The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา

รวมวิจัยทั้งเล่ม

๑๓๙

๒.๔) ช่ือ-นามสกุล ผศ.ดร. ประยงค์ จนั ทร์แดง
ตาแหน่ง ผชู้ ว่ ยคณบดี คณะรฐั ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
หน่วยงาน / ทอ่ี ยู่ มหาวทิ ยาลยั พะเยา

๒.๕) ช่ือ-นามสกลุ อาจารย์สารณิ ยี ์ ภาสยะวรรณ
ตาแหน่ง อาจารยป์ ระจาคณะรฐั ศาสตร์และสงั คมศาสตร์
สาขาวิชาพฒั นาสงั คม มหาวทิ ยาลัยพะเยา
หนว่ ยงาน / ที่อยู่ มหาวทิ ยาลัยพะเยา

๒.๖) ชอ่ื -นามสกุล อาจารย์ถริ ายุส์ บาบัด
ตาแหนง่ อาจารย์ประจาคณะรฐั ศาสตร์และสงั คมศาสตร์
สาชาวิชารฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
หน่วยงาน / ที่อยู่ มหาวทิ ยาลยั พะเยา

๓. รายนามผู้ให้ข้อมูลสาคัญจากหน่วยงานเทศบาล

๓.๑) ชอ่ื -นามสกุล นางดวงพร วชั รวงคว์ รกลุ
ตาแหนง่ นกั พัฒนาชุมชน
หน่วยงาน / ทอ่ี ยู่ เทศบาลตาบลปา่ แฝก อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา

๓.๒) ช่ือ-นามสกลุ นายอณู อตุ ตะมา
ตาแหน่ง นกั พฒั นาชุมชนชานาญการ
หนว่ ยงาน / ทอ่ี ยู่ เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์ อาเภอแม่ใจ จงั หวัดพะเยา

๓.๓) ชอื่ -นามสกลุ นายประทปี ภาชนนท์
ตาแหน่ง นักพฒั นาชุมชน
หนว่ ยงาน / ที่อยู่ เทศบาลตาบลศรีถอ้ ย อาเภอแมใ่ จ จงั หวัดพะเยา

๓.๔) ช่ือ-นามสกลุ นางเกสร ปญั สวุ รรณ์
ตาแหนง่ ผู้อานวยการกองสวสั ดกิ ารสังคม
หนว่ ยงาน / ทอ่ี ยู่ เทศบาลตาบลแมใ่ จ อาเภอแมใ่ จ จงั หวดั พะเยา

๓.๕) ชื่อ-นามสกุล นางภัทรกุล ไฝเครือ
ตาแหน่ง ผู้อานวยการกองสาธารณสขุ และสง่ิ แวดลอ้ ม
หน่วยงาน / ที่อยู่ เทศบาลตาบลบา้ นเหลา่ อาเภอแม่ใจ จงั หวดั พะเยา

๑๔๐

๓.๖) ชื่อ-นามสกุล นายบัญชา อทุ ธโยธา
ตาแหน่ง นักพัฒนาชมุ ชนชานาญการ
หนว่ ยงาน / ทอ่ี ยู่ เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา อาเภอแมใ่ จ จังหวัดพะเยา

๔. รายนามผูใ้ หข้ ้อมลู สาคัญจากชมรมผู้สูงอายุ

๔.๑) ช่ือ-นามสกุล พระครูอาทรพฒั นพศิ าล
ตาแหนง่ เจา้ คณะตาบลแม่กา/เจ้าอาวาสวัดแม่กาห้วยเคียน
ผกู้ อ่ ต้งั ชมรมผู้สงู อายุวัดแม่กาห้วยเคียน
หน่วยงาน/ทอ่ี ยู่ วัดแมก่ าหว้ ยเคยี น ตาบลแมก่ า อาเภอเมืองพะเยา
จงั หวดั พะเยา

๔.๒) ชอ่ื -นามสกุล นายคา ทิพปาละ
ตาแหน่ง เหรัญญกิ ชมรมผสู้ ูงอายุ
หน่วยงาน / ที่อยู่ ตาบลปา่ แฝก อาเภอแม่ใจ จงั หวดั พะเยา

๔.๓) ชือ่ -นามสกุล นายนอ้ ย ศรีสะเกษ
ตาแหนง่ รองประธานชมรมผสู้ งู อายุ
หนว่ ยงาน / ที่อยู่ ตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา

๔.๔) ชือ่ -นามสกลุ นายอา้ ย ฉัตรอนิ ต๊ะ
ตาแหน่ง ผู้สูงอายุ
หนว่ ยงาน / ท่ีอยู่ ตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา

๔.๕) ชือ่ -นามสกลุ นายพรหมมา ปัญญาวรรณ
ตาแหนง่ เลขขาชมรมผสู้ งู อายุ
หน่วยงาน / ทอ่ี ยู่ ตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา

๔.๖) ชอ่ื -นามสกลุ นายเพง่ จันทรส์ ิงหาญ
ตาแหน่ง ทปี่ รึกษาชมรมผสู้ ูงอายุ
หน่วยงาน / ทอ่ี ยู่ ตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จงั หวัดพะเยา

๔.๗) ชื่อ-นามสกุล นายสมงิ คานัญญา
ตาแหน่ง รองประธานชมรมผ้สู งู อายุ
หน่วยงาน / ที่อยู่ ตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา

๑๔๑

๔.๘) ชอ่ื -นามสกุล นางบวั หล่ัน พนั ธว์ งค์
ตาแหนง่ ผู้สูงอายุ
หน่วยงาน / ทอี่ ยู่ ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา

๔.๙) ชื่อ-นามสกลุ นางเครือวรรณ ธรุ เสรจ็
ตาแหน่ง รองประธานชมรมผู้สูงอายุ
หน่วยงาน / ทอี่ ยู่ ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา

๔.๑๐) ช่ือ-นามสกุล นายสนทิ แก้วยาหลา้
ตาแหนง่ ประธานชมรมผู้สงู อายุ
หน่วยงาน / ท่อี ยู่ ตาบลแมต่ า อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา

๑๔๒

รายนามผ้เู ชย่ี วชาญตรวจสอบสภาพเครื่องมอื

๑. ช่ือ-นามสกุล พระครูโสภณปรยิ ตั ิสุธ,ี ผศ.ดร.
ตาแหน่ง รักษาการผู้อานวยการสานักวิชาการ, รองเจา้ คณะจังหวัดพะเยา
หน่วยงาน/ทอ่ี ยู่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตพะเยา

๒. ช่ือ-นามสกุล รศ.ดร. วนั ชยั พลเมอื งดี
ตาแหน่ง ผู้ช่วยอธกิ ารบดี ฝา่ ยกจิ การทั่วไป
หนว่ ยงาน / ทีอ่ ยู่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วิทยาเขตพะเยา

๓. ชื่อ-นามสกุล ผศ.ดร. ประยงค์ จนั ทรแ์ ดง
ตาแหน่ง ผชู้ ว่ ยคณบดี คณะรฐั ศาสตร์ และสังคมศาสตร์
หนว่ ยงาน / ทอี่ ยู่ มหาวิทยาลัยพะเยา อาเภอเมอื งพะเยา จงั หวดั พะเยา

๑๔๓

แบบสอบถามความเหมาะสมของเครอื่ งมอื วิจยั
เรือ่ ง การจัดการความรูแ้ ละเครือขา่ ยองค์กรสขุ ภาวะของผสู้ งู อายุในจังหวดั พะเยา

คาช้ีแจง แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณ์ฉบบั นี้เป็นแบบสอบถามความคดิ เห็นของท่านในฐานะ
ผู้เช่ยี วชาญโดย

ให้ท่านใส่เครื่องหมาย  ในช่องที่ตรงกับข้อความคิดเห็นของท่านในรายการแต่ละข้อโดยพิจารณา
ตามความเห็นของท่านดงั นี้

+1 = เหน็ ด้วย
0= ไม่แน่ใจ
-1 = ไม่เหน็ ดว้ ย

อนึง่ ข้อใดในแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ที่ท่านเห็นสมควรปรับปรุง แกไ้ ขหรอื ตัดออก

กรณุ าให้ความเหน็ ในแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณต์ ามความเหน็ ของทา่ น

ตัวอยา่ ง

เลขท/ี่ รายการ ความคิดเหน็ หมาย
ขอ้ ที่ เหตุ
เห็น ไม่ ไมเ่ ห็น
ด้วย แนใ่ จ ดว้ ย

๑ ขอ้ มูลเก่ยี วกบั ลกั ษณะส่วนบุคคล ทกี่ าหนด /
ไวใ้ นเครอื่ งมือวิจัย มคี วามเหมาะสม

จากตัวอย่าง แสดงว่าท่านไม่แน่ใจ ว่ารายการท่ีถามน้ันเป็นเช่นนั้น ดังนั้นถ้าเห็นเห็นด้วยตาม
ข้อความให้ใสใ่ นช่องเห็นด้วย แต่ถา้ ท่านไม่เหน็ ดว้ ย ให้ใช่ใสช่ ่องไมเ่ ห็นด้วย

ขอขอบคุณในความรว่ มมือ

๑๔๔

แบบประเมินความสอดคล้องของเคร่ืองมือกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย เรื่อง
การจดั การความรู้และเครอื ข่ายองคก์ รสุขภาวะของผู้สงู อายุในจังหวดั พะเยา

ลาดบั รายการประเมิน/เนอื้ หา ผูเ้ ช่ียวชาญ ่คา ∑R หมายเหตุ
(คนท่ี) ่คา IOC
แปรผล
๑๒๓

๑.๑ ชอื่ – นามสกลุ (ผใู้ ห้สัมภาษณ์)
๑.๒ เพศ

๑.๓ อายุ
๑.๔ ตาแหน่ง
๑.๕ เบอรโ์ ทรศัพท์
๑.๖ หน่วยงาน / ทอ่ี ยู่
๑.๗ วัน เดอื น ปี ที่สัมภาษณ์
๑.๘ สถานที่สมั ภาษณ์
๑.๙ เวลาทส่ี มั ภาษณ์

๒.บทสัมภาษณ์ การจดั การความรู้และเครอื ข่ายองคก์ รสขุ ภาวะของผูส้ งู อายใุ น จังหวดั พะเยา

๒.๑ ทางชมรมผู้สงู อายมุ กี ารจดั เวทแี ลกเปลยี่ นความรู้
ให้กบั สมาชิกชมรมระหวา่ งชมรม หรอื หนว่ ยงานอน่ื ๆ
อย่างไร

๒.๒ ทา่ นไดจ้ ัดการชมรมผูส้ งู อายุเปน็ แหลง่ ดูงาน ถ่ายทอด
องคค์ วามรู้ให้กับชมรมหรอื หนว่ ยงานอนื่ ๆ อยา่ งไร

๒.๓ ท่านคิดว่าผู้นาชุมชน (ประธาน อบต. ผู้ใหญ่บ้าน
กานัน ฯลฯ) เห็นความสาคัญในการดูแลสุขภาพของ
ผสู้ ูงอายใุ นชมุ ชนมากนอ้ ยแคไ่ หน

๒.๔ ทา่ นได้จดั ใหช้ มรมผสู้ งู อายขุ องท่านประกอบกจิ กรรม
ใดบา้ ง เพอ่ื ส่งเสริมสุขภาพของผสู้ งู อายุ

๒.๕ ท่านประสานความชว่ ยเหลอื จากชมรมผู้สงู อายใุ น
ชมุ ชนท่าน และองคก์ รภาครัฐ เอกชน อยา่ งไร

