The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา

รวมวิจัยทั้งเล่ม

๘๙

ส่วนเกี่ยวขอ้ งเห็นความสาคัญในการดแู ลสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนระดบั มาก เพราะเมอื่ ทางชมรม
ผู้สูงอายุมีการจัดกิจกรรม ประธาน อบต. ผู้ใหญ่บ้าน กานัน หรือผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องจะเข้ามาร่วมกิ
จรรมน้ันๆ รวมถงึ ช่วยสนับสนุนทั้งงบประมาณและกาลงั แรงใจ๓๒

สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ท้ัง ๒ แห่ง เห็นว่า ผู้นาชุมชน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน นายก
เทศมนตรี และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ให้ความสาคัญมากในเร่ือการดูแลสุขภาพขอผู้สูงอายุในชุมชน๓๓
รวมท้ังมีงบประมาณให้ทางชมรมได้มาจัดกิจกรรม เพ่ือให้ความรู้ความเข้าใจ และวิธีการดูแลสุขภาพ
ของผู้สูงอายุให้ถูกต้องเหมาะสม เช่น ชมรมผู้สูงอายุตาบลบ้านถ้า ทางเทศบาลตาบลบ้านถ้า จะมีรถ
รับ-ส่ง ผู้สูงอายุในตาบล เม่ือมีกิจกรรมต่างๆ และทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลก็ได้ให้ความ
ชว่ ยเหลอื ดแู ลในเรื่องสขุ ภาพของผสู้ งู อายุ๓๔

เทศบาลตาบลปา่ แฝกได้ให้ความสาคญั กับชมรมผู้สูงอายุ เป็นอันดบั ต้นๆ โดยได้มีการจัด
กิจกรรมให้ผู้สูงอายุเป็นประจาทุกๆปี เช่น โครงการจัดงานวันกตัญญูผู้สูงอายุ การสนับสนุน
งบประมาณจากกองทุน สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มี
การออกกาลังกายท่ีถูกวิธี ส่งเสริมการรวมกลุ่มในรูปแบบอื่นๆ เช่น กลุ่มสมุนไพร การทาลูกประคบ
การปลูกสมุนไพร การจักสาน และชมรมฌาปนกิจชมรมผู้สูงอายุ เป็นต้น๓๕ เทศบาลตาบล
เจริญราษฎร์ และผู้นาชุมชนให้ความสาคัญกับการดูแลสุขภาพขอผู้สูงอายุ เช่น ส่งเสริมกิจกรรมการ
ออกกาลังกาย ให้กับผู้สูงอายุในหมู่บ้าน มีการติดตาม ออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเร้ือรัง
ให้ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง๓๖ เทศบาลตาบลศรีถ้อย เห็นว่า ผู้นาชุมชน และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง
เห็นความสาคัญในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนน้อยมาก เห็นได้จากเวลาเจ้าหน้าท่ีเทศบาล
และเจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพ.สต.) และกลุ่มจิตอาสาลงพื้นที่ เพื่อให้กาลังใจ
หรือให้การช่วยเหลือผู้สูงอายุ ผู้นาชุมชน จะไม่ได้เข้าไปร่วม ทั้งท่ีแจ้งและเชิญชวนแล้ว๓๗ เทศบาล
ตาบลแม่ใจ ผู้นาชุมชน อบต. กานัน เห็นความสาคัญค่อนข้างน้อย เห็นได้จากการไม่ค่อยให้ความ
ร่วมมือเม่ือทางชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรม ทางผู้นาชุมชน ไม่ค่อยไปร่วมกิจกรรมทั้งที่มีการเชิญแล้ว๓๘
เทศบาลตาบลบา้ นเหลา่ ผู้นาชุมชนให้ความร่วมมอื ในการประสานงานการทากจิ กรรมตา่ งๆ ตลอดจน

๓๒ สัมภาษณ์, นวิยา วิชาศิลป์, พยาบาลชานาญการ(วิชาชีพ) ศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา
อาเภอเมอื งพะเยา จงั หวดั พะเยา, เมือ่ วันท่ี ๑ เดอื น กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๓๓ สัมภาษณ์, พระครูศรีวรพินิจ, ดร., ผู้อานวยการสานักงานวิทยาสงฆ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตพะเยา, เมอ่ื วันที่ ๒๒ เดอื น กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๓๔ สัมภาษณ์, ถิรายุส์ บาบัด, อาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาชาวิชารัฐศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยพะเยา, เม่ือวนั ท่ี ๑๓ เดือน กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๓๕ สัมภาษณ์, ดวงพร วัชรวงค์วรกุล, นักพัฒนาชุมชน เทศบาลตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ
จังหวดั พะเยา, เมอ่ื วนั ที่ ๒๑ เดือน มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

๓๖ สัมภาษณ์, อณู อุตตะมา, นักพัฒนาชุมชนชานาญการ เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์
อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา, เมอ่ื วันที่ ๒๒ เดือน มถิ นุ ายน ๒๕๕๙.

๓๗ สัมภาษณ์, ประทีป ภาชนนท์, นักพัฒนาชุมชน เทศบาลตาบลศรีถ้อย อาเภอแม่ใจ จงั หวดั พะเยา,
เม่ือวันที่ ๒๑ เดือน มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

๓๘ สัมภาษณ์, เกษร ปญั สุวรรณ์, ผู้อานวยการกองสวสั ดิการสงั คม เทศบาลตาบลแมใ่ จ อาเภอแม่ใจ
จงั หวดั พะเยา, เมื่อวันที่ ๒๓ เดือน มถิ นุ ายน ๒๕๕๙.

๙๐

ประสานขอความช่วยเหลือจากหนว่ ยงานอ่นื ๓๙ และเทศบาลรวมใจพัฒนา เห็นความสาคัญ และไดจ้ ัด
ขอ้ มลู (ฐานขอ้ มูล) ผสู้ ูงอายุในชมุ ชน และได้มเี วทสี ะทอ้ นปญั หา และสถานการณข์ องผสู้ งู อายุในชมุ ชน
ในเวทตี ่างๆ ทาให้ผู้นาชุมชนเห็นความสาคัญของการพัฒนาคุณภาพชวี ิตของผู้สงู อายุในชุมชนมากขึ้น
และกลุ่มหรือหน่วยงานในชุมชนได้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ระดบั พื้นทเี่ ทศบาลตาบลรวมใจพฒั นา เพื่อจัดทากิจกรรมตา่ งๆ ของผสู้ งู อายทุ กุ ปี๔๐

ทางชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กาห้วยเคียน มีหน่วยงานต่างๆ ได้ให้ความสาคัญในเร่ืองสุขภาพ
ของผู้สูงอายมุ าก ชมรมผู้สูงอายุตาบลป่าแฝก ทางประธาน อบต. ผใู้ หญ่บ้าน กานัน นายกเทศมนตรี
และผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง ให้ความสาคัญในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุค่อนข้างมากพอสมควร๔๑ ชมรม
ผสู้ ูงอายุตาบลแม่ใจทางผู้นาชุมชนเห็นความสาคัญในการดูแลสขุ ภาพของผสู้ งู อายุ หรือชมรมผู้สูงอายุ
ในระดับมาก เพราะเมื่อทางชมรมผู้สูงอายจุ ัดกิจกรรม ก็ได้รบั การช่วยเหลือ สนับสนุนจากผู้นาชุมชน
เปน็ อย่างดี๔๒ และชมรมผู้สงู อายุตาบลแมต่ าทางผนู้ าชุมชน และผ้ทู ม่ี สี ่วนเกยี่ วข้องเห็นความสาคัญใน
เรื่องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุมาก เพราะเม่ือมีกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ ทางผู้นาชุมชน
ผูใ้ หญบ่ ้าน กานนั นายกเทศมนตรี ใหค้ วามรว่ มมอื ช่วยเหลือ สนบั สนนุ ตลอดมา๔๓

การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน จังหวัดพะเยา สรุปได้
ว่า การจดั การความรูข้ องขมรมผู้สูงอายวุ ดั แมก่ าห้วยเคียน ชมรมผู้สูงอายตุ าบลป่าแฝก ชมรมผู้สูงอายุ
ตาบลแม่ใจ และชมรมผู้สงู อายตุ าบลแมต่ า ดังน้ี

๑) องคก์ รสุขภาวะมีการบ่งชี้ความรู้ตัวเอง เช่น ชมรมผู้สูงอายุมีความรู้เรอื่ งการประดิษฐ์
ดอกไม้ เย็บปักถักร้อย จักสาน งานฝีมือต่างๆ การทาลูกประคบ รวมถึงการดูแลรักษาสุขภาพที่
ถูกต้องและเหมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายุ เช่น การออกกาลังกาย ราไม้พอง ราวงมาตรฐาน เต้นรา ฯลฯ

๒) มีการสร้างและแสวงหาความรู้ ทางชมรมผู้สูงอายุท้ัง ๔ แห่ง มีการแสวงหาความรู้
โดยการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ มาเป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับ
เร่ืองสุขภาพ เช่น การออกกาลัง การดูแลสุขภาพปากและฟัน การบริหารข้อเข้า การดูแลทั้งสุขภาพ
กายและจิต ฯลฯ

๓) การจัดระบบข้อมูลความรู้ ทางชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กาห้วยเคียนมีการจัดหมวดหมู่
ความรู้ โดยเปิดเป็นโรงเรียนผู้สูงอายุพุฒิภัทร ซึ่งจะมีคณาจารย์และนิสิตจิตอาสาจากมหาวิทยาลัย
พะเยา เข้าไปจัดการเรียนการสอนให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ โดยช่วงเช้าจะมีการสอนในกลุ่มวิชาภาษาไทย

๓๙ สัมภาษณ์, ภัทรกุล ไฝเครือ, ผู้อานวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตาบลบ้านเหล่า
อาเภอแมใ่ จ จงั หวดั พะเยา, เม่ือวนั ท่ี ๒๔ เดือน มิถุนายน ๒๕๕๙.

๔๐ สัมภาษณ์, บัญชา อุทธโยธา, นักพฒั นาชุมชนชานาญการ เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา อาเภอแม่ใจ
จงั หวัดพะเยา, เมื่อวันท่ี ๒๒ เดือน มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

๔๑ สมั ภาษณ์, พระครูอาทรพัฒนพิศาล, เจา้ คณะตาบลแม่กา/เจา้ อาวาสวัดแม่กาหว้ ยเคียน และผกู้ ่อต้ัง
ชมรมผูส้ งู อายุวัดแมก่ าห้วยเคียน อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา, เม่ือวันท่ี ๒ เดอื น กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๔๒ สัมภาษณ์, เพ่ง จันทร์สิงหาญ, ที่ปรึกษาชมรมผู้สูงอายุ ตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา,
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ เดอื น มิถุนายน ๒๕๕๙.

๔๓ สัมภาษณ์, สมิง คานัญญา, รองประธานชมรมผู้สูงอายุ ตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา,
เม่ือวนั ท่ี ๒๐ เดือน มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

๙๑

ศาสนา ฯลฯ และช่วงบ่ายเป็นกิจกรรมตามอัธยาศัย เช่น งานฝีมือ จักสาน งานประดิษฐ์ต่างๆ แต่
ชมรมผู้สูงอายุตาบลป่าแฝก ชมรมผู้สูงอายุอาเภอแม่ใจ และชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ตา ยังไม่มีการ
จัดระบบข้อมูลความรอู้ ยา่ งเป็นรูปธรรม

๔) การประมวลและกล่ันกรองความรู้ ทางชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กาห้วยเคียน กาลัง
ดาเนินการทาหลักสูตรการเรียนการสอน โดยแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ภาควิชา คือ สังคม
ศึกษา ศาสนา ภาษาเพ่ือการสื่อสารพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และการถ่ายทอดภูมิมิปัญญาไท
และส่วนท่ี ๒ จัดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามอัธยาศยั ของผูส้ ูงอายุ

๕) การเข้าถึงความรู้ ชมรมผู้สูงอายุท้ัง ๔ แห่ง ได้นาผู้สูงอายุไปศึกษาดูงานตามสถานท่ี
ต่างๆ ท้ังในจังหวัดใกล้เคียงและต่างจังหวัด เป็นประจาทุกปี เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้และพบเจอกับ
ประสบการณ์ใหม่ๆ อยูเ่ สมอ

๖) การแบ่งปันแลกเปล่ียนความรู้ เช่น ชมรมผู้สูงอายุท้ัง ๔ แห่ง ได้มีการพบปะ พูดคุย
แลกเปลยี่ นเรียนร้กู ันอยู่เสมอ ทง้ั ในชมรม และระหว่างชมรม

๗) การเรียนรู้ของชมรมผู้สูงอายุ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ เย็บปักถักร้อย จักสาน งาน
ฝีมือต่างๆ การทาลูกประคบน้ัน สามารถนาไปวางจาหน่ายและหารายได้เสริมให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ
องค์กรสุขภาวะของผสู้ ูงอายุในจังหวัดพะเยาตามกระบวนการจัดการความรู้ ๗ ข้ันตอน พบว่ามีความ
สมบรู ณ์ท้ังหมด ๗ ขน้ั ตอน แตท่ ั้งนก่ี ค็ วรจะมกี ารพฒั นาปรบั ปรุงให้ดยี ิ่งๆ ขึน้ ไป

ชมรมผู้สงู อายวุ ดั แม่กาหว้ ยเคียน
ชมรมผ้สู ูงอายตุ าบลปา่ แฝก
ชมรมผสู้ ูงอายตุ าบลแม่ใจ
ชมรมผู้สงู อายุตาบลแมต่ า

๗) การเรียนรู้ของ ๑) มกี ารบง่ ชคี้ วามรู้
ชมรมผูส้ ูงอายุ ตวั เอง

๖) การแบง่ ปนั กระบวนการ ๒) มกี ารสร้างและ
แลกเปลยี่ นความรู้ การจดั การความรู้ แสวงหาความรู้

๗ ข้ัน

๕) การเข้าถงึ ๓) การจดั ระบบ
ความรู้ ขอ้ มลู ความรู้

๔) การประมวล
และกลั่นกรอง

ความรู้

แผนภมู ิท่ี ๒ : องคก์ รสขุ ภาวะของผสู้ งู อายใุ นจงั หวดั พะเยาตามกระบวนการจัดการความรู้ ๗ ข้นั ตอน

๙๒

เครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา ได้เครือข่ายแบ่งออกเป็น ๒
ประเภท คอื เครอื ขายภายใน และเครือข่ายภายนอก ผลการศึกษา พบว่า

๑) ชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กาห้วยเคียน มีเครือข่ายภายในพื้นที่ของตนเอง คือ วัดแม่กา
ห้วยเคียน เทศบาลตาบลแม่กา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่กา (รพสต.) มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา มหาวิทยาลัยพะเยา ซึ่งชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กา
หว้ ยเคียนไดร้ บั งบประมาณสนบั สนุนจากเทศบาลตาบลแม่กา อาเภอเมอื ง จังหวดั พะเยา

๒) ชมรมผู้สูงอายุตาบลป่าแฝก มีเครือข่ายภายในเทศบาลตาบล โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบล (รพสต.) ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์จังหวัดพะเยา ในการให้ความช่วยเหลือเงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้สูงอายุ และปรับปรุงบ้าน
ที่อยูอ่ าศัย ห้องนา้ ให้คนพกิ าร

๓) ชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ใจ มีเครือข่ายภายในคือ เทศบาลตาบล โรงพยาบาลแม่ใจ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพสต.) ศูนย์การเรียนรู้ตามอัธยาศัย (กศน.) ศูนย์พัฒนาชาวเขา
มลู นธิ ธิ รรมนสั ซึง่ ได้งบประมาณสนับสนนุ จาก สสส. และ

๔) ชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ตา มีเครือข่ายภายใน คือ เทศบาลตาบล และศูนย์บริการ
สาธารณสขุ ตาบลแม่ตา ในขณะเดียวกนั ชมรมผ้สู งู อายุทั้ง ๔ แห่ง ก็ไดม้ ีหนว่ ยงานภายนอกก็ได้เข้ามา
สนับสนุนเชน่ กัน

ทั้งนี้ เครือข่ายภายในและเครือข่ายภายนอก ต้องมีการรับรู้มุมมองร่วมกัน มีวิสัยทัศน์ท่ี
ตรงกัน มีส่วนร่วมและผลประโยชน์ร่วมกัน มีการเสริมสร้างซ่ึงกันและกัน พ่ึงพาอาศัยกัน รวมถึงมี
ปฏสิ ัมพนั ธ์เชงิ แลกเปล่ยี นต่อกัน ดังนนั้ การจัดการความรแู้ ละเครอื ข่ายองคก์ รสขุ ภาวะของผู้สงู อายใุ น
จังหวัดพะเยามีทั้งการจดั การความรู้และเครือขา่ ยองค์กรสขุ ภาวะ ซ่ึงสง่ ไปถึงผูส้ ูงอายุในจังหวดั พะเยา

สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ จังหวดั พะเยา

กศน. ศูนยบ์ ริการสาธารณสุข รพสต.
มลู นิธิ มหาวิทยาลยั
ธรรมนัส ชมรมผสู้ ูงอายวุ ดั แม่กาหว้ ยเคยี น หนว่ ยงาน
ชมรมผสู้ ูงอายตุ าบลปา่ แฝก
ชมรมผสู้ ูงอายุตาบลแม่ใจ โรงพยาบาล องคก์ ร
ชมรมผสู้ งู อายุตาบลแมต่ า อ่นื ๆ

เทศบาลตาบล วัด

สานักงานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ

แผนภูมิที่ ๓ : เครอื ขา่ ยองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจงั หวดั พะเยา

๙๓

๔.๒ การจดั การความรใู้ นการเสริมสร้างสขุ ภาวะของผ้สู งู อายใุ นจงั หวัดพะเยา

ประเด็นที่ ๑ จดั ให้ชมรมผู้สูงอายุประกอบกิจกรรม เพ่อื สง่ เสรมิ สุขภาพของผูส้ ูงอายุ
พบว่า สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังวัดพะเยา ได้สนับสนุน
งบประมาณให้กับพื้นที่ต่างๆ ในจังหวัดพะเยา คือได้จัดให้ชมรมผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา๔๔
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา มีการจัดกิจกรรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ตามหลัก ๖ อ. คือ
๑) อาหาร ๒) ออกกาลังกาย ๓) อารมณ์ ๔) อนามัยสิ่งแวดล้อม ๕) อโรคยา และ๖) อบายมุข๔๕ และ
ศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา ช่วยสนับสนุน และให้ความร่วมมือในกิจกรรมท่ีส่งเสริมสุขภาพ
ของผู้สูงอายุ เช่น การให้ความรู้ อบรม ในเร่ืองของการดูแลสุขภาพ ทั้งสุขภาพกายและจิตใจ การ
บรหิ ารขอ้ เข่า สุขภาพปากและฟัน และอกี หลายๆ ดา้ น๔๖
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา ได้เข้าไปสนับสนุน คือ
๑) เร่ืองงานวิจัย เมื่อมีการจัดกิจกรรมของทางชมรมผู้สูงอายุ ทางมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา ได้เข้าไปเก็บข้อมูล นามาทางานวิจัย เพื่อส่งต่องานวิจัยให้กับสาธารณชน
และหน่วยงานต้นสังกัด ให้รับรู้ถึงความต้องการ รวมถึงสภาพปัญหาต่างๆ เพ่ือนาไปสู่การพัฒนา
๒) เรื่องการสนับสนุนบุคลากร ให้ลงไปทากิจกรรมในการนาธรรมะเข้าไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
๓) เร่ืองวัสดุอุปกรณ์ ในเร่ืองที่พอจะช่วยเหลือได้ ๔) เรื่องของการช่วยเหลือตัวเอง ประคับประคอง
และเหน็ คุณคา่ ของผูส้ งู อายเุ อง และ ๕) เร่อื งของกิจกรรมตา่ งๆ เชน่ นาของไปเยยี่ มเยือน แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ รวมฟังและเก็บข้อมูลเพื่อไปทางานวิจัย โรงเรียนผู้สูงอายุ พุฒิภัทร ที่ทางมหาวิทยาลัยพะเยา
ได้เข้าร่วม มีการส่งเสริมสุขภาพ เช่น การออกกาลังกายในรูปแบบต่างๆ เช่น การเต้น ราวงย้อนยุค
คือ มีการรวมตัวกันประมาณ ๑๖.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. ทุกวันพระท่ีวัดห้วยเคียน ซ่ึงทั้งน้ีจะข้ึนอยู่กับ
วิทยากรที่มาจัด เชน่ ถ้าวิทยากรมากจากวิทยาลัยพะเยาบรมราชชนนี จะมีการตรวจสุขภาพเบ้ืองต้น
ถ้าเป็นคณะสาธารสุข มหาวิทยาลัยพะเยาจัด จะเป็นการส่งเสริมการออกกาลังกายเบ้ืองต้น
การช่วยเหลือตัวเอง คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยพะเยาไปจัดกิจกรรม ก็จะเป็นเรื่องการแต่งตัว การ
ทาบายศรี ซ่ึงทางมหาวิทยาลัยพะเยาที่เข้าไปจัดกิจกรรมส่วนใหญ่จะเน้นเรื่องของสุขภาพทางจิตใจ
กจิ กรรมนันทนาการ ใหผ้ ู้สงู อายไุ ดม้ คี วามสขุ ท้งั ใจกายและจติ ใจ
เทศบาลตาบลป่าแฝก ส่งเสริมการออกกาลังกาย โดยสนับสนุนงบประมาณ ในการจัด
เวทโี ครงการออกกาลังกาย การราไม้พอง การราวงย้อนยุค และปนั่ จักรยาน เป็นต้น๔๗ เทศบาลตาบล
เจริญราษฎร์ ส่งเสริมผู้สูงอายุรวมกลุ่ม เพื่อทากิจกรรมร่วมกัน เช่น ราไม้พองผู้สูงอายุ ปั่นจักรยาน

๔๔ สมั ภาษณ์, วลั ลภา ธนู ประสิทธิ์วชั รากร, นักสงั คมสงเคราะหช์ านาญการ สานกั งานพัฒนาสังคมและ
ความมน่ั คงของมนษุ ย์จังหวัดพะเยา, เม่ือวันที่ ๒๔ เดอื น มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

๔๕ สัมภาษณ์, สุทิตย์ เสมอเชื่อ, นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สานักงานสาธารณสุข
จงั หวัดพะเยา, เม่ือวนั ที่ ๒๗ เดอื น มิถุนายน ๒๕๕๙.

๔๖ สัมภาษณ์, นวิยา วิชาศิลป์, พยาบาลชานาญการ(วิชาชีพ) ศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา
อาเภอเมอื งพะเยา จังหวดั พะเยา, เมอ่ื วันท่ี ๑ เดือน กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๔๗ สัมภาษณ์, ดวงพร วัชรวงค์วรกุล, นักพัฒนาชุมชน เทศบาลตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ
จงั หวัดพะเยา, เมอื่ วันท่ี ๒๑ เดอื น มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

๙๔

เล่นกีฬา และส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพร๔๘ เทศบาลตาบลศรีถ้อย จัดกิจกรรมให้ชมรมผู้สูงอายุ
๑) ดนตรีบาบัด ใช้ดนตรี เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ผ่อนคลาย ๒) อาหารเป็นยา มีการให้ความรู้เกี่ยวกับ
อาหารท่ีเป็นยา ๓) ปลูกพืชสมุนไพร เพ่ือจัดทาลูกประคบ และ ๔) อบรมให้ความรู้ การดูแลผู้สูงอายุ
ในบ้าน๔๙ เทศบาลตาบลแม่ใจ จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ได้แก่ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ
ออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ มีการราวงย้อนยุค เดิน ว่ิง เพื่อสุขภาพ เป็นต้น เทศบาลตาบลบ้านเหล่า
จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพให้ผู้สูงอายุ คือ ๑) จัดตั้งกลุ่มเงินออม เพื่อช่วยเพื่อน ๒) พัฒนา
ศักยภาพคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ๓) ส่งเสริมภูมิปัญญาด้านต่างๆ ๔) จัดกิจกรรมโรงเรียน
ผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย และจิตใจ และ ๕) ส่งเสริมการออกกาลังกายท่ีเหมาะสม๕๐ และ
เทศบาลรวมใจพัฒนา จัดกิจกรรมผู้สูงอายุในพ้ืนท่ีเป็นไปตามความต้องการของผู้สูงอายุ กิจกรรมท่ี
ผู้สูงอายุดาเนินการในพ้ืนที่ ซ่ึงบูรณาการหลายหน่วยงาน เช่น รพสต. โรงเรียน วัด กศน. กิจกรรม
เช่น ๑) กิจกรรมส่งเสริมการออกกาลังของผู้สูงอายุ ๒) อบรมความรู้การดูแลตัวเองสาหรับผู้สูงอายุ
๓) กจิ กรรมดนตรีสร้างสุข(องั กะลงุ ) ๔) กิจกรรมสง่ เสริมอาชีพตามความสนใจของผู้สงู อายุทาสมนุ ไพร
เหรียญโปรยทาน ๕) ส่งเสริมการสร้างคุณค่าให้ตนเอง ๖) การตรวจเบาหวาน ความดัน มะเร็ง
สาหรับผู้ป่วยสูงอายุ ๗) การเรียนรู้ และนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิต
๘) ธรรมะเพอ่ื ชีวิต สาหรบั ผ้สู งู อายุ๕๑

ชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กาห้วยเคียนได้มีกิจกรรม ทุกวันพระ โดยมีกิจกรรมแบ่งออกเป็น ๒
ชว่ ง คือ ช่วงเช้า และชว่ งบ่าย จะเริ่มเรียนต้ังแตเ่ วลา ๙.๐๐ น. ถึง ๑๕.๐๐ น.๕๒ ชมรมผู้สูงอายุตาบล
ป่าแฝก ชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ใจ๕๓ และชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ตา จัดให้มีกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
สุขภาพของผู้สูงอายุ เช่น การออกกาลังที่เหมาะสมสาหรับวัยสูงอายุ คือ การเดิน วิ่ง เพื่อสุขภาพ๕๔
ราวงยอ้ นยคุ ราไม้พอง และปนั่ จกั ยาน๕๕

๔๘ สัมภาษณ์, อณู อุตตะมา, นักพัฒนาชุมชนชานาญการ เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์ อาเภอแม่ใจ
จังหวัดพะเยา, เมื่อวันที่ ๒๒ เดือน มิถุนายน ๒๕๕๙.

๔๙ สัมภาษณ,์ ประทีป ภาชนนท์, นักพัฒนาชุมชน เทศบาลตาบลศรีถ้อย อาเภอแมใ่ จ จังหวัดพะเยา,
เม่อื วันท่ี ๒๑ เดอื น มิถุนายน ๒๕๕๙.

๕๐ สัมภาษณ์, ภัทรกุล ไฝเครือ, ผู้อานวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตาบลบ้านเหล่า
อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา, เมื่อวันที่ ๒๔ เดือน มิถุนายน ๒๕๕๙.

๕๑ สัมภาษณ,์ บัญชา อทุ ธโยธา, นกั พัฒนาชุมชนชานาญการ เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา อาเภอแม่ใจ
จงั หวัดพะเยา, เมื่อวนั ท่ี ๒๒ เดอื น มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

๕๒ สัมภาษณ์, พระครูอาทรพัฒนพิศาล, เจ้าคณะตาบลแม่กา/เจ้าอาวาสวัดแม่กาห้วยเคียน และ
ผูก้ อ่ ตงั้ ชมรมผู้สูงอายุวัดแมก่ าหว้ ยเคยี น อาเภอเมอื งพะเยา จงั หวัดพะเยา, เมอ่ื วันที่ ๒ เดือน กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๕๓ สัมภาษณ์, อ้าย ฉัตรอินต๊ะ, ผู้สูงอายุ ตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา, เม่ือวันที่ ๒๑
เดือน มถิ นุ ายน ๒๕๕๙.

๕๔ สัมภาษณ์ นายสนิท แก้วยาหล้า, ประธานชมรมผู้สูงอายุ ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา
จงั หวัดพะเยา, เมือ่ วนั ที่ ๓๐ เดอื น มถิ นุ ายน ๒๕๕๙.

๕๕ สัมภาษณ์ นางเครือวรรณ ธุรเสร็จ, รองประธานชมรมผู้สูงอายุ ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา
จงั หวดั พะเยา, เม่ือวันท่ี ๓๐ เดอื น มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

๙๕

ประเด็นท่ี ๒ จดั การความรูแ้ ละเครอื ข่ายองค์กรสขุ ภาวะของผู้สงู อายุ
พบว่า สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพะเยา ให้การสนับสนุน
งบประมาณ สนับสนุนองค์ความรู้กับเครือขาย กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุในชุมชน๕๖ สานักงาน
สาธารณสขุ จงั หวัดพะเยา เป็นเครือข่ายการพัฒนาผู้สูงอายุในด้านสขุ ภาพ มกี ลุ่มจัดกิจกรรม เน้นการ
เสริมสร้างสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ ตามเกณฑ์การพัฒนาชมรมผู้สูงอายุสุขภาพ ประกอบด้วย ๑) มี
สุขภาพดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม ๒) มฟี ันที่ใช้งานไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓) มีดชั นมี วลกาย หรือรอบ
เอว อยู่ในเกณฑ์ปกติ และ ๔) มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพให้อายุยืนยาวอย่างมีคุณภาพ๕๗ และ
ศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตามีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ในเร่ืองการดูแลสุขภาพต่างๆ เช่น
สุขภาพกายและจิตใจ สุขภาพปากและฟัน การบริหารข้อเข่า และอ่ืนๆ ให้กับผู้สูงอายุ ในวันสาคัญ
ตา่ งๆ เชน่ วันเขา้ พรรษา วันผู้สงู อายุแหง่ ชาติ วนั พ่อ วนั แม่ เปน็ ต้น๕๘
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตพะเยา ได้จัดการองค์ความรู้ ในเรอ่ื ง
ของการไปทางานวิจัย เพื่อศึกษาสภาพปัญหา แนวทาง วิธีทาง ท่ีจะจัดการองค์ความรู้ในจังหวัด
พะเยา เช่น เร่ืองของโรงเรียนผู้สูงอายุอย่างไร มีการบริหารจัดการอย่างไร และมีแนวทาง วิธีทาง
ปฏิบัติอย่างไรท่ีจะทาให้เกิดความย่ังยืน และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และได้เข้าไป
ทาโรงเรียนผู้สูงอายุแบบบูรณาการ เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กับเครือข่าย และในอนาคตจะได้สร้าง
โรงเรยี นผู้สงู อายุ มจร.พะเยา โมเดล๕๙ และทางมหาวทิ ยาลัยพะเยา กาลังดาเนินการทาเป็นหลักสูตร
การเรียนการสอน แบ่งเป็น ๒ ส่วน ส่วนที่ ๑ เป็นภาควิชา คอื วชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนา ภาษาเพื่อการ
สื่อสารพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และถ่ายทอดภูมิปัญญาไทย ส่วนที่ ๒ จัดกิจกรรมเรียนรู้ตาม
อธั ยาศัยของผู้สูงอายุ๖๐
เทศบาลตาบลป่าแฝกส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้านได้ให้ความสาคัญกับการ
ดูแลตัวเอง และส่งเสริมให้มีการออกเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุด้วยกัน โดยไม่ต้องใช้งบประมาณ เป็นการ
ออกไปเย่ียม เพื่อให้กาลังใจซ่ึงกันและกัน ออกไปพูดคุยกันเมื่อมีเวลาว่าง เทศบาตาบลเจริญราษฎร์
ได้สร้างเครือข่ายผู้สูงอายุในหมู่บ้าน เช่ือมโยงไปยังตาบลใกล้เคียง เข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุอาเภอ เพ่ือ
ขับเคลื่อนฐานผู้สูงอายุ สร้างเครือข่ายประสานงานในระดับหมูบ้าน ตาบล เผื่อร่วมทาประโยชน์ต่อ

๕๖ สัมภาษณ์, วัลลภา ธนู ประสิทธิ์วัชรากร, นกั สงั คมสงเคราะหช์ านาญการ สานกั งานพฒั นาสงั คมและ
ความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดพะเยา, เมอื่ วนั ท่ี ๒๔ เดอื น มิถุนายน ๒๕๕๙.

๕๗ สัมภาษณ์, สุทิตย์ เสมอเช่ือ, นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สานักงานสาธารณสุข
จงั หวดั พะเยา, เมื่อวนั ที่ ๒๗ เดือน มถิ นุ ายน ๒๕๕๙.

๕๘ สัมภาษณ์, นวิยา วิชาศิลป์, พยาบาลชานาญการ(วิชาชีพ) ศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา
อาเภอเมอื งพะเยา จังหวดั พะเยา, เมอ่ื วนั ท่ี ๑ เดือน กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๕๙ สัมภาษณ์, พระครูโสภณปริยัติสุธี, รศ.ดร. (ศรีบรรดร ถิรธมฺโม), รักษาการผู้อานวยการสานัก
วิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, รองเจ้าคณะจังหวัดพะเยา, เมื่อวันท่ี ๑๒ เดือน กรกฎาคม
๒๕๕๙.

๖๐ สมั ภาษณ์, สาริณีย์ ภาสยะวรรณ, อาจารย์ประจาคณะรฐั ศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวชิ าพัฒนา
สังคม มหาวทิ ยาลัยพะเยา, เมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ เดอื น กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๙๖

ชุมชน สังคม๖๑ เทศบาลตาบลศรีถ้อยให้เครือข่ายมีส่วนร่วมในการส่งเสริมกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุ
โดยให้กับผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดาเนินงานของชุมชนในทุกๆ เรื่อง และเน้นการพ่ึงพาตนเองของ
เครือข่ายในชุมชน ในการผลักดันในกิจกรรมสาธารณะให้ผู้สูงอายุดูแลซึ่งกันและกัน ต้ังแต่เร่ือง
สุขภาพ และด้านอื่นๆ๖๒ เทศบาลตาบลแม่ใจช่วยเหลือในเร่ืองการ ประสานสานักงานพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดพะเยา (พมจ. พะเยา) ในการให้ความช่วยเหลือเงินสงเคราะห์
ผู้สูงอายุ๖๓ เทศบาลตาบลบ้านเหล่า มีการพัฒนา ข้อมูลของผู้สูงอายุ พัฒนากิจกรรมต่างๆ ในการ
ส่งเสริมสุขภาวะในกลุ่มผู้สูงอายุ และจัดทาส่ือประชาสัมพันธ์เป็นเอกสาร และทางเว็บไซต์๖๔ และ
เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา ได้จัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะผู้สูงอายุ คือ ๑) จัดตั้ง
คณะทางานขับเคล่อื นการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ๒) จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสรมิ อาชีพ
ของผู้สูงอายุ ๖ ชุดกิจกรรม คือ การพัฒนาศักยภาพ การพัฒนาสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อผู้สูงอายุ การ
พัฒนาระบบบริการ การจัดต้ังกองทุน หรือจัดให้มีสวัสดิการช่วยเหลือกัน การพัฒนาใช้ข้อมูลในการ
ส่งเสรมิ แก้ไข หรอื จดั การปัญหาผ้สู งู อายุ และ ๖) การพัฒนากฎกตกิ า ระเบยี บ แนวปฏบิ ัติ เพ่ือหนุน
เสรมิ ธรรมสขุ ภาพของผ้สู ูงอายุ๖๕

ชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กาห้วยเคียน ได้จัดการองค์ความรู้ ในเรื่องของการโรงเรียนผู้สูงอายุ
พุฒิภัทรแบบบูรณาการ เพ่ือถ่ายทอดความรู้ให้กับเครือข่าย จัดทาร่วมกับมหาวิทยาลัยพะเยา และ
นักศึกษาจิตอาสา ครูจิตอาสา โดยมีการเรียนการสอน แบ่งเป็น ๒ ส่วน ส่วนที่ ๑ เป็นภาควิชา
คือ วิชาสังคมศึกษา ศาสนา ภาษาเพ่ือการส่ือสารพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และถ่ายทอด
ภูมิปัญญาไทย ส่วนท่ี ๒ จัดกิจกรรมเรียนรู้ตามอัธยาศัยของผู้สูงอายุ๖๖ ชมรมผู้สูงอายุตาบลป่าแฝก
ชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ใจ และชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ตา เป็นวางแผน และดาเนินการจัดกิจกรรมท่ี
เก่ยี วกบั สขุ ภาพ และรว่ มทากจิ กรรมเม่อื ทางหน่วยงาน หรอื องคก์ รอ่นื จัดขน้ึ ๖๗

การจัดการความรู้ในการเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา สรุปได้ว่า
ผู้สงู อายุสามารถดาเนินการจัดการใน ๔ ด้าน คือ ๑) ดา้ นกายภาพ คือ สง่ เสรมิ ให้ผู้สงู อายุดูออกกาลัง
กายอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัย แลรักษาสุขภาพตนเองท้งั สุขภาพปากและฟัน สุขภาพกายและ

๖๑ สัมภาษณ์, ดวงพร วัชรวงค์วรกุล, นักพัฒนาชุมชน เทศบาลตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ
จังหวดั พะเยา, เมื่อวันท่ี ๒๑ เดือน มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

๖๒ สัมภาษณ์, ประทีป ภาชนนท,์ นักพัฒนาชุมชน เทศบาลตาบลศรีถ้อย อาเภอแม่ใจ จงั หวดั พะเยา,
เมอื่ วนั ท่ี ๒๑ เดอื น มิถุนายน ๒๕๕๙.

๖๓ สัมภาษณ์, เกษร ปัญสุวรรณ์, ผู้อานวยการกองสวัสดิการสังคม เทศบาลตาบลแม่ใจ
อาเภอแม่ใจ จงั หวดั พะเยา, เมือ่ วนั ที่ ๒๓ เดอื น มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

๖๔ สัมภาษณ์, ภัทรกุล ไฝเครอื , ผู้อานวยการกองสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อม เทศบาลตาบลบ้านเหล่า
อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา, เม่อื วนั ท่ี ๒๔ เดือน มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

๖๕ สัมภาษณ์, บัญชา อุทธโยธา, นักพัฒนาชุมชนชานาญการ เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา
อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา, เมอ่ื วันที่ ๒๒ เดอื น มถิ นุ ายน ๒๕๕๙.

๖๖ สัมภาษณ์, พระครูอาทรพัฒนพิศาล, เจ้าคณะตาบลแม่กา/เจ้าอาวาสวัดแม่กาห้วยเคียน และ
ผู้กอ่ ตงั้ ชมรมผ้สู ูงอายวุ ดั แมก่ าห้วยเคยี น อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา, เมื่อวนั ท่ี ๒ เดอื น กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๖๗ สัมภาษณ์, พรหมมา ปัญญาวรรณ, เลขขาชมรมผู้สูงอายุ ตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา,
เมื่อวันท่ี ๒๐ เดือน มถิ นุ ายน ๒๕๕๙.

๙๗

จิต ๒) ด้านศีล คือ ทาให้ผู้สูงอายุไปทาบุญ ใส่บาตรท่ีวัด ประพฤติตนอยู่ในความสารวม ๓) ด้านจิต
คอื มีการไหว้พระสวดมนต์ เพ่ือให้จิตในสงบ มีสมาธิ ๔) ด้านปัญญา คือ ให้รู้ทันโลกทันเหตุการณ์ใน
ปัจจุบัน ซึ่งการจัดการความรู้ใน ๔ ด้าน คือ กาย ศีล จิต และปัญญา โดยใช้วิธีการสร้างความ
ตระหนักในเทศบาลตาบล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาจัดเวที จัดอบรม ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ
และการจดั การกันเอง

การจัดการความรู้ เสรมิ สรา้ ง ผู้สูงอายุ ด้านกาย
ดา้ นศีล
ด้านจติ
ด้านปญั ญา

แผนภมู ทิ ี่ ๔ : การจัดการความรูใ้ นการเสริมสรา้ งสุขภาวะของผ้สู งู อายุในจงั หวดั พะเยา ๔ ดา้ น

๔.๓ การเสรมิ สรา้ งเครอื ข่ายองค์กรด้านสขุ ภาวะของผู้สูงอายใุ นจงั หวัดพะเยา

ประเด็นท่ี ๑ ประสานความช่วยเหลือจากชมรมผู้สูงอายุในชุมชน องค์กรภาครัฐ
และเอกชน

พบวา่ สานักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ เป็นหนว่ ยงานในระดบั ภูมิภาคท่ี

รับนโยบายจากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในพื้นที่ และการทางานต้องมี
เครือข่ายทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน การประสานงานกับ องค์กรปกครองส่วน

ท้องถ่ิน(อปท.) ที่เป็นหน่วยงานใกล้ชิดกับกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งรวมถึงกลุ่มผู้สูงอายุด้วย๖๘ สานักงาน

สาธารณสุขจังหวัดพะเยา ได้มีการประสานความช่วยเหลือ โดยผ่านทางหน่วยงานในกากับของ
กระทรวงสาธารณสุขอาเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพ.สต.) ในการดาเนินงาน ทางาน

ร่วมกบั สาขาสมาคมผู้สงู อายุแหง่ ประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ประจาจังหวัดพะเยา๖๙ และศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา มีส่วนช่วยในเร่ืองของการโทรศัพท์
ติดตอ่ ประสานงาน กับหน่วยงาน องคก์ ร หรือผรู้ ว่ มกิจกรรม เพื่อจดั กิจกรรมสุขภาพของผสู้ งู อายุ๗๐

หน่วยงานต้นสังกัดท่ีให้ความช่วยเหลือ มีแผนงาน โครงการ คือ พัฒนาสังคมและความ

มนั่ คงของมนษุ ย์ กรมผู้สูงอายุ องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด เทศบาลตาบล โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ
ตาบล(รพ.สต.) อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน(อสม.) สานักงานประกันและส่งเสริมสุขภาพ
แห่งชาติ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา๗๑ และมหาวิทยาลัยพะเยา ซึ่ง

๖๘ สมั ภาษณ์, วลั ลภา ธนู ประสิทธ์วิ ัชรากร, นกั สงั คมสงเคราะหช์ านาญการ สานักงานพัฒนาสงั คมและ
ความม่ันคงของมนุษย์จงั หวัดพะเยา, เมอ่ื วนั ที่ ๒๔ เดอื น มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

๖๙ สัมภาษณ์, สุทิตย์ เสมอเชื่อ, นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สานักงานสาธารณสุข
จงั หวัดพะเยา, เมอ่ื วนั ท่ี ๒๗ เดอื น มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

๗๐ สัมภาษณ์, นวิยา วิชาศิลป์, พยาบาลชานาญการ(วิชาชีพ) ศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา
อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา, เมอ่ื วันที่ ๑ เดือน กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๗๑ สัมภาษณ์, พระราชปริยัติ, ดร., รักษาการผู้อานวยการสานักงานวิทยาเขต มหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตพะเยา, เจ้าคณะจงั หวดั พะเยา, เม่ือวันท่ี ๔ เดือน กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๙๘

หนว่ ยงานเหล่านจ้ี ะแผนยุทธศาสตร์ในเรือ่ งสวสั ดกิ าร เบ้ยี ยังชีพ กิจกรรตา่ งๆ ของผู้สงู อายุ แตใ่ นเรือ่ ง
ของโรงเรียนผู้สูงอายยุ ังไม่มีความชดั เจน ซ่ึงเร่ืองเหล่าน้ี แสดงให้เหน็ ว่า ในอนาคตการให้ความสาคัญ
กับผู้สูงอายุก็จะมากข้ึน องค์กรต่างๆ ก็จะพยายามทากิจกรรม หรือโครงการตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้องในเร่ือง
ผสู้ งู อายุ๗๒

เทศบาลตาบลป่าแฝกสนับสนุนให้ผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรมในระดับอาเภอ และจังหวัด
อย่างตอ่ เนื่อง ขอรับการสงเคราะห์ครอบครัว โดยประสานสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์จังหวัดพะเยา (พมจ. พะเยา) ในการให้ความช่วยเหลือเงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้สูงอายุ และ
จัดทาโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้กับคนพิการ และผู้สูงอายุในการปรับปรุงบ้าน
ห้องน้า ให้กับผู้สูงอายุที่พิการ โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก กองทุนฟ้ืนฟูสมรรถภาพที่
จาเป็นต่อสุขภาพจังหวัดพะเยา๗๓ เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์ มีการประสานงานกับผู้สูงอายุหมู่บ้าน
เน้นการมีส่วนร่วมให้ผู้สูงอายุเข้ามาร่วมกิจกรรม ร่วมคิด ร่วมทา ดาเนินงาน ร่วมกับหน่วยงาน
เทศบาลตาบลศรีถ้อยให้ชมรมผู้สูงอายุ และหน่วยงานต่างๆ เข้ามาพูดคุย(แบบไม่เป็นทางการ)
ในเรื่องต่างๆ เช่น ส่งเสริมการคัดแยกขยะ โดยจัดกิจกรรมขยะให้ผู้สูงอายุ เพ่ือเป็นหน่วยงานท่ี
ขับเคล่ือน การคัดแยกขยะในชุมชน โดยทาหนังสือเชิญ และวางแผนการดาเนินงานร่วมกัน ๗๔
เทศบาลตาบลแม่ใจ โรงพยาบาลแม่ใจ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่ใจ เข้ามาสนับสนุน
ให้ความช่วยเหลือในเร่ืองตา่ งๆ เช่น เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องสุขภาพของผสู้ ูงอายุ รวมถึงการตรวจ
สุขภาพเบ้ืองตน้ ๗๕ เทศบาลตาบลบ้านเหล่า ได้ประสานงบประมาณจาก สสส. เพ่ือขับเคลอื่ นกจิ กรรม
ต่างๆ ในพ้ืนที่ และประสานการช่วยเหลือจาก สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
จังหวัดพะเยา (พมจ. พะเยา) ด้านทอ่ี ยอู่ าศัย อุปกรณ์๗๖ และเทศบาลตาบลรวมใจพฒั นา ได้ประสาน
ความช่วยเหลือชมรมผู้สูงอายุ ดังน้ี ๑) ด้านบุคลากร จากหน่วยงาน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่น
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล(รพสต.) ศูนยก์ ารเรียนรู้ตามอัธยาศัย(กศน.) ๒) สถานท่ี ใช้ส่วนของ
สานักงานเทศบาลรวมใจพัฒนา ๓) งบประมาณ จากกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ตามโครงการการพัฒนาแบบนวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยโยใช้ชุมชนเป็นฐาน และงบประมาณของ
เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา ๔) ประสานการช่วยเหลือสงเคราะห์ จากสานักงานพัฒนาสังคมและ

๗