปโรงพยาบาลหรือพักผอนท่ีบานตองไดรับความเห็นชอบจากฝาย
พยาบาลการขออนญุ าตไปทำธรุ ะแลว ไมก ลบั เขา มาอกี หนงั สอื ฉบบั นต้ี อ งผา นครทู ปี่ รกึ ษา และกลมุ บรหิ ารงานกจิ การ
นกั เรยี นอนญุ าตนกั เรยี นจะนำตดิ ตวั ไปใหผ ปู กครองรบั ทราบและนำสง คนื กลมุ บรหิ ารงานกจิ การนกั เรยี นในวนั รงุ ขนึ้
การขออนญุ าตไปทำธรุ ะชวั่ คราวแลว กลบั เขา มาเรยี นอกี โรงเรยี นจะออกใบอนญุ าตชวั่ คราวใหโ ดยผา นครปู ระจำวชิ า
ในคาบเรยี นนนั้ และกลมุ บรหิ ารงานกจิ การนกั เรยี นอนญุ าตใหน กั เรยี นพกตดิ ตวั ไปและนำสง คนื กลมุ บรหิ ารงานกจิ การ
นกั เรยี นเมอ่ื กลบั เขามา
ระเบยี บการลากจิ ลาปวย
1. การลาหยดุ เรยี นทกุ ครง้ั นกั เรยี นตอ งยนื่ ใบลาตอ ครทู ปี่ รกึ ษาแจง เหตผุ ลทจี่ ำเปน จรงิ เมอื่ มาเรยี นในวนั แรก
2. ตอนทายของใบลาเขียนขอ ความทวี่ า“ ขา พเจา ขอรับรองวา เปนความจรงิ แลว ผูปกครองลงช่ือกำกับ
3. ถาปรากฏวานักเรียนคนใดปลอมลายเซ็นผูปกครองใหลงโทษฐานปลอมแปลงเอกสารและแจงความเท็จ
แกโรงเรยี น
4. หากนกั เรยี นขาดเรยี นโดยไมส ง ใบลาหรอื ไมแ จง ใหค รทู ป่ี รกึ ษาทราบตดิ ตอ กนั ๓ วนั โรงเรยี นจะดำเนนิ การ
การดังนี้

48 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565


Click to View FlipBook Version