The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565

แผนปฏิบัติการ

ประจำปีงบประมาณ

2565

กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร





สารบัญ ค

เร่ือง หนา้

คำเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ก
คำนำ ข
สารบัญ ค
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐาน 1
1
ขอ้ มลู ทั่วไป 2
ข้อมูลจำเพาะ 4
ข้อมูลดา้ นการบรหิ ารสถานศึกษา 5
ขอ้ มูลนักเรียน 6
ขอ้ มลู บุคลากร 11
ข้อมลู ดา้ นอาคารเรยี นและสงิ่ ปลูกสรา้ ง 12
ข้อมูลด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ 13
สภาพชมุ ชนโดยรวม 14
ข้อมูลดา้ นงบประมาณและทรัพยากร 14
แหล่งเรยี นรู้ ภูมิปญั ญาท้องถิ่น 16
ผลการประเมินภายนอกรอบสี่ 31
สว่ นท่ี 2 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 31
ทิศทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 31
31
วสิ ัยทศั น์ 31
พันธกจิ 34
เปา้ หมาย 34
เอกลกั ษณ์ 34
อัตลกั ษณ์ 34
คา่ นิยม 35
จดุ เน้น 36
แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

สารบญั (ตอ่ ) หนา้

เร่อื ง 37
40
ส่วนท่ี 3 ประมาณการรายรบั และรายจ่าย ประจำปงี บประมาณ 2565 66
สว่ นท่ี 4 แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2565
ส่วนท่ี 5 การกำกับ ติดตาม ประเมินและรายงาน

1

ส่วนท่ี 1
ข้อมูลพน้ื ฐาน

สภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
อำเภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวัดสกลนคร สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสกลนคร

ข้อมูลท่ัวไป

1. ข้อมลู ทัว่ ไป
โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา

สกลนคร เปน็ โรงเรยี นมธั ยมศึกษา ทเี่ ปิดสอนเฉพาะระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย เดิมสงั กดั กรมสามญั
ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปจั จบุ นั สงั กัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตั้งอยู่เลขที่ 121 หมู่ที่ 12 ตำบลสว่างแดนดิน อำเภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวดั
สกลนคร 47110

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เดมิ ช่ือ “โรงเรยี นสวา่ ง” ก่อตั้งเม่ือ
พ.ศ. 2502 โดยความเออ้ื เฟื้อของ หลวงปริวรรตวรพิจติ ร สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรจงั หวัดสกลนคร
สมัยน้ัน ครใู หญ่คนแรก คือ นายประมวล อปุ พงษ์

1 สิงหาคม 2506 นายนริ ัตน์ วิภาวนิ ดำรงตำแหนง่ ครใู หญ่ และในปีน้ไี ด้เปล่ยี นช่ือ
โรงเรยี น เปน็ “โรงเรยี นสวา่ งศึกษา”

พ.ศ. 2541 กรมสามญั ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ มนี โยบายกระจายคณุ ภาพ
ไปสู่ภมู ภิ าค เพ่ือเปิดโอกาสให้นักเรยี นในต่างจงั หวดั มีคุณภาพทดั เทยี มกับโรงเรียนทมี่ ีชอ่ื เสยี งใน
กรุงเทพมหานคร จึงประกาศจัดตง้ั โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษาข้ึนทั้ง 4 ภาค ซึง่ มีการจดั การเรยี นการสอน
แบบเดยี วกนั กบั โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษา กรุงเทพมหานคร

1 มถิ นุ ายน 2542 กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศเปลีย่ นช่อื โรงเรยี น
จาก“โรงเรียนสว่างศกึ ษา” เป็น “โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ” ได้ดำเนินการรบั
นกั เรียนและเปดิ ทำการเรยี นการสอน ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ถงึ ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ตั้งแต่
ปีการศกึ ษา 2542 เป็นต้นมา ปจั จุบนั โรงเรยี นมีพน้ื ท่ี 57 ไร่ 2 งาน 84 ตารางวา

2

2. ขอ้ มูลจำเพาะ

ภาพประกอบ 1 ตราสัญลักษณโ์ รงเรียน คือ พระเก้ยี ว

2.1 ชื่อโรงเรียนภาษาไทย โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

ชื่อโรงเรยี นภาษาองั กฤษ Triam Udom Suksa School of the Northeast

ชื่อโรงเรียนภาษาจีน 东北预科学校

ชอ่ื โรงเรยี นภาษาเกาหลี

ชื่อโรงเรียนภาษาญีป่ ุ่น

อกั ษรย่อประจำโรงเรียน คอื “ต.อ.” ภาษาอังกฤษ “TUNE.”

2.2 สีประจำโรงเรียน คอื “สีชมพู”

2.3 พทุ ธสภุ าษิตประจำโรงเรยี น คอื

นมิ ิตตฺ ํ สาธรุ ปู านํ กตญฺญูกตเวทติ า

ความกตญั ญกู ตเวทเี ป็นเครอ่ื งหมายของคนดี

2.4 ต้นไม/้ ดอกไมป้ ระจำโรงเรยี น คือ ตน้ ราชพฤกษ์ (ต้นคูณ)/ดอกคูณ

2.5 อัตลกั ษณ์ คอื “ต.อ. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ต้นกล้าของแผน่ ดิน”

2.6 เอกลกั ษณ์ คือ “ความเปน็ เลิศทางวชิ าการและคุณธรรม”

2.7 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

1) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง

2) ซ่อื สตั ย์ สุจริต 6) มงุ่ ม่นั ในการทำงาน

3) มีวนิ ยั 7) รักความเป็นไทย

4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ

3

โครงสร้างการบรหิ ารโรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ผู้อํานวยการโรงเรยี น สมาคมศิษยเ์ กา่ ผูป้ กครอง ครูสวา่ งศึกษา
เตรียมอดุ มศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

รองผ้อู ํานวยการโรงเรยี น รองผ้อู าํ นวยการโรงเรยี น รองผอู้ าํ นวยการโรงเรียน รองผูอ้ าํ นวยการโรงเรยี น

กล่มุ บริหารวชิ าการ กลมุ่ บริหารบุคคล กล่มุ บรหิ าร กลมุ่ บรหิ ารทัว่ ไป กล่มุ บรหิ าร
งบประมาณและ กิจการนักเรยี น
- งานห้องเรยี นพเิ ศษ - งานวางแผนอตั รากําลงั
วิทยาศาสตร์ - งานสรรหาและบรรจแุ ต่งตงั้ แผนงาน - งานธรุ การสารบรรณ - งานระบบดแู ล
- งานพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ - งานส่งเสรมิ การศกึ ษาเพ่ือ ช่วยเหลือนกั เรียน
- งานพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน พัฒนาบุคลากร - งานแผนกลยทุ ธ์ - งานประชาสมั พนั ธ์
- งานวิจยั และพฒั นา - งานสง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพใน - งานแผนปฏบิ ัตกิ าร - งานเสรมิ สร้างและรกั ษา
หลักสูตร การปฏบิ ัตงิ าน ประจําปี - งานอาคารสถานที่ วนิ ยั นกั เรยี น
- งานแนะแนวการศกึ ษา - งานส่งเสริมมาตรฐาน - งานจดั ทําแผนงบประมาณ
- งานทะเบียนนักเรียน วิชาชีพและจรรยาบรรณ และคําขอต้งั งบประมาณ - งานรักษาความ - งานส่งเสริมคุณธรรม
- งานวัดผล ประเมินผลและ วชิ าชพี - งานบรหิ ารการเงนิ และ ปลอดภัยในสถานศึกษา จรยิ ธรรมนกั เรียน
เทยี บโอนผลการเรยี น - งานประเมินผลการ บญั ชี
- งานประสานความรว่ มมอื ปฏิบัติงาน - งานบรหิ ารพสั ดแุ ละ - งานอนามัยโรงเรยี น - งานสง่ เสรมิ สวสั ดกิ าร
กบั หน่วยงานอืน่ ในการ - งานจัดทําระบบและการ สนิ ทรพั ย์ นกั เรยี น
พฒั นาและทดสอบด้าน จดั ทําทะเบยี นประวตั ิ - งานสวสั ดิการ - งานโภชนาการ
การศึกษา - งานอนื่ ๆ ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย - งานระดมทนุ - งานกองทนุ เพอื่
- งานพัฒนาแหล่งเรียนรสู้ ื่อ - งานสารสนเทศ - งานเลขานกุ าร การศกึ ษา
และนวตั กรรมทางการศกึ ษา - งานอ่นื ๆ ทไี่ ดร้ ับ คณะกรรมการ
- งานประกันคณุ ภาพภายใน มอบหมาย สถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน - งานคณะกรรมการ
- งานพฒั นาคณุ ภาพ นักเรียน
การศึกษา - งานเทคโนโลยี
- งานรบั นกั เรยี นใหม่ สารสนเทศ - งานอ่ืนๆ ที่ไดร้ ับ
- งานอืน่ ๆทไี่ ด้รบั มอบหมาย - งานระบบควบคุม มอบหมาย
ภายใน
- งานอ่นื ๆ ที่ไดร้ บั
มอบหมาย

4

3. ขอ้ มลู ดา้ นการบรหิ ารสถานศึกษา

ตาราง 1 แสดงทำเนียบผูบ้ ริหารโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2542 – ปัจจุบนั

ท่ี ชื่อ - สกลุ ตำแหนง่ /ระดบั /วทิ ยฐานะ ปีพุทธศักราช

1 นายวันชยั วิเศษโพธศิ รี ผู้อำนวยการเชีย่ วชาญ 2542 - 2547

2 นายประทวน วิไลศลิ ป์ ผู้อำนวยการชำนาญการพเิ ศษ 2547 - 2548

3 นายเลอพงษ์ อทุ ธา ผอู้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ 2548 - 2555

4 ว่าทรี่ .ต.ชยั เดช บญุ รกั ษา ผูอ้ ำนวยการเช่ยี วชาญ 2555 - 2559

5 ว่าทีร่ .ต.ดร.สกุ ิจ ศรพี รหม ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ 2559 – ปจั จบุ นั

ตาราง 2 แสดงข้อมูลรองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารงาน

ที่ ชื่อ-นามสกุล ตำแหนง่ /วิทยฐานะ กลุ่มบริหารงาน
กลุ่มบริหารงานบคุ คล
1 ดร.ไพบูลย์ สรุ ารกั ษ์ รอง ผอ.ชำนาญการพิเศษ กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ
กลุม่ บรหิ ารงานงบประมาณฯ
2 นายภัทรพล ประเสรฐิ แกว้ รอง ผอ.ชำนาญการ กลมุ่ บริหารงานงบประมาณฯ

3 นายพงษ์ขจร บุญพงษ์ รอง ผอ.ชำนาญการ

4 นายปรเมศว์ นมิ่ มา รองผู้อำนวยการ

ตาราง 3 แสดงข้อมูลหวั หนา้ กลมุ่ บรหิ ารงาน

ที่ ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง/วิทยฐานะ กลุม่ บริหารงาน
กลุ่มบริหารงานวชิ าการ
1 นายชำนาญ เพรดิ พราว ครูชำนาญการพเิ ศษ กลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณฯ
กลมุ่ บริหารงานทัว่ ไป
2 นางพรปวณี ์ เจริญปรดี ีรัชต์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ กลมุ่ บริหารงานบคุ คล
กลุ่มบรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน
3 นางสาวกิริยา ทิพมาตย์ ครชู ำนาญการพิเศษ

4 นางสาวนงลกั ษณ์ บวั ทอง ครชู ำนาญการพิเศษ

5 นายเสนีย์ ธรี สิรนิ านนท์ ครชู ำนาญการพิเศษ

ตาราง 4 แสดงข้อมลู หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้

ที่ ชอ่ื -นามสกุล ตำแหน่ง/วิทยฐานะ หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย
1 นายนพดล ศรสี าคร ครูชำนาญการพิเศษ คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์
2 นางพรปวณี ์ เจริญปรดี ีรัชต์ ครชู ำนาญการพิเศษ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
สขุ ศึกษาและพลศึกษา
3 นางพิศมยั พานโฮม ครูชำนาญการพิเศษ ศิลปะ

4 นางธิกานดา ศรสี าคร ครูชำนาญการพเิ ศษ

5 นางหทัยชนก งอยแพง ครูชำนาญการพเิ ศษ

6 นางสาวรจุ ริ าภรณ์ สายบญุ รอด ครชู ำนาญการพเิ ศษ

5

ท่ี ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง/วทิ ยฐานะ หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
7 นางสาวกิริยา ทพิ มาตย์ ครชู ำนาญการพิเศษ การงานอาชพี และเทคโนโลยี
8 นายสวุ ชล สรุ าษฏร์ ครชู ำนาญการพิเศษ ภาษาตา่ งประเทศ
9 นายสถาพร สตุ บิ ตุ ร ครู กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน

4. ขอ้ มลู นกั เรียน

ปจั จบุ ันโรงเรียนมีขอ้ มลู เกย่ี วกับจำนวนนักเรียน (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 25 ม.ิ ย 64) ดงั น้ี

1) จำนวนนกั เรียน ทั้งหมด 2,194 คน

2) จำนวนนักเรยี นจำแนกตามระดบั ชัน้ ท่เี ปดิ สอน

ตาราง 5 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรยี น

ระดับช้นั จำนวน เพศ รวม
ห้องเรยี น ชาย หญิง

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 25 223 654 880

มัธยมศึกษาปีท่ี 5 21 215 471 687

มัธยมศึกษาปีที่ 6 19 204 423 627

รวมทั้งส้ิน 65 595 1,331 2,194

3) มีนกั เรียนที่มคี วามบกพร่องเรียนรว่ ม - คน
4) มนี ักเรยี นที่มภี าวะ ทุพโภชนาการ - คน
5) มีนักเรียนปัญญาเลิศ - คน
6) มนี กั เรียนต้องการความช่วยเหลือเปน็ พเิ ศษ - คน
7) จำนวนนักเรียนต่อห้อง (เฉลยี่ ) 34 คน
8) สัดส่วนครู : นักเรยี น = 1 : 20
9) จำนวนนักเรยี นทล่ี าออกกลางคนั (ปปี ัจจุบนั ) - คน
10) สถิติการขาดเรยี นเฉลย่ี ต่อเดือน 2 วัน
11) จำนวนนกั เรยี นทที่ ำช่อื เสยี งให้แกโ่ รงเรียน 400 คน

