(๔) การส่งบุคลากรไปอบรม / ประชุมสัมมนา / ศึกษาเพิ่มเตมิ / ศกึ ษาดูงาน
(๕) การสง่ เสรมิ ให้ประพฤตปิ ฏบิ ัติตามกฎหมายและใหม้ จี รยิ ธรรม
(๖) การพฒั นาบคุ ลากรในโรงเรียนด้วยกระบวนการ PLC : Professional
Learning Community
(๗) การพฒั นาบคุ ลากรในโรงเรยี นด้วยกระบวนการการจัดการความรู้
(Knowledge Management)
(๘) การพฒั นาบุคลากรให้มีความรูเ้ ร่ือง STEM Education
(๙) การพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรเู้ รอ่ื ง Active Learning
(๑๐) การพัฒนาบคุ ลากรในรูปแบบอื่น ๆ
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มีแผนพฒั นาบุคลากร
๒ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๑ และมีการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมพฒั นาบุคลากรอยา่ งน้อย ๕ รายการ
๓ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๒ และมีการนำ� ความรู้ท่ีได้จากการพฒั นามาขยายผลในโรงเรยี น
๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมพฒั นาบุคลากร
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารนำ� ผลการประเมินไปใชใ้ นการปรับปรงุ พฒั นา
บคุ ลากรอยา่ งตอ่ เน่ือง
๑.๓ การประเมินผลการปฏบิ ัติงานของบคุ ลากร
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทีเ่ ก่ยี วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์
การให้ระดบั คุณภาพ รายการ
๑ มกี ารประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านของบุคลากร
๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมีเคร่ืองมอื ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร
๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และมกี ารประเมินผลการปฏิบตั ิงานของบคุ ลากรอย่างน้อย
ภาคเรยี นละ ๑ ครงั้
๔ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๓ และมีการวเิ คราะหผ์ ลประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร
๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารน�ำผลการวิเคราะห์ไปใชใ้ นการพฒั นาบุคลากร
มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 45
๑.๔ การบำ� รงุ ขวญั และส่งเสรมิ ก�ำลงั ใจ
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรที่เก่ียวข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์
๓. พจิ ารณาการดำ� เนนิ งานของโรงเรยี นในเร่ืองต่อไปนี้
(๑) การให้บริการและสิทธปิ ระโยชน์
(๒) การสง่ เสรมิ ให้ท�ำงานตามความถนดั และตามความต้องการของตนเอง
(๓) การยกยอ่ งชมเชย ใหเ้ กียรติ
(๔) การสง่ เสรมิ ให้ทำ� งานที่ท้าทายและสามารถทำ� ให้ประสบความส�ำเร็จ
(๕) การสง่ เสรมิ ให้มคี วามก้าวหนา้ ในวชิ าชพี
(๖) การส่งเสริมให้ครจู ดั การเรยี นรู้อยา่ งมีความสขุ
(๗) การสร้างสภาพแวดล้อมใหเ้ ออ้ื ตอ่ การปฏิบัตงิ านของบคุ ลากร
(๘) การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ อน่ื ๆ
การใหร้ ะดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีการส�ำรวจความพึงพอใจของบุคลากร และจัดท�ำแผนการบ�ำรงุ ขวญั สง่ เสรมิ
ก�ำลังใจบคุ ลากร
๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารปฏิบัตกิ ิจกรรมการบ�ำรุงขวญั ฯ อย่างน้อย ๔ รายการ
๓ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ และมกี ารประเมินผลการจดั กจิ กรรม
๔ ได้ระดับคณุ ภาพ ๓ และมีการรายงานผลการบำ� รงุ ขวัญฯ ต่อผูเ้ กีย่ วข้อง
๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารนำ� ผลการประเมนิ ไปใช้ในการปรบั ปรุงพัฒนา
กจิ กรรมการบ�ำรงุ ขวัญและสง่ เสรมิ ก�ำลังใจบคุ ลากร
46 มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)
๒. การบรหิ ารงานทะเบยี นและสถติ ิขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
๒.๑ การจดั ทำ� ทะเบยี นประวัติข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรท่เี ก่ียวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มีการแตง่ ต้งั ผูร้ ับผดิ ชอบการท�ำทะเบียนประวตั ขิ ้าราชการครู และบคุ ลากร
ทางการศกึ ษา
๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารทำ� ทะเบยี นประวตั ขิ า้ ราชการครแู ละบคุ ลากร
ทางการศกึ ษา
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมที ะเบียนประวตั ิถกู ต้อง และเปน็ ปจั จุบนั
๔ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการเก็บรกั ษาทะเบยี นประวัติอยา่ งปลอดภัยและ
สะดวกแก่การคน้ หา
๕ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๔ และมีการนำ� นวตั กรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใชใ้ นการดำ� เนินการ
๒.๒ การจดั ท�ำหลักฐานการปฏบิ ัตริ าชการ๑
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
การใหร้ ะดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีการรวบรวมหลักฐานการปฏิบัตริ าชการของบคุ ลากร
๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมเี จ้าหน้าทีร่ บั ผดิ ชอบโดยเฉพาะ
๓ ได้ระดบั คุณภาพ ๒ และมีการรวมรวมหลักฐานไว้เปน็ ระเบียบเรยี บร้อย
และเป็นปัจจุบนั
๔ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารท�ำสถิตขิ ้อมลู สารสนเทศและนำ� ไปใช้ประโยชน์
๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารนำ� นวตั กรรมและเทคโนโลยเี ข้ามาใช้ในการดำ� เนินการ
_____________
หมายเหต ุ การปฏบิ ตั ริ าชการ๑ หมายถงึ หลกั การลงเวลาปฏิบตั ิราชการ ใบลา บันทึกการปฏบิ ัติหนา้ ท่ี เวรยาม ในเวลา
และนอกเวลาหรอื หลักฐานการขออนุญาตตา่ ง ๆ
มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 47
๓. การประเมินผลการด�ำเนินงานบุคคล
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรท่เี กย่ี วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์
การให้ระดบั คุณภาพ รายการ
๑ มกี ารวางแผนการประเมินผลการดำ� เนินงานบุคคลโดยมหี ลกั ฐานให้ตรวจสอบได้
๒ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๑ และมกี ารประเมนิ ผลในระดบั หน่วยงานยอ่ ยภายในโรงเรียน
๓ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๒ และมีการประเมนิ ผลในรูปแบบของคณะกรรมการ
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมีการวเิ คราะห์ผลการประเมินการดำ� เนนิ งานบุคคล
๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมกี ารน�ำผลการวเิ คราะห์ไปใช้ในการปรับปรงุ พฒั นา
การดำ� เนนิ งานบุคคล
48 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)
งานธุรการ
มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 49
งานธรุ การ
งานธุรการ เป็นหน่วยงานท่ีส่งเสริมสนับสนุนในด้านสารบรรณ ลงทะเบียน รับ – ส่งหนังสือ
การโต้ตอบหนังสือราชการกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ให้เป็นไปตามระเบียบและแนวปฏิบัติ
ทเี่ ก่ียวข้องกับงานด้านธุรการ
๑. การวางแผนงานธรุ การ
๑.๑ การรวบรวมขอ้ มลู ระเบยี บและแนวปฏิบตั เิ ก่ยี วกบั งานธรุ การ
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ปี รากฏ
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีการแต่งต้งั ผ้รู ับผดิ ชอบการรวบรวมขอ้ มลู ระเบยี บและแนวปฏิบัตเิ กี่ยวกบั
งานธรุ การเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร
๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และมีการรวบรวมขอ้ มลู ระเบียบและแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกบั
งานธุรการท่เี ป็นปจั จุบัน
๓ ได้ระดับคณุ ภาพ ๒ และมีการจดั ท�ำเอกสาร แบบพมิ พ์ต่าง ๆ ทีใ่ ชใ้ นงานธุรการ
ไว้ใช้ในโรงเรยี น
๔ ได้ระดับคณุ ภาพ ๓ และมกี ารจัดท�ำเป็นเอกสารคมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานธุรการ
๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารนำ� เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบรหิ ารจัดการ
๑.๒ การทำ� แผนงานธรุ การ
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรที่เก่ยี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ
การใหร้ ะดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มกี ารก�ำหนดแผนงานธุรการ
๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมีการจัดทำ� แผนงานธรุ การเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร
๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และมีผูร้ บั ผดิ ชอบการปฏิบัตติ ามแผน
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมีการน�ำเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมีการประเมินผลการปฏบิ ัติงานตามแผนและ
น�ำผลการประเมินมาปรับปรงุ แกไ้ ขและพัฒนา
50 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)
๒. การบริหารงานธรุ การ
๒.๑ การก�ำหนดหน้าท่ีความรับผดิ ชอบ
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรท่ีเกยี่ วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทป่ี รากฏ
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีการก�ำหนดขอบขา่ ยงานธรุ การ
๒ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๑ และมกี ารท�ำแผนภมู ิการบรหิ ารงานธรุ การ
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมีการจัดทำ� พรรณนางานธุรการ
๔ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๓ และมีการมอบหมายหน้าท่ีความรับผดิ ชอบครบทกุ งาน
๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมีการนำ� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ
๒.๒ การจดั บคุ ลากร
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานที่ปรากฏ
การให้ระดับคุณภาพ รายการ
๑ มีการก�ำหนดแนวทางการจัดบุคลากร
๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารแต่งตงั้ บคุ ลากรเป็นลายลักษณ์อกั ษร
๓ ได้ระดบั คุณภาพ ๒ และมีบคุ ลากรครบทุกงาน
๔ ได้ระดับคุณภาพ ๓ และมีบคุ ลากรทมี่ คี ณุ สมบตั ิเหมาะสมตามลักษณะงาน
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารประเมนิ และพัฒนาบุคคลากรด้านธุรการ
มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 51
๒.๓ การจัดสถานที่
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรที่เก่ียวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากสถานทีป่ ฏบิ ัติงานธุรการ
การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มีสถานที่ทำ� งานธุรการ
๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมกี ารจดั สถานท่ีปฏิบัตงิ านภายในหอ้ งธรุ การเปน็ สดั สว่ น
และสะดวกแกก่ ารใหบ้ รกิ าร
๓ ได้ระดบั คุณภาพ ๒ และมีห้องธรุ การท่ีมีความเหมาะสมมั่นคงและปลอดภัย
๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมกี ารนำ� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ
๕ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๔ และมีการประเมินความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บรกิ ารและน�ำผล
การประเมนิ มาปรับปรุงและพัฒนา
๓. การบรหิ ารงานสารบรรณ
๓.๑ การลงทะเบยี นรบั – สง่ เอกสารและหนงั สือราชการ
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานที่ปรากฏ
การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มีทะเบียนรบั - สง่ เอกสารและหนังสือราชการ
๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมเี จ้าหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบโดยเฉพาะ
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารลงทะเบยี นรบั - สง่ ถูกตอ้ งตามระเบยี บ
งานสารบรรณ
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารนำ� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการ
๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และมีการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านและน�ำผลการประเมิน
มาปรับปรุงและพัฒนา
52 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)
๓.๒ การโต้ตอบหนงั สอื ราชการ
วิธกี ารประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรทเี่ กย่ี วข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทป่ี รากฏ
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีหลักฐานการโตต้ อบหนงั สอื ราชการ
๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมเี จ้าหน้าทร่ี บั ผิดชอบโดยเฉพาะ
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมีหนังสอื ราชการท่โี ต้ตอบถกู ตอ้ งตามระเบยี บ
งานสารบรรณ
๔ ได้ระดับคณุ ภาพ ๓ และมกี ารนำ� เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารประเมินผลและน�ำผลการประเมินมาปรับปรุงและ
พฒั นา
๓.๓ การเกบ็ รกั ษาและท�ำลายหนงั สอื ราชการ
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเกีย่ วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทปี่ รากฏ
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มีการจัดระบบเก็บรกั ษาและท�ำลายหนังสือราชการ
๒ ได้ระดับคณุ ภาพ ๑ และมีการกำ� หนดแนวปฏิบตั ใิ นการดำ� เนินการไว้เปน็
ลายลักษณ์อักษร การเกบ็ รักษาและการท�ำลายหนงั สอื ราชการถกู ตอ้ ง
ตามระเบียบงานสารบรรณ
๓ ได้ระดบั คุณภาพ ๒ และมกี ารค้นหาหนงั สอื ราชการหรือหลกั ฐานต่าง ๆ
ไดส้ ะดวกและรวดเรว็
๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมีการน�ำเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในการบริหารจดั การ
๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมีการประเมินผลและนำ� ผลมาประเมนิ ผล
มาช่วยปรับปรงุ และพฒั นา
มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 53
๓.๔ การบรกิ ารเกี่ยวกับงานสารบรรณ
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรทเี่ กย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ
การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มีการจัดระบบดา้ นบริการงานสารบรรณ
๒ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๑ และมีการน�ำวสั ดคุ รุภณั ฑ์ บุคลากรในการใหบ้ รกิ ารได้เพียงพอ
๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และมกี ารบำ� รุงรกั ษาวสั ดุครภุ ณั ฑป์ รับปรุงการบริการ
ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพอยู่เสมอ
๔ ได้ระดับคณุ ภาพ ๓ และมกี ารน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบรหิ ารจดั การ
๕ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๔ และมกี ารประเมนิ ผลและนำ� ผลมาปรับปรงุ และพฒั นา
๔. การประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งานธุรการ
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทเ่ี กี่ยวข้อง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานท่ีปรากฏ
การใหร้ ะดับคุณภาพ รายการ
๑ มกี ารประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานธรุ การ โดยมีหลกั ฐานให้ตรวจสอบได้
๒ ได้ระดับคณุ ภาพ ๑ และยงั มีการประเมินผลในระดบั หน่วยงานยอ่ ยของงานธรุ การ
๓ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ และมกี ารน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจดั การ
๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการน�ำผลไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ พัฒนาการดำ� เนนิ งาน
ธุรการ
๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และมกี ารนิเทศตดิ ตามการดำ� เนินงานธุรการอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
54 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)
งานการเงินและพัสดุ
มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 55
งานการเงินและพสั ดุ
งานการเงินและพัสดุ เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่สนับสนุนให้การบริหารการจัดการศึกษาและ
การด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนเป็นไปตามแผนปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
ถูกต้องตามระเบียบ ข้อปฏิบตั ิของทางราชการเปน็ ไปดว้ ยความถูกตอ้ ง คุ้มค่า ประหยัด โปร่งใส ตรวจสอบ
ได้ตามหลักธรรมมาภิบาล และเกิดประโยชน์ทางราชการสูงสดุ
๑. การบรหิ ารการเงิน
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเก่ียวข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานทป่ี รากฏ
การให้ระดบั คุณภาพ รายการ
๑ มกี ารวางแผนการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ / เงินนอกงบประมาณใหเ้ หมาะสม
สอดคลอ้ งและถูกต้องกบั ระเบียบต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง
๒ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๑ และมกี ารดำ� เนินการเบกิ จ่ายเงนิ ตามแผนปฏบิ ตั ิการ
๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และมีการเบิกจา่ ยเงินตามระเบียบ ภายในเวลาก�ำหนด
๔ ได้ระดับคณุ ภาพ ๓ และมกี ารประเมินผลการปฏิบัตงิ านตามแผน และนำ� ผล
ไปปรบั ปรุงและพฒั นา
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ
๒. การบรหิ ารการเงินและบญั ชี
๒.๑ การทำ� หลักฐานการเงนิ และการบญั ชี
หลักฐานการเงนิ และการบญั ชที ก่ี ำ� หนด คือ
(๑) เงินนอกงบประมาณ
(๑.๑) ทะเบยี นคมุ ใบเสร็จรับเงิน
(๑.๒) ใบเสร็จรับเงิน
(๑.๓) สมดุ เงนิ สด
(๑.๔) ทะเบียนคุมเงนิ นอกงบประมาณ
(๑.๕) ทะเบียนคุมเงินรายไดส้ ถานศกึ ษา
(๑.๖) หลกั ฐานการจา่ ยเงนิ นอกงบประมาณแต่ละประเภท
(๑.๗) สัญญาการยืมเงินและทะเบยี นคมุ เอกสารแทนตัวเงนิ
56 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
(๒) เงนิ งบประมาณ
(๒.๑) ทะเบียนคมุ หลักฐานขอเบกิ
(๒.๒) สมดุ ค่มู อื เบกิ เงินเพ่ือจ่ายเงินงบประมาณ
(๒.๓) สมดุ เงินสด
(๒.๔) ทะเบียนคุมเงินงบประมาณ
(๒.๕) หลกั ฐานการจา่ ยเงนิ งบประมาณ
(๓) เงินรายไดแ้ ผน่ ดนิ
(๓.๑) ใบเสรจ็ รบั เงนิ
(๓.๒) สมุดเงินสด
(๓.๓) ใบนำ� สง่ หรือใบเสรจ็ รบั เงนิ ของผูเ้ บิก
(๔) รายงาน
(๔.๑) รายงานเงินคงเหลอื ประจำ� วัน
(๔.๒) รายงานรับจา่ ยเงนิ รายได้สถานศึกษา
(๔.๓) รายงานประเภทเงินคงเหลือ
(๔.๔) รายงานเงนิ คงเหลือประจ�ำวัน ณ วันสิ้นเดือน
(๔.๕) รายงานรับจ่ายเงินรายได้สถานศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาภายใน
๓๐ วัน นับแตว่ ันสิ้นปงี บประมาณ
(๔.๖) กรณที โ่ี รงเรยี นทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ หนว่ ยเบกิ จะตอ้ งปฏบิ ตั ิ / รายงานโดยใชร้ ะบบ GFMIS
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรท่ีเกี่ยวข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานที่ปรากฏ
การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มีการจัดท�ำหลักฐานการเงินและการบญั ชี
๒ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๑ และมีการจดั ทำ� หลกั ฐานการเงนิ และการบัญชีครบถ้วน
๓ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ และมกี ารจัดทำ� หลักฐานการเงนิ และการบัญชเี ปน็ ปัจจุบนั
ถูกต้อง
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมีการจดั เก็บหลกั ฐานเปน็ ระเบียบ และปลอดภัย
๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารนำ� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารจดั การ
มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 57
๒.๒ การรบั เงิน
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานท่ปี รากฏ
การใหร้ ะดับคณุ ภาพ รายการ
๑ การรบั เงินทุกประเภท มีการออกใบเสร็จรับเงิน
๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมีการลงบัญชีในสมดุ เงินสด
๓ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ และมีการจัดท�ำบัญชใี นสมุดเงนิ สดถกู ตอ้ งเป็นปจั จุบนั
๔ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการตรวจสอบหลกั ฐานการรบั เงนิ ตามระเบยี บ
การเกบ็ รักษาเงิน
๕ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ และมีการนำ� เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารจัดการ
๒.๓ การจ่ายเงิน
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรท่เี กย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ปี รากฏ
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ การจา่ ยเงนิ อยภู่ ายในวงเงนิ ท่ีได้รับมอบอำ� นาจจากส�ำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานและมีหลักฐานในการจ่าย
๒ ได้ระดับคณุ ภาพ ๑ และมีการลงบญั ชใี นสมุดเงนิ สด
๓ ได้ระดบั คุณภาพ ๒ และมีการลงบญั ชีในสมดุ เงินสดถูกตอ้ งเป็นปจั จุบัน
๔ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๓ และมกี ารตรวจสอบการจ่ายเงนิ ตามระเบียบการเก็บรกั ษาเงิน
๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ
58 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
๒.๔ การเกบ็ รกั ษาเงนิ
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ
การใหร้ ะดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีการแต่งต้งั คณะกรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ ตามระเบียบ
๒ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๑ และมกี ารเก็บรักษาเงนิ เอกสารแทนตัวเงนิ
๓ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ และมกี ารปฏิบัติถูกต้องตามระเบยี บการเกบ็ รกั ษาเงนิ
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารนเิ ทศ กำ� กบั ติดตามและตรวจสอบอย่างสมำ่� เสมอ
๕ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ และมีการนำ� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในการบริหารจดั การ
๒.๕ การควบคุมและตรวจสอบ
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรทเ่ี กยี่ วข้อง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานทีป่ รากฏ
การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ
๑ มีระบบการควบคมุ การรับ - จา่ ยเงิน
๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และมีการตรวจสอบการรับ - จ่ายเงินประจ�ำวัน
๓ ได้ระดับคุณภาพ ๒ และมกี ารตรวจสอบความถูกต้อง ตรงกันระหว่างยอดเงิน
คงเหลือในสมุดเงินสดกบั รายงานเงนิ คงเหลือประจำ� วันโดยผู้บรหิ ารสถานศึกษา
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมีการด�ำเนนิ การเกีย่ วกบั รายงานการเงินตามทร่ี ะเบยี บ
และกฎหมายก�ำหนดไวไ้ ด้อย่างครบถว้ น
๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมีการน�ำเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารจดั การ
มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 59
๒.๖ การประเมนิ ผลการใช้จ่ายเงินตามแผนการใชจ้ า่ ย
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรที่เกี่ยวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาแผนการใชจ้ า่ ยเงินและทะเบียนคุมแผนการใช้จา่ ยเงิน
๓. พิจารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มแี ผนการใชจ้ า่ ยเงิน
๒ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมีการใชจ้ า่ ยเงินตามแผนปฏบิ ัตกิ าร
๓ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ และมีหลักฐานการควบคุมการใช้จ่ายเงนิ ตามแผนปฏบิ ัติการ
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารนำ� ผลการวเิ คราะห์ไปใชใ้ นการปรับปรงุ พฒั นาแผน
การใชจ้ า่ ยเงนิ
๕ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๔ และมีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ
๓. การบริหารงานพสั ดุและสินทรพั ย์
๓.๑ การจัดซ้อื จัดจา้ ง
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรท่ีเกี่ยวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ
การใหร้ ะดับคุณภาพ รายการ
๑ มกี ารดำ� เนินการจดั ซ้อื จัดจา้ ง
๒ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๑ และมีการจัดซอ้ื จัดจ้าง ปฏบิ ัตคิ รบตามข้ันตอน
๓ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ และมกี ารดำ� เนนิ การถกู ตอ้ งตามระเบยี บทุกข้ันตอน
๔ ได้ระดับคุณภาพ ๓ และมกี ารดำ� เนนิ การจดั ซื้อจดั จา้ งอยา่ งรวดเรว็ ทันเวลา
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจดั การ
60 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
๓.๒ การจดั ทำ� บัญชีวัสดแุ ละทะเบยี นครุภัณฑ์
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทเ่ี กี่ยวข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานท่ปี รากฏ
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีการจดั ท�ำบญั ชวี สั ดแุ ละทะเบยี นครภุ ณั ฑ์
๒ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๑ และมีการจดั ท�ำบัญชีวัสดุและทะเบียนครภุ ัณฑ์ถกู ต้องและ
เป็นปจั จุบนั
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารจดั ระบบการจดั เกบ็ รกั ษาบญั ชวี ัสดแุ ละทะเบียน
ครภุ ณั ฑ์
๔ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๓ และมีการก�ำกบั ติดตามประเมินผลและนำ� ผลมาปรับปรุง
และพัฒนา
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการ
๓.๓ การบำ� รุงรกั ษาพสั ดุ
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทีเ่ กย่ี วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานท่ีปรากฏ
การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มกี ารแต่งตั้งเจา้ หนา้ ทีผ่ ู้รบั ผดิ ชอบเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร
๒ ได้ระดับคณุ ภาพ ๑ และมกี ารจดั สรรงบประมาณไว้เปน็ ค่าบ�ำรุงรักษาพัสดุและมี
แนวปฏบิ ัตกิ ารบำ� รงุ รกั ษาพัสดุ
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมีการชี้แจงและแนะน�ำแนวปฏิบัตใิ นการบ�ำรงุ รักษาพสั ดุ
๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมกี ารบ�ำรุงรกั ษาพัสดุให้พรอ้ มตอ่ การใชง้ าน
๕ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๔ และมีการกำ� กบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและน�ำผลมาปรับปรุง
และพัฒนา
มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 61
๓.๔ การตรวจสอบพัสดุประจำ� ปี และการจ�ำหน่ายพสั ดุ
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาเอกสารตอ่ ไปน้ี
๒.๑ บัญชีวัสดุ
๒.๒ ทะเบยี นครภุ ณั ฑ์
๒.๓ รายงานการตรวจสอบการรบั – จ่ายพัสดุประจำ� ปี
๒.๔ รายงานการตรวจสอบวสั ดถุ าวร
๒.๕ หลกั ฐานการขออนมุ ัตจิ ำ� หนา่ ย
๒.๖ เอกสารอน่ื ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
การให้ระดบั คุณภาพ รายการ
๑ มีการแต่งตง้ั คณะกรรมการตรวจสอบพัสดุตามระเบยี บฯ
๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารตรวจสอบการรบั – จ่าย พัสดปุ ระจ�ำปี ตามระเบียบฯ
๓ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ และมีการรายงานและผลการตรวจสอบพสั ดุตามระเบียบพัสดุ
๔ ได้ระดับคณุ ภาพ ๓ และมีการกำ� กับติดตามประเมนิ ผลและน�ำไปปรบั ปรงุ และ
พฒั นา
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ
๓.๕ การจัดท�ำทะเบยี นทดี่ ินและส่งิ ปลูกสรา้ ง
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรท่ีเกยี่ วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานทป่ี รากฏ
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มกี ารจัดท�ำทะเบยี นท่ดี ินและสิง่ ปลกู สร้าง
๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารจัดท�ำทะเบยี นที่ดินและส่งิ ปลกู สรา้ งครบถ้วน
๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และมีการลงทะเบยี นที่ดินและสิง่ ปลูกสรา้ งถกู ตอ้ งและ
เป็นปัจจบุ นั
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมีการจดั เก็บรักษาหลักฐานเรยี บรอ้ ยปลอดภัย
๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบรหิ ารจดั การ
62 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
๔. การประเมินผลการดำ� เนนิ งานการเงนิ และพัสดุ
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานท่ปี รากฏ
การใหร้ ะดับคุณภาพ รายการ
๑ มกี ารประเมนิ ผลการด�ำเนินงานการเงินและพัสดุโดยมีหลกั ฐานใหต้ รวจสอบได้
๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารประเมินผลในระดับงานยอ่ ยของงานการเงนิ และพสั ดุ
๓ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ และมกี ารนิเทศตดิ ตามการด�ำเนนิ งานการเงนิ และพัสดุ
๔ ได้ระดับคุณภาพ ๓ และมกี ารนำ� ผลไปใชใ้ นการปรบั ปรุงพฒั นาการด�ำเนินงาน
การเงนิ และพัสดุ
๕ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๔ และมีการนำ� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารจัดการ
มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 63
งานบริการอาคารสถานท่แี ละสภาพแวดลอ้ ม
64 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)
งานบริการอาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดล้อม
งานบริการอาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อมเป็นงานที่ช่วยสนับสนุนและส่งเสริมงานต่าง ๆ
อย่างเป็นรูปธรรม ภาระงานเกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
การจัดบรรยากาศทั้งภายในห้องเรียนและภายในโรงเรียนให้เกิดความร่มรื่น เป็นสัดส่วนสวยงาม สะอาด
ปลอดภัย สะดวก และเออ้ื ต่อการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น
การดูแลบ�ำรุงรักษาอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องพิเศษ และห้องบริการต่าง ๆ
ให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่าตามเกณฑ์ปริมาณและตรงตามมาตรฐาน พร้อมจัดให้มีหลักฐานการใช้อาคาร
ประวตั ิการบำ� รงุ รกั ษา และมีการสรุปประเมนิ ผลอย่างชัดเจน
๑. การบริการอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ ม
๑.๑ การพฒั นาอาคารสถานที่และสภาพแวดลอ้ ม
วิธกี ารประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ / สภาพจริง
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มกี ารก�ำหนดแนวทาง วางแผนการบริหารจัดการอาคารสถานท่ี และ
สภาพแวดล้อมของโรงเรียน และจดั ท�ำผังบรเิ วณโรงเรยี น (Master Plan)
๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมีการดูแลและพฒั นาอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอ้ ม
ของโรงเรยี นใหอ้ ยูใ่ นสภาพทม่ี ่ันคง ปลอดภัย เหมาะสม พร้อมทจ่ี ะใชป้ ระโยชน์
๓ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ และมีการติดตาม ตรวจสอบการใชอ้ าคารสถานทีแ่ ละ
สภาพแวดล้อมของโรงเรยี น เพอ่ื ใหเ้ กิดความค้มุ ค่า เออื้ ประโยชน์ต่อการเรียนรู้
๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมกี ารส�ำรวจความพึงพอใจจากผรู้ บั บรกิ ารและผ้รู ับผิดชอบ
๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และมกี ารประเมนิ สรุปรายงาน พรอ้ มทง้ั นำ� ผลไปปรับปรุง
และพัฒนาการใช้อาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดลอ้ มของโรงเรียน
๑.๒ การจดั บรรยากาศบรเิ วณโรงเรยี น
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานทปี่ รากฏ / สภาพจรงิ
๓. พิจารณาบรรยากาศในบริเวณโรงเรียน ด้านความสะอาด ปลอดภัย ร่มร่ืน สะดวก
สวยงาม และเพยี งพอสำ� หรบั ผูร้ บั บริการในประเด็นตอ่ ไปน้ี
๓.๑ มีการจัดบริเวณเปน็ สดั สว่ น
๓.๒ มคี วามร่มร่ืน
มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 65
๓.๓ มีการตกแตง่ บรเิ วณสวยงาม
๓.๔ มีสถานทเ่ี ลน่ ออกก�ำลงั กาย และพักผ่อน
๓.๕ มีอากาศปลอดโปร่ง
๓.๖ มีบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้
๓.๗ มที างสัญจรเปน็ ระเบยี บ
๓.๘ มีร้ัวหรือเคร่อื งหมายแสดงแนวเขต
๓.๙ มกี ารใชแ้ ละบ�ำรงุ รกั ษาใหม้ คี วามเป็นระเบยี บและปลอดภัย
๓.๑๐ ไมเ่ ปน็ แหลง่ มลพิษ
การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ บริเวณโรงเรยี นมคี วามสะอาด และมบี รรยากาศขา้ งต้น ๑ - ๒ ประเดน็
๒ บรเิ วณโรงเรียนมีความสะอาด และมบี รรยากาศขา้ งต้น ๓ - ๔ ประเด็น
๓ บรเิ วณโรงเรียนมคี วามสะอาด และมบี รรยากาศขา้ งตน้ ๕ - ๖ ประเดน็
๔ บริเวณโรงเรียนมคี วามสะอาด และมีบรรยากาศข้างต้น ๗ - ๘ ประเดน็
๕ บริเวณโรงเรียนมีความสะอาด และมีบรรยากาศขา้ งต้น ๙ - ๑๐ ประเดน็
๒. การบริการอาคารเรยี น
๒.๑ การจัดบรรยากาศอาคารเรียน
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทป่ี รากฏ / สภาพจรงิ
๓. พิจารณาบรรยากาศภายในอาคารเรียนด้านความสะอาด ปลอดภัย สะดวก สวยงาม
และเพยี งพอส�ำหรับผู้รบั บรกิ าร ในประเด็นตอ่ ไปนี้
๓.๑ มีการตกแต่งท่ีสวยงาม
๓.๒ มีแสงสว่างเพียงพอ
๓.๓ โครงสรา้ งอาคารเรยี นอยู่ในสภาพดี มีความแขง็ แรง
๓.๔ ระบบไฟฟา้ ประปา โทรศพั ท์ อินเตอรเ์ น็ตอย่ใู นสภาพเรยี บรอ้ ยและใช้การไดด้ ี
๓.๕ มกี ารดูแลสภาพสีของอาคารใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ีสะอาดเรียบร้อย
๓.๖ มีป้ายชอ่ื บอกอาคารและห้องตา่ ง ๆ
๓.๗ มีความเป็นระเบียบ
๓.๘ มีบรรยากาศทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้
66 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ อาคารเรียนมคี วามสะอาด ปลอดภัย
๒ อาคารเรยี นมีความสะอาด ปลอดภัย และมบี รรยากาศขา้ งต้น อย่างน้อย ๓ ประเด็น
๓ อาคารเรยี นมคี วามสะอาด ปลอดภยั และมบี รรยากาศข้างตน้ อยา่ งน้อย ๔ ประเด็น
๔ อาคารเรยี นมคี วามสะอาด ปลอดภัย และมีบรรยากาศข้างตน้ อยา่ งน้อย ๕ ประเด็น
๕ อาคารเรียนมีความสะอาด ปลอดภยั และมีบรรยากาศข้างต้น ๖ ประเด็นข้ึนไป
๒.๒ การใช้ประโยชน์จากอาคารเรยี น (พิจารณาตามเกณฑป์ รมิ าณที่ก�ำหนด)
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรทเี่ กย่ี วข้อง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานทีป่ รากฏ / สภาพจริง
๓. พิจารณาบรรยากาศบริเวณโรงเรียนในประเดน็ ตอ่ ไปนี้
๓.๑ จัดให้มหี อ้ งเรียนเพยี งพอตามเกณฑม์ าตรฐาน
๓.๒ จดั ให้มหี อ้ งพิเศษเพียงพอตามเกณฑ์มาตรฐาน
๓.๓ จัดใหม้ หี ้องบรกิ ารเพียงพอตามเกณฑ์มาตรฐาน
การใหร้ ะดับคณุ ภาพ รายการ
๑ จดั ห้องเรยี นได้พอเพียงตามเกณฑ์มาตรฐานหรือมีการแกป้ ญั หาการขาดแคลน
๒ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๑ และจดั ห้องบรกิ ารและห้องพิเศษในอาคารเรียน
ได้รอ้ ยละ ๑ - ๒๕ ของเกณฑม์ าตรฐาน
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และจัดห้องบรกิ ารและหอ้ งพเิ ศษในอาคารเรยี น
ไดร้ อ้ ยละ ๒๖ - ๕๐ ของเกณฑม์ าตรฐาน
๔ ได้ระดับคณุ ภาพ ๓ และจัดหอ้ งบรกิ ารและหอ้ งพิเศษในอาคารเรยี น
ได้ร้อยละ ๕๑ - ๗๕ ของเกณฑม์ าตรฐาน
๕ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๔ และจดั ห้องบริการและหอ้ งพเิ ศษในอาคารเรยี นไดต้ งั้ แต่
ร้อยละ ๗๖ ขึ้นไป ของเกณฑม์ าตรฐาน
มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 67
๒.๓ การดูแลบ�ำรงุ รักษาอาคารเรียน
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรที่เกย่ี วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทป่ี รากฏ / สภาพจรงิ
๓. พิจารณาบรรยากาศบรเิ วณโรงเรยี นในด้านความสะอาด ปลอดภยั
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มกี ารดูแลรักษาอาคารเรยี นใหส้ ะอาด ปลอดภัย
๒ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๑ และมีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดูแลเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร
๓ ได้ระดับคุณภาพ ๒ และมีการบ�ำรุงรักษาให้คงสภาพมีระเบยี บ สวยงามใชก้ ารได้
และเอื้อตอ่ การเรยี นรู้
๔ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๓ และมกี ารซอ่ มแซมหรือปรับปรงุ ให้ดขี นึ้
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และสภาพอาคารยงั ได้รบั การบ�ำรุงรกั ษาใหอ้ ยูใ่ นสภาพ
ท่มี นั่ คงแขง็ แรง และสะอาดสวยงาม พรอ้ มใช้งานไดต้ ลอดเวลา
๒.๔ การรักษาความปลอดภยั อาคารเรียน
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากสภาพทป่ี รากฏ / สภาพจรงิ
๓. พจิ ารณาหลกั ฐานการกำ� หนดหน้าทใ่ี นการรักษาความปลอดภัย
การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ
๑ มีการวางแผนและกำ� หนดมาตรการรกั ษาความปลอดภยั อาคารเรียน
๒ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๑ และมีผรู้ ับผดิ ชอบในการรักษาความปลอดภยั เปน็ ลายลกั ษณ์
อักษร
๓ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ และมีเครอื่ งมอื และอุปกรณใ์ นการปอ้ งกนั และรักษา
ความปลอดภยั ทใ่ี ชก้ ารได้ และพร้อมใช้
๔ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารควบคมุ และตดิ ตามการรักษาความปลอดภัย
อาคารเรียนอย่างสม�ำ่ เสมอ
๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมีการฝกึ อบรมวธิ กี ารรกั ษาความปลอดภยั ใหแ้ กบ่ ุคลากร
และนักเรยี นในสถานศกึ ษา
68 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)
๓. การบริการห้องเรยี น
๓.๑ การจัดบรรยากาศในห้องเรียน
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทเ่ี กี่ยวข้อง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานท่ีปรากฏ / สภาพจริง
๓. พิจารณาบรรยากาศในห้องเรียนให้เกิดความสะอาด ปลอดภัย สะดวก และสวยงาม
ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
๓.๑ มีแสงสว่างเพียงพอ
๓.๒ มีอากาศถา่ ยเทสะดวก
๓.๓ มีการตกแต่งทีส่ วยงาม และมีบรรยากาศทางวชิ าการ
๓.๔ โตะ๊ เกา้ อี้ และอปุ กรณ์ประจ�ำห้องมสี ภาพดี และเพียงพอ
๓.๕ มีสอ่ื และอุปกรณก์ ารสอนท่จี ำ� เป็นประจ�ำหอ้ ง
๓.๖ มีเคร่ืองอ�ำนวยความสะดวกตามความจ�ำเป็น เช่น พัดลม เคร่ืองปรับอากาศ
คอมพิวเตอร์ ฯลฯ
๓.๗ ไม่แออดั
การให้ระดบั คุณภาพ รายการ
๑ มีความสะอาด ปลอดภยั
๒ มีความสะอาด และยังมีบรรยากาศขา้ งต้น อย่างนอ้ ย ๓ ประเด็น
๓ มีความสะอาด และยังมบี รรยากาศข้างต้น อยา่ งน้อย ๔ ประเด็น
๔ มคี วามสะอาด และยงั มีบรรยากาศข้างตน้ อย่างน้อย ๕ ประเดน็
๕ มีความสะอาด และยงั มบี รรยากาศข้างตน้ ๖ ประเดน็ ขน้ึ ไป
๓.๒ การใชแ้ ละการดูแลรกั ษาหอ้ งเรยี น
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรที่เกี่ยวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานที่ปรากฏ / สภาพจรงิ
๓. พจิ ารณาจากประเด็นต่อไปนี้
๓.๑ มกี ารมอบหมายใหม้ ีผรู้ ับผดิ ชอบ
๓.๒ มกี ารใช้ห้องตามแผนที่ก�ำหนด
๓.๓ มีการดูแลรกั ษาอปุ กรณใ์ หอ้ ยู่ในสภาพดี และพรอ้ มใชง้ าน
๓.๔ มีการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
๓.๕ มกี ารจดั งบประมาณสนับสนนุ อยา่ งต่อเน่ืองโดยก�ำหนดในแผนปฏิบตั กิ าร
๓.๖ มีการประกวดเพ่อื ยกยอ่ งชมเชย
มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 69
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีแผน และระเบียบการใช้หอ้ งเรยี น
๒ มแี ผน ระเบียบการใชห้ ้องเรยี น และมกี ารด�ำเนินการตามข้างตน้ อย่างนอ้ ย ๒ ประเดน็
๓ มีแผน ระเบยี บการใช้หอ้ งเรียน และมกี ารดำ� เนนิ การตามขา้ งตน้ อยา่ งนอ้ ย ๓ ประเด็น
๔ มีแผน ระเบยี บการใช้ห้องเรยี น และมีการดำ� เนนิ การตามขา้ งต้น อยา่ งน้อย ๔ ประเดน็
๕ มีแผน ระเบยี บการใชห้ ้องเรียน และมีการดำ� เนนิ การตามข้างตน้ ๕ ประเดน็ ขึ้นไป
๔. การบริการหอ้ งบริการ
๔.๑ การจดั บรรยากาศห้องบรกิ าร
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานที่ปรากฏ / สภาพจรงิ
๓. พิจารณาบรรยากาศของห้องบริการให้เกิดความสะอาด ปลอดภัย สะดวก และ
ความสวยงาม ในประเด็นต่อไปนี้
๓.๑ มีแสงสว่างเพยี งพอ
๓.๒ มกี ารตกแต่งท่ีสวยงาม
๓.๓ มเี คร่อื งอ�ำนวยความสะดวก เชน่ พดั ลม เครือ่ งปรับอากาศ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ
๓.๔ มีอากาศถ่ายเทสะดวก
๓.๕ มีป้ายนิเทศแสดงค�ำแนะน�ำการใช้ห้อง ระเบียบปฏิบัติ และสถิติข้อมูลการให้
บริการ
๓.๖ ไม่แออดั
การให้ระดับคุณภาพ รายการ
๑ มีความสะอาดและเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย
๒ มคี วามสะอาด เปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย และมบี รรยากาศขา้ งต้น อยา่ งน้อย ๒ ประเดน็
๓ มีความสะอาด เปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย และมีบรรยากาศขา้ งต้น อยา่ งนอ้ ย ๓ ประเดน็
๔ มีความสะอาด เป็นระเบยี บเรยี บร้อย และมีบรรยากาศขา้ งตน้ อยา่ งน้อย ๔ ประเด็น
๕ มคี วามสะอาด เปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย และมบี รรยากาศขา้ งต้น ๕ ประเดน็ ข้นึ ไป
70 มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)
๔.๒ การใช้และบำ� รุงรกั ษาห้องบรกิ าร
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรที่เกยี่ วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ / สภาพจริง
๓. พจิ ารณาจากประเด็นตอ่ ไปนี้
๓.๑ มกี ารมอบหมายให้มผี ูร้ ับผิดชอบเป็นลายลักษณอ์ ักษร
๓.๒ มกี ารใชห้ ้องตามแผน และตารางทกี่ ำ� หนด
๓.๓ มีการดูแลรักษาให้อยูใ่ นสภาพท่ีดี
๓.๔ มีการจัดงบประมาณสนับสนุนอย่างต่อเนอ่ื ง โดยกำ� หนดในแผนปฏิบัติการ
๓.๕ มีการบันทกึ สถติ ิการใช้ห้อง
๓.๖ มีการตดิ ตามประเมนิ ผลอยา่ งเป็นระบบ
๓.๗ มกี ารเกบ็ รวบรวมผลงานเพื่อการประชาสมั พนั ธ์
การใหร้ ะดับคุณภาพ รายการ
๑ มีแผน ตาราง และระเบียบการใช้หอ้ ง
๒ มแี ผน ตาราง ระเบียบการใช้หอ้ ง และมกี ารด�ำเนนิ การตามขา้ งตน้ อกี ๓ ประเด็น
๓ มีแผน ตาราง ระเบยี บการใช้หอ้ ง และมกี ารดำ� เนนิ การตามขา้ งตน้ อกี ๔ ประเด็น
๔ มีแผน ตาราง ระเบยี บการใช้ห้อง และมกี ารด�ำเนินการตามขา้ งตน้ อีก ๕ ประเด็น
๕ มแี ผน ตาราง ระเบยี บการใชห้ อ้ ง และมกี ารดำ� เนนิ การตามขา้ งตน้ ๖ ประเดน็ ขน้ึ ไป
๕. การบรกิ ารห้องพเิ ศษ
๕.๑ การจัดบรรยากาศห้องพเิ ศษ
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรทเี่ กี่ยวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานท่ปี รากฏ / สภาพจรงิ
๓. พิจารณาบรรยากาศของหอ้ งพเิ ศษ ใหเ้ กิดความสะอาด ปลอดภยั สะดวก และสวยงาม
ในประเดน็ ต่อไปน้ี
๓.๑ มีแสงสวา่ งเพยี งพอ
๓.๒ มีการตกแต่งที่สวยงามและมบี รรยากาศที่เอ้อื ต่อการเรียนรู้
๓.๓ มีเครอื่ งอำ� นวยความสะดวก เชน่ พดั ลม เคร่ืองปรบั อากาศ คอมพวิ เตอร์ ฯลฯ
๓.๔ มีอปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑเ์ หมาะสมตามเกณฑ์
๓.๕ มีอากาศถา่ ยเทสะดวก
๓.๖ มปี ้ายบอกวิธที ำ� งาน แนะนำ� เทคนิควิธกี ารใช้เครือ่ งมือ
มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 71
๓.๗ มปี ้ายเตือนเร่ืองความปลอดภยั
๓.๘ มีอปุ กรณร์ กั ษาความปลอดภยั
๓.๙ มีปา้ ยแนะน�ำการบำ� รงุ รักษาเครอื่ งมือ
๓.๑๐ ไม่แออัด
การให้ระดับคุณภาพ รายการ
๑ มคี วามสะอาด ปลอดภยั เปน็ ระเบียบเรียบร้อย และมบี รรยากาศข้างตน้ ๑ - ๓ ประเดน็
๒ มคี วามสะอาด ปลอดภยั เป็นระเบียบเรียบร้อย และมบี รรยากาศขา้ งต้น ๔ - ๕ ประเดน็
๓ มีความสะอาด ปลอดภยั เปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย และมบี รรยากาศขา้ งต้น ๖ - ๗ ประเดน็
๔ มีความสะอาด ปลอดภยั เป็นระเบียบเรยี บร้อย และมบี รรยากาศขา้ งต้น ๘ - ๙ ประเด็น
๕ มีความสะอาด ปลอดภัย เปน็ ระเบยี บเรียบร้อย และมบี รรยากาศขา้ งต้น
ครบท้ัง ๑๐ ประเด็น
๕.๒ การใชแ้ ละการดูแลรักษาห้องพิเศษ
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรท่ีเกีย่ วข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทีป่ รากฏ / สภาพจริง
๓. พจิ ารณาจากประเด็นต่อไปน้ี
๓.๑ มกี ารมอบหมายให้มีผู้รบั ผิดชอบเป็นลายลักษณอ์ กั ษร
๓.๒ มกี ารใช้หอ้ งตามแผน และตารางทีก่ ำ� หนด
๓.๓ มกี ารดแู ลรกั ษาวสั ดุ อุปกรณ์ และหอ้ งเรยี นให้อยู่ในสภาพท่ดี ี
๓.๔ มกี ารจัดงบประมาณสนับสนุนอยา่ งตอ่ เน่ือง โดยก�ำหนดในแผนปฏบิ ัติการ
๓.๕ มกี ารบนั ทึกสถิติการใชห้ ้อง
๓.๖ มีการตดิ ตามประเมินผลการใช้หอ้ งอยา่ งเป็นระบบ
๓.๗ มกี ารประกวดการดูแลรกั ษาและพฒั นาเพื่อยกยอ่ งชมเชย
๓.๘ มกี ารเก็บรวบรวมผลงานเพ่อื การประชาสัมพนั ธ์
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีแผน ตาราง และระเบียบการใชห้ อ้ ง
๒ มแี ผน ตาราง ระเบยี บการใชห้ ้อง และมีการดำ� เนนิ การตามข้างตน้ ๑ - ๒ ประเด็น
๓ มีแผน ตาราง ระเบยี บการใช้ห้อง และมีการด�ำเนินการตามขา้ งตน้ ๓ - ๔ ประเดน็
๔ มแี ผน ตาราง ระเบยี บการใชห้ อ้ ง และมีการดำ� เนินการตามขา้ งต้น ๕ - ๖ ประเด็น
๕ มแี ผน ตาราง ระเบียบการใช้ห้อง และมีการด�ำเนินการตามขา้ งต้น ๗ - ๘ ประเด็น
72 มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)
๖. การบรกิ ารอาคารประกอบ
๖.๑ อาคารฝกึ งานหรอื ห้องปฏบิ ตั กิ าร
๖.๑.๑ การจดั อาคารฝึกงานหรือหอ้ งปฏิบตั กิ าร
วธิ กี ารประเมนิ
๑. พจิ ารณาจากหลกั ฐานที่ปรากฏ / สภาพจริง
๒. พจิ ารณาอาคารฝกึ งานในประเดน็ ต่อไปนี้
๒.๑ จดั ใหม้ ีอาคารฝึกงานเพยี งพอตามเกณฑม์ าตรฐาน
๒.๒ จัดให้มหี อ้ งปฏบิ ตั ิการในฝึกปฏบิ ัตอิ ย่างเพยี งพอตามเกณฑ์มาตรฐาน
การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ
๑ จัดให้มีอาคารโรงฝึกงานหรือห้องปฏบิ ัตงิ าน
๒ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๑ และจัดให้มอี าคารฝึกงานหรือห้องปฏบิ ตั ิการได้ ร้อยละ ๒๕
ของเกณฑ์มาตรฐาน
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และจัดใหม้ ีอาคารฝกึ งานหรอื หอ้ งปฏิบตั ิการได้ รอ้ ยละ ๕๐
ของเกณฑ์มาตรฐาน
๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และจดั ใหม้ ีอาคารฝกึ งานหรือห้องปฏิบตั กิ ารได้ รอ้ ยละ ๗๕
ของเกณฑม์ าตรฐาน
๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และจัดให้มีอาคารฝกึ งานหรือหอ้ งปฏบิ ตั ิการได้ รอ้ ยละ ๙๐
ของเกณฑม์ าตรฐาน
๖.๑.๒ การใชแ้ ละบ�ำรุงรกั ษาอาคารฝึกงานหรอื ห้องปฏบิ ัตกิ าร
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ / สภาพจริง
๓. พิจารณาจากประเดน็ ต่อไปน้ี
๓.๑ มกี ารมอบหมายผูร้ ับผดิ ชอบเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร
๓.๒ มีการใช้ห้องตามแผนและตารางที่กำ� หนด
๓.๓ มกี ารดแู ลรักษาให้อยใู่ นสภาพที่พร้อมใชง้ าน
๓.๔ มกี ารจดั งบประมาณสนบั สนนุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยกำ� หนดในแผนปฏบิ ตั กิ าร
๓.๕ มีการบันทึกสถิติการใช้หอ้ ง
๓.๖ มีการประเมนิ ผลอย่างเป็นระบบ
๓.๗ มกี ารเก็บรวบรวมผลงานเพือ่ การประชาสมั พันธ์
มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 73
การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ
๑ มีแผน ตารางการใช้ และระเบยี บการใช้อาคาร
๒ มีแผน ตารางการใช้ ระเบียบการใชอ้ าคาร และมีการดำ� เนนิ การในเรอื่ งอน่ื ๓ ประเดน็
๓ มีแผน ตารางการใช้ ระเบยี บการใช้อาคาร และมกี ารด�ำเนนิ การในเรอ่ื งอื่น ๔ ประเด็น
๔ มีแผน ตารางการใช้ ระเบียบการใช้อาคาร และมีการด�ำเนนิ การในเร่ืองอื่น ๕ ประเดน็
๕ มแี ผน ตารางการใช้ ระเบยี บการใช้อาคาร และมกี ารด�ำเนินการในเรือ่ งอ่ืน
๖ ประเดน็ ขึน้ ไป
๖.๒ อาคารโรงอาหาร
๖.๒.๑ การจัดอาคารโรงอาหาร
วิธกี ารประเมนิ
๑. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทปี่ รากฏ / สภาพจรงิ
๒. พิจารณาอาคารโรงอาหารในประเดน็ ต่อไปน้ี
๒.๑ จัดใหม้ ีอาคารโรงอาหารเพียงพอตามเกณฑ์มาตรฐาน
๒.๒ จดั ให้มโี ตะ๊ อาหาร – ทน่ี ัง่ อยา่ งเพยี งพอตามเกณฑ์มาตรฐาน
การให้ระดบั คุณภาพ รายการ
๑ มีโรงอาหาร
๒ ได้ระดับคณุ ภาพ ๑ และมกี ารมอบหมายบุคลากรรบั ผิดชอบเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร
๓ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๒ และมคี รภุ ัณฑ์ประจ�ำโรงอาหาร
๔ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีครภุ ณั ฑ์ประจ�ำโรงอาหารเพียงพอ
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมีการใหบ้ รกิ ารอย่างมีคุณภาพ
๖.๒.๒ การใชแ้ ละบำ� รงุ รกั ษาอาคารโรงอาหาร
วิธกี ารประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรที่เกย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ปี รากฏ / สภาพจริง
๓. พิจารณาจากประเด็นตอ่ ไปน้ี
๓.๑ มีการมอบหมายให้มผี รู้ บั ผดิ ชอบเปน็ ลายลักษณ์อักษร
๓.๒ มีการดแู ลรกั ษาใหถ้ ูกสุขลกั ษณะ และอยใู่ นสภาพท่ดี ี
๓.๓ มกี ารจัดงบประมาณสนบั สนุนอยา่ งตอ่ เน่ืองโดยก�ำหนดในแผนปฏิบัตกิ าร
๓.๔ มกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลอย่างเป็นระบบ
๓.๕ มกี ารดูแลรกั ษาครภุ ัณฑ์ใหใ้ ชง้ านไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
74 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ
๑ มีแผนและแนวปฏิบตั ิว่าดว้ ยการใช้โรงอาหาร
๒ มแี ผนและแนวปฏิบตั วิ ่าด้วยการใช้โรงอาหาร และมีการดำ� เนนิ การในเรื่องอนื่
๒ ประเดน็
๓ มีแผนและแนวปฏิบัตวิ ่าด้วยการใช้โรงอาหาร และมีการดำ� เนินการในเรื่องอ่ืน
๓ ประเดน็
๔ มแี ผนและแนวปฏบิ ตั วิ า่ ดว้ ยการใช้โรงอาหาร และมีการดำ� เนินการในเรอ่ื งอน่ื
๔ ประเด็น
๕ มีแผนและแนวปฏบิ ตั ิว่าดว้ ยการใช้โรงอาหาร และมกี ารดำ� เนินการครบทงั้
๕ ประเดน็
๖.๓ อาคารหอประชุม / ห้องประชมุ
๖.๓.๑ การจัดอาคารหอประชมุ / หอ้ งประชมุ
วธิ กี ารประเมิน
๑. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ปี รากฏ / สภาพจริง
๒. พจิ ารณาจากสภาพการจดั การตามเกณฑม์ าตรฐาน
การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มีหอประชุม / ห้องประชุม
๒ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๑ และมีการมอบหมายบุคลากรรับผดิ ชอบเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร
๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และมีหอประชุม พร้อมครภุ ัณฑป์ ระจำ� หอประชมุ เพียงพอ
๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมีครภุ ณั ฑ์ อปุ กรณส์ ำ� หรับอ�ำนวยความสะดวก
๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารจัดการตามสภาพใหบ้ ริการอยา่ งมคี ณุ ภาพ
๖.๓.๒ การใชแ้ ละบำ� รุงรกั ษาอาคารหอประชมุ / หอ้ งประชุม
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทเี่ กี่ยวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ / สภาพจริง
๓. พิจารณาจากประเด็นต่อไปนี้
๓.๑ มกี ารมอบหมายใหม้ ีผรู้ บั ผิดชอบเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร
๓.๒ มีการใชห้ อประชุม / หอ้ งประชมุ ตามแผน และตารางทีก่ �ำหนด
๓.๓ มกี ารดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพท่ีดี
มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 75
๓.๔ มีการจัดงบประมาณอย่างต่อเนอ่ื งโดยก�ำหนดในแผนปฏิบัตกิ าร
๓.๕ มีการบนั ทกึ สถิติในการใชห้ อประชมุ / ห้องประชุม
๓.๖ มกี ารตดิ ตามประเมินผลอยา่ งเป็นระบบ
การใหร้ ะดับคุณภาพ รายการ
๑ มแี ผนและแนวปฏบิ ตั วิ า่ ดว้ ยการใช้หอประชมุ / หอ้ งประชุม
๒ มแี ผนและแนวปฏิบตั ิว่าดว้ ยการใช้หอประชุม / หอ้ งประชมุ และมีการดำ� เนินการ
ในเรื่องอื่น อยา่ งน้อย ๒ ประเด็น
๓ มีแผนและแนวปฏบิ ัตวิ า่ ดว้ ยการใชห้ อประชุม / ห้องประชมุ และมกี ารด�ำเนนิ การ
ในเร่อื งอื่น อย่างน้อย ๓ ประเด็น
๔ มีแผนและแนวปฏบิ ตั วิ า่ ดว้ ยการใช้หอประชุม / ห้องประชมุ และมกี ารด�ำเนนิ การ
ในเรือ่ งอืน่ อย่างน้อย ๔ ประเด็น
๕ มแี ผนและแนวปฏบิ ัตวิ ่าดว้ ยการใช้หอประชุม / หอ้ งประชมุ และมกี ารด�ำเนินการ
ในเรอ่ื งอ่ืน ๕ ประเดน็ ขน้ึ ไป
๖.๔ การบรหิ ารอาคารพลศกึ ษา / หอ้ งพลศึกษา
๖.๔.๑ การจดั อาคารพลศึกษา / ห้องพลศึกษา
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรท่ีเก่ียวข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทป่ี รากฏ / สภาพจริง
การให้ระดับคุณภาพ รายการ
๑ มอี าคารพลศึกษา / หอ้ งพลศกึ ษา
๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมอี ุปกรณ์ เครื่องใช้ประกอบ
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมอี ุปกรณอ์ �ำนวยความสะดวก พร้อมมอบหมายบคุ ลากร
รบั ผดิ ชอบเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมอี ุปกรณ์และเคร่อื งอ�ำนวยความสะดวกครบสมบูรณ์
อยา่ งเหมาะสม
๕ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๔ และมสี ภาพเหมาะสมในการจัดกิจกรรมและการใหบ้ ริการ
76 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
๖.๔.๒ การใช้และดแู ลรกั ษาอุปกรณ์อาคารพลศกึ ษา / ห้องพลศกึ ษา
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานทป่ี รากฏ / สภาพจรงิ
๓. พิจารณาจากประเดน็ ต่อไปน้ี
๓.๑ มกี ารมอบหมายใหม้ ีผรู้ ับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษร
๓.๒ มีการใช้หอประชมุ / หอ้ งประชุมตามแผน และตารางที่กำ� หนด
๓.๓ มีการดแู ลรักษาใหอ้ ยูใ่ นสภาพทด่ี ี
๓.๔ มกี ารจัดงบประมาณอย่างต่อเนื่องโดยกำ� หนดในแผนปฏิบตั ิการ
๓.๕ มกี ารบนั ทกึ สถติ ิในการใช้อาคารพลศกึ ษา / ห้องพลศึกษา
๓.๖ มีการตดิ ตามประเมนิ ผลอย่างเปน็ ระบบ
การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ
๑ มแี ผน ตารางการใช้ และระเบียบการใชอ้ าคาร
๒ ได้ระดับคณุ ภาพ ๑ และมกี ารมอบหมายใหม้ ีผ้รู ับผดิ ชอบเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร
๓ ได้ระดับคณุ ภาพ ๒ มีการใช้อาคารตามแผน และตารางทีก่ �ำหนด
๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมีการดแู ลรักษาให้อยใู่ นสภาพใชง้ านได้
๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารติดตามประเมนิ ผลอย่างเป็นระบบ
๖.๕ อาคารห้องน้�ำ – หอ้ งสว้ ม
๖.๕.๑ การจดั อาคารห้องนำ้� - หอ้ งส้วม
วิธกี ารประเมิน
๑. พิจารณาจากหลักฐานทีป่ รากฏ / สภาพจรงิ
๒. พจิ ารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน
๓. พิจารณาจากการจดั สภาพตามทกี่ �ำหนด
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มหี ้องน�้ำ - หอ้ งสว้ มที่สะอาด ถูกสขุ ลักษณะ
๒ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมกี ารมอบหมายให้มผี ้รู บั ผดิ ชอบเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร
๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และมปี ริมาณเพียงพอตามเกณฑ์มาตรฐาน
๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมกี ารจดั การตามสภาพให้บรกิ ารอยา่ งมคี ุณภาพ
๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และมหี อ้ งน�้ำ - ห้องส้วมที่เออ้ื ตอ่ คนพิการ / ผูส้ ูงอายุ
มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 77
๖.๕.๒ การใช้และดูแลรักษาห้องน้ำ� – หอ้ งส้วม
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรที่เกีย่ วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ / สภาพจรงิ
๓. พิจารณาจากประเด็นตอ่ ไปนี้
๓.๑ มีการมอบหมายใหม้ ีผูร้ บั ผิดชอบเป็นลายลักษณ์อกั ษร
๓.๒ มกี ารใชห้ อประชุม / ห้องประชุมตามแผน และตารางทก่ี �ำหนด
๓.๓ มีการดูแลรักษาให้อยูใ่ นสภาพที่ดี
๓.๔ มีการจัดงบประมาณอย่างตอ่ เนอ่ื งโดยกำ� หนดในแผนปฏบิ ัตกิ าร
๓.๕ มกี ารบันทกึ สถิติในการใช้ห้องนำ�้ – หอ้ งส้วม
๓.๖ มีการติดตามประเมินผลอย่างเปน็ ระบบ
การให้ระดับคุณภาพ รายการ
๑ มีคำ� แนะนำ� การใชห้ ้องน้ำ� - หอ้ งสว้ ม
๒ ได้ระดับคณุ ภาพ ๑ และมกี ารมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร
๓ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ และมีระบบการดแู ลรักษาให้อยใู่ นสภาพใชง้ านได้
๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมแี ผนการบ�ำรงุ รักษาใหส้ ามารถให้บรกิ ารได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารก�ำกบั ควบคมุ ดูแลอยา่ งเปน็ ระบบ
๗. การใหบ้ รกิ ารน้�ำด่ืม
วธิ กี ารประเมิน
๑. พิจารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ / สภาพจริง
๒. พิจารณาจากสภาพตามท่ีก�ำหนด
การใหร้ ะดับคุณภาพ รายการ
๑ มชี ุดอุปกรณ์กรองน�้ำเพอื่ ผลติ น้�ำดม่ื
๒ ได้ระดับคณุ ภาพ ๑ และมีการมอบหมายให้มผี ู้รบั ผดิ ชอบเป็นลายลกั ษณ์อักษร
๓ ได้ระดับคณุ ภาพ ๒ และมีการตรวจสอบถงั บรรจนุ ้ำ� และชดุ อุปกรณ์ผลติ น้ำ� ดม่ื
ใหถ้ กู สขุ ลักษณะ และเพยี งพอต่อความตอ้ งการของผ้บู ริโภค
๔ ได้ระดับคุณภาพ ๓ และมีการตรวจสอบคุณภาพน�้ำตามมาตรฐานการใชง้ าน
๕ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๔ และมีการรณรงคใ์ หค้ วามร้แู ละเห็นคุณคา่ ของการบรโิ ภค
น้ำ� ดื่มทสี่ ะอาด หรอื หากมีการผลิต และการจำ� หน่ายนำ้� ดม่ื ต้องผ่านการรับรอง
คุณภาพตามมาตรฐาน อย.
78 มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
๘. การส่งเสรมิ สุขภาพอนามยั
วธิ ีการประเมนิ
๑. พจิ ารณาจากหลักฐานทปี่ รากฏ / สภาพจริง
๒. พจิ ารณาจากสภาพตามท่กี �ำหนด
การให้ระดบั คุณภาพ รายการ
๑ มแี ผนการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมสุขภาพอนามยั
๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และนกั เรียน บุคลากรไดร้ บั การตรวจสขุ ภาพอนามยั ประจำ� ปี
๓ ได้ระดบั คุณภาพ ๒ และมกี ารประสานการดำ� เนนิ งานในการจัดกิจกรรมสง่ เสริม
สุขภาพอนามัยอย่างตอ่ เน่ืองและสม่�ำเสมอ อกี ท้ังมกี ารสง่ ต่อไปยงั หน่วยงาน
ที่เก่ยี วข้อง
๔ ได้ระดับคณุ ภาพ ๓ และมีการประเมินผลการด�ำเนนิ งานการสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามัย
๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมีการนำ� ผลการประเมินไปปรบั ปรุงกระบวนการ
ส่งเสรมิ สุขภาพอนามยั อย่างตอ่ เนอ่ื ง
๙. การส่อื สารและการประชาสัมพนั ธ์
๙.๑ การจัดการสอื่ สาร
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรท่ีเก่ียวข้อง
๒. พิจารณาปริมาณอุปกรณ์วิธีการและการให้บริการด้านสื่อสารให้พิจารณาจากรายการ
ดังต่อไปนี้
๒.๑ เอกสารแนะนำ� โรงเรียน วารสาร จดหมายข่าว ฯลฯ
๒.๒ ป้ายนิเทศ
๒.๓ การบรกิ ารรับ - สง่ จดหมาย
๒.๔ เครอ่ื งขยายเสยี ง
๒.๕ เสยี งตามสาย
๒.๖ วทิ ยุ
๒.๗ โทรทศั น์
๒.๘ วีดที ัศน์
๒.๙ วทิ ยุสื่อสาร
๒.๑๐ โทรศัพทภ์ ายใน
๒.๑๑ โทรศพั ท์
มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 79
๒.๑๒ โทรสาร
๒.๑๓ จานรบั สัญญาณดาวเทียม
๒.๑๔ การส่ือสารผา่ นระบบ INTERNET
๒.๑๕ การส่อื สารผ่าน WEBSITE ของโรงเรยี น
๒.๑๖ การส่อื สารผ่าน Social Media
๒.๑๗ อุปกรณ์การสอ่ื สารอ่นื ๆ
การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีอปุ กรณ์ / ระบบสอ่ื สารอยา่ งน้อย ๕ รายการ
๒ มีอุปกรณ์ / ระบบสื่อสารอยา่ งนอ้ ย ๗ รายการ
๓ มีอปุ กรณ์ / ระบบสื่อสารอยา่ งนอ้ ย ๙ รายการ
๔ มอี ุปกรณ์ / ระบบส่ือสารอย่างนอ้ ย ๑๒ รายการ
๕ มีอุปกรณ์ / ระบบสื่อสาร ครบทง้ั ๑๕ รายการ
๙.๒ การด�ำเนินงานดา้ นการส่อื สาร และประชาสมั พันธ์
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทีเ่ ก่ียวข้อง
๒. พจิ ารณาจากจากหลักฐานท่ปี รากฏ / สภาพจริง
การใหร้ ะดับคณุ ภาพ รายการ
๑ มีการจดั ระบบส่ือสาร และประชาสมั พนั ธ์ในโรงเรยี น
๒ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมกี ารมอบหมายผรู้ บั ผดิ ชอบเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร
๓ ได้ระดับคุณภาพ ๒ มแี นวปฏบิ ตั ใิ นการให้บริการสือ่ สารและประชาสัมพนั ธ์
๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมีการประเมนิ ผลการจัดการสื่อสารและประชาสมั พนั ธ์
๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมีการปรบั ปรุง พัฒนาการจัดการส่ือสารและประชาสมั พันธ์
80 มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)
๑๐. การสรา้ งและเผยแพรเ่ กยี รติประวตั ขิ องโรงเรยี น
๑๐.๑ การก�ำหนดอุดมการณ์ของโรงเรียน เพื่อสร้างเสริมคุณธรรมลักษณะนิสัย
และความประพฤติ
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรทีเ่ ก่ียวข้อง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานทีป่ รากฏ / สภาพจริง
๓. พิจารณาอุดมการณข์ องโรงเรียนจากปรชั ญา ค�ำขวญั คติธรรม สี เพลง และสญั ลักษณ์
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มีอุดมการณ์ของโรงเรยี นเป็นลายลักษณ์อกั ษร
๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารก�ำหนดยุทธศาสตรต์ ามอุดมการณท์ เี่ ป็นรูปธรรม
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารกำ� หนดวธิ ีการและแนวปฏิบัตเิ พอ่ื ให้เป็นไปตาม
อุดมการณ์นนั้
๔ ได้ระดับคุณภาพ ๓ และมีหลักฐานทีป่ รากฏใหเ้ ห็นผลการปฏิบัตติ ามอุดมการณ์นน้ั
๕ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๔ และมีการเผยแพรใ่ หเ้ ป็นทท่ี ราบโดยท่วั ไป
๑๐.๒ การสร้าง และเผยแพร่เกยี รติประวัติ
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรที่เกย่ี วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทป่ี รากฏ / สภาพจริง
๓. พจิ ารณาจากการสรา้ ง และเผยแพรเ่ กียรติประวัติในดา้ นต่อไปนี้
๓.๑ ดา้ นวิชาการ
๓.๒ ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม
๓.๓ ดา้ นกีฬา
๓.๔ ด้านศลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์
๓.๕ ดา้ นความสมั พนั ธร์ ะหว่างโรงเรยี นกบั ชุมชน
๓.๖ ด้านอ่นื ๆ
มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 81
การใหร้ ะดับคุณภาพ รายการ
๑ มกี ารสร้าง และเผยแพร่เกยี รติประวตั ิ ๑ ด้าน
๒ มีการสรา้ ง และเผยแพรเ่ กียรตปิ ระวัติ ๒ ดา้ น
๓ มกี ารสรา้ ง และเผยแพร่เกียรติประวัติ ๓ ดา้ น
๔ มีการสร้าง และเผยแพรเ่ กยี รตปิ ระวตั ิ ๔ ดา้ น
๕ มีการสรา้ ง และเผยแพร่เกยี รตปิ ระวัติ ๕ ดา้ น ข้นึ ไป
๑๑. การประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานบรกิ ารอาคารสถานทแี่ ละสภาพแวดลอ้ ม
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรที่เกย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทีป่ รากฏ / สภาพจรงิ
การใหร้ ะดับคุณภาพ รายการ
๑ มีการประเมินผลการด�ำเนินงานบริการและอาคารสถานที่ โดยมหี ลักฐาน
ทสี่ ามารถตรวจสอบได้
๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมกี ารประเมินผลในระดบั กลมุ่ งานภายในโรงเรียน
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารประเมนิ ผลในรปู แบบของคณะกรรมการ
ระดับโรงเรยี น
๔ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการวิเคราะหผ์ ลการประเมินผลการดำ� เนนิ งานบรกิ าร
และอาคารสถานท่ี
๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และมีการนำ� ผลการวเิ คราะหไ์ ปใช้ในการปรบั ปรงุ พัฒนา
การดำ� เนนิ งานบรกิ ารและอาคารสถานท่ี
82 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
งานชมุ ชนและภาคเี ครือขา่ ย
มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 83
บทที่ ๘ งานชุมชนและภาคีเครอื ข่าย
กระทรวงศึกษาธิการมีมาตรการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการสร้างภาคีเครือข่าย
ในระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค ระดับชาติ และระดับนานาชาติ เพ่ือการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและ
สนับสนุนการศึกษาทุกระดับชั้นในรูปแบบท่ีหลากหลาย การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ รวมทั้งเปิดโอกาส
ให้ผู้เก่ียวข้องเข้ามาเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Network) ดังน้ันงานชุมชนและภาคีเครือข่าย
จงึ มีความสำ� คัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
งานชุมชน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๕๘ “ให้มกี ารระดมทรัพยากรและการลงทนุ ดา้ นงบประมาณ การเงนิ ท้งั จากรฐั องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา
สถานประกอบการและสถาบันสังคมอน่ื ๆ โดยเปน็ ผูจ้ ดั และมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา”
ภาคีเครือข่าย คือการจัดหรือเช่ือมโยงกลุ่มบุคคล หรือองค์กรท่ีสมัครใจ ท่ีจะแลกเปลี่ยนข่าวสาร
ร่วมกัน เรียนรู้และท�ำกิจกรรมร่วมกัน ด้วยความเป็นอิสระ เท่าเทียมกันภายใต้พื้นฐานของการเคารพในสิทธิ
ของแต่ละคน เชื่อถือ เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน การจัดภาคีเครือข่ายในสถานศึกษามีทั้งในส่วนที่ก�ำหนดไว้ใน
พระราชบัญญัติในระเบียบ และข้อบังคับ และคณะกรรมการท่ีจัดตั้งให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
เช่น คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน คณะกรรมการมูลนิธิ คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง
คณะกรรมการบริหารงานวิชาการ สมาคมผปู้ กครองและครู สมาคมนักเรียนเกา่ หรือสมาคมศษิ ย์เก่า ฯลฯ
ขอบข่ายภารกิจงานชุมชนและภาคีเครือข่าย คือ การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน จัดท�ำข้อมูล
พน้ื ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของชุมชนและภาคเี ครอื ข่าย ให้บรกิ ารแกช่ ุมชน มสี ่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
ประสานและขอรบั การสนับสนุนดา้ นตา่ ง ๆ จากชุมชน รวมท้ังประเมินผลความต้องการและความพึงพอใจ
ของชุมชนเพ่ือสรา้ งเครือข่ายท่ยี ่ังยืนต่อไป
๑. การสร้างความสมั พนั ธร์ ะหว่างโรงเรียนกบั ชุมชนและภาคเี ครอื ขา่ ย
๑.๑ การรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชนและภาคเี ครอื ข่าย
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทป่ี รากฏ / สภาพจริง
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มกี ารศกึ ษา รวบรวมขอ้ มลู พื้นฐาน และสภาพแวดลอ้ มของชุมชนและภาคีเครือข่าย
๒ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๑ และมีการมอบหมายผูร้ บั ผิดชอบเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร
๓ ได้ระดับคณุ ภาพ ๒ และมีการวิเคราะห์ข้อมลู สภาพแวดลอ้ มของชมุ ชนและภาคีเครือข่าย
๔ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการจดั ระบบฐานขอ้ มูล สารสนเทศของชมุ ชนและภาคเี ครือขา่ ย
๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และมีการพัฒนาขอ้ มูลของชมุ ชนและภาคเี ครอื ขา่ ยให้ครบถ้วน
และเป็นปจั จุบัน
84 มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)
๑.๒ การด�ำเนินงานสร้างความสมั พันธร์ ะหวา่ งโรงเรียนกับชมุ ชนและภาคีเครือขา่ ย
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทีป่ รากฏ/สภาพจรงิ
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มกี ารส่งเสรมิ สนบั สนุน การสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรยี นกบั ชุมชนและภาคี
เครอื ข่าย
๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมแี ผนการสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งโรงเรียนกับชมุ ชน
และภาคเี ครอื ขา่ ย
๓ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๒ และมีการให้ชมุ ชน ภาคีเครือขา่ ย และผู้มสี ว่ นเก่ียวข้อง
เขา้ มามีสว่ นร่วมในการวางแผน
๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมีการดำ� เนนิ การตามแผน
๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารประเมนิ ผลการดำ� เนินงานและเผยแพร่ประชาสมั พันธ์
๒. การใหบ้ รกิ ารชุมชน
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรทเี่ กี่ยวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ / สภาพจริง
๓. พจิ ารณาจากการให้บริการชุมชน ในด้านตอ่ ไปน้ี
๓.๑ การให้บรกิ ารด้านวิชาการ
๓.๒ การใหบ้ ริการดา้ นอาคารสถานท่ี
๓.๓ การใหบ้ ริการด้านวสั ดุ อปุ กรณ์ ครุภัณฑ์
๓.๔ การใหบ้ ริการดา้ นบคุ ลากร
๓.๕ การใหบ้ ริการด้านอน่ื ๆ
การใหร้ ะดับคุณภาพ รายการ
๑ มกี ารใหบ้ รกิ ารชมุ ชน อยา่ งน้อย ๑ ดา้ น
๒ มกี ารใหบ้ ริการชุมชน อยา่ งนอ้ ย ๒ ดา้ น
๓ มกี ารใหบ้ รกิ ารชุมชน อยา่ งน้อย ๓ ด้าน
๔ มีการให้บริการชุมชน อยา่ งนอ้ ย ๔ ด้าน
๕ นอกจากระดบั คุณภาพ ๔ แล้ว ชุมชนมคี วามพงึ พอใจในการรบั บริการ
มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 85
๓. การมีส่วนรว่ มในการพฒั นาชุมชน
๓.๑ โรงเรียนจัดกจิ กรรมเพือ่ พัฒนาชุมชน
วิธกี ารประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรที่เกย่ี วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานท่ีปรากฏ / สภาพจริง
การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มกี ารประชาสัมพันธ์ / และบรกิ ารขา่ วสารแกช่ ุมชน
๒ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมกี ารจดั กิจกรรมพัฒนาชมุ ชน
๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และชมุ ชนสนใจเข้ารว่ มกจิ กรรม
๔ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๓ และมีการประเมินผลการจัดกจิ กรรม
๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมีการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั กจิ กรรมเพ่ือพฒั นาชุมชน
๓.๒ โรงเรียนใหค้ วามร่วมมือในการพัฒนาชมุ ชน
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทเี่ กีย่ วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ / สภาพจริง
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ มีการรว่ มมอื กับชมุ ชนในการพัฒนาชมุ ชน
๒ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมหี ลักฐานการมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาชมุ ชน
๓ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๒ และโรงเรยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาชุมชนอยา่ งต่อเนอ่ื ง
๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และปรากฏว่าโรงเรยี นกบั ชุมชนมีความสัมพนั ธก์ ันเป็นอย่างดี
๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมกี ารปรับปรงุ และพัฒนาการให้ความรว่ มมอื
ในการพฒั นาชุมชน
๔. การไดร้ บั การสนับสนนุ จากชุมชน
๔.๑ การจัดตัง้ องค์กร เพอ่ื สนับสนุนโรงเรยี น
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรท่ีเกยี่ วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทีป่ รากฏ / สภาพจริง
86 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ สง่ เสรมิ ให้มกี ารจัดตง้ั องค์กร๑ เพ่ือสนบั สนุนโรงเรยี น
๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมีหลักฐานการจดั ตั้งองคก์ รท่ีมใิ ชน่ ติ บิ ุคคลเพื่อสนบั สนนุ โรงเรยี น
๓ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ และมีองคก์ รทีเ่ ป็นนิตบิ คุ คลเพ่อื สนับสนุนโรงเรียน
๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมีผลงานที่สนบั สนนุ โรงเรยี น
๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และองคก์ รนั้นไดร้ ับความรว่ มมอื สนบั สนุนจากชุมชน
๔.๒ โรงเรยี นได้รบั การสนบั สนนุ จากชมุ ชน
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรที่เกี่ยวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ / สภาพจรงิ
๓. พจิ ารณาการสนับสนุนจากชมุ ชนในดา้ นต่อไปน้ี
๓.๑ ด้านวชิ าการ๒
๓.๒ ดา้ นทรัพยากร๓
๓.๓ ดา้ นบรกิ าร๔
๓.๔ ด้านอนื่ ๆ๕
การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ
๑ ชุมชนให้การสนับสนนุ โรงเรียน
๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และชุมชนสนับสนนุ โรงเรียนโดยมีหลักฐานใหต้ รวจสอบได้
๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และโรงเรียนได้รับการสนบั สนนุ ทส่ี อดคลอ้ งกับความตอ้ งการ
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และโรงเรยี นได้รบั ความรว่ มมอื และการสนบั สนนุ
จากชุมชนอยา่ งหลากหลาย
๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และโรงเรียนได้รับความร่วมมือ และการสนับสนนุ
จากชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
_____________
หมายเหตุ องค์กร๑ หมายถึง กลุ่มบุคคลท่ีท�ำงานอย่างใดอย่างหน่ึงเพ่ือช่วยเหลือโรงเรียน เช่นคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน สมาคม ชมรม มลู นธิ ิ ภาคีเครอื ข่าย ฯลฯ
ดา้ นวิชาการ๒ เชน่ การเปน็ วทิ ยากร ปราชญ์ชาวบา้ น วทิ ยากรท้องถน่ิ ศิลปินพน้ื บ้าน ฯลฯ
ด้านทรัพยากร๓ เช่น การสนับสนุนที่เป็นตัวเงิน วัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์การศึกษา การสร้างตามวัตถุประสงค์
ของโรงเรียน ฯลฯ
ด้านบรกิ าร๔ เชน่ แรงงาน ยานพาหนะ การใหย้ ืมอปุ กรณ์ ฯลฯ
ด้านอ่ืน ๆ๕ เชน่ สถานฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ เป็นแหลง่ เรยี นรู้ จดั อบรมวิชาชพี ฯลฯ
มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 87
๕. การประเมนิ ผลการด�ำเนินงานชุมชนและภาคีเครือขา่ ย
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรทีเ่ กี่ยวข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ / สภาพจริง
การให้ระดับคุณภาพ รายการ
๑ มีการนิเทศ กำ� กับ ติดตาม การด�ำเนินงานชุมชนและภาคเี ครือขา่ ย
๒ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๑ และมกี ารประเมนิ ผลการด�ำเนินงานชุมชนและภาคเี ครอื ขา่ ย
๓ ได้ระดับคุณภาพ ๒ และมรี ่องรอยหลักฐานการประเมินผลการด�ำเนนิ งานชมุ ชน
และภาคเี ครอื ขา่ ย
๔ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๓ และมกี ารวเิ คราะหผ์ ลการประเมินการด�ำเนนิ งานชมุ ชนและ
ภาคีเครือข่าย
๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมีการนำ� ผลการวิเคราะห์ไปใชใ้ นการปรับปรงุ พฒั นา
การดำ� เนนิ งานชมุ ชนและภาคเี ครือข่าย
88 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
ภาคผนวก
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 89
ภาคผนวก ก
เกณฑป์ รมิ าณ
90 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)
มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา
ด้านเกณฑป์ รมิ าณ
ในสภาพการเปล่ียนแปลงของพลวัตปัจจุบันย่ิงทวีความรวดเร็วมากขึ้นเรื่อย ๆ การท�ำงานเชิงรุก
เพอื่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จงึ เปน็ เร่ืองทจี่ ำ� เปน็ และส�ำคญั อยา่ งย่ิง
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ตระหนักในเร่ืองดังกล่าวจึงได้ก�ำหนดแนวทาง
และให้ความส�ำคัญกับการพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานในโรงเรียนมัธยมศึกษา ดังน้ันมาตรฐาน
ด้านเกณฑ์ปริมาณจึงเป็นตัวช้ีวัดประการหนึ่งที่แสดงถึงมาตรฐานการบริหารจัดการงานของโรงเรียน
ในด้านต่าง ๆ ตามโครงสร้างและมุ่งหวังที่จะให้เกณฑ์ด้านปริมาณน้ีเป็นคู่มือในการจัดหาและประเมิน
ความต้องการจ�ำเป็นพ้ืนฐานเพื่อเป็นปัจจัยอันส�ำคัญในการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารการศึกษาให้มี
ประสทิ ธภิ าพ เกดิ ประสทิ ธิผลเปน็ ภาพความสำ� เรจ็ ตามเจตนารมณ์ของการปฏิรปู การศกึ ษาของชาตสิ บื ตอ่ ไป
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านเกณฑ์ปริมาณ ได้ผ่านการพิจารณา
จากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการบริหารการศึกษา และบริหารสถานศึกษาในมิติของการปฏิบัติ
ที่เป็นรูปธรรมภายใต้การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานแบบองค์รวมท่ีโรงเรียนมัธยมศึกษาใช้จริง ปฏิบัติจริง
และเพ่ือประโยชน์ทางการยกระดับคุณภาพตามมาตรฐานปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษาเท่านั้น ไม่มีเจตนา
เช่ือมโยงกับผลประโยชนใ์ นเชงิ ธุรกจิ ใด ๆ
เกณฑ์ปริมาณในเอกสารมาตรฐานคุณภาพการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษาของส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ฉบบั นี้ กำ� หนดรายละเอยี ดเกี่ยวกับปริมาณเปน็ ๓ สว่ น ดงั น้ี
๑. เกณฑ์ปริมาณด้านบคุ ลากรในสถานศึกษา
๑.๑ สายงานบรหิ าร
๑.๒ สายงานการสอน
๑.๓ สายงานสนับสนนุ การสอน
๑.๔ บคุ ลากรทางการศึกษาอื่น ๆ
- นกั การภารโรง
- ยาม / คนงาน / คนสอน
- พนกั งานขบั รถยนต์
๒. เกณฑ์ปรมิ าณด้านอาคารเรียน, อาคารประกอบ และสง่ิ ก่อสรา้ งอน่ื ๆ
๒.๑ อาคารเรียน
- หอ้ งเรยี น
- หอ้ งพเิ ศษ
มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 91
๒.๒ อาคารประกอบ
- โรงอาหาร
- หอประชุม
- บา้ นพกั ครู / บา้ นพกั ภารโรง
- ห้องน�ำ้ / หอ้ งส้วม
๒.๓ สิ่งกอ่ สรา้ งอ่นื ๆ
- ถงั นำ้� ขนาดบรรจุ ๓.๓ ลกู บาศกเ์ มตร และถงั บรรจนุ �ำ้ แบบ ฝ. ๓๓
๓. เกณฑ์ปรมิ าณดา้ นปริมาณวัสดแุ ละครภุ ัณฑ์ท่คี วรมใี นหอ้ งพิเศษและห้องบรกิ ารต่าง ๆ
๓.๑ ห้องพิเศษ
- เคมี
- ชวี วิทยา - ฟสิ ิกส์
- วทิ ยาศาสตร์ท่วั ไป - โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
- คณติ ศาสตร ์ - ภาษาต่างประเทศ
- สุขศกึ ษา และพลศึกษา - ดนตรไี ทย
- ดนตรสี ากล - ทศั นศลิ ป์
- นาฏศิลป ์ - อุตสาหกรรม
- เกษตรกรรม - คหกรรม
- ธุรกจิ และพานชิ ยกรรม - คอมพิวเตอร์
ในการด�ำเนินการ เกณฑ์ปริมาณด้านบุคลากรและเกณฑ์ปริมาณด้านอาคารเรียน,
อาคารประกอบ และส่ิงก่อสร้างอื่น ๆ จะน�ำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการประเมินร่วมกับเกณฑ์คุณภาพ
การปฏิบัติงานอีกทางหนึ่งด้วย ในส่วนเกณฑ์ปริมาณด้านปริมาณวัสดุ และครุภัณฑ์ท่ีควรมีในห้องพิเศษ
และห้องบริการต่าง ๆ ซ่ึงมิได้น�ำไปเป็นข้อมูลประกอบการประเมินร่วมกับเกณฑ์คุณภาพ แต่มุ่งหวัง
ท่ีให้โรงเรียนมัธยมศึกษาได้ใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงพัฒนาตนเอง เพ่ือประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน และกิจกรรมอื่น ๆ รวมทั้งเป็นข้อมูลส�ำหรับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือการช่วยเหลือดูแล
สนบั สนนุ การบริหารงานโรงเรียนใหม้ ีคณุ ภาพทใี่ กล้เคียงกนั และได้มาตรฐานสากล
92 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)
เกณฑป์ ริมาณอาคารเรยี นอาคารประกอบ
และส่ิงกอ่ สร้างอน่ื ๆ
มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 93
94 มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) ตารางเกณฑ์มาตรฐานด้านปรมิ าณ อาคารเรยี น อาคารประกอบ และสง่ิ กอ่ สรา้ งอืน่ ๆ
โรงเรียนขนาดเลก็ (แผนชน้ั เรียน ๑ - ๑๒ หอ้ งเรยี น)
แผนชนั้ เรียน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒
อาคารเรียน
หอ้ งเรยี นทงั้ หมด 6 7 8 9 10 11 13 15 16 18 20 21
ห้องเรยี น 1 - 12
หอ้ งพเิ ศษ 5-9
อาคารประกอบ 1 2
อาคารฝกึ งาน(หน่วย)
โรงอาหาร
}๑
หอประชุม
อาคารอเนกประสงค์หลังคาโค้งไร้โครงสรา้ ง 0
บา้ นพกั ครแู บบแฟลตและหลัง ตามความเหมาะสม/ความต้องการของแตล่ ะโรงเรยี น
บา้ นนกั การภารโรง(แบบหลงั ) ตามความเหมาะสม/ความตอ้ งการของแต่ละโรงเรียน
บ้านนักการภารโรง(แบบแฟลต) ตามความเหมาะสม/ความต้องการของแต่ละโรงเรยี น
หอ้ งน้ำ� ห้องสว้ ม (ท)่ี 6 - 12 ท่ี
สิง่ ก่อสรา้ งอน่ื ๆ
สนามบาสเกตบอล ๑