The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565

คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2565

รายการตัดคะแนนความประพฤตนิ ักเรียน โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

ถา นักเรยี นไมป ฏบิ ัติตามระเบียบน้ใี หคณุ ครูปฏบิ ตั ิดงั น้ี
ข้ันตอนการลงโทษ 1. ครง้ั แรกเตอื น 2. ครัง้ ทสี่ องทำทัณฑบ น 3. ครง้ั ท่ีสามเชญิ ผปู กครอง

ขอ ท่ี รายการความประพฤติ คะแนน ระดับ
1 มาโรงเรียนสาย (08.25 น. เปนตน ไป) 3A
2 ไมเ ขา แถวเคารพธงชาติ 3A
3 พบญาติหรือบคุ คลภายนอกโดยไมไดรบั อนุญาต 3A
4 นำอาหารหรือเครอื่ งด่ืมรับประทานบนอาคารเรยี นหรือในหองเรยี น 3A
5 สงเสยี งอกึ ทกึ ในหองเรียน 3A
6 เดนิ รับประทานอาหารในบรเิ วณโรงเรยี น 5A
7 ไมเ ขาช้นั เรียนหรือรวมกจิ กรรมทท่ี างโรงเรียนจดั ข้ึน 5A
8 แตง กายไมส ภุ าพเรยี บรอย ใชเ ครื่องแตงกายผดิ ระเบียบท้ังนอกและในบริเวณโรงเรียน 5A
9 ดึงหัวกางเกงหรอื กระโปรงต่ำ ทำใหเสยี บุคลกิ 5A
10 ประดบั ของมีคา หรือสง่ิ ของท่ไี มเหมาะสมกับสภาพนักเรียน 5A
11 นำสินคา มาขายโดยไมไดร ับอนุญาต 5A
12 รับประทานอาหารกอนหรือหลังเวลากำหนดไว 5A
13 ซอ้ื อาหาร-เครอื่ งด่ืมขางรั้วนอกโรงเรียนต้งั แต 08.30-15.40 น. 5A
14 ไมร ักษาความสะอาดหรอื ทำความสกปรกในบรเิ วณโรงเรียนหรอื หอ งเรียน 5A
15 ไมทำความเคารพครูอาจารย 5A
16 ไวท รงผมผดิ ระเบียบ 5A
17 ไมต งั้ ใจเรยี นหรือไมส ง งานทไ่ี ดร บั มอบหมาย 10 B
18 ไมนำเอกสารของโรงเรยี นไปถงึ ผูปกครอง 10 B
19 ผปู กครองไมมาพบตามหนังสอื เชิญ 10 B
20 หนเี รียนหรือออกนอกบริเวณโรงเรยี นโดยไมไ ดรับอนุญาต / ปนรัว้ เขา-ออกนอกบรเิ วณโรงเรียน 10 B
21 ประพฤตติ นไมส ภุ าพแสดงกรยิ าวาจาหยาบคาย 10 B
22 สบู บุหรีห่ รอื มไี วใ นครอบครอง 10 B
23 พดู ปดหรอื รายงานเอกสารเท็จ 10 B
24 ขับขี่รถจักรยานยนตเสียงดังในโรงเรียน 10 B
25 แอบอา ง หรอื ปลอมลายมือชื่อผูอื่น 10 B
26 ปลอมแปลงเอกสารทางราชการ 10 B
27 ขับขีร่ ถจักรยานยนตโดยไมสวมหมวกนิรภยั 10 B
28 ทำลายทรัพยส ินของโรงเรยี นหรือผอู ื่น ขดี โตะ เกาอ้ี ฝาผนงั อาคารหรอื หอ งนำ้ หอ งสวม 15 C
29 มีพฤติกรรมในทางชูสาว 15 C
30 แสดงกิรยิ ากาวราวตอครู 15 C
31 มสี ือ่ ลามกอนาจารในครอบครอง 15 C
32 เลนการพนัน มว่ั สมุ การพนันทกุ ชนดิ 20 D
33 เลนเกมส ของเลน อันตรายในสถานที่ไมเ หมาะสมกับนักเรียน 20 D
34 ประพฤตผิ ิดศลี ธรรมอยา งรา ยแรงนำความเส่อื มเสียมาสโู รงเรยี น 25 E
35 ด่ืมสรุ าสิ่งเสพตดิ ใหโ ทษหรอื มไี วในครอบครอง 25 E
36 พกพาอาวุธ หรอื วตั ถุระเบิดมาโรงเรยี น 25 E
37 คบหาสมาคมกับบุคคลทค่ี า ประเวณหี รือนกั เลงอันธพาล 25 E
38 ลกั ขโมยและหรอื กรรโชกทรัพย 25 E
39 ทะเลาะววิ าทหรอื ทำรา ยรางกายผูอ ื่น 25 E
40 เที่ยวกลางคืนในสถานท่ที ไ่ี มเหมาะสมกบั นกั เรยี น 25 E
41 มีพฤตกิ รรมยุยง สรา งความวุนวายใหเกดิ ความเสยี หายตอ โรงเรยี น 30 E

โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 49

ระเบยี บโรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
วา ดว ยการลงโทษนกั เรียน พ.ศ. 2563

เพอ่ื ใหก ารดแู ลชว ยเหลอื นกั เรยี นมแี นวปฏบิ ตั ใิ นการแกไ ขและพฒั นาพฤตกิ รรมนกั เรยี นโรงเรยี นเตรยี มอดุ ม
ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือจึงกำหนดระเบยี บการลงโทษนักเรียนดังนี้

ขอ ท่ี 1 ในระเบียบนี้
“กระทำความผิด” หมายความวาการที่นักเรียนประพฤติตนฝาฝนระเบียบขอบังคับของสถาน

ศกึ ษาหรือของกระทรวงศกึ ษาธิการหรอื กฎกระทรวงวาดวยการสง เสรมิ ความประพฤติของนกั เรยี น
"การลงโทษ” หมายความวาการลงโทษนักเรียนท่ีกระทำความผิดโดยมีความมุงหมาย

เพื่อการอบรมสง่ั สอน
ขอ ท่ี 2 โทษสำหรับนกั เรียนทีก่ ระทำความผิดมี 4 สถานดงั น้ี
1. วากลาวตกั เตอื นในกรณีนักเรยี นกระทำความผดิ ไมร า ยแรง
2. ทำทณั ฑบ นในกรณีไดร ับโทษวากลาวตักเตอื นแลว แตไมป รบั ปรงุ แกไ ขพฤตกิ รรม
3. ตดั คะแนนความประพฤติและบนั ทกึ ขอ มลู
4. ทำกิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกรณีที่นักเรียนทำความผิดที่สมควรตองปรับ
เปล่ยี นพฤติกรรม
ขอ ท่ี 3 การตดั คะแนนความประพฤติมขี ัน้ ตอนดังนี้
1. ความผดิ ครงั้ แรกตดั คะแนนความประพฤตติ ามทโ่ี รงเรยี นกำหนดตามประเภทของการกระทำผดิ
2. ความผิดครั้งตอ ไปในทุกกรณีตดั คะแนนความประพฤติเปน 2 เทาของครงั้ กอน
3. ถา นกั เรยี นถกู ตดั คะแนนความประพฤตถิ งึ 30 คะแนนใหท ำทณั ฑบ นไวเ ปน หลกั ฐานและเชญิ
บดิ ามารดาหรอื ผปู กครองมาบนั ทกึ รบั ทราบความผดิ และ รบั รองการทำทณั ฑบ นไวด ว ยทง้ั นน้ี บั
รวมท้ัง 3 ปก ารศกึ ษา
4. ถกู ตดั คะแนนความประพฤตถิ งึ 40 คะแนนใหทำกจิ กรรมปรบั เปล่ียนพฤติกรรมโดยการทำ
กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน
5. เมื่อไดทำกิจกรรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมแลวนักเรียนยังไมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยูในกลุม
เสย่ี งไมป ลอดภยั นกั เรยี นตอ งยา ยสถานศกึ ษาไปอยใู นความดแู ลของผปู กครองอยา งใกลช ดิ
ขอ ท่ี 4 เกณฑก ารตัดคะแนนความประพฤติ
1. นักเรียนตองนำบัตรประจำตัวนักเรียนติดตัวมาเสมอถานักเรียนไมนำบัตรมาแสดงเมื่อมาสาย
หรือเมื่อเรียกตรวจบัตรคร้ังแรกทางโรงเรียนจะเตือนและครั้งท่ีสองจะพิจารณาโทษตัดคะแนน
ความประพฤติ 60 คะแนน
2. ในตอนเขานักเรียนตองมาใหทันเขาแถวตามเวลาท่ีโรงเรียนกำหนดถาผูใดมาสายครบ 5 ครั้ง
โดยไมมีเหตุผลอันสมควรตองถูกตัดคะแนนความประพฤติครั้งแรก 10 คะแนน ท้ังน้ีนับรวม
ตลอดปการศึกษา
3. เมอ่ื นักเรียนเขา มาในโรงเรียนไมเขา หองเรยี นตองถูกตดั คะแนนความประพฤตติ าม
4. ถา นกั เรยี นเขา หรอื ออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นในเวลาทไ่ี มอ นญุ าตเชน เวลาเรยี นเวลาหยดุ พกั กลางวนั
ชวั่ โมงกิจกรรมเปนตนนกั เรยี นจะถูกตัดคะแนนความประพฤติลงคะแนน
5. ถานักเรียนทุจริตในการสอบจะถูกปรับใหตกในรายวิชาที่มีการทุจริตรวมทั้งตัดคะแนน
ความประพฤตคิ รงั้ แรก 20 คะแนน

50 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

6. เมอื่ นกั เรยี นฝา ฝน ระเบยี บของกรมการรกั ษาดนิ แดนจนถกู ตดั คะแนนความประพฤตจิ ำนวนเทา ใด
กต็ ามทางโรงเรยี นจะพิจารณาตัดคะแนนความประพฤติจำนวนเทากนั ดว ย

7. นกั เรยี นจะซื้ออาหาร น้ำดื่มไดจ ากโรงอาหาร และหรือสนิ คาจากรานสวสั ดิการเทานั้น
8. หามนกั เรียนนำภาชนะใสอาหารหรอื เคร่อื งด่ืมไปรับประทานบนอาคารหรอื ในหอ งเรยี นตลอด

ท้ังบริเวณนอกโรงอาหาร เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนการเฉพาะ หากฝาฝนจะถูกตัดคะแนน
ความประพฤติ 10 คะแนน
9. เมื่อนักเรียนจะกลับบานตองแตงกายใหเรียบรอย และออกจากโรงเรียน เวลา 17.00 น. เปน
อยางชาครั้งแรกถานักเรียนฝาฝนครูเวรประจำวัน หรือครูผูพบเห็นจะตักเตือนกอน ถาพบ
คร้ังที่สอง จะถูกเสนอตัดคะแนนความประพฤติ 10 คะแนน นอกจากนักเรียนจะขออนุญาต
อยทู ำกิจกรรมเรยี นพิเศษ หรือ ซอ มกฬี า ซ่งึ ตอ งมีครคู วบคมุ ดูแลอยูตลอดเวลา
10. ถานักเรียนประพฤติตนดวยกิริยาวาจาที่ไมเหมาะสมตอครูหรือบุคคลอื่นจะถูกตัดคะแนน
ความประพฤติอยา งนอ ย 60 คะแนน
11. ถานักเรียนนำสิ่งท่ีไมเหมาะสมกับสภาพนักเรียนเขามาในโรงเรียน เชน อุปกรณการพนัน
ส่ิงเสพติด หรือของมึนเมา บุหรี่ อาวุธ ซ่ึงรวมถึงวัตถุระเบิด เชน ประทัด ดอกไมไฟ ส่ิงพิมพ
ลามกอนาจาร จะถกู รบิ ไว และถูกตดั คะแนนความประพฤติอยา งนอ ย 10 คะแนน
12. ถานักเรียนทำลายอุปกรณการเรียนการสอน วัสดุตาง ๆ รวมทั้งครุภัณฑและสิ่งกอสรางของ
โรงเรียนจะโดยเจตนาหรอื ไมกต็ ามนักเรียนจะตองชดใชเ งนิ คา สง่ิ ของท่เี สียหายทงั้ หมด และจะ
ถกู ตดั คะแนนความประพฤติอยางนอย 15 คะแนน หรือถกู ดำเนนิ คดีตามกฎหมาย
13. ถานักเรียนประพฤติตนไมเหมาะสมกับสภาพของนักเรียนไมวากรณีใด ๆ จะถูกตัดคะแนน
ความประพฤติ 50 คะแนน
14. การปกปดความจริงแอบอางปลอมแปลงแกไขเอกสารของโรงเรียนจะถูกตัดคะแนน
ความประพฤตอิ ยางนอย 10 คะแนน
15. ถาถูกตัดคะแนนความประพฤติ 30 คะแนนขึ้นไปโรงเรียนจะไมออกหนังสือรับรอง
ความประพฤตแิ ละถกู ตดั คะแนนความประพฤติ 60 คะแนนไมผ า นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
16. เมอื่ นกั เรยี นถกู ตดั คะแนนความประพฤติ 60 คะแนนขน้ึ ไป แลว มพี ฤตกิ รรมไมเ หมาะสมกบั
การเปนนักเรียน และทางโรงเรียนไมสามารถดูแลควบคุมไดนักเรียนตองยายสถานศึกษา
เพื่อสะดวกตอการดแู ลของผูป กครองตอ ไป
17. นอกจากนีใ้ หเ ปน ไปตามประเภทความผิดท่กี ำหนดไวในรายการตัดคะแนนความประพฤติ
18. ใหร องผอู ำนวยการกลุม บริหารงานกจิ การนักเรยี นรักษาการตามระเบยี บนี้

ประกาศ ณ วันท่ี 1 มกราคม 2563

ลงช่ือ วา ที่ ร.ต. 51
(ดร.สกุ ิจ ศรพี รหม)
ผูอำนวยการ

โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

การตดั คะแนนความประพฤตนิ ักเรยี น

พฤติกรรมทีต่ อ งถูกตัดคะแนนความประพฤติ 10 คะแนน

1.ไมพกบตั รประจำตวั นักเรียนบัตรประชาชนและบตั รบนั ทึกการมาเรยี นติดตัวมาโรงเรียน
2. มาไมทันเขา แถวหนาหอ งเรียน (เวลา 08.20 น.) ครบ 5 ครั้งตอภาคเรยี น
3. ขาดเรยี นครบ 3 ครง้ั โดยไมมเี หตุผลอันควร
4. ออกนอกบริเวณโรงเรยี นโดยไมไดรับอนญุ าต
5. หนีเรียนหรอื ออกนอกหอ งเรียนในขณะทมี่ กี ารเรยี นการสอนโดยไมไดรบั อนญุ าต
6. เขา ไปในบริเวณบา นพักคนงาน
7. เขา หรือออกทางประตทู ่ีไมไดร ับอนญุ าต
8. ใชเ ครือ่ งมือสอื่ สารในเวลาเรียนโดยไมไ ดร บั อนญุ าต
9. ซ้อื อาหารจากหาบเรรถเข็น ฯลฯ ท่ีเขา มาในโรงเรยี น หรอื ซอื้ จากภายนอก โรงเรียนโดยไมไดรับอนญุ าต
10. พฤติกรรมนอกเหนือจากนี้อยูในการพิจารณาของคณะกรรมการกลุมบริหารกิจการนักเรียนหรือ

รองผูอำนวยการกลุมบริหารกจิ การนกั เรยี น

พฤตกิ รรมที่ตองถูกตัดคะแนนความประพฤติอยา งนอย 20 คะแนน

1. นำสิ่งที่ไมเหมาะสมกับสภาพนักเรียนมาโรงเรียน ไดแก สื่อสิ่งพิมพลามกอนาจาร อุปกรณการพนัน บุหร่ี
ของมนึ เมา อาวธุ ดอกไมไ ฟ เปน ตน

2. ทำลายวสั ดอุ ปุ กรณก ารเรยี นการสอนตา ง ๆ รวมทงั้ ครภุ ณั ฑแ ละสงิ่ กอ สรา งจะโดยเจตนาหรอื ไมก ต็ ามนอก
เหนอื จากนอี้ าจตอ งชดใชคาเสยี หายตามการกระทำ

3. ประพฤตติ นกาวรา วแสดงกริ ยิ าอาการคำพูดท่ีไมเหมาะสมตอ ครู
4. ประพฤติตนไมเ หมาะสมกับสภาพของนกั เรียนไมวากรณีใด ๆ อันจะนำมาซ่งึ ความเสอ่ื มเสียชอ่ื เสียง
5. กอเหตทุ ะเลาะววิ าท
6. แสดงพฤติกรรมชูส าวทีไ่ มเ หมาะสมในทสี่ าธารณะ
7. บันทึกการมาโรงเรียนและกลับบานแทนบคุ คลอ่ืน
8. พฤติกรรมนอกเหนือจากน้ีอยูในการพิจารณาของคณะกรรมการกลุมบริหารกิจการนักเรียนหรือ

รองผูอำนวยการกลมุ บรหิ ารกิจการนักเรยี น

52 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

พฤตกิ รรมที่ถกู ตัดคะแนนความประพฤติ 50 คะแนน

1. ชกั ชวนบุคคลภายนอกมาทะเลาะวิวาทกับนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ไมว า จะภายในหรอื ภายนอกโรงเรยี นกต็ าม

2. ทุจริตในการสอบโดยวิธีการใด ๆ นอกเหนือจากนี้จะถูกลงโทษทางวิชาการตาม ที่กำหนดไวในระเบียบ
การวดั ผล และประเมินผลการเรยี นรู

3. ปกปดความจริง แอบอาง ปลอมแปลง แกไข หรือทำลายเอกสารของโรงเรียน นอกเหนือจากน้ีอาจถูก
ดำเนินคดีตามกฎหมาย

4. ลกั ขโมยสง่ิ ของมีคาของผอู ่นื
5. พฤตกิ รรมนอกเหนอื จากน้ี อยใู นการพจิ ารณาของคณะกรรมการงานกจิ การนกั เรยี นหรอื รองผอู ำนวยการ

กลุมบริหารกจิ การนกั เรียน

พฤตกิ รรมทใ่ี หนกั เรยี นพน จากสภาพความเปนนกั เรียน

1. นำสงิ่ ผิดกฎหมายเขา มาในโรงเรียน หรือไดร บั โทษสงู สดุ ของทางโรงเรยี น
2. ประพฤตติ นเปนภัยตอสงั คมมโี ทษคดที างอาญา ถา หากยงั ดำรงสภาพการเปน นักเรียนตอไป อาจจะนำมา

ซง่ึ ความเสยี หายตอ นกั เรยี นโรงเรยี น และตอ ชอ่ื เสยี งของโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
3. นกั เรยี นถกู ตัดคะแนนความประพฤติสะสม 3 ปก ารศกึ ษา 50 คะแนน

การเพิม่ คะแนนความประพฤตขิ องนกั เรยี นทถ่ี ูกตดั คะแนนความประพฤติ

1. นักเรียนสามารถกระทำความดีเพ่ือเพ่ิมคะแนนความประพฤติของนักเรียนตามความเหมาะสมโดย
การพิจารณาของครูผูสอน ครูท่ีปรึกษา หัวหนาตึก คณะกรรมการกลุมบริหารกิจการนักเรียน
และรองผอู ำนวยการโรงเรยี นตามขนั้ ตอนการทำความดี

2. นักเรียนสามารถแสดงตนเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือบันทึกการทำประโยชน เพ่ือโรงเรียนสถานศึกษา
และสงั คม

การถูกลงโทษ ทำทณั ฑบน หรือตัดคะแนนความประพฤติผปู กครองตองมา
ลงลายมอื ช่ือรับทราบดวยตนเองทกุ ครงั้

ถานักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติ จะไมไดรับการพิจารณาประเมิน
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ในระดับดเี ยี่ยม

โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 53

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน ซ่ึงเปนกำลัง ของชาติใหเปนมนุษย
ที่มีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลก ยึดม่ัน
ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความรูและทักษะพ้ืนฐาน
รวมทั้งเจตคติท่ีจำเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปน
สำคญั บนพ้นื ฐานความเช่อื วา ทุกคนสามารถเรยี นรแู ละพฒั นาตนเองไดเ ต็มตามศกั ยภาพ
หลกั การ

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการทส่ี ำคัญ ดงั น้ี
1. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรูเปน
เปา หมายสำหรบั พฒั นาเดก็ และเยาวชนใหม คี วามรู ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพนื้ ฐานของความเปน ไทย
ควบคกู บั ความเปนสากล
2. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอภาค
และมคี ุณภาพ
3. เปนหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ใหสังคมมีสวนรวมในการ จัดการศึกษาให
สอดคลอ งกบั สภาพและความตอ งการของทอ งถ่นิ
4. เปนหลักสูตรการศึกษาท่ีมีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระการเรียนรู เวลา และการจัดการเรียนรู
5. เปนหลักสูตรการศกึ ษาที่เนน ผเู รยี นเปน สำคญั
6. เปนหลักสูตรการศึกษา สำหรับ การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยครอบคลุม
ทุกกลุม เปาหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู และประสบการณ
จุดมุงหมาย
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มงุ พฒั นาผเู รยี นใหเ ปน คนดี มปี ญ ญา มคี วามสขุ มศี กั ยภาพใน
การศกึ ษาตอ และประกอบอาชพี จงึ กำหนดเปน จดุ หมายเพอื่ ใหเ กดิ กบั ผเู รยี น เมอื่ จบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานดงั น้ี
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทีต่ นนับถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. มคี วามรู ความสามารถในการสอ่ื สาร การคดิ การแกปญหา การใชเทคโนโลยีและมีทกั ษะชวี ติ
3. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี มสี ุขนิสยั และรกั การออกกำลงั กาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม
มีจิตสาธารณะทมี่ งุ ทำประโยชนแ ละสรางสิง่ ท่ีดงี ามในสังคม และอยูรว มกนั ในสงั คมอยา งมีความสุข

54 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน

ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียน ใหมีสมรรถ
5 ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร เปน ความสามารถในการรบั และสง สาร มวี ฒั นธรรม ในการใชภ าษา
ถายทอดความคิด ความรู ความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเอง เพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพ่ือขจัดและลด
ปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตองตลอดจน
การเลอื กใช การสอื่ สาร ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบทีม่ ีตอตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะหการคิดอยาง
สรา งสรรคการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพือ่ นำไปสกู ารสรา งองคความรหู รอื สารสนเทศ
เพ่ือการตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป ญ หา เปน ความสามารถในการแกป ญ หาและอปุ สรรคตา ง ๆ ทเี่ ผชญิ ได
อยางถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูล สารสนเทศเขาใจความสัมพันธและ
การเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณต า ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู ประยกุ ตค วามรมู าใชใ นการปอ งกนั และแกไ ข
ปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้นตอตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอม

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการ ตาง ๆ ไปใช
ในการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั การเรยี นรดู ว ยตนเองการเรยี นรอู ยา งตอ เนอื่ ง การทำงาน และการอยรู ว มกนั ในสงั คม
ดว ยการสรา งเสรมิ ความสมั พนั ธอ นั ดรี ะหวา ง บคุ คล การจดั การปญ หาและความขดั แยง ตา ง ๆ อยา งเหมาะสม
การปรับ ตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึง
ประสงคท่ีสงผลกระทบตอตนเองและผอู ืน่

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเอง และสังคม ในดานการเรียนรู การส่ือสาร
การทำงาน การแกป ญหา อยางสรางสรรค ถูกตองเหมาะสมและมีคุณธรรม

คุณลักษณะอันพึงประสงค

ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียน ใหมีคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค เพอ่ื ใหส ามารถอยรู ว มกบั ผอู นื่ ในสงั คมไดอ ยา งมคี วามสขุ ทงั้ ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลกดงั น้ี

1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซือ่ สตั ยส จุ รติ
3. มวี ินยั
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอเพยี ง

โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 55

6. มงุ ม่นั ในการทำงาน
7. รกั ความเปนไทย
8. มจี ติ สาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคเพ่ิมเติมใหสอดคลองตามบริบท
และจุดเนน ของตนเองโดยโรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษา เพิ่มเตมิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค คอื

- รูจักปรบั ตวั
- เปนผูนำ

มาตรฐานการเรยี นรู

การพฒั นาผเู รยี นใหเ กดิ ความสมดลุ ตอ งคำนงึ ถงึ หลกั พฒั นาการทางสมอง และพหปุ ญ ญา หลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 จึงกำหนดใหผเู รียนเรียนรู 8 กลมุ สาระการเรยี นรู ดงั น้ี

1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร
3. วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
5. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
6. ศลิ ปะ
7. การงานอาชพี
8. ภาษาตา งประเทศ
ในแตละกลุมสาระการเรียนรูไดกำหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสำคัญของ การพัฒนา
คณุ ภาพผเู รยี น มาตรฐานการเรยี นรรู ะบสุ ง่ิ ทผี่ เู รยี นพงึ รแู ละปฏบิ ตั ไิ ด และมคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคอ ยา งไร
เมื่อจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นอกจากนั้นมาตรฐาน การเรียนรูยังเปนกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนพัฒนา
การศกึ ษาทง้ั ระบบเพราะมาตรฐานการเรยี นรจู ะสะทอ นใหท ราบวา ตอ งการอะไร จะสอนอยา งไร และประเมนิ
อยางไร รวมทั้งเปนเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบการประเมิน
คุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ
การทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกลาว เปนส่ิงสำคัญที่ชวยสะทอนภาพ
การจัดการศกึ ษาวาสามารถพฒั นาผูเรียน ใหม คี ณุ ภาพตามที่มาตรฐานการเรยี นรูกำหนดเพยี งใด

56 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

โครงสรางหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นมาตรฐานสากล
โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

พทุ ธศักราช 2565 – 2567
(ฉบบั ปรับปรงุ )

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

และแนวทางการจัดการเรียนการสอน
ในโรงเรียนมาตรฐานสากล

โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 57

58 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565 2551 2565-2567
:


.4 25 5 .5 25 6 .6 25 7
12 12 12
/ .. / . . / .. / .. / .. / ..

31101 1 2 1.0 31102 2 2 1.0 32101 3 2 1.0 32102 42 1.0 33101 2 1.0 33102 2 1.0
31103 2 1.0 31104 2 1.0 32103 2 1.0 3210 2 1.0 2 1.0 2 1.0
. . 33101 1) 2 1.0 33103 .
. . 32101 () .( 1 0.5 ( 1.0
51 0.5 33102 0.5
. 31102 ( )2 ( )2 1.0 32103 33102 ( )1 0.5 33102 2) 2 0.5
31101 1.0 32102 1 0.5 ( ) 2 1.0 33101 52 1.0 33102 6 1 1.0
( ) 2 1.0 31102 2 1 0.5 32101 3 1 0.5 32104 1 0.5 33101 () 1 .
31103 1 0.5 31102 2 ( ) 1 0.5 32101 3 ( ) 1 0.5 32102 4 1 0.5 33101 1 3 2
31101 1 1 0.5 31102 1 0.5 32101 32 1.0 32102 4 ( ) 1 0.5 6
31101 1 ( ) 1 0.5 31102 22 1.0 32102 42 1.0 . ()

31101 1 0.5
31101 1 2 1.0
6 8.0 1 . 12 6.0 15 7.5 16 8.0

3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5
1. 1 . 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5
1. 1.5 .2 . 3 1.5 3 1.5
. 3 . . 4 2 1.0 . 30244 4 1 0.5
1.0 1.0 32210 4 2 1.0 30243 0.5 33212 6 2 1.0
1 2 1.0 2 2 1.0 32209 3 2 1.0 32216 1 0.5 33211 3 1 1.0 33218 1 0.5
31207 1 2 1.0 31208 2 2 0.5 32215 3 2 0.5 32204 4 1 0.5 33217 5 2 0.5 30215 -6 - -
31213 - 1 1 0.5 31214 1 0.5 32203 1 0.5 30242 2 1 0.5 30214 1 - 6
31201 - 1 1 0.5 31202 - 1 0.5 I30201 3 1 1.0 I30202 2 1. -5 -
30201 1 0.5 30241 -2 1 . 30212 (IS1) 2 - 30213 (IS2) - - 5
1 - - 1.5 4
30210 1- - 30202 10.5 3 3 11.5
30211 2- 23
9 9.5 21 19 9.5 17 8.5 13 6.5

31901 1 - 31902 1 - 32903 1 - 32904 1 - 33905 1 - 33906 1-
31911 1 - 31912 1 - 1 - 32914 1 - 33915 1 - 33916 1-
31921 / . 1 - 31922 /. 1 - 32923 /. 1 - 32924 /. 1 - 33925 /. 1 - 33926 ./ 1 -
3- 3 - 3 (IS3) 1 - 3 3-
. I30 03 8 - . 2 4.5
. - 7.0 -
.

2551 2565-2567
: –-

1 .4 25 5 2 .5 25 6 .6 25 7
/ . 12 12
.. / . / .. / . . / .. / ..
1
31101 1) 2 1.0 31102 2 2 1.0 32101 3 2 1.0 32102 4 2 1.0 33101 5 2 1.0 33102 6 2 1.0
31103 2 1.0 31104 2 1.0 32103 2 1.0 3210 2 1.0 2 1.0 2 1.0
31101 1 . . ( ) . 33101 .
1( ) . 32101 . ( 1) 2 1.0 33103
( . 31102 () 2 1.0 32103 33111 2 1.0 ( 2) 2 1.0
31101 1 ( 2) 2 1.0 32101 ()
31101 1 3 1 0.5 2 1.0 33101 5 1 0.5 33102 6 1 0.5
31101 2 1.0 31102 2 1 0.5 32101 3 ( ) 1 0.5 32102 4 1 0.5 33101 5 ( ) 1 0.5 33102 6 ( ) 1 0.5
31101 1 1 0.5 31102 2 ( ) 1 0.5 32101 3 2 1.0 32102 4 ( ) 1 0.5 33101 2 1.0 33102 6 2 1.0
1 1 0.5 31102 2 2 1.0 32102 4 2 1.0 33112 2 1.0
31201 . 3 () .
31213 -1
โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 59 31201 -1 2 1.0
30201
30210 1 . . 1 5.5 4 7.0 . 18 9.0
1
31901 . . . . . . .
31911 /. . 1 1 0.5 3 1.5 . . .
31921 . . 4 2.0 2 . .
2 1.0 . 3 1.5 32204 2 1.0 33206 6 2 1.0
1 0.5 . 32203 3 2 1.0 32216 4 1 0.5 31217 5 1 0.5 31218 6 1 0.5
1 0.5 31202 2 1.0 32215 3 1 0.5 32204 4 1 0.5 33205 5 2 1.0 30244 4 1 0.5
2 1.0 31214 2 1 0.5 32203 1 0.5 30242 1 0.5 30243 3 1 0.5 332296 8 2 1.0
1 0.5 31202 -2 1 0.5 32288 3 2 1.0 32289 4 2 . 33295 7 2 1 30215 6- -
. 30241 1 0.5 32293 3 2 1.0 32294 2 - 1.0 30214 5- -
-- -2 2 1.0 I30201 5 2 1.0 I30202 4 .
1 . 30212 - - 30213 6 -
30202 2 1.0 (IS1) (IS2)
3128 - 3
30211 2 2. 4
. 2-
3 1.5 21 10.5 19 9.5 5 7.5

1 - 31902 1 - 32903 1 - 32904 1 - 33905 1 - 33906 1 -
1 - 31912 1 - 1 - 32914 1 - 33915 1 - 33916 1 -
/. - / . 1 - 32924 /. 1 - 33925 / . 1 - 33926 ./ . 1 -
1 - 31922 - 32923 (IS3) 1 - 3- 3 -
I30 03 9 - 4 5.5 6 6.5
3- 3- 3- 7.5
17.5 37 17.0
7.

60 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565 2551 2565-2567
:
– -

.4 25 5 .5 25 6 .6 25 7
12 12 12
/ .. / . . / .. / .. / .. / ..

31101 1 2 1.0 31102 2 2 1.0 32101 3 2 1.0 32102 4 2 1.0 33101 5 2 1.0 33102 6 2 1.0
31103 2 1.0 31104 2 1.0 32103 2 1.0 3210 2 1.0 2 1.0 2) 2 1.0
. ( ) . 33101
. . 32101 . ( 1) 2 1.0 33103 .
2 1.0
. 31102 ( 2) ( ) 2 1.0 32103 () 33111 5 2 1.0 ( 2 1.0
31101 2 1.0 32101 3 1 0.5 2 1.0 33101 1 0.5 33112
( 1) 2 1.0 31102 2 1 0.5 32101 3 ( ) 1 0.5 32102 4 1 0.5 33101 5 ( ) 1 0.5 33102 6 1 0.5
1 1 0.5 31102 2 ( ) 1 0.5 3 1.5 32102 4 ( ) 1 0.5 33101 2 1.0 33102 6 ( ) 1 0.5
31101 1( ) 1 0.5 31102 2 2 1.0 32101 3 2 1.0 32102 4 2 1.0 33102 6 2 1.0
31101 2 1.0
31101 3 () .

31101 1 2 1.0

6 8.0 11 5.5 14 7.0 14 7.0 . 18 9.0

3121 1 . 31220 .1 . 32 .2 1 . 32 // 2 . 32 // . 32 .
2 . 1 1 0.5 2 0.5 2 . 2 . .
3128 . .2 4 1 . . .
31201 12 1.0 1 . 32 . 30290 4 1 52 . 33206 6 2 1.0
31213 -1 1 1.0 2 . 31 . 1 3029 51 6 1 0.5
31201 0.5 3128 . 1.0 4 1.0 31218 4 1 0.5
30201 -1 1 0.5 30241 -2 2 1.0 30281 31 1.0 32204 2 1.0 31 30244
30210 12 1.0 31202 -2 1 0.5 32203 0.5 32216 0.5 33205 1.0 .
0.5 31214 2 2 1.0 32215 0.5 32204 0.5 31217 1.0 6- -
1 - 31202 1 0.5 32203 0.5 30243 0.5
1- 2 1 0.5 30242 . 0.5 16 8
30202 . 30213 -
30211 -- () 30299
31287 2 1.0 30215
4- .0
30297 -
. 30212 2 1.0 30298 5- .
42 3- - 30214
11 9 .5
22

31901 1 - 31902 1 - 32903 1 - 32904 1 - 33905 1 - 33906 1-
31911 1 - 31912 1 - 32913 1 - 3291 1 - 33915 1 - 33916 1-
31921 / . 1 - 31922 /. 1 - 32924 / .1 - 33925 / . 1 - 33926 ./ . 1 -
3- - 3 - 3 - 3- 3-
/ . - 32923
8 .5 6 .5 . 7
3-
38 17.

2551 2565-2567
:-

1 .4 25 5 2 .5 25 6 1 .6 25 7 2
.. / 12 .
/ .. / .. / .. / .. / .
1 1.0
31101 2 1.0 31102 2 2 1.0 32101 3 2 1.0 32102 4 2 1.0 33101 5 2 1.0 33102 62 1.0
31103 2 1.0 31104 2 1.0 32103 2 1.0 3210 2 1.0 2 1.0 2 .
) ( ) . 33101 1.0
. . 32101 3 . .( 1) 2 1.0 33103 0.5
( 3( ) 5 1 0.5 ( 0.5
. 31102 2 2 1.0 32103 ( 33102 () 1 0.5 33102 2) 2 1.0
31101 1 ( ) 2 1.0 32102 3 1 0.5 ) 2 1.0 33101 1 0.5 33102 6 1 .
( ) 1 0.5 32101 1 0.5 32104 1 0.5 33101 5 2 1.0 33102 () 1
2 1.0 31102 2 1 0.5 32101 1 0.5 32102 4 1 0.5 33101 2 8.0
31103 1 1 0.5 31102 2( ) 1 0.5 32101 2 1.0 32102 4( ) 1 0.5 3 6 1.5
31101 1( ) 1 0.5 3110 2 1.0 32102 4 2 1.0 () 0.5
31101 1 0.5 31102 2 1.0
โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 61 31101 1 1 0.5 2 0.5
31101 1 2 1.0 1.0
16 8.0 1 6. 12 6.0 15 7.5 1. 16 -
3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 .
30201 1 3 1.5 2 2 1.0 3 2 1.0 4 2 1.0 30243 3 1.5 41 1.
31207 –1 1 0.5 – 2 1.0 32209 3 2 1.0 30242 2 1 0.5 33211 31 0.5 30244 62
31213 2 1.0 31208 1 0.5 32215 1 0.5 32210 4 2 1.0 33217 1.0 33212 -6 1 6.5
31201 -1 2 1.0 31214 -2 1 0.5 32203 -3 1 0.5 32216 -4 1 0.5 30205 52 0.5 33218 2 -
30201 1 1 0.5 31202 1 1 0.5 3021 1 2 1.0 32204 2 1 0.5 -5 1 1.0 30206 6- -
302 1 1 0.5 30241 (IS1) 2 1.0 3021 2 1.0 30214 1. 30215 12 -
30210 2 1.0 30202 2 . 3020 2 1.0 3020 (IS2) 2 1.0 2 - -
1 2 2 1.0 I30201 3 - - I30202 4 2 1.0 12 . 3 4.5
. 3020 -- 5- 1
-- 2 . 30212 /. 30213 /. 16 .0 1
-- 5 7.5 (IS3) 1 - 33905 .5 ./ . 1
30211 1 - 32904 1 - 33915 1 - 33906 3
302 3 . 1 - 32914 1 - 33925 1 - 33916 2
4 .0 7 8.5 1 - 32924 1- / . 1 - 33926
1 - 32903 3-
31901 /. 1 - 31902 /. 1- I30 03 -
31911 1 - 31912 3- 35 5.5 .0
31921 1 - 31922 - 30 13.5
1 - 32923
3- 3-
33 15.0 2 4.5

62 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565 2551 – 2565-2567
: ()

.4 25 5 .5 25 6 .6 25 7
12 12 12
/ .. / . . / .. / .. / .. / ..

31101 1 2 1.0 31102 2 2 1.0 32101 3 2 1.0 32102 4 2 1.0 33101 2 1.0 33102 2 1.0
31103 2 1.0 31104 2 1.0 32103 2 1.0 3210 2 1.0 2 1.0 2 1.0
. ( ) . 33101
. . 32101 . ( 1) 2 1.0 33103 .
2 1.0
. 31102 ( 2) 2 ( ) 2 1.0 32103 () 33102 1 0.5 ( 2) 1 0.5
31101 1.0 32102 1 0.5 2 1.0 33101 5 1 0.5 33102 6 1 0.5
( 1) 2 1.0 31102 2 1 0.5 32101 3 1 0.5 32104 1 0.5 33101 ( ) 1 0.5 33102 () 2 1.0
1 1 0.5 31102 2 ( ) 1 0.5 32101 3 ( ) 1 0.5 32102 4 1 0.5 33101 5 2 1.0 33102
31103 1( ) 1 0.5 31102 21 0.5 32101 3 2 1.0 32102 4 ( ) 1 0.5 3 6 .
31101 1 0.5 31102 22 1.0 32102 4 2 1.0
31101 1 () 16 8.0
31101 1
31101 1 0.5
2 1.0
16 8.0 1 6. 12 6.0 15 7.5 .

31207 1 2 1.0 31208 2 2 1.0 32209 2 1.0 32210 4 2 1.0 33211 52 1 33212 6 2 1
30201 -1 2 1.0 30202 -2 2 1.0 30203 3 2 1.0 30204 -4 2 1.0 2 1 6 .
31213 32216 1.0 30206 2 1.0
-1 31214 -2 32215 - 3 1 0.5 30205 52 -6 0.5
31201 1 1 0.5 1 0.5 1 0.5 33217 33218 -6 1 0.5
30201 1 2 -5 1 0.5 6 1.0
30213 1 1 0.5 31202 2 1 0.5 32203 -3 1 0.5 32204 -4 1 0.5 6 1 1.0
1 1 -5 1 33206 2 -
30201 2 1.0 30202 2 2 1.0 30203 3 2 1.0 30204 4 2 1.0 33205 5 2 0.5 HSK2 2 1.0
302 2 1.0 30214 2 1.0 30215 3 2 1.0 30216 2 2 1.0 2 1.0 30206 - .
2 1.0 30241 2 1 0.5 1 2 1.0 30242 4 1 0.5 30205 1.0 30218 2
1 0.5 30202 2 1.0 2 2 1.0 30217 5 . 30215 .5
. 3021 (IS1) 2 1.0 3021 (IS2) 2 1.0 -
. 2 1.0 I30201 - -I HSK1 .
-- -- . 30214 -
2 1.0 30208
30207 2 1.0 30209 2 1.0 30213 4- -
302 3 .
302010 2 1.0 . 1
7 8.5 8 9.0 8 9.0 19 9.5 17 8.5

31901 1 - 31902 1 - 32903 1 - 32904 /. 1 - 33905 1 - 33906 1-
31911 1 - 31912 1 - 1 - 32914 (IS3) 1 - 33915 1 - 33916 1-
31921 / . 1 - 31922 /. 1 - /.1 - 32924 1 - 33925 / . 1 - 33926 ./ . 1 -
- 32923 1-
- 3 I30 03 - -
6 6.5 - - - 31 4 3 .5
33 5.0 15 8 7.0

2551 2565-2567
:


.4 25 5 .5 25 6 .6 25 7
12 12 12
/ .. / .. / .. / .. / .. / ..

31101 1 2 1.0 31102 2 2 1.0 32101 3 2 1.0 32102 4 2 1.0 33101 2 1.0 33102 2 1.0
31103 2 1.0 31104 2 1.0 32103 2 1.0 3210 2 1.0 2 1.0 2 1.0
. ( ) . 33101 1) 2 1.0 33103 .
. . 32101 .( 1 0.5 ( 1.0
51 0.5 33102 0.5
. 31102 ( 2) 2 ( ) 2 1.0 32103 () 33102 ( )1 0.5 33102 2) 2 0.5
31101 1.0 32102 1 0.5 2 1.0 33101 52 1.0 33102 6 1 1.0
( 1) 2 1.0 31102 2 1 0.5 32101 3 1 0.5 32104 1 0.5 33101 () 1 .
31103 1 0.5 31102 2 ( ) 1 0.5 32101 3 ( ) 1 0.5 32102 4 1 0.5 33101 3 2
31101 1 1 0.5 31102 21 0.5 32101 3 2 1.0 32102 4 ( ) 1 0.5 6
31101 1 ( ) 1 0.5 31102 22 1.0 32102 4 2 1.0 . ()

31101 1 1 0.5
31101 1 2 1.0
โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 63 16 8.0 1 6. 12 6.0 15 7.5 16 8.0

31207 2 1.0 31208 2 1.0 32209 2 1.0 32210 2 1.0 33211 5 2 1 33212 62 1
30201 1 2 1.0 30202 2 2 1.0 30203 3 2 1.0 30204 4 2 1.0 30205 5 2 1.0 30206 6 2 1.0

31213 -1 1 0.5 31214 -2 32215 32216 33217 - 5 1 0.5 33218 -6 1 0.5
1 0.5 - 3 1 0.5 - 4 1 0.5

31201 31202 32203 32204 33205 33206
- 1 1 0.5 - 2 1 0.5 - 3 1 0.5 - 4 1 0.5 -5 1 0.5 -6 1 0.5
1 2 1.0 30202 22 1.0 30203 2 1.0 30204 2 1.0 30205 5 1 . 30206 62 0.5
30201 - 1 2 1.0 30214 22 1.0 30215 32 1.0 30216 4 2 1.0 30217 5 2 1.0 30218 61 1.0
30213 1 1 0.5 31202 -2 1 0.5 32203 -3 1 0.5 32204 -4 1 0.5 33205 1 0.5 33206 0.5
31201 1 1 2 1.0 30241 11 0.5 3 2 1.0 30242 2 1 0.5 . 32 .
30201 1 1 0.5 30202 . 3021 12 1.0 4 2 1.0 2 1 30214 1
302 2 . 22 1.0 I30201 (IS1) 2 1.0 3021 2 2 1.0 30214 5- - 302012
30207 - 1.0 30208 2 1.0 30209 2 1.0 I30202 (IS2) 2 . 30214 32 1 Topit 2 1.0
30210 - 302 3 2 . 30212 3- - 302010 - 1.0 302011 6- -
30211 2- - 4 - Topit 2 30215
8 9.0 9 9.5 30213 20 10.0 7 1.0
19 9.5 8.5 5 7.5

31901 1 - 31902 1 - 32903 1 - 32904 1 - 33905 1 - 33906 1-
31911 1 - 31912 1 - 1 - 32914 1 - 33915 1 - 33916 1-
31921 / . 1 - 31922 /. 1 - /.1 - 32924 1 - 33925
- 32923 /. 1- /. 1 - 33926 ./ . 1 -
- 4 I30 03 (IS3)
7 17.0 - - - - -
4 5.5 5.5 39 7.5 31 14.0 34 15.5

64 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565 2551 2565-2567

.4 25 5 :–
.5 25 6 .6 25 7
12 12 12
/ .. / .. / .. / .. / .. / ..

31101 1 2 1.0 31102 2 2 1.0 32101 3 2 1.0 32102 4 2 1.0 33101 2 1.0 33102 2 1.0
31103 2 1.0 31104 2 1.0 32103 2 1.0 3210 2 1.0 2 1.0 2 1.0
. ( ) . 33101 1) 2 1.0 33103 .
. . 32101 .( 1 0.5 ( 1.0
51 0.5 33102 0.5
31101 . 31102 ( 2) 2 1.0 32102 ( ) 2 1.0 32103 () 33102 ( )1 0.5 33102 2) 2 0.5
1 0.5 2 1.0 33101 52 1.0 33102 6 1 1.0
( 1) 2 1.0 31102 2 1 0.5 32101 3 1 0.5 32104 1 0.5 33101 () 1 .
31103 1 0.5 31102 2 ( ) 1 0.5 32101 3 ( ) 1 0.5 32102 4 1 0.5 33101 3 2
31101 1 1 0.5 31102 21 0.5 32101 3 2 1.0 32102 4 ( ) 1 0.5 6
31101 1 ( ) 1 0.5 31102 22 1.0 32102 4 2 1.0 . ()

31101 1 1 0.5
31101 1 2 1.0
16 8.0 1 6. 12 6.0 15 7.5 16 8.0

31207 2 1.0 31208 2 1.0 32209 2 1.0 32210 2 1.0 33211 52 1 33212 62 1
30201 1 2 1 30202 2 2 1 30203 3 2 1 30204 4 2 1 30205 5 30206 6
31213 31214 32215 32216 33217 33218 0.5
- 1 1 0.5 -2 . - 3 1 0.5 - 4 1 0.5 -5 1 -6 1 0.5
31201 31202 32203 32204 0.5 0.5
-1 1 0.5 -2 . - 3 1 0.5 - 4 1 0.5 33205 -5 1 33206 -6 1 1
5 1 1 0.5
30201 1 2 1 30202 2 . 30203 2 1 30204 2 1 30205 5 2 0.5 6 2 0.5
30213 1 2 1 30214 2 . 30215 3 2 1 30216 4 2 1 30217 1 0.5 30206 6 1 1
31201 - 1 1 0.5 31202 . 32203 - 3 1 0.5 32204 - 4 1 0.5 33205 3 1 1 30218 1 1.0
1 2 1 30241 -2 . 3 2 1 30242 2 1 0.5 2 0.5 33206 4 2 -
1 2 0.5 7.5
30201 1 0.5 30202 . 3021 1 2 1.0 4 21 1 30215
302 1 . 2 . I30201 (IS1) 2 1 I30202 (IS2) 2 1 30214 1 302012
30207 2 1.0 302 3 2 . 30209 2 1.0 3021 2 2 1.0 302011 1.0 30215 JLPT 2
30210 1- - 30208 2 1.0 30212 3- - 302010 2 1.0 JLPT 2 - 6-
30211 2- - 30213 4- - 30214 5- 8.5
8 9.0 19 9.5 19 9.5 20 10.0 17 5

31901 1 - 31902 1 - 32903 1 - 32904 1 - 33905 1 - 33906 1-
31911 1 - 31912 1 - 1 - 32914 1 - 33915 1 - 33916 1-
31921 / . 1 - 31922 /. 1 - /.1 - 32924 1 - 33925
- 32923 /. 1- /. 1 - 33926 ./ . 1 -
- 4 I30 03 (IS3)
37 17.0 - - - - -
4 5.5 5.5 39 17.5 31 4.0 34 15.5

2565-2567

2551

: – –( / )

.4 25 5 .5 25 6 .6 25 7
12 12 12
/ .. / . . / .. / .. / .. / ..

31101 1 2 1.0 31102 2 2 1.0 32101 3 2 1.0 32102 42 1.0 33101 2 1.0 33102 2 1.0
31103 2 1.0 31104 2 1.0 32103 2 1.0 3210 2 1.0 2 1.0 2 1.0
. . 33101 .
. . 32101 () .( 1) 2 1.0 33103 1.0
5 0.5
. 31102 ( )2 ( )2 1.0 32103 33102 () 1 0.5 ( 2) 2 0.5
31101 1.0 32102 1 0.5 ( ) 2 1.0 33101 1 0.5 33102 6 1 1.0
() 2 1.0 31102 2 1 0.5 32101 3 1 0.5 32104 1 0.5 33101 5 1 0.5 33102 () 1 .
31103 1 0.5 31102 2 ( ) 1 0.5 32101 3 ( ) 1 0.5 32102 4 1 0.5 33101 2 1.0 33102 2
31101 1 1 0.5 31102 1 0.5 32101 32 1.0 32102 4 ( ) 1 0.5 3 6
31101 1 ( ) 1 0.5 31102 22 1.0 32102 42 1.0 ()

โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 65 31101 1 0.5
31101 1 2 1.0
16 8.0 1 6. 12 6.0 15 7.5 . 16 8.0

1 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5
1 . 1 . 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5
1 . 1.5 .2 . 3 1.5 3 1.5
1 3 . 3 1.5 4 2 1.0 1 . 41 0.5
-1 2 1.0 1.0 2 1.0 32210 4 2 1.0 30243 2 0.5 30244 62 1.0
31207 -1 2 1.0 2 2 1.0 32209 3 2 1.0 32216 1 0.5 33211 3 1 1.0 33212 -6 1 0.5
31213 1 0.5 31208 2 2 0.5 32215 3 1 0.5 32204 4 1 0.5 33217 5 - 0.5 33218 6- -
31201 1 0.5 31214 1 0.5 32203 1 0.5 30242 2 1 0.5 30214 2 - 30215 22 1.0
30201 1 0.5 31202 - 1 0.5 I30201 3 2 1.0 I30202 2 1. -5 1.0 30255
2 1.0 30241 -2 1 . (IS1) (IS2) 5
- - 30202 1
1

30210 1 2 1.0 2 1.0
3- - 30213 4- -
30211 2 1.0 30212
-- 23 11.5 21 10.5 19 9.5 15 7.5
19 9.5
23 11.5

31901 1 - 31902 1 - 32903 1 - 32904 1 - 33905 1 - 33906 1-
31911 1 - 31912 1- 1 - 32914 1 - 33915 1 - 33916 1-
31921 / . 1 - 31922 / . 1 - 33926
3- /. 1 - 32923 /. 1 - 32924 /. 1 - 33925 3- ./ . 1 -
I30 03 (IS3) 1 -
38 17.5 3- 3- - 33 15 3-
38 17.5 38 17.5 40 18.0 34 15.5

66 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565 2551 2565-2567
)
: – –(

.4 25 5 .5 25 6 .6 25 7
12 12 12
/ .. / . . / .. / .. / .. / ..

31101 1 2 1.0 31102 2 2 1.0 32101 3 2 1.0 32102 4 2 1.0 33101 2 1.0 33102 2 1.0
31103 2 1.0 31104 2 1.0 32103 2 1.0 3210 2 1.0 2 1.0 2 1.0
. . . () . 33101 2 1.0 .
. 32101 2 1.0 .( 1) 33103 2 1.0
31102 2 1.0 ( ) 32103 2 1.0 33102 5 1 0.5 ( 2) 1 0.5
31101 2 1.0 ( ) 32102 1 0.5 ( ) () 1 0.5 33102 6 1 0.5
() 31102 2 1 0.5 32101 3 1 0.5 32104 1 33101 1 0.5 33102 () 2 1.0
31103 1 0.5 31102 2 ( ) 1 0.5 32101 3 ( ) 1 0.5 32102 4 1 0.5 33101 5 2 1.0 33102 .
31101 1 1 0.5 31102 1 0.5 32101 32 1.0 32102 4 ( ) 1 0.5 33101 3 6
31101 1 ( ) 1 0.5 31102 22 1.0 32102 42 0.5 ()
1.0
31101 1 0.5
31101 1 2 1.0
16 8.0 1 6. 12 6.0 15 7.5 . 16 8.0

1 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5
1 2 . 1 . 3 1.5 3 1.5 3 1.5 3 1.5
1 2 . 1.5 .2 . 3 1.5 3 1.5
1 1 1.0 3 . 3 2 1.0 4 2 1.0 1 . 30244 41 0.5
-1 1 1.0 1.0 32209 3 2 1.0 32210 4 2 1.0 30243 2 0.5 33212 62 1.0
31207 -1 1 0.5 31208 2 2 1.0 32215 1 0.5 32216 1 0.5 33211 3 5 1 1.0 33218 -6 1 0.5
31213 0.5 31214 2 2 0.5 32203 3 1 0.5 32204 4 1 0.5 33217 -5 2 0.5 22 1.0
31201 0.5 31202 1 0.5 I30201 (IS1) 2 1.0 30242 2 1 0.5 2 1.0 30215 6- -
30201 - 1 0.5 3 1.5 I30202 2 1. 1 - 1.0
30241 -2 1 . 32293 1 2 (IS2) 2 -
2 1.0 30202 1 ) - 32294 2 - 30214 5
1- - ( 3 1.0 ( - 1.0
30210 2 1.0 30212 - - 30213 ) -
2- - 4
30211
23 11.5 23 11.5 21 10.5 21 10.5 15 7.5
19 9.5

31901 1 - 31902 1 - 32903 1 - 32904 1 - 33905 1 - 33906 1-
31911 1 - 31912 1- 1 - 32914 1 - 33915 1 - 33916 1-
31921 / . 1 - 31922 / . 1 - 33926
3- /. 1 - 32923 /. 1 - 32924 /. 1 - 33925 3- ./ . 1 -
I30 03 (IS3) 1 -
38 17.5 3- 3- - 35 16 3-
38 17.5 38 17.5 40 18 34 15.5

ระเบียบโรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
วา ดวยการวดั และประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

(พ.ศ. 2564)
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดประกาศใชหลักสูตรโรงเรียน ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. 293/2551
ลงวันท่ี 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 เร่ือง ใหใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
และคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. 1239/2562 ลงวันท่ี 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560 การใหใชมาตรฐาน
การเรียนรูและตัวช้ีวัดกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระการเรียนรูภูมิศาสตรใน
กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และ วฒั นธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) จงึ เปน การสมควร
ทจี่ ะกำหนดระเบยี บโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื วา ดว ยการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เพอื่ ใหส ามารถดำเนนิ การไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
และสอดคลองกับคำสั่งดังกลาว อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 39 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบงสวนราชการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
และวิชาการของสถานศึกษาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงวางระเบียบไว
ดังตอ ไปน้ี
ขอ 1 ระเบยี บนเี้ รยี กวา “ระเบยี บโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื วา ดว ยการวดั
และประเมนิ ผลการเรียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (พ.ศ. 2564)”
ขอ 2 ระเบียบน้ใี หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตป ก ารศึกษา 2564 เปนตน ไป
ขอ 3 ใหย กเลกิ ระเบยี บ บรรดาขอ บงั คบั หรอื คำสงั่ อน่ื ใดในสว นทก่ี ำหนดไวใ นระเบยี บน้ี หรอื ซง่ึ ขดั
หรอื แยงกับระเบยี บนี้ ใหใชร ะเบยี บนแี้ ทน
ขอ 4 ระเบยี บนใี้ หใ ชค วบคกู บั หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (พ.ศ. 2564)
ขอ 5 ใหผ บู ริหารสถานศกึ ษารกั ษาการใหเ ปนไปตามระเบียบนี้

หมวด 1 หลกั การในการประเมนิ ผลการเรยี น

ขอ 6 การประเมินผลการเรียนใหเ ปน ไปตามหลักการ ตอ ไปนี้
6.1 สถานศกึ ษาเปน ผรู บั ผดิ ชอบประเมนิ ผลการเรยี นของผเู รยี นโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ

บรหิ ารหลักสูตรและวิชาการ
6.2 การวัดและประเมินผลการเรียนตองสอดคลองและครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาท่ีกำหนด

ในหลักสูตร
6.3 การประเมินผลการเรียนตองประกอบดวย การประเมินเพื่อปรับปรุงพัฒนาผูเรียนการจัด

การเรยี น การสอนและการประเมินเพอ่ื ตัดสินผลการเรียน
6.4 การประเมนิ ผลเปน สว นหนงึ่ ของกระบวนการการจดั การเรยี นการสอนตอ งดำเนนิ การดว ยวธิ ี

การทีห่ ลากหลาย เหมาะสมกบั สิง่ ท่ีตองการวดั ธรรมชาติของวิชาและระดบั ช้นั ของผูเรยี น
6.5 ใหม กี ารประเมนิ ความสามารถของผเู รยี นในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอื่ ความในแตล ะ

ระดับการศกึ ษา

โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 67

6.6 ใหมกี ารประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข องผูเรียนในแตละระดบั การศึกษา
6.7 ใหมกี ารประเมนิ คณุ ภาพผูเรยี นในระดบั ชาตใิ นแตละระดบั การศกึ ษา
6.8 เปดโอกาสใหผเู รยี นตรวจสอบผลการประเมินการเรียนได
6.9 ใหม ีการเทียบโอนผลการเรียนระหวา งสถานศกึ ษาและรปู แบบการศึกษาตา ง ๆ

หมวด 2 วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรยี น

ขอ 7 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรเู ปน กระบวนการทใ่ี หผ สู อนใชพ ฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นเพอ่ื ใหไ ดข อ มลู
สารสนเทศทแี่ สดงพฒั นาการความกา วหนา และความสำเรจ็ ทางการเรยี นของผเู รยี น ใหเ ปน การประเมนิ เพอื่ ปรบั ปรงุ
การเรยี นมากกวาการตัดสนิ ผลการเรียน ประกอบดวย

7.1 การวดั และประเมนิ ผลระดบั ชน้ั เรยี นเปน การวดั ความกา วหนา ทงั้ ดา นความรทู กั ษะ กระบวนการ
คุณธรรม จริยธรรมและคา นยิ มที่พงึ ประสงค

7.2 การประเมินผลระดับสถานศึกษาเพื่อตรวจสอบความกาวหนาดานการเรียนรูเปนรายป และ
ระดับการศึกษา สำหรับสถานศึกษานำขอมูลท่ีไดใชเปนแนวทางในการปรับปรุงและการพัฒนาการเรียน การสอน
และคุณภาพผูเรียนใหเปนไปตามมาตรฐานการเรียนรูรวมทั้งพิจารณาตัดสินการเลอ่ื นระดบั การศึกษา

7.3 การประเมนิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นระดบั ชาติ เปน การประเมนิ ดว ย แบบประเมนิ ผล สมั ฤทธิ์
ทางการเรียนท่ีเปนมาตรฐานระดับชาติ เพ่ือตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษา
ของชาติ สำหรบั นำผลการประเมินไปวางแผนดำเนนิ การปรับปรุงแกไ ขและพัฒนาการศึกษาใหไ ดม าตรฐาน

7.4 การประเมนิ เพอ่ื ตดั สนิ ผลการเรยี นเปน การประเมนิ เพอื่ สรปุ ความสำเรจ็ ในการเรยี นรขู องผเู รยี น
ในการจบระดับการศึกษาและจบหลักสูตรการศึกษาในระดับตาง ๆ ซ่ึงจะทำใหผูเรียนไดรับการรับรองความรูและ
วุฒิการศกึ ษาจากสถานศกึ ษา

ขอ 8 แนวดำเนนิ การประเมนิ ผลการเรยี นของสถานศกึ ษา เพอื่ ใหก ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นของสถาน
ศกึ ษาสอดคลอ งกบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 มกี ารดำเนนิ การตามหลกั การกระจาย
อำนาจมีการประเมินผูเรียนตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียน มีการตรวจสอบและกำกับติดตามประเมิน
คุณภาพการประเมินผลการเรียนอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดแนวดำเนินการวัดและประเมินผล
การเรยี นของสถานศึกษา ดังนี้

8.1 สถานศกึ ษาโดยคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวชิ าการของสถานศกึ ษาโดยความ เหน็ ชอบของคณะ
กรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานกำหนดรปู แบบระบบและระเบยี บประเมนิ ผลของสถาน ศกึ ษาเพอื่ ใชเ ปน แนวปฏบิ ตั ิ
ในการประเมินผลการเรยี นของสถานศึกษา

8.2 สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษานำ มาตรฐานการเรียน
ตวั ชวี้ ดั ผลการเรยี นรู แตล ะกลมุ สาระการเรยี นรกู ำหนดเปา หมายในการวดั และการ ประเมนิ ผลการเรยี นรรู ายภาคเรยี น

8.3 คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวชิ าการใหค วามเหน็ ชอบรปู แบบ วธิ กี าร เครอ่ื งมอื ในการประเมนิ
และการตัดสนิ ผลการเรยี นรายวิชาของผูสอน

8.4 ผูสอนจัดการเรียนการสอน ตรวจสอบพัฒนาการของผูเรียน และประเมินสรุป ผลสัมฤทธ์ิของผูเรียน
ดว ยวธิ กี ารหลากหลายตามสภาพจรงิ โดยนำผลการเรยี นรรู ะหวา งเรยี นไมน อ ยกวา รอ ยละ 70 ไปใชเ ปน ขอ มลู สำหรบั
การตดั สินผลการเรยี นรายวชิ า

68 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

8.5 ผอู ำนวยการสถานศึกษาอนุมัติผลการเรยี นปลายภาค และการผานระดบั การศึกษา
8.6 สถานศึกษาจัดทำรายงานผลการดำเนินการประเมินผลการเรียนประจำปโดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวชิ าการของสถานศึกษาเสนอตอคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
ขอ 9 ใหม ีการประเมินผลการเรยี นในดา นตา ง ๆ คอื
9.1 การประเมินผลการเรียนสาระการเรียนรูรายวิชา ตามผลการเรียนรูที่คาดหวังของรายวิชา
ซึ่งสถานศึกษาวิเคราะหจากมาตรฐานการเรียนรูชวงช้ันการประเมินสาระการเรียนรูรายวิชา ผลการประเมินสาระ
การเรยี นรูรายวิชา เพอ่ื การเล่ือนชนั้ และจบการศกึ ษา มี 8 ระดบั คือ
“4” หมายถึง ผลการเรยี นดีเยยี่ ม มผี ลการประเมนิ ตง้ั แตรอยละ 80 – 100
“3.5” หมายถึง ผลการเรยี นดีมาก มีผลการประเมินตั้งแตร อ ยละ 75 – 79
“3” หมายถึง ผลการเรยี นดี มผี ลการประเมนิ ต้งั แตร อยละ 70 – 74
“2.5” หมายถึง ผลการเรียนปานกลาง มีผลการประเมินตง้ั แตรอ ยละ 65 - 69
“2” หมายถึง ผลการเรยี นปานกลาง มผี ลการประเมนิ ตงั้ แตรอยละ 60 – 64
“1.5” หมายถงึ ผลการเรยี นออ น มีผลการประเมินตง้ั แตรอ ยละ 55 – 59
“1” หมายถงึ ผลการเรยี นออนมาก มีผลการประเมินตง้ั แตร อยละ 50 – 54
“0” หมายถึง ผลการเรยี นไมผาน มผี ลการประเมินตั้งแตรอ ยละ 0 – 49
9.2 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนการประเมินท้ังเวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรม และผลงานของผูเรยี นตามเกณฑทส่ี ถานศึกษากำหนด กิจกรรมพฒั นาผเู รยี นมี 3 กจิ กรรม คือ
1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมนกั เรียน ประกอบดว ย
2.1 กิจกรรมนกั ศึกษาวชิ าทหาร
2.2 กจิ กรรมชมุ นุม
3. กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน
โดยกำหนดผลการประเมนิ เพ่ือการเลือ่ นช้ันและจบการศกึ ษา ดังน้ี
“ผ” หมายถงึ ผเู รียนมีเวลาเขารวมกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ปฏิบตั ิกิจกรรมและมผี ลงานตามเกณฑ
ที่สถานศึกษากำหนด
“มผ” หมายถึง ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงานไมเปนไป
ตามเกณฑท่ีสถานศกึ ษากำหนด
9.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค เปนการประเมินพัฒนาทางดานคุณธรรม จริยธรรม
คา นยิ มและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข องผเู รยี น ตามคณุ ลกั ษณะ 8 คณุ ลกั ษณะทสี่ ถานศกึ ษา กำหนดผลการประเมนิ
เพ่ือการเล่ือนช้ันและจบการศึกษา กำหนดเปน 4 ระดับ คอื
“ดเี ยย่ี ม” หมายถงึ ผเู รยี นปฏบิ ตั ติ นตามเกณฑแ ละเงอ่ื นไขทสี่ ถานศกึ ษากำหนดจนเปน นสิ ยั และนำไปใช
ในชวี ติ ประจำวนั เพอ่ื ประโยชนส ขุ ของตนเองและสงั คม โดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ดเี ยย่ี มจำนวน 5 - 8
คุณลกั ษณะ และไมม คี ณุ ลกั ษณะใดไดผลการประเมินตํ่ากวา ระดับดี
“ด”ี หมายถงึ ผเู รยี นมคี ณุ ลกั ษณะในการปฏบิ ตั ติ นตามเกณฑแ ละเงอ่ื นไขทส่ี ถาน ศกึ ษากำหนดเพอื่ ใหเ ปน
การยอมรับของสงั คม โดยพิจารณาจาก

โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 69

1. ไดผลการประเมินระดับดีเย่ียม จำนวน 1 - 4 คุณลักษณะ และไมมีคุณลักษณะไดผลการ ประเมิน
ตํ่ากวาระดับดี หรือ

2. ไดผลการประเมินระดับดีเย่ียม จำนวน 4 คุณลักษณะ และไมมีคุณลักษณะใดไดผลการ ประเมิน
ต่ํากวาระดับผา น หรอื

3. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ดี จำนวน คณุ ลกั ษณะ และไมม คี ณุ ลกั ษณะใดไดผ ลการ ประเมนิ ตาํ่ กวา ระดบั ผา น
“ผา น” หมายถงึ ผเู รยี นรบั รแู ละปฏบิ ตั ติ นไดค รบตามเกณฑแ ละเงอ่ื นไขทสี่ ถานศกึ ษา กำหนดโดยพจิ ารณา
จากผลการประเมนิ ระดับไมผา น ตง้ั แต 1 คุณลกั ษณะ
“ไมผ า น” หมายถงึ ไมม ผี ลงานทแี่ สดงถงึ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น หรอื ถา มผี ลงาน
ผลงานนน้ั ยงั มขี อ บกพรองทตี่ อ งไดรับการปรับปรุงแกไขหลายประการ

9.4 การประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอื่ ความ เปน การประเมนิ ทกั ษะ
ความคิดและการถายทอดความคิดครอบคลุมความสามารถในการคิดวิเคราะหขอมูลในการอาน และความสามารถ
ในการเขียนส่ือความ ตามเงื่อนไข วิธีการและมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนดผลการประเมิน เพื่อการเล่ือนช้ันและ
จบการศกึ ษา กำหนดเปน 4 ระดบั คอื

“ดเี ยี่ยม” หมายถงึ มผี ลงานทแ่ี สดงถงึ ความสามารถในการอาน คิด วเิ คราะหแ ละเขยี น
ทมี่ ีคุณภาพดเี ลิศอยูเสมอ

“ด”ี หมายถึง มผี ลงานทแี่ สดงถึงความสามารถในการอา น คิด วเิ คราะหแ ละเขยี น
ท่ีมคี ุณภาพเปน ท่ียอมรับ

“ผา น” หมายถงึ มผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอาน คิด วเิ คราะหและเขยี น
ที่มีคณุ ภาพเปนทีย่ อมรบั แตย งั มีขอบกพรองบางประการ

“ไมผาน” หมายถงึ ไมม ีมีผลงานทีแ่ สดงถงึ ความสามารถในการอา น คดิ วิเคราะหและเขียน
หรือถามผี ลงาน ผลงานนนั้ ยังมีขอบกพรองทต่ี อ งไดรับการปรบั ปรุงแกไ ข
หลายประการ

หมวด 3 การตัดสินผลการเรียนและการเลื่อนช้นั

ขอ 10 การตัดสินผลการเรียนใหถอื ปฏบิ ัติดังนี้
10.1 พจิ ารณาตดั สนิ วา ผเู รยี นผา นการประเมนิ ตามกลมุ สาระการเรยี นรทู ง้ั 8 กลมุ และไดร ะดบั

ผลการเรยี น 1 ถงึ 4
10.2 ไดร บั การประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น เปน รายภาค ไดผ ลการประเมนิ “ผา น”
10.3 ไดรับการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคเปนรายภาค ไดผ ลการประเมิน “ผา น”
10.4 ไดร ับการตดั สินการเขารว มกจิ กรรมพฒั นาผเู รียนเปน รายภาค ไดผ ลการประเมิน “ผ”
10.5 วัดผลปลายภาคเฉพาะผูที่มีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมนอยกวารอยละ 80 ของเวลาเรียน

ทั้งหมดในรายวิชาน้ัน การอนุญาตใหผูเรียนเขารับการวัดผลปลายภาคสำหรับผูที่มีเวลาเรียนไมถึงรอยละ 80
ของเวลาเรยี นในรายวชิ านน้ั ใหค ณะอนกุ รรมการกลมุ สาระการเรยี นรเู สนอคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวชิ าการ
ใหความเหน็ ชอบและนำเสนอผูบรหิ ารสถานศกึ ษาอนุมัติ

70 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

10.6 ผูเรียนที่มีเวลาเรียนไมถึงรอยละ 80 ของเวลาเรียนในรายวิชาน้ันและไมไดรับการผอนผัน
ใหเ ขา รับการวดั ผลปลายภาคเรียนใหไ ดผ ลการเรียน “มส”

10.7 ผูเรียนที่มีผลการเรียนไมถึงรอยละ 60 ของเวลาเรียนในรายวิชาน้ัน การวัดและประเมินผล
ใหน กั เรยี นไดผ ลการเรยี น “มส”

10.8 ผูเรยี นท่ีมผี ลการเรียนตา่ํ กวา เกณฑที่สถานศกึ ษากำหนดใหไดระดับผลการเรยี น “0”
10.9 ผูเรียนท่ีทุจริตในการประเมินผลการเรียนในครั้งใด ใหไดคะแนน “0” ในการประเมินผล
ครั้งน้ัน
10.10 ผเู รยี นมเี หตสุ ดุ วสิ ยั ทไี่ มไ ดว ดั ผลกลางภาคเรยี นหรอื ปลายภาคเรยี นรายวชิ าใด เมอื่ แจง เหตุ
นั้นตอสถานศึกษากอนท่ีการดำเนินวัดผลรายวิชาน้ันจะเสร็จสิ้น ใหไดผลการเรียน “ร” หากการดำเนินการวัดผล
รายวชิ านน้ั เสรจ็ สน้ิ แลว ใหผ เู รยี นไดค ะแนน “0” ในการวดั ผลครง้ั นนั้ กรณที ไี่ มใ ชเ หตสุ ดุ วสิ ยั ทที่ ำใหน กั เรยี นไมส ามารถ
เขา วดั ผลกลางภาคเรยี นหรอื ปลายภาคเรยี นครงั้ ใดกต็ าม ในขณะทก่ี ารวดั ผลครงั้ นน้ั กำลงั ดำเนนิ การอยใู หผ ปู กครอง
และนักเรียนย่ืนคำรองขอใหมีสิทธิ์ในการวัดผลคร้ังนั้น เม่ือไดรับอนุญาตใหเขาวัดผลไดใหครูผูสอนดำเนินการวัดผล
ผูเรียนและใหไดคะแนนไมเกินครึ่งหน่ึงของคะแนนเต็มในการวัดผลครั้งน้ันหากไมไดรับอนุญาตใหไดคะแนน “0”
ในการวดั ผลครง้ั นน้ั
ขอ 11 การเปลย่ี นผลการเรียนใหถ ือปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
11.1 การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” ผูเรียนที่ไดผลการเรียน “มส” ใหลงทะเบียนเรียนซํ้า
ในภาคเรียนถัดไปตามที่กำหนดเวลาลงทะเบียนเรียนซ้ําท่ีสถานศึกษากำหนด และตองดำเนินการแกไขใหเสร็จสิ้น
ในภาคเรียนท่ีลงทะเบียนเรียนซํ้ากรณีท่ีผูเรียนไมดำเนินการตามท่ีกำหนด ใหลงทะเบียนเรียนซ้ําในภาคเรียนถัดไป
11.2 การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” ใหผูเรียนขอดำเนินการตอครูผูสอนและใหเสร็จสิ้น ภายใน 2
สัปดาหแรกของภาคเรยี นถดั ไป
11.3 การเปล่ียนระดับผลการเรียนจาก “0” ใหครูผูสอนดำเนินการพัฒนาผูเรียนโดยจัดสอน
ซอ มเสรมิ เพอื่ ปรบั ปรงุ แกไ ขผเู รยี นตามตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู แลว ประเมนิ ดว ยวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพ
จนผูเรียนสามารถผานเกณฑการประเมินและใหระดับผลการเรียนใหมไดไมเกิน “1” ตามเง่ือนไข ท่ีสถานศึกษา
กำหนดการพัฒนาผูเรียนใหดำเนินการตามที่สถานศึกษากำหนดทั้งน้ีตองดำเนินการใหเสร็จส้ิน ภายใน 2 สัปดาห
แรกของภาคเรียนถัดไปกรณีที่ผูเรียนไมดำเนินการตามกำหนดใหลงทะเบียนเรียนซํ้า และดำเนินการใหเสร็จส้ิน
ภายในภาคเรียนท่ีลงทะเบยี นเรยี นซํ้า
11.4 การเปล่ียนระดับผลการเรียนจาก “มผ” ใหสถานศึกษาดำเนินการจัดกิจกรรมซอมเสริม
ปรับปรุงแกไขเพื่อใหผูเรียนในสวนท่ีไมผานการประเมินตามระยะเวลาที่สถานศึกษากำหนดและเมื่อผูเรียนดำเนิน
การตามทก่ี ำหนดแลว ใหไ ดผ ลการประเมนิ “ผ” ทง้ั นต้ี อ งดำเนนิ การใหเ สรจ็ สนิ้ ในปก ารศกึ ษานนั้ ยกเวน มเี หตสุ ดุ วสิ ยั
ใหอ ยใู นดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษา
11.5 การเปลย่ี นผลการประเมนิ จาก “ไมผ า น” ใหด ำเนนิ การจดั กจิ กรรมซอ มเสรมิ ปรบั ปรงุ แกไ ข
เพือ่ ใหผ เู รียนผา นเกณฑท ีส่ ถานศึกษากำหนด ตามเงอื่ นไขและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ บริหารหลักสตู รและ
วิชาการของสถานศึกษา ท้ังนี้ตองดำเนินการใหเสร็จส้ินในปการศึกษาน้ัน ยกเวน มีเหตุสุดวิสัยใหอยูในดุลยพินิจ
ของสถานศึกษา

โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 71

ขอ 12 การเลอื่ นชนั้ กำหนดเกณฑก ารเลื่อนชั้น ดังนี้
1. ผูเรยี นมเี วลาเรียนตลอดปก ารศึกษาไมน อ ยกวา รอ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทงั้ หมด
2. ผูเ รยี นมผี ลการประเมินผา นทุกรายวชิ าพน้ื ฐาน
3. ผเู รยี นมผี ลการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และกจิ กรรม

พัฒนาผูเรียน ผานตามเกณฑที่สถานศึกษากำหนดในกรณีท่ีผูเรียนไมผานรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโนมจะ
เปนปญหาตอการเรยี นในระดบั ช้นั ท่ีสงู ขึน้ ใหสถานศกึ ษาพิจารณาใหเรียนซ้ําช้นั ได และแจง ใหผูปกครองและผูเรียน
ทราบเหตุผลของการใหเรียนซํ้าชั้น ท้ังน้ีใหคำนึงถึงวุฒิภาวะและความรูความสามารถของผูเรียนในกรณีท่ีผูเรียน
มคี วามสามารถในการเรยี นรดู เี ลศิ สถานศกึ ษาอาจแตง ตงั้ คณะกรรมการประเมนิ ผเู รยี นใหเ ลอื่ นชนั้ กลางปไ ด โดยตอ ง
ตรวจสอบตามเงือ่ นไขทงั้ 3 ประการ คอื

1. มผี ลการเรยี นในปก ารศกึ ษาทผ่ี า นมาและมผี ลการเรยี นระหวา งปท ก่ี ำลงั ศกึ ษาอยใู นเกณฑด เี ยยี่ ม
2. มีวุฒิภาวะเหมาะสมท่ีจะเรยี นในช้ันที่สงู ขน้ึ
3. ผานการประเมินผลความรูความสามารถทุกรายวิชาของช้ันปท่ีเรียนปจจุบันและความรู
ความสามารถทกุ รายวชิ าในภาคเรยี นแรกของชน้ั ปท จี่ ะเลอื่ นขน้ึ การอนมุ ตั ใิ หเ ลอื่ นชนั้ กลางปก ารศกึ ษาไปเรยี นชนั้ สงู ขนึ้ ได
1 ระดบั ชน้ั ตอ งไดร บั การ ยนิ ยอมจากผเู รยี นและผปู กครองและดำเนนิ การใหเ สรจ็ สนิ้ กอ นเปด ภาคเรยี นท่ี 2 ของปก าร
ศกึ ษานนั้ ในกรณที ่ี ผเู รยี นกลมุ พเิ ศษตา งๆทม่ี ปี ญ หาในการเรยี นรู ใหส ถานศกึ ษารว มกบั สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา
ขอ ที่ 13 การเรยี นซ้ำ สถานศึกษาจะจัดใหผูเรียนเรียนซ้ำใน 2 กรณี ดงั นี้
กรณีที่ 1 เรียนซ้ำรายวิชา หากผูเรียนไดรับการสอนซอมเสริมและสอบแกตัว 2 คร้ังแลวไมผาน
เกณฑการประเมินใหเรียนซ้ำรายวิชานั้น ทั้งน้ี ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจัดใหเรียนซ้ำในชวงใดชวง
หนึ่งที่สถานศึกษาเหน็ วาเหมาะสม เชน พักกลางวนั วนั หยุด ชว่ั โมงวา งหลังเลกิ เรยี น ภาคฤดรู อ น เปน ตน
กรณีท่ี 2 เรยี นซ้ำช้นั มี 2 ลกั ษณะ คือ
13.1 ผูเรียนมีระดับผลการเรียนเฉล่ียในปการศึกษาน้ันต่ำกวา 1.00 และมีแนวโนมจะเปน
ปญ หาตอ การเรยี นในระดับช้นั ทีส่ งู ขึน้
13.2 ผเู รยี นมผี ลการเรยี น 0, ร, มส. เกนิ ครง่ึ หนงึ่ ของรายวชิ าทลี่ งทะเบยี นเรยี นในปก ารศกึ ษานน้ั
ทั้งน้ีหากเกิดลักษณะใดลักษณะหน่ึง หรือท้ัง 2 ลักษณะ ใหสถานศึกษาแตงต้ังคณะกรรมการพิจารณาหากเห็น
วา ไมม เี หตผุ ลอนั สมควรกใ็ หซ ำ้ ชนั้ โดยยกเลกิ ผลการเรยี นเดมิ และใหใ ชผ ลการเรยี นใหมแ ทนหากพจิ ารณาแลว ไมต อ ง
เรยี นซ้ำช้นั ใหอยูใ นดลุ ยพินิจของสถานศกึ ษาในการแกไ ขผลการเรยี น
ขอ ท่ี 14 แนวปฏบิ ตั ใิ นการสอบวัดประเมินผลกลางภาคหรอื ปลายภาค
14.1 ในการสอบทกุ ครงั้ นกั เรยี นจะตอ งมากอ นเวลาสอบอยา งนอ ย 30 นาทใี นวชิ าแรกของการสอบ
ของแตล ะวันหลังจากน้ันในวิชาถัดไปจะตอ งเขาสอบกอนเวลา 15 นาที นกั เรยี นจะหมดสิทธิ์ในการเขา สอบ
14.2 นักเรียนจะตองมีบัตรนักเรียนและบัตรเขาหองสอบ (กรณีที่นักเรียนไมมีบัตรเขาหองสอบ
หรือลืมบัตรเขา หอ งสอบใหต ดิ ตอกลุมกิจการนกั เรยี นเพอ่ื ออกบตั รเขาหองสอบ)
14.3 หามนักเรียนนำตำรา เอกสาร หรือ กระดาษ และสิ่งพิมพอ่ืนใด รวมทั้งเคร่ืองมือส่ือสาร
อิเลคทรอนิกสใดๆ เขาหองสอบโดยเด็ดขาด หากคุณครูผูควบคุมหองสอบตรวจพบวานักเรียนไดนำเขามาหองสอบ
จะถือวาเจตนากระทำการทจุ ริต ในการสอบและตองยุตกิ ารสอบในวิชานัน้ ทนั ที

72 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

วิธีการปฏิบัติกรณีที่เขาหองสอบไมทันเวลา ไมไดเขาสอบ และมีการทุจริตในหองสอบ ใหนักเรียนและผูปกครอง
ยื่นคำรองใหมีสิทธิ์ในการวดั ผลดงั นี้

กรณีทุจริต ผูปกครองตองมารับทราบแนวปฏิบัติของโรงเรียน โดยการประเมินผลจะไดคะแนน “0”
ในการสอบครงั้ นน้ั และกรณที ่ีมกี ารทจุ ริตเกิดขน้ึ อกี ในนกั เรียนคนเดิมในครง้ั ตอ ไปจะถกู ปรบั ตกในวิชานัน้ ๆ

กรณเี ขา สอบไมท นั เวลา ผปู กครองตอ งมารบั ทราบแนวปฏบิ ตั ขิ องโรงเรยี นเพอื่ ขอสทิ ธใิ์ นการวดั ผลครง้ั นน้ั
เมอ่ื ไดร บั อนญุ าตใหเ ขา วดั ผลได ใหค รผู สู อนดำเนนิ การใหไ ดค ะแนนไมเ กนิ ครง่ึ หนง่ึ ของคะแนนเตม็ ในการวดั ผลครง้ั นนั้
หากไมไดรับอนุญาตใหคะแนน “0” ในการวัดผลครั้งน้ัน โดยการไดรับสิทธ์ิในการสอบถาดำเนินการขอการมีสิทธ์ิ
เขา สอบแลว เสรจ็ ในชว งทมี่ กี ารสอบใหด ำเนนิ การสอบทหี่ อ งวดั ผล หลงั จากนน้ั ใหด ำเนนิ การสอบทอ่ี าจารยป ระจำวชิ า

กรณีไมเขาสอบวัดผลกลางภาคและปลายภาคและเปนเหตุสุดวิสัย นำผูปกครองมาเพื่อขอมีสิทธ์ิ
ในการสอบและดำเนินการสอบนอกตาราง นักเรียนจะไดคะแนนตามแนวระเบียบการวัดผลปกติ ซึ่งการสอบ
นอกตารางดำเนินการขอการมีสิทธิ์เขาสอบแลวเสร็จในชวงที่มีการสอบใหดำเนินการสอบที่หองวัดผล หลังจากน้ัน
ใหด ำเนนิ การสอบท่อี าจารยประจำวชิ า

กรณเี หตสุ ดุ วสิ ยั เชน ปว ย (มใี บรบั รองแพทย) , พอ แมป ยู า ตายายเสยี ชวี ติ ตอ งประกอบพธิ งี านศพ, นกั เรยี น
มชี ว งเวลาสอบตรงกนั การเขา สอบเพอ่ื ศกึ ษาตอ หรอื เปน ตวั แทนในการแขง ขนั วชิ าการ หรอื อนื่ ๆ ทผี่ บู รหิ ารพจิ ารณา
เหน็ วา เปน เหตสุ ุดวิสยั โดยใหยนื่ เรื่องเพ่อื ขอมสี ทิ ธิ์ในการสอบที่หองวดั ผลตั้งแตรับทราบเหตสุ ุดวิสัย

ขอ 15 เกณฑก ารตดั สนิ ผลการเรยี นผา นระดบั การศกึ ษา และจบหลกั สตู รสถานศกึ ษาเพอ่ื ใหผ เู รยี นหลกั สตู ร
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ผานการศึกษาแตละระดับการศึกษาและจบหลักสูตรสถานศึกษา ไดศึกษาครบถวนตามโครง
สรา งของหลกั สตู ร และมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา จงึ กำหนดเกณฑก ารตดั สนิ ผลการเรยี นผา นระดบั การศกึ ษา
(จบหลักสูตรการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน) ไวดังนี้

15.1 เกณฑการผานระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน) ผูเรียนมี
คณุ สมบตั ิดังนี้

1) ผเู รยี นตอ งเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานและเพ่ิมเตมิ ตามท่ีสถานศึกษากำหนด
2) ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเติม โดยเปนรายวิชาพื้นฐาน 41 หนวยกิต และรายวิชา
เพิ่มเตมิ ตามท่ีสถานศึกษากำหนด
3) ผเู รยี นมผี ลการประเมินการอาน คิดวเิ คราะหและเขยี น ในระดับผานเกณฑการประเมนิ ตามที่
สถานศึกษากำหนด
4) ผเู รยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ในระดบั ผา นเกณฑก ารประเมนิ ตามทสี่ ถาน
ศกึ ษากำหนด
5) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมินตามท่ีสถาน
ศึกษากำหนด การตัดสินผลการเรียนการผานชวงช้ัน (จบการศึกษาภาคบังคับ/จบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน)
ผูเรียนตองผานเกณฑมาตรฐานครบทั้ง 5 เกณฑ ซึ่งสะสมมาจากการประเมินผลการเรียน ปลายภาคเรียนถาผูเรียน
ไมผานชวงชั้นใหดำเนินการสอนซอมเสริมแลวทำการประเมินผลจนผูเรียนสามารถ ผานเกณฑการประเมินท่ีสถาน
ศึกษากำหนด

โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 73

หมวด 4 การเทียบโอนผลการศกึ ษา

ขอ 16 การเทียบโอนผลศึกษา เปนการนำผลการเรียนซึ่งเปนความรู ทักษะและประสบการณของ
ผเู รยี นทเี่ กดิ จากการศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มาประเมนิ เปน สว นหนง่ึ
ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รใดหลกั สูตรหนึง่ แนวดำเนนิ การเทียบโอนผลการศกึ ษาใหเ ปนไปตามระเบียบดงั นี้

16.1 ผูขอเทียบโอนตองขึ้นทะเบียนเปนนักเรียนของสถานศึกษาใด โดยผูขอเทียบโอนจะ
ตองไมเปนผูที่กำลังศึกษาอยูในระบบสถานศึกษาจะดำเนินการเทียบโอนผลการเรียนในภาคเรียนแรก ที่ขึ้น
ทะเบียนเปน นักเรียน ยกเวนกรณมี เี หตุจำเปน

16.2 จำนวนสาระการเรียนรู จำนวนรายวิชา จำนวนหนวยการเรียนที่จะรับเทียบโอนและ
อายขุ องผลการเรยี นทจี่ ะนำมาเทยี บโอนใหอ ยใู นดลุ ยพนิ จิ ของคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวชิ าการของ
สถานศึกษาทงั้ น้ี เมือ่ เทียบโอนแลว ผขู อเทียบโอนตองมีเวลาเรยี นอยูในสถานศกึ ษาไมนอ ยกวา 1 ภาคเรียน

16.3 การเทียบโอนผลการศึกษาใหดำเนินการในรูปของคณะกรรมการเทียบโอนผลการ
ศกึ ษาจำนวนไมนอยกวา 5 คน แตไมเ กนิ 9 คน

ขอ 17 การเทยี บโอนใหด ำเนินการดังน้ี
17.1 การเทียบระดับการศึกษา หมายถึง การนำผลการเรียน ความรู และประสบการณท่ี

ไดจ ากการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการศกึ ษานอกระบบ ไมแ บง ระดบั มาประเมนิ เพอ่ื เทยี บเทา การศกึ ษาระดบั
ใดระดบั หนึ่งมีแนวทางการเทียบระดับการศึกษาดงั น้ี

1) ผขู อเทยี บระดบั การศกึ ษาจะตอ งไมเ ปน กำลงั ศกึ ษาอยใู นสถานศกึ ษาในระบบหรอื สถาน
ศึกษานอกระบบที่จัดการศึกษาเปนระบบเดียวกันกับการศึกษาในระบบและเปนผูสำเร็จการศึกษาตามหลัก
สตู รของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในระดบั ทต่ี าํ่ กวา ระดบั การศกึ ษาทขี่ อเทยี บ 1 ระดบั ผไู มเ คยมวี ฒุ กิ ารศกึ ษาใด ๆ
จะขอเทยี บระดบั การศึกษาไดไ มเ กนิ ระดับประถมศกึ ษา

2) ใหสถานศึกษาซึ่งเปนที่ทำการเทียบระดับการศึกษา ดำเนินการเทียบระดับดวยการ
ประเมนิ ความรคู วามสามารถและประสบการณข องผขู อเทยี บระดบั ดว ยวธิ กี ารหลากหลาย ทง้ั ดว ยการทดสอบ
การประเมินแฟมผลงาน และการสังเกตพฤติกรรมตาง ๆ ใหครอบคลุมคุณลักษณะของผูเรียนทั้งดานความรู
ทกั ษะกระบวนการ และคา นิยม ตามเกณฑมาตรฐานของหลักสูตรท่ีขอเทียบระดบั

3) ผูผานการประเมินจะไดรับหลักฐาน แสดงผลการประเมินเทียบระดับความรูและ
ใบประกาศนียบตั รรบั รองระดบั ความรขู องกระทรวงศึกษาธกิ าร

17.2 การเทียบโอนผลการเรียน หมายถึง การนำผลการเรียนซึ่งเปนความรู ทักษะและ
ประสบการณของผูเรียนที่เกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และผล
การศึกษาจากตางสถานศึกษามาประเมินเปนสวนหน่ึงของการศึกษา ตามหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งที่กำลัง
ศึกษามีแนวการดำเนนิ การดงั นี้

1) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และวิชาการของสถานศึกษากำหนดจำนวนรายวิชา
จำนวนหนว ยกติ ทสี่ ถานศกึ ษาจำกดั ใหผ เู รยี นสามารถขอเทยี บโอนไดใ นการศกึ ษาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา

74 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

แตละชวงช้ัน ทั้งนี้ผูเรียนจะตองเหลือรายวิชาท่ีจะตองศึกษาในสถานศึกษาอีกอยางนอย 1 ภาคเรียน พรอม
กับการกำหนดแนวทาง และวิธีการเทียบโอนท้ังกรณีเทียบโอนผลการเรียนเดิมท่ีผูเรียนศึกษากอนเขาศึกษา
ในสถานศกึ ษาและกรณเี ทยี บโอนผลการเรยี นทผี่ เู รยี นขออนญุ าตไปศกึ ษาตา งสถานศกึ ษาจะตอ งเปน ระเบยี บ
ท่สี อดคลองกับกฎกระทรวงวาดว ยการเทียบโอนผลการเรยี นดว ย

2) สถานศกึ ษาแตง ตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี นของสถานศกึ ษาปฏบิ ตั ิ
หนา ทก่ี ำหนดสาระ จดั สรา งเครอื่ งมอื สำหรบั การเทยี บโอนผลการเรยี น และดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี น

17.3 กรณีการเทยี บโอนผลการเรยี นเดมิ ทผี่ ูเรยี นศึกษามากอนเขาศึกษาในสถานศึกษา
1) ใหดำเนนิ การใหเ สร็จในภาคเรยี นแรกท่ผี ูเรียนเขาศึกษาในสถานศึกษา
2) ใหเทียบโอนผลการเรียนเปนรายวชิ า
3) ผูเรยี นยืน่ คำรอ งเปนลายลักษณอ ักษร ขอเทยี บความรตู ามรายวชิ า ในหลักสตู รของ

สถานศึกษาตามจำนวนรายวิชาท่ีสถานศึกษากำหนดไวในระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษา
ใหผูเรียนย่ืนคำรองพรอมเอกสารหลักสูตรท่ีนำมาขอเทียบ และเอกสารหลักฐานการศึกษาท่ีได (ถาผูเรียนมี)

4) คณะกรรมการดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี นพจิ ารณาหลกั สตู รและหลกั ฐานเอกสาร
เดิมของผูเรียน เพ่ือเปรียบเทียบหลักสูตรที่เรียนมากับหลักสูตรของสถานศึกษาในรายวิชาที่ขอเทียบถามี
จดุ ประสงคแ ละเนอื้ หาสาระตรงกนั ไมน อ ยกวา รอ ยละ 60 ใหร บั เทยี บโอนไดแ ละใหไ ดร ะดบั ผลการเรยี นตามท่ี
ไดมาในกรณีผูเรียนยายสถานศึกษา แตถาเปนกรณีเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาตางระบบให
คณะกรรมการดำเนนิ การเทยี บโอนพจิ ารณาวา ควรยอมรบั ผลการเรยี นเดมิ หรอื ไม ถา ไมย อมรบั กต็ อ งประเมนิ
ใหใหมดว ยวิธกี ารตาง ๆ ทเ่ี หมาะสม

5) คณะกรรมการดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี น จดั ใหม กี ารประเมนิ ความรคู วามสามารถ
และประสบการณข องผเู รยี นใหม ตามผลการเรยี นทค่ี าดหวงั ของรายวชิ าทผ่ี ขู อเรยี นขอเทยี บในกรณที ผี่ เู รยี น
ไมมีเอกสารหลักฐานการศึกษาเดิมมาแสดง หรือหลักสูตรที่ผูเรียนนำมาขอเทียบโอนมีความสอดคลอง
ของจุดประสงคและเน้ือหาสาระของหลักสูตรที่ขอเทียบไมถึงรอยละ ๖๐ ผูเรียนที่ผานการประเมินจะไดรับ
การเทียบโอนผลการเรียนใหโดยไดระดับผลการเรียนตามที่ประเมินได สวนผูท่ีไมผานการประเมินจะไมได
รบั การเทยี บโอนผลการเรยี น

17.4 กรณีผเู รียนขออนญุ าตไปศึกษารายวิชาใดวชิ าหน่งึ ตางสถานศึกษาหรือขอศกึ ษาดวย
ตนเองใหดำเนินการดังน้ี

1) ใหด ำเนนิ การโดยผเู รยี น ยน่ื คำรอ งไปศกึ ษาตา งสถานทห่ี รอื ตา งรปู แบบตอ คณะกรรมการ
เทียบโอนผลการเรียนซึ่งจะพิจารณาผลการเรียนและความจำเปนของผูเรียนและรูปแบบการจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษาทผี่ ูเรียนขอไปศกึ ษา

2) รายวชิ าทผ่ี เู รยี นขอไปศกึ ษาตา งสถานท่ี หรอื ตา งรปู แบบตอ งมจี ดุ ประสงค และเนอื้ หา
สาระสอดคลองกับรายวชิ าในหลักสตู รของสถานศึกษาทจี่ ะนำมาเทียบโอนไมน อ ยกวา รอ ยละ 60

โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 75

3) กรณผี เู รยี นขอไปศกึ ษาตา งสถานศกึ ษาหรอื ระบบทมี่ สี ถานศกึ ษาจดั การเรยี น การสอน
แนนอน ถาเห็นควรอนุญาตใหไปเรยี นไดใ หม ีการประสานงาน เรอื่ งการจดั การเรียนการสอน การประเมินผล
และการรับโอนผลการเรียนกอนเมื่อไดตกลงรวมกันเรียบรอยแลวจึงจะอนุญาตเมื่อศึกษาสำเร็จ แลวใหรับ
โอนผลการเรยี นไดทันที

4) กรณผี เู รยี นขออนญุ าตศกึ ษาดว ยตนเอง หรอื ศกึ ษาในสถานศกึ ษาทไ่ี มส ามารถตดิ ตอ
ประสานงานได ถา คณะกรรมการพจิ ารณาความจำเปน แลว เหน็ ควรอนญุ าต เมอ่ื ผเู รยี นมารายงานผลการเรยี น
ใหคณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียนทำการเทียบโอนผลการเรียนใหผูเรียนเชนเดียวกับกรณี
การเทยี บโอนผลการเรียนเดมิ ท่ีผูเ รยี นศึกษามากอนเขาศกึ ษาในสถานศึกษา

17.5 คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน รายงานผลการเทียบโอนให
คณะกรรมการ การบรหิ ารหลกั สตู รและวชิ าการของสถานศกึ ษาใหค วามเหน็ ชอบ และเสนอผบู รหิ ารสถานศกึ ษา
อนมุ ัตผิ ลการเทยี บโอนผลการเรียน

หมวด 5 หนา ท่ขี องสถานศึกษา

ขอ 18 ใหสถานศึกษาจดั ใหม ีเอกสารการประเมินผลการเรียนตา ง ๆ ดังน้ี
18.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) (ปพ.1) เปนเอกสารบันทึกผลการเรียนของ

ผูเรียนตามสาระการเรียนรูกลุมวิชา และกิจกรรมตางๆที่ไดเรียนในแตละระดับการศึกษาของหลักสูตรแกน
กลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน เพอ่ื ใชเ ปน หลกั ฐานแสดงสถานภาพและความสำเรจ็ ในการศกึ ษาของผเู รยี นแตล ะ
คนและใชเ ปนหลกั ฐานในการสมคั รเขา ศกึ ษาตอ สมคั รทำงาน หรอื ดำเนนิ การในเร่อื งอน่ื ที่เกีย่ วของ

18.2 หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ใบประกาศนียบัตร) (ปพ.2) เปนเอกสารท่ีสถานศึกษา
ออกใหกับผูสำเร็จการศึกษาและรับรองวุฒิการศึกษาของผูเรียนใหผูเรียนนำไปใชเปนหลักฐานแสดงระดับ
วฒุ ิการศึกษาของตน

18.3 แบบรายงานผสู ำเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.3) เปน แบบรายงานรายชอื่ และขอ มลู ของผสู ำเรจ็
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือใชเปนหลักฐานสำหรับตรวจสอบ ยืนยันและรับรองความสำเร็จและวุฒิการศึกษา
ของผสู ำเร็จการศกึ ษาแตละคน ตอเขตการพ้นื ที่การศกึ ษาและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

18.4 แบบแสดงผลการพฒั นาคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (ปพ.4) เปน เอกสารรายงานพฒั นา
การดานคุณลักษณะของผูเรียนเก่ียวกับคุณธรรมจริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค
ท่ีสถานศึกษากำหนดขึ้นเพ่ือพัฒนาผูเรียนเปนพิเศษ เพื่อการแกปญหาหรือสรางเอกลักษณใหผูเรียนตาม
วิสัยทัศนของสถานศึกษาเปนการรายงานผลการประเมินที่แสดงถึงสภาพ หรือระดับคุณธรรม จริยธรรม
คานิยม หรือคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนในแตละระดับการศึกษา สถานศึกษาจัดทำเอกสารน้ี
ใหผ เู รยี นทกุ ๆ คน ควบคกู บั ระเบยี บแสดงผลการเรยี นของผเู รยี น เพอ่ื นำไปใชเ ปน หลกั ฐานแสดงคณุ ลกั ษณะ
ของผูเรียนเพื่อประกอบในการสมคั รศกึ ษาตอ หรือสมคั รทำงาน

76 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

18.5 แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียน (ปพ.5) เปนเอกสารสำหรับผูสอนใชบันทึก
เวลาเรยี นขอ มลู ผลการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นและขอ มลู การพฒั นาคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข องผเู รยี น
แตละคนทเ่ี รียนในหอ งหรือกลุมเดียวกัน เพ่ือใชเปน ขอมลู ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนปรบั ปรุงแกไ ข

สงเสริมและตัดสินผลการเรียนของผูเรียน รวมท้ังใชเปนหลักฐานสำหรับตรวจสอบยืนยันสภาพ
การเรียน การมีสว นรวมในกจิ กรรมตาง ๆ และผลสัมฤทธิข์ องผูเรยี นแตล ะคน

18.6 แบบรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นรายบคุ คล (ปพ.6) เปน เอกสารสำหรบั บนั ทกึ
ขอ มูลเก่ยี วกับผลการเรยี น พัฒนาการในดานตา งๆและขอ มลู อน่ื ๆ ของผูเ รยี น

18.7 ใบรบั รองผลการศกึ ษา (ปพ.7) เปน เอกสารทสี่ ถานศกึ ษาออกใหผ เู รยี นเปน การเฉพาะ
กิจเพ่ือรับรองสถานภาพทางการศึกษาของผูเรียนเปนการช่ัวคราว ทั้งกรณีผูเรียนยังไมสำเร็จการศึกษาและ
สำเร็จการศกึ ษาแลว

18.8 ระเบยี นสะสม (ปพ.8) เปน เอกสารสำหรบั บนั ทกึ ขอ มลู เกย่ี วกบั พฒั นาการและผลงาน
ดา นตา ง ๆ ของผเู รียนทั้งทีส่ ถานศึกษาและทบ่ี าน เพอื่ ประโยชนใ นการแนะแนวผูเ รยี นในทุก ๆ ดา น

18.9 สมุดบันทึกผลการเรียน (ปพ.9) เปนสมุดบันทึกผลการเรียนรูท่ีสถานศึกษาจัดทำข้ึน
เพ่ือบันทึกรายการ รายวิชาตาง ๆ ท่ีผูเรียนจะตองเรียน ตามโครงสรางหลักสูตรของสถานศึกษา พรอมดวย
ผลการประเมินผลการเรียนของแตละรายวิชา และสถานศึกษาออกใหผูเรียนสำหรับศึกษา และนำไปแสดง
บุคคลหรือหนวยงานที่สนใจไดทราบถึงโครงสรางหลักสูตร รายละเอียดของรายวิชาตาง ๆ ของสถานศึกษา
พรอ มดว ยผลการเรยี นของผเู รยี นจากการเรยี นแตล ะรายวชิ า กรณผี เู รยี นยา ยสถานศกึ ษาขอ มลู ในสมดุ บนั ทกึ
ผลการเรียนรูจะเปนประโยชนในการนำไปใชในการเทียบโอนผลการเรียนจากสถานศึกษาเดิมไปเปนผล
การเรยี นตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษาใหม

ประกาศ ณ วันที่ 1 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2565
วาท่ี ร.ต.
(ดร.สุกิจ ศรีพรหม)
ผูอำนวยการ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 77

งานทะเบียนวัดผล

การตดิ ตอ งานทะเบียน
1. เวลาตดิ ตอ งานทะเบยี น

เวลา 08.30 – 16.30 น.
ไมนับวันหยุดราชการ รวมทั้งวันเสารแ ละอาทิตย
2. การขอเอกสารทางการศกึ ษา
2.1 สำหรบั นักเรยี นปจจุบัน

2.1.1 นกั เรียนตอ งเขยี นคำรอ งดวยตนเองในใบคำรองของเอกสารภาษาไทยหรือ
ภาษาอังกฤษ

2.1.2 กรอกขอมูลดวยบรรจง และชดั เจน
2.1.3 คำรอ งภาษาองั กฤษเขยี นตวั พมิ พใ หญ ชอื่ และนามสกลุ เขยี นใหต รงกบั ชอ่ื -นามสกลุ

ใน Passport
2.1.4 เอกสารทตี่ อ งตดิ รปู ใชร ปู ถา ยสหี รอื ขาวดำ ขนาด 3 x 4 เซนตเิ มตร (ไมร วมกรอบ)

แตง กายถกู ตอ งตามระเบยี บของโรงเรยี น (ตามตวั อยา ง) ตอ งไมเ ปน รปู ถา ยโพลารอยด
รูปถา ยสติก๊ เกอรหรอื ภาพสแกนเขียน ชอ่ื -นามสกุลหลงั รปู ถา ยทุกใบ
2.1.5 รับเอกสารหลังยื่นคำรองแลว 3 วันทำการ สำหรับนักเรียนปจจุบัน
2.1.6 นกั เรยี นปจ จบุ นั ตอ งแตง เครอื่ งแบบนกั เรยี นเมอ่ื มาตดิ ตอ กบั งาน ทะเบยี นวดั ผลทกุ ครง้ั
2.1.7 นักเรียนทุกคนควรวางแผนการขอเอกสารทุกประเภทไวลวงหนาโดยเฉพาะชวง
ปด ภาคเรยี นนกั เรยี นควรทำเรอื่ งขอเอกสารลว งหนา มฉิ ะนนั้ จะไมไ ดร บั ความสะดวก
เทาที่ควร

ภาคเรียนที่ 1 ควรขอเอกสารภายในวันที่ 10 ตุลาคม
ภาคเรียนท่ี 2 ควรขอเอกสาร ภายในวันที่ 31 มีนาคม
2.2 สำหรบั นักเรียนที่จบการศกึ ษาช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 6
2.2.1 เขยี นคำรองขอเอกสารทีห่ อ งทะเบียน
2.2.2 ตองแตง กายสภุ าพ
2.2.3 ตองนำ ปพ.1:พ ฉบับถายสำเนาไปดวยทุกคร้ัง เม่ือมาทำเรื่อง ปพ.1:พ ใบรับรอง
คะแนนภาษาองั กฤษ (Transcripts) พรอมทง้ั นำรปู ถา ยหนาตรงขนาด 3 x 4
เซนตเิ มตร ไมเ กิน 6 เดือน ไมติดเคร่ืองหมาย สถาบนั ใด ๆ ทเ่ี ส้ือ
2.2.4 นักเรียนชั้น ม.6 ท่ีจบการศึกษากอนปการศึกษา 2548 มารับเอกสารไดหลังจาก
ทำเรือ่ งขอเอกสารไดภายใน 15 วันทำการ

78 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

3. ระหวา งปดภาคเรยี น
3.1 นกั เรยี นปจ จบุ ันตองแตง เคร่ืองแบบนักเรียนทุกครงั้ ที่มาตดิ ตองานทะเบียนวดั ผล
3.2 นักเรียนช้ัน ม.6 ตองแตงเครื่องแบบนักเรียนเม่ือมาติดตองานทะเบียนวัดผลจนถึง

วันท่ี 15 พฤษภาคม หลังจากนัน้ แตงกายชดุ สุภาพ
4. นักเรียนชั้น ม.6 ที่จบการศึกษาแลว ตองการขอ transcript นักเรียนตองนำ ปพ.1:พ

ฉบับตวั จริงหรอื สำเนามาดว ย
5. นกั เรียนจะไดรบั เอกสารทยี่ นื่ คำรอ งขอไว หลังจากวันท่ียื่นคำรอ ง 3 วันทำการ
นักเรียนชาย – ผมสั้นตามระเบียบ
นักเรียนหญิง – เปด หนาผาก – เหน็ ใบหูทงั้ สองขา ง

ตวั อยางรปู ถา ยทรงผมและขนาด 3 x 4 เซนตเิ มตร ทถ่ี ูกตองตามระเบียบ

เห็นพระเกีย้ วชัดเจน

นกั เรยี นชาย นกั เรยี นหญิง
- ผมสน้ั ตามระเบยี บ - เปด หนาผาก
- เหน็ ใบหูทั้งสองขาง

โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 79

งานแนะแนว

การแนะแนว หมายถงึ กระบวนการชว ยเหลอื บคุ คลใหเ ขา ใจตนเองและสงิ่ แวดลอ ม สรา งเสรมิ ใหเ ขา
มคี ณุ ภาพเหมาะสมตามความแตกตา งระหวา งบคุ คล คน พบและพฒั นาศกั ยภาพของตนมที กั ษะการดำเนนิ ชวี ติ
มีวุฒิภาวะทางอารมณ ศีลธรรม จริยธรรม รูจักการเรียนรูในเชิงพหุปญหา รูจักคิด 2 ตัดสินใจ แกปญหา
โดยจดุ หมายของการแนะแนว คอื การปอ งกนั ปญ หา แกไ ขและการพฒั นาใหท กุ คนไปสจู ดุ หมายของชวี ติ ทตี่ อ งการ

กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมสงเสริมและพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเหมาะสมตามความ
แตกตา งระหวา งบคุ คล สามารถคน พบและพฒั นาศกั ยภาพของตน เสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ วฒุ ภิ าวะ ทางอารมณ
การเรียนรูในเชิงพหุปญญา และการสรางสัมพันธภาพที่ดีซ่ึงครูแนะแนวทุกคนตองทำหนาท่ีแนะแนว
ใหคำปรึกษาดา นชีวติ การศกึ ษาตอ และการพฒั นาตนเองสูโลกอาชีพและการมงี านทำ

หลกั การจดั กิจกรรมแนะแนว มีหลักการในการดำเนินการ ดังนี้
1. จัดกิจกรรมใหสอดคลองกับสภาพปญ หา ความตอ งการและธรรมชาตขิ องนักเรียน
2. จัดกิจกรรมใหครอบคลุมเนอ้ื หาสาระดานการศกึ ษา อาชพี สว นตัวและสังคม
3. ประสานความรว มมอื กบั ทกุ ฝา ยทเ่ี กย่ี วขอ งเพอ่ื พฒั นานกั เรยี น ตง้ั แตผ บู รหิ าร ครทู กุ คน ผปู กครอง
ชมุ ชน รวมมีบทบาทและมีสวนรว มในการดำเนินการ ใหความรวมมอื และสนับสนุนใหก ารจัดกจิ กรรมดำเนิน
ไปดวยความสะดวกอยางมปี ระสทิ ธิภาพ
ขอบขายการจัดกจิ กรรมแนะแนว มีขอบขา ยการดำเนนิ งาน 3 ดาน คือ
1. การแนะแนวการศึกษา ซึ่งมีขอบขายงานตั้งแต การสรางเจตคติท่ีดีตอการเรียน การฝกทักษะ
หรือเทคนิคการเรียนที่มีประสิทธิภาพ การวางแผนการเรียนท่ีดี การรูชองทางการศึกษา และการเลือกทาง
ศกึ ษาตอ ตลอดท้งั การสรางนสิ ัยเรยี นรตู ลอดชวี ติ
2. การแนะแนวดา นอาชพี ซงึ่ มขี อบขา ยงานตงั้ แตก ารสรา งเจตคตทิ ด่ี ตี อ การทำงานและการประกอบ
อาชีพ การสรางความตระหนัก รับรูเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของโลกอาชีพ การสำรวจอาชีพ การตัดสินใจ
และวางแผนดานอาชีพ การเตรียมตัวเพื่ออาชีพ การเขาสูอาชีพและการพัฒนาตนเอง เพื่อความกาวหนา
ในอาชีพ ตลอดทั้งมีทกั ษะในการประกอบอาชพี
3. การแนะแนวสว นตวั และสงั คม ซง่ึ มขี อบขา ยงานตงั้ แตก ารรจู กั ชวี ติ และสงั คม ทเ่ี ปลยี่ นแปลงอยู
ตลอดเวลา การรจู กั ตนเองและรคู ณุ คา ของตน การรจู กั ปรบั ตวั และแกป ญ หา การพฒั นาตนเอง การฝก ทกั ษะ
ชีวติ และทกั ษะทางสังคม เพ่อื ใหบุคลกิ ภาพ สุขภาพกาย สุขภาพจติ ทดี่ ี

เปา หมายของการจดั กจิ กรรมแนะแนว
ดานการศึกษา นักเรียนมีทักษะในการเรียนเพ่ือสงเสริมใหประสบความสำเร็จทางการเรียน

ตามศักยภาพของตน คนพบศักยภาพและพัฒนาศักยภาพของตนใหเปนประโยชนตอตน ครอบครัว สังคม
ประเทศชาติ ไดต ามสภาพของแตล ะบคุ คล

80 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

ดานอาชีพ นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ รูจักนำขอมูลเก่ียวกับตนเอง เพ่ือประกอบการ
วางแผนในการเลือกอาชพี เชน ความถนดั ความสามารถ ความสนใจ จุดเดน จดุ ดอยของตนเอง รูและเขา ใจ
ในธรรมชาติและคุณลักษณะของอาชีพ มีเจตคติท่ีดีตออาชีพสุจริต เห็นคุณคาของการทำงาน มีความเขาใจ
เกี่ยวกับแนวทางการศึกษาเพ่ือเขาสูงานอาชีพ มีเปาหมายชีวิต รูจักวางแผน 3 ชีวิต การเรียน การงาน
ทเี่ หมาะสมกบั ความถนดั ความสนใจ และสภาพการเปลย่ี นแปลงทางสงั คม และเทคโนโลยแี ละมคี ณุ ลกั ษณะ
พ้ืนฐานทจ่ี ำเปนในการเตรียมตัวสูโลกของงานอาชีพ

ดา นสว นตวั และสงั คม นกั เรยี นรจู กั และเขา ใจตนเอง รกั และเหน็ คณุ คา ในตนเอง เขา ใจ และยอมรบั
ผอู นื่ มที กั ษะในการดำเนนิ ชวี ติ มวี ฒุ ภิ าวะทางอารมณ สามารถปรบั ตวั เขา กบั สภาพสงั คม สงิ่ แวดลอ มทเ่ี ปลย่ี น
ไปไดอ ยา งเหมาะสม และสามารถดำเนนิ ชวี ติ อยใู นสงั คมไดอ ยา งมคี วามสขุ รจู กั ตดั สนิ ใจและแกป ญ หารวมทง้ั
สามารถปรบั ตวั ตอ สถานการณต า ง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในชวี ติ อยา งเหมาะสม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปน คนดใี นสงั คม
อยรู วมกบั ผูอนื่ อยางมคี วามสขุ รจู ักหลกี เลี่ยงอบายมุข สารเสพติด การพนนั หรือส่งิ ทีเ่ ปนอนั ตรายตอชวี ติ
รูปแบบการจัดกจิ กรรมแนะแนว มี 2 ลกั ษณะ คอื

1) การจัดบรกิ ารแนะแนว
2) การจัดกจิ กรรมในและนอกหองเรยี น
1. การจัดบริการแนะแนว เปนหนาที่ท่ีครูทุกคนรวมถึงครูแนะแนวดวย รวมรับผิดชอบ และมีหนาท่ี
ในการจดั บรกิ ารแนะแนว โดยมคี รแู นะแนวเปน ทป่ี รกึ ษาและประสานงานเพอ่ื พฒั นานกั เรยี น ใหม คี ณุ ลกั ษณะ
อันพงึ ประสงคและครอบคลมุ บรกิ ารแนะแนวทงั้ 5 บริการ ตามวธิ ีการดงั นี้
1) บริการ รวบรวมขอมูลและศึกษานักเรียนเปนรายบุคคล เปนบริการท่ีจำเปนพ้ืนฐานในการ
ใหค วามชว ยเหลอื นกั เรยี นไดถ กู ตอ ง เพราะจะทำใหไ ดท ราบปญ หา หรอื ขอ บกพรอ งในตวั นกั เรยี น เพอ่ื ดำเนนิ
การแกไ ข ไดถ กู ตอ งและนำขอ มลู ทไ่ี ดศ กึ ษามาเปน องคป ระกอบในการจดั บรกิ ารอน่ื ๆ ตอ ไป งานบรกิ ารดา นนี้
ไดแก การบันทึกประวัตินักเรียนทุกคนไวในระเบียนสะสม บริการขอมูลแกผูท่ีเก่ียวของ ทดสอบความถนัด
ความสนใจของนักเรยี น สำรวจพฤติกรรม ท่มี ีปญหาของนักเรียน
2) บริการสนเทศ เปนบริการใหความรู แกนักเรียนในหลายรูปแบบ เพ่ือชวยใหนักเรียนสามารถ
ปรบั ตวั เขา กบั สถานการณต า ง ๆ ได รจู กั ตดั สนิ ใจ และวางแผนอนาคตอยา งฉลาด ไดแ ก การจดั สอนใหค วามรู
ขอ มลู ตา ง ๆ ในคาบกจิ กรรมแนะแนว การจดั ปา ยนเิ ทศ การจดั ทำขอ มลู ดา นตา ง ๆ ทเ่ี ปน ประโยชนแ กน กั เรยี น
การจัดอภิปราย บรรยาย ใหความรูในดานการศึกษาอาชีพ และการปรับตัวในสังคม การจัดงานวันอาชีพ
การจัดสัปดาหแนะแนว ทางศึกษาตอ การจัดฉายวีดีทัศนท่ีเปนประโยชนตอนักเรียน การจัดบรรยาย
จากวทิ ยากรและรุนพ่ี เพ่ือใหความรูแกนักเรียนในดานการปรับปรุงบุคลิกภาพ การวางตัว และการวางแผน
การศกึ ษาตอ ภายหลังจบการศึกษา
3) บรกิ ารใหค ำปรกึ ษา เปน บรกิ ารทน่ี บั วา เปน หวั ใจสำคญั ของกจิ กรรมแนะแนว โดยเฉพาะ การเรยี น
การสอนตามหลกั สตู รใหม และในสภาวะเศรษฐกจิ และสงั คมยคุ ปจ จบุ นั งานบรกิ ารในดา นนี้ คอื ใหค ำปรกึ ษา
นักเรียนท่ีมีปญหาดานสวนตัว การเรียน และอาชีพ ศึกษาและหาทางชวยใหนักเรียนแกปญหาของตนเองได
อยา งถกู ตองและเหมาะสม เสนอแนะแนวทางปฏบิ ัตติ น เพื่อเสรมิ สรางบุคลกิ ภาพ

โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 81

4) บรกิ ารจดั วางตวั บคุ คล เปน บรกิ ารทชี่ ว ยเหลอื สง เสรมิ และพฒั นาในดา นตา ง ๆ ดงั นี้ การชว ยเหลอื
ดานทุนการศึกษา การวางแผนในการเลือกรายวิชาท่ีเรียน และสงเสริมพัฒนาศักยภาพในดานตาง ๆ ใหเต็ม
ตามศกั ยภาพของแตละบุคคล

5) บริการติดตามผล มีครูแนะแนวปฏิบัติหนาที่รวมกับอาจารยที่ปรึกษา และอาจารยฝายตาง ๆ
เพอื่ ตดิ ตามผล และใหบ รกิ ารชว ยเหลอื เพม่ิ เตมิ ไดแ ก การตดิ ตามผลนกั เรยี นทไี่ ดร บั 4 ทนุ การศกึ ษา การตดิ ตาม
ผลนักเรียนท่ีออกกลางคันหรือมีปญหา การติดตามผลนักเรียนท่ีจบออกไป นอกจากนี้ยังนำเอาผลที่ไดมา
ปรบั ปรงุ บรกิ ารแนะแนวตาง ๆ ใหด ยี ิ่งขึน้

2. การจดั กจิ กรรมในและนอกหอ งเรยี น ครทู กุ คนรว มรบั ผดิ ชอบ และมหี นา ทใ่ี นการจดั กจิ กรรม
แนะแนว โดยมีครูแนะแนวเปนท่ีปรึกษาและประสานงาน รวมกันวางแผนและหาวิธีการ ท่ีเหมาะสมมาใช
พัฒนานกั เรยี น โดยสามารถดำเนนิ กิจกรรมดงั นี้

กจิ กรรมในหอ งเรียน มีแนวทางในการจัดกิจกรรมดงั น้ี
1) กจิ กรรมคาบแนะแนว
2) กจิ กรรม โฮมรูม
3) การสอดแทรกกระบวนการแนะแนว

กจิ กรรมนอกหอ งเรยี น มีแนวทางในการจดั กิจกรรมดงั นี้
1) กจิ กรรมกลมุ ทางจติ วทิ ยา และการแนะแนว เชน โปรแกรมพฒั นาตนเองเกย่ี วกบั การรจู กั

และเหน็ คุณคาในตนเอง
2) การอบรมเชิง ปฏิบัตกิ าร เชน อบรมนักเรยี นเพือ่ นท่ีปรกึ ษา อบรมเกยี่ วกับทกั ษะชีวติ
3) การทศั นศึกษาแหลง วทิ ยาการและสถานประกอบการ
4) ตลาดนัดอาชพี
5) การเชญิ วิทยากร ใหค วามรู ไดแก ผปู กครอง นักเรยี น ศิษยเ กา ภูมิปญ ญาทองถน่ิ
6) การจดั นิทรรศการ
7) การจัดปา ยนเิ ทศ
8) การปฐมนิเทศ
9) การปจฉมิ นิเทศ
10) การจัดเสยี งตามสาย
11) ชมุ นมุ แนะแนว
12) กิจกรรมพบผปู กครอง

การจัดกิจกรรมแนะแนว มีการเสริมสรางในเรื่องของสมรรถนะทางการแนะแนว เขาไปดวย
ทงั้ นเี้ พอ่ื ใหน กั เรยี นไดม แี นวทางในการพฒั นาตนเองไดเ ตม็ ตามศกั ยภาพในแตล ะดา น เพอื่ ใหบ รรลถุ งึ เปา หมาย

82 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

สมรรถนะทางการแนะแนว หมายถึง คุณลักษณะท่ีตองการใหนักเรียนทุกคนมีและสามารถ
นำไปใชก บั ตนเองไดอ ยางเหมาะสม ซง่ึ คณุ ลกั ษณะเหลา นคี้ รูควรสงเสรมิ ดานตาง ๆ ไดแ ก

ความรู (Knowledge) หมายถึง ความรูเฉพาะดานของเด็ก เชน ความรูภาษาอังกฤษ ความรู
ดา นคณติ ศาสตร ความรดู านภาษา เปนตน

ทักษะ (Skills) หมายถึง ส่ิงที่เด็กกระทำไดดี และฝกปฏิบัติเปนประจำจนเกิดความชำนาญ
เชน ทักษะการอา น การเขยี น การวาดภาพ การรอ งเพลง การทำอาหาร เปนตน

ภาพลกั ษณภ ายในตน (Self-image/Self-concept) หมายถงึ ทศั นคติ คา นยิ ม และความคดิ เหน็
เก่ียวกับภาพลักษณของตนเองหรือส่ิงที่เด็กเชื่อวาตนเองเปน เชน คนที่มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง จะเชื่อวา
ตนเองสามารถแกป ญหาตา ง ๆ ได คุณลกั ษณะภายในหรอื

อุปนิสัย (Traits) หมายถึง บุคลิกลักษณะประจำตัวของเด็ก เปนส่ิงท่ีอธิบายถึงเด็กคนน้ัน
เชน เปนคนท่ีนาเช่อื ถอื และไวว างใจ หรือมลี กั ษณะเปน ผูนำ เปนตน

แรงจงู ใจ (Motive) หมายถงึ แรงขบั ภายใน ซงึ่ ทำใหเ ดก็ แสดงพฤตกิ รรมทมี่ งุ สสู งิ่ ทเ่ี ปน เปา หมาย
เชน เด็กที่มุงผลสัมฤทธิ์ มักชอบตั้งเปาหมายท่ีทาทาย และพยายามทำงานสำเร็จตามเปาที่ต้ังไว ตลอดจน
พยายามปรับปรุงการทำงานของตนเองตลอดเวลาในการจัดกิจกรรมแนะแนวควรสรางเสริมคุณลักษณะให
สอดคลองกับสมรรถนะทางการแนะแนวในแตล ะดา นอยา งเหมาะสม ซึง่ มีอยทู ัง้ หมดดวยกนั 3 ดาน ไดแก

1. สมรรถนะดานการศึกษา หมายถึง การมีความรู ความเขาใจ มีเจตคติและคานิยมที่ดี ในเร่ือง
เก่ียวกับการเรียน สามารถนำขอมูลความรูท่ีไดรับมาใชในการวางแผนในดานการเรียน และการศึกษาตอ
เพอื่ พัฒนาตนเองดา นการเรยี นไดเต็มตามศกั ยภาพ

2. สมรรถนะดานอาชีพ หมายถึง การมีความรู ความเขาใจในเก่ียวกับอาชีพ ตลอดจน มีเจตคติ
และคานิยมท่ีดีตออาชีพ มีขอมูล/ประสบการณดานอาชีพ เพื่อใหมีทักษะในการตัดสินใจวางแผน การศึกษา
เพอื่ การมงี านทำเตม็ ตามศักยภาพ

3. สมรรถนะดา นสว นตวั และสงั คม หมายถงึ การรจู กั และเขา ใจตนเอง รกั และเหน็ คณุ คา ในตนเอง
และผอู ่นื มีวุฒภิ าวะทางอารมณและปรบั ตวั และดำรงชีวติ อยูใ นสังคมไดอ ยางมีความสขุ

โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 83

รายชอ่ื ชมุ นุมท่คี าดวาจะเปด สอน ภาคเรยี นท่ี 1 ประจำปก ารศึกษา 2564
โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

1. ประเภทกจิ กรรมชมุ นุม เสรมิ สรา งประสทิ ธิภาพในการเรียน

ลำดบั ช่ือชุมนุม จำนวน สถานท่เี รียน ช่ือ – สกลุ
ที่ ท่ีรับไมเกนิ คุณครปู ระจำชุมนุม
นางพิศมัย พานโฮม
(คน)

1 โอลิมปกวชิ าการวทิ ยาศาสตรโลก 20 Lab ดาราศาสตร ช้ัน3
สอวน. อาคารเฉลมิ พระเกียรติฯ

2 BMATH 25 หอ ง ม.6/1 ชั้น3 นางพรปวีณ เจรญิ ปรีดรี ชั ต
3 Vocabulary Song อาคารเฉลิมพระเกียรตฯิ นายอภิสิทธิ์ ตองก่ิงแดง
4 ฟส ิกสป ระยทุ ธ
5 โอลมิ ปกคณติ ศาสตร 60 หอง ม.5/18 นางจนั ทรจริ า แงพ รหม
อาคารอุปพงศ นางภริ นันท ขว งทพิ ย
นายนเรศ เปล่ียนคำ
60 หอ ง 218 นายชำนาญ เพรดิ พราว
อาคารวิภาวนิ นางสาวอุทมุ พร ศรสี าคร
นางสาวศิริขวัญ ขนั ทะ

50 หอ ง ม.5/1 ช้ัน3 นางสนุ สิ า จงขจรพนั ธ
อาคารเฉลมิ พระเกยี รตฯิ

6 ดาราศาสตรแสนสนกุ 20 หอ ง ม.4/11 ชน้ั 4 นางสาวเอมมิกา วิเศษตุน
อาคารเฉลมิ พระเกยี รติฯ

7 ความเปนเลิศทางสังคม 60 หอ งสงั คมศกึ ษา นางธกิ านดา ศรีสาคร
อาคารอุปพงศ นางเสาวคนธ สงิ หอร
นายภวู นาท พนู สวสั ด์ิ

8 เรยี นสงั คมศกึ ษาผานหนังละคร 20 หอ งพระพุทธศาสนา นางสาวปาริชาติ พนั ธุศ ริ ิ
และวรรณกรรม อาคารอุปพงศ

9 นกั กฎหมายนอ ย ชั้น1
25 อาคารเฉลมิ พระเกียรติฯ นางสาวนงลักษณ บัวทอง

ฝง ทิศตะวันตก

10 ติวสบายฟสกิ สเ คมี 40 หอ ง ม.4/12 ชน้ั 5 นางศศนิ ันท สาขามุละ
อาคารเฉลิมพระเกยี รตฯิ นางสาววิลานี สทุ า

11 ยุวบรรณารักษ 50 หองสมุด ชน้ั 2 นางณชิ ากร โสภาพร
อาคารเฉลมิ พระเกียรตฯิ นางสาวธีราภรณ ยลอนนั ต

84 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

ลำดับ ชอื่ ชมุ นมุ จำนวน สถานทเี่ รยี น ชอื่ – สกลุ
ที่ ทรี่ บั ไมเ กิน คุณครูประจำชมุ นมุ
นางกลั ยารตั น นาคีย
(คน) นายศกั ดเิ์ กยี รติ จนั ทรล อื ชยั

12 โอลมิ ปก วชิ าการ วิชาชวี วิทยา 25 หอ งโอลิมปก ชวี วิทยา
อาคารวภิ าวิน

13 Crossword Game for 20 หอง ม.4/21
Competition อาคารอปุ พงศ

14 GSP 25 หอง ม.6/14 นางรพีพร สรุ ารกั ษ
อาคารวภิ าวนิ

15 สวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น 25 อาคารเฉลมิ พระเกียรติฯ นางกวนิ นาฎ เสยี งเลิศ
ชน้ั 1 ฝง ทิศตะวนั ออก

16 เทคนคิ ปฏิบัติการชีววิทยา 50 Lab Bio 1 ช้ัน4 นางสาววยิ ะดา สริ อิ มตธรรม
อาคารเฉลิมพระเกยี รตฯิ

17 โตว าทีภาษาองั กฤษ 40 หอง ม.6/15 ชนั้ 4 นายอนวุ ฒั น แกว มะ
อาคารเฉลิมพระเกยี รติฯ นางสาวเมวชิ ญา ชวภณพพิ ฒั

18 คณติ คดิ สนกุ &คิดเลขเรว็ 25 หอ งปฏบิ ตั กิ ารคณติ ศาสตร นางสาวอัจฉรยิ า เชื้อเพชร
ชน้ั 2 อาคารเฉลมิ พระเกยี รตฯิ นางสาวปยวดี สตั ถาผล

19 O-Khem 25 Lab เคม2ี นางสาวผกาวรรณ กลางชมภู
อาคารเฉลมิ พระเกยี รติฯ

20 Theoretical physics 20 Lab วทิ ยแ ละเทคโนโลยี นายชยั มงคล อาจโยธา
อาคารเฉลมิ พระเกียรตฯิ

21 ฟสิกสแสนสนกุ 50 หอ ง ม.5/2 ช้ัน3 นางสวุ ิมล สุริยะ
อาคารเฉลิมพระเกยี รติฯ นางสาวปยะนุช บุญชาญ

22 การตอสมการทางคณิตศาสตร 25 หอ ง ม.5/8 ชั้น4 นางฐรัชญา กินรี
(A-math) อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ

23 Crosswords 50 หองศูนย HCEC นายสุวชล สรุ าษฎร
อาคารวภิ าวนิ น.ส.สายสุนีย ไชยสขุ

24 ซูโดกุ 25 หอ ง ม.4/2 ชั้น5 นางอญั ชลี สุขพิลาภ
อาคารเฉลมิ พระเกยี รตฯิ

โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 85

ลำดบั ชอ่ื ชุมนุม จำนวน สถานท่เี รียน ชือ่ – สกุล
ที่ ทีร่ บั ไมเกนิ หอ ง ม.6/7 ช้ัน4 คุณครูประจำชมุ นุม
อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ นายกติ ติศักด์ิ สิงหอร
25 ติวฟส กิ ส ม.6 (คน)
25

26 ภาษาจีนเพ่อื การแขงขัน 25 หอง ม.5/17 นางสาววสิ ุดา ตลบหอม
อาคารอุปพงศ

27 Math in real life 25 หอง ม.4/16 นายวัชระ เหมอื นสวัสด์ิ
อาคารวิภาวนิ

28 ฟสกิ สโ อลิมปก 40 Lab ฟส กิ ส1 นางสาวบษุ กร เสโนฤทธ์ิ
อาคารเฉลมิ พระเกยี รตฯิ นางสาวสภุ าวดี ทศั มี

29 คลับไบโอโลจี 25 หอง ม.5/7 ช้ัน4 นายเจษฎา ถาปนแกว
อาคารเฉลมิ พระเกียรตฯิ นางสาวศรัญญา วงษศ ลิ า

30 รักษโ ครงงาน 20 Lab ชีววิทยา2 นางสาวศรอี ุดร ลานสาวงษ
อาคารเฉลมิ พระเกยี รติฯ

31 โจก ภาษา 25 หอ ง ม.4/3 ช้นั 3 นางสาวพิมณฏั ฐา ชนดิ กุล
อาคารเฉลิมพระเกียรตฯิ

32 ภาษาเกาหลนี ารู 25 หอง ม.4/21 นางสาวมานติ า เจริญเชื้อ
อาคารอุปพงศ

33 ภาษาพาเพลิน 25 หอ งภาษาไทย ช้ัน2 นางสาวอมรรัตน เทยี มราช
อาคารอุปพงศ

34 ฟส กิ ส แมนเทอแนน 25 ชั้น1 นายวิฑรู ย พลแสน
(Physics manternance) อาคารเฉลิมพระเกยี รติฯ

35 ผลิตหนังสน้ั 25 หองปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร นายวิทศั นัย พรหมราช
อาคารวิภาวนิ ชัน้ 3

86 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

2. ประเภทกิจกรรมชุมนุม สง เสริมเทคโนโลยี ดนตรี กฬี า ศิลปะและวัฒนธรรม

ลำดบั ช่ือชมุ นุม จำนวน สถานท่ีเรียน ชือ่ – สกลุ
ที่ ที่รับไมเ กิน คณุ ครูประจำชุมนุม

(คน)

1 นาฏยสังคีต 20 หอ งดนตรีไทย น.ส.อาทติ ฐาพณั ณ รกั ษาสทิ ธ์ิ

2 ฟตุ บอล (รบั เฉพาะเพศชาย) 25 บริเวณโดมเอนกประสงค นางสาวอารลี ักษณ คำโสภา

3 มารยาทไทย 20 หองสังคมศึกษา นางสาวพมิ พช นก แจง ภเู ขยี ว
อาคารอุปพงศ

4 สรา งเกมจากโปรแกรมคอมพวิ เตอร 30 หองคอม3 นางสาวกริ ยิ า ทพิ มาตย
อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ นายภานพุ งษ สวุ รรณรงค

5 หมากฮอส 25 หองปฏบิ ัตกิ ารสุขศกึ ษา นายเสนยี  ธรี สิรินานนท
อาคารวิภาวิน

6 ศลิ ปสรา งสุข 25 อาคารโรงฝกงาน นางสาวรจุ ริ าภรณ สายบญุ รอด

7 เซปกตะกรอ 20 สนามตะกรอ นางสาวพิมพร อนุ แกว

8 ดนตรีสากล 50 หองวงโยธวาทติ นายทัชนนท สัตถาผล

9 รูเทาทัน E-sport(pubg mobile) 20 ช้นั 1 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ นายเสกสรร จำปาออ น

10 เปตอง 25 สนามเปตอง นายภัทรกร วรุตทธนสาร

11 การสรางAnimation Infographic 30 หอ งคอม1 นางสาวมาลณิ ี แกวเกดิ มี
อาคารเฉลิมพระเกียรตฯิ

โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 87

ลำดับ ชอื่ ชุมนมุ จำนวน สถานท่เี รยี น ชอ่ื – สกุล
ท่ี ทร่ี ับไมเกนิ คณุ ครูประจำชมุ นมุ
นางหทัยชนก งอยแพง
(คน) นายสถาพร สุติบุตร
นายอรรตพล กอ นตาล
12 วอลเลยบ อล 50 สนามวอลเลย บอล นางสาวดลนภา พรรืน่ เรงิ
นายสถาพร สุติบตุ ร
13 ถา ยภาพดว ยกลองโทรศพั ท 25 หอง ม.4/14 นายธวัชชัย สังขฤกษ
เคลอ่ื นท่ี อาคารวภิ าวิน

14 Aerobic dance 60 หอ ง Aerobic
อาคารวิภาวิน

15 พัฒนาเวปแอพพลเิ คชน่ั 30 หองคอม2
อาคารเฉลมิ พระเกียรติฯ

3. ประเภทกิจกรรมชมุ นุม สง เสรมิ สมั พันธชุมชน สังคมเเละสง่ิ เเวดลอ ม

ลำดบั ชือ่ ชมุ นุม จำนวน สถานท่เี รยี น ชือ่ – สกลุ
ท่ี ที่รับไมเกิน หองสงั คมศึกษา คุณครปู ระจำชุมนมุ
อาคารอปุ พงศ นางสาวจริ ารัตน แกวกอ ย
1 รักตน ไม (คน) นายนพดล ศรีสาคร
25 นางธกิ านดา ศรีสาคร
นางนนั ทยิ า เชอ้ื คำฮด
2 TO BE NUMBER ONE หองศนู ยรณรงคปอ งกนั นางสาวกนกวรรณ ศรดี าวเรอื ง
25 ปญหายาเสพตดิ ชน้ั 2

อาคารเฉลมิ พระเกยี รตฯิ

3 ประชาสมั พันธ 40 หอ งประชาสัมพนั ธ
อาคารเฉลมิ พระเกียรตฯิ

4 Youth Counselor:YC 50 หนาหองแนะแนว นายเสกสทิ ธ์ิ ปาละสทิ ธิ์
อาคารเฉลิมพระเกียรตฯิ นางสาวสชุ าดา การสวุ รรณ

88 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

ลำดบั ชอ่ื ชุมนุม จำนวน สถานที่เรยี น ช่อื – สกุล
ท่ี ที่รับไมเกิน หอ ง ม.5/4 ช้นั 3 คณุ ครูประจำชุมนุม
อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ นางชุมากานต สรุ เสียง
5 ออมกอ นรวยกวา (คน) นางสาวสนุ ทรี เลศิ สงคราม
40

6 รู พ่ึงตนเอง 20 Lab เคม1ี น.ส.ชญั ญาพทั ธ ธนดษิ ฐาพงศ
อาคารเฉลมิ พระเกียรตฯิ

7 เถาแกนอย 50 หองแผนงาน นางสาวเรืองริน สินธรุ ะวิทย
อาคารวภิ าวนิ นางสาวอัมพา เพ็ญสวุ รรณ

8 อย.นอ ย 50 หองพยาบาล นางสาวบุณฑรกิ บุตราช
อาคารเฉลมิ พระเกยี รตฯิ

9 คนดี ศรี ต.อ. 25 หอ งกิจกรรมพฒั นาผูเ รียน นายอสิ ระ ดอนหลักคำ
อาคารวิภาวนิ

4. ประเภทกิจกรรมชุมนมุ นักศึกษาวชิ าทหาร (ร.ด.)

ลำดับ ชอื่ ชุมนมุ จำนวน สถานทีเ่ รียน ช่อื – สกลุ
ท่ี ท่รี ับไมเกนิ สนามฟุตบอล และ คุณครูประจำชมุ นมุ
โดมเอนกประสงค นายภานุวัฒน อนิ ทรเกษม
1 นกั ศึกษาวชิ าทหาร (คน)
ไมจ ำกดั
จำนวน

โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 89

กจิ กรรมจติ อาสา

กิจกรรมจติ อาสา คอื
- กจิ กรรมทที่ ำประโยชนแกสวนรวม สงั คม ชุมชน เพ่ือสาธารณะ
- กิจกรรมบำเพญ็ ประโยชนต อ สวนรวม เปน กจิ กรรมทกี่ ระทำโดยสมคั รใจ
- เปน กจิ กรรมท่ที ำโดยไมหวังผลตอบแทน หรือคา ตอบแทน
- เปน กิจกรรมทอ่ี ุทศิ กำลังกาย กำลังใจ และเวลาใหส วนรวม

ขอกำหนดการทำกิจกรรมจิตอาสาท่รี ับชวั่ โมงได (รวมกันทงั้ หมดไมต ่ำกวา 18 ชวั่ โมง) มดี งั นี้
แบบที่ 1 กจิ กรรมจิตอาสาเกย่ี วกบั การทำความสะอาด
ทำความสะอาดวัด บา น โรงเรยี น สวนสาธารณะ
แบบที่ 2 กจิ กรรมจติ อาสาเกีย่ วกบั การใหค วามรู
การใหความรู เชน สอนเพ่อื น สอนนองในโรงเรียน แนะนำความรใู นวชิ าทเี่ รียน
แบบที่ 3 กิจกรรมจติ อาสาเกย่ี วกับการชว ยเหลอื ดแู ล
เกี่ยวกับการดแู ลชว ยเหลอื คณุ ครู เพอ่ื น พ่นี อง และคนอน่ื ๆ
แบบท่ี 4 กิจกรรมจิตอาสาเกยี่ วกบั สงิ่ แวดลอม
เชน การทำคา ยอาสา การปลกู ตน ไม ปลูกปา ปลูกปะการงั การสรางส่งิ ปลูกสราง
แบบที่ 5 กจิ กรรมจิตอาสาเก่ยี วกับการเปน อาสาสมคั ร
เปนจติ อาสาที่หนวยงานตา ง ๆ จดั ขนึ้ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา
แบบที่ 6 กจิ กรรมจิตอาสาเพื่อสาธารณะประโยชน ไมมผี ลตอบแทนใด ๆ
เปนการทำประโยชนเพื่อสาธารณะ เพื่อองคกรการกุศล ไมใชบุคคลใดบุคคลหน่ึง
ไมใชทำเพื่อตนเอง ญาติพนี่ อง ฯลฯ

การแสดงภาพการทำกจิ กรรม
ภาพท่ี 1 ภาพทีน่ กั เรียนถา ยกบั สถานทที่ ี่ไปทำกิจกรรม หรอื ถา ยกบั ผดู ูแลกจิ กรรมจำนวน 1 ภาพ
ภาพที่ 2 ภาพนกั เรยี นระหวางการทำกจิ กรรม จำนวน 1 ภาพ

90 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

งานกองทุนเงนิ ใหก ยู ืมเพ่อื การศกึ ษา (กยศ.)

การใหกูย ืม ดวยระบบกองทุนเงินใหกูยมื เพือ่ การศกึ ษาแบบดจิ ิทลั
Digital Student Loan Fund System ( DSL)

กยศ. เพิ่มโอกาสทางการศึกษา พรอ มใหก ูยมื 4 ลกั ษณะ ดังน้ี

ลักษณะท่ี 1 นักเรียนหรือนักศึกษาท่ีขาดแคลนทุนทรัพย เปนผูกูยืมท่ีมีรายไดครอบครัวตอปไมเกิน
360,000 บาท ใหก ยู มื เงนิ เปน คา เลา เรยี น คา ใชจ า ยทเี่ กยี่ วเนอื่ งกบั การศกึ ษา คา ครองชพี ในระดบั มธั ยมปลาย
ปวช./ปวท./ปวส. และอนุปริญญา/ปริญญาตรี โดยกำหนดชำระเงินคืนภายใน 15 ป ระยะเวลาปลอดหน้ี
2 ป ภายหลังสำเร็จการศึกษา อตั ราดอกเบ้ีย 1% ตอป

ลักษณะที่ 2 นักเรียนหรือนักศึกษาท่ีศึกษาในสาขาวิชาท่ีเปนความตองการหลัก ซึ่งมีความชัดเจน
ของการผลิตกำลังคนและมีความจำเปนตอการพัฒนาประเทศ

ลกั ษณะท่ี 3 นกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาทศี่ กึ ษาในสาขาวชิ าขาดแคลน หรอื ทก่ี องทนุ มงุ สง เสรมิ เปน พเิ ศษ
ใหเงินกูยืมเงินเปนคาเลาเรียนคาใชจายที่เก่ียวเนื่องกับการศึกษา ระดับปวช. ปวท./ปวส. และอนุปริญญา
ปริญญาตรี โดยกำหนดชำระเงินคืนภายใน 15 ป ระยะเวลาปลอดหน้ี 2 ป ภายหลังสำเร็จการศึกษา
อตั ราดอกเบย้ี 1% ตอ ปห ากเปน ผทู ม่ี รี ายไดค รอบครวั ตอ ปไ มเ กนิ 360,000 บาท จะสามารถกยู มื คา ครองชพี
ไดแ ละไดรับอตั ราดอกเบย้ี พเิ ศษ 0.75% ตอ ป

ลักษณะท่ี 4 นักเรียนหรือนักศึกษาที่เรียนดีเพื่อสรางความเปนเลิศ ใหกูยืมเงินเปนคาเลาเรียนคาใช
จายท่ีเกี่ยวเน่ืองกับการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรบัณทิตและปริญญาโท เพ่ือสรางความเปนเลิศดาน
การวจิ ยั และ สรา งนวตั กรรมเพอ่ื พฒั นาประเทศไทย ผกู ตู อ งสำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรมี เี กรดเฉลยี่ ไมต ำ่
กวา 3.00 โดยกำหนดชำระเงินคืนภายใน 10 ป ระยะเวลาปลอดหน้ี 1 ป ภายหลังสำเร็จการศึกษา อัตรา
ดอกเบี้ย 1% ตอป หากเปนผูที่มีรายไดครอบครัวตอปไมเกิน 360,000 บาท จะสามารถกูยืมคาครองชีพได
และไดรบั อัตราดอกเบยี้ พเิ ศษ 0.50% ตอ ป

ผทู ีส่ นใจสามารถดูรายละเอียดเพ่มิ เตมิ ไดท ่ี www.studentloan.or.th

โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 91

กยศ. เตรยี มพรอ้ มการใหก้ ยู้ มื 4 ลกั ษณะ

92 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

กลุมบริหารทว่ั ไป

งานสารบรรณ

หนา ทีร่ บั ผิดชอบ
1. ทะเบยี นรบั - สง หนงั สอื ราชการ โดยแยกประเภทของเอกสารและหนงั สอื ของฝา ยกลมุ งานตา ง ๆ

บริการใหเ ปนหมวดหมู มรี ะบบการเกบ็ เอกสารท่ีสามารถคน หาเร่ืองไดอ ยางรวดเร็ว
2. โตตอบหนังสือราชการ ตรวจสอบความถูกตองของเอกสาร หลักฐานใหถูกตองตามระเบียบ

ของงานสารบรรณ อยา งรวดเรว็ และทนั เวลา
3. จัดสงหนังสือราชการ เอกสารของกลุมบริหารทั่วไปใหหนวยงานท่ีรับผิดชอบ และติดตามเรื่อง

เก็บคนื จดั เขาแฟม เร่ือง
4. ประสานงานดา นขอ มลู และรว มมอื กบั หนว ยงานตา ง ๆ ในโรงเรยี นเพอ่ื ใหเ กดิ ความเขา ใจและรว ม

มืออนั ดตี อกนั ในการดำเนนิ งานตามแผน
5. การใหบ ริการไปรษณียภัณฑ
- ใหบ รกิ ารไปรษณยี ภณั ฑท ม่ี หี ลกั ฐานการลงนามผรู บั เชน ธนาณตั ิ พสั ดุ โทรเลข จดหมาย

ดว นพเิ ศษ ประกาศรายชอ่ื ผมู ไี ปรษณยี ภณั ฑ ทฝ่ี า ยประชาสมั พนั ธ ผมู ชี อ่ื รบั ไปรษณยี ภณั ฑจ ะตอ งมาลงชอ่ื รบั
ดว ยตนเองทหี่ อ งกลมุ บริหารทวั่ ไปในเวลาราชการ

6. การใหบ ริการโทรศพั ท
- เปน ศนู ยก ลางการใหบ รกิ ารทางโทรศพั ท ระหวา งผปู กครอง บคุ คลภายนอก และบคุ ลากร

ในโรงเรียนโดยใชระบบโอนสาย
- ในกรณโี ทรศพั ทถ งึ นกั เรยี นผปู กครองตอ งฝากขอ ความผา นทางเจา หนา ทก่ี ลมุ บรหิ ารทวั่ ไป

งานยานพาหนะ

หนา ท่รี ับผิดชอบ
1. ใหบริการยานพาหนะแกคณะครแู ละบุคลากรของโรงเรียน
2. กำหนดหนาที่ความรับผิดชอบ ใหพนักงานขับรถ และใหบริการพาหนะแกบุคลากรและนักเรียน
3. กำกับ ตดิ ตาม จดั ทำขอมลู สถิตกิ ารใช และใหบริการยานพาหนะของโรงเรียน
4. กำหนดแผนตรวจสอบ ซอ มบำรงุ ตอ ใบอนญุ าตเพอื่ ใหพ าหนะใชก ารได และปลอดภยั ตลอดเวลา
ใหคำแนะนำเสนอผมู ีอำนาจอนมุ ัติ
5. มกี ารกำกับ ตดิ ตาม พนกั งานขับรถในการปฏิบตั ิหนาท่แี ละมีใบอนญุ าตท่ีถูกตองตามกฎหมาย

โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 93

งานอาคารสถานท่แี ละสภาพแวดลอ ม

หนาทรี่ บั ผิดชอบ
1. วางแผนงานงบประมาณแผนปฏิบัติงานดานอาคารสถานท่ี และสภาพแวดลอมตลอดจนการติด

ตามการปฏบิ ัติงานของนักการ แมบานทำความสะอาด
2. จดั ซ้ือ จดั หาโตะ เกาอี้ อปุ กรณการสอน อุปกรณท ำความสะอาดหองเรียน ใหเ พียงพอและอยใู น

สภาพที่ดีอยตู ลอดเวลา
3. จดั เครอื่ งมอื รักษาความปลอดภัยในอาคาร ตดิ ตัง้ ในทที่ ใ่ี ชง านไดส ะดวกใชงานไดท นั ที
4. จัดบรรยากาศภายในอาคารเรียนใหสวยงาม เปนระเบียบ ดูแลสีอาคารตาง ๆ ใหเรียบรอย

มีปายบอกอาคารและหองตาง ๆ
5. ประสานงานกบั พสั ดุโรงเรยี นในการซอ มแชมอาคารสถานที่ ครุภณั ฑ โตะ เกาอ้ี และอน่ื ๆ ใหอ ยู

ในสภาพทเ่ี รียบรอย
6. ดูแลความสะอาดทั่วไปของอาคารเรยี น หองน้ำ หองสว ม ใหส ะอาด ปราศจากกลนิ่ รบกวน
7. ติดตาม ดูแลใหคำแนะนำในการใชอาคารสถานที่ โดยการอบรมนักเรียนในดานการดูแลรักษา

ทรพั ยสินสมบตั ขิ องโรงเรียน
8.อำนวยความสะดวกในการใชอ าคารสถานทแี่ กบ ุคคลภายนอก รวมท้งั วัสดอุ ื่น ๆ

งานโรงเรียนกบั ชุมชน

หนา ทร่ี ับผดิ ชอบ
1. วางแผนกำหนดโครงการงบประมาณแผนปฏิบัติงานดานชุมชนสัมพันธ และบริการสาธารณะ

ตลอดจนการติดตามการปฏิบัติงาน
2. รวบรวมวเิ คราะหข อ มลู ของชมุ ชน เพอ่ื นำไปใชใ นงานสรา งความสมั พนั ธร ะหวา งชมุ ชนกบั โรงเรยี น

และบริการสาธารณะ
3. ใหบ รกิ ารชมุ ชนในดานขา วสาร สขุ ภาพอนามัย อาคารสถานท่ี วสั ดุ ครภุ ัณฑ และวชิ าการ
4. ประสานและใหบ รกิ ารแกค ณะครู ผปู กครอง ชมุ ชน หนว ยงานตา ง ๆ ทง้ั ภาครฐั และเอกชนในดา น

อาคารสถานที่ วสั ดุ ครภุ ณั ฑ บคุ ลากร งบประมาณ

94 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานหนา ทีร่ ับผดิ ชอบ

1. ติดตอประสานงานใหความรวมมือกับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานหนวยงานราชการ
และเอกชนทเี่ กี่ยวขอ ง

2. ดำเนินการดานธุรการ การรับรองในการจัดการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
3. บนั ทกึ การประชมุ จดั ทำระเบยี บวาระและรายงานการประชมุ และแจง มตใิ นทปี่ ระชมุ ใหผ เู กย่ี วขอ ง
รับทราบ
4. ประสานการดำเนินงานตามมติท่ีประชุมในเร่ืองการอนุมัติ อนุญาต สั่งการ เรงรัดการดำเนินการ
และรายงานผลการดำเนินงานใหคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทราบ
5. ปฏบิ ตั หิ นา ทอี่ นื่ ๆ ในงานทเี่ กย่ี วขอ งกบั คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพ
6. ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ไดร ับมอบหมายจากผบู ริหารสถานศกึ ษา

งานประชาสมั พนั ธ

หนาทร่ี บั ผดิ ชอบ
1. เปน ศนู ยกลางการประชาสมั พนั ธขา วสารและกจิ กรรมตา ง ๆ ของโรงเรยี น
2. เผยแพรช อื่ เสียงและเกยี รติภมู ขิ องโรงเรียนตอ ชุมชน
3. เสริมสรางความสมั พันธท ีด่ ีระหวา งโรงเรียนกับหนวยงานภาครัฐและเอกชน
4. ตอ นรับผมู าเยือนโรงเรยี นตลอดจนผปู กครองที่ตองการตดิ ตอราชการหรอื พบนักเรียน
5. ตดิ ตอประสานงานกบั ทุกฝา ยเพื่อใหทกุ กจิ กรรมบรรลเุ ปา หมาย

การใหบริการ
1. การขอพบนกั เรียน ใหปฏบิ ัติดังน้ี
- แจงจุดประสงคในการขอพบ
- กรอกรายละเอียดในการขอพบนกั เรียน
- รอพบนกั เรียนในหองประชาสัมพันธห รอื สถานท่ีอนื่ ทโ่ี รงเรยี นจัดไว
2. การขอพบบุคลากรในโรงเรียน ใหป ฏิบัติดงั น้ี
- แจง จุดประสงคใ นการขอพบ
- รอพบทห่ี อ งประชาสัมพนั ธหรอื ตามขอมูลทเ่ี จา หนาที่แจง ใหทราบ
3. การใหบริการขาวสาร
- เพจโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื , เวบ็ ไซต http://www.tune.ac.th/
- ปายนเิ ทศ หนาหองประชาสัมพันธ เปนศนู ยร วมของขา วสารทนี่ าสนใจ
- ขาวสารโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนเอกสารที่เสนอ

ขาวสารท่ีนาสนใจ และเปนประโยชนตลอดจนขาวความเคลื่อนไหวของบุคลากรและการจัดกิจกรรมตาง ๆ
ในโรงเรยี น ตามปฏิทนิ ปฏิบัติงาน

- วารสารประชาสมั พนั ธโรงเรียนทำเปน จดหมายเผยแพรเดือนละ 1 ฉบบั
โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 95

งานโภชนาการ

สถานท่ี อาคาร (โรงอาหาร)
การบริการ ควบคมุ ดแู ลคณุ ภาพของอาหารและความสะอาดของโรงอาหาร
ระเบียบวา ดว ยการรับประทานอาหาร

1. ยืนเขาแถวซ้ืออาหารอยางมีระเบยี บเรียบรอ ยโดยรกั ษาระยะหาง
2. หามยนื หรอื เดนิ ในการรับประทานอาหาร
3. เมื่อซื้ออาหารใหนักเรียนจายคาอาหารทันทีนักเรียนนั่งรับประทานอาหารในท่ีน่ังที่มีระยะหาง
ตามที่เครื่องหมายกำหนดไว
4. เม่อื รับประทานอาหารเสร็จแลว ใหนำภาชนะไปคืนตามจุดทจี่ ัดไว
5. หามนำอาหารไปรบั ประทานในหองเรยี น
6. รับประทานอาหารดวยความสำรวม ระมดั ระวัง ไมใ หหกเรีย่ ราด
เวลาในการรับประทานอาหาร
1. นักเรียนรับประทานอาหารทีโ่ รงอาหารไดในตอนเชากอ นทำกิจกรรมหนา เสาธง
2. พอคาแมคาเริ่มจำหนายอีกคร้ังในชวงเวลาคือ 11.00 - 11.50 น. และ 12.40 น. หมดเวลา
รับประทานอาหาร 13.30 น.

งานอนามัยโรงเรยี น (หองพยาบาล)

สถานที่ หอ งพยาบาล อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา ชั้น 2 (ขางบันไดดา นทิศใต)
ระเบียบการใชห องพยาบาล
1. ถอดรองเทาไวหนา หอ ง อยางเปน ระเบียบเรียบรอ ย
2. ใหแจงเจาหนาที่หอ งพยาบาลกอนทุกคร้ัง เพ่อื เจาหนา ท่หี องพยาบาลจะไดนำใบแจง ใหครปู ระจำ
วิชาทราบ ในกรณีตอ งนอนพกั
3. ในการเขา รับบรกิ ารทุกครงั้ นกั เรียนจะตอ งเขียนช่ือ นามสกลุ ชัน้ อาการปว ย และการรกั ษาลงใน
บัญชรี ายชือ่ ที่เจา หนา ทพ่ี ยาบาลจดั เพอื่ เปน สถิตขิ องหองพยาบาลและจดั ซ้ือเวชภณั ฑใ นถัดไป
4. ในกรณีท่ีอาการเจ็บปวยไมมากนัก เจาหนาท่ีหองพักพยาบาลจะปฐมพยาบาลและใหนักเรียนไป
เรียนได แตถาจำเปนตอ งพักผอ นก็ใหนกั เรยี นนอนพกั ไดทีห่ อ งพยาบาลตามระยะเวลาทห่ี องพยาบาลกำหนด
ทงั้ น้นี ักเรียนทต่ี อ งนอนพกั ผอนจะตอ งถือปฏิบตั ติ ามขอ 10
5. ในกรณีเจ็บปวยมาก หรือเกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุสุดวิสัย ซึ่งเกินความสามารถของเจาหนาท่ี
จะปฐมพยาบาล เจาหนาท่ีจะขอรถโรงเรยี นเพือ่ นำสงโรงพยาบาลหรือศนู ยส าธารณสขุ หรือบา นแลว แตก รณี
6. กรณีที่ไมจำเปนตองสงโรงพยาบาลหรือศูนยสาธารณสุข แตนักเรียนจำเปนจะตองพักผอน
เจา หนาทหี่ องพยาบาลจะติดตอ ผูปกครองของนกั เรยี นใหม ารับกลับบาน

96 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565

7. ในกรณีที่นักเรียนเจ็บปวยตองออกนอกบริเวณโรงเรียนจะตองขออนุญาตฝายปกครอง ครูเวร
ครูทีป่ รกึ ษาทุกครั้ง โดยแนบใบแจงปวยหรอื ใบรับรองของเจา หนา ทห่ี องพยาบาล

8. ในชวงเกิดโรคระบาด เจา หนาทห่ี อ งพยาบาลจะรายงานหัวหนาสถานศึกษาทราบ เพอื่ ทำหนังสือ
ราชการติดตอเจา หนา ทสี่ าธารณสุขทำการปองกนั รักษาในโอกาสตอไป

9. นกั เรยี นทเ่ี ปน โรคตดิ ตอ ไมอ นญุ าตใหม าโรงเรยี นจนกวา จะหายเปน ปกติ เชน ตาแดง และอสี กุ อใี ส
10. ในกรณที ่ีตอ งนอนพักนักเรยี นตองปฏบิ ตั ิดงั น้ี

10.1 ทำใบอนุญาต เพื่อแจง อาจารยป ระจำวชิ าโดยนำเพื่อนในหองมาสงดว ย 1 คน
10.2 กอนนอนตองถอดถุงเทา ใหเรยี บรอย
10.3 พบั ผา คลมุ เตียงเกบ็ ใหเรียบรอ ย
10.4 นอนพกั ไดไมเ กินคร้งั ละ 2 ช่ัวโมง
10.5 ถา จำเปนตอ งนอนพกั นานกวา น้ันจะแจงใหผ ปู กครองมารับกลบั ไปพักผอนทบ่ี า น

ระเบยี บการใชหองสมดุ

เวลาเปด – ปดทำการ
วนั จันทร - ศุกร เวลา 07.30 – 17.00 น.

ขอควรปฏิบัตใิ นการใชห องสมดุ
1. ถอดรองเทาไวทชี่ ้นั วางรองเทา หนาหอ งสมุด
2. กระเปา สมุดหนังสือ อุปกรณการเรียน เกบ็ ไวดานหนาหองสมุด
3. แตงกายสุภาพเรียบรอยตามระเบยี บของโรงเรียน
4. ไมน ำอาหาร ขนม น้ำดม่ื เขา มารับประทานภายในหองสมุด
5. ไมเ ลน พดู คุยสงเสียงดงั หรือวง่ิ เลน รบกวนสมาธคิ นอ่นื
6. ไมลักขโมย ฉีก ตัด โยน ทำลายหนังสือและทรัพยากรสารสนเทศอื่น ๆ เพื่อยืดอายุการใชงานให

นานขึน้
7. ไมนำหนงั สือ วารสารหรอื หนงั สือพมิ พออกจากหอ งสมดุ โดยไมไ ดร ับอนุญาต
8. เมอ่ื ลุกจากเกา อ้คี วรเล่อื นเกาอีเ้ ก็บเขาท่ีใหเ รียบรอ ย
9. ไมก ระทำการใด ๆ อนั เปนการทำลายทรัพยสมบตั ิของหอ งสมุด
10. ไมน ำหนงั สือ หรือสิ่งพิมพใด ๆ ออกจากหอ งสมดุ โดยมิไดร ับอนญุ าต
11. เมื่อมปี ญหาในการใชง านหองสมดุ สามารถสอบถามไดทค่ี ณุ ครูบรรณารกั ษ

วิธีการปฏิบัตใิ นการยมื หนงั สอื
1. ผยู มื ย่ืนบัตรประจำตวั นักเรียนและหนงั สือท่ตี อ งการยมื กับเจา หนาที่
2. เจา หนา ท่ีจะทำการยืมหนังสอื ผานระบบหอ งสมดุ อัตโนมัติ

โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 97

ระเบยี บการยืม - คืน หนังสือภายในหองสมุด
1. ผูย มื ตอ งใชบ ัตรนกั เรยี นของตนเองเทา นน่ั แหละตอ งแสดงบัตรทุกครง้ั ทตี่ ดิ ตอยืม - คนื หนงั สอื
2. การยืมหนงั สือทัว่ ไปยืมไดคร้งั ละไมเ กิน 5 เลม
3. ระยะเวลาในการยืมหนังสือท่งั ไปยืมไดคร้งั ละไมเ กิน 7 วัน
4. เวลาที่ใหบ ริการยืม - คนื
4.1 พกั 10 นาที (เวลา 10.00 น. – 10.10 น.)
4.2 พักกลางวนั (เวลา 11.50 น. – 12.50 น.)
4.3 เวลา (เวลา 15.10 น. 17.00 น.)
5. การยมื หนังสือเกนิ กำหนดเสยี คา ปรับวนั ละ 1 บาท / เลม
6. นักเรียนไมส ามารถยืมหนังสอื อา งอิง และหนงั สอื พมิ พ วารสารใหมออกจากหองสมุดได

ระเบียบการใชหอ งโสตทัศนศึกษา

เพ่ือใหการใชหองโสตทัศนศึกษาเปนไปอยางเรียบรอย และเกิดประโยชนสูงสุดมีความสะดวกแก
ผูมาใชบริการ ไมเปนภาระกับผูควบคุมดูและหองโสตฯ มากเกินไป และไมกอใหเกิดความเสียหายกับส่ือฯ
อปุ กรณภ ายในหอ งโสตฯ จงึ เสนอขอ ตกลง เปน ระเบียบการใชหองโสตทัศนศึกษา ดังน้ี
ขอปฏบิ ัตสิ ำหรบั นักเรยี น

1. นกั เรยี นทขี่ อใชห อ งโสตทศั นศกึ ษา หรอื อปุ กรณบ างอยา งเพอื่ ใชก จิ กรรมสว นรวม จะตอ งมคี รผู รู บั
ผดิ ชอบเกี่ยวขอ ง เปนผูลงช่อื รับรองเปนหลกั ฐาน และจองการใชหองลว งหนา

2. ชวยกันดูแลทรัพยสินของโรงเรียน ความเปนระเบียบเรียบรอย จัดโตะ-เกาอี้เขาท่ี ปดแอร ปดไฟ
เกบ็ เศษขยะ กอนออกจากหองโสตฯ ทุกครงั้

3. ไมวง่ิ เลนจนอาจเกดิ ความเสยี หายแกทรพั ยส นิ ของโรงเรยี น
4. หา มใชอ ปุ กรณเ ทคโนโลยี ในหอ งโสตทั ศนะศกึ ษา โดยไมไ ดร บั อนญุ าต ไมท ำใหเ กดิ ความเสยี หาย
5. ไมเ ปด แอร ถา มคี นในหองโสตฯ ไมถึง 40 คน
6. ไมส ง เสยี งรบกวน หรือกระทำการใด ๆ ท่กี อใหเกดิ ความเดอื ดรอ นรำคาญแกผูอืน่
7. หา มนำอาหาร ขนม นำ้ ด่มื มารบั ประทานในหองโสตทศั นศึกษา

อาคารที่ใชในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน

อาคารวิภาวนิ
เปนอาคาร 2 ชั้น ที่ตั้งอยูดานหนาติดกับเสาธงเปนอาคารท่ีใชจัดการเรียนการสอนหองเรียนพิเศษ

วิทยาศาสตร - คณิตสศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม และแผนการเรียนวิทยาศาสตร คณิตศาสตร
เทคโนโลยแี ละยงั มหี อ งสำนกั งานตา ง ๆ ไดแ ก หอ งพกั ครกู ลมุ สาระสขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา หอ งการเงนิ หอ งสมดุ
หอ งโอลมิ ปก วชิ าการ หอ งกลุมบรหิ ารแผนงานและงบประมาณ
98 คู มื อ นั ก เ รี ย น ประจำป 2565


Click to View FlipBook Version