6

5. ข้อมลู บคุ ลากร ตำแหน่ง/วทิ ยฐานะ วฒุ ิ วชิ าเอก
ตาราง 6 แสดงข้อมูลบุคลากร ผอ.ชำนาญการพเิ ศษ ศษ.ด การบรหิ ารการศึกษา
ท่ี ชือ่ – ช่ือสกลุ ปร.ด ปรัชญาการศกึ ษา
1 วา่ ท่ี ร.ต.ดร.สุกจิ ศรพี รหม รอง ผอ.ชำนาญการพเิ ศษ ค.ม การบรหิ ารการศึกษา
2 ดร.ไพบลู ย์ สุรารักษ์ ค.ม การบรหิ ารการศึกษา
3 นายพงษ์ขจร บุญพงษ์ รอง ผอ.ชำนาญการ ค.บ. พลศกึ ษา
4 นายปรเมศว์ น่ิมมา ค.ม. หลักสูตรและการสอน
5 นายเสนยี ์ ธีรสริ ินานนท์ รองผอู้ ำนวยการ ศษ.บ คณติ ศาสตร/์ ชีววิทยา
6 นางพิศมัย พานโฮม กศ.บ. วัดผลการศึกษา
7 นางสุนิสา จงขจรพนั ธ์ ครชู ำนาญการพิเศษ ศษ.ม. การบริหารการศึกษา
8 นางเสาวคนธ์ สิงหอ์ ร ครชู ำนาญการพิเศษ กศ.บ. ฟสิ ิกส์
9 น.ส.กนกวรรณ ศรดี าวเรือง ครูชำนาญการพเิ ศษ กศ.ม. เทคโนโลยีการศึกษา
10 นายกติ ตศิ ักดิ์ สิงห์อร ครชู ำนาญการพเิ ศษ ศษ.บ. ภาษาไทย
11 น.ส.กิรยิ า ทิพมาตย์ ครูชำนาญการพิเศษ ค.บ. ภาษาไทย
12 น.ส.สนุ ทรี เลศิ สงคราม ครูชำนาญการพเิ ศษ ค.บ. สังคมศึกษา
13 นายนพดล ศรสี าคร ครูชำนาญการพเิ ศษ ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา
14 นางธกิ านดา ศรีสาคร ครชู ำนาญการพิเศษ บธ.ม. การจดั การ
15 นางพรปวีณ์ เจริญปรีดีรชั ต์ ครูชำนาญการพิเศษ ค.บ. ภาษาองั กฤษ
16 นางชมุ ากานต์ สุรเสยี ง ครชู ำนาญการพเิ ศษ กศ.ม. คณติ ศาสตร์
17 นางจนั ทรจ์ ริ า แงพ่ รหม ครชู ำนาญการพเิ ศษ ค.บ. ภาษาองั กฤษ
18 นางรพีพร สุรารักษ์ ครูชำนาญการพิเศษ ค.ม. หลักสูตรและการสอน
19 นายสวุ ชล สรุ าษฎร์ ครูชำนาญการพเิ ศษ ศษ.ม. วิทยาศาสตร์ศึกษา
20 นางภริ นันท์ ข่วงทิพย์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ M.Ed TESOL
21 นายชำนาญ เพริดพราว ครูชำนาญการพิเศษ ค.บ. เคมี
22 นายอนวุ ัฒน์ แก้วมะ ครชู ำนาญการพิเศษ ค.บ. ชวี วิทยา
23 น.ส.ชญั ญาพัทธ์ ธนดิษฐาพงศ์ ครูชำนาญการพเิ ศษ กศ.ม. การบริหารการศึกษา
24 นางกวนิ นาฎ เสียงเลศิ ครูชำนาญการพิเศษ กศ.ม. วทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา (ฟสิ กิ ส)์
25 นางสวุ ิมล สรุ ิยะ ครูชำนาญการพเิ ศษ ค.ม. ชวี วิทยา
26 น.ส.บษุ กร เสโนฤทธ์ิ ครูชำนาญการพเิ ศษ วท.ม. ฟิสิกส์
27 นางกลั ยารัตน์ นาคยี ์ ครชู ำนาญการพิเศษ ค.บ. สังคมศึกษา
28 น.ส.อุทุมพร ศรสี าคร ครชู ำนาญการพเิ ศษ ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา
29 น.ส.นงลกั ษณ์ บวั ทอง ครชู ำนาญการพเิ ศษ
30 น.ส.อารลี ักษณ์ คำโสภา ครชู ำนาญการพิเศษ
ครูชำนาญการพเิ ศษ
ครชู ำนาญการพเิ ศษ

7

ที่ ช่อื – ช่ือสกลุ ตำแหนง่ /วทิ ยฐานะ วฒุ ิ วชิ าเอก

31 น.ส.ปยิ ะนุช บุญชาญ ครชู ำนาญการพิเศษ ศษ.ม. การบริหารการศึกษา

32 นายเสกสรร จำปาออ่ น ครชู ำนาญการพเิ ศษ ค.บ. คณิตศาสตร์

33 น.ส.บณุ ฑรกิ บุตราช ครูชำนาญการ วท.บ. ชีววทิ ยา

34 น.ส.อัญชลี สุขพลิ าภ ครชู ำนาญการ วท.บ. คณติ ศาสตร์

35 นายอธิวัฒน์ วงษาไชย ครูชำนาญการ ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา

36 น.ส.สภุ าวดี ทศั มี ครชู ำนาญการ ค.บ. ฟิสิกส์

37 น.ส.ศรอี ดุ ร ลา้ นสาวงษ์ ครชู ำนาญการ วท.บ. ชวี วทิ ยา

38 นายวิฑรู ย์ พลแสน ครูชำนาญการ ค.บ. ฟสิ ิกส์

39 นางนันทิยา เชือ้ คำฮด ครูชำนาญการ วท.บ. เคมี

40 นายภูวนาท พนู สวัสสดิ์ ครชู ำนาญการ กศ.บ. สังคมศึกษา

41 น.ส.สายสนุ ยี ์ ไชยสขุ ครูชำนาญการ ค.บ. ภาษาองั กฤษ

42 นางสาวรงุ่ ทพิ ย์ ไชยทองพันธุ์ ครชู ำนาญการ ค.บ. คณิตศาสตร์

43 นายภทั รกร วรุตาธนสาร ครูชำนาญการ ค.บ. คณติ ศาสตร์

44 น.ส.พิมพช์ นก แจง้ ภเู ขียว ครู ค.บ. สังคมศึกษา

45 นางเมวิชญา ชวภณพิพฒั ครู ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ

46 นางสาวศกลวรรณ ฝุ่นเงิน ครู ศษ.บ. ภาษาไทย

47 นางสาวอมรรัตน์ โพธ์ิปดั ชา ครู ศษ.บ. ภาษาไทย

48 น.ส.อมรรัตน์ เทยี มราช ครู ศษ.บ. ภาษาไทย

49 นายศกั ดิ์เกียรติ จนั ทรล์ ือชัย ครู ค.บ. ภาษาองั กฤษ

50 นายเสกสทิ ธิ์ ปาละสทิ ธ์ิ ครู วท.บ. จิตวิทยา

51 นางฐรัชญา กินรี ครู วท.บ. สถติ ิ

52 น.ส.พมิ พร อุ่นแกว้ ครู ค.บ. เคมี

53 นายอรรตพล ก้อนตาล ครู ค.บ. คณิตศาสตร์

54 นายวรี ะศักด์ิ อุปถานา ครู ค.บ. ชวี วิทยา

55 นางณิชากร โสภาพร ครู ศศ.บ. บรรณารักษ์

56 น.ส.ดลนภา พรรนื่ เริง ครู ศศ.ม. การสอนวทิ ยาศาสตร์

57 น.ส.ศศนิ ันท์ สาขามุละ ครู วท.บ. เคมี

58 นายสทุ ธชิ ยั แสนทา้ ว ครู ค.บ. ฟสิ กิ ส์

59 น.ส.เอมมกิ า วเิ ศษตนุ่ ครู ค.บ. ชวี วทิ ยา

60 น.ส.ปาริชาติ พนั ธศุ์ ริ ิ ครู ศษ.บ. สงั คมศึกษา

61 น.ส.หทยั ชนก สมุ่ มาตย์ ครู วท.บ. วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า

62 น.ส.รุจริ าภรณ์ สายบญุ รอด ครู ศษ.บ. ศลิ ปศึกษา

8

ที่ ชือ่ – ช่ือสกลุ ตำแหนง่ /วทิ ยฐานะ วุฒิ วชิ าเอก

63 นายวชั ระ เหมือนสวสั ด์ิ ครู ค.บ. คณติ ศาสตร์

64 น.ส.ขจนี ุช ดาโอภา ครู ศษ.ม. ภาษาไทย

65 นายสถาพร สุตบิ ุตร ครู ศศ.ม. การสอนวทิ ยาศาสตร์

66 น.ส.เรอื งรนิ สนิ ธุระวทิ ย์ ครู ศษ.บ. เคมี

67 น.ส.วยิ ะดา สิริอมตธรรม ครู ศษ.ม. การศึกษาวทิ ยาศาสตร์

68 นายอสิ ระ ดอนหลักคำ ครู ค.บ. สงั คมศึกษา

69 นายทัชนนท์ สตั ถาผล ครู ศป.บ. ดุรยิ างคศ์ ิลป์

70 น.ส.มาลิณี แก้วเกดิ มี ครู ค.บ. คอมพิวเตอร์ศึกษา

71 น.ส.อัมพา เพญ็ สุวรรณ ครู บธ.บ. การบัญชี

72 นางสาวขวัญทรัพย์ ศรวี รกลุ ครู ค.บ. คณิตศาสตร์

73 น.ส.อัจฉรยิ า เช้ือเพชร ครู ศษ.บ. คณิตศาสตร์

74 นายนเรศ เปล่ียนคำ ครู ค.บ. ภาษาอังกฤษ

75 นางกนกชญา หารธงชัย ครู ค.บ. ภาษาองั กฤษ

76 นางสาวจิราภรณ์ เหลืองสนิ ศิริ ครู ค.บ. ภาษาองั กฤษ

77 นางสาวมาลพี ร ดว้ งโตด้ ครู ค.บ. ภาษาองั กฤษ

78 นายทศพร ศรพี ลพา ครู ค.บ. ภาษาอังกฤษ

79 น.ส.ศิริขวัญ ขันทะ ครู ศษ.บ. ฟิสิกส์

80 น.ส.ผกาวรรณ กลางชมภู ครู กศ.ม. เคมี

81 นายชัยมงคล อาจโยธา ครู วท.ม. ฟิสิกส์

82 น.ส.ชนาพร ดาโอภา ครู ค.บ. คณิตศาสตร์

83 นางสาววสิ ุดา ตลบหอม ครูผชู้ ่วย ค.บ. ภาษาจีน

84 นางสาวศริ ิวรรณ นนทะชัย ครูผู้ชว่ ย ศศ.บ. ภาษาเกาหลี

85 นายอภสิ ิทธ์ิ ตองก่ิงแดง ครผู ู้ช่วย วท.บ คณิตศาสตร์

86 นายเจษฎา ถาปนั แก้ว ครูผู้ชว่ ย วท.บ ชีววิทยา

87 นางสาวศรัญญา วงษ์ศิลา ครผู ู้ช่วย วท.บ ชีววิทยา

88 นายภานวุ ฒั น์ อนิ ทรเกษม ครผู ู้ชว่ ย ค.บ. วิทยาศาสตร์

89 นางสาวอเนชา วลิ าไชย ครูผชู้ ่วย วท.บ เคมี

90 นางสาวศุชันษา อนิ หา ครูผชู้ ่วย ค.บ. อตุ สาหกรรม

91 นายพชิ ิตพล สำราญทอง ครผู ู้ชว่ ย ค.บ. พลศกึ ษา

92 นางสาวมริสา ไชยวงศค์ ต ครูผู้ชว่ ย ค.บ. ภาษาไทย

93 นางสาวปภสั รา คึมยะราช ครูผชู้ ่วย ค.บ. คหกรรมศาสตร์

94 นางสาวสุทธิกานต์ บตุ ราช ครูผู้ชว่ ย ศษ.บ. ภาษาองั กฤษ

9

ท่ี ชื่อ – ช่ือสกลุ ตำแหนง่ /วิทยฐานะ วฒุ ิ วิชาเอก

95 น.ส.พมิ ณัฏฐา ชนดิ กุล พนกั งานราชการ ค.บ. ภาษาไทย

96 น.ส.นภิ าพร อะรมช่นื พนกั งานราชการ ค.บ. นวตั กรรมและคอมพิวเตอร์

97 นางสาวจิรารตั น์ แกว้ กอ้ ย พนกั งานราชการ ค.บ. สังคมศึกษา

98 นางสาวนนั ทวนั สำแดงชยั อัตราจ้าง บช.บ บัญชี

99 นางสาววลิ านี สุทา อตั ราจ้าง ค.บ. วิทยาศาสตร์

100 นางสาวสุชาดา การสุวรรณ อัตราจา้ ง ค.บ. วิทยาศาสตร์

101 นางสาวกุลนษิ ฐ์ เทศน์เรียน อัตราจ้าง วท.บ. คณติ ศาสตร์

102 นายกฤษฎิ์พงศ์ สมบูรณ์พร้อม อตั ราจา้ ง น.บ. นิตศิ าสตร์

103 นางสาวธรี าภรณ์ ยลอนนั ต์ อตั ราจา้ ง ศศ.บ. สารสนเทศศาสตร์

104 นางสาวมานติ า เจริญเชือ้ อัตราจ้าง ศศ.บ. ภาษาเกาหลี

105 นางสาวปิยวดี สัตถาผล อัตราจ้าง วท.บ. คณติ ศาสตร์

106 นายธวัชชยั ภอู าศัย อัตราจ้าง วท.บ. คอมพวิ เตอร์

107 นางสาวนรี พฒั น์ ฟองอ่อน อัตราจา้ ง ค.บ. ภาษาอังกฤษ

108 นางสาวธารารัตน์ จนั ชมภู อัตราจ้าง ค.บ. วิทยาศาสตร์

109 นางสาวนศิ ากร อนิ ทรบำรุง อัตราจ้าง วท.บ. ภาษาจนี

110 นางสาวศภุ าพร พิกลุ ศรี อัตราจ้าง ศศ.บ. ภาษาจีน

111 นายฐาปนพงศ์ พรรืน่ เริง อตั ราจ้าง ทล.บ เทคโนโลยบี ญั ฑิต

112 นายธวัชชยั สังขฤกษ์ อตั ราจ้าง วท.บ. วิทยาการคอมพวิ เตอร์

113 นายเกรยี งไกร ยิ้มแย้ม อตั ราจ้าง ค.บ. คอมพวิ เตอร์ศกึ ษา

114 นางสาวบงั อร จตุ าผิว อัตราจา้ ง ค.บ. สงั คม

115 นายธนกร ตรสี ูนย์ อตั ราจ้าง ค.บ. สงั คม

116 นางสาวพรชนก แสงนกิ ุล อตั ราจา้ ง ค.บ. คณิตศาสตร์

117 นายสุรสทิ ธิ์ ตดิ มา อตั ราจา้ ง ค.บ. นาฎศิลป์

118 นางสาวภาวิณี สุขคร อัตราจ้าง ศศ.บ. ภาษาญ่ีปนุ่

119 นางสาวพรศิริ จันใด Lab boy ค.บ. วิทยาศาสตร์

120 นางสาวสดุ ารัตน์ งิว้ สดี า ธุรการ ค.บ. อุตสาหกรรม

121 นายภานพุ งษ์ สวุ รรณรงค์ ครพู ิเศษ วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์

122 นายวทิ ศั นยั พรมราช ครพู เิ ศษ กษ.บ. เทคโนโลยกี ารศกึ ษา

123 นางสาวเวียงพิงค์ พรหมดา ครพู ิเศษ กษ.บ. เทคโนโลยีการศกึ ษาและคอมพวิ เตอร์

124 Mr.Lucas Frederick ครตู ่างชาติ B.A. History

125 Mr.Declan Eoin ครตู ่างชาติ B.A. International Relations

126 Ms.Eleanor Rose ครูตา่ งชาติ B.Sc. Psychology

ที่ ช่อื – ชื่อสกุล ตำแหน่ง/วทิ ยฐานะ วุฒิ 10
127 นายวศนิ บรรจทุ รพั ย์ ชา่ งไฟฟา้ ม.ศ.3 วชิ าเอก
128 นายสุขสวัสดิ์ เนตรฉัยยา ช่างไม้ ม.ศ.3
129 นางสาวรกั ใคร่ ศริ ิลัย พนกั งานทำความสะอาด ป.6
130 นายวฒั นา โสภาจร พนักงานอดั สำเนา ป.6
131 นายฐิติพรรธน์ พิลาวงศ์ คนสวน ป.6
132 นางมณี จนั ทร์บัวลา พนักงานทำความสะอาด ป.6
133 นายอนันต์ กดอ่อน พนกั งานขับรถ ม.6
134 นายวิทยา จันทรประทักษ์ พนกั งานขบั รถ ม.6
135 นางสาวลดั ดา แวงวรรณ พนกั งานทำความสะอาด ม.6
136 นางสาววาสนา ผวิ ยะเมอื ง พนักงานทำความสะอาด ม.6
137 นางสาวสธุ ติ า ไมส้ ูงเนนิ พนักงานทำความสะอาด ม.6
138 นางสาวอำพร มหาพรม พนักงานทำความสะอาด ม.6

11

ตาราง 7 แสดงข้อมูลบคุ ลากรจำแนกตามตำแหนง่ วุฒิการศกึ ษา

เพศ ระดับการศึกษาสงู สดุ

ประเภทบคุ ลากร ชาย หญิง ต่ำกว่า ป.ตรี ป.โท ป.เอก
ป.ตรี
1. ผ้อู ำนวยการ 1-
2. รองผูอ้ ำนวยการ 3- ---1
3. ครผู ู้สอน 27 63
4. พนกั งานราชการ -3 - -21
5. ลกู จา้ งประจำ
- 68 22 -
5.1 ช่างไม้
5.2 ชา่ งไฟฟา้ -3- -
6. ลกู จา้ งชวั่ คราว
7. ครูพเิ ศษ 1- 1- - -
8. ครตู ่างชาติ 1- 1- - -
9. พนกั งานทำความสะอาด 7 16 - 23 - -
10. คนสวน/พนกั งานขับรถ 21
11. ยาม 21 3 -
รวม -6 3 -
3- 6- - -
รวมทั้งหมด 1- 3- - 2
48 90 1- -
12 100 24
138
138

- มคี รูทีส่ อนวิชาตรงตามวชิ าเอก 88 คน (100 %)
- มีครูทสี่ อนวชิ าตามความถนดั - คน

6. ข้อมลู ดา้ นอาคารเรยี นและสิง่ ปลกู สรา้ ง

ตาราง 8 แสดงข้อมูลอาคารเรียนและส่งิ ปลกู สร้าง

ท่ี อาคารเรยี น จำนวน การใช้งาน สภาพ
ดี
1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา 1 หอ้ งเรียน/หอ้ งปฏิบัตกิ าร
ดี
(แบบ พ 5 ช) ดี
ดี
2 อาคารแบบ 324ล./55-ก 1 หอ้ งเรยี น ดี
ดี
3 อาคารวภิ าวิน (แบบ 216 ก) 1 หอ้ งเรยี น/ห้องปฏิบัตกิ าร

4 อาคารประกอบสำนกั งานอาคารและสถานท่ี 1 สำนกั งาน

5 อาคารอตุ สาหกรรม 1 หอ้ งเรียน

6 อาคารประกอบสำนกั งานกจิ การนักเรยี น 1 สำนักงาน

12

ที่ อาคารเรยี น จำนวน การใชง้ าน สภาพ
7 หอประชุมขนาดใหญ่ ดี
8 รา้ นสวสั ดิการ 1 ห้องประชุม ดี
9 หอถงั ประปาแบบแชมเปญ ดี
10 ทจี่ ำหนา่ ยอาหาร 1 รา้ นคา้ ดี
11 สนามฟุตบอล 105×85 ตารางเมตร ดี
12 สนามบาสเกตบอล 1 ถงั ประปา
13 สนามตะกร้อ พอใช้
14 สนามวอลเลย์บอล 1 จำหนา่ ยอาหาร ดี
15 สนามวอลเลย์บอลชายหาด ดี
16 สนามเปตอง 1 สนามฟตุ บอล
17 สนามฟุตซอล พอใช้
18 โดมอเนกประสงค์ 1 สนามบาสเกตบอล ดี
ดี
3 สนามตะกร้อ ดี

2 สนามวอลเลยบ์ อล

1 สนามวอลเลย์บอลชายหาด

2 สนามเปตอง

1 สนามฟุตซอล

1 ทำกิจกรรมทว่ั ไป

7. ขอ้ มูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
7.1 ระบบอินเทอรเ์ น็ต
1) เชื่อมต่อโดยใช้ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สูง แบบ Fiber Optic ความเร็ว 100

Mb/200 Mb , ความเรว็ 150 Mb/100 Mb ,ความเร็ว 125 Mb/50 Mb
2) เคร่ืองคอมพวิ เตอร์เซริ ์ฟเวอร์ 3 เครอ่ื ง

7.2 ห้องปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์
1) หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 1 มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 43 เครื่อง ,เคร่ืองโปรเจคเตอร์ 1 เครื่อง
2) หอ้ งปฏิบัติการ 2 มีเครื่องคอมพวิ เตอร์ 43 เครื่อง ,เคร่ืองโปรเจคเตอร์ 1 เครื่อง
3) ห้องปฏบิ ตั กิ าร 3 มีเครื่องคอมพวิ เตอร์ 43 เคร่ือง ,เคร่ืองโปรเจคเตอร์ 1 เครื่อง
4) หอ้ งปฏิบตั ิการ 4 มเี คร่ืองคอมพิวเตอร์ 41 เคร่ือง ,เครื่องโปรเจคเตอร์ 1 เครื่อง

7.3 ห้องเรยี น
โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ มหี อ้ งเรียนทั้งหมด

50 ห้องเรียน นอกจากน้แี ลว้ โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ได้ทำการเช่ือมต่อ
คอมพวิ เตอร์ ทุกเคร่ืองในโรงเรียนทงั้ ระบบสายเชือ่ มต่อและระบบไรส้ าย (Wi-Fi) ใหส้ ามารถเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตและใช้ทรัพยากรร่วมกนั ได้ ไมว่ า่ จะเปน็ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ในห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์
ห้องปฏบิ ัตกิ ารอ่นื ๆ หรือคอมพิวเตอร์ในห้องกลมุ่ งานบริหาร ตดิ ตัง้ โทรทัศนส์ ี ขนาด 50 นว้ิ
ประจำห้องปฏบิ ตั ิการกลุ่มสาระการเรียนรทู้ ุกกลุม่ ติดตัง้ โทรทัศน์สี ในหอ้ งเรยี นทกุ ห้องเรยี น

13

8. สภาพชุมชนโดยรวม
สภาพชมุ ชนรอบบรเิ วณโรงเรยี น

เตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มลี ักษณะ
เปน็ ชุมชนเมอื ง อยู่ในเขตเทศบาลตำบลสวา่ งแดนดนิ
บรเิ วณใกล้เคียงโดยรอบ ไดแ้ ก่ หน่วยงานราชการ
โรงเรยี น ห้างรา้ น ธนาคาร หอพักและสถาน
ประกอบการอืน่ ๆ การเดนิ ทางตดิ ตอ่ กบั จังหวัด
ใกล้เคียง เชน่ อุดรธานี นครพนม
คอ่ นข้างสะดวก เน่ืองจากโรงเรยี นตง้ั อยูบ่ น
ถนนสายสกลนคร – อดุ รธานี

อำเภอสวา่ งแดนดนิ มพี น้ื ท่ี 970.0 ตารางกโิ ลเมตร มจี ำนวนประชากรทงั้ ส้ิน 128,262 คน
และมีจำนวนครัวเรอื น 37,085 ครัวเรือน ประชากร มีความหนาแนน่ 132.23 คน/ตารางกิโลเมตร
แบง่ พ้นื ท่ีการปกครองออกเป็น 16 ตำบล 187 หมบู่ ้าน (ข้อมูล ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2563)
สว่ นอาชีพหลกั ของชุมชน คือ รบั ราชการ ค้าขาย รบั จ้าง และประกอบ อาชพี ส่วนตวั
เนอื่ งจากบรเิ วณส่วนใหญ่เป็นท่ีตั้งของสถานศึกษา และหน่วยงานราชการ ประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยท่ัวไปคือ ประเพณีแห่เทียน
เข้าพรรษา และประเพณลี อยกระทง

ผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรบั ราชการ (ร้อยละ 34.47) รองลงมาคือ
อาชีพเกษตรกรรม (รอ้ ยละ 27.45) อาชพี คา้ ขาย (ร้อยละ 16.23) และแม่บ้าน (ร้อยละ 8.62) ส่วน
อาชพี อ่ืน ๆ เช่น อาชพี รับจ้าง ประกอบธรุ กิจส่วนตัว ลกู จา้ งประจำ และรฐั วสิ าหกิจ (ร้อยละ 14.70)
รายไดเ้ ฉลยี่ ของผู้ปกครองนักเรยี นตอ่ ครอบครวั /ปี 190,000 บาท ผ้ปู กครอง รอ้ ยละ 98.99 นบั ถอื
ศาสนาพุทธ และรอ้ ยละ 1.01 นบั ถือศาสนาคริสต์

โอกาสและขอ้ จำกดั ของโรงเรยี น
เน่ืองจากโรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื อยใู่ กลแ้ หลง่ ชมุ ชน

และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น โรงพยาบาล วดั สถานีตำรวจภธู ร ท่ีทำการไปรษณีย์ การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค
เทศบาลตำบล และสถานศกึ ษาตา่ ง ๆ ทำให้ได้รับการส่งเสริมและสนบั สนุนด้านการพฒั นาผูเ้ รียนทุก ๆ
ด้าน ผปู้ กครองนกั เรียนเหน็ ความสำคญั มีสว่ นร่วม และใหก้ ารสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรยี นอย่าง
สม่ำเสมอ สง่ ผลดตี ่อการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นทุกด้าน ทั้งด้านความรู้ ทักษะ และคุณธรรม จริยธรรม
สว่ นข้อจำกดั ของโรงเรียน คือ นักเรยี นสว่ นหนงึ่ ทมี่ ภี มู ิลำเนาอย่ใู นจังหวัดอื่น มคี วามจำเปน็ ต้องอาศัย
หอพักเอกชน ในอำเภอสว่างแดนดนิ ดังน้นั จึงเป็นภาระหน้าที่ของโรงเรียน ทตี่ ้องจัดระบบดูแลนักเรียน
เหล่าน้ี เพ่ือให้สามารถครองตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเมื่ออยู่ห่างไกลจากผู้ปกครอง หากโรงเรียน

14

ดูแลได้ไม่ท่ัวถึงอาจเป็นช่องทาง ให้นักเรียนถูกชักจูงไปในทางท่ีผิดและส่งผลให้เกิดพฤติกรรม
อนั ไม่พึงประสงค์

8.ขอ้ มลู ดา้ นทรพั ยากร

ขอ้ มูลทรัพยากรทจี่ ำเปน็

1 คอมพิวเตอร์ มีจำนวนท้ังหมด 203 เครื่อง
ตาราง 9 แสดงจำนวนคอมพวิ เตอร์

กจิ กรรม จำนวนเคร่อื งคอมพิวเตอร์ (เครือ่ ง)

1. ใชเ้ พ่อื การเรียนการสอนและสืบคน้ ข้อมลู 170

2. ใชใ้ นงานบริหารจดั การ 33

2 ห้องทจ่ี ัดไวใ้ ช้ปฏิบตั ิกจิ กรรมเฉพาะมีทั้งหมด 20 ห้อง ได้แก่ ห้องปฏบิ ตั กิ าร
คอมพิวเตอร์ 4 ห้อง ห้องปฏบิ ตั ิการทางภาษา 2 หอ้ ง ห้องปฏิบตั กิ ารคณิตศาสตร์ 2 ห้อง หอ้ งปฏบิ ตั ิการ
เคมี 2 หอ้ ง หอ้ งปฏิบตั กิ ารฟสิ ิกส์ 2 หอ้ ง ห้องปฏิบัติการชวี วิทยา 2 ห้อง หอ้ งปฏิบตั ิการดาราศาสตร์
2 ห้อง ห้องดนตรีไทย 1 ห้อง หอ้ งนาฏศลิ ป์ 1 หอ้ ง ห้องดนตรีสากล 1 ห้อง หอ้ งศลิ ปะ 1 ห้อง ห้อง
ศูนย์โอลิมปิกวิชาการวชิ าชวี วทิ ยาค่าย1 1 ห้อง

3 พืน้ ทป่ี ฏบิ ัตกิ จิ กรรม/นนั ทนาการ ได้แก่ สนามกีฬา ลานกีฬา หอประชุม
หอ้ งดนตรีไทย หอ้ งโสตทศั นศึกษา โดมอเนกประสงค์ ห้องฟิตเนส

9. แหลง่ เรยี นรู้และภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน

1. ห้องสมุด

1.1 ขนาด 600 ตารางเมตร

1.2 จำนวนหนังสือทงั้ หมด 21,294 เลม่

1.3 การสืบคน้ การยมื และคืนหนงั สือใช้ระบบคอมพวิ เตอร์

1.4 สถิตกิ ารใช้หอ้ งสมุดในปีการศกึ ษาที่ผา่ นมา คดิ เป็น 900 คน/วัน

2. ห้องปฏบิ ัตกิ าร

2.1 หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ จำนวน 4 ห้อง

2.2 ห้องปฏบิ ตั ิการทางภาษา จำนวน 2 หอ้ ง

2.3 หอ้ งปฏบิ ัติการคณิตศาสตร์ จำนวน 2 ห้อง

3. หอ้ งปฏิบัติการวิทยาศาสตร์

3.1 หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเคมี จำนวน 2 ห้อง

3.2 หอ้ งปฏิบัตกิ ารฟสิ ิกส์ จำนวน 2 หอ้ ง

3.3 ห้องปฏิบัติการชวี วทิ ยา จำนวน 2 หอ้ ง

3.4 หอ้ งปฏบิ ตั ิการโลกและดาราศาสตร์ จำนวน 2 หอ้ ง

15

4. ห้องดนตรีสากล จำนวน 1 หอ้ ง
5. หอ้ งดนตรีไทย จำนวน 1 หอ้ ง
6. ห้องนาฏศิลป์ จำนวน 1 หอ้ ง
7. ห้องศนู ย์โอลมิ ปิกวิชาการวิชาชวี วทิ ยาค่าย1 จำนวน 1 หอ้ ง

ขอ้ มูลแหลง่ เรียนร้ภู ายในและภายนอกโรงเรียน

ตาราง 10 แสดงจำนวนรายการแหลง่ เรยี นรู้

แหลง่ เรียนรูภ้ ายในโรงเรียน สถิตกิ ารใช้ แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน สถติ ิการใช้
(จำนวนครงั้ /ป)ี
ชือ่ แหล่งเรยี นรู้ (จำนวนวัน/ปี) ช่อื แหล่งเรยี นรู้
81
1. หอ้ งสมดุ 200 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร 11

2. ห้องปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ 200 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 4
4
วิทยาเขตเฉลิมพระเกยี รติ
50
จังหวัดสกลนคร
6
3. หอ้ งปฏิบตั กิ ารคณติ ศาสตร์ 200 พระตำหนักภูพานราชนเิ วศน์
2
4. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา 200 ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาภูพานอัน 2

เน่อื งมาจากพระราชดำริ

5. หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ 200 โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยพุ ราช

สวา่ งแดนดนิ

6. หอ้ งดนตรไี ทย 200 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล

อีสาน วิทยาเขตสกลนคร

7. หอ้ งนาฏศิลป์ 200 อทุ ยานแหง่ ชาติภูพาน

8. หอ้ งดนตรสี ากล 200 พิพิธภัณฑ์ภูพาน

9. หอ้ งศนู ย์โอลมิ ปิกวชิ าการ 200

วิชาชวี วทิ ยาค่าย1

10. หอ้ งสืบค้น อนิ เตอรเ์ น็ต 200

11. หอประชมุ 200

12. ลานกฬี า 200

16

10. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี
โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ตงั้ อยู่ท่ี 121 หมทู่ ่ี 12 ตำบลสว่างแดนดิน

อำเภอสว่างแดนดนิ จังหวดั สกลนคร สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร เปิดสอนตง้ั แต่ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4
ถึงมัธยมศึกษาปีท่ี 6 คณะผู้ประเมินไดต้ รวจเยยี่ มสถานศึกษาเมื่อ วันท่ี 20 - 22 เดอื นพฤศจิกายน
พ.ศ. 2562 โดยมผี ลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสดี่ งั น้ี

สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี (พ.ศ. 2559 - 2563)

ตาราง 11 ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

ดา้ น ระดับคณุ ภาพ

1. คุณภาพของผ้เู รยี น ดเี ยี่ยม

2. กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีมาก

3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ ดมี าก

จุดเด่น
ด้านคุณภาพของผู้เรยี น
1. ผเู้ รียนมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะที่จำเป็นตามหลกั สตู ร โดยสามารถสอบเข้า

ศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาได้เปน็ จำนวนมากเปน็ ประจำทุกปี สามารถพดู ภาษาองั กฤษ ภาษาจีน และ
ภาษาเกาหลไี ด้ดี มคี วามกระตือรือร้นในการเรยี นร้แู ละโดดเด่นดา้ นการเรยี นการสอนเปน็ อย่างมาก
โดยมีคะแนน ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
อยใู่ นระดบั สูง และ มีคา่ คะแนนเฉล่ยี สูงกว่าค่าเฉล่ยี ระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนร้อู ย่างต่อเนือ่ ง
ตลอด 3 ปี

2. ผู้เรียนมีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรง ร่าเริงแจ่มใส ช่ืนชอบศิลปะ ดนตรี และกีฬา
โดยมผี ลงาน รางวลั มีความสุขกบั การร่วมกจิ กรรมและการแสดงออกเปน็ ทป่ี ระจักษ์อยา่ งหลากหลาย
โดยเฉพาะกจิ กรรม กีฬาสีภายใน “พระเกย้ี วน้อยเกมส์” มีวงโยธวาทติ วงดรุ ยิ างค์ วงดนตรีสากล
วงดนตรไี ทย ผลงานศลิ ปะ และ กจิ กรรมส่งเสริมสุขภาพและห้องยิมทเ่ี ปน็ ระบบชัดเจน

3. ผูเ้ รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม มีมารยาทเรียบร้อย มีการไหว้ทีน่ อบนอ้ มและสวยงาม
มีจิตสาธารณะชว่ ยเหลอื งานโรงเรยี นและชุมชนเป็นประจำ ไม่มีปัญหาด้านความประพฤตหิ รือพฤติกรรม
เสยี่ ง รวมท้ังผเู้ รยี นทกุ คนทกุ ระดบั ช้นั มกี ารสอบธรรมศึกษาเปน็ ประจำทุกปี

17

ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1. การกำหนดวสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ กลยุทธ์ เปา้ หมายของสถานศกึ ษามีความชดั เจน

และสอดคล้องกนั
2. การมีคณะกรรมการสถานศึกษาท่มี ปี ระสบการณ์ ความรคู้ วามสามารถรวมท้ัง

ศักยภาพของผู้ปกครอง ศิษยเ์ ก่า ทมี่ สี ว่ นสนับสนนุ ส่งเสรมิ ในการพัฒนาการศึกษาของสถานศกึ ษาได้
เปน็ อย่างดี

3. การมีทรพั ยากรบคุ คลที่มีความรู้ ความสามารถและมีครูรุน่ ใหม่ ทีม่ คี วามเด่น
ความสามารถเฉพาะทาง ตามแนวทางสง่ เสริมการพฒั นาโรงเรียนได้เปน็ อยา่ งดี

4. การดำเนนิ การสง่ เสรมิ สนับสนนุ ผูเ้ รยี นได้พฒั นาตนเองทง้ั ทางการเรยี น การแข่งขนั
ทักษะ อยา่ งต่อเน่ืองและมีความหลากหลาย

ด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. ครูมีความรู้และสมรรถนะสูง ทำให้ไดร้ ับทนุ หรือมีการพัฒนาอย่างต่อเนอื่ ง สง่ ผลให้

เกดิ ประสทิ ธผิ ลต่อผู้เรียน ครูมีความภมู ิใจในความเป็นครูผู้สอน มุ่งม่นั ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
และพฒั นาการ จัดกจิ กรรมการเรียนรอู้ ย่ตู ลอดเวลา อุทศิ เวลาในการพัฒนาและสง่ เสริมการเรยี นรู้ของ
ผูเ้ รียนอยา่ งเต็มที่และเต็มเวลา

2. ครสู ามารถใช้สื่อ อุปกรณ์ และเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนร้ไู ดเ้ ปน็ อยา่ งดี มกี ารใช้
โปรแกรมประยุกต์ (Application) เทคโนโลยี จัดหาส่อื และอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อผู้เรยี น รวมท้ังการจดั
บรรยากาศในการเรียนแบบเปิดท่ีสามารถใหผ้ ้เู รียนได้ใชเ้ ครื่องมือในการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เชน่
การใช้ iPad แทนสมุด หรอื การสง่ ชิน้ งานผา่ นเคร่ืองมือดังกลา่ วตามที่นักเรยี นต้องการ หรือ การตดิ ตาม
ชน้ิ งาน ของผูเ้ รยี นผ่านสอ่ื เทคโนโลยีดังกล่าว เปน็ ตน้

จดุ ทีค่ วรพัฒนา
ดา้ นคุณภาพของผเู้ รยี น
การสง่ เสริมความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรมของผเู้ รยี นให้มากยิง่ ขึน้ ในทุกกลุม่ สาระ

การเรยี นรู้
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
1. กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมลู ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการ

ประจำปีทคี่ วรครบในทุกสว่ นของโครงการและกิจกรรม
2. การพฒั นารูปแบบ 5T Model ในการดำเนินการในขน้ั ตอนการบริหารจัดการ

โครงการ/ กจิ กรรม อย่างต่อเนอ่ื ง ชัดเจนและครอบคลมุ
3. การกำกับติดตาม และพัฒนาตนเองของครู ตาม ID Plan ให้มคี วามชัดเจน

และเป็นระบบมากข้นึ

18

ขอ้ เสนอแนะ
ดา้ นคณุ ภาพของผู้เรยี น
ผเู้ รียนควรไดร้ บั การส่งเสรมิ การสรา้ งสรรค์นวัตกรรมอย่างตอ่ เน่ืองและหลากหลาย

ยงิ่ ข้นึ โดยคำนึงถึงความเปน็ ประโยชน์ คมุ้ คา่ และเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น เพื่อความย่ังยนื และเปน็ แบบอย่าง
ท่ีดแี ก่ สถานศกึ ษาอื่นต่อไป

กำหนดการดำเนินการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน 1 ปี
ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ

1. การพฒั นาการสรา้ งเคร่ืองมือในการวัดและประเมนิ ผลในโครงการ/กจิ กรรมทชี่ ัดเจน
ตรงประเดน็ ทั้งเชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ

2. การนำ PDCA มาใช้ตามรูปแบบ 5T Model ให้ชดั เจนและต่อเน่ือง ครอบคลุมทกุ
โครงการ และกิจกรรม โดยมุ่งเน้น 5T ในขั้นตอนของการปฏิบตั ิ (D)

3. การวางแผนกำกับ ติดตาม โดยมีระบบข้อมูล สารสนเทศทเี่ ชื่อมโยงกัน เพ่ือเป็น
ข้อมูล ในการ ตัดสินใจพัฒนาการศึกษาได้อย่างมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ

กำหนดการดำเนินการปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน 2 ปี

ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นาส่นู วัตกรรม หรือแบบอย่างท่ีดี
ดา้ นคุณภาพของผูเ้ รยี น
1. การต่อยอดพฒั นาสงิ่ ประดิษฐ์ “รถพ่นคนสบาย” ของผู้เรียนระดบั ช้นั ม.5 และ ม.6

ให้สามารถใช้งานได้จรงิ เพื่อจำหนา่ ยให้เกษตรกรสามารถนำไปใช้ในการหวา่ นปยุ๋ และหว่านเมล็ดพนั ธ์ุ
ข้าวในแปลงนาหรอื หว่านปยุ๋ ในสวนยางพารา เพ่ือลดภาระและตน้ ทุนได้เป็นอยา่ งดตี ่อไป

2. การพฒั นาและผลติ สง่ิ ประดิษฐเ์ ครื่องสบู น้ำ “ท่อซ่ิงว่งิ กระจาย” ของผู้เรยี นระดับช้ัน
ม.5 และ ม.6 ใหใ้ ชง้ านในพ้ืนท่ภี าคเกษตรได้ เชน่ สระน้ำ แปลงนา ริมห้วย หรือคลอง เพื่อจำหน่ายให้
เกษตรกร นำไปใชใ้ นสบู นำ้ เข้า-ออกจากแปลงนาและการทำการเกษตรอ่ืนไดเ้ ป็นอยา่ งดีตอ่ ไป

3. การส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหผ้ ้เู รียนใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ ขยี นภาษาซี เพ่ือพฒั นา
เป็นโปรแกรมและแอพพลเิ คชน่ั ต่างๆ ทใี่ ชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริงในอนาคต ซงึ่ สถานศึกษาไดด้ ำเนินการอย่แู ล้ว
โดยสง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้ดำเนินการอย่างต่อเนอื่ งเปน็ ระบบ เพื่อเปน็ แบบอย่างที่ดี
ของสถานศึกษาต่อไป

19

ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ
โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ท่กี ำลังดำเนนิ การนำ PDCA มาใช้

ตามรูปแบบ 5T Model น้นั ควรมกี ารกำหนดและสรา้ งความเขา้ ใจกับผู้ที่รบั ผิดชอบในโครงการ/
กิจกรรม ท่ีมใี นแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี ให้มกี ระบวนการ 5T Model

โดยเน้นไป ทก่ี ระบวนการปฏิบัติ (D) โดยสามารถกำหนดตัวชี้วัดในแตล่ ะ T (Team , Teach ,
Technology , Test ,Train) ให้ครอบคลมุ ทุกโครงการ/กจิ กรรรม เป็นไปตามขั้นตอนและมรี ะบบ
รวมท้ังเสรมิ ในส่วนการบรหิ ารจดั การตาม TRIAMUDOM.NE Model ทกี่ ำหนดไว้ และทำอย่างต่อเนื่อง
พร้อมทงั้ นำเผยแพรร่ ปู แบบต่อไป

ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั
การบนั ทกึ หลงั การสอน การใหข้ ้อมูลย้อนกลับ และ การนำเสนอจุดท่คี วรพัฒนาตาม

เปา้ หมายของ สถานศึกษายังเปน็ ประเดน็ เดิม ๆ ทย่ี งั ไม่ไดร้ ับการแก้ไข จึงอาจจะต้องนำผลการสะทอ้ น
จากหอ้ งเรียน หรือ วง PLC ท่มี ีการบันทึกร่องรอยหลักฐานร่วมกันทเี่ ปน็ ปัจจบุ นั มาสะท้อน ป้อนข้อมูล
ย้อนกลับ และนำสารสนเทศดงั กลา่ วไปวางแผนในการพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทส่ี ง่ ผลตอ่
การพัฒนาการเรยี นรู้ของ ผ้เู รียนอย่างเปน็ ระบบ รวมทั้งผกู ติดกับการพัฒนาทางวชิ าชพี (Professional
Development) การวิจัยในชั้นเรยี น (Classroom Action Research) การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทเ่ี นน้
ผู้เรียนเป็นสำคัญ ซง่ึ การดำเนินการดงั กลา่ วจะทำให้ครูมีการรวมกลมุ่ ในการพัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รยี น
ไมแ่ ยกตัว เกดิ ความก้าวหน้าทางวิชาชพี สามารถสะทอ้ นผลหรอื สารสนเทศทเ่ี ปน็ ปจั จุบันทที่ ำให้
ปรบั เปลย่ี นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ หท้ นั ตอ่ การเปล่ียนแปลง รวมท้งั ยงั ทำให้ครปู รบั เปลี่ยนจาก
ครูผ้สู อน เป็นผอู้ ำนวยการเรียนรู้ และสอดคล้องกับอัตลักษณ์ ของครใู นโรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือชัดเจนยิง่ ข้ึน

สรุปผลการประเมนิ ความโดดเด่น
โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มคี วามโดดเดน่ ในการด้านวิชาการควบคู่

คุณธรรม สามารถเปน็ ต้นแบบ และมรี างวัลเป็นทย่ี อมรบั ระดับท้องถนิ่ /ภูมิภาค (C1) มีการกำหนดไวใ้ น
วสิ ยั ทัศน์ จดุ เนน้ แผนปฏิบัตริ าชการ รวมทั้งการดำเนินการต่อเน่ืองในเรือ่ งวชิ าการ และคณุ ธรรม ในดา้ น
วชิ าการ มกี ารพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการใหด้ ีข้ึน มีคะแนนเฉลีย่ ของ O-Net สูงกว่าระดับประเทศ 3 ปี
ต่อเน่อื งในภาพรวม ในแผนโครงการกจิ กรรม สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนได้พัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ
เขา้ ร่วมแขง่ ขันทักษะในสาระตา่ งๆ อยา่ งสม่ำเสมอ ค่ายตวิ เขม้ มีการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ กิจกรรมเพิ่มพูน
ทกั ษะ รวมท้ังเป็นศนู ย์โอลมิ ปกิ วชิ าการ วชิ าชวี วิทยา การพฒั นาทางด้านวชิ าการแบบก้าวกระโดดในกลุ่ม
สาระการ เรยี นรู้คณติ ศาสตร์ และเป็นโรงเรียนแกนนำขยายผลระดบั ผลสมั ฤทธิ์ เหน็ ได้จากรางวัล
เกยี รตยิ ศตา่ งๆ รวมทั้ง การเปิดโอกาสพฒั นาศักยภาพของผู้เรียนมีความหลากหลายในด้าน ศิลปะ กีฬา
สำหรับด้านคณุ ธรรม โรงเรียนมีการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ “วิถเี ตรยี มอดุ มศึกษา”
“พธิ ีประดบั พระเกย้ี ว และพิธีไหวค้ รู” การจดั ทำโครงงานคุณธรรม กิจกรรม คนดี ศรี ตอ. และมกี ารสอบ

20

ธรรมศึกษาของครแู ละ นักเรียนทุกคน และการร่วมกิจกรรมในสว่ นทีส่ ่งเสริมวถิ พี ุทธ ศูนย์เสริมสร้าง
คุณธรรมศึกษา คา่ ยยวุ ชนคน คณุ ธรรม และกิจกรรมคืนคุณธรรมสหู่ อ้ งเรียน ส่งผลให้โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มีความโดดเดน่ ทำให้ผู้เรียนมคี วามรูค้ วามสามารถในวิชาการ
และมีความประพฤติและบคุ ลิกภาพท่โี ดดเดน่

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา

1. โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต้ังอยู่ท่ี 121 หมู่ 12 ตำบลสวา่ งแดนดนิ

อำเภอสว่างแดนดิน จังหวดั สกลนคร รหัสไปรษณีย์ 47110 โทรศพั ท์ 042 - 721 - 181

โทรสาร 042 - 722 – 123 E-mail : [email protected] website : www.tune.ac.th

2. หนว่ ยงานต้นสงั กดั หรอื หน่วยงานทีก่ ำกบั ดูแลสถานศึกษา

สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

3. สรปุ ข้อมลู สำคัญของสถานศึกษา

3.1 จัดชนั้ เรยี นต้งั แต่ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6

3.2 จำนวนผเู้ รยี น จำแนกตามระดับชัน้ ดังน้ี

ตาราง 12 จำนวนผเู้ รียน จำแนกตามระดบั ชน้ั

จำนวน ผูเ้ รียน จำนวนผู้เรยี น รวม

ระดบั ชั้นท่ีเปิดสอน จำนวน หอ้ งเรยี น ปกติ (คน) ที่มีความต้องการพิเศษ (คน)

ชาย หญิง ชาย หญิง

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 16 176 739 - - 615

มัธยมศึกษาปที ี่ 5 15 177 361 - - 538

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 16 183 412 - - 595

รวมท้ังสิ้น 47 536 1,212 - - 1,748

3.3 ขอ้ มูลบุคลากร

: ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา จำนวน 2 คน

: ครูผู้สอน จำนวน 101 คน

: บุคลากรสายสนับสนนุ จำนวน 19 คน

สรุปอัตราส่วน

ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน (ระดบั มธั ยมศกึ ษา)

อตั ราสว่ นของจำนวนผู้เรียน : ครู เทา่ กับ 19 : 1

อัตราส่วนของจำนวนผเู้ รยี น : หอ้ ง เท่ากบั 36 : 1

มจี ำนวนครู ครบชัน้  ครบช้ัน  ไม่ครบช้ัน

ภาระงานสอนของครู โดยเฉล่ียชัว่ โมง : สปั ดาห์ เท่ากับ 20 ช่วั โมง : สปั ดาห์

21

ตอนท่ี 2 ผลการประเมินคุณภาพภายนอก
2.1 ระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ด้านที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น
ผลการดำเนนิ งาน

สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมายการพัฒนาผ้เู รียน โดยกำหนดวสิ ยั ทัศน์ คอื องค์กรคุณภาพ
มาตรฐานสากล ผูเ้ รียนมีความเป็นเลศิ ทางวชิ าการและคณุ ธรรม น้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง มีการกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐาน ตัวชวี้ ดั และผลการประเมินตามมาตรฐานชัดเจน
มกี ารดำเนินการตามแผนพัฒนาอยา่ งต่อเน่ืองทุกปกี ารศึกษา มีโครงการและกจิ กรรมเพื่อพัฒนาผเู้ รยี น
อยา่ งหลากหลาย ดา้ นการพัฒนาความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ มโี ครงการและกิจกรรมทีส่ ำคัญ
เช่น โครงการพฒั นาองค์กรสู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล มีกจิ กรรมการแขง่ ขนั ฟสิ ิกส์สัประยุทธ์
หอ้ งเรยี น SMTE กจิ กรรมตอบปัญหาวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมตวิ เข้มโอลิมปิกวิชาการวชิ าชีววทิ ยา ฟิสกิ ส์
เคมี และดาราศาสตร์ กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิ (O-NET) ปีการศึกษา 2561 กจิ กรรมแขง่ ขัน
วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ โอลิมปกิ ระหว่างประเทศ (IESO) ประจำปี 2561 กจิ กรรมเพชรยอดมงกุฎ
และกิจกรรมทัศนศึกษาและเข้าค่าย English Camp 2019 เป็นตน้ ส่งให้ผูเ้ รียนมีความรู้ ความสามารถ
และทกั ษะทีจ่ ำเป็นตามหลักสูตร สามารถสอบเข้าศึกษาต่อใน สถาบนั อุดมศกึ ษาได้เป็นจำนวนมากเปน็
ประจำทกุ ปี สามารถพดู ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาเกาหลไี ด้ดี มีความกระตือรือร้นในการเรยี นรู้
มีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) อย่ใู น
ระดบั สูง และมคี ่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคา่ เฉล่ยี ระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อย่างตอ่ เนื่องตลอด
3 ปี ด้านการมคี ุณธรรม มโี ครงการและกิจกรรมทส่ี ำคญั เช่น โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. โครงการ
โรงเรยี นสจุ รติ โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมต้นแบบ มีกจิ กรรมประกวดมารยาทไทย กิจกรรมวีถี
เตรยี มอุดมศึกษา กจิ กรรมรบั นอ้ ง และกิจกรรมเย็นศริ ะเพราะพระบรบิ าล เป็นต้น ส่งผลใหผ้ ูเ้ รียน เป็นผู้
มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีมารยาทเรยี บร้อย มีการไหวท้ ่นี อบนอ้ มและสวยงาม มีจติ สาธารณะช่วยเหลืองาน
โรงเรยี นและชุมชนเป็นประจำ ไมม่ ีปัญหาด้านความประพฤตหิ รอื พฤติกรรมเสี่ยง รวมท้ังผ้เู รยี นทกุ คน
ทุกระดับชนั้ มีการสอบธรรมศึกษาเปน็ ประจำทุกปี โดยมีรางวัลเปน็ ท่ีประจกั ษ์หลายอย่าง เชน่ รางวลั
ระดับประเทศสวดมนต์หมู่ทำนองสรภัญญะ รางวัลชนะเลศิ ประกวดมารยาทไทย และรางวลั เหรียญทอง
โครงการคุณธรรม เป็นต้น ส่วนด้านการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม มีโครงการและ
กจิ กรรมที่ สำคัญ เช่น โครงการห้องเรียนสขี าว โครงการปลกู ฝงั คณุ ลกั ษณะเอกลกั ษณ์นักเรยี นเตรยี มฯ
และโครงการ บริการเสรมิ ด้านสวสั ดิภาพและสวสั ดกิ ารของบคุ ลากรและนักเรียน มีกจิ กรรมแข่งขันกฬี า
ภายในและภายนอก โรงเรยี น กจิ กรรมรณรงคข์ ับขี่ปลอดภัย กจิ กรรม อย.น้อย กิจกรรมส่งต้นกล้าสู่
แผ่นดิน กจิ กรรมรณรงคว์ ันงดสูบบหุ ร่โี ลก กจิ กรรมสง่ เสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน กิจกรรมศนู ยเ์ พอ่ื น
ใจและค่ายพฒั นาสมาชิก TO BE NUMBER ONE สูค่ วามเปน็ หนง่ึ และกิจกรรมรณรงค์ป้องกนั และแก้ไข
ปัญหายาเสพตดิ เปน็ ตน้ ส่งผลให้ ผเู้ รียนมีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรง ร่าเรงิ แจม่ ใส ชน่ื ชอบศลิ ปะ ดนตรี
และกีฬาเปน็ อยา่ งมาก โดยมีผลงาน รางวลั มคี วามสุขกับการร่วมกิจกรรมและการแสดงออก

22

เป็นทีป่ ระจักษอ์ ย่างหลากหลาย โดยเฉพาะกจิ กรรมกีฬาสภี ายใน “พระเกยี้ วนอ้ ยเกมส์” มีวงโยธวาทิต
วงดุริยางค์ วงดนตรีสากล วงดนตรีไทย ผลงานศิลปะ และ กิจกรรมสง่ เสรมิ สุขภาพและห้องยมิ ทเ่ี ปน็
ระบบชดั เจน

สรปุ การประเมินด้านที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน มีระดับคุณภาพ ดีเยีย่ ม
จดุ เดน่

1. ผเู้ รียนมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะทีจ่ ำเป็นตามหลักสูตร โดยสามารถสอบเข้าศึกษาตอ่
ในสถาบนั อุดมศึกษาไดเ้ ปน็ จำนวนมากเปน็ ประจำทุกปี สามารถพูดภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษา
เกาหลีได้ดี มีความกระตือรือร้นในการเรยี นรแู้ ละโดดเด่นด้านการเรยี นการสอนเปน็ อยา่ งมาก
โดยมีคะแนนผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET)
อย่ใู นระดับสงู และมีค่าคะแนน เฉล่ียสงู กว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรอู้ ย่างต่อเนอื่ ง
ตลอด 3 ปี

2. ผเู้ รียนมีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรง ร่าเริงแจม่ ใส ชื่นชอบศิลปะ ดนตรี และกีฬา โดยมผี ลงาน
รางวลั มคี วามสุขกบั การรว่ มกิจกรรมและการแสดงออกเป็นทปี่ ระจักษ์อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะ
กจิ กรรมกฬี าสี ภายใน “พระเกี้ยวน้อยเกมส”์ มีวงโยธวาทิต วงดรุ ยิ างค์ วงดนตรสี ากล วงดนตรไี ทย
ผลงานศลิ ปะ และ กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพและหอ้ งยิมท่เี ป็นระบบชัดเจน

3. ผูเ้ รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม มมี ารยาทเรยี บร้อย มีการไหวท้ น่ี อบนอ้ มและสวยงาม
มจี ติ สาธารณะ ช่วยเหลอื งานโรงเรียนและชมุ ชนเป็นประจำ ไมม่ ปี ัญหาด้านความประพฤติหรือพฤติกรรม
เสยี่ ง รวมทง้ั ผ้เู รียนทุกคนทุกระดบั ชั้นมกี ารสอบธรรมศึกษาเปน็ ประจำทุกปี

จดุ ท่ีควรพฒั นา
การส่งเสรมิ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของผู้เรียนให้มากยิ่งข้ึนในทุกกลมุ่ สาระ

การเรียนรู้
ขอ้ เสนอแนะ

ผูเ้ รียนควรได้รับการสง่ เสรมิ การสร้างสรรคน์ วตั กรรมอยา่ งตอ่ เนอื่ งและหลากหลายยิ่งขึน้
โดยคำนึงถงึ ความเป็นประโยชน์ คุ้มค่าและเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น เพือ่ ความย่งั ยนื และเป็นแบบอยา่ งท่ดี แี ก่
สถานศึกษาอ่ืน ต่อไป

โดยกำหนดการดำเนนิ การปรับปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน 1 ปี

23

ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนาสูน่ วตั กรรม หรือแบบอย่างท่ีดี
1. การตอ่ ยอดพฒั นาส่งิ ประดิษฐ์ “รถพน่ คนสบาย” ของผู้เรียนระดับชั้น ม.5 และ ม.6 ให้

สามารถใช้ งานได้จรงิ เพื่อจำหน่ายใหเ้ กษตรกรสามารถนำไปใช้ในการหวา่ นปยุ๋ และหว่านเมลด็ พันธุข์ า้ ว
ในแปลงนาหรือ หวา่ นปยุ๋ ในสวนยางพารา เพ่ือลดภาระและตน้ ทนุ ได้เป็นอยา่ งดีต่อไป

2. การพัฒนาและผลติ สิง่ ประดิษฐ์เครอื่ งสูบน้ำ “ท่อซิง่ วิง่ กระจาย” ของผเู้ รยี นระดับช้ัน ม.5
และ ม.6 ใหใ้ ช้งานในพื้นท่ีภาคเกษตรได้ เช่น สระนำ้ แปลงนา รมิ หว้ ย หรอื คลอง เพอ่ื จำหน่ายให้
เกษตรกรนำไปใช้ ในสบู น้ำเข้า - ออกจากแปลงนาและการทำการเกษตรอ่ืนไดเ้ ป็นอยา่ งดีตอ่ ไป

3. การส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหผ้ ้เู รียนใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์เขยี นภาษาซี เพื่อพฒั นาเปน็
โปรแกรม และแอพพลิเคช่ันต่างๆ ท่ใี ช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ ในอนาคต ซ่ึงสถานศึกษาได้ดำเนินการอยแู่ ลว้
โดยควรส่งเสรมิ และสนับสนุนใหด้ ำเนินการอย่างต่อเน่อื งเป็นระบบ เพื่อเป็นแบบอย่างทด่ี ีของ
สถานศกึ ษาต่อไป

ด้านที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ผลการดำเนินงาน

มีการดำเนนิ การประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา มีคำสงั่ ปฏิบัติงาน มกี ารวางแผนรว่ มกันใน
การกำหนดแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี มคี วามสอดคล้องกบั แผนการ
จัดการศกึ ษาของชาติ นโยบายของรัฐบาลและของตน้ สังกัด รวมท้ังการวางแผนโครงการกิจกรรม
ครอบคลุม วิสัยทศั น์ พันธกิจ เอกลักษณ์ อัตลักษณข์ องโรงเรียน มีหลักสูตรสถานศึกษาครบทกุ กล่มุ สาระ
มหี ลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล หลักสูตรหอ้ งเรยี นพเิ ศษ หลักสตู รต้านทุจรติ ศกึ ษา
ในการบรหิ ารจดั การได้รับรางวลั คุณภาพแห่ง สพฐ. OBEC QA ปีการศึกษา 2561 รางวลั IQA
โรงเรยี นทมี่ ีระบบการประกนั คุณภาพภายในยอดเย่ียม มีการสรุปหลักฐานการพฒั นาความเชีย่ วชาญ
ของครูผ้สู อน โดยเฉพาะใน ปีการศกึ ษา 2561 ครใู นโรงเรยี นไดร้ ับการพัฒนาจากคูปองครู โรงเรียนมี
การจดั สภาพแวดล้อมและสงั คมที่ เอื้อต่อการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย ท้ังวิชาการ และคุณธรรม
มีหอ้ งเรยี นและหอ้ งปฏิบตั ิการท่พี รอ้ มจดั การ เรยี นรู้ โรงเรียนจดั ระบบเทคโนโลยี มคี อมพวิ เตอร์
ท่สี ามารถใช้การได้ดี และมีการดูแลอย่างมีระบบ มีอนิ เตอร์เนต็ ที่ครอบคลุมสามารถใชง้ านได้
สอื่ และแหล่งเรียนรู้มพี ร้อมให้ผูเ้ รียนได้เรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย ในการดำเนนิ งานการบริหารและ
การจัดการสถานศกึ ษาทุกสว่ นมีส่วนรว่ มในการวางแผน และผู้บริหารมีภาวะ ผนู้ ำและเปิดโอกาสใหท้ ุก
คนไดแ้ สดงความคิดเหน็ รวมทัง้ มศี ักยภาพในการพัฒนางานทง้ั ในส่วนของวชิ าการ ครู และอาคารสถานที่
รวมท้ังมกี ารสรา้ งความสัมพันธ์อนั ดกี บั ชุมชน เหน็ ได้จากหลกั ฐานการเขา้ ร่วมกิจกรรม กับชมุ ชน
ความพงึ พอใจของผปู้ กครองท่ีมตี อ่ โรงเรยี นท่ีสามารถพัฒนาคุณภาพชวี ิตท่ีเน้นวิชาการและคณุ ธรรม
ให้กบั ผเู้ รยี นได้อยา่ งชดั เจนและเปน็ รูปธรรม และมีการกำกับติดตามการดำเนินการตามโครงการท่มี ี
ในแผนปฏิบตั ิการประจำปี สอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศกึ ษาที่ปรากฏในเอกสาร
โดยมวี ธิ ีการ ตดิ ตามทห่ี ลากหลายวธิ ี ท้งั นผ้ี ู้บริหาร ครู ผเู้ รยี น ไดอ้ ธิบายเพ่ิมเติมวา่ ได้ดำเนิน

24

การตามกิจกรรม และมีผลเป็น อย่างไรบ้างสอดคล้องกันทุกส่วนพรอ้ มมผี ลงานกิจกรรมทีเ่ กดิ
จากการดำเนินโครงการตามแผนปฏบิ ัตงิ านทมี่ ี ความเชื่อถือไดว้ ่าไดป้ ฏิบัติจริงในทุกโครงการ
มีการนำรูปแบบ 5T MODEL มาใช้ในการบรหิ ารจัดการในการพฒั นาอย่างต่อเนื่อง การดำเนนิ
การครอบคลมุ ทุกโครงการ

สรปุ การประเมนิ ดา้ นที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มรี ะดบั คณุ ภาพ ดมี าก
จดุ เดน่

1. การกำหนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ กลยทุ ธ์ เป้าหมายของสถานศกึ ษามคี วามชัดเจนและสอดคล้องกนั
2. การมคี ณะกรรมการสถานศึกษาทีม่ ีประสบการณ์ ความรู้ความสามารถรวมทัง้ ศักยภาพของ
ผ้ปู กครอง ศษิ ย์เก่า ที่มสี ่วนสนับสนนุ ส่งเสริมในการพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษาได้เปน็ อย่างดี
3. การมที รัพยากรบุคคลทีม่ ีความรู้ ความสามารถและมคี รรู ุ่นใหม่ ทมี่ ีความเดน่ ความสามารถ
เฉพาะทาง ตามแนวทางการพัฒนาโรงเรียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี
4. การดำเนินการส่งเสริมสนบั สนนุ ผเู้ รยี นไดพ้ ัฒนาตนเองท้งั ทางการเรียน การแข่งขันทกั ษะ
อยา่ งต่อเนื่องและมคี วามหลากหลาย

จุดทีค่ วรพฒั นา
1. กระบวนการเก็บรวบรวมขอ้ มูลตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี

ท่คี รบในทุกส่วนของโครงการและกิจกรรม
2. การพัฒนารปู แบบ 5T Model ในการดำเนนิ การในข้นั ตอนการบรหิ ารจัดการ โครงการ/

กจิ กรรม อย่างต่อเนือ่ ง ชดั เจนและครอบคลมุ
3. การกำกบั ติดตาม และพฒั นาตนเองของครู ตาม ID Plan ใหม้ คี วามชัดเจนและเป็นระบบ

มากข้ึน

ข้อเสนอแนะ
1. การพัฒนาการสร้างเคร่ืองมือในการวัดและประเมนิ ผลในโครงการ/กจิ กรรมที่ชดั เจน
2. ตรงประเดน็ ทง้ั เชงิ ปริมาณและเชงิ คุณภาพ
3. การนำ PDCA มาใชต้ ามรูปแบบ 5T Model ให้ชัดเจนและตอ่ เนื่อง ครอบคลุมทกุ โครงการ

และกิจกรรม โดยมุ่งเนน้ 5T ในขนั้ ตอนของการปฏบิ ัติ (D)
4. การวางแผนกำกับ ติดตาม โดยมีระบบข้อมลู สารสนเทศท่เี ชื่อมโยงกนั เพื่อเปน็ ข้อมลู ในการ

ตัดสินใจพัฒนาการศกึ ษาได้อย่างมีประสิทธภิ าพมากข้นึ
กำหนดการดำเนินการปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน 2 ปี

25

ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาสนู่ วัตกรรมหรือแบบอยา่ งที่ดี
โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ทกี่ ำลังดำเนนิ การนำ PDCA มาใชต้ าม

รปู แบบ 5T Model นั้น ควรมกี ารกำหนดและสร้างความเขา้ ใจกบั ผูท้ ีร่ บั ผดิ ชอบในโครงการ/กิจกรรม
ทีม่ ใี น แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี ให้มีกระบวนการ 5T Model โดยเน้น
ไปที่ กระบวนการปฏบิ ัติ (D) โดยสามารถก าหนดตวั ชี้วัดในแต่ละ T (Team , Teach , Technology,
Test, Train) ให้ครอบคลุมทุกโครงการ/กจิ กรรรม เปน็ ไปตามขน้ั ตอนและมีระบบ รวมทง้ั เสรมิ ในส่วน
การบริหาร จดั การตาม TRIAMUDOM.NE Model ที่กำหนดไว้ และทำอย่างต่อเนื่อง
พรอ้ มทัง้ นำเผยแพรร่ ูปแบบต่อไป

ด้านที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
ผลการดำเนินงาน

ครูไดจ้ ดั กจิ กรรมการเรียนร้อู ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพโดยมีการวิเคราะหห์ ลกั สตู รและตวั ชีว้ ดั นำมา
ออกแบบการจดั การเรยี นรู้ มีแผนการจดั การเรียนรู้ท่ีเนน้ กระบวนการเชิงรกุ (Active Learning) เช่น 7E,
5E, CIPPA Model, 1S2C (Search, Critique, Create), เป็นต้น ครูไดท้ ำการศึกษาและวจิ ัยในชน้ั เรยี น
เช่น การวิจัยการพฒั นาบทปฏบิ ตั กิ าร เร่อื ง กรด-เบสเพ่ือส่งเสริมทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์,
การพฒั นาสมรรถภาพทางกายด้านน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน การพัฒนาวธิ กี ารเรียนรู้ของนักเรียนเพื่อ
ส่งเสริม การค้นควา้ และสร้างองค์ความร้ดู ว้ ยตนเองผา่ นการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงาน, การใช้เคร่อื งมือ
สอ่ื สารใน facebook group จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ Social Constructivist, การสง่ เสรมิ การอา่ น
ภาษาอังกฤษโดยใช้ ประโยคในชวี ิตประจำวัน เป็นต้น รวมทั้งยังมีการออกแบบการจดั กิจกรรมเสริม
พิเศษทีเ่ พิ่มเติมในเนือ้ หา เช่น การจัดตอบปัญหาทางวิทยาศาสตรโ์ ดยเปิดโอกาสใหบ้ ุคคลภายนอกเขา้
มารว่ ม การจดั กิจกรรมโครงการคดิ เลข เรว็ อัจฉรยิ ะภาพทางคณติ ศาสตร์ A-MATHSODUKU OLYMPIC
การแขง่ ขันฟสิ ิกส์สปั ประยกุ ต์ (Physicist Tournament) การสอนตามแนว STEM Education
การสอน Coding คลนิ ิกทางภาษา เปน็ ต้น

ครูยงั ได้จดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ โดยเน้นการจดั การเรียนการสอนโดย
ใช้ Project-based ในทกุ วิชา รวมท้งั การใช้ Problem-based, Independent Study และ Inquiry-
based ในกล่มุ รายวชิ าทางวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ทั้งหมดเพื่อใหน้ กั เรียนได้ใช้ทักษะการคดิ ชน้ั สงู
(Apply, Evaluate, Create) ผ่านกระบวนการจดั กจิ กรรมดงั กล่าว ทำให้นกั เรยี นมกี ารคิดเชิงระบบ
การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณญาณ ประยกุ ต์ใชค้ วามร้ใู นการพฒั นาหรือสร้างสรรค์ชิ้นงาน
เพอ่ื แกป้ ญั หาในชวี ติ ประจำวนั เชน่ การ พฒั นาสิ่งประดิษฐ์ “เคร่อื งพ่นคนสบาย” ทม่ี าจากปัญหาท่เี ห็น
บดิ าต้องแบกปยุ๋ หวานในนาข้าวซึง่ อาจทำให้ สขุ ภาพเส่อื มโทรม จงึ คดิ เครื่องพ่นป๋ยุ ที่ใชร้ ีโมทบงั คบั
“ทอ่ ซิ่งระบายน้ำ” เครื่องสูบน้ำทส่ี ามารถเคลือ่ นที่ได้ โครงงานหนงั สั้น เชน่ หนงั ส้นั เร่ือง “หัวหมอ”
ทร่ี ณรงคต์ ่อต้านทุจรติ คอรปั ชน่ั หนงั สอื ส้ันเก่ยี วกับความสนใจ ของผูเ้ รียน เช่น จิตร ภมู ิศักด์ิ
แหล่งโบราณคดบี า้ นเชยี ง บ้านตาลโกน ค้ำคณู เป็นตน้ นอกจากนน้ั ยังมีผลงาน การจดั ทำการสืบเสาะ
(Inquiry-based) และการเรียนรู้อสิ ระ (IS) เชน่ เครื่องทำนำ้ อุ่นพลงั งานแสงอาทติ ย์โดยใชร้ างพาราโบลา

26

ตามแสง, การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลอื กมังคดุ และเปลอื กกล้วยดบิ ในการ กำจดั เชอ้ื รา
เขียวในกอ้ นเห็ด, การศึกษาประสิทธิภาพการดูดชับโลหะหนักของถา่ นข้าวโพด, เครอื่ งปัดหยากไย่
อตั โนมัติ, ถังดักไขมันด้วยตัวดดู ซับจากฝ้าย ฟางขา้ วและกากมะพร้าว, ปนื ผสมเกสรเมล่อน,
โครงงานอาชพี “มา้ นง่ั ยางรถยนต”์ เป็นต้น ซง่ึ ทั้งหมดเป็นการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยเน้น
กระบวนการกล่มุ (Cooperative Learning) กระตุ้นใหผ้ เู้ รียนได้คดิ ตดั สนิ ใจ มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
และช่วยเหลือกนั ระหวา่ งผเู้ รียน เชน่ การ ใช้ Math Model ซงึ่ มีแลกเปลย่ี นการเรยี นรู้ระหวา่ ง
“พ่ีชว่ ยพ่ี” “เพ่ือนชว่ ยเพอ่ื น” และ “น้องช่วยนอ้ ง” รวมทั้งการแลกเปลี่ยนกันระหว่างนักเรยี นกับครู
และนักเรยี นกับบคุ คลภายนอก มีโครงการเรียนรว่ มกับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร
เป็นต้น

นอกจากนน้ั ครยู ังมีการรว่ มมือกนั ในการออกแบบหลกั สูตรเพ่อื ใหส้ อดคล้องกับความต้องการของ
ผู้เรียน เชน่ การจัดโปรแกรมวิชาท่ีหลากหลาย ไมว่ ่าจะเป็นโปรแกรมพื้นฐาน (วทิ ย์ – คณติ ฯ, คณิตฯ -
ภาษา) หรอื โปรแกรมทนี่ กั เรียนตอ้ งการ (SMT, SMTE) และตามที่นกั เรยี นสนใจ (อังกฤษ - จีน), (องั กฤษ
- เกาหลี), (องั กฤษ – ญ่ึปุ่น) การจัดกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร ในกล่มุ นกั เรียนที่มคี วามสามารถพเิ ศษ
(Gifted) ร่วมมือกบั สถาบันในทอ้ งถ่นิ เช่น มหาวทิ ยาลัยนครพนม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ใชบ้ คุ ลากรในท้องถ่ินหรือปราชญ์ในทอ้ งถน่ิ เช่น ศษิ ยเ์ ก่า ปราชญ์ด้าน พฤกษศาสตร์ ผ้าย้อมคราม
การถกั โครเชต์ สานตะกรา้ นวดแผนไทย กฎจราจร นวดฝ่าเท้า ศาลจังหวัดสว่างแดน ดินใหค้ วามรู้
เกี่ยวกับกฎหมาย ร่วมผลติ สบจู่ ากสมนุ ไพรโดยร่วมมอื กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล เปน็ ต้น
มแี หล่งเรียนรูท้ ี่หลากหลาย เช่น จติ รกรรมฝาผนงั ภูผาเหล็กสำหรับกิจกรรมดดู าว ศลิ ปะวฒั นธรรม
ชุมนมุ วาดภาพนอกสถานที่ ครจู ัดกจิ กรรมศกึ ษาดูงานและโครงการแลกเปล่ียนต่างประเทศ
ระหวา่ งใหก้ ับผู้เรยี น เช่น Korea, China, America, Japan มหี ลกั สตู รภาษาเกาหลี การสอนทำหนัง
เปน็ ต้น รวมทัง้ แหล่งเรียนรภู้ ายใน โรงเรยี น เชน่ หอ้ งสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องฟิตเน็ต หอ้ งดนตรี
สากล/ดุริยางค์ เครื่องเปา่ ห้องศลิ ปะ ทัศนศิลป์/นาฎศิลป์ เป็นตน้

ครูมกี ารบรหิ ารจดั การและจดั บรรยากาศชน้ั เรยี นเชิงบวก มีการใชเ้ กม ส่ือเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลใน
การกระตุ้นใหน้ กั เรยี นสนใจ เช่น Google Application, Kahoot, Made it, Geogebra,GSP,Picklet,
Printerest, Tablet Korea, Zip Paid, Youtube, Cake walk, E-classroom, Facebook,App
ผ่าสัตว์, Cracker App เปน็ ต้น รวมท้งั ใชว้ ัสดุอปุ กรณ์ประกอบการสอนที่ทนั สมัยเช่น Projector,
Visualizer, Smart T.V., บรรยากาศห้องเรียนนา่ เรียน มีอุปกรณค์ รบครนั โดยเฉพาะในรายวชิ า
วทิ ยาศาสตร์ ผ้เู รยี นได้ทำกจิ กรรม การทดลองโดยใชว้ ัสดอุ ุปกรณท์ ุกคน มีการทดลองโดยใช้สื่อจรงิ
เช่น การผ่าปอดสัตว์ ผูเ้ รียนสามารถส่ือสาร กับครูในบรรยากาศที่เปิด มีสัมพันธภาพระหว่างครู
กบั นกั เรยี น นักเรยี นกับนักเรียนทดี่ ี

ครมู กี ารแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองทั้งการเขา้ ร่วมอบรมในหลกั สูตรตา่ ง ๆ
ตามความสนใจ จากหนว่ ยงานต่าง ๆ รวมทั้งการทำวงรอบของชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ
(Professional Learning Community) ทั้งท่เี ปน็ ทางการและเปน็ ทางการ รวมท้งั การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

27

กบั สถานศึกษา อ่ืน ๆ มชี มรมครู เครือขา่ ยครู เช่น เครอื ข่ายครใู นการแขง่ ขนั ฟิสิกส์สปั ประยกุ ต์
เครอื ข่ายครดู าราศาสตร์ เครือข่ายครูกลมุ่ สาระสังคม เครือขา่ ยกลุม่ สาระภาษาไทย เครือขา่ ยครู
ในกลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ จีน เกาหลี ญ่ปี ุ่น) เปน็ ต้น

จากการพจิ ารณากระบวนการและผลการประเมนิ การจดั การเรียนการสอนของครกู ับผล
การตรวจสอบจากสภาพจริงหรือหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ พบวา่ คณะครูมกี ารจดั การเรียนรูต้ ามมาตรฐาน
การเรียนรู้ ทเี่ น้นใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและการปฏิบตั จิ รงิ มีการออกแบบการจัด
กิจกรรมการเรียนรูท้ ่นี ำไปจดั กจิ กรรมจรงิ ทำใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถนำเสนอผลจากการทำโครงงาน
ใหค้ วามคิดเห็นได้ตรงประเด็น และ สามารถปฏบิ ตั ิไดจ้ รงิ รวมท้ังมรี ่องรอยหลักฐานจากชิน้ งาน
เช่น สง่ิ ประดิษฐจ์ ากโครงงาน ผลการทดลองที่ได้ จากโครงงาน ชิ้นงานของผเู้ รียน บันทึกกจิ กรรมของ
ผู้เรยี น เปน็ ต้น นอกจากน้นั ครูยงั มีบนั ทึกการพัฒนาทาง วิชาชีพโดยใช้ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(PLC) แลว้ นำผลการสะท้อนจากวง PLC ไปคน้ คว้า ปฏบิ ัติ ศึกษา วิจัยและสรุปเพื่อนำมาพัฒนาผเู้ รยี น
โดยจะเห็นรอ่ งรอยหลกั ฐานจากการบนั ทกึ เล่มวจิ ยั การสังเกต กระบวนการดำเนนิ งาน ช้นิ งานและ
การสมั ภาษณผ์ ู้เรยี นเกย่ี วกบั กระบวนการท่ีไดล้ งมือปฏิบตั ิจริง เป็นต้น

ผลจากการดำเนนิ การของคณะครูสะทอ้ นใหเ้ ห็นความสำเร็จของผเู้ รยี นในด้านต่างๆ เชน่
การเข้าศึกษาต่อในมหาวทิ ยาลัย การเป็นตัวแทนเข้าแขง่ ขันในระดบั ภาค การรบั รางวัลพระราชทาน
เก่ียวกับการแขง่ ขนั การทดลองของผู้เรยี น การได้รับเชิญให้เขา้ รว่ มแสดงผลงานจากภาคเอกชน ห้องเรยี น
มบี รรยากาศที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ มีกระบวนการวเิ คราะหห์ ลักสตู รเพื่อนำไปออกแบบการ
จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทเ่ี น้นกระบวนการลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ และเนน้ กระบวนการคิด เช่น โครงงานตา่ งๆ
ของผเู้ รียนการให้ ผ้เู รียนได้แสดงความคิดเห็นในการจดั การเรียนการสอน การจัดกิจกรรมโครงการหรือ
กิจกรรมทีผ่ เู้ รยี นสนใจ รวมทั้งมีการพัฒนาทางวิชาชีพอยา่ งต่อเนื่อง การพฒั นาผู้เรยี นโดยใช้กระบวน
การชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community) และการพัฒนาวิชาชพี
(Professional Development) มกี ระบวนการนิเทศติดตามภายในสถานศึกษาทงั้ จากบุคลากรท่ีอยู่
ภายในและบุคลากรภายนอก รวมท้ังครยู งั ได้มีการวเิ คราะห์ผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คล และการทำวิจยั เพื่อ
แกป้ ญั หาผูเ้ รียนในทกุ ภาคเรียน

28

สรุปการประเมินด้านที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ มีระดบั คุณภาพ
ดีมาก

จุดเด่น
1. ครูมีความรูแ้ ละสมรรถนะสงู ทำใหไ้ ดร้ บั ทนุ หรือมีการพัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง ส่งผลใหเ้ กิด

ประสทิ ธิผลต่อผเู้ รยี น ครมู คี วามภูมิใจในความเปน็ ครูผสู้ อน มุง่ มน่ั ในการจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู ละ
พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนร้อู ยตู่ ลอดเวลา อุทศิ เวลาในการพฒั นาและสง่ เสรมิ การเรียนรขู้ องผเู้ รยี น
อยา่ งเต็มทแี่ ละเตม็ เวลา

ครสู ามารถใชส้ อ่ื อปุ กรณ์ และเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนการเรยี นรไู้ ด้เป็นอยา่ งดี มีการใช้
โปรแกรมประยุกต์ (Application) เทคโนโลยี จดั หาสอ่ื และอุปกรณ์ทเี่ พยี งพอต่อผเู้ รยี น
รวมทงั้ การจดั บรรยากาศในการเรยี นแบบเปดิ ท่ีสามารถให้ผ้เู รยี นได้ใช้เครอ่ื งมือในการเรยี นรูอ้ ย่าง
หลากหลาย เช่น การใช้ iPad แทนสมุด หรือ การส่งชนิ้ งานผา่ นเครอื่ งมือดังกล่าว หรือ ตามที่นักเรียน
ตอ้ งการ หรอื การติดตาม ชิน้ งานของผู้เรียนผา่ นสอ่ื เทคโนโลยีดังกลา่ ว เปน็ ตน้

ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นาสูน่ วัตกรรม หรือแบบอยา่ งท่ีดี
การบนั ทกึ หลงั การสอน การให้ข้อมลู ย้อนกลบั และ การนำเสนอจดุ ทค่ี วรพัฒนาตามเปา้ หมาย

ของสถานศกึ ษายังเป็นประเด็นเดิม ๆ ทย่ี ังไม่ไดร้ บั การแก้ไข จึงอาจจะต้องนำผลการสะท้อนจาก
ห้องเรียน หรือ วง PLC ที่มีการบันทึกร่องรอยหลกั ฐานร่วมกันทเี่ ปน็ ปจั จบุ ันมาสะท้อน ป้อนข้อมูล
ย้อนกลบั และนำสารสนเทศดังกล่าวไปวางแผนในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทส่ี ่งผลต่อ
การพัฒนาการเรยี นรู้ของผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ รวมท้งั ผกู ติดกบั การพัฒนาทางวชิ าชพี (Professional
Development) การวิจยั ในช้ันเรียน (Classroom Action Research) การจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีเน้น
ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ซึง่ การดำเนินการดังกล่าวจะทำให้ครูมีการรวมกลมุ่ ในการพัฒนาการเรียนรขู้ องผู้เรยี น
ไม่แยกตัว เกดิ ความกา้ วหน้า ทางวิชาชีพ สามารถสะท้อนผลหรือสารสนเทศทเ่ี ป็นปัจจุบันท่ีทำให้
ปรับเปลย่ี นการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ หท้ นั ต่อการเปลยี่ นแปลง รวมทั้งยงั ทำให้ครปู รับเปล่ียนจาก
ครผู ูส้ อน เป็นผ้อู ำนวยการเรียนรู้ และสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของครโู รงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ชดั เจนยิ่งขึ้น

29

การประเมนิ ความโดดเด่น

สรปุ การประเมินความโดดเด่น

ตาราง 13 สรุปการประเมนิ ความโดดเดน่

ความโดดเด่น ระดับคณุ ภาพ
ด้านวชิ าการควบคูค่ ุณธรรม  เป็นต้นแบบ โดดเด่น ไดร้ ับการยอมรบั ระดับนานาชาติ (C3)
 เปน็ ตน้ แบบ โดดเด่น ได้รับการยอมรบั ระดบั ชาติ (C2)
 เปน็ ตน้ แบบหรอื โดดเดน่ ระดบั ท้องถนิ่ /ภมู ิภาค (C1)
 ยงั ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณาการประเมนิ ความโดดเด่น

บรบิ ทของสถานศกึ ษา
โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความโดดเดน่ ในด้านวชิ าการควบคู่

คุณธรรม สามารถเป็นต้นแบบ และมีรางวลั เปน็ ท่ียอมรับระดับท้องถ่ิน/ภูมิภาค (C1) มีการกำหนดไวใ้ น
วสิ ยั ทศั น์ จดุ เนน้ แผนปฏิบัตริ าชการ รวมทั้งการดำเนนิ การตอ่ เนอื่ งในเร่ืองวชิ าการและคณุ ธรรม
ในด้านวิชาการ มีการพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการใหด้ ีขน้ึ มคี ะแนนเฉลีย่ ของ O-NET สูงกวา่
ระดบั ประเทศ 3 ปี ต่อเน่ืองในภาพรวม ในแผนโครงการกิจกรรม ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นได้พัฒนาตนเองเต็ม
ตามศกั ยภาพ เขา้ รว่ ม แขง่ ขันทกั ษะในสาระต่างๆ อยา่ งสม่ำเสมอ ค่ายติวเขม้ มีการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ
กจิ กรรมเพิม่ พนู ทักษะ รวมท้ังเป็นศูนยโ์ อลมิ ปิกวชิ าการ วิชาชีววิทยา การพัฒนาทางด้านวิชาการแบบ
ก้าวกระโดดในกล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ และเป็นโรงเรียนแกนนำขยายผลยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ
เห็นไดจ้ ากรางวัลเกียรตยิ ศตา่ งๆ รวมทง้ั การเปิดโอกาสพฒั นาศกั ยภาพของผู้เรยี นมคี วามหลากหลายใน
ดา้ น ศลิ ปะ กีฬา สำหรับด้านคุณธรรม โรงเรยี นมกี ารจดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
“วถิ เี ตรยี มอุดมศึกษา” “พธิ ีประดับพระเกี้ยว และพิธีไหว้ครู” การจัดทำโครงงานคุณธรรม กิจกรรม
“คนดี ศรี ตอ.” และมีการสอบธรรมศึกษาของครแู ละนกั เรียนทกุ คน และการร่วมกิจกรรมในส่วนท่ี
สง่ เสรมิ วถิ ีพุทธ ศูนยเ์ สรมิ สร้างคุณธรรมศึกษา ค่ายยุวชนคนคุณธรรม และกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่
ห้องเรียน สง่ ผลให้โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มคี วามโดดเด่นทำใหผ้ ้เู รียน
มีความรูค้ วามสามารถในวิชาการ และมีความประพฤติและบคุ ลิกภาพทีโ่ ดดเด่น

โอกาส
โรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ได้รบั การสนับสนุนจากคณะกรรมการ

สถานศึกษา ศิษย์เก่า ผ้ปู กครอง ทีใ่ ห้การสนบั สนุนทงั้ งบประมาณ และวสั ดุ ครภุ ัณฑ์ ในการส่งเสรมิ ดา้ น
วิชาการ รวมทง้ั การมีเครอื ข่ายเตรยี มอดุ มในภาคตา่ ง ๆ ท่ีสามารถช่วยเหลือและประสานงาน
ในการพฒั นาดา้ นวิชาการ รวมทงั้ การพฒั นาคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ี่มีความเด่นชดั และสบื ทอด
วฒั นธรรมอนั ดงี ามสบื ต่อกันมา

30

อปุ สรรค
การเปล่ยี นแปลงไปของสังคม เทคโนโลยี การส่อื สาร ส่งผลต่อพฤติกรรมของผูเ้ รยี นทเ่ี กิด

การเลียนแบบ ในทางทีไ่ มถ่ ูกตอ้ ง หรือไมเ่ หมาะสมในด้านคุณธรรมจริยธรรมได้

ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นา
โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มีความโดดเดน่ ในด้านวิชาการควบคู่

คุณธรรม สามารถเปน็ ตน้ แบบ และมรี างวัลเป็นทย่ี อมรบั ระดับท้องถิ่นและภมู ภิ าค (C1) ซ่งึ ควรวางแผน
การบรู ณาการ เชอื่ มโยงในกจิ กรรมโครงการให้ครอบคลุมในทุกดา้ นท่เี กี่ยวข้องกับวชิ าการและคุณธรรม
อย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง พัฒนารูปแบบทม่ี ีความหลากหลาย เหมาะสมกับพฤตกิ รรมของผเู้ รยี นที่มคี วาม
แตกต่าง หรือสามารถนำไปใช้ กับชุมชน สงั คมหรอื โรงเรยี นทมี่ บี ริบทใกลเ้ คยี งกัน เปน็ แกนนำ หรอื
ตน้ แบบให้กบั โรงเรยี นในการสง่ เสริม และใหม้ ีการวัดและประเมินผลการสง่ เสรมิ สนับสนุนวชิ าการควบคู่
คณุ ธรรม อย่างตอ่ เน่ือง โดยการใหห้ น่วยงานที่เกย่ี วข้องได้เขา้ มารว่ มประเมิน ชแ้ี นะแนวทางพัฒนา
ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล

คำรับรองของคณะผปู้ ระเมนิ

รายงานน้ไี ด้ตรวจสอบพิจารณาความถู กตอ้ งของรายงานในประเด็นต่อไปน้ีเรยี บรอ้ ยแลว้
 ตรวจสอบคำผิด การใช้ภาษา
 ตรวจสอบรปู แบบให้เป็นไปตามที่ สมศ. กำหนด
 ตรวจสอบความถกู ต้องของผลการประเมิน ตลอดจนความสอดคล้องตง้ั แต่เน้ือหา จุดเด่น
จุดที่ควรพฒั นา ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนาสนู่ วตั กรรม และการประเมนิ ความโดดเดน่

ตาราง 14 คำรบั รองของคณะผปู้ ระเมนิ

รายชือ่ ตำแหน่ง ลงชื่อ
วันที่ 7 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2562
1. ดร.มนตรี นวิ ัฒนุวงค์ ประธาน

2. นายบรรจง ภาสดา กรรมการ

3. ดร.กิตติศักด์ิ สนิ ธุโคตร กรรมการและเลขานุการ

31

ส่วนท่ี 2
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

1. ทศิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

วิสัยทัศน์ (Vision)
องค์กรคณุ ภาพมาตรฐานสากล ผ้เู รียนมีความเปน็ เลิศทางวิชาการและคุณธรรม

น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

พันธกิจ (Mission)
1. มุ่งมนั่ บริหารจดั การอย่างเปน็ ระบบตามหลักธรรมาภิบาลและเน้นการมสี ่วนร่วม
2. จัดหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรทู้ มี่ ุ่งเนน้ ให้ผเู้ รยี นเป็นเลศิ ด้านวชิ าการคุณธรรม

น้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. สง่ เสริมโรงเรยี นให้เป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้
4. ส่งเสริมบคุ ลากรให้รักองค์กรมีจรยิ ธรรมและเปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้

เปา้ หมาย (Goal)
1. ดา้ นนักเรียน

▪ ผู้เรยี นเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและภาษา
เพื่อการสื่อสาร

▪ ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมอนั ดีงาม
เขา้ ใจภมู ิปัญญาไทยและท้องถนิ่ รกั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์

▪ ผูเ้ รียนมคี วามเปน็ ผนู้ ำและผตู้ าม มคี วามเสยี สละ มมี นุษย์สมั พันธ์ และความรับผดิ ชอบอนุรักษ์
สิ่งแวดลอ้ มและธรรมชาติ

2. ดา้ นครู
▪ บุคลากรทุกฝา่ ยมคี ุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม มศี ักยภาพในหน้าท่ีของตน ดว้ ยการอบรม
สมั มนา นิเทศ ศึกษาต่อ ทัศนศึกษา ดูงานทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ยกยอ่ งและเชิดชู
เกียรติบุคลากรทปี่ ฏิบัตงิ านดี มีจรรยาบรรณ
▪ ครแู ละนักเรยี นเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ รกั การอ่าน รกั การเรยี นรู้ตลอดชีวิต มีความรู้
เป็นสากล สามารถใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม มที ักษะส่ือสารด้วยภาษาไทย
และภาษาตา่ งประเทศอยา่ งน้อย 1 ภาษา มีทักษะการทำงานและการบรหิ ารจดั การ

32

และโรงเรยี นเป็นองคก์ รแห่งการเรยี นรู้
▪ มีการเตรยี มความพร้อมแก่นักเรียนสำหรับการแขง่ ขันโอลิมปิกวชิ าการ
▪ มกี ารจัดจา้ งบุคลากรเจา้ ของภาษา เพอื่ สอนวิชาภาษาองั กฤษ ภาษาจนี และจดั จ้าง

บคุ ลากร อ่ืนตามความจำเป็น

3. ดา้ นกจิ กรรมการเรียนการสอน
▪ มีการเตรียมความพร้อมสำหรับนักเรียนเพื่อการสอบเข้ามหาวิทยาลัย การสอบแขง่ ขนั ชิง
ทุนศึกษาต่อในต่างประเทศและการแขง่ ขันด้านต่าง ๆ ในประเทศ
▪ นกั เรยี นมคี ุณสมบตั ติ ามมาตรฐานนกั เรียนเตรยี มอุดมศึกษา ไดแ้ ก่ มีคณุ ธรรม จริยธรรม
มคี วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ เป็นผู้นำและผู้ตามท่ีดี มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ดี
มีความสามารถในการส่อื สาร มบี ุคลิกภาพท่ดี ี

4. ดา้ นหลกั สตู ร
▪ มหี ลกั สตู รการศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ แบบสหศกึ ษา เพ่ือมงุ่ เตรียมผู้เรียน
เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา โดยคัดเลือกจากนักเรียนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และดำเนินงานตามแนวทางในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542
และนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นักเรียนสามารถ
เลือกแผนการเรียนได้ตามความชอบ ความรู้และความสามารถของตน
▪ มหี ลกั สูตรตามมาตรฐานสากล เนน้ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกับ
ความตอ้ งการของผเู้ รียนท้องถ่ินและประเทศชาติ เหมาะกับศักยภาพของผู้เรียน มรี ายวชิ า
การศกึ ษา และสร้างองคค์ วามรู้ (Research and Knowledge Formation) และโลกศึกษา
(Global Education) รายวิชาการสอ่ื สารและนำเสนอ (Communication and Presentation
IS 2) ซึ่งมีเน้ือหาเกีย่ วกับการเขยี นความเรยี งชัน้ สูง (Extended Essay, Academic Writing)
และรายวิชากจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ (Social Service Activity IS 3)
ซ่งึ มเี นอื้ หาเกีย่ วกบั กระบวนการสรา้ งสรรค์ (Creativity) กิจกรรม (Activity)
การรบั ใช้ส่วนรวม (Service)

5. ด้านระบบ ICT และระบบฐานข้อมลู
▪ มสี ือ่ นวตั กรรม สื่อเทคโนโลยอี ย่างเพยี งพอ บุคลากรสามารถผลติ และใชส้ ื่อนวตั กรรม
ส่อื เทคโนโลยี ในการจดั การเรยี นการสอน ใชเ้ ทคโนโลยใี นการพฒั นางานทกุ ระบบ
และมีการบำรงุ รกั ษาการใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีอยา่ งคุ้มค่า

33

6. ด้านการพัฒนาเครอื ข่าย
▪ มเี ครือขา่ ยรว่ มพฒั นา สามารถช่วยเหลอื ดา้ นวิชาการและด้านทุนทรัพย์ แก่โรงเรียนเครือขา่ ย
เตรียมอดุ มศกึ ษา โรงเรยี นพี่โรงเรียนนอ้ ง และโรงเรยี นท่ขี อความอนุเคราะหบ์ ริจาค เพ่ือสา
ธารณกศุ ลตามความเหมาะสม ตอ้ นรบั ให้ความรู้แก่คณะผ้มู าศึกษาดูงาน
▪ มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารและข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนแก่ผู้เก่ียวข้องอย่างท่ัวถึง
สมำ่ เสมอ ตลอดจนใชข้ อ้ มลู สารสนเทศและงานวจิ ัยเพ่ือการพฒั นา

34

เอกลกั ษณ์ (Uniqueness)
ความเป็นเลิศทางวชิ าการและคณุ ธรรม

อตั ลักษณ์ (Identity)
“ต.อ.ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ต้นกลา้ ของแผ่นดนิ ”

ค่านยิ ม (Values)
TRIAMUDOM.NE Model
T = Teaching and Learning Concentration เน้นการเรียนการสอน
R = Rights and Responsibility สทิ ธิและความรับผดิ ชอบในหนา้ ท่ขี องผู้เรียน
I = Implement Home – School partnership การสร้างความสมั พันธบ์ ้านและโรงเรียน
A = AIM จดุ มุ่งหมาย/เป้าหมาย
M = Management by Professional Leadership การจดั การโดยผนู้ ำมืออาชีพ
U = Unity ความเปน็ น้ำหนงึ่ ใจเดียวกัน
D = Discipline ระเบยี บวินยั
O = Organizing a leaning environment to a leaning organization สรา้ งบรรยากาศแห่ง
การเรยี นรเู้ พ่ือเปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้
M = Monitoring progress การตรวจสอบความก้าวหน้า
N = Network การสรา้ งเครอื ขา่ ย
E = Encouragement การสนบั สนุน สง่ เสรมิ เพ่ือให้มีประสทิ ธิภาพ

จดุ เน้น (Indicator)
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 5 กลุ่มสาระวิชาหลกั เพิ่มข้ึนอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 10
2. ผู้เรยี นทกุ คนมจี ติ สำนึกในความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
3. เพม่ิ ศักยภาพผูเ้ รียนในดา้ นคณติ ศาสตร์ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ดา้ นภาษา และด้านเทคโนโลยี

เพื่อพัฒนาสูร่ ะดับมาตรฐานสากล
4. สร้างทางเลอื กในการเรยี นรู้ ทเี่ น้นศกึ ษาต่อและประกอบอาชพี ลดอัตราการออกกลางคัน
5. สง่ เสริมการจดั การศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
6. ผเู้ รยี น ครู บุคลากร และสถานศกึ ษา ไดร้ ับการพฒั นาพรอ้ มเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน

มภี ูมคิ ุ้มกันตอ่ การเปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวฒั นธรรม
7. โรงเรยี นผ่านการรบั รองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคณุ ภาพภายในเข้มแข็ง และผ่านการ

รบั รองการประเมนิ คุณภาพภายนอกจาก สมศ.

35

2. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
โรงเรยี นดำเนนิ การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะ จากการประเมินคุณภาพ

การศกึ ษาภายในและภายนอก ดงั น้ี
1. จดั การศึกษาใหส้ อดคลองกับพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542

และท่แี ก้ไขเพิ่มเตมิ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ.2551 และมาตรฐาน
การเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ดั ฯ (ฉบับปรบั ปรงุ 2560) เพือ่ ประโยชนตอ่ ผเู้ รยี นและสงั คมให้บรรลุความมงุ่ หมาย
ที่กำหนด ซ่งึ เปน็ การศึกษาตลอดชีวิต

2. จดั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานให้กบั นักเรยี นปกติ นกั เรยี นพิการ นักเรยี นดอ้ ยโอกาส
และนักเรียนท่ีมคี วามสามารถพเิ ศษ

3. จัดการศึกษาโดย 3 รูปแบบคอื ในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ตามความเหมาะสม
4. ปฏริ ปู การเรยี นรูตามหลักการและแนวทางที่กำหนดไว อาทเิ ชน่ จดั ตามธรรมชาติ
และศักยภาพของนักเรียนแต่ละวัยเรียน และแตล่ ะคน จากแหล่งเรยี นรตู้ ่าง ๆ ทงั้ ในและนอกโรงเรียน
ตลอดทงั้ จัดการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ
5. จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยปรับใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พ.ศ.2551 และมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชว้ี ดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ 2560) ให้เหมาะกับสภาพ
และความต้องการของท้องถน่ิ ทตี่ ั้งโรงเรียน
6. จัดกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิตให้แกประชาชนในชุมชน โดยให้การศึกษาอบรมตาม
ความจำเป็นและความเหมาะสม
7. จัดให้มีการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ตลอดทั้ง
มุ่งส่งเสริมให้ใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน
8. บรหิ ารจดั การโรงเรียนตามกระบวนการกระจายอำนาจการบรหิ ารจัดการศึกษา ท้ังดา้ น
วิชาการ ดา้ นงบประมาณและด้านการบริหารทัว่ ไป ด้านการบรหิ ารบุคลากร สอดคลองกับหลกั การ
บริหารโดยใชโรงเรียนเปน็ ฐานและการมสี วนร่วมของชมุ ชน องคก์ รชุมชน และผ้มู สี ว่ นเกีย่ วขอ้ ง
9. จัดการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งคุณภาพภายในและภายนอก ตามเกณฑ์
มาตรฐานการศึกษาท่ีกำหนด
10. พัฒนาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อจัดการเรียนการสอนให้
สอด คล องกับแนว ทางหลั กการที่กำหนดต ามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
11. แสวงหานวตั กรรมเทคโนโลยี ภมู ิปัญญาไทย และภมู ิปญั ญาท้องถ่ินมาใช้ในการจัด
การเรยี นการสอนในโรงเรยี น

36

3. กลยุทธ์การพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ตาราง 14 กลยุทธ์การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

กลยทุ ธ์ (Strategy) โครงการ

กลยทุ ธท์ ี่ 1 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการสู่ 1. โครงการพัฒนาองค์กรสคู่ วามเป็นเลศิ ตาม

มาตรฐานสากล มาตรฐานสากล

2. โครงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาพัฒนา

อยา่ งย่ังยนื

3. โครงการสรา้ งจติ สาธารณะเสยี สละเพือ่

ส่วนรวม

กลยุทธท์ ่ี 2 พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการ 4. โครงการพัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการ

จดั การเรียนรู้ท่ีมงุ่ เน้นใหผ้ เู้ รยี นมีความเปน็ จัดการเรียนรูท้ ี่ทันสมยั หลากหลายตอบสนอง

เลิศด้านวชิ าการคุณธรรมน้อมนำหลักปรัชญา ความต้องการและศักยภาพของผูเ้ รยี น

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. โครงการน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง

6. โครงการพัฒนาองค์กรใหเ้ อ้อื ต่อการเรยี นรู้

กลยทุ ธ์ที่ 3 พัฒนาโรงเรียนใหม้ ีบรรยากาศ 7. โครงการปลกู ฝังคุณลกั ษณะเอกลกั ษณ์

เอ้ือต่อการเรียนรแู้ ละเปน็ องค์กรแหง่ การ นักเรยี นเตรียมอุดมศึกษา

เรียนร้ดู ้วยนวัตกรรม ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

8. โครงการสารสนเทศถูกตอ้ งพรอ้ มใช้เตม็ ใจ

ประชาสมั พนั ธ์ส่ือสารกัน

9. โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยแี ละ

นวัตกรรม

กลยทุ ธท์ ี่ 4 พฒั นาผบู้ ริหาร ครูและบคุ ลากร 10. โครงการบริการเสรมิ ด้านสวสั ดิภาพและ

ใหม้ ีจรยิ ธรรมและเปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ สวัสดกิ ารของบุคลากรและนักเรยี น

ด้วยกระบวนการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 11. โครงการจัดจา้ งบุคลากรทดแทน

อัตรากำลงั ท่ีขาดใหไ้ ดต้ ามเกณฑ์

12. โครงการพฒั นาความรแู้ ละจริยธรรมของ

บุคลากร

37

สว่ นที่ 3
ประมาณการรายรบั และรายจา่ ย ประจำปีงบประมาณ 2565

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา
สกลนคร โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน และผู้มีสว่ นเกยี่ วข้อง ได้กำหนด
สัดส่วนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ 2565 ดงั นี้

1. ประมาณการรายรบั ปีงบประมาณ 2565
1.1 เงนิ อดุ หนุนรายหวั

ตาราง 15 แสดงประมาณการเงนิ อุดหนนุ รายหัวนกั เรยี น

ท่ี รายการ จำนวนนักเรยี น อตั ราคา่ รายหัว จำนวนเงนิ
1 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 2,194 (ต่อคน) 10,421,500
3,800

ตาราง 16 แสดงประมาณการรายรบั -รายจา่ ย

รายรบั บาท จดั สรร บาท

1. เงนิ งบประมาณ - 1. คา่ สาธารณปู โภค 2,500,000

1.1 เงนิ อดุ หนุนรายหวั 10,421,500 2. หมวดวชิ าการ 5,171,790

1.2 ปจั จยั พื้นฐาน - 3. หมวดบริหารทว่ั ไป 1,657,560

1.3 สนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยฯ 4,964,950 4.หมวดงบประมาณ 50,000

2. เงนิ นอกงบประมาณ - 5. หมวดสำรองจา่ ย 1,042,150

3. เงินบริจาค -

4. เงินรายได้สถานศึกษา -

4.1 คา่ จ้างลูกจา้ งชั่วคราว 1,694,000
(ปฏบิ ตั ิการสอน)

4.2 ค่าจา้ งลกู จา้ งช่ัวคราว 924,000
(ประจำสำนักงาน)

4.3 ค่าเรียนคอมพิวเตอร์ 1,877,400

4.4 ค่าจ้างครูชาวต่างชาติ 1,316,400

รวม 21,198,250 รวม 10,421,500

หมายเหตุ เงินรายได้สถานศึกษามิได้นำไปจดั สรรเป็นคา่ ใช้จ่ายในโครงการหรอื กิจกรรม

38

1.2 เงนิ สนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษาตั้งแตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

ตาราง 17 แสดงงบประมาณสนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาตัง้ แตร่ ะดับอนุบาล

จนจบการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

รายรบั บาท หมวดจัดสรร บาท

1. เงนิ สนับสนนุ ค่าใช้จา่ ย 1. ค่าหนังสอื เรยี น 2,858,710

จนจบการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 2. ค่าอุปกรณ์การเรียน 1,009,240

(เรยี นฟร)ี 3. ค่าเครอ่ื งแบบนักเรยี น 1,097,000

7,049,250 4. กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น 877,600
4.1 ด้านวชิ าการ

4.2 ด้านคุณธรรมฯ 329,100

4.3 ด้านทศั นศึกษา 767,900

4.4 ด้านเทคโนโลยี 109,700

รวม 7,049,250 รวม 7,049,250

ตาราง 18 แสดงอตั ราสว่ นการจดั สรรงบประมาณตามกลมุ่ บริหารงาน/กลุ่มสาระฯ (เงนิ อุดหนุน)

ที่ กลุ่มบริหารงาน/กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ งาน รวม คิดเปน็ ร้อยละ

1 กลมุ่ บริหารงานวิชาการ 2,472,000 22.53

2 กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล 900,000 8.20

3 กลุ่มบริหารงานทว่ั ไป 1,657,560 15.11

4 กลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณและแผนงาน 2,550,000 23.24

5 งานโสตทศั นศกึ ษา 240,000 2.19

6 งานหอ้ งสมุด 256,000 2.33

7 กลมุ่ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 822,900 7.50

8 กลุม่ งานกิจการนักเรยี น 211,000 1.92

9 งานไอซีที ICT 200,000 1.82

10 กลมุ่ สาระฯภาษาไทย 17,000 0.15

11 กลมุ่ สาระฯคณติ ศาสตร์ 36,000 0.27

12 กลุ่มสาระฯวทิ ยาศาสตร์ 131,000 1.19

13 กลุ่มสาระฯสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 20,000 0.18

14 กลุ่มสาระฯสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 261,890 2.39

15 กลมุ่ สาระฯศลิ ปะ 38,000 0.35

16 กลมุ่ สาระฯการงานอาชีพและเทคโนโลยี 71,000 0.65

17 กลุม่ สาระฯภาษาต่างประเทศ 45,000 0.41

18 เงนิ สำรอง 1,042,150 9.50

รวม 10,971,500 100

39

ตาราง 19 แสดงอัตราสว่ นการจัดสรรงบประมาณ (เงนิ อุดหนุน)

รายการ ยอดเงิน คดิ เป็น %
งบวิชาการ 5,171,790 50
งบดำเนนิ งาน 4,207,560 40
งบสำรองจา่ ย 1,042,150 10
10,421,500 100
รวมท้ังหมด

40

ส่วนท่ี 4

แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ 2565

โรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสกลนคร
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน และผูม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ ง ไดใ้ ห้ความเหน็ ชอบการใช้จ่าย
งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2565 ดงั นี้

ตาราง 20 จดั สรรงบวชิ าการ อุดหนุน กจิ กรรมพัฒนา เงนิ อื่นๆ รวม
ที่ กลุ่มบริหารงาน/กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ผเู้ รียน

1 กลุ่มบริหารงานวชิ าการ 675,000 447,000 350,000 2,472,000

2 กลุม่ บริหารงานบุคคล 900,000 - - 900,000

3 กลุม่ บริหารงานทว่ั ไป 1,657,560 - - 1,657,560

4 กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน 2,550,000 - - 2,550,000

5 งานโสตทศั นศึกษา 240,000 - - 240,000

6 งานหอ้ งสมุด 53,000 13,000 190,000 256,000

7 กลมุ่ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน 20,000 802,900 - 822,900

8 กล่มุ งานกิจการนกั เรียน 148,000 63,000 - 211,000

9 งานไอซที ี ICT 90,300 109,700 - 200,000

10 กลมุ่ สาระฯภาษาไทย - 17,000 - 17,000

11 กลมุ่ สาระฯคณิตศาสตร์ 22,000 14,000 - 36,000

12 กลุ่มสาระฯวทิ ยาศาสตร์ 79,000 52,000 - 131,000

13 กลมุ่ สาระฯสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 6,000 4,000 10,000 20,000

14 กลุ่มสาระฯสขุ ศึกษาและพลศึกษา 50,000 211,890 - 261,890

15 กลุ่มสาระฯศลิ ปะ 38,000 - - 38,000

16 กลมุ่ สาระฯการงานอาชพี และเทคโนโลยี 41,000 30,000 - 71,000

17 กลุ่มสาระฯภาษาตา่ งประเทศ - 45,000 - 45,000

18 เงินสำรอง 1,042,150 - - 1,042,150

รวม 7,612,010 1,809,490 550,000 10,971,500

41

รายการ ยอดเงิน คิดเปน็ %
งบวิชาการ 5,171,790 50
งบดำเนินงาน 4,207,560 40
งบสำรองจ่าย 1,042,150 10
100
รวมทั้งหมด 10,421,500

ที่ เงินกันในงบ ท่ไี ด้รับจดั สรร
1 คา่ น้ำมันเชือ้ เพลิง 460,000
2 ค่าวสั ดสุ ำนกั งาน 600,000
3 ค่าเบยี้ เลีย้ งไปราชการ 400,000
5 ทศั นศึกษา (2192 X 350)
6 ไอซีที (2194 X 50) 2,500,000
รวมทั้งหมด 109,700
10,421,500
100








Click to View FlipBook Version