๒.๖ ทา่ นได้จัดการความรแู้ ละครอื ข่ายองคก์ รสุขภาวะของ
ผู้สูงอายอุ ยา่ งไร

สรุป ผลการประเมินแบบประเมินความสอดคล้องของเครื่องมือกับวัตถุประสงค์ของ
การวิจัยเร่ือง การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา ท้ังหมด
ทกุ รายการ มีจานวน ๑๕ ขอ้ ผลการประเมนิ ฯ มดี ังนี้

 ผ่านเกณฑ์ทัง้ หมด จานวน ๑๕ ข้อ

หมายเหตุ สตู รการหาคา่ IOC = ∑R

N

การประเมินคา่ IOC ค่าต้งั แต่ ๐ - .๔๙ ถือวา่ ไม่ผา่ นเกณฑ์
คา่ ตง้ั แต่ .๕ ขึ้นไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์

๑๔๕

๑๔๖

๑๔๗

๑๔๘

๑๔๙

๑๕๐

๑๕๑

แบบประเมินความสอดคล้องของเคร่ืองมือกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย เร่ือง
การจัดการความรู้และเครอื ข่ายองคก์ รสุขภาวะของผสู้ ูงอายุในจังหวดั พะเยา

ลาดบั รายการประเมิน/เนือ้ หา ผู้เชยี่ วชาญ ่คา ∑R หมายเหตุ
(คนท่)ี ่คา IOC
แปรผล
๑๒๓

๑.๑ ชอ่ื – นามสกุล (ผูใ้ ห้สัมภาษณ)์ ๑ ๑ ๑ ๓๑ ผ่าน
ผ่าน
๑.๒ เพศ ๑ ๑ ๑ ๓๑ ผ่าน
ผา่ น
๑.๓ อายุ ๑ ๑ ๑ ๓๑ ผา่ น
ผา่ น
๑.๔ ตาแหนง่ ๑ ๑ ๑ ๓๑ ผ่าน
ผา่ น
๑.๕ เบอร์โทรศัพท์ ๑ ๑ -๑ ๒ ๐.๖๗ ผา่ น

๑.๖ หน่วยงาน / ที่อยู่ ๑ ๑ ๑ ๓๑ ผ่าน

๑.๗ วัน เดือน ปี ทส่ี มั ภาษณ์ ๑ ๑ ๑ ๓๑ ผา่ น

๑.๘ สถานที่สมั ภาษณ์ ๑ ๑ ๑ ๓๑ ผา่ น

๑.๙ เวลาท่ีสมั ภาษณ์ ๑ ๑ ๑ ๓๑ ผ่าน

๒.บทสมั ภาษณ์ การจดั การความรแู้ ละเครอื ข่ายองคก์ รสขุ ภาวะของผูส้ ูงอายุใน จงั หวดั พะเยา ผา่ น

๒.๑ ทางชมรมผู้สงู อายุมีการจดั เวทแี ลกเปลยี่ นความรู้ ผ่าน
ใหก้ ับสมาชิกชมรมระหว่างชมรม หรือหนว่ ยงานอ่ืนๆ ๑ ๑ ๑ ๓ ๑

อยา่ งไร

๒.๒ ทา่ นได้จัดการชมรมผ้สู ูงอายเุ ปน็ แหล่งดูงาน ถา่ ยทอด ๑ ๑ ๑ ๓ ๑
องค์ความรใู้ ห้กับชมรมหรือหนว่ ยงานอนื่ ๆ อยา่ งไร

๒.๓ ท่านคิดว่าผู้นาชุมชน (ประธาน อบต. ผู้ใหญ่บ้าน
กานัน ฯลฯ) เห็นความสาคัญในการดูแลสุขภาพของ ๑ ๑ ๑ ๓ ๑

ผสู้ ูงอายุในชุมชนมากน้อยแค่ไหน

๒.๔ ทา่ นได้จดั ใหช้ มรมผสู้ ูงอายขุ องท่านประกอบกจิ กรรม ๑ ๑ ๑ ๓ ๑
ใดบา้ ง เพ่อื ส่งเสริมสขุ ภาพของผสู้ งู อายุ

๒.๕ ทา่ นประสานความชว่ ยเหลือจากชมรมผูส้ ูงอายใุ น ๑๑๑ ๓ ๑
ชมุ ชนทา่ น และองค์กรภาครฐั เอกชน อย่างไร

๒.๖ ท่านไดจ้ ดั การความรแู้ ละครอื ข่ายองคก์ รสุขภาวะของ ๑ ๑ ๑ ๓ ๑
ผ้สู งู อายอุ ยา่ งไร

สรุป ผลการประเมินแบบประเมินความสอดคล้องของเครื่องมือกับวัตถุประสงค์ของ
การวิจัยเรื่อง การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา ทั้งหมด
ทกุ รายการ มีจานวน ๑๕ ข้อ ผลการประเมินฯ มดี ังนี้

 ผ่านเกณฑท์ ัง้ หมด จานวน ๑๕ ขอ้

หมายเหตุ สูตรการหาค่า IOC = ∑R

N

การประเมนิ ค่า IOC คา่ ตั้งแต่ ๐ - .๔๙ ถอื วา่ ไมผ่ า่ นเกณฑ์
คา่ ต้งั แต่ .๕ ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

๑๕๒

ภาพถ่ายผใู้ หส้ ัมภาษณ์
ผใู้ ห้ขอ้ มูลสาคญั จากบคุ ลากรหนว่ ยงานภาครัฐ

๑. นางวลั ลภา ธนู ประสทิ ธิว์ ัชรากร ๒. นายสทุ ิตย์ เสมอเชือ่
นักสังคมสงเคราะหช์ านาญการ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ
สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดพะเยา
สานกั งานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์
จังหวดั พะเยา

๓. นางนวิยา วชิ าศิลป์
พยาบาลชานาญการ(วิชาชีพ)
ศนู ยบ์ ริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา

๑๕๓

ผู้ใหข้ ้อมูลสาคญั สถานศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา

๑. พระราชปริยัติ, ดร. ๒. พระครโู สภณปรยิ ตั ิสุธี, รศ.ดร.
รกั ษาการผู้อานวยการสานักงานวทิ ยาเขต รกั ษาการผู้อานวยการสานักวชิ าการ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย
วิทยาเขตพะเยา และเจ้าคณะจังหวัดพะเยา วิทยาเขตพะเยา และรองเจ้าคณะจังหวดั พะเยา

๓. พระครูศรวี รพินิจ, ดร.
ผู้อานวยการวทิ ยาลัยสงฆ์
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

วิทยาเขตพะเยา

๑๕๔

๔. ผศ.ดร. ประยงค์ จนั ทร์แดง ๕. อาจารย์สาริณีย์ ภาสยะวรรณ
ผ้ชู ว่ ยคณบดี คณะรฐั ศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ อาจารยป์ ระจาคณะรัฐศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
สาขาวิชาพฒั นาสังคม มหาวทิ ยาลัยพะเยา
มหาวทิ ยาลยั พะเยา

๖. อาจารย์ถริ ายุส์ บาบัด
อาจารยป์ ระจาคณะรฐั ศาสตร์และสังคมศาสตร์

สาชาวชิ ารฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยพะเยา

๑๕๕

ผู้ใหข้ อ้ มลู สาคญั จากหน่วยงานเทศบาล

๑. นางดวงพร วัชรวงค์วรกลุ ๒. นายอณู อุตตะมา
นักพฒั นาชุมชน นักพฒั นาชมุ ชนชานาญการ
เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์
เทศบาลตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา
อาเภอแมใ่ จ จงั หวดั พะเยา

๓. นายประทีป ภาชนนท์
นักพฒั นาชุมชน

เทศบาลตาบลศรีถ้อย อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา

๑๕๖

๔. นางเกสร ปัญสุวรรณ์ ๕. นางภัทรกุล ไฝเครือ
ผูอ้ านวยการกองสวสั ดกิ ารสังคม ผอู้ านวยการกองสาธารณสขุ และส่งิ แวดลอ้ ม

เทศบาลตาบลแม่ใจ เทศบาลตาบลบ้านเหล่า
อาเภอแม่ใจ จงั หวัดพะเยา อาเภอแมใ่ จ จงั หวัดพะเยา

๖. นายบัญชา อุทธโยธา
นกั พฒั นาชุมชนชานาญการ
เทศบาลตาบลรวมใจพฒั นา อาเภอแมใ่ จ จังหวัดพะเยา

๑๕๗

ผใู้ หข้ ้อมูลสาคญั จากชมรมผู้สูงอายุ

๑. พระครอู าทรพัฒนพิศาล ๒. นายคา ทิพปาละ
เจ้าคณะตาบลแมก่ า/เจ้าอาวาสวดั แม่กาหว้ ยเคียน เหรญั ญิกชมรมผสู้ งู อายุ
ตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา
ผูก้ ่อตั้งชมรมผู้ สูงอายุวดั แม่กาหว้ ยเคยี น

๓. นายนอ้ ย ศรสี ะเกษ ผูส้ ูงอายุ
๔. นายอา้ ย ฉัตรอินต๊ะ ตาบลป่าแฝก อาเภอแมใ่ จ จังหวดั พะเยา

รองประธานชมรมผสู้ งู อายุ
ตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา

๑๕๘

๕. นายพรหมมา ปัญญาวรรณ ๖. นายเพง่ จันทร์สงิ หาญ
เลขขาชมรมผู้สงู อายุ ทีป่ รกึ ษาชมรมผ้สู งู อายุ
ตาบลแมใ่ จ อาเภอแมใ่ จ จังหวัดพะเยา
ตาบลแม่ใจ อาเภอแมใ่ จ จังหวัดพะเยา

๗. นายสมิง คานญั ญา
รองประธานชมรมผู้สูงอายุ
ตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา

๑๕๙

๘. นางบวั หล่ัน พนั ธว์ งค์ ๙. นางเครอื วรรณ ธุรเสร็จ
ผ้สู งู อายุ รองประธานชมรมผู้สงู อายุ
ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา
ตาบลแมต่ า อาเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา

๑๐. นายสนิท แกว้ ยาหล้า
ประธานชมรมผูส้ ูงอายุ

ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา

๑๖๐

หนังสอื ออกในการดาเนินการวิจัย

หนงั สือขอความอนเุ คราะห์ให้สมั ภาษณ์
(ตัวอยา่ ง)

๑๖๑

หนงั สอื ขอความอนเุ คราะหต์ รวจสอบ และประเมินเคร่ืองมือวิจัย
(ตวั อยา่ ง)

ภาคผนวก จ

แบบสรปุ โครงการวิจัย
สถาบันวิจยั พทุ ธศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

สัญญาเลขที่ ว.๐๓๘/๒๕๕๙ รหสั โครงการ MCU 610759138
ช่ือโครงการ การจัดการความรแู้ ละเครอื ขา่ ยองคก์ รสุขภาวะของผสู้ งู อายุในจังหวัดพะเยา
หัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.สเุ ทพ สารบรรณ

สาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพทุ ธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตพะเยา
โทรศพั ท์ ๐๘๑-๐๓๑๖๘๒๔ Email : [email protected]
ความเป็นมาและความสาคัญ
การศึกษาวิจัยเร่ืองน้ี เกิดข้ึนจากความสนใจที่จะศึกษา สุขภาวะของผู้สูงอายุซึ่ง
ประเทศไทยมีจานวนผู้สูงอายุเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง และประเทศไทยกาลังเข้าสู่การเป็นสังคม
ผู้สูงอายุซ่ึงจังหวัดพะเยาเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ที่มีประชากรผู้สูงอายุมากถึง
๙๘,๗๔๒ คน และมีชมรมผู้สูงอายุ มากถึง ๒๔๔ ชมรม ผู้สูงอายุเหล่านี้มีพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ สังคมและสติปัญญาโดยภาพรวม มีสภาพท่ีเส่ือมโทรมลง การที่พัฒนาการของผู้สูงอายุจะ
ดีได้ ส่วนหน่ึงย่อมมาจากการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเอง และจากคนรอบข้างท่ีคอยดูแลเอาใจใส่
ซ่ึงการเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุน้ัน จะทาให้ผู้สูงอายุเกิดความสุขสงบเย็น ทั้งด้านภาวะ
สุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิตใจจนสามารถพ่ึงตนเองได้บ้างตามสมควร และเกิดการยอมรับ
สภาพความเป็นจริงของชีวิต ซ่ึงจะทาให้การมีชีวิตในช่วงเวลาท่ีเหลืออยู่ เพ่ือเป็นการพักผ่อน
ปฏิบตั ิตนได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิดความสงบสุขแก่ผู้สูงอายุเอง และการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคม
ได้อย่างปกติ ต้องอาศัยการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ทุกภาคส่วนในพ้ืนท่ีร่วมดาเนินการด้วย
ปญั หาท่ีพบในผ้สู ูงอายุ คือ ปัญหาสุขภาพ และส่ิงท่จี ะทาให้ผ้สู งู อายุในจังหวดั พะเยา จะมสี ุขภาพที่
ดีได้นั้น คือ ควรมีการเสริมสร้างสุขภาวะ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม
และจิตวิญญาณ กล่าวคือมีสุขภาพองค์ที่ดีทั้ง ๔ มิติ คือ ๑) มีร่างกายท่ีสมบูรณ์ แข็งแรงปราศจาก
โรคหรือความเจ็บป่วย ๒) มีสภาวะทางจิตใจท่ีแจ่มใส ปลอดโปร่ง ไม่มีความกังวล มีความสุข
มีเมตตา ๓) สามารถให้การดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความเอ้ืออาทร มีความยุติธรรม และ
๔) จิตสัมผัสกับสิ่งที่มีบุคคลยึดมั่นและเคารพสูงสุด ทาให้เกิดความหวัง ความเช่ือม่ันศรัทธา มีการ
ปฏิบัติในสิ่งที่ดีงามด้วยความมีเมตตากรุณา ไม่เห็นแก่ตัว มีความเสียสละ และยินดีในการที่ได้
มองเห็นความสุขหรือความสาเร็จของบุคคลอ่ืน แต่ท้ังน้ีก็ต้องอาศัยการดาเนินงานของหน่วยงาน
ต่างๆ ทุกภาคส่วนในพ้ืนท่ีร่วมดาเนินการด้วย รวมท้ังรัฐควรมีการให้ความสาคัญกับการจัดระบบ
ช่วยเหลือผู้สูงอายุ รวมถึงการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุด้วย ดังน้ัน เพื่อวิเคราะห์การจัดการ
ความรู้ และเพ่ือเสริมสร้างเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา จึงได้ศึกษาการ
จัดการความรู้ และเครอื ข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายใุ นจงั หวดั พะเยา ต่อไป

๑๖๓

วตั ถุประสงคโ์ ครงการ
๑) เพ่ือวิเคราะห์การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน

จังหวดั พะเยา
๒) เพอ่ื ศกึ ษาการจัดการความร้ใู นการเสรมิ สรา้ งสุขภาวะของผูส้ งู อายุในจังหวดั พะเยา
๓) เพ่ือเสริมสรา้ งเครอื ข่ายองค์กรด้านสุขภาวะของผสู้ งู อายุในจังหวัดพะเยา

ผลการวจิ ยั
วัตถุประสงค์ข้อที่ ๑ วิเคราะห์การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของ

ผสู้ งู อายุในจังหวัดพะเยา พบว่า ๑) ไดม้ ีการจดั เวทแี ลกเปลย่ี นความรู้ในสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ หรือ
หน่วยงานอื่นๆ ได้ทาการสนับสนุน ๒) จัดประกวดชมรมผู้สูงอายุดีเด่น เพื่อให้เป็นแหล่งถ่ายอด
ความรู้ ซึ่งกันและกัน/แชร์ความรู้ ๓) ผู้นาเห็นความสาคัญ โดยเข้ามาร่วมกิจกรรมนั้นๆ พร้อมท้ัง
สนับสนุนงบประมาณ ๔) กิจกรรมเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ โดยอบรมในเรื่องของการดูแลสุขภาพกาย
และสุขภาพใจ ๕) การจัดการความรู้และเครือข่ายสุขภาวะของผู้สูงอายุ สานักงานสาธารณสุข
จงั หวดั พะเยาเปน็ เครอื ข่ายพัฒนาด้านสขุ ภาพจติ

กล่าวได้ว่าการจัดการความรู้ของชมรมผู้สูงอายุ วัดแม่กาห้วยเคียน ชมรมผู้สูงอายุ
ตาบลป่าแฝก ชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ใจ และชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ตา เป็นไปตามกระบวนการ
การจัดการความรู้ ๗ ข้ัน คือ ๑) องค์กรสุขภาวะมีการบ่งชี้ความรู้ตัวเอง เช่น มีความรู้เรื่องการ
ประดิษฐ์ดอกไม้ เย็บปักถักร้อย จักสาน งานฝีมือต่างๆ การทาลูกประคบ และการดูแลรักษา
สุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม ๒) มีการสร้างและแสวงหาความรู้ โดยการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจาก
หน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ มาเป็นวิทยากรให้ความรู้ ๓) การจัดระบบข้อมูลความรู้ คือมีการจัด
หมวดหมู่ความรู้ โดยเปิดเป็นโรงเรียนผู้สูงอายุพุฒิภัทร มีคณาจารย์และนิสิตจิตอาสาจาก
มหาวิทยาลัยพะเยา เข้าไปจดั การเรียนการสอนชว่ งเช้าจะมีการสอนในกลุ่มวิชา ภาษาไทย ศาสนา
และช่วงบ่ายเป็นกิจกรรมตามอัธยาศัย เช่น งานฝีมือ จักสาน งานประดิษฐ์ต่างๆ ๔) การประมวล
และกลั่นกรองความรู้ ชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กาห้วยเคียน กาลังดาเนินการทาหลักสูตรการเรียนการ
สอน ๕) การเข้าถึงความรู้ ซ่ึงชมรมผู้สูงอายุท้ัง ๔ แห่ง ได้นาผู้สูงอายุไปศึกษาดูงานตามสถานที่
ตา่ งๆ ทั้งในจังหวัดใกลเ้ คียงและต่างจังหวัด ๖) การแบ่งปันแลกเปล่ียนความรู้ เช่น ได้มกี ารพบปะ
พูดคุย แลกเปล่ียนเรียนรู้กันอยู่เสมอท้ังในชมรม และระหว่างชมรม ๗) การเรียนรู้ของชมรม
ผู้สูงอายุ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ เย็บปักถักร้อย จักสาน งานฝีมือต่างๆ การทาลูกประคบนั้น
สามารถนาไปวางจาหนา่ ย และหารายได้เสริมใหก้ ับกลุ่มผู้สูงอายุ

ซง่ึ เครอื ข่ายองค์กรสขุ ภาวะของผสู้ ูงอายุในจงั หวัดพะเยา แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
เครือขายภายใน คือ เทศบาลตาบล โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพสต.)
วัด โรงเรียน มหาวิทยาลัย ศูนย์การเรียนรู้ตามอัธยาศัย (กศน.) ขณะเดียวกันชมรมผู้สูงอายุท้ัง ๔
แห่ง ก็ได้มีหน่วยงานภายนอกก็ได้เข้ามาสนับสนุนเช่นกัน ซึ่งทั้งเครือข่ายภายในและเครือข่าย
ภายนอก ต้องมีการรับรมู้ มุ มองรว่ มกนั มีวิสยั ทศั น์ทตี่ รงกัน มีการจัดการรว่ มกัน มกี ารเสริมสรา้ งซึ่ง
กนั และกนั พ่ึงพาอาศยั กัน รวมถงึ มปี ฏิสมั พันธ์เชิงแลกเปลี่ยนต่อกัน

วตั ถปุ ระสงคข์ อ้ ท่ี ๒ การจัดการความรู้ในการเสรมิ สร้างสุขภาวะของผู้สงู อายุในจังหวัด
พะเยา พบว่า ผู้สูงอายุสามารถดาเนินการจัดการใน ๔ ด้าน คือ ๑) ด้านกายภาพ คือ ส่งเสริมให้

๑๖๔

ผู้สูงอายุดูออกกาลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัย และรักษาสุขภาพตนเอง ๒) ด้านศีล คือ
ทาใหผ้ สู้ งู อายุไปทาบุญ ใสบ่ าตรท่ีวดั ประพฤตติ นอยู่ในความสารวม ๓) ดา้ นจิต คือ มีการไหวพ้ ระ
สวดมนต์ เพื่อให้จิตในสงบ มีสมาธิ ๔) ด้านปัญญา คือ ให้รู้ทันโลกทันเหตุการณ์ในปัจจุบัน ซ่ึงการ
จัดการความรู้ท้ัง ๔ ด้าน คือ กาย ศีล จิต และปัญญา ใช้วิธีการสร้างความตระหนักในเทศบาล
ตาบล หรือหน่วยงานที่เกย่ี วข้องเข้ามาจัดเวที จัดอบรม และใหค้ วามรแู้ ก่ผู้สงู อายุ

วัตถุประสงค์ข้อท่ี ๓ เสริมสร้างเครือข่ายองค์กรด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จังหวัดพะเยา พบว่า องค์กรสุขภาวะผู้สูงอายุ จะมีผลลัพธ์ท่ีดีนั้นต้องมีวิสัยทัศน์ กิจกรรม หรือ
โครงการต่างๆ อย่างเป็นกระบวนการตามกระบวนการจัดการความรู้ ๗ ขั้น คือ มีการบ่งช้ีความรู้
ตัวเอง มีการสร้างและแสวงหาความรู้ มีการจัดระบบข้อมูลความรู้ มีการประมวลและกลั่นกรอง
ความรู้ มีการเข้าถึงความรู้ มีการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ และมีการเรียนรู้ของชมรมผู้สูงอายุ
และการดาเนินการเครือข่าย ๔ ขั้นตอน โดยที่โรงเรียน มหาวิทยาลัย ทต. รพสต. ฯลฯ
มีการปรึกษาหารือกัน จัดสรรงบประมาณสนับสนุนชมรมผู้สูงอายุ ติดตามผลที่ได้ทา และร่วมกัน
ประเมินผล จนนาไปสู่การได้ความรู้เพ่ือนาไปพัฒนาตนเองต่อไป การท่ีชมรมผู้สูงอายุจะเติบโตได้
นั้น จะต้องมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ี มีเครือข่ายที่ดี มีวิถีท้องถ่ิน/วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดี และ
ต้องมหี นว่ ยงานภาครัฐ หรือองคก์ รต่างๆ สนบั สนนุ ด้วย

สรุปได้ว่า การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน จังหวัด
พะเยา จะต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน เพ่ือผลักดันให้เกิดการดาเนินงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ ต้องพัฒนานโยบาย กลไก และการจัดการในพ้ืนที่ โดยการเสริมกลไกประสานใน
ระดับพ้นื ที่ (จงั หวัด อาเภอ หรือตาบล) และสร้างมาตรฐานงาน ตัวช้วี ดั การทางาน ดแู ลผสู้ ูงอายุใน
ชุมชนท่ีมุ่งเน้นให้เกิดแนวทางสาคัญในการดาเนินงานระบบดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยใช้
โรงพยาบาลตาบลส่งเสริมสุขภาพ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน เป็นหลักในการ
จดั การ และให้บริการโดยมีหน่วยงาน องค์กร ชุมชน ให้การสนับสนุน และควรส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ
ได้มีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีปราศจากสภาวะการพึ่งพาให้นานที่สุด โดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพท่ี
เหมาะสม การส่งเสริมผูส้ ูงอายใุ ห้มีสุขภาพที่สมบรู ณ์ทั้งด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านโภชนาการการ
ออกกาลังกาย พัฒนาผู้สูงอายุให้เป็นคนท่ีมีคุณภาพ มีคุณค่า สามารถปรับตัวเท่าทันการ
เปล่ียนแปลง โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการนาความรู้ และประสบการณ์ของผู้สูงอายุมาใช้
ประโยชนแ์ ก่สงั คม และประเทศชาติต่อไป
การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์

๑) นาผลวิจัยไปบรรจุเป็นหลักสูตรในสถานศึกษาทุกระดับชั้น เพื่อให้นักเรียน นิสิต
นกั ศึกษา ไดศ้ ึกษา และนามาเปน็ แบบอบ่างโดยนาไปกาหนดเปน็ เชิงนโยบายของสถานศึกษา

๒) สามารถนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการสอนเสริม
หรอื สอดแทรกในกจิ กรรมการเรียนการสอนในรายวิชาที่เกยี่ วข้อง หรือใกล้เคียง

๓) นาไปถ่ายทอดให้กับผู้ท่ีสนใจศึกษา โดยนาไปเผยแพร่ทางเว็ปไซต์ และทาง
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ควรตระหนกั ในประเด็นเหล่าน้ี นามาผ่านกระบวนการ
เรยี นการสอน ในสถานศกึ ษาให้มากขึ้น

๑๖๕

การประชาสัมพันธ์
๑) มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมและผลงานวิจัยทางอินเตอร์เน็ต ทางเว็ปไซต์ :

http://www.mcu.ac.th
๒) ส่วนการประชาสัมพันธ์ทางสิ่งพิมพ์ คือ นาแผ่นพับไปวางที่โรงพยาบาลส่งเสริม

สขุ ภาพตาบล หรือศูนย์สง่ เสริมสาธารณสุขประจาตาบล เพื่อเปน็ การแนะนาให้กับผูส้ ูงอายุ

ประวตั ิผ้วู ิจัย

๑. ช่อื - สกลุ ผศ.ดร. สเุ ทพ สารบรรณ (Asst.Prof. Dr. Suthep Saraban)

เลขหมายบตั รประจาตัวประชาชน ๓ – ๕๗๐๔ – ๐๐๒๔๙ – ๗๙ – ๑

วัน/เดือน/ปเี กิด ๑ กันยายน ๒๕๐๓

ภูมิลาเนา บ้านหมู่ ๔ ตาบลโนนชัยศรี อาเภอโพนทอง จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

ท่ีอยู่ปัจจบุ ัน ๔๑๖/๑ ถนนแม่ตาสายใน ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา

จังหวดั พะเยา

สถานที่ทางาน มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตพะเยา

๕๖๖ ตาบลแม่กา อาเภอเมือง จังหวดั พะเยา ๕๖๐๐๐

ตดิ ตอ่ [email protected]

โทรศพั ท์ ๐๘๙-๐๓๗๐๑๔๗, ๐๘๑ – ๐๓๑๖๘๒๔

การศกึ ษา

ปริญญาตรี พทุ ธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ. ศาสนา) พ.ศ. ๒๕๓๔

มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ์

วทิ ยาเขตเชียงใหมจ่ ังหวัดเชียงใหม่

ปรญิ ญาโท การศกึ ษามหาบัณฑติ (กศ.ม. หลักสูตรและการสอน) พ.ศ. ๒๕๔๕

มหาวิทยาลัยนเรศวร จงั หวัดพษิ ณุโลก

ปริญญาเอก พทุ ธศาสตรดุษฏบี ัณฑิต (พธ.ด. พระพุทธศาสนา) พ.ศ. ๒๕๕๗

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตเชยี งใหม่

ผลงานวจิ ยั

ปี ๒๕๕๒ การศึกษาวตั รปฏบิ ตั ิในพระวนิ ัยปิฎก

ปี ๒๕๕๗ ศักยภาพของชุมชนท้องถ่ินในการส่งเสริมการท่องเทย่ี วเชิงอนุรักษ์ ในเขต

วดั ติโลกอาราม อาเภอเมอื ง จงั หวดั พะเยา

ปี ๒๕๕๘ กระบวนการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิง
วัฒนธรรม จังหวดั เชียงราย

ปี ๒๕๕๙ การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัด
ปี ๒๕๖๐ พะเยา
ปี ๒๕๖๑
การเสริมสร้างศักยภาพชุมชน ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
จงั หวดั พะเยา

กระบวนการทางสังคมเชิงพุทธกับการป้องกันการต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์
ของวยั ร่นุ จงั หวดั พะเยา

๑๖๗

๒. ช่ือ - สกุล นางสาวกนกวรรณ พันโท (Ms.Kanokwan Panto)

เลขหมายบัตรประจาตัวประชาชน ๓ – ๓๕๐๒ - ๐๐๒๑๘ – ๔๙ - ๔

วนั /เดือน/ปเี กดิ ๒๑ มีนาคม ๒๕๒๐

ภูมิลาเนา ๒๗๑ หมู่ ๑ บ้านสรา้ งช้าง ตาบลไผ่ อาเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร

ทีอ่ ยู่ปัจจบุ นั ๒๗๑ หมู่ ๑ บา้ นสรา้ งช้าง ตาบลไผ่ อาเภอทรายมูล จงั หวัดยโสธร

สถานทที่ างาน โรงพยาบาลทรายมลู อาเภอทรายมลู จงั หวัดยโสธร ๓๕๑๗๐

ตาแหน่ง พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ

ตดิ ต่อ [email protected]

โทรศัพท์ ๐๙๘ - ๔๖๙๖๕๓๙

การศึกษา

พ.ศ. ๒๕๔๑ พยาบาลศาสตร์ ระดับตน้ วิทยาลยั พยาบาลพระบรมราชชนนีนครพนม

จงั หวัดนครพนม

ปรญิ ญาตรี พยาบาลศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

๓. ชื่อ - สกุล นางสาวสปุ ราณี ในจิตต์ (Ms.Supranee Naijit)

เลขหมายบัตรประจาตัวประชาชน ๑ – ๓๕๐๒ – ๐๐๐๖ – ๒๓ – ๗

วนั /เดอื น/ปเี กดิ ๑๑ กนั ยายน ๒๕๒๗

ภมู ิลาเนา ๓๑ หมู่ ๑ บ้านสร้างชา้ ง ตาบลไผ่ อาเภอทรายมลู จังหวดั ยโสธร

ท่ีอยู่ปัจจบุ นั ๓๑ หมู่ ๑ บ้านสรา้ งช้าง ตาบลไผ่ อาเภอทรายมูล จังหวดั ยโสธร

ตดิ ตอ่ [email protected]

โทรศพั ท์ ๐๙๘ – ๘๘๖๗๗๐๔

การศกึ ษา

พ.ศ. ๒๕๔๘ การสาธารณสุขศาสตร์ สาธารณสขุ ชุมชน วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร

อบุ ลราชธานี

ปริญญาตรี สาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

๔. ชื่อ - สกลุ นางสาวสิริกานดา คาแกว้ (Ms. Sirikanda Khamkeaw)

เลขหมายบตั รประจาตัวประชาชน ๑ – ๕๗๐๕ – ๐๐๑๙๕ – ๔๓ – ๒

วนั /เดือน/ปีเกดิ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๗

ภูมิลาเนา ๕๐๖ บ้านดอนตันสามคั คี หมู่ ๒๒ ตาบลเมอื งพาน อาเภอพาน

จงั หวดั เชยี งราย ๕๗๑๒๐

ทอ่ี ยู่ปัจจบุ นั ๕๐๖ บ้านดอนตนั สามคั คี หมู่ ๒๒ ตาบลเมืองพาน อาเภอพาน

จังหวดั เชยี งราย ๕๗๑๒๐

ตดิ ตอ่ [email protected]

โทรศัพท์ ๐๘๘ – ๒๓๗๓๕๓๓

๑๖๘

การศึกษา
ปริญญาตรี พทุ ธศาสตรบณั ฑิต (พธ.บ.) วิชาเอกการปกครอง
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตพะเยา

ผลงานวิจัย (ผรู้ ่วมวจิ ยั )
ปี ๒๕๕๗ ศกั ยภาพของชุมชนท้องถิ่นในการสง่ เสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ในเขต
วัดติโลกอาราม อาเภอเมอื ง จังหวดั พะเยา

ปี ๒๕๕๘ กระบวนการเสริมสร้างศักยภาพชุมชน ในการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิง
วัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

ปี ๒๕๕๙ การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัด
ปี ๒๕๖๐ พะเยา
ปี ๒๕๖๑
การเสริมสร้างศักยภาพชุมชน ในการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม
จังหวดั พะเยา

กระบวนการทางสังคมเชิงพุทธกับการป้องกันการต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์
ของวยั รนุ่ จงั หวดั พะเยา

๕. ช่ือ - สกลุ นายนพดล อนิ ปิง (Mr. Noppadon Inping)

เลขหมายบตั รประจาตัวประชาชน ๑ – ๕๗๐๕ – ๐๐๑๙๔ – ๓๒ – ๑

วัน/เดอื น/ปีเกดิ ๑๖ มนี าคม ๒๕๓๗

ภมู ิลาเนา ๘๐ บ้านปา่ ก่อ หมู่ ๒ ตาบลเจริญเมอื ง อาเภอพาน จงั หวดั เชยี งราย

๕๗๑๒๐

ที่อยู่ปัจจบุ ัน ๘๐ บ้านปา่ กอ่ หมู่ ๒ ตาบลเจรญิ เมอื ง อาเภอพาน จังหวดั เชียงราย

๕๗๑๒๐

ตดิ ตอ่ [email protected]

โทรศพั ท์ ๐๘๒ – ๗๙๗๗๓๙๑

การศึกษา

ปรญิ ญาตรี บริหารธรุ กจิ และศิลปศาสตร์ สาขาวชิ าระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์

มหาวทิ ยาลัยราชมงคลล้านนาเชยี งราย

ผลงานวิจยั (ผู้ร่วมวิจยั )

ปี ๒๕๕๘ กระบวนการเสริมสร้างศักยภาพชุมชน ในการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิง

วัฒนธรรม จงั หวดั เชยี งราย

ปี ๒๕๕๙ การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัด

พะเยา

ปี ๒๕๖๐ การเสริมสร้างศักยภาพชุมชน ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

จงั หวัดพะเยา

ปี ๒๕๖๑ กระบวนการทางสังคมเชิงพุทธกับการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

ของวยั รนุ่ จังหวดั พะเยา

การจดั การความรู้และเครอื ข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายใุ นจงั หวดั พ
ภายใต้แผนงานวิจัย เร่ือง การพฒั นาและการเสริมสรา้ งสขุ ภาวะของผู้สูงอายุ ใ

การจัดการความรแู้ ละเครือข่ายองคก์ รสขุ ภาวะของผู้สงู อายุในจังหวัดพ
ภายใตแ้ ผนงานวจิ ัย เรื่อง การพฒั นาและการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะของผู้สงู อายุ ใ

การจัดการความรแู้ ละเครือขา่ ยองคก์ รสุขภาวะของผู้สูงอายใุ นจังหวัดพ
ภายใตแ้ ผนงานวิจัย เรื่อง การพฒั นาและการเสริมสรา้ งสขุ ภาวะของผู้สงู อายุ ใ

พะเยา ผศ.ดร. สเุ ทพ สารบรรณ ๒๕๕๙
ในจงั หวัดพะเยา

พะเยา ผศ.ดร. สุเทพ สารบรรณ ๒๕๕๙
ในจงั หวดั พะเยา

พะเยา ผศ.ดร. สุเทพ สารบรรณ ๒๕๕๙
ในจงั หวัดพะเยา


Click to View FlipBook Version