The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2560

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2560

ห้องปฏบิ ัติการเกษตรกรรม
เกณฑ์ข้นั ตำ่� ท่โี รงเรยี นควรมี ครุภณั ฑ์ วสั ดุ ประจ�ำหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเกษตรกรรม

จำ� นวนทโี่ รงเรียนควรมี (ตามขนาดโรงเรยี น)
ขนาด
ท่ี รายการ หน่วย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นบั เลก็ กลาง ใหญ่ พิเศษ

ครุภัณฑ์ / อุปกรณป์ ระจ�ำหอ้ งเรียน
เคร่อื งฉาย LCD Projector
1 และจอภาพหรอื Smart TV ชุด 1 1 1 1
เครือ่ ง ๑ ๑ ๑ ๑
ไม่ตำ�่ กวา่ 50 นิว้ ตัว ๑ ๑ ๑ ๑
2 เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ชดุ ๑ ๑ ๑ ๑
3 โตะ๊ วางคอมพวิ เตอร์
4 เคร่อื งเสียง
วสั ดุ / อปุ กรณป์ ระกอบ
การเรยี นการสอน ชดุ 20 20 20 20
1 ชดุ เครอ่ื งมือขยายพันธ์พุ ืช ชุด 20 20 20 20
2 ชดุ สาธติ วัดความชนื้ ในดนิ เครื่อง 1 1 1 1
3 เคร่ืองพน่ ยาน้�ำสะพายหลงั แบตเตอร่ี เครือ่ ง 20 20 20 20
4 เคร่ืองทดสอบดนิ หาธาตุ N-P-K เครอ่ื ง 2 2 2 2
5 เครื่องฟักไขส่ าธติ พรอ้ มอุปกรณ์ เครอื่ ง 2 2 2 2
เครื่องฟกั ไข่ ขนาด ๑00 ฟอง ตู้ 2 2 2 2
6 พร้อมอปุ กรณ์ หมอ้ 1 1 1 1
ชดุ 20 20 20 20
7 ตู้เพาะเช้ือพร้อมอุปกรณ์ ชดุ ๒ ๒ ๒ ๒
8 หมอ้ นึ่งอดั ความดนั เคร่อื ง ๒ ๒ ๒ ๒
9 ชดุ เพาะเล้ยี งเน้อื เยือ่ เครอ่ื ง 1 1 1 1
10 ชุดควบคมุ การใหน้ ้�ำแปลงพชื เคร่ือง 1 1 1 1
11 เครอ่ื งปั่นผลไม้ เคร่อื ง 1 1 1 1
12 เครื่องพรวนดนิ อเนกประสงค์ เครื่อง 1 1 1 1
13 เคร่ืองตัดหญา้ สะพานหลัง เตา 1 1 1 1
14 เคร่อื งผสมวสั ดปุ ลกุ อเนกประสงค์ ชดุ 1 1 1 1
15 ตู้เยน็ ขนาดไมน่ ้อยกวา่ 5 คิว ชุด 2 2 2 2
16 เตาเผาถา่ นเพอ่ื ผลิตนำ�้ ส้มควนั ไม้
ชุดเคร่ืองมือซ่อมเครอ่ื งยนต์
17 - เกษตร

18 ชดุ อุปกรณ์ผลติ กอ้ นเชอื้ เหด็

มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 145

เกณฑ์ขน้ั ต่�ำท่ีโรงเรียนควรมี ครุภัณฑ์ วัสดุ ประจ�ำหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเกษตรกรรม (ตอ่ )

จ�ำนวนท่โี รงเรียนควรมี (ตามขนาดโรงเรยี น)
ขนาด
ที่ รายการ หน่วย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
วัสดุ / อุปกรณ์ประกอบ นบั เล็ก กลาง ใหญ่ พิเศษ
การเรียนการสอน
ชุด 5 5 5 5
19 ชดุ อุปกรณผ์ ลิตสารชวี ภาพ เคร่ือง 1 1 1 1
20 เครอื่ งกล่นั สมนุ ไพร เครือ่ ง 1 1 1 1
21 เครือ่ งซีลระบบสญุ ญากาศ ชุด 1 1 1 1
22 ถงั แก๊ส LPG ขนาด 15 kg พร้อมเตา

146 มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

ห้องปฏบิ ตั กิ ารงานไม้
เกณฑ์ขั้นต่ำ� ที่โรงเรียนควรมี ครุภณั ฑ์ วสั ดุ ประจ�ำหอ้ งปฏบิ ตั ิการงานไม้

จ�ำนวนท่โี รงเรียนควรมี (ตามขนาดโรงเรยี น)
ขนาด
ที่ รายการ หนว่ ย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นบั เล็ก กลาง ใหญ่ พเิ ศษ

ครุภัณฑ์ / อปุ กรณ์ประจ�ำหอ้ งเรยี น
เครื่องฉาย LCD Projector
1 และจอภาพหรอื Smart TV เครอ่ื ง 1 1 1 1
เครือ่ ง ๑ ๑ ๑ ๑
ขนาดไม่ต�ำ่ กวา่ 50 น้ิว ตัว ๑ ๑ ๑ ๑
2 เครื่องคอมพวิ เตอร์ ชุด ๑ ๑ ๑ ๑
3 โต๊ะวางคอมพวิ เตอร์
4 ชดุ เครื่องเสยี ง
วสั ดุ / อปุ กรณ์ประกอบ
การเรียนการสอน ตวั ๑ ๑ ๑ ๑
1 สว่านแท่นยนื ตวั ๑ ๑ ๑ ๑
2 กบไฟฟ้ามอื ถอื ตัว ๑ ๑ ๑ ๑
3 เครอื่ งไสเพลาะ ตัว ๑ ๑ ๑ ๑
4 เลื่อยวงเดือน (ตงั้ พืน้ ) ตัว ๑ ๑ ๑ ๑
5 เลือ่ ยวงเดอื น (มือถือ) ตวั 1 1 1 1
6 เล่อื ยฉลุไฟฟ้า ตวั 1 1 1 1
7 เครือ่ งกลึงไม้ ตวั ๑ ๑ ๑ ๑
8 เครอ่ื งขดั กระดาษทราย (ตง้ั พืน้ ) ตัว 1 1 1 1
9 เครอ่ื งขดั กระดาษทราย (มือถือ) ตวั 8 8 8 8
10 โต๊ะฝึกงานช่างไมพ้ ร้อมปากกา ตัว ๑ ๑ ๑ ๑
11 เคร่อื งเจยี รนัยตง้ั พ้ืน ๑ เคร่อื ง ตวั ๑ ๑ ๑ ๑
12 เครอื่ งฝังตะปู ๑ เคร่อื ง เคร่ือง ๑ ๑ ๑ ๑
ปม๊ั ลมไฟฟ้า เครือ่ ง ๑ ๑ ๑ ๑
13 ขนาดไมต่ ำ่� กวา่ ๕๐๐ วัตต์ เคร่อื ง ๑ ๑ ๑ ๑
เครื่อง ๑ ๑ ๑ ๑
14 เคร่ืองเจยี รชนิดมือถอื
15 เครื่องทริมเมอร์ (Trimmer)
16 เคร่ืองเราเตอร์ (Router)

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 147

หอ้ งปฏิบัตกิ ารไฟฟา้
เกณฑข์ ัน้ ต่ำ� ที่โรงเรียนควรมี ครภุ ณั ฑ์ วัสดุ ประจำ� หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารไฟฟา้

จำ� นวนที่โรงเรียนควรมี (ตามขนาดโรงเรยี น)
ขนาด
ที่ รายการ หนว่ ย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นับ เล็ก กลาง ใหญ่ พิเศษ

ครุภัณฑ์ / อปุ กรณ์ประจ�ำหอ้ งเรยี น
เครอื่ งฉาย LCD Projector
1 และจอภาพหรือ Smart TV เครอื่ ง 1 1 1 1
เคร่อื ง ๑ ๑ ๑ ๑
ไมต่ �ำ่ กวา่ 50 นิว้ ตัว ๑ ๑ ๑ ๑
2 เครื่องคอมพิวเตอร์ ชุด ๑ ๑ ๑ ๑
3 โต๊ะวางคอมพิวเตอร์
4 ชุดเครื่องเสียง
วัสดุ / อปุ กรณ์ประกอบ
การเรียนการสอน
สว่านไฟฟ้ามอื ถือ
1 ชนิดปรบั ซ้าย / ขวา ได้ ตวั ๓ ๓ ๓ ๓
ชุด 20 20 20 20
2 ชดุ ฝกึ ไฟฟา้ เบื้องตน้ แผง ๑ ๑ ๑ ๑
3 แผงสาธิตเครือ่ งรับวิทยุ F.M. แผง ๑ ๑ ๑ ๑
4 แผงสาธิตเครอ่ื งรับวทิ ยทุ รานซิสเตอร์ แผง ๑ ๑ ๑ ๑
แผงสาธติ เคร่ืองขยายเสียง ตัว 20 20 20 20
5 ทรานซิสเตอร์ ตวั ๓ ๓ ๓ ๓
ตวั 8 8 8 8
6 เครอ่ื งวัดมัลตมิ เิ ตอร์ ดจิ ติ อล เคร่อื ง ๕ ๕ ๕ ๕
7 เอ.ซี.แคลมป์ออนมเิ ตอร์ เคร่ือง 20 20 20 20
8 โตะ๊ ฝึกงาน เครอ่ื ง 20 20 20 20
9 เครื่องตรวจสอบทรานซสิ เตอร์ เครอื่ ง ๓ ๓ ๓ ๓
มลั ตมิ ิเตอรอ์ า่ นค่าตวั เลขแบบใชง้ าน
10 ท่ัวไป เครอื่ ง ๓ ๓ ๓ ๓
เครื่อง ๓ ๓ ๓ ๓
11 เคร่อื งวัดรอบแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ เครอื่ ง 3 3 3 3
เครื่องก�ำเนดิ สัญญาณความถ่แี สง
12 แบบไซน์

13 เคร่ืองก�ำเนิดสัญญาณหลายรปู คล่ืน
แบบใช้งานทวั่ ไป
14 เครื่องก�ำเนิดสัญญาณแบบ A.M.
เครือ่ งก�ำเนดิ สัญญาณแบบ
15 F.M.สเตริโอ มลั ตเิ พลก็ ซ์

148 มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

เกณฑข์ นั้ ตำ่� ท่ีโรงเรยี นควรมี ครุภณั ฑ์ วสั ดุ ประจ�ำห้องปฏิบตั กิ ารไฟฟา้ (ตอ่ )

จำ� นวนท่โี รงเรียนควรมี (ตามขนาดโรงเรียน)
ขนาด
ที่ รายการ หน่วย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นับ เลก็ กลาง ใหญ่
พเิ ศษ
วสั ดุ / อปุ กรณ์ประกอบ
การเรียนการสอน
ออสซลิ โลสโตปเขียนสองเส้นภาพย่าน
16 ไมต่ ำ่� กวา่ ส DC. ๒๐ เมกะเฮิรตซ์ เครื่อง 4 4 4 4

เครอ่ื งจ่ายไฟกระแสตรงแรงเคลือ่ นตำ่�
17 ชนดิ ควบคมุ ปรบั ได้ ๐ - ๕๐ โวลต์ เครื่อง 8 8 8 8

๓ แอมป์
สว่านแบบต้งั โตะ๊ แบบแท่นส่เี หลี่ยม
18 ขนาด ๑๓ ม.ม. (๑/๒ ) แบบเฟสเดยี ว เครือ่ ง 3 3 3 3

19 เครอ่ื งเจยี รนยั แบบต้ังโตะ๊ เครอื่ ง ๓ ๓ ๓ ๓
ขนาด ๑๕๐ ม.ม. (๖ )
20 เคร่ืองพันคอลย์ อตั โนมัตแิ บบใชม้ ือหมุน เครื่อง 8 8 8 8
21 ปากกาจับโลหะ ขนาด ๔ นวิ้ ตวั 8 8 8 8
22 ชุดเครอ่ื งมือเบ้อื งตน้ ของช่างไฟฟ้า ชุด 8 8 8 8
หวั แร้งไฟฟา้ แบบปนื
23 ขนาด ๑๕๐ วตั ต์ ๒๒๐ โวลต์ อนั 8 8 8 8

24 หัวแร้งไฟฟา้ แบบเสียบแช่ อัน 8 8 8 8
ขนาด ๖๐ วตั ต์

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 149

ห้องปฏบิ ัตกิ ารชา่ งยนต์
เกณฑข์ น้ั ต�ำ่ ท่ีโรงเรยี นควรมี ครภุ ัณฑ์ วัสดุ ประจ�ำหอ้ งปฏบิ ตั ิการช่างยนต์

จ�ำนวนทโี่ รงเรยี นควรมี (ตามขนาดโรงเรยี น)
ขนาด
ท่ี รายการ หนว่ ย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นับ เลก็ กลาง ใหญ่
พิเศษ
ครภุ ณั ฑ์ / อปุ กรณป์ ระจำ� ห้องเรียน
เครือ่ งฉาย LCD Projector
1 และจอภาพหรอื Smart TV เคร่อื ง 1 1 1 1

ไมต่ ำ่� กวา่ 50 นิว้ เครอื่ ง ๑ ๑ ๑ ๑
2 เคร่ืองคอมพิวเตอร์
3 โตะ๊ วางคอมพวิ เตอร์ ตวั ๑ ๑ ๑ ๑
4 ชดุ เครื่องเสยี ง ชุด ๑ ๑ ๑ ๑
วสั ดุ / อุปกรณป์ ระกอบ
การเรยี นการสอน ชุด ๑ ๑ ๑ ๑
1 ชดุ บรกิ ารยางรถยนต์
2 ชดุ เครอ่ื งมอื บรกิ ารล้างอดั ฉีด ชุด ๑ ๑ ๑ ๑
ชดุ เครอ่ื งมอื บริการ
3 เคร่อื งปรับอากาศรถยนต์ ชุด 1 1 1 1

4 ประแจปากตาย ชดุ ๑ ๑ ๑ ๑
5 ประแจแหวน ชดุ ๑ ๑ ๑ ๑
6 ประแจบล็อก ชุด ๑ ๑ ๑ ๑

150 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

ห้องปฏิบตั ิการอาหาร
เกณฑข์ ้นั ตำ่� ทโ่ี รงเรยี นควรมี ครุภัณฑ์ วสั ดุ ประจำ� ห้องปฏิบัตกิ ารอาหาร

จำ� นวนทโ่ี รงเรยี นควรมี (ตามขนาดโรงเรียน)
ขนาด
ท่ี รายการ หนว่ ย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นับ เลก็ กลาง ใหญ่ พิเศษ

ครุภณั ฑ์ / อุปกรณป์ ระจำ� หอ้ งเรียน
1 โต๊ะปฏบิ ัตกิ ารพร้อมเก้าอ้ี ชุด 8 8 8 8
2 เตาแกส๊ : หวั เตา ชุด 8 8 8 8
3 เตาอบไฟฟา้ ขนาดความจุ 42 ลิตร ชดุ 1 1 1 1
4 ตเู้ ยน็ ขนาดไม่ต่�ำกวา่ 7 ควิ บิกฟตุ ตู้ 1 1 1 1
5 เคร่ืองตีไข่ ชดุ 8 8 8 8
6 เคร่อื งป่ันน�้ำผลไม้ ชดุ 8 8 8 8
เตาไมโครเวฟมีความจุ เตา 1 1 1 1
7 ไม่นอ้ ยกว่า ๒๘ ลติ ร

Smart TV จอ LED ขนาดไมต่ ำ่� กว่า เคร่อื ง 1 1 1 1
8 50 นว้ิ หรอื TV สี จอ LCD เครือ่ ง 1 1 1 1
ตวั 1 1 1 1
ขนาดไมต่ ำ่� กว่า ๔๐ นว้ิ ชุด ๑ ๑ ๑ ๑
9 เคร่อื งคอมพิวเตอร์ ถงั 8 8 8 8
10 โต๊ะคอมพวิ เตอร์ ใบ 8 8 8 8
11 เครื่องเสียง ใบ 8 8 8 8
12 ถังแกส๊ ขนาด 15 kg ใบ 8 8 8 8
13 หมอ้ อลูมเิ นียมเบอร์ 28 ใบ 8 8 8 8
14 หมอ้ อลมู ิเนียมเบอร์ 24 ใบ 8 8 8 8
15 กระทะอลมู ิเนยี มเบอร์ ๑๗ cm
16 ถาดอบขนม 40 x 60 แท
17 ถาดอบขนม 10 x 13 x1 cm

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 151

หอ้ งปฏิบตั ิการงานอาชพี และเครอื่ งแตง่ กาย
เกณฑ์ขั้นต�่ำทโี่ รงเรียนควรมี ครุภณั ฑ์ วัสดุ ประจำ� ห้องปฏิบตั กิ ารงานอาชีพและเครอื่ งกาย

จ�ำนวนทีโ่ รงเรยี นควรมี (ตามขนาดโรงเรยี น)
ขนาด
ท่ี รายการ หน่วย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
ครุภัณฑ์ / อุปกรณป์ ระจำ� ห้องเรียน นับ เลก็ กลาง ใหญ่ พิเศษ

1 โต๊ะปฏบิ ัตกิ ารตัดเย็บพร้อมเก้าอ้ี ชดุ 8 8 8 8
2 จกั รอุตสาหกรรม หลัง 1 1 1 1
3 จักเย็บผ้าอตั โนมัติ หลัง 1 1 1 1
4 จกั รทำ� ลวดลาย หลงั 1 1 1 1
5 จักรซกิ แซก (จกั รไฟฟ้า) หลัง 1 1 1 1
6 เครอื่ งถกั นติ ตง้ิ เคร่ือง ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐
7 ต้เู ก็บอุปกรณ์ ตู้ ๑ ๑ ๑ ๑
8 ตู้โชว์ ตวั ๑ ๑ ๑ ๑
9 หนุ่ ลองเส้อื ตัว 2 2 2 2
10 โตะ๊ ตดั ผมพร้อมเก้าอี้นงั่ ตัว ๖ ๖ ๖ ๖
11 เตยี งนอนสระผม ชดุ 3 3 3 3
12 เคร่อื งอบผม ชดุ 2 2 2 2
13 เครือ่ งเปา่ ผม ชุด 6 6 6 6
14 กรรไกรตดั ผม อนั ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
15 แบตเตอรเ์ ลย่ี น อนั 6 6 6 6
16 เคร่อื งรีดกลบี ดอกไม้ ตวั ๖ ๖ ๖ ๖
ชดุ ๑ ๑ ๑ ๑
เคร่ืองฉาย LCD Projector และ เคร่ือง ๑ ๑ ๑ ๑
17 จอภาพ หรือ Smart TV ตวั ๑ ๑ ๑ ๑
ชดุ ๑ ๑ ๑ ๑
ขนาดไม่ต�ำ่ กว่า 50 นิว้
18 เครอื่ งคอมพวิ เตอร์
19 โตะ๊ คอมพิวเตอร์
20 เคร่อื งเสยี ง

152 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

หอ้ งสมดุ
เกณฑ์ข้นั ต�่ำที่โรงเรียนควรมี ครภุ ัณฑ์ วัสดุ ประจำ� หอ้ งสมดุ

จ�ำนวนทโ่ี รงเรียนควรมี (ตามขนาดโรงเรียน)
ขนาด
ที่ รายการ หน่วย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นบั เลก็ กลาง ใหญ่ พิเศษ

ครภุ ัณฑ์ / อุปกรณ์ประจำ� ห้องเรยี น ห้องเรียน ๑ 2 3 4
1 ขนาดห้องสมุด
2 ช้ันวางกระเป๋า ช้ัน ๑ 2 3 4
3 เคาน์เตอรร์ บั – จ่ายหนงั สอื ชดุ ๑ 2 3 4
4 โต๊ะส�ำหรบั บุคลากร ตัว ๑ 2 3 4
5 เก้าอส้ี ำ� หรับบุคลากร ตัว ๑ 2 3 4
6 โต๊ะส�ำหรับอา่ น ตัว ๔ 8 12 16
7 เกา้ อีส้ ำ� หรับนั่งอ่าน ตัว ๑๖ 32 48 64
8 ช้ันหนงั สือ ช้นั 10 20 30 40
9 ชนั้ วารสาร ชั้น 2 4 6 8
10 ชั้นวางหนงั สือพิมพ์ ชั้น 2 4 6 8
11 ช้ันวางซีดีรอม ช้ัน ๑ 2 3 4
12 ต้จู ัดนิทรรศการ (ต้กู ระจก) ตู้ ๑ 2 3 4
13 ตู้เกบ็ เอกสาร ตู้ ๑ 2 3 4
14 ปา้ ยนทิ รรศการ ปา้ ย ๑ 2 3 4
15 รถเข็นหนังสือ คนั 1 2 3 4
16 คอมพวิ เตอรส์ ำ� หรับป้อนข้อมูลหนังสือ เครื่อง ๑ 2 3 4
17 คอมพิวเตอร์บริการยืม - คนื หนงั สอื เครอ่ื ง ๑ 2 3 4
คอมพิวเตอร์สำ� หรับสืบคน้ ข้อมลู
18 หนงั สือ เครื่อง ๑ 2 3 4

19 คอมพิวเตอร์สำ� หรบั ปฏบิ ตั ิงาน เคร่ือง ๑ 2 3 4
บรรณารักษ์
20 คอมพวิ เตอรเ์ พอื่ สืบค้น Internet เครือ่ ง 5 10 15 20
21 เครอื่ งปริน้ ทเ์ อกสาร เคร่อื ง ๑ 2 3 4
เครื่องนบั จำ� นวนผเู้ ข้าใช้บริการ
22 ห้องสมดุ เครอื่ ง ๑ 2 3 4

23 ระบบบริหารงานห้องสมดุ อัตโนมตั ิ ระบบ ๑ 2 3 4

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 153

เกณฑ์ข้ันตำ่� ทโ่ี รงเรยี นควรมี ครภุ ัณฑ์ วัสดุ ประจ�ำหอ้ งสมุด (ต่อ)

จ�ำนวนท่โี รงเรยี นควรมี (ตามขนาดโรงเรียน)
ขนาด
ท่ี รายการ หนว่ ย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นับ เลก็ กลาง ใหญ่
พเิ ศษ
ครุภัณฑ์ / อุปกรณ์ประจ�ำหอ้ งเรียน
24 เคร่ืองเจาะซ่อมหนงั สอื เครอื่ ง ๑ 2 3 4
เคร่อื งฉาย LCD Projector และ
25 จอภาพ หรือ Smart TV เครื่อง 1 2 3 4
ขนาดไม่ต่ำ� กว่า 50 นิว้
26 เครอื่ งขยายเสียงพรอ้ มไมโครโฟน เครอ่ื ง ๑ 2 3 4
27 พดั ลม ตวั 4 8 12 16
28 เคร่อื งปรบั อากาศ ตวั 2 4 6 8
29 เครอื่ งอา่ นบาร์โคต้ ตวั ๑ 2 3 4
30 โต๊ะคอมพวิ เตอร์ ตวั 9 18 27 36
31 โตะ๊ วางโทรทศั น์ ตวั ๑ 2 3 4
32 ระบบวงจรปิดพรอ้ มกล้อง ชดุ 1 2 3 4
วัสดุ / อุปกรณ์ประกอบ
การเรยี นการสอน
1 หนังสอื (๑ คนต่อหนงั สอื ๑๐ เลม่ ) เลม่ ๕,๐๐๐ 10,000 15,000 20,000
วารสารวิชาการ (๑๐ ชื่อ ต่อนกั เรยี น
2 ไม่เกิน ๑๐๐๐ คน) เล่ม ๕ 10 15 20

3 วารสารท่วั ไป ( ๕ ชอ่ื ตอ่ นักเรียน เล่ม ๕ 10 15 20
ไม่เกนิ ๑๐๐๐ คน)
หนงั สือพิมพ์ (๕ ช่อื ต่อนักเรยี น
4 ไมเ่ กิน ๑๐๐๐ คน) ฉบับ ๒ 4 6 8

5 ซดี รี อม (๑ เรอ่ื ง ตอ่ นักเรยี น ๒๐ คน) แผ่น ๒๐ 40 60 80
6 เครอื ข่ายไรส้ าย (Wi-Fi) เครือขา่ ย ๑ 2 3 4

154 มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

หอ้ งโสตทัศนศึกษา
เกณฑข์ ัน้ ตำ่� ทีโ่ รงเรียนควรมี ครุภัณฑ์ วัสดุ ประจำ� ห้องโสตทัศนศึกษา

จ�ำนวนที่โรงเรยี นควรมี (ตามขนาดโรงเรยี น)
ขนาด
ที่ รายการ หนว่ ย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นับ เล็ก กลาง ใหญ่ พิเศษ ตาม
ความ
ครุภณั ฑ์ / อปุ กรณป์ ระจำ� หอ้ งเรียน เครอื่ ง ๑ 2 3 4 เหมาะ
1 เครอื่ งเลน่ ดวี ดี ี สม
2 กลอ้ งถา่ ยภาพดิจิตอล เครอ่ื ง ๑ 2 3 4
3 กล้องถา่ ยภาพดจิ ติ อล SLR เคร่ือง - 123 และตาม
4 กลอ้ งถ่ายภาพวดี ทิ ศั น์ เครือ่ ง ๑ 2 3 4 ความ
กลอ้ งถา่ ยภาพดิจติ อล คณุ ภาพสงู ตอ้ งการ
5 บันทึก SDCARD เครือ่ ง - 123 ในการ
พฒั นา
6 ขาตัง้ กลอ้ ง ขา ๑ 2 3 4 ของ
7 แฟลช ตวั - 123 แตล่ ะ
8 เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ต้ังโต๊ะ เครอื่ ง ๑ 2 3 4 โรงเรยี น
9 เครอื่ งคอมพิวเตอรโ์ นต้ บุ๊ก เครื่อง ๑ 2 3 4
10 สแกนเนอร์ เครอ่ื ง ๑ 2 3 4
11 พรน้ิ เตอรอ์ ิงค์เจต๊ เคร่ือง ๑ 2 3 4
12 พร้ินเตอรเ์ ลเซอร์ขาวด�ำ เคร่อื ง ๑ 2 3 4
13 เคร่ืองฉายภาพ เครือ่ ง ๑ 2 3 4
14 เครอื่ งฉายภาพทึบแสง (Visualizer) เคร่อื ง ๑ 2 3 4
15 จอรบั ภาพขนาด ๑๐๐ น้ิว มอนเิ ตอร์ จอ ๑ 2 3 4
จานรับสัญญาณดาวเทยี มไกลกงั วล
16 และ ETV ชุด ๑ 2 3 4

เครือ่ งบันทกึ สัญญาณโทรทัศน์
(ปัจจบุ นั ทวี ดี ิจิตอล หรอื กลอ่ งรบั ทีวี
17 สามารถรบั บนั ทกึ จากช่อง USB เครอ่ื ง - - - -

ลง Flash Drive ได)้
เครอ่ื งรับโทรทศั น์สี จอ LCD
18 ขนาดไมต่ �่ำกว่า ๔๙ น้วิ เครอื่ ง ๒ 4 6 8
ชดุ ๒ 4 6 8
19 ท่แี ขวนโทรทศั น์ ระบบ ๑ 2 3 4
20 เครอ่ื งขยายเสยี งพร้อมล�ำโพง ตัว ๑ 2 3 4
21 ชุดไมค์ลอย

มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 155

เกณฑ์ขน้ั ต�ำ่ ทโี่ รงเรยี นควรมี ครภุ ัณฑ์ วัสดุ ประจ�ำห้องโสตทศั นศึกษา (ตอ่ )

จ�ำนวนทโ่ี รงเรียนควรมี (ตามขนาดโรงเรยี น)
ขนาด
ที่ รายการ หนว่ ย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นบั เล็ก กลาง ใหญ่ พิเศษ รุ่นตาม
ระยะ
ครภุ ณั ฑ์ / อปุ กรณ์ประจ�ำห้องเรยี น ตู้ ๑ 2 3 4 ห่างจาก
22 ตู้เก็บสอ่ื ตวั ๑ 2 3 4 สถานี
23 โตะ๊ วางคอมพิวเตอร์ ตวั ๑ 2 3 4
24 เก้าอี้ปรบั ระดบั ขา ๒ 4 6 8
25 ขาตงั้ ไมโครโฟน ตงั้ พืน้ ขา ๓ 6 9 12
26 ขาต้ังไมโครโฟนตั้งโต๊ะ ขา ๑ 2 3 4
27 External Hard disk 2 TB ตัว ๒๐ 40 60 80
โตะ๊ ขนาดไมน่ ้อยกวา่ ๔๕ x ๑๒๐ x ชุด ๑ 2 3 4
28 ๘๐ cm ตวั ๑ 2 3 4
เครือ่ ง ค�ำนวณ BTU ตามขนาดห้อง
29 โตะ๊ ยาวหน้าเวทีพร้อมเก้าอ้ี ผนื ตามลกั ษณะหอ้ ง
30 โพเดยี ม ตวั ๓ 6 9 12
เครอื่ งปรบั อากาศและ - ๑234
31 พดั ลมระบายอากาศ

32 ผ้ามา่ นกันแสง
33 ไมโครโฟน
34 สญั ญาณ Internet

35 เสาทวี ีดจิ ิตอล เสา ๑ 2 3 4

36 เกา้ อีป้ ระชุม ตวั ๘๐ 160 240 320

ห้องพยาบาล
156 มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

เกณฑข์ ั้นต�ำ่ ท่โี รงเรยี นควรมี ครุภณั ฑ์ วสั ดุ ประจำ� ห้องพยาบาล

จ�ำนวนทโี่ รงเรียนควรมี (ตามขนาดโรงเรียน)
ขนาด
ที่ รายการ หน่วย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
ครภุ ณั ฑ์ / อุปกรณป์ ระจ�ำห้องเรียน นบั เลก็ กลาง ใหญ่ พเิ ศษ โโตสพเรรใแคคอ้หนมตขงงฒัตววงเเมกแาอรราา่ลกนมาาลงยียีมมะาะราะนนร

1 ตู้ยา ตู้ ๑ ๑ 2 2
2 ตเู้ กบ็ ยาส�ำรอง ตู้ ๑ ๑ 2 2
3 ตูเ้ กบ็ เครือ่ งใช้ ตู้ ๑ ๑ 2 2
4 เตียงนอน เตยี ง 4 4 8 8
5 เคานเ์ ตอรท์ ำ� งาน ตวั 1 1 2 2
6 โต๊ะครูพยาบาล ตวั ๒ ๒ 4 4
7 ตเู้ กบ็ เอกสาร ตู้ ๑ ๑ 2 2
8 อา่ งล้างมือ ชดุ ๑ ๑ 2 2
9 เครือ่ งชง่ั นำ้� หนกั เคร่อื ง ๑ ๑ 2 2
10 ตู้เยน็ ตู้ 1 1 2 2
11 เตยี งท�ำแผล ปฐมพยาบาล เตยี ง - - 1 1
12 กรอบแผน่ ทดสอบสายตา (กระจก) อัน ๑ ๑ 2 2
13 อา่ งล้างแกว้ สแตนเลส ชุด ๑ ๑ 2 2
14 เคร่ืองซกั ผา้ เครื่อง ๑ ๑ 2 2
15 เคร่อื งวดั ส่วนสงู ชุด 1 1 2 2

วัสดุ / อปุ กรณส์ �ำหรบั
การใหบ้ ริการในห้องพยาบาล

1 ทนี่ อน ชิน้ 4 4 8 8

2 ผา้ ปูทีน่ อน ผืน 8 8 16 16

3 ผ้าคลุมเตยี ง ผนื 4 4 8 8

4 ผ้าหม่ ผนื 8 8 16 16

5 หมอน ใบ 4 4 8 8

6 ปลอกหมอน ชิน้ 8 8 16 16

7 ผา้ เชด็ หนา้ โหล ๑ ๑ 2 2
8 กระเป๋าน้�ำรอ้ น ใบ ๑ ๑ 2 2

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 157

เกณฑ์ขน้ั ตำ�่ ที่โรงเรียนควรมี ครุภัณฑ์ วสั ดุ ประจ�ำห้องพยาบาล (ต่อ)

จ�ำนวนท่ีโรงเรียนควรมี (ตามขนาดโรงเรียน)
ขนาด
ที่ รายการ หน่วย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
นบั เลก็ กลาง ใหญ่ พเิ ศษ

วสั ดุ / อุปกรณส์ ำ� หรบั การให้
ใบนรหกิ ้อารงพยาบาล
9 เจลเยน็ อนั 4 4 8 8
10 กระเปา๋ สนาม ใบ 2 2 4 4
11 กระตกิ น�้ำรอ้ น ใบ ๑ ๑ 2 2
12 กระโถน ใบ 2 2 4 4
13 ไฟฉาย อนั ๑ ๑ 2 2
14 อ่างเชด็ ตัว ใบ 2 2 4 4
15 ถังขยะมฝี าปดิ ใบ ๑ ๑ 2 2
16 แกว้ ยานำ้� ใบ 4 4 8 8
17 แก้วลา้ งตา ใบ ๒ ๒ 4 4
18 เครอื่ งวดั ความดนั เครอ่ื ง 1 1 2 2
19 ปากคีบมเี ข้ียว อนั 2 2 4 4
20 ปากคบี ไมม่ ีเขี้ยว อัน 2 2 4 4
21 กรรไกรปลายแหลม อัน 2 2 4 4
22 กรรไกรปลายมน อนั 2 2 4 4
23 ปรอทวัดไข้ อนั 2 2 4 4
24 ทก่ี ดล้ิน อนั 2 2 4 4
25 หมอ้ น่ึงผา้ ก๊อซ, สำ� ลี ใบ 1 1 2 2
26 ถาดสแตนเลส ขนาด ๓ x ๗ นิว้ ใบ ๑ ๑ 2 2
ถาดกลมสแตนเลส ใบ ๑ ๑ 2 2
27 ขนาด ๔ x ๕ นิว้ โหล ๑ ๑ 2 2
โหล 1 1 2 2
28 ผา้ เช็ดตวั
29 ผ้าเช็ดมอื

158 มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

เกณฑ์ข้นั ตำ่� ท่โี รงเรียนควรมี ครุภัณฑ์ วสั ดุ ประจำ� หอ้ งพยาบาล (ตอ่ )

จำ� นวนทโี่ รงเรยี นควรมี (ตามขนาดโรงเรยี น)
ขนาด
ท่ี รายการ หน่วย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
วัสดุ / อปุ กรณ์ส�ำหรบั นับ เลก็ กลาง ใหญ่ พิเศษ
การให้บริการในหอ้ งพยาบาล ตาม
ความ
30 แก้วยาเม็ด ใบ ๒ ๒ 4 4 เหมาะ
สมและ
31 ถาดสแตนเลสขนาด ๕ x ๘ นวิ้ ใบ ๑ ๑ 2 2 ความ
ต้องการ
32 แกว้ น้�ำกระเบอื้ งมหี ูจบั ใบ ๑๒ ๑๒ 24 24 ในการ
พฒั นา
33 แกว้ น้ำ� ใบ ๑๒ ๑๒ 24 24 ของ
โรงเรียน
34 คลู เลอร์สแตนเลส ใบ ๑ ๑ 2 2 แตล่ ะ
โรงเรยี น
35 กระปุกสแตนเลส (กลมเล็ก) ใบ ๑ ๑ 2 2 ควรมีทกุ
ใสส่ ำ� ลีแอลกอฮอล์ โรงเรยี น

36 พลาสเตอร์ห้ามเลอื ด ม้วน ๒ ๒ 4 4
ขนาด ๑ นิว้ ๒ นวิ้
37 ถาดหลุม ๓ หลมุ สแตนเลสทำ� แผล ใบ ๑ ๑ 2 2
38 ถุงมอื Disposible กล่อง ๔ ๔ 8 8
39 หนา้ กากอนามยั กลอ่ ง ๔ ๔ 8 8
40 กรรไกรตดั ปลาสเตอร์ อนั ๑ ๑ 2 2
เฝือกดามนวิ้ (Aluminium sprint)
41 ขนาด ๑ น้ิว อนั ๑ ๑ 2 2

42 สายวดั รอบเอว เส้น ๓ ๓ 6 6
43 Containner ใหญ่ ขนาด ๖ น้วิ อนั ๑ ๑ 2 2
44 Containner เล็ก ขนาด ๔ นว้ิ อนั ๑ ๑ 2 2
45 Forceps ไม่มเี ขยี วยาวขนาด ๖ นวิ้ อัน ๑ ๑ 2 2
46 Forceps ไมม่ เี ขยี วยาวขนาด ๘ น้วิ อนั ๑ ๑ 2 2
47 ขวดแกว้ ใส่นำ้� ยาเลก็ ใบ ๓ ๓ 6 6
48 ขวดแกว้ ใส่น�้ำยากลาง อนั ๓ ๓ 6 6

มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 159

เกณฑ์ขัน้ ตำ�่ ทโ่ี รงเรียนควรมี ครภุ ณั ฑ์ วัสดุ ประจำ� หอ้ งพยาบาล (ตอ่ )

จำ� นวนทีโ่ รงเรยี นควรมี (ตามขนาดโรงเรยี น)
ขนาด
ท่ี รายการ หนว่ ย ขนาด ขนาด ขนาด ใหญ่ หมายเหตุ
วัสดุ / อุปกรณส์ �ำหรับ นับ เลก็ กลาง ใหญ่ พิเศษ
การใหบ้ ริการในหอ้ งพยาบาล

49 Mask พลาสติกขนาดกลาง อัน ๑ ๑ 2 2

50 Mask พลาสตกิ ขนาดใหญ่ อัน ๑ ๑ 2 2

51 หมอ้ อบเคร่อื งมอื อนั 1 1 2 2

52 หูฟงั ชุด 1 1 2 2

53 เครอื่ งวัดน้ำ� ตาลในกระแสเลอื ด ใบ - - 1 1

ตาม
ความ
เหมาะ
สมและ
ความ
ตะแกรงพลาสตกิ ทรงสี่เหล่ียม ตอ้ งการ
54 ขนาด ๑๓ x ๒๐ น้ิว ใบ ๒ ๒ 4 4 ในการ

พัฒนา
ของ
โรงเรยี น
แต่ละ
โรงเรียน

55 ถาดใสแ่ กว้ น้ำ� ขนาดกลาง ใบ ๑ ๑ 2 2

56 ถาดใส่แก้วยาน้ำ� ใบ ๑ ๑ 2 2

57 ถาดใสแ่ ก้วยาเม็ด ใบ ๑ ๑ 2 2

58 กระตกิ น�ำ้ แข็ง ใบ ๑ ๑ 2 2

59 ชามรปู ไตกลาง ใบ ๑ ๑ 2 2

60 ชามรปู ไตเลก็ ใบ ๑ ๑ 2 2

160 มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

ภาคผนวก ข

แนวทางการบำ� รงุ รกั ษา
วัสดุ - อุปกรณ์

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 161

การบ�ำรุงรกั ษาและการดแู ลหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์

การจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีเป็นเรื่องละเอียดอ่อน ท่ีครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ (เคมี ชีววิทยา
และฟิสิกส์) ทุกคนจะต้องระมัดระวังในการใช้ห้องปฏิบัติการ การใช้สารเคมี การใช้วัสดุจ�ำพวกแก้ว
ล้วนแต่จะเกิดอนั ตรายขณะทำ� การทดลองได้ทกุ เวลา การป้องกันและแกไ้ ขอบุ ัตเิ หตทุ ่เี กิดขน้ึ มคี วามจำ� เป็นมาก
ต่อครูผู้สอนที่ต้องเอาใจใส่เพื่อให้การใช้ห้องปฏิบัติการเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการเรียนการสอน
การใช้ห้องปฏิบัติการจงึ ควรค�ำนงึ ถงึ ความปลอดภยั และมขี นั้ ตอนการใช้อยา่ งเปน็ ระบบ ดังนี้
๑. แต่งต้ังเจ้าหน้าท่ีในการใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ เพื่อท�ำหน้าที่ดูแลรักษา การใช้ห้อง
ปฏิบัติการ และอุปกรณ์ เช่น การจองห้อง ให้ยืมอุปกรณ์ ที่ดูแลรักษาอุปกรณ์ จัดท�ำคู่มือประกอบ
การใช้วัสดุ - อุปกรณ์ เป็นตน้
๒. จดั ทำ� ทะเบียนครุภัณฑ์ วัสดุถาวรและวัสดสุ ้นิ เปลอื ง เพ่ือควบคุมการใชแ้ ละการจดั หาให้ครบถ้วน
๓. จัดให้บริการการใช้ห้องปฏิบัติการตามตารางสอน ต้องมีการจองห้องล่วงหน้าเพื่อมิให้
เกิดการซ�้ำซ้อน เจา้ หน้าที่จดั ท�ำสมุดส�ำหรับจองไวเ้ ป็นหลกั ฐานตามแบบฟอร์ม ดังตวั อย่าง

ผูส้ อน วนั เดอื น ปี เวลา ชั้น จำ�นวนนักเรยี น สอื่ ที่ใช้ หมายเหตุ

๔. จัดให้บริการการยืมวัสดุอุปกรณ์จากห้องปฏิบัติการไปใช้นอกห้องเรียน กรณีห้องปฏิบัติการ
ไม่สามารถจองใชไ้ ดต้ ้องไปใชห้ ้องเรยี นอืน่ แทน
๕. จดั ให้บริการการใชห้ ้องปฏิบตั กิ ารนอกชั่วโมงเรยี นแก่นักเรียน เชน่ การท�ำโครงงานวทิ ยาศาสตร์
ท�ำการทดลองซ้�ำในกรณีที่ต้องการตรวจสอบผลการทดลองเดิมในช่ัวโมงเรียน การสืบค้นข้อมูล
จาก Internet หรอื หนังสอื อ้างอิงในห้องปฏบิ ตั กิ าร เปน็ ต้น
๖. จดั ทำ� ป้ายนเิ ทศในหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ ใหข้ อ้ มูลเกย่ี วกบั สารเคมี อันตรายของสารเคมี แนวทาง
การปฏบิ ัติตนเมือ่ เกดิ อบุ ตั เิ หตุ ค�ำแนะนำ� การใชอ้ ปุ กรณก์ ารทดลองที่ถูกตอ้ ง
๗. จัดการบริการให้ค�ำแนะน�ำเก่ียวกับการใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้แก่ DVD การสืบค้นข้อมูล
จากหนงั สือ Internet อุปกรณ์การทดลอง ฯลฯ
๘. ก�ำหนดระเบียบเกยี่ วกับการใช้หอ้ งปฏิบัตกิ ารเคมเี พ่อื เป็นข้อปฏบิ ตั ิสำ� หรบั ผ้ใู ช้ห้องปฏบิ ัติการ
๘.๑ การแตง่ กายที่ถูกต้องกอ่ นเข้าห้องปฏิบตั กิ าร (แว่นตาและชุดปฏบิ ตั ิการ)
๘.๒ ควรใส่ชดุ ปฏิบตั กิ ารทเ่ี หมาะสม รวมทัง้ แวน่ ตานิรภยั
162 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

๘.๓ การปฏิบัติการทดลองโดยผู้ท�ำการทดลองต้องท�ำการทดลองอย่างตั้งใจ ไม่เล่นหรือ
หยอกล้อกัน
๘.๔ เรียนรู้ต�ำแหน่งท่ีเก็บและศึกษาการใช้งานของอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย
เช่น ฝักบวั ลา้ งตัว ก๊อกนำ้� อ่างลา้ งตา ตยู้ า
8.๕ อ่านคูม่ ือปฏิบตั ิการให้เข้าใจกอ่ นลงมือปฏิบตั ิ แต่ถ้าไมเ่ ขา้ ใจขั้นตอนใด หรือยงั ไม่เขา้ ใจ
การใชง้ านของอุปกรณท์ ดลองใด ๆ จะต้องปรกึ ษาครจู นเข้าใจกอ่ นลงมือท�ำการปฏิบตั กิ าร
๘.๖ ปฏิบัติตามคู่มืออย่างเคร่งครัด ในกรณีท่ีต้องการท�ำปฏิบัติการนอกเหนือจากท่ีก�ำหนด
จะต้องไดร้ บั อนุญาตจากครูกอ่ นทกุ คร้งั
๘.๗ ไม่ควรท�ำปฏิบัติการอยู่ในห้องปฏิบัติการเพียงคนเดียว เพราะหากมีอุบัติเหตุเกิดข้ึน
จะไมม่ ผี ู้ให้ความชว่ ยเหลือ
๘.๘ ไม่รับประทานอาหารหรือดื่มเคร่ืองดื่มในห้องปฏิบัติการ และไม่ใช้เคร่ืองแก้ว หรือ
อุปกรณท์ ำ� ปฏิบตั ิการเป็นภาชนะใส่อาหารและเคร่ืองดื่ม
๘.๙ ดูแลความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยบนโต๊ะ ท�ำการปฏิบัติการตลอดเวลา
ใหม้ ีเฉพาะค่มู อื ปฏิบัตกิ ารและอปุ กรณ์จดบนั ทึกอย่บู นโต๊ะท�ำการปฏิบัติการเท่าน้นั
๘.๑๐ อ่านคู่มือการใช้อุปกรณ์ทดลองทุกชนิดก่อนใช้งาน ถ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าต้องให้มือ
แหง้ สนิทกอ่ นใช้ การถอดหรือเสยี บเตา้ เสยี บตอ้ งจับท่เี ต้าเสยี บเท่านนั้ อย่าจับท่ีสายไฟ
๘.1๑ การทดลองที่ใช้ความร้อนจากตะเกียงและแก๊ส จะต้องท�ำด้วยความระมัดระวัง
เป็นพิเศษ ไม่รินของเหลวท่ีติดไฟง่ายใกล้เปลวไฟ ไม่มองลงในภาชนะขณะที่ต้ังไฟ ขณะเผาสารในหลอด
ทดลองตอ้ งหันปากหลอดไปในบริเวณที่ไม่มผี อู้ ืน่ อยู่ และดับตะเกียงหรือแก๊สทันทีเมอื่ เลิกใช้งาน
๘.๑๒ สารเคมีทุกชนิดในห้องปฏิบัติการเป็นอันตราย ไม่สัมผัส ชิม หรือสูดดมสารเคมีใด ๆ
นอกจากจะได้รับค�ำแนะนำ� ท่ีถกู ต้องแล้ว และไมน่ �ำสารเคมีใด ๆ ออกจากหอ้ งปฏิบตั กิ าร
๘.๑๓ ตรวจสอบสลากท่ีปิดขวดสารเคมีทุกครั้งก่อนน�ำมาใช้ รินหรือตักสารออกมาในปริมาณ
ท่ีพอใช้เท่าน้ันไม่เทสารเคมีท่ีเหลือกลับขวดเดิมและไม่เทน�้ำลงในกรด โดยสลากของสารละลาย
ควรประกอบด้วย ชอื่ สาร ความเข้มข้น ผูเ้ ตรียมสารและ วัน/เดอื น/ปีท่เี ตรยี มสาร
๘.๑๔ เมื่อเกิดอุบัติเหตุหรือมีความผิดปกติใด ๆ เกิดขึ้นให้รายงานครูทันที และด�ำเนินการ
ปฐมพยาบาลอยา่ งถูกวธิ ี
๘.๑๕ เมอ่ื ทดลองเสร็จตอ้ งทำ� ความสะอาดเครอื่ งมือและเก็บเขา้ ท่ีเดมิ ทกุ คร้ัง ท�ำความสะอาด
โตะ๊ ทำ� การปฏบิ ัตกิ ารและสอดเกา้ อเ้ี ขา้ ใต้โต๊ะ ลา้ งมือด้วยสบู่และน�้ำกอ่ นออกจากหอ้ งปฏิบัตกิ าร
๙. มีการประเมินผลการใช้ห้องปฏิบัติการ และรายงานผลต่อหัวหน้ากลุ่มสาระวิชา ผู้บริหาร
โรงเรียน เม่อื สนิ้ สดุ การจัดการเรียนการสอนในแตล่ ะภาคเรยี น


มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 163

ข้อควรปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับสารอันตรายหรอื เม่ือสารเคมีหก
เมื่อสารเคมีหกอาจเกิดอันตรายได้หากไม่มีการระมัดระวังให้ดี ทั้งนี้เพราะสารเคมีบางชนิด
เป็นพิษต่อร่างกายเม่ือถูกกับผิวหนังหรือสูดดม บางชนิดติดไฟได้ง่าย ดังน้ันเม่ือสารเคมีหกจะต้องรีบ
เกบ็ กวาดใหเ้ รยี บร้อยทนั ที ขอ้ ควรปฏบิ ัตเิ มอื่ สารเคมีแต่ละชนดิ หก
๑. สารท่ีเป็นของแข็ง (Solid, Dry substances) เม่ือสารเคมีท่ีเป็นของแข็งหกควรใช้
แปรงกวาดรวมกนั ใสใ่ นชอ้ นตักหรือกระดาษแข็งก่อน แลว้ จงึ น�ำไปใส่ในภาชนะ
๒. สารละลายท่ีเป็นกรด (Acid solution) เม่ือกรดหกจะต้องรีบท�ำให้เจือจางด้วยน้�ำก่อน
แล้วโรยโซดาแอซ (Soda ash) หรือโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตหรือเทสารละลายด่างเพ่ือท�ำให้กรด
เป็นกลาง ต่อจากน้นั จงึ ล้างด้วยนำ้� ใหส้ ะอาด

ขอ้ ควรระวัง
เม่ือเทน้�ำลงบนกรดเข้มข้นท่ีหก เช่น กรดก�ำมะถันเข้มข้นจะมีความร้อนเกิดข้ึนมากและ
กรดอาจกระเด็นออกมา จึงควรค่อย ๆ เทน้�ำลงไปมาก ๆ เพื่อให้กรดเจือจางและความร้อนที่เกิดข้ึน
รวมทง้ั การกระเดน็ จะนอ้ ยลง
๓. สารละลายท่ีเป็นด่าง (Alkali solutions) เม่ือสารเคมีท่ีเป็นด่างหกจะต้องเทน�้ำลงไป
เพื่อลดความเข้มข้นของดา่ งแล้วเช็ดให้แห้ง โดยใช้ไมท้ ี่มีปยุ ผูกท่ปี ลายส�ำหรับซบั น�้ำบนพนื้ (Mop) พยายาม
อยา่ ให้กระเดน็ ขณะเช็ด เนื่องจากสารละลายดา่ งจะทำ� ใหพ้ ้ืนล่ืน เม่ือลา้ งด้วยนำ้� หลาย ๆ ครง้ั แล้วยงั ไม่หาย
ควรใชท้ รายโรยบริเวณทด่ี ่างหกแล้วเก็บกวาดทรายออกไป
๔. สารท่ีระเหยง่าย (Volatile sovents) เม่ือสารเคมีท่ีระเหยง่ายหกจะระเหยกลายเป็นไอ
อย่างรวดเร็ว บางชนิดติดไฟได้ง่าย บางชนิดเป็นอันตรายต่อผิวหนังและปอด การท�ำความสะอาด
สารทร่ี ะเหยงา่ ยทำ� ได้ดังนี้
๔.๑ ถา้ สารท่หี กมีปริมาณนอ้ ย ใช้ผ้าขร้ี วิ้ หรือเศษผ้าเชด็ ถูออก
๔.๒ ถ้าสารที่หกนั้นมีปริมาณมาก ท�ำให้แห้งโดยใช้ไม้ท่ีมีปุยผูกท่ีปลายส�ำหรับเช็ดถู เม่ือเช็ด
แลว้ ก็น�ำมาใสถ่ งั เกบ็ และสามารถไปใชไ้ ด้อีกตามต้องการ
๕. สารที่เป็นน้�ำมัน (Oil substances) สารพวกน้ีเช็ดออกได้โดยใช้น�้ำมาก ๆ เมื่อเช็ดออกแล้ว
พ้ืนบรเิ วณทีส่ ารหกจะลืน่ จึงต้องล้างด้วยผงซักฟอกอีกคร้ังหน่งึ เพ่ือใหส้ ารท่ตี ิดอยูอ่ อกไปใหห้ มด
๖. สารปรอท (Mercury) เนื่องจากว่าสารปรอทไม่ว่าจะอยู่ในรูปใดล้วนเป็นอันตรายต่อส่ิงมีชีวิต
ทั้งส้ิน นอกจากน้ียังสามารถซึมผ่านผิวหนังระเหยกลายเป็นไอก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบประสาท เช่น
กล้ามเน้ือเต้น มึนงง ความจ�ำเส่ือม ถ้าได้รับเข้าไปมากๆ อาจท�ำให้แขนขาพิการหรือถึงตายได้
ดังนั้น การทดลองใดที่เกี่ยวข้องกับสารปรอทต้องใช้ความระมัดระวังให้มาก ในกรณีที่สารปรอทหก วิธีการ
ทีถ่ กู ต้องควรปฏิบตั ิดังน้ี

164 มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

๖.๑ ห้ามใช้มือสัมผัสปรอท จ�ำกัดพื้นที่ของปรอทที่หกหล่น โดยใช้ผ้าหรือกระดาษ
หนงั สอื พิมพ์ รวมถึงยา้ ยเด็กออกจากพน้ื ทแ่ี ละด�ำเนนิ การเกบ็ ปรอทใหเ้ ร็วที่สดุ
6.2 ถอดเคร่ืองประดับท่เี ป็นโลหะทกุ ชนดิ
- การเกบ็ เศษแก้ว ใช้คีมคีบเศษแก้ว เกบ็ ใสภ่ าชนะพลาสติกที่มฝี าปิด
- การเก็บปรอท ให้ใช้การ์ดกระดาษค่อย ๆ เขี่ย หยดปรอท หยดเล็ก ๆ รวมกันให้มี
ขนาดใหญ่ แล้วใชก้ ระบอกฉดี ยาดดู เกบ็ หยดปรอท
6.3 โรยผงก�ำมะถัน ผงสังกะสี แคลเซียมซัลไฟด์ โซเดียมไทโอซัลเฟตอย่างใดอย่างหน่ึง
ที่หาได้ หยดลงบนปรอทและบริเวณท่ีปนเปื้อน ทิ้งไว้ 30 นาทีแล้วใช้กระดาษการ์ดแข็ง กวาดปรอทผสม
สารเคมขี า้ งต้นเก็บในพลาสติกทม่ี ีฝาปดิ
6.4 น�ำภาชนะที่ใส่ปรอทท่ีผสมกับผงสารเคมีข้างต้นใส่ในถุงขยะ “ของเสียอันตราย/
มีพิษ”แล้วน�ำสง่ ไปกำ� จัดท้ิงเปน็ ประเภทขยะอนั ตรายต่อไป
๖.5 ถ้าพ้นื ที่สารปรอทหกมรี อยแตกหรือรอยรา้ ว จะมีสารปรอทเขา้ ไปอยู่ขา้ งใน จงึ ไมส่ ามารถ
เก็บปรอทโดยใช้เคร่ืองดูดดังกล่าวได้ ควรปิดรอยแตกหรือรอยร้าวน้ันด้วยขี้ผึ้งทาพ้ืนหนา ๆ
เพ่ือกันการระเหยของปรอทหรืออาจใช้ผงก�ำมะถันพรมลงไป ปรอทจะเปล่ียนเป็นสารประกอบซัลไฟด์
(Sulfide) แลว้ เกบ็ กวาดอีกคร้ังหนึง่
ท่มี า : งานชวี อนามัย(2560).แนวทางการปฏิบัติ กรณีปรอทหกปนเป้ือนในหนว่ ยงาน โรงพยาบาลศริ ริ าช
(ออนไลน์)เข้าถึงเม่ือ 13 กรกฎาคม 2560 จาก http://www.si.mahidol.ac.th
๗. สารไวไฟ (Flammable) หมายถึง สารเคมีท่ีไวไฟลุกติดไฟได้ง่าย สารไวไฟมีท้ังท่ีเป็นของแข็ง
ของเหลวและแก๊ส ของแข็งไวไฟจะมีอันตรายน้อยกว่าของเหลวและแก๊ส ส�ำหรับของเหลวไวไฟน้ัน
จะมสี มบตั ริ ะเหยกลายเป็นไอได้ดี เพราะมีจุดวาบไฟ (Flash point) ตำ�่ (จุดวาบไฟหมายถึงอณุ หภมู ทิ ส่ี าร
สามารถให้ไอระเหยได้เพียงพอท่ีจะผสมกับอากาศแล้วติดไฟหรือระเบิดเมื่อถูกจุด) เม่ือไอติดไฟจะลุกลาม
ไปยังต้นตอได้ สารเคมีประเภทน้ีนับว่าเป็นอันตรายมาก และถ้าหากว่ามีจุดวาบไฟต�่ำกว่าหรือใกล้เคียง
กับอุณหภูมิห้องเท่าใด อันตรายก็จะย่ิงมากขึ้นเท่าน้ัน เช่น โทลูอีน (Toluene) มีจุดวาบไฟที่ ๔ °C
จะลกุ ตดิ ไฟไดง้ ่ายกว่าเมทานอลซงึ่ มีจุดวาบไฟท่ี ๑๖ °C โดยทว่ั ไปแลว้ สารทจี่ ัดว่าไวไฟมากจะมีจุดวาบไฟ
ต่�ำกว่า ๒๒ °C สว่ นสารท่จี ัดวา่ ไวไฟนัน้ จะมจี ุดวาบไฟระหวา่ ง ๒๒ °C – ๖๖ °C
๘. สารกัดกร่อน (Corrosive) หมายถึง สารเคมีท่ีสามารถกัดผิวหนัง หรือท�ำอันตรายต่อเนื้อเยื่อ
ของร่างกายเมื่อสัมผัส ท�ำให้เป็นรอยไหม้หรือคัน สารกัดกร่อนส่วนมากได้แก่สารพวกกรดและด่างต่าง ๆ
โดย เฉพาะกรดและด่างที่มีความเข้มข้นสูง ๆ จะแสดงคุณสมบัตินี้ได้ดี ดังน้ันในการเข้าห้องปฏิบัติการ
จึงไม่ควรให้ร่างกายหรือส่วนหน่ึงส่วนใดของร่างกายสัมผัสกับสารเหล่าน้ี และถ้าหากทราบว่าถูกสารเคมี
จะตอ้ งรีบลา้ งออกด้วยนำ้� ทนั ที

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 165

๙. สารเคมีที่ให้ไอเป็นพิษ หมายถึง สารเคมีท่ีไห้ไอซึ่งสูดดมเข้าไปในร่างกายจนมีปริมาณมากพอ
ที่จะเป็นอันตรายหรือเป็นพิษต่อร่างกายได้ แต่ความรุนแรงและลักษณะของการเกิดพิษนั้นจะแตกต่างกัน
ออกไปตามชนิดไอของสารเคมี และความต้านทานตอ่ สารเคมีของคนคนนนั้

อนั ตรายจากสารเคมี
เนอ่ื งจากสารเคมที กุ ชนิดมอี ันตรายอย่ใู นตวั ของมนั มากน้อยแตกตา่ งกนั ผู้ปฏิบัติการทดลองทางเคมี
ควรทจี่ ะต้องรถู้ ึงอนั ตรายจากสารเคมีเหล่านด้ี ้วย เพ่อื ให้อันตรายท่ีจะเกดิ ข้นึ น้อยลงหรอื ไมม่ ี ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี
วิธีหน่ึงที่จะช่วยลดอันตรายจากสารเคมีได้ก็คือ ถ้าเป็นไปได้พยายามหลีกเล่ียงสารท่ีเป็นพิษ
แต่หากจ�ำเป็นต้องใช้ก็ควรใช้ด้วยความระมัดระวังหรือหาวิธีป้องกันไว้ก่อน เช่น การใช้กรดเข้มข้น
ในการทดลองจะต้องเทกรดเข้มข้นในตู้ควัน หรือถ้าทราบว่าผลของปฏิกิริยาจะเกิดแก๊สพิษก็ต้องท�ำ
ในตู้ควนั เปน็ ตน้
อันตรายจากสารเคมีต่อสุขภาพของคนนั้นเกิดจากสารเคมีเข้าไปในร่างกาย ซ่ึงเข้าได้ ๓ ทาง คือ
ทางปาก ทางจมูก และทางผวิ หนงั เมื่อสารเคมีเขา้ ไปในรา่ งกายอาจท�ำใหเ้ กดิ อันตรายได้มากมายหลายอยา่ ง
ซ่ึงแล้วแต่ชนิดและปริมาณของสารเคมี รวมทั้งระยะเวลาที่ได้สัมผัสหรือสูดดมสารน้ัน ๆ ด้วย สารเคมี
บางชนิดเม่ือเข้าไปในร่างกายอาจถูกท�ำลายได้ บางชนิดอาจถูกขับออกมาทางปัสสาวะ บางชนิดอาจท�ำ
ปฏิกิริยากับสารอ่ืน ๆ ได้สารใหม่เกิดข้ึนและอาจออกฤทธิ์เมื่อมีความเข้มข้นมากพอ ด้วยเหตุน้ี
การใช้สารเคมี จึงจ�ำเป็นต้องศึกษาให้เข้าใจอย่างลึกซ้ึงถึงอันตรายที่อาจจะเกิดข้ึน เพื่อหาทางป้องกัน
ไวก้ อ่ น

การเกดิ อบุ ตั เิ หตแุ ละวธิ กี ารแกไ้ ข
อุบัติเหตุอาจเกิดขึ้นได้ในห้องทดลอง หากผู้ท�ำการทดลองท�ำด้วยความประมาทเลินเล่อ หรือ
ขาดความระมัดระวัง ขาดความเอาใจใส่ในเร่ืองท่ีท�ำการทดลอง ทางหนึ่งท่ีจะช่วยลดอุบัติเหตุก็คือ
ผู้ท�ำการทดลองจะต้องอ่านข้อปฏิบัติในห้องทดลองเสียก่อน และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
การเกิดอบุ ัตเิ หตุ ในหอ้ งทดลองน้นั มีได้หลายกรณี ดงั นี้
๑. ไฟไหม้ เน่ืองจากการปฏิบัติทางเคมีในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์นั้น บางคร้ังจะต้องใช้
ตะเกียงแก๊ส การใช้ตะเกียงแก๊สนั้นหากเปลวไฟอยู่ใกล้กับสารที่ติดไฟง่ายหรือสารท่ีมีจุดวาบไฟต่�ำ โอกาส
ท่ีจะเกิดไฟก็จะมีมากขึ้น จึงต้องท�ำการทดลองด้วยความระมัดระวัง หากเกิดไฟไหม้กรณีเล็กน้อยให้ต้ังสติ
และใช้ผ้าหนา ๆ คลุมบริเวณน้ัน เพื่อจ�ำกัดแก๊สออกซิเจน กรณีไฟไหม้มากให้ใช้ถังดับเพลิง เช่น ลุกไหม้
ตะเกยี งแอลกอฮอลบ์ รเิ วณให้จ�ำกัดแกส๊ ออกซเิ จน
๒. แก้วบาด เนื่องจากอุปกรณ์ในห้องทดลองส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์จ�ำพวกแก้วซึ่งแตกได้ง่าย
อุปกรณ์เหล่าน้ีอาจแตกถูกผู้ท�ำการทดลองจะต้องห้ามเลือดโดยเร็ว โดยการใช้นิ้วมือหรือผ้าที่สะอาด
กดลงบนแผล ถ้าเลือดยังออกให้ยกบาดแผลขึ้นท่ีระดับสูงหรือใช้ผ้ารัดบริเวณท่ีเป็นบาดแผลกับหัวใจ
เมื่อเลอื ดหยุด ใหท้ �ำความสะอาดดว้ ยแอลกอฮอล์ ถ้าไมห่ ยุดให้รีบนำ� ผ้บู าดเจบ็ ส่งแพทย์ทันที

166 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

๓. สารเคมีถูกผิวหนัง สารเคมีทุกชนิดมีอันตรายมากน้อยแตกต่างกัน บางชนิดซึมผ่านผิวหนัง
ท�ำให้เกิดอันตรายได้ ด้วยเหตุน้ีผู้ทดลองไม่ควรให้สารเคมีถูกผิวหนังหรือเสื้อผ้า เมื่อทราบว่าสารเคมี
ถูกผิวหนงั บริเวณใดกต็ ามใหร้ ีบล้างออกดว้ ยน�ำ้ ปรมิ าณมาก ๆ ทันที
๔. สารเคมีกระเด็นเข้าตาหรือหกใส่ตา รวมถึงไอสารเคมี (ให้เปิดน�้ำท่ีอ่างล้างตาทิ้งสักพัก
แล้วรีบล้างตา จนกว่าจะหายระคายเคือง) ขณะท�ำการทดลองเมื่อไอของสารเข้าตาจะต้องรีบล้าง
ด้วยน้�ำสะอาดทันที ถ้าสารเคมีที่เป็นด่างเข้าตาต้องรีบล้างด้วยสารละลายกรดบอริกท่ีเจือจาง ในกรณี
ที่สารละลายกรดเขา้ ตาจะตอ้ งล้างด้วยสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเจือจาง
5. การสูดไอหรือสารพิษ เม่ือสูดไอสารเคมีหรือแก๊สพิษซ่ึงเกิดข้ึนขณะท�ำการทดลอง ปกติ
จะเกิดอาการต่าง ๆ เช่น วงิ เวียน คล่นื ไส้ หายใจขัด ปวดศรีษะ จะตอ้ งน�ำผ้ทู ถี่ ูกไอพิษออกจากบริเวณนน้ั ไป
ยังบรเิ วณที่มอี ากาศบริสุทธิ์ ในกรณที ี่เปน็ ลมหมดสตจิ ะต้องรีบนำ� ส่งแพทย์
6. การกลืนกินสารเคมี เน่ืองจากผู้ทดลองใช้อุปกรณ์ไม่ถูกต้อง เช่น ใช้ปากดูดสารเคมี แล้วอาจ
เข้าปากและก่อให้เกิดอันตรายให้รีบล้างปากให้สะอาด หากกลืนลงท้องให้รีบน�ำส่งโรงพยาบาลพร้อมขวด
สารเคมนี น้ั ๆ
การจัดรูปแบบหอ้ งปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์
รายการส่วนประกอบในห้องปฏิบัตกิ าร

แผนผังแสดงการจดั หอ้ งปฏิบัติการ
๑. โต๊ะสาธติ
๒. โตะ๊ ท�ำปฏิบตั กิ าร
๓. ชนั้ วางของ
๔. Projector, Visualizer, เคร่ืองฉายภาพนง่ิ
คอมพวิ เตอร์และสอ่ื เทคโนโลยี
๕. ทีเ่ ก็บสงิ่ ของ แฟม้ และเอกสาร
๖. ทีเ่ ก็บวัสดุ อปุ กรณ์
๗. บรเิ วณท่ีใชส้ รุปและสาธิต
๘. บอร์ดกระดานด�ำ
๙. โต๊ะเอนกประสงค์

มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 167

การจัดสภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศของห้อง
สภาพแวดล้อมและบรรยากาศของห้องปฏิบัติการเกี่ยวข้องโดยตรงกับความปลอดภัย และสุขภาพ
ของผู้ใช้ห้องปฏิบตั กิ าร ขอ้ แนะน�ำการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศ เปน็ ดงั น้ี
๑. การระบายอากาศ

ห้องปฏิบัติการต้องมีอากาศบริสุทธิ์ เช่นเดียวกับอากาศภายนอก ผู้ใช้ห้องปฏิบัติการควร
ให้ความส�ำคญั ต่อการระบายอากาศเป็นอย่างมาก ข้อแนะน�ำเพอ่ื การจดั ระบบระบายอากาศในหอ้ งปฏิบัติ
การเปน็ ดงั น้ี

1.๑ อากาศในห้องปฏิบัติการต้องถ่ายเทได้ดี มีการระบายอากาศผ่านทางประตูหน้าต่าง
หรือช่องระบายอากาศ โดยออกแบบประตูและหน้าต่างหรือช่องระบายอากาศให้อยู่ในทิศทางท่ีเหมาะสม
และมีจำ� นวนเพยี งพอ

1.๒ ติดตั้งพดั ลมระบายอากาศเพ่อื ชว่ ยระบายอากาศให้หมุนเวียนไดด้ ยี งิ่ ข้ึน
1.๓ ติดต้ังเครื่องดูดอากาศเพื่อช่วยระบายอากาศ ไอ แก๊สหรือความร้อน ออกจาก
หอ้ งปฏิบัตกิ าร เพอื่ กำ� จัดสารไมใ่ หต้ กคา้ งอยู่ในหอ้ งและชว่ ยใหอ้ ากาศบรสิ ุทธเ์ิ ข้ามาแทนทไ่ี ด้รวดเร็วข้นึ
๒. ความรอ้ น
ความร้อนท่ีเกิดข้ึนในห้องปฏิบัติการ จากเชื้อเพลิงให้ความร้อน จากการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า
บางชนดิ จดั เปน็ สาเหตุสำ� คญั ที่ท�ำให้เกิดอุบตั ิภัยหรือเกิดไฟไหม้ได้ การดูแลและป้องกันท่ีดีจะชว่ ยใหก้ ารใช้
ห้องปฏิบัติการมีความปลอดภัย และสร้างความมั่นใจในการท�ำปฏิบัติการ ข้อแนะน�ำเพ่ือการจัดระบบ
ปอ้ งกันความรอ้ น เปน็ ดงั นี ้
๒.๑ ห้องปฏิบัติการทุกห้องต้องมีมาตรฐานการก่อสร้างที่ค�ำนึงถึงความปลอดภัย
โดยเฉพาะอย่างย่ิงต้องไม่อยู่ในอาคารท่ีอับทึบ ร้อนอบอ้าว หรือมีอาคารอ่ืนก้ันทิศทางลม ใช้วัสดุก่อสร้าง
ท่ไี ม่เก็บความร้อน มที างเดนิ เข้าออก และประตปู ิด เปดิ ท่ใี ช้ได้สะดวก
๒.๒ แหล่งพลังงานไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดท่ีก่อให้เกิดพลังงานความร้อน
เม่ือใช้งานแล้ว จะต้องมีระบบการจัดเก็บและการดูแลรักษาที่ดี มีบริเวณท่ีจัดไว้ส�ำหรับอุปกรณ์แต่ละชนิด
เพ่ือใหส้ ามารถระบายความรอ้ นไดแ้ ละไม่ให้มคี วามรอ้ นสะสมอย่จู นท�ำใหเ้ กดิ ไฟไหม้ได้
๒.๓ จัดระบบป้องกันไฟไหม้ โดยให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงอยู่ประจ�ำทุกห้องปฏิบัติการและ
ตอ้ งตรวจสอบสภาพการใช้งานของอุปกรณ์ดับเพลงิ เหล่านัน้ ให้มีประสทิ ธิภาพอย่เู สมอ
๓. ความสวา่ ง
ความสว่างมีความจ�ำเป็นอย่างมากส�ำหรับห้องปฏิบัติการ การท�ำการทดลองในบริเวณที่มี
ความสว่างอย่างเพียงพอ จะช่วยให้มองเห็นผลการทดลองได้ชัดเจนและช่วยให้ไม่เสียสายตา ข้อแนะน�ำ
เกี่ยวกับความสว่างของหอ้ งปฏิบัติการ มดี ังน้ี
๓.๑ ความสว่างจากภายนอกต้องสามารถส่องผ่านเข้าไปในห้องปฏิบัติการได้อย่าง
เหมาะสม และท่ัวถงึ

168 มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

๓.๒ ในกรณีที่มีความสว่างไม่เพียงพอ ต้องติดต้ังหลอดไฟฟ้าในบริเวณท่ีต้องการให้มี
ความสวา่ งเพมิ่ ข้ึนอยา่ งเพียงพอ

๓.๓ ควบคุมความสว่างของห้องโดยใช้ม่านก้ันแสงที่ส่องเข้ามามากเกินไป หรือใช้ม่าน
ช่วยปรับแสงท่ผี ่านเขา้ มาในช่วงเวลาต่าง ๆ ของวนั ได้อยา่ งเหมาะสม ทัง้ นเ้ี พ่ือให้สามารถใช้ห้องปฏบิ ตั ิการ
ไดต้ ลอดทัง้ วนั

๓.๔ วัสดุที่ใช้ท�ำครุภัณฑ์และตกแต่งในห้องปฏิบัติการ รวมท้ังพื้นของโต๊ะท�ำปฏิบัติการ
ต้องมีลักษณะไม่สะท้อนแสงหรือเป็นมันวาว ไม่ควรใช้สีอ่อน เช่น สีขาว ซ่ึงสะท้อนแสงได้ดีจนท�ำให้ห้อง
ดสู วา่ งมากเกนิ ไป หรอื ใชส้ เี ขม้ เชน่ สดี �ำ ซึ่งดูดกลนื แสงไดม้ ากจนทำ� ใหห้ อ้ งดูมดื ทบึ

การจดั ระบบไฟฟ้าในหอ้ งปฏิบตั ิการ
ระบบไฟฟ้ามีความส�ำคัญมากส�ำหรับห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ สถานศึกษาจึงควรจัดให้มี
ระบบไฟฟ้าท่ีใช้ได้อย่างปลอดภัย โดยต่อระบบไฟฟ้าจากสายเมนใหญ่เข้าสู่ห้องปฏิบัติการโดยตรงหรือ
ผ่านแผงควบคุมวงจรไฟฟ้าที่แยกออกจากส่วนอื่นของอาคาร การวางระบบไฟฟ้าในห้องปฏิบัติการ
ต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัย โดยใช้สายไฟที่มีขนาดใหญ่เพียงพอกับก�ำลังไฟฟ้าท่ีใช้สายไฟต้องไม่เก่า
ช�ำรดุ หรอื มรี อยแตกร้าว สายท่ตี ่อขวั้ ต้องแข็งแรง ไมห่ ลุดง่าย ขอ้ แนะนำ� ในการจัดระบบไฟฟ้า มดี งั น้ี
๑. ระบบควบคุมการใช้ไฟฟา้ ของแตล่ ะห้องปฏิบัตกิ ารควรแยกจากกนั เพื่อใหส้ ะดวกในการตรวจสอบ
๒. ระบบควบคุมการใช้กระแสไฟฟ้าภายในห้องปฏิบัติการควรแยก เป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนให้
แสงสวา่ ง และสว่ นท่ีใชก้ ับอปุ กรณไ์ ฟฟ้า เพ่อื สะดวกในการตรวจสอบและซ่อมบ�ำรงุ
๓. มิเตอร์ไฟฟ้าของสถานศึกษา จะต้องรับก�ำลังไฟฟ้าได้สูงกว่าก�ำลังไฟฟ้ารวมที่จะต้องใช้ในห้อง
ปฏิบัติการ มีการเดินสายไฟตามขนาดมาตรฐานของการไฟฟา้ และตอ้ งติดต้งั สายดินไว้ด้วย
๔. เต้ารับไฟฟ้าที่ใช้ควรเป็นแบบควบคุมสองช้ันโดยมีสวิตช์เปิด-ปิด เฉพาะท่ีควรติดตั้งเต้ารับไว้
ในระดับเดียวกับผนังห้อง และอยู่ในบริเวณท่ีห่างจากอ่างน�้ำมากพอสมควร พร้อมท้ังมีสัญลักษณ์
แสดงต�ำแหน่งกำ� กับที่แผงควบคุม

ขอ้ ปฏบิ ัติเกย่ี วกับการใชห้ ้องปฏบิ ัตกิ าร
การก�ำหนดข้อควรปฏิบัติในการใช้ห้องปฏิบัติการ จัดเป็นแนวทางการบริหารจัดการอย่างหน่ึง
ที่ผ้ทู �ำปฏิบัตกิ ารทกุ คนต้องปฏิบัติตาม เพ่อื ไมใ่ หเ้ กิดความผดิ พลาดท่อี าจก่อใหเ้ กิดอนั ตราย หรอื มีอบุ ัติเหตุ
ที่ไม่คาดคดิ ขน้ึ ได้ ขอ้ ปฏิบัตสิ �ำหรบั ผู้ใช้ห้องปฏบิ ตั กิ าร เปน็ ดังนี้
๑. ระมัดระวังในการทำ� ปฏิบตั ิการ และทำ� ปฏบิ ัตกิ ารอยา่ งต้งั ใจ ไม่เลน่ หยอกลอ้ กัน
๒. เรียนรู้ต�ำแหน่งที่เก็บและศึกษาการใช้งานของอุปกรณ์ท่ีเก่ียวกับความปลอดภัย เช่น ตู้ยา
กอ๊ กน�้ำ เคร่ืองดับเพลิง ที่กดสญั ญาณไฟไหม้ (ถา้ มี) และทางออกฉกุ เฉนิ

มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 169

๓. อ่านคู่มือปฏิบัติการให้เข้าใจก่อนลงมือปฏิบัติ แต่ถ้าไม่เข้าใจข้ันตอนใด หรือยังไม่เข้าใจ
การใชง้ าน ของอุปกรณ์ทดลองใด ๆ ก็จะตอ้ งปรกึ ษาครูจนเข้าใจกอ่ นลงมอื ทำ� ปฏบิ ตั กิ าร
๔. ปฏิบัติตามคู่มืออย่างเคร่งครัด ในกรณีที่ต้องการท�ำปฏิบัติการนอกเหนือจากท่ีก�ำหนด
จะตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากครูกอ่ นทุกครง้ั
๕. ไม่ควรท�ำปฏิบัติการอยู่ในห้องปฏิบัติการเพียงคนเดียว เพราะถ้ามีอุบัติเหตุเกิดขึ้นก็จะไม่มี
ผใู้ หค้ วามชว่ ยเหลอื
๖. ไม่รับประทานอาหารหรือด่ืมเคร่ืองดื่มในห้องปฏิบัติการ และไม่ใช้เครื่องแก้วหรืออุปกรณ์
ท�ำปฏิบัติการเป็นภาชนะใสอ่ าหารและเคร่ืองดม่ื
๗. ดูแลความสะอาดและความเป็นระเบียบบนโต๊ะท�ำปฏิบัติการตลอดเวลา ให้มีเฉพาะคู่มือ
ปฏิบัติการและอุปกรณ์จดบันทึกเท่าน้ันอยู่บนโต๊ะท�ำปฏิบัติการ ส่วนกระเป๋าหนังสือและเคร่ืองใช้อื่น ๆ
ต้องเก็บไวใ้ นบริเวณที่จดั ไว้ให้
๘. อ่านคู่มือการใช้อุปกรณ์ทดลองทุกชนิดก่อนใช้งาน ถ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าจะต้องให้มือแห้งสนิท
กอ่ นใช้ การถอดหรอื เสียบเต้าเสียบต้องจับทเ่ี ต้าเสียบเทา่ นน้ั อย่าจับทีส่ ายไฟ
๙. เมือ่ เกิดอบุ ตั ิเหตหุ รอื มีความผดิ ปกติใด ๆ เกดิ ขน้ึ ใหร้ ายงานครทู นั ทแี ละดำ� เนนิ การปฐมพยาบาล
อยา่ งถูกวธิ ีด้วย
๑๐. เมื่อท�ำการทดลองเสร็จแล้ว ต้องท�ำความสะอาดเคร่ืองมือและเก็บเข้าที่เดิมทุกคร้ัง
ทำ� ความ สะอาดโตะ๊ ทำ� ปฏบิ ัติการและสอดเกา้ อี้เข้าใต้โต๊ะ ล้างมอื ด้วยสบูแ่ ละน้�ำกอ่ นออกจากหอ้ งปฏิบัตกิ าร

การบ�ำรุงรกั ษาและการซ่อมแซม
การบ�ำรุงรักษาห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์อย่างสม�่ำเสมอ จะช่วยป้องกันอันตรายและอุบัติเหตุ
ที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากการท�ำปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการแล้ว ยังช่วยยืดอายุการใช้งานของวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ อกี ดว้ ย เมื่อตรวจสอบพบสิง่ ใดชำ� รดุ เสยี หายจะตอ้ งรบี ด�ำเนนิ การซอ่ มแซมทันที ในหอ้ งปฏิบตั ิการ
วิทยาศาสตร์จึงควรมีเคร่ืองมือพ้ืนฐานและอะไหล่ท่ีจ�ำเป็นต้องใช้ในการตรวจสอบและซ่อมแซม ขั้นต้น
ไว้ ด้วย เช่น หัวแร้งบัดกรี ไขควง ตลับเมตร ฉาก คีมตัดสายไฟ สวิตซ์ มัลติมิเตอร์ฟิวส์ไฟฟ้า ปล๊ักไฟฟ้า
สว่ นต่าง ๆ ในหอ้ งปฏิบตั ิการวิทยาศาสตรท์ จ่ี �ำเป็นต้องบำ� รุงรักษาอย่างสม่�ำเสมอ ประกอบดว้ ย
๑. ระบบแสงสว่าง การระบายอากาศ และระบบไฟฟ้า โดยทั่วไปช่องลมในห้องปฏิบัติการ
วทิ ยาศาสตร์ นยิ มทำ� ด้วยกระจก ถ้าทิศทางของตวั อาคาร ไม่เหมาะสมก็จะมีแสงผา่ นเข้ามามาก โดยเฉพาะ
ในช่วงตอนบา่ ยที่ท�ำใหอ้ ากาศในหอ้ งรอ้ นจดั จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งใชม้ า่ นกั้นทางเดนิ ของแสงด้วย สว่ นประตูหนา้ ตา่ ง
ทเ่ี ปดิ ได้ไมส่ ะดวกกอ็ าจมีผลตอ่ การระบายอากาศและแสงสว่างในหอ้ งได้ เมือ่ พบข้อบกพร่องเชน่ น้กี ็จะต้อง
ซอ่ มแซมแก้ไขทันที บางครง้ั อาจพบว่าอุปกรณไ์ ฟฟา้ ในห้องปฏบิ ัติการบางชนดิ ไมส่ ามารถใช้งานได้ หรอื พัดลม
ดูดอากาศไม่ท�ำงาน จะต้องตรวจสอบว่ามีสาเหตุมาจากอะไรแล้วด�ำเนินการเปลี่ยนแปลงหรือซ่อมแซมทันที
ควรทำ� ความสะอาดฝนุ่ หรอื หยากไย่ ทตี่ ดิ อยบู่ นหลอดไฟฟา้ ซง่ึ เปน็ สาเหตใุ หแ้ สงสวา่ งทไี่ ดจ้ ากหลอดไฟฟา้ ลดลง

170 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

๒. ครุภัณฑ์ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ครุภัณฑ์ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย
โต๊ะสาธิต เก้าอ้ีและโต๊ะ ท�ำปฏิบัติการตู้ และชั้นเก็บวัสดุอุปกรณ์และสารเคมี ป้ายนิเทศและตู้ควัน
ส่ิงเหล่าน้ีต้องได้รับการตรวจสอบดูแลอยู่เสมอ ควรซ่อมแซมทันทีเมื่อพบส่ิงใดช�ำรุดเสียหาย ควรขัดและ
เคลือบพื้นผิวโต๊ะ ท�ำปฏิบัติการท่ีท�ำด้วยไม้ใหม่ทุกปี ถ้าเป็นพื้นโต๊ะท�ำปฏิบัติการเคมีควรทาด้วยอีพอกซี
ซึง่ เปน็ สารทนนำ้� และกรด เก้าอห้ี รอื โตะ๊ ทีข่ าท�ำดว้ ยเหล็ก และยดึ กบั ไมด้ ว้ ยสกรหู รือนอ็ ต ควรมีการตรวจสอบ
และขนั สกรหู รือน็อตใหแ้ นน่ อยู่เสมอ ควรทำ� ความสะอาดตู้ ช้ันเกบ็ วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละสารเคมี รวมทง้ั ช่องลม
อย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ คร้ัง ควรท�ำความสะอาดพื้น ประตู หน้าต่างของห้องปฏิบัติการอยู่เป็นประจ�ำ
และตรวจสอบเคร่ืองดบั เพลิงในหอ้ งปฏบิ ัติการใหอ้ ยใู่ นสภาพใชง้ านไดเ้ สมอ

การจัดการและการจดั เกบ็ วสั ดุอุปกรณ์
วัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ มีความส�ำคัญต่อการท�ำปฏิบัติการเป็นอย่างยิ่ง วัสดุ
อุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีวิธีการจัดเก็บท่ีแตกต่างกัน สถานศึกษาจึงควรมีการจัดการและการจัดเก็บที่ถูกต้อง
และมีประสิทธิภาพ เพ่ือป้องกันอันตรายและความเสียหายท่ีจะเกิดข้ึน ข้อเสนอแนะวิธีการจัดการ
และการจดั เกบ็ วัสดุอปุ กรณ์ เปน็ ดงั นี้
๑. วัสดุอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการปฏบิ ัติการ

วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการปฏิบัติการวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการท�ำปฏิบัติการเป็นปัจจัยส�ำคัญ
ต่อการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ และเป็นแหลง่ ความรขู้ องผู้เรียน ผทู้ เ่ี กี่ยวขอ้ งในการเรยี นการสอน
วิทยาศาสตร์ทุกคนต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบ จัดการและดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ดงั นี้

๑.๑ ก�ำหนดแผนงบประมาณการจัดซ้ือ การจัดเก็บและจัดท�ำระเบียนวัสดุอุปกรณ์
ซอ่ มแซมอุปกรณ์เคร่ืองมอื เคร่ืองใช้ในการทำ� ปฏิบตั กิ ารทชี่ ำ� รดุ เสียหายใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ใี ชง้ านได้

๑.๒ เลือกวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเคร่ืองใช้ที่มีคุณภาพ ค�ำนึงถึงการใช้ประโยชน์
ท่ีคุม้ ค่าและความทนั สมยั ด้วย

๑.๓ จัดทำ� ค่มู อื ประกอบการใช้วัสดุอปุ กรณ์ เคร่ืองมือ เคร่อื งใช้ โดยมรี ายละเอียดเกย่ี วกบั
วิธีการใชก้ ารบ�ำรุงรักษาและข้อควรระวัง

๑.๔ จัดท�ำป้ายท่ีอ่านง่ายและชัดเจน บอกชื่อของวัสดุอุปกรณ์ เครื่องใช้และถ้าเป็นไปได้
ควรแสดงภาพประกอบการอธิบายตา่ ง ๆ ไว้ดว้ ย

๑.๕ จัดจ�ำแนกอุปกรณ์เคร่ืองมือเครื่องใช้ที่ช�ำรุด แตกหัก และควรด�ำเนินการซ่อมแซม
ทนั ที

๑.๖ จั ด เ ก็ บ อุ ป ก ร ณ ์ เ ค ร่ื อ ง มื อ เ ค รื่ อ ง ใช ้ ใ น ท่ี ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ ห ยิ บ ใช ้ ส ะ ด ว ก ช้ั น แ ล ะ
ตเู้ ก็บอุปกรณเ์ คร่ืองมอื เครื่องใชต้ ้องไมส่ ูงเกินกวา่ ระดบั สายตา และตดิ ปา้ ยชแ้ี จงที่มองเหน็ ได้ชดั เจน

๑.๗ มีระเบียนควบคุมท่ีตรวจสอบได้ มีระบบการจัดเก็บท่ีเป็นระเบียบและมีระบบ
การใหย้ มื เพ่ือปอ้ งกันการสูญหาย

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 171

๒. เครือ่ งวดั ทางไฟฟ้า
เครื่องวัดทางไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์พื้นฐานท่ีใช้ในห้องปฏิบัติการของทุกสถานศึกษา โดยเฉพาะ
ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์จะมีเครื่องวัดทางไฟฟ้ามากกว่าห้องปฏิบัติการอ่ืน ครูหรือเจ้าหน้าท่ีเทคนิค
ของห้อง ปฏบิ ัตกิ ารต้องมคี วามรู้เก่ยี วกับการใช้งาน และการซอ่ มบำ� รงุ ขอ้ แนะนำ� บางประการในการจัดเกบ็
และการใช้ เครือ่ งวดั ทางไฟฟา้ เป็นดงั นี้

๒.๑ จัดเก็บในตู้เพ่ือป้องกันไม่ให้มีแมลงหรือสัตว์ขนาดเล็กเข้าไปในเครื่อง ซ่ึงอาจท�ำให้
วงจรไฟฟา้ ขัดขอ้ งและใช้งานไมไ่ ด้

๒.๒ ท�ำความสะอาดไมใ่ หม้ ีฝ่นุ ละอองเกาะสะสมมาก จนทำ� ใหเ้ กดิ ปัญหากบั วงจรไฟฟ้า
๒.๓ เช็ดละอองน้�ำจากความช้ืนหรือไอน�้ำในอากาศที่เกาะอยู่กับอุปกรณ์ละอองน�้ำ
เปน็ สาเหตุทท่ี �ำให้เกดิ สนมิ และท�ำใหอ้ ปุ กรณ์มีอายกุ ารใชง้ านส้ันลงได้
๒.๔ จัดเก็บในที่มีอากาศถ่ายเทได้ หลีกเลี่ยงการจัดเก็บในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงหรือ
มีแสงแดด ส่องตลอดเวลา เพราะจะท�ำให้ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เสื่อมสภาพเร็วกว่าปกติ หรือท�ำให้เกิด
ความขดั ข้องและท�ำงานผดิ พลาดได้
๒.๕ ต้องใช้อุปกรณ์เคร่ืองวัดทางไฟฟ้าอย่างระมัดระวัง ไม่ให้เกิดการ กระทบกระแทก
ซง่ึ จะเป็นสาเหตทุ ำ� ใหข้ ั้วตอ่ หรือรอยเช่อื มตอ่ ในวงจรไฟฟา้ หลวมหรือหลุดออกจากกนั ได้
ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั กิ าร
ห้องปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์ เปน็ สถานทีซ่ งึ่ จัดไวใ้ หน้ ักเรยี นไดท้ ำ� ปฏิบตั กิ ารทางฟิสิกส์ ห้องปฏบิ ตั กิ าร
ฟิสิกส์จ�ำเป็นต้องมีส่ิงอ�ำนวยความสะดวกในการท�ำปฏิบัติการ และเครื่องมือต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์ ไฟฟ้า
เคร่ืองแก้ว สารเคมี แก๊สชนิดต่าง ๆ ซึ่งสิ่งเหล่าน้ี อาจท�ำให้เกิดอันตรายต่อบุคลากร หรือ เกิดอุบัติเหตุ
ท�ำให้ทรัพย์สินของห้องปฏิบัติการเสียหายได้ ถ้าผู้ปฏิบัติการขาดความระมัดระวังหรือขาดความรู้เกี่ยวกับ
อันตราย ที่อาจเกิดขึ้นได้จากการท�ำปฏิบัติการสถานศึกษา จึงควรมีการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการ
วิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบและมีข้ันตอนการด�ำเนินงานที่มีแบบแผน เพ่ือให้การท�ำปฏิบัติการ
มีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยสูง แนวปฏิบัติบางประการท่ีเก่ียวกับความ ปลอดภัยด้านต่าง ๆ
เป็นดังน้ี
๑) ความปลอดภัยในการใช้อปุ กรณไ์ ฟฟา้
การเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟ้าอาจมีสาเหตุมาจากการติดต้ังอุปกรณ์ ไฟฟ้าไม่ถูกต้อง
การดูแลตรวจสอบ ไม่ทั่วถึงและเกิดจากการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าในการท�ำปฏิบัติการ ข้อควรระวัง
ดา้ นความปลอดภยั ในการใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้า เปน็ ดังน้ี
๑. การตดิ ตัง้ อุปกรณ์ไฟฟ้าในห้องปฏบิ ัติการ
๑.๑ ควรติดตัง้ อุปกรณ์ไฟฟ้าไวใ้ นบริเวณทอ่ี ยหู่ า่ งจากน้ำ� หรอื สารไวไฟ

172 มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

๑.๒ ใช้ฟิวส์ที่มีขนาดเหมาะสมกับการใช้กระแสไฟฟ้าของอุปกรณ์ ไฟฟ้าในห้องปฏิบัติ
การไมค่ วรใชฟ้ ิวส์ทม่ี ขี นาดสูงกว่ากระแสไฟฟา้ ท่อี ปุ กรณไ์ ฟฟา้ ตอ้ งการมากเกนิ ไป

๑.๓ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าบางชนิด ท่ีออกแบบให้มีเต้าเสียบ ๓ ขา
จะตอ้ งใชเ้ ต้าเสียบนต้ี ่อกับเต้ารับทม่ี ี ๓ ชอ่ งเท่านน้ั เพ่อื ช่วยป้องกัน อนั ตรายจากกระแสไฟฟา้ ลัดวงจร และ
ความเสยี หายกบั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ชนดิ น้ัน

๒. การดแู ลตรวจสอบ
๒.๑ ตรวจสอบการรั่วของกระแสไฟฟ้าอย่างสม่�ำเสมอ โดยทดสอบ ประสิทธิภาพ

ของอุปกรณ์ ตัดวงจรไฟฟ้าจากการมกี ระแสไฟฟา้ ลดั วงจร
๒.๒ ตรวจสอบสายไฟและเต้าเสียบให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย ถ้าพบว่าฉนวนหุ้มสายไฟ

ฉกี ขาด หรอื เต้าเสยี บช�ำรุดแตกหกั จะต้องเปลี่ยนทนั ที
๓. การปฏิบัตขิ ณะใชอ้ ุปกรณ์ไฟฟา้
๓.๑ ควรใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าด้วยความระมัดระวัง เช็ดมือและเท้าให้แห้ง ทุกคร้ังท่ีจับต้อง

อปุ กรณไ์ ฟฟ้า
๓.๒ ถ้าต้องใช้สายไฟต่อจากเต้ารับเดียวกันหลายสาย หรือจ�ำเป็นต้องใช้ต่อพ่วงกัน

ควรเลอื กเตารบั ชนดิ ท่ีมีสวติ ช์เปิด - ปดิ และไมต่ อ่ พ่วงเกนิ ๒ สาย
๓.๓ ถอดเต้าเสยี บอุปกรณ์ไฟฟา้ ออกจากเตา้ รบั ทุกครง้ั ทีเ่ ลิกใช้งาน
๓.๔ อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดควรมีสัญญาณไฟท่ีแสดงว่าเคร่ืองก�ำลังท�ำงานอยู่ และถ้า

เกดิ ความผิดปกติในระหว่างการใช้งาน ตอ้ งหยดุ การท�ำงานของอปุ กรณ์นนั้ ทันที
๓.๕ เตาไฟฟ้า ตอ้ งมีขดลวดของเตาไฟฟา้ อยู่ในเบ้าและไมช่ ำ� รดุ เสยี หาย
๓.๖ ต้องเปล่ยี นอุปกรณไ์ ฟฟา้ สายไฟ สวติ ช์ และเครอ่ื งควบคมุ อุณหภูมิทช่ี ำ� รุดทันที

๒) ความปลอดภยั จากไฟไหม้
การเกิดไฟไหม้ในห้องปฏิบัติการมีสาเหตุได้หลายประการ เม่ือเกิดไฟไหม้ข้ึนในห้อง

ปฏิบัติการ ต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียนเป็นสิ่งแรก ครูต้องให้นักเรียนออกจากห้องปฏิบัติการ
ทันที ดึงสัญญาณแจ้งเหตุไฟไหม้ พร้อมกับเรียกให้คนช่วยเหลือ โดยก�ำหนดหน้าที่ให้คนหน่ึงท�ำหน้าท่ี
ตัดวงจรไฟฟ้า ปดิ ประตู หน้าต่าง เพอ่ื ให้อากาศถา่ ยเทไดน้ อ้ ยที่สดุ และปอ้ งกนั การลกุ ลามไปยงั ห้องข้างเคยี ง
และให้อีกคนหนึ่งรีบใช้เคร่ืองดับเพลิงดับไฟที่ลุกไหม้ทันที โดยต้องค�ำนึงด้วยว่าการใช้ เครื่องดับเพลิง
ชนิดไม่เหมาะสม หรือผิดประเภท จะท�ำให้การดับไฟไม่ได้ผลและอาจเกิดอันตรายกับผู้ใช้ด้วย ต้องมี
สารเคมีท่ีใช้ดับไฟอยู่ประจ�ำ ห้องปฏิบัติการ และมีสภาพการใช้งานได้ดี ผู้ใช้ห้องปฏิบัติการทุกคน ต้องมี
ความรเู้ กี่ยวกับวธิ ใี ช้ กลไกการท�ำงานของการดบั ไฟ เพ่ือให้สามารถใช้ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและเกิดประสิทธิภาพ
สารทีน่ ำ� มาใชด้ บั ไฟ มีดังน้ี

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 173

๑. น�ำ้
น�้ำเป็นสารท่ีใช้ดับไฟได้อย่างแพร่หลาย ช่วยท�ำให้เช้ือเพลิงที่ก�ำลังลุกไหม้ลดอุณหภูมิ

ลงได้ และไม่มีการลุกไหมเ้ พมิ่ ขนึ้ ใหม่ น�ำ้ ใชด้ บั ไฟท่เี กดิ จากเชื้อเพลงิ ประเภทของแขง็ ไดด้ ีไมค่ วรใช้น�้ำดบั ไฟ
ที่เกิดจากสารประเภทของเหลวที่ไวไฟ เน่ืองจากจะท�ำให้ของเหลวกระจายออกเป็นบริเวณกว้าง และ
ของเหลวส่วนท่ีอยบู่ นผวิ นำ�้ ยังคงลุกไหม้ และท�ำให้ไฟลกุ ลามต่อไปได้

๒. โฟมของคารบ์ อนดไ์ ดออกไซด์
โฟมของคาร์บอนด์ออกไซด์ มีลักษณะเป็นฟองที่มีสมบัติก้ันอากาศ ไม่ให้เข้าไปถึงบริเวณ

ที่เกิดไฟไหม้ และป้องกันไม่ให้เช้ือเพลิงที่ระเหยเพ่ิมเติมออกมาอีก จึงท�ำให้เปลวไฟลดลงและดับไปในท่ีสุด
โฟมของคาร์บอนด์ไดออกไซด์ ได้จากปฏิกิริยาเคมีของสารแล้วได้แก๊สคาร์บอนด์ไดออกไซด์เป็นผลิตภัณฑ์
และถูกอัดด้วยความดันสูง บรรจุอยู่ในถัง เม่ือปล่อยสารออกมาด้วยความดันท่ีพอเหมาะ ก็จะมีลักษณะ
เปน็ ฟอง

๓. แกส๊ คารบ์ อนดอ์ อกไซด์
แก๊สคาร์บอนด์ออกไซด์ เป็นสารที่ใช้ในอุปกรณ์ดับเพลิงท่ัวไป แก๊สคาร์บอนด์ออกไซด์น้ี

หนักกว่าอากาศ เม่ือเข้าไปผสมอยู่กับอากาศในบริเวณไฟไหม้เป็นปริมาณมาก ๆ จะท�ำให้ปริมาณของ
แก๊สออกซิเจนในอากาศบริเวณน้ันเจือจางลง แก๊สคาร์บอนด์ไดออกไซด์ในอุปกรณ์ดับเพลิงถูกบรรจุ
อยู่ในถังที่มีความดันประมาณ ๗๕๐ ปอนด์ต่อตารางนิ้ว จึงมีสถานะเป็นคาร์บอนด์ออกไซด์เหลว
เม่ือเปิดวาล์วอุปกรณ์ดับเพลิง ซึ่งเป็นการลดความดัน แก๊สคาร์บอนด์ออกไซด์จึงกระจายเป็นฝอย
ออกทางท่อทอ่ี อกแบบไว้ให้พุง่ ไปบรเิ วณทตี่ ้องการดบั ไฟได้
ท่ีมา : คู่มือการจัดห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๒๔๕๖: ๑ - ๖๗.
การบำ� รงุ รกั ษาและการดแู ลห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์
การใช้งานหอ้ งปฏบิ ัติการคอมพิวเตอรใ์ ห้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด
๑. จัดการเรียนการสอนตามหลกั สตู รในรายวิชาคอมพวิ เตอร์
๒. สนบั สนุนการเรียนการสอนในรายวชิ าอน่ื ๆทตี่ อ้ งการใช้สอื่ ICT
๓. ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตนอกเวลาเรียน เช่น ก่อนเวลาเรียน หลังเลิกเรียน หรือ
เวลาพกั กลางวนั
๔. ใชเ้ ปน็ หอ้ งปฏิบัตกิ ารในการฝึกอบรมบุคลากรในงานดา้ น ICT

174 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

ขอ้ แนะนำ� ในการบ�ำรุงรกั ษาห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
๑. ควรมีข้อก�ำหนดหรือระเบียบการใช้ห้องปฏิบัติการแจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบโดย ละเอียดก่อน
เข้าใช้บรกิ าร
๒. มตี ารางก�ำหนดการบ�ำรงุ ดูแลรักษาระบบและอุปกรณป์ ระจ�ำสัปดาห์ ประจำ� เดือน หรอื ประจำ�
ปใี หช้ ัดเจน
๓. มีระบบปอ้ งกันไวรัสหรอื ภัยคุกคามทางเครือข่ายและอพั เดทอยูเ่ สมอ
๔. มีระบบเก็บบันทึกข้อมูลการเข้าใช้งานเคร่ืองคอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ต (Log file) ตามข้อ
ก�ำหนดของทางราชการ
๕. ขณะให้บรกิ ารควรมผี ดู้ แู ละระบบคอยตรวจสอบดูและระบบอยูเ่ สมอ
๖. อุปกรณ์ทุกชิ้น ระบบทุกระบบต้องมีการตรวจเช็คความเรียบร้อยหรือความพร้อมในการใช้งาน
อยู่เสมอทงั้ ก่อนการเปดิ ใหบ้ รกิ ารและหลังปดิ การใหบ้ รกิ าร
การใชง้ านระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรใ์ ห้เกดิ ประโยชน์สงู สุด
๑. ควรจัดให้มีโปรแกรมควบคุมระบบการจราจรทางคอมพิวเตอร์ ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
(Log Files)
๒. ควรจัดให้มีโปรแกรมระบบบริหารงานโรงเรียน เพื่อลดความซ�้ำซ้อนของการท�ำงานในแต่ละ
ภาคส่วน สามารถประมวลผลเป็นสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารงานในโรงเรียน
๓. ควรจัดให้มีการพัฒนาบุคลากรทุกคนให้มีความรู้ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
ขอ้ แนะน�ำในการบำ� รุงรกั ษาหอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์และอปุ กรณค์ อมพิวเตอร์
๑. ควรจัดให้มีช่างเทคนิคในการบ�ำรุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้สามารถใช้งานได้อย่าง
มีประสิทธภิ าพ ตลอดเวลา
๒. ควรจดั ใหม้ ีแผนในการซอ่ มบ�ำรงุ ระบบอย่างเพียงพอ
๓. มรี ะบบปอ้ งกันไวรสั หรอื ภยั คุกคามทางเครอื ขา่ ยและอัพเดทอยู่เสมอ

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 175

การบ�ำรุงรักษาและการดูแลห้องปฏบิ ตั กิ ารอน่ื ๆ
การจัดการการเรียนการสอนในห้องปฏิบัติการควรด�ำเนินการในรูปแบบคณะกรรมการ และมี

เจา้ หนา้ ที่ประจำ� อยา่ งนอ้ ย ๑ คน เพื่อท�ำหนา้ ท่ตี ่อไปนี้
๑. ท�ำทะเบยี นครุภณั ฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ทัง้ หมดในหอ้ งปฏิบตั กิ าร โดยแยกประเภท ดงั นี้
ครุภัณฑ์ เป็นของท่ีคงทนถาวร เช่น ตู้ ชั้น โต๊ะ เก้าอี้ แผ่นป้ายนิเทศ กระดานด�ำ พัดลม

คอมพวิ เตอร์ เครื่องฉาย เคร่ืองคดิ เลข เปน็ ต้น
วัสดุอุปกรณ์ประเภทไมส่ ้นิ เปลอื ง เช่น หลกั สตู ร คูม่ อื ครู แบบเรยี น รูปภาพ แผนภาพ หุ่นจำ� ลอง

อปุ กรณส์ ่งิ ประดษิ ฐ์ เป็นตน้
วัสดุอุปกรณป์ ระเภทส้นิ เปลือง เช่น แบบเรียนและบทเรยี นตา่ ง ๆ แบบทดสอบตา่ ง ๆ เคร่ืองเขียน

วัสดสุ �ำนักงาน เปน็ ตน้
๒. ให้บริการในการใช้ห้องปฏิบัติการตามตารางสอน ในการน้ีต้องมีการจองล่วงหน้าเพื่อไม่ให้เกิด

การซำ้� ซ้อนกนั เจา้ หนา้ ท่ีควรจดั สมุดสำ� หรบั จองไว้เปน็ หลกั ฐาน ตามแบบฟอรม์ ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี

ผ้สู อน วัน เดอื น ปี เวลา ชน้ั จำ�นวนนกั เรียน สื่อทใ่ี ช้ หมายเหตุ

เม่ือเจ้าหน้าท่ีรับทราบการจองตามรายละเอียดก็จะได้หยิบส่ือต่างๆ ตามที่ได้ระบุไว้ พร้อมท้ัง
อุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีได้ระบุไว้ด้วย ซ่ึงอาจจะมีกระดาษหนังสือพิมพ์ กรรไกร วงเวียน ไม้โปรแทรกเตอร์ ฯลฯ
จดั วางไว้บนชนั้ รบั ส่งงาน เตรียมไว้ลว่ งหน้า

การใช้ห้องปฏิบัติการในลักษณะเช่นน้ี ครูต้องมีการวางแผนล่วงหน้า กะประมาณได้ว่าจะใช้อะไร
เมื่อใด ในห้องปฏิบัติการมีส่ืออะไร จะต้องท�ำอะไรเพ่ิม และเมื่อท�ำสื่ออะไรเพ่ิมข้ึนก็ควรบอกให้เพ่ือนครูรู้
จะไดช้ ่วยกนั ใช้

๓. ให้บริการในการยืมวัสดุอุปกรณ์จากห้องปฏิบัติการไปใช้ในห้องเรียน ในกรณีที่มีหลายชั้นเรียน
ต้องการใช้ห้องปฏิบัติการในเวลาเดียวกัน ก็ต้องอะลุ้มอล่วยกัน ถ้าชั้นใดไม่ได้ใช้วัสดุอุปกรณ์มากนัก
ครูผู้สอนก็ยืมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ จากห้องปฏิบัติการไปใช้ในห้องเรียน ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมในห้องเรียน
ดังน้ันการเรียนในห้องเรียนก็เหมือนกับการเรียนในห้องปฏิบัติการ ซึ่งนักเรียนได้ปฏิบัติจริงถึงแม้ว่าขณะน้ี
ท่โี รงเรียนจะไม่มหี ้องปฏบิ ัติการก็สามารถใชห้ อ้ งเรยี นเป็นห้องปฏิบัติการได้ โดยมีสื่อใหน้ กั เรยี นเรยี นไดจ้ าก
การปฏิบัตจิ รงิ
176 มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

ส�ำหรับการยืมวัสดุอุปกรณ์จากห้องปฏิบัติการไปใช้ก็ต้องจัดสมุดยืมไว้เป็นหลักฐาน โดยอาจมี
แบบฟอร์มดงั ตัวอยา่ งต่อไปนี้

ผสู้ อน วัน เดอื น ปี วสั ดุอุปกรณ์ วนั สง่ ผ้สู ่งคืน

๔. ให้บริการในการใช้ห้องปฏิบัติการนอกช่ัวโมงเรียน โดยปกตินักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
จะมาโรงเรียนแต่เช้า และอยู่โรงเรียนตลอดเวลาจนถึงเวลาเลิกเรียน ดังน้ันในเวลาเช้าก่อนเข้าเรียน เวลา
พักกลางวัน เวลาเย็นระหว่างท่ีคอยผู้ปกครองมารับกลับบ้าน หรือเวลาว่างท่ีทางโรงเรียนจัดไว้ส�ำหรับ
ซ่อมเสริม นักเรียนมีโอกาสใช้ห้องปฏิบัติการได้ ถ้าในช่วงนั้นเป็นเวลาที่ไม่ได้มีช้ันอื่นเรียน นักเรียนมีสิทธิ
ใชไ้ ดท้ กุ บริเวณ ถา้ เปน็ เวลาท่มี นี กั เรยี นชน้ั อ่นื เรียนตามตารางสอนท่มี คี รูควบคมุ นกั เรยี นช้ันอน่ื กส็ ามารถใช้
หอ้ งปฏิบัติการในบรเิ วณอื่น ๆ ได้ นกั เรยี นอาจจะมาศกึ ษาบทเรียน เลน่ เกมส์ อ่านหนังสอื ใช้เคร่ืองคิดเลข
เดินดูแผ่นป้ายนิเทศ ท�ำการบ้านท่ีครูส่ัง ศึกษาเพิ่มเติม ฯลฯ ส�ำหรับครูก็สามารถใช้ห้องน้ีในการมาสร้าง
สอื่ การเรียนการสอน เตรยี มการสอน ตรวจงานนักเรยี นได้ทกุ เวลา

๕. มีการจัดท�ำแผ่นป้ายนิเทศให้น่าสนใจ ในการนี้ครูทุกคนต้องให้ความร่วมมือด้วย เจ้าหน้าท่ี
ประจ�ำห้องปฏิบัติการเป็นผู้ประสานงานอ�ำนวยความสะดวกในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จะต้องใช้
ในการจัดแผ่นป้ายนเิ ทศ และเลอื กเกบ็ ส่ิงทม่ี ีประโยชน์ไว้ในหอ้ งปฏิบัตกิ ารคณิตศาสตรต์ ามสมควร

๖. ใหค้ ำ� แนะน�ำเก่ยี วกบั วัสดอุ ุปกรณ์ตา่ งๆในหอ้ งปฏบิ ัติการเม่ือนกั เรียนมาศกึ ษานอกช่วั โมงเรียน
๗. ดูแลให้ทุกคนที่เข้ามาใช้ห้องปฏิบัติการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ ซึ่งร่างขึ้นโดย
ความเห็นชอบของครูคณิตศาสตร์และผู้แทนนักเรียน ระเบียบข้อบังคับน้ีจ�ำเป็นต้องต้ังข้ึน เพื่อให้นักเรียน
และครูไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากหอ้ งนีต้ ามวัตถุประสงค์ท่ีวางไวแ้ ละได้ใช้โดยท่ัวถึงกัน

มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 177

ระเบียบการใชห้ อ้ งปฏบิ ัติการ
ส�ำหรับระเบียบการใช้ห้องปฏิบัติการ ต้องร่างข้ึนมาโดยความเห็นชอบของคณะครู กลุ่มสาระการ

เรียนรู้ และตัวแทนนักเรียน หรือคณะกรรมการด�ำเนินงานเก่ียวกับห้องปฏิบัติการด้วย ในการร่างระเบียบ
การใช้หอ้ งปฏิบัติการนนั้ ควรประกอบด้วยเรอื่ งเกีย่ วกับ

• ก�ำหนดเวลาเปิด - ปดิ
• การรักษาความสะอาด
• การมวี นิ ัย การควบคมุ ตนเองในการทำ� กิจกรรม
• การรกั ษาสมบตั ขิ องส่วนรวม
• การยืมของออกจากหอ้ งปฏิบตั กิ าร
ขอ้ เสนอแนะ
๑. โรงเรยี นควรมจี �ำนวนห้องปฏบิ ตั กิ ารทุกกลมุ่ สาระฯ อยา่ งน้อย ๑ ห้อง
๒. อาจจะมีบริเวณท่ีจัดเป็นฐานให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติงานในกลุ่มสาระฯ น้ัน ๆ เช่น ส่วน
คณิตศาสตร์ ท่ีแสดงที่มาของสูตรพ้ืนท่ีและปริมาตรของรูปเรขาคณิต หรือแสดงสมบัติ ทางเรขาคณิต
เป็นต้น
๓. ควรมีเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตในหอ้ งปฏิบตั ิการทกุ ห้อง

178 มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

แนวทางการประเมนิ
หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 179

แนวทางการประเมินหอ้ งปฏิบัติการ

แบบประเมนิ ห้องปฏบิ ัติการวทิ ยาศาสตร์

รายการประเมนิ ผลการประเมินเกณฑย์ อ่ ย
ผ่าน ไมผ่ า่ น (เหตุผลประกอบ)

๑. ข้อก�ำหนดการใช้หอ้ งปฏิบตั ิการ  ...........................................................
- ช้แี จงข้อปฏบิ ัตใิ นการใช้หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ...........................................................
- มีแผนผงั ตำ� แหนง่ ของอปุ กรณ์เก่ียวกับ ความปลอดภยั ...........................................................
๒. ลักษณะของหอ้ งปฏิบตั ิการ  ...........................................................
- ความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยของหอ้ งปฏิบัตกิ าร ...........................................................
- ความสะอาดเรียบรอ้ ยของโตะ๊ ท�ำปฏบิ ัติการ ...........................................................
๓. การจดั เก็บสารเคมี 
- จดั เก็บสารเคมจี �ำแนกตามประเภทสาร และ ...........................................................
ความเป็นอันตราย ...........................................................
- มกี ารตรวจสอบอายุการใชง้ านและความ ...........................................................
สะอาดของภาชนะ ...........................................................
๔. การจดั เกบ็ อุปกรณ์ 
- จดั เก็บอย่างมีระบบเป็นระเบยี บ ...........................................................
- จำ� แนกตามประเภท ขนาดและลกั ษณะ ของอุปกรณ์ ...........................................................
๕. การตดิ ตง้ั อปุ กรณ์ดับเพลงิ 
- มจี �ำนวนเพยี งพอ และมปี ระสทิ ธิภาพสูง ...........................................................
- ตดิ ต้ังในบริเวณทใี่ ชไ้ ดส้ ะดวก ...........................................................
- ตรวจสอบอายุการใชง้ านเสมอ
๖. การซอ่ มบ�ำรุง 
- ตรวจสอบวสั ดอุ ปุ กรณแ์ ละครภุ ัณฑ์ทช่ี ำ� รดุ และ
ซอ่ มแซมอย่างเป็นระบบ
- ซ่อมบำ� รุงระบบสาธารณปู โภคสมํา่ เสมอ
๗. การสอ่ื สาร 
- ติดตงั้ โทรศัพทภ์ ายนอกและภายในทุกห้อง
๘. การเกบ็ กญุ แจตา่ ง ๆ 
- มีการเก็บกญุ แจอย่างเปน็ ระบบน�ำออกใช้ ไดส้ ะดวก
๙. การจัดท�ำทะเบยี นวสั ดุ อปุ กรณแ์ ละครภุ ณั ฑ์ 
๑๐. การจดั ท�ำตาราง / หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารการใชห้ ้อง / ให้บรกิ าร 
๑๑. การจัดปา้ ยนเิ ทศในหอ้ งปฏิบตั ิการ 
๑๒. การจดั กิจกรรมเสรมิ การเรียนรู้ 
๑๓. มีผ้รู บั ผิดชอบดแู ลห้อง 

ผลการประเมนิ ระดับสงู ระดับปานกลาง ระดบั พน้ื ฐาน ตำ�่ กวา่ ระดับพนื้ ฐาน
180 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

แบบประเมินห้องปฏบิ ตั กิ ารอื่นๆ

รายการประเมิน ผลการประเมนิ เกณฑย์ อ่ ย
ผ่าน ไม่ผา่ น (เหตุผลประกอบ)

๑. ขอ้ กำ� หนดการใชห้ อ้ งปฏิบัติการ ...........................................................
- ชีแ้ จงข้อปฏบิ ตั ใิ นการใชห้ ้องปฏบิ ัตกิ าร  ...........................................................
- มแี ผนผงั ต�ำแหน่งของอปุ กรณเ์ ก่ยี วกับ
ความปลอดภยั ...........................................................
๒. ลกั ษณะของห้องปฏบิ ตั ิการ  ...........................................................
- ความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ยของหอ้ งปฏิบัติการ
- ความสะอาดเรียบรอ้ ยของโตะ๊ ท�ำปฏบิ ตั กิ าร ...........................................................
๓. การจัดเกบ็ อปุ กรณ์  ...........................................................
- จดั เกบ็ อย่างมีระบบเปน็ ระเบียบ
- จำ� แนกตามประเภท ขนาดและลกั ษณะ
ของอุปกรณ์
๔. การตดิ ตัง้ อปุ กรณด์ ับเพลิง  ...........................................................
- มจี ำ� นวนเพยี งพอ และมีประสทิ ธภิ าพสูง ...........................................................
- ติดตง้ั ในบริเวณที่ใชไ้ ด้สะดวก
- ตรวจสอบอายกุ ารใชง้ านเสมอ ...........................................................
๕. การซอ่ มบ�ำรงุ  ...........................................................
- ตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์และครภุ ณั ฑ์ท่ีชำ� รดุ
และซ่อมแซมอย่างเปน็ ระบบ
- ซ่อมบ�ำรงุ ระบบสาธารณูปโภคสมาํ่ เสมอ ...........................................................
๖. การสื่อสาร  ...........................................................
- ติดต้งั โทรศพั ท์ภายนอกและภายในทกุ ห้อง ...........................................................
๗. การเกบ็ กญุ แจตา่ ง ๆ  ...........................................................
- มตี ้เู กบ็ กุญแจอย่างเปน็ ระบบน�ำออกใช้ ได้สะดวก ...........................................................
๘. การจัดท�ำทะเบียนวัสดุ อุปกรณ์และครุภณั ฑ์  ...........................................................
๙. การจัดทำ� ตาราง/ห้องปฏบิ ตั กิ ารการใชห้ อ้ ง/ให้บรกิ าร  ...........................................................
๑๐. การจดั ป้ายนเิ ทศในห้องปฏบิ ตั ิการ  ...........................................................
๑๑. การจัดกิจกรรมเสรมิ การเรยี นรู้  ...........................................................
๑๒. การใชส้ ื่อ / อปุ กรณ์ ICT เสรมิ การเรียนการสอน  ...........................................................

ผลการประเมิน ระดับสูง ระดับปานกลาง ระดบั พ้นื ฐาน ต่�ำกวา่ ระดบั พ้นื ฐาน

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 181

ภาคผนวก ค

การจดั ระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นส�ำหรับ
โรงเรยี นมัธยมศกึ ษา

182 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

“ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน”

การพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ
มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามท่ีสังคมมุ่งหวัง โดยผ่านกระบวนการทางการศึกษานั้น
นอกจากจะด�ำเนินการ ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนนักเรียนแล้ว การป้องกันและการช่วยเหลือแก้ปัญหา
ต่าง ๆ ที่เกิดกับนักเรียนก็เป็นสิ่งส�ำคัญ เน่ืองจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกมิติ
ทั้งด้านการสอ่ื สาร เทคโนโลยี ปญั หา เศรษฐกิจ ปัญหา การระบาดของสารเสพตดิ ปญั หาครอบครวั ปัญหา
การแข่งขันทุกรูปแบบ ก่อให้เกิดความทุกข์ ความวิตกกังวล ความเครียด ซึ่งล้วนแต่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ
จิตและสุขภาพกายของทุกคน จนน�ำไปสู่การเกิดปัญหาและสภาวะวิกฤติ ทางสังคม ดังน้ันในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตของนักเรียน ให้มีความสมบูรณ์พร้อมอย่างเป็นองค์รวม ท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา ความรู้
ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนให้มีทักษะในการด�ำรงชีวิต จึงจ�ำเป็นท่ีทุกโรงเรียน ในฐานะ
หน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบในการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้เรียน และแก้วิกฤติสังคม จึงควรน�ำระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรยี นมาประยกุ ต์ใชแ้ ละพฒั นาใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของแตล่ ะโรงเรียน
ระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นคืออะไร ?

การดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ การส่งเสริม พัฒนา การป้องกัน และแก้ไขปัญหาเพ่ือให้นักเรียน
ได้พัฒนา เต็มตามศักยภาพ มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีภูมิคุ้มกันทางจิตใจท่ีเข็มแข็ง คุณภาพชีวิตท่ีดี
มีทักษะการด�ำรงชีวิต และ รอดพ้นจากวิกฤติทั้งปวง ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ กระบวนการ
ด�ำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน พร้อมทั้งมีวิธีการและเครื่องมือ
ที่มีมาตรฐาน คุณภาพ และมีหลักฐานการท างานท่ีตรวจสอบได้โดยมีครู ประจ�ำช้ัน/ครูที่ปรึกษา
เป็นบุคลากรหลักในการด�ำเนินงาน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องทั้งภายใน และ
นอกสถานศึกษา ได้แก่คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้บริหาร และครูทุกคน มีวิธีการและ
เคร่อื งมือ ท่ชี ัดเจน มมี าตรฐานคณุ ภาพ และมหี ลักฐานการทำ� งานทตี่ รวจสอบได้
ท�ำไมต้องมรี ะบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ?
วัตถปุ ระสงคข์ องระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

1. เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนินงานดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนเปน็ ไปอยา่ งมรี ะบบ มปี ระสทิ ธภิ าพ
2. เพ่ือให้โรงเรียน กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
มีการท�ำงาน ร่วมกัน โดยผ่านกระบวนการท างานที่ชัดเจน มีร่องรอยหลักฐานการปฏิบัติงาน สามารถ
ตรวจสอบและประเมินผลได้

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 183

ประโยชน์และคุณค่าของระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน
1. นักเรียนไดร้ ับการดูแลช่วยเหลอื อยา่ งทวั่ ถงึ และตรงตามสภาพปญั หา
2. สมั พนั ธภาพระหว่างครกู ับนกั เรยี นเป็นไปด้วยดี และอบอ่นุ
3. นักเรยี นรจู้ กั ตนเอง และควบคมุ ตนเองได้
4. นกั เรียนเรยี นรอู้ ย่างมคี วามสขุ และไดร้ ับการส่งเสรมิ พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพอย่างรอบดา้ น
5. ผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนอย่างเข้มแข็ง จริงจัง ด้วยความเสียสละ

เอาใจใส่
กระบวนการและข้ันตอนของระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการด�ำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็น
ระบบ มีขั้นตอน มีครูท่ีปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการด�ำเนินงาน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย
ที่เกี่ยวข้องท้ังภายใน และนอกสถานศึกษา ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้บริหาร
และครูทุกคน มีวิธกี ารและ เคร่อื งมือที่ชดั เจน มีมาตรฐานคุณภาพ และมีหลักฐานการท�ำงานทีต่ รวจสอบได้
184 มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

กระบวนการและข้นั ตอนของระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น มีองคป์ ระกอบ 5 ประการ คอื
1. การรจู้ กั นักเรยี นเป็นรายบคุ คล
2. การคดั กรองนกั เรียน
3. การสง่ เสริมและพฒั นานกั เรียน
4. การป้องกันและแกไ้ ขปญั หา
5. การสง่ ตอ่

1. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้วยความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคนท่ีมีพื้นฐาน
ความเป็นมาของชีวิตท่ีไม่เหมือนกัน หล่อหลอมให้เกิด พฤติกรรมหลากหลายรูปแบบ ท้ังด้านบวกและ
ด้านลบ ดังนั้นการรู้จักข้อมูลที่จ�ำเป็นเกี่ยวกับตัวนักเรียนจึงเป็น ส่ิงส�ำคัญ ท่ีจะช่วยให้ครูที่ปรึกษามี
ความเข้าใจนักเรียนมากขึ้น สามารถน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อการคัดกรอง นักเรียน เป็นประโยชน์
ในการส่งเสริม การป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียนได้อย่างถูกทาง ซ่ึงเป็นข้อมูล เชิงประจักษ์มิใช่
การใช้ความรู้สึกหรือการคาดเดาโดยเฉพาะในการแก้ไขปัญหานักเรียน ซ่ึงจะท�ำให้ไม่เกิดข้อผิดพลาด
ต่อการชว่ ยเหลือนักเรยี นหรอื เกดิ ไดน้ อ้ ยทสี่ ดุ

มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 185

2. การคัดกรองนักเรียน การคัดกรองนักเรียน เป็นการพิจารณาข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวนักเรียน
เพ่ือการจดั กลมุ่ นกั เรยี น อาจนยิ ามกลุม่ ได้ 4 กลมุ่ คือ
กลุ่มปกติ คือ นักเรียนท่ีได้รับการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียนแล้ว
อย่ใู นเกณฑข์ องกลุ่มปกตซิ ึง่ ควรไดร้ ับการสร้างเสริมภมู ิคุ้มกันและการส่งเสรมิ พัฒนา
กลุ่มเส่ียง คือ นักเรียนท่ีจัดอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มเสี่ยงตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียน ซึ่งโรงเรียน
ต้องให้การป้องกันหรอื แก้ไขปญั หาตามแตก่ รณี
กลุ่มมีปัญหา คือ นักเรียนท่ีจัดอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มมีปัญหาตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียน
ซง่ึ โรงเรียน ต้องช่วยเหลอื และแกป้ ัญหาโดยเร่งดว่ น
กลุ่มพิเศษ คือ นักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ มีความเป็นอัจฉริยะ แสดงออกซ่ึงความสามารถ
อนั โดดเด่น ดา้ นใดด้านหนง่ึ หรือหลายดา้ น อยา่ งเปน็ ทป่ี ระจักษ์เม่อื เทียบกับผู้มอี ายใุ นระดับเดยี วกันภายใต้
สภาพแวดล้อมเดียวกัน ซึ่งโรงเรียนต้องให้การส่งเสริมนักเรียนได้พัฒนาศักยภาพความสามารถพิเศษนั้น
จนถงึ ข้ันสูงสุด

การจัดกลุ่มนักเรียนนี้ มีประโยชน์ต่อครูท่ีปรึกษาในการหาวิธีการเพ่ือดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ได้อย่าง ถูกต้อง โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาให้ตรงกับปัญหาของนักเรียนยิ่งข้ึน และมีความรวดเร็ว
ในการแก้ไขปัญหา เพราะ มีข้อมูลของนักเรียนในด้านต่าง ๆ ซ่ึงหากครูท่ีปรึกษาไม่ได้คัดกรองนักเรียน
เพ่ือการจัดกลุ่มแล้ว ความชัดเจน ในเป้าหมายเพ่ือการแก้ไขปัญหาของนักเรียนจะมีน้อยลง มีผลต่อ
ความรวดเร็วในการชว่ ยเหลือ ซ่ึงบางกรณจี ำ� เปน็ ตอ้ งแกไ้ ขโดยเรง่ ด่วน

3. การส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาและส่งเสริมนักเรียนเป็นการสนับสนุนให้นักเรียน
ทุกคน ไม่วา่ จะเป็นนกั เรียนกลมุ่ ปกตหิ รือกลุม่ เสี่ยง/มีปญั หา กล่มุ ความสามารถพิเศษ ใหม้ คี ุณภาพมากข้ึน
ได้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีความภาคภูมิใจในตนเองในด้านต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยป้องกันมิให้นักเรียนที่อยู่ในกลุ่ม
ปกติและกลุ่มพิเศษกลายเป็นนักเรียนกลุ่มเส่ียง/มีปัญหา และเป็นการช่วยให้นักเรียนกลุ่มเส่ียง/มีปัญหา
กลับมาเป็นนักเรียนกลุ่มปกตแิ ละมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีโรงเรยี นหรอื ชุมชน คาดหวังตอ่ ไป

การส่งเสริมพัฒนานักเรียนมีหลายวิธีที่โรงเรียนสามารถพิจารณาด�ำเนินการได้ แต่มีกิจกรรมหลัก
ส�ำคัญ ท่ีโรงเรยี นตอ้ งด�ำเนินการ คอื

1. การจดั กิจกรรมโฮมรมู
2. การเย่ยี มบา้ น
3. การจดั ประชมุ ผู้ปกครองชัน้ เรียน (Classroom Meeting)
4. การจดั กิจกรรมเสรมิ สรา้ งทกั ษะการด�ำรงชีวิตและกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
4. การป้องกันและแก้ไขปัญหา ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูควรให้ความเอาใจใส่กับ
นักเรียนทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน แต่ส�ำหรับนักเรียน กลุ่มเส่ียง/มีปัญหาน้ัน จ�ำเป็นอย่างมากท่ีต้อง
ให้ความดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและหาวิธีการช่วยเหลือทั้งการป้องกัน และการแก้ไขปัญหา โดยไม่
ปล่อยปละละเลยนักเรียนจนกลายเป็นปัญหาของสังคม การสร้างภูมิคุ้มกัน การป้องกันและ แก้ไขปัญหา
ของนักเรียน จึงเป็นภาระงานที่ย่ิงใหญ่และมีคุณค่าอย่างมากในการพัฒนาให้นักเรียนเติบโตเป็นบุคคล
ท่ีมีคณุ ภาพของสงั คมตอ่ ไป
การป้องกันและการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนน้ันมีหลายเทคนิค วิธีการ แต่สิ่งที่ครูประจ�ำช้ัน/
ครูทปี่ รกึ ษา จำ� เปน็ ตอ้ งดำ� เนนิ การมอี ย่างน้อย 2 ประการ คอื
186 มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

1. การให้ค�ำปรกึ ษาเบ้ืองตน้
2. การจดั กจิ กรรมเพือ่ ป้องกันและแก้ไขปัญหา
5. การส่งต่อ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียนโดยครูท่ีปรึกษา อาจมีกรณีท่ีบางปัญหา
มีความยกต่อการช่วยเหลือ หรือช่วยเหลือแล้วนักเรียนมีพฤติกรรมไม่ดีข้ึนก็ควรด�ำเเนินการส่งต่อไปยัง
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่อไป เพ่ือให้ปัญหา ของนักเรียนได้รับการช่วยเหลืออย่างถูกทางและรวดเร็วขึ้น
หากปล่อยให้เป็นบทบาทหน้าท่ีของครูท่ีปรึกษาหรือครู คนใดคนหน่ึงเพียงล�ำพังความยุ่งยากของปัญหา
อาจมมี ากขึน้ หรอื ลกุ ลามกลายเปน็ ปัญหาใหญโ่ ตจนยากต่อการแก้ไข ซ่งึ ครปู ระจ�ำช้ัน/ครูทป่ี รึกษาสามารถ
ด�ำเนินการได้ต้ังแต่กระบวนการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล หรือการคัดกรอง นักเรียน ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ
ลักษณะปญั หาของนักเรียนในแตล่ ะกรณี
การส่งตอ่ แบง่ เปน็ 2 แบบ คอื
1. การส่งต่อภายใน ครูที่ปรึกษาส่งต่อไปยังครูท่ีสามารถให้การช่วยเหลือนักเรียนได้ ทั้งน้ี
ขนึ้ อย่กู บั ลกั ษณะปญั หา เชน่ สง่ ต่อครแู นะแนว ครูพยาบาล ครปู ระจำ� วิชา หรือฝา่ ยปกครอง
2. การส่งต่อภายนอก ครูแนะแนวหรือฝ่ายปกครองเป็นผู้ด�ำเนินการส่งต่อไปยังผู้เช่ียวชาญภายนอก
หากพิจารณาเห็นว่าเปน็ กรณปี ญั หาที่มคี วามยากเกินกว่าศกั ยภาพของโรงเรียนจะดแู ลชว่ ยเหลอื ได้

ปจั จยั ส�ำคญั ที่มผี ลต่อประสิทธภิ าพของการด�ำเนินงานตามระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน
1. ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารทุกฝ่าย ตระหนักถึงความส�ำคัญของระบบการดูแลช่วยเหลือ

นกั เรียน และ ให้การสนบั สนุนการด�ำเนินงานหรือร่วมกิจกรรมตามความเหมาะสมอยา่ งสม่�ำเสมอ
2. ครูทุกคนแลผู้เก่ียวข้องจ�ำเป็นต้องมีความตระหนักในความส�ำคัญของระบบการดูแลช่วยเหลือ

นกั เรยี น มีทัศนคติท่ดี ตี ่อนักเรยี น และมีความสุขทจ่ี ะพฒั นานักเรียนในทกุ ดา้ น
3. คณะกรรมการหรือคณะท�ำงานทุกคณะ ต้องมีการประสานงานอย่างใกล้ชิด และมีการประชุม

ในแต่ละคณะ อยา่ งสมำ�่ เสมอตามทีก่ �ำหนด
4. ครูท่ีปรึกษาเปน็ บุคลากรหลกั ในการด�ำเนินงาน โดยตอ้ งไดร้ ับความรว่ มมอื จากผเู้ กีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่าย
5. การอบรมใหค้ วามรแู้ ละทักษะ รวมท้ังการเผยแพร่ขอ้ มลู ความรูแ้ ก่ครทู ป่ี รึกษาหรือผู้เก่ยี วข้อง

ในเรือ่ งทเ่ี อ้ือ ประโยชนต์ ่อการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นในสิง่ ท่จี �ำเปน็ โดยเฉพาะเร่ืองทักษะการปรึกษาเบื้องตน้
และแนวทางการแกไ้ ข ปัญหาตา่ ง ๆ ของนักเรียนซง่ึ โรงเรยี นควรดำ� เนินการอย่างต่อเน่ืองและสมำ่� เสมอ

การพัฒนาและขับเคลอ่ื นระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน
1. ศึกษาสภาพและทิศทางการด�ำเนินงาน
2. วางแผนการดำ� เนนิ งานจัดระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น
3. ดำ� เนินการตามแผนทก่ี ำ� หนด
4. นิเทศ ก�ำกบั ตดิ ตาม
5. ประเมนิ เพ่อื ทบทวน (ประเมินภายใน)
6. สรุปรายงาน / ประชาสมั พันธ์

ทมี่ า ส�ำนกั งานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 187

ภาคผนวก ง

การปฏิรูปการเรียนร้เู พ่ือสรา้ งความพรอ้ ม
ในการประกอบอาชพี แกเ่ ยาวชน :
“การเตรียมความพรอ้ มดา้ นอาชีพ
ของนักเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา”

188 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

การมัธยมศึกษา กับ การปฏิรปู การเรยี นรู้
เพอื่ สร้างความพร้อมในการประกอบอาชพี แกเ่ ยาวชน

สภาพบริบทที่ส่งผลกระทบและท้าทายต่อการพัฒนาการศึกษา การพัฒนาการศึกษาจ�ำเป็นต้อง
พัฒนาให้สอดคล้องกับปัญหา แนวโน้มความท้าทายของ สภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศด้วย
โดยบริบทส�ำคัญที่ต้องค�ำนึงถึงในปัจจุบัน (การพัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพ่ืออาชีพใน 10 จังหวัด
ภายใตโ้ ครงการปฏริ ูปการเรียนรเู้ พื่อสรา้ งความพร้อมในการประกอบอาชีพแก่เยาวชน : 2559) ไดแ้ ก่

1. ความยากจน โดยทีป่ ระเทศไทยติดกบั ดักอยใู่ นกลุ่มประเทศทีม่ รี ายไดป้ านกลาง (Middle Income
Trap) มากกวา่ 20 ปี ยังไมส่ ามารถพัฒนาไปสูป่ ระเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ ทีม่ ีฐานะร่�ำรวย (High Income Countries)
ได้ เนอื่ งมาจากการขาดการพฒั นาเชิงวจิ ยั นวตั กรรม และการเพิม่ มูลค่าเพิม่ ของสนิ คา้ และการบริการ**

2. สังคมวัยชรา โดยแนวโน้มสังคมไทยจะมีคนสูงอายุมากข้ึน จากข้อมูล เปรียบเทียบปี 2493
ปี 2543 และ 2593 แสดงให้เห็นชดั เจนวา่ ปัจจุบนั ประเทศไทยมีประชากรอายุเกิน หกสบิ รอ้ ยละ 12 ซ่ึง
ส่งผลกระทบให้ประชากรวัยแรงงานจะน้อยลง และมีแนวโน้นในการพ่ึงพาแรงงานจาก ภายนอกมากขึ้น
ในอนาคต

3. คณุ ภาพแรงงานไทยขาดการพฒั นา ผลสำ� รวจของสถาบนั เพม่ิ ผลผลิตแหง่ ชาติ ปี 2550 สำ� รวจ
นายจ้างใน 8 อุตสาหกรรมพบว่า นายจ้างเกือบทั้งหมดรายงานว่า ลูกจ้างขาดทักษะที่จ�ำเป็น ในทุกด้าน
โดยทักษะภาษาอังกฤษอ่อนที่สุด ทักษะจ�ำเป็นท่ีเป็นปัญหาของพนักงาน ได้แก่ เทคโนโลยี สารสนเทศ
การคิดคำ� นวณ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ภาวะผนู้ �ำ การบริหารเวลา การสือ่ สาร การแก้ไขปัญหา เปน็ ตน้ ทกั ษะ
เหล่าน้ีล้วนถือเป็นทักษะส�ำหรับศตวรรษท่ี 21 ผลการส�ำรวจน้ีสะท้อนว่าระบบการศึกษายัง มีข้อจ�ำกัด
ในการพัฒนาทักษะทางการคิด ทักษะด้านวิชาชีพให้กับนักเรียนนักศึกษาส่วนใหญ่ ส่งผลให้ภาค ธุรกิจ
ต้องจัดอบรมความรู้และทักษะท่ีจ�ำเป็นให้แก่พนักงานของตน อันเป็นมูลเหตุให้ภาคเอกชนบางราย
ต้องดิ้นรนแก้ปัญหาน้ี เช่นการลงทุนเปิดสถาบันการศึกษาเองหรือร่วมมือลงทุนกับสถาบันการศึกษาของรัฐ
ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหารายกรณี โดยการลงทุนของภาคเอกชนดังกล่าวมีข้อจ�ำกัดท่ียังอยู่ในกลุ่มกิจการ
ขนาดค่อนข้างใหญ่ เท่านั้น ซ่ึงกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่มีสัดส่วนการจ้างงานในตลาดแรงงานเพียงร้อยละ 10
หรือต่�ำกว่า ในขณะท่ีต้องก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและสังคมโลก ท่ามกลางการแข่งขัน
ทางเศรษฐกจิ การเคล่ือนตวั ของแรงงานเพิม่ มากขน้ึ โดยพบว่าคนไทยวยั ท�ำงานของไทยมรี ะดับการศึกษาต�่ำ
กวา่ ประเทศอื่นๆ ถงึ แมม้ ีวฒุ ิการศึกษา ม. 3 ม. 6 หรืออาชีวศึกษา จำ� นวนหนึ่งกย็ งั ไมส่ ามารถอา่ น-เขียน-
คิดเลข นอกจากน้ี การศึกษาของประชากรไทยวัยท�ำงานของไทยค่อนข้างต�่ำเมื่อเทียบกับประเทศอาเซียน
ชใี้ ห้เห็นว่าแรงงานระดับลา่ งของไทยสปู้ ระเทศเพอ่ื นบ้านไมไ่ ดเ้ พราะการศึกษาต่�ำและสูงวัย
----------------------------------------------------------------

** ตัวเลขประมาณการจากผลวิเคราะห์โดย ดร.รุ่งนภา จิตรโรจนรักษ์ วิเคราะห์จากสถิติ Cohort ของนักเรียน
สามรุ่นที่เข้าเรียนชั้นป.1 (ปี 2543-2544-2545)) ติดตามต่อเน่ืองระยะ 12 ปี พบว่านักเรียนท่ีระดับ ม. 3 คงเหลือ
ประมาณร้อยละ 87.9 ระดับ ม. 6/ปวช.3 คงเหลือประมาณ ร้อยละ 65.2 และประมาณจ�ำนวนผู้ออกสู่ตลาดแรงงาน
ประมาณจากจ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษาและผู้ออกระหว่างช้ันในแต่ละระดับ จากสถิติปีการศึกษา 2555-2556 จำ� นวน
ผู้จบอุดมศึกษาปีละประมาณ 324,000 คน (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา: สถิติการศึกษาของประเทศไทย
ปีการศกึ ษา 2555-2556 )

มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 189

ทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ กรอบทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2560-2564 ที่ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาคนหรือทุนมนุษย์ให้เข้มแข็ง
พร้อมรับการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ
ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต และนายกรัฐมนตรีได้มีนโยบายด้านการศึกษา โดยเป้าหมายส�ำคัญประการหน่ึง คือ
การพัฒนานักเรียนช่วงช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายให้มีความพร้อมทางทักษะอาชีพทั้งด้านการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน และอาชีวศึกษาสอดคล้องกับพ้ืนท่ีจังหวัด ในการนี้กระทรวงศึกษาธิการจึงได้มีนโยบาย
“ส่งเสริมผู้เรียน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสู่โลกอาชีพ” โดยให้มีการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้นและ ตอนปลายเรียนวิชาเสริมท่ีเป็นวิชาชีพและการจัดการศึกษาให้เป็นการพัฒนาคน
ให้ตรงกับความต้องการ ตลาดแรงงาน ด้วยสถานการณ์ข้างต้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นเร่ือง
เรง่ ดว่ นเน่อื งจากเปน็ พนื้ ฐานของการ พัฒนาประชาชนทั้งประเทศ

ในปี 2559 ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้การสนับสนุนการท�ำวิจัยการปฏิรูป
การเรียนรู้เพอ่ื สร้างความพรอ้ มในการประกอบอาชพี แก่เยาวชน โดยศูนยบ์ รกิ ารวชิ าการ คณะวทิ ยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์และ ส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และ
คุณภาพเยาวชน (สสค.) มีเป้าหมายในการศึกษาเพื่อให้การพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนในวัยเรียนตั้งแต่
ประถม ศกึ ษา ถงึ มัธยมศึกษาใหม้ ีความพร้อมในการประกอบอาชพี พบว่า ถ้าจะให้สามรถบรรลเุ ปา้ หมาย
ไดจ้ �ำเป็นตอ้ งมี 3 องค์ประกอบทีส่ �ำคญั คือ

(1) ความเข้าใจตลาดแรงงาน ความตอ้ งการพฒั นาเยาวชนใหต้ อบโจทย์ ตลาดแรงงาน
(2) การกระจายอ�ำนาจและใช้พื้นที่เป็นฐาน เพ่ือให้มีความชัดเจนเจาะจงความ ต้องการตลาด
แรงงานของพ้ืนท่ี ซ่ึงสามารถส่งผลต่อการออกแบบการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาเยาวชนได้ อย่างเหมาะสม
โดยผา่ นยทุ ธศาสตร์จังหวัด และ
(3) การออกแบบกระบวนการเรยี นรู้เชิงบูรณาการ เพอื่ สง่ เสรมิ เยาวชนให้พร้อมในการประกอบ
สมั มาชีพ
ดงั น้ัน การสรา้ งความพร้อมในการประกอบอาชีพแก่เยาวชน จึงเป็นกระบวนการศกึ ษาท่ีบรู ณาการ
ท้งั 3 สว่ นไปพร้อมกนั
ส�ำหรับการออกแบบกระบวนการเรียนรู้เชิงบูรณาการ เพื่อส่งเสริมเยาวชนให้พร้อมในการประกอบ
สัมมาชีพ น้ัน พึงเน้นการจัดท�ำแผนการเรียนรู้เตรียมอาชีพ และการน�ำสู่การปฏิบัติ โดย แบ่งเป็น
2 แนวทาง ได้แก่
1. การสร้างความพร้อมทักษะชีวิตและโลกของงาน ส�ำหรับนักเรียนในระดับ การศึกษาภาค
บงั คับ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 เพื่อให้มีเจตคติรกั งาน รจู้ ักวางแผนชีวิต และเห็นเปา้ หมาย
และทางเลือก ผา่ นกจิ กรรม การให้ขอ้ มูล การส�ำรวจตนเองและการเรยี นรอู้ าชพี ต่างๆ
2. การสร้างความพร้อมทักษะชีวิตและโลกของงาน ส�ำหรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ถึง มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เพ่ือการจัดท�ำแผนการเรียนอาชีพ ท่ีตอบสนองตลาด แรงงานของพื้นท่ีรายละเอียด
ของการจัดท�ำแผนการเรียนรู้เตรียมอาชีพ และการน�ำสู่การปฏิบัติท่ีศึกษาวิจัยโดย ศ.ดร.สุมาลี ตั้งประดับ
กลุ และคณะฯ จากคณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ทั้ง 2 แนวทางมดี งั นี้
190 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

1) การสร้างความพร้อมทักษะชีวิตและโลกของงาน ส�ำหรับนักเรียนในระดับ การศึกษา
ภาคบังคบั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

สถานการณ์และความส�ำคัญ
การเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพของผู้เรียนจำ� เป็นต้องเริ่มต้นต้ังแต่ระดับประถมศึกษา
ถึง มัธยมศึกษาตอนต้น จากกระแสสังคมท่ีกล่าวว่า เยาวชนไทยส่วนใหญ่ไม่รู้จักตนเอง ไม่มีความสนใจ
ในการหาความถนัดเพ่ือการมีสัมมาชีพในอนาคต ระบบการศึกษาเป็นการสร้างเสริมการแข่งขันที่ผลักดัน
ให้เยาวชนเข้าสู่การเรียนในระดับอุดมศึกษา โดยปัจจัยส�ำคัญท่ีท�ำให้เยาวชนต้องเข้าสู่การแข่งขันสู่
การเรียนในระดับอุดมศึกษามาจากผู้ปกครอง ท่ีมีความเชื่อว่าลูก-หลานของตนจะประสบความส�ำเร็จ ใน
อาชีพการงาน คือ การเรียนในระดับอุดมศึกษา ความเชอื่ เหล่านม้ี ที ีม่ าและความถกู ตอ้ ง ในยุคสมยั ท่ีผ่านมา
(ศตวรรษท่ี 19 และ 20) สำ� หรับประเทศไทยเปน็ ช่วงท่ีได้มีการก่อตัง้ กระทรวง ทบวง กรม หนว่ ยงานภาครัฐ
จึงจ�ำเป็นท่ีระบบการศึกษาต้องสร้างและพัฒนาเยาวชนให้มีความรู้ความสามารถท�ำงานในองค์กรของรัฐ
ท่มี ีลำ� ดบั ชัน้ ผู้นำ� หัวหน้า ผปู้ ฏิบตั งิ าน ลูกนอ้ ง เรยี กต�ำแหนง่ โดยรวมวา่ ขา้ ราชการ ดว้ ยเหตนุ ีเ้ ยาวชนในยคุ
ที่ผ่านมาจึงได้รบั การพฒั นาเพ่ือการมีอาชพี เป็นขา้ ราชการ การเรยี นรู้ทักษะการทำ� งานท่ีรบั ค�ำสั่ง การสรา้ ง
ความพร้อมด้านอาชีพของนักเรียน จึง เชื่อผู้น�ำ ฟังผู้ใหญ่ เป็นล�ำดับข้ัน ผลที่ตามมาเยาวชนยุคท่ีผ่านมา
ประสบความส�ำเร็จในชีวิต ท�ำให้ความเชื่อเหล่านี้ ส่ังสมมายังผู้ปกครองในยุคปัจจุบัน การเรียนการสอน
ในสถานศึกษาจึงถูกถ่ายทอดมาจากประสบการณ์ความส�ำเร็จของคน ในยุคท่ีผ่านมา รวมทั้งความสามารถ
ของการสอนยังคงเปน็ รปู แบบเดิม (ศตวรรษท่ี 19 และ 20)

ขณะที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ท้ังภูมิอากาศภูมิประเทศ เทคโนโลยี แม้กระท่ัง
ปัจจัยหลกั ของการด�ำรงชวี ติ ที่มี 4 ปจั จยั ไดถ้ กู เปลี่ยนแปลงไปเปน็ ปจั จัย 5 และ 6 ในปจั จบุ ันนี้ หากแต่
กระบวนการเรียนรู้ที่สถานศึกษายังคงใช้วิธีเดิม ผู้เรียนจะไม่สามารถด�ำรงชีวิตในโลกที่เป็นจริงได้
โดยเฉพาะโลกของงาน ซ่ึงเป็นสิ่งส�ำคัญในการด�ำรงชีพของเยาวชน อันเป็นทรัพยากรมนุษย์ของไทยได้
ดงั นนั้ จึงต้องเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชพี ให้แก่ผู้เรียน ทง้ั น้ีความรเู้ กยี่ วกบั อาชีพ สามารถปลูกฝงั
ได้ต้ังแต่ระดับเล็ก (ประถมศึกษา) จนถึงระดับมัธยมศึกษา โดยออกแบบให้มีความ ซับซ้อนมากขึ้นตามวัย
และต้องปลูกฝังอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ผู้เรียนมีเจตคติรักงาน รู้จักวางแผนชีวิต เห็นเป้าหมายและทางเลือก
ตงั้ แต่ระดบั ประถมศกึ ษา ถึง มัธยมศกึ ษาตอนต้น

กระทรวงศึกษาธิการได้มีการก�ำหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
เป็น ๘ สาระการเรียนรู้ โดยมีสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่บรรจุอยู่ในหลักสูตร แต่ท�ำไมผู้เรียน
หรือ เยาวชนยังคงไม่มีเจตคติรักงาน ไม่รู้จักวางแผนชีวิต ไม่เห็นเป้าหมายและทางเลือก สาเหตุเกิด
จากอะไร กระบวนการเรยี นรู้มีส่วนใดท่ไี มต่ อบโจทย์

ผลงานศึกษาวจิ ัยขา้ งตน้ มีข้อค้นพบวา่
ทักษะส�ำคัญท่ีเด็กและเยาวชนต้องมี คือ เข้าใจอาชีพ มีเจตคติรักงาน รู้จักวางแผนชีวิต
มีทักษะชีวิต ความเข้าใจการเงิน เห็นเป้าหมายและทางเลือก รวมทั้งต้องเข้าใจ หลักการระดับ การจ�ำ
คดิ วเิ คราะห์ และประเมนิ ตนเองได้

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 191

การสร้างกระบวนการเรียนรตู้ อ้ งมุ่งให้ผเู้ รียนท�ำด้วยตนเอง ค้นหามาเอง จากสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั
โดยเริ่มจากใกลต้ วั (ครอบครวั ) และออกไปเป็นหมูบ่ ้าน ชมุ ชน ท้องถนิ่ ประเทศ โลก

การยอมรับความหลากหลายจากข้อมูลของผู้เรียนแต่ละคน เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนมีคุณค่าและ
แลกเปลยี่ นประสบการณ์ จนสามารถสรปุ ตามหลกั การทส่ี �ำคัญได้
คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนใน ๖ คณุ ลักษณะ สำ� หรับผเู้ รียนระดบั ประถมศกึ ษา ไดแ้ ก่
(1) ทักษะชวี ิต
(2) ความเข้าใจอาชพี
(3) ความเข้าใจการเงนิ
(4) ความรู้
(5) คดิ วเิ คราะห์
(6) ประเมินตน
คุณลกั ษณะของผ้เู รยี นใน ๖ คณุ ลักษณะ สำ� หรับผู้เรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ไดแ้ ก่
(1) ทกั ษะชีวติ -การเรยี น
(2) ความเขา้ ใจอาชีพ
(3) ความเขา้ ใจการเงิน
(4) คดิ -ประเมนิ
(5) การมนี ำ�้ ใจ
(6) การเปน็ เหตุเปน็ ผล

2) การสร้างความพร้อมทักษะชีวิตและโลกของงาน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4
ถึง มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เพื่อการจัดท�ำแผนการเรียนอาชีพ ท่ีตอบสนองตลาดแรงงานของพ้ืนท่ีสถานการณ์
และความส�ำคญั

จากผลการศึกษาของส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน(สสค.) ซึ่งได้
รวบรวมข้อมูลสถิติจากรายงานและข้อมูลด้านการศึกษา เด็ก เยาวชน แรงงาน และที่เกี่ยวข้อง ที่เผยแพร่
ในปี 2554 - 2556 ของหน่วยงานระดับชาติและระดับนานาชาติ ข้อมูลด้านก�ำลังแรงงาน ของเด็กและ
เยาวชน พบว่า

สถานการณ์ภาพรวมในระดับประเทศมีเด็กหลุดออกนอกระบบชั้น ม.3, ม.4 และ ม.5 ประมาณ
ร้อยละ 40 และเด็กท่ีเรียนจบ ม.6 แต่ไม่ต่อมหาวิทยาลัยอีกร้อยละ 20 นั่น หมายถึง การที่เยาวชน
ออกจากระบบการศกึ ษา กจ็ ะตอ้ งเข้าสูร่ ะบบการทำ� งาน มีสมั มาชีพ ซง่ึ เยาวชนเหลา่ นีม้ ที กั ษะการประกอบ
อาชีพเพยี งพอ หรือไม่

นอกจากนี้เยาวชนที่อยู่ในช่วงวัยดังกล่าวข้างต้น ส่วนใหญ่ไม่เข้าใจความส�ำคัญของ การมีอาชีพ
เนื่องจากกระบวนการเรียนรู้ไม่สนับสนุน หรือส่งเสริมกิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่โลก ของงานให้แก่
เยาวชน ทั้ง ๆ ทีใ่ นหลักสูตรหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
ก็มสี าระการเรยี นรดู้ ้านการงานอาชีพ และเทคโนโลยี

192 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

อย่างไรก็ตามจากข้อมูลการศึกษาการเตรียมความพร้อมด้านอาชีพส�ำหรับผู้เรียนระดับ ประถม
ศึกษา ถึง มัธยมศึกษาตอนต้น แสดงให้เห็นถึงปัญหาการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียน ไม่สามารถแสดง หรือ
กล้าคดิ กล้าท�ำในเรอ่ื งอาชีพ กอรป์ กบั ผู้ปกครอง ครอบครัวมีอทิ ธพิ ลในการ สง่ เสรมิ ผู้เรียนใหเ้ รียนตามเส้น
ทางท่ีคาดหวัง ซึ่งก็เป็นความถูกต้อง แต่ในข้อเท็จจริงต้นทุนชีวิตของ เยาวชนมีไม่เท่ากัน แต่ศักยภาพ
ในการพฒั นามีได้เช่นเดียวกัน

ดงั นนั้ การจดั แผนการเรียนร้ดู า้ น อาชพี ในโรงเรียนสายสามญั จึงเป็นการสรา้ งทางเลอื กให้แกผ่ ู้เรียน
เพมิ่ โอกาสในการดึงศักยภาพ ในการพัฒนาสูส่ ัมมาชีพไดท้ างหนึ่ง ขณะเดยี วกนั เป็นการเพม่ิ โอกาสที่ผู้เรยี น
จะมีทักษะอาชพี ตดิ ตวั หากจ�ำเป็นต้องออกจากระบบการศึกษาในระบบใหญ่ เชงิ ลกึ เพอ่ื ให้การจดั ทำ� แผน
การเรียนรู้อาชีพของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายตอบสนองและ แก้ปัญหาดังกล่าว โดยใช้พ้ืนที่เป็นฐาน
ท้ังน้กี ารออกแบบแผนการเรียนรู้ จะคำ� นึงถึงสงิ่ ตอ่ ไปนี้

การแก้ปัญหาระยะเรง่ ด่วน กรณเี ยาวชนตอ้ งหลดุ ออกจากการศกึ ษาในระบบ ใหญ่ จะต้องสามารถ
มีทักษะพอเพียงในการประกอบอาชีพ เพ่ือให้อยู่ได้ในสังคม ขณะเดียวกันต้องสามารถกลับเข้าสู่การเรียนรู้
ต่อไปในอนาคต เมือ่ มคี วามพร้อม

การแก้ปัญหาการขาดแรงงานของตลาดแรงงานในท้องถ่ิน จึงต้องน�ำเอาทักษะ อาชีพของตลาด
แรงงานท้องถิ่นมาเป็นต้ังในการออกแบบด้วย ทั้งนี้จะสามารถ สร้างความร่วมมือกับผู้ประกอบการ
ทีต่ ้องการแรงงานมาเป็นผสู้ รา้ งทกั ษะแก่ ผู้เรยี น และการสร้างความพรอ้ มด้านอาชีพของนักเรยี น

การดงึ คนกลับถน่ิ การเรียนร้ทู ักษะเฉพาะทางทตี่ อบสนองตลาดแรงงานในท้องถนิ่ จะเป็นการสรา้ ง
ใหค้ นทอ้ งถน่ิ ไดป้ ระกอบสมั มาชีพในถิน่ ฐานของตนเอง และพฒั นาด้านระบบเศรษฐกจิ ใหท้ อ้ งถิน่ เติบโตได้

ด้วยแนวคิดดังกล่าว สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงควรออกแบบแผนการเรียนรู้
ด้านอาชีพไว้ เพื่อตอบโจทย์การต้องการแรงงานในอนาคต ซ่ึงต้ังเป้าหมายโรงเรียนท่ีจัดการเรียนแผน
การเรียนร้อู าชีพไว้ เช่น แผนการ เรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ – การดแู ลผู้สูงวยั , แผนการเรยี น ด้านเกษตร
เชิงพาณชิ ยใ์ นโรงเรยี น ฯลฯ

อย่างไรก็ตาม แนวทางดังกล่าวแม้ยังมีอุปสรรคในการจัดท�ำแผนการเรียนรู้ด้านอาชีพส�ำหรับผู้เรียน
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เนื่องจากมีปัจจัยที่ไม่เกือ้ หนุนตา่ ง ๆ เช่น

ลักษณะของโครงการฯน้ีต้องอาศัยความร่วมมือในระดับมหภาค ระดับจังหวัดท่ี ต้องมีภาคี
หลากหลายภาคส่วน ล�ำพังสถานศึกษา หรือ เขตการศึกษา ไม่สามารถ ขับเคล่ือนลงสู่การปฏิบัติได้
แต่ถ้าริเริ่มผลักดันร่วมกันโดยใช้การจัดการการศึกษาเชิงพื้นท่ี โดยสถานศึกษาหรือส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา หรือ ส�ำนักงานการศึกษาจงั หวดั คงเหน็ ผลได้

ความไมแ่ น่นอนของระบบส่วนกลาง สง่ ผลให้โรงเรยี นทส่ี นใจ ก็จะยังไมส่ ามารถ หรอื ไมก่ ล้าดำ� เนนิ
การต่อได้ ท้ังน้ีประสบการณ์ของครู และผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนพบว่า กระทรวงศึกษาธิการ
มีการเปลี่ยนแปลงคำ� สง่ั กระบวนการตา่ ง ๆ บ่อย จงึ ท�ำใหร้ ะดบั สถานศกึ ษาไม่กลา้ รเิ ร่ิมในเร่ืองใหม่ ๆ

การขาดความรู้และทักษะในการบริหารแนวคิดใหม่ๆ ของผู้บริหารสถานศึกษา รวมท้ังครู ท�ำให้ไม่
กล้าเสี่ยงต่อการเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ ขณะเดียวกันยังมีการน�ำเสนอ สิ่งใหม่ ๆ มากมาย จนครูแยกแยะไม่ออก
วา่ จะใชว้ ธิ ีการใดจึงจะเกดิ ผลทีด่ ที ีส่ ดุ

มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 193

ท้ังนหี้ ากมีการดำ� เนินงาน คขู่ นาน 2 ทางได้ คอื
1. การสร้างภาคีส่วนงานในพ้ืนที่ เพื่อจัดท�ำยุทธศาสตร์ขับเคล่ือนการพัฒนาก�ำลังคน และใช้
การศึกษาเป็นเคร่ืองมือในการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์สู่ความส�ำเรจ็ ของยทุ ธศาสตร์
2. การส�ำรวจตลาดแรงงานของพื้นที่ เพ่ือเสริมการวางยุทธศาสตร์จังหวัดอย่างมีทิศทาง
และก�ำหนดการพัฒนาเศรษฐกจิ ร่วมกบั การพัฒนาคน
เม่ือข้อมูล 2 ส่วนน้ีได้น�ำมาใช้เพ่ือการพัฒนาคนตามยุทธศาสตร์จังหวัด จะส่งผลให้ สถานศึกษา
สามารถวางแผนและท�ำหน้าท่ีสร้างพัฒนาทรัพยากรให้ท้องถ่ิน (เป็นหลัก) และพัฒนา ทรัพยากรให้
ประเทศชาติ และโลกตามสัดส่วนและทนุ ชวี ิตให้บรรลุผลในภาพใหญไ่ ด้

เอกสารอ้างอิง
รายงานผลการศึกษาการปฏิรูปการเรียนรู้เพอ่ื สรา้ งความพร้อมในการประกอบอาชพี แก่เยาวชน โดย ศ. ดร. สุมาลี
ต้งั ประดับกลุ และคณะ ศูนยบ์ ริการวิชาการ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ดร. เกยี รตอิ นนั ต์ ลว้ นแก้ว และคณะ
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์และ นางสาวธันว์ธิดา วงศ์ประสงค์และคณะ ส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และ
คณุ ภาพเยาวชน (สสค.) ภายใต้การสนบั สนุนของส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (ปี 2559)

194 มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)


Click to View FlipBook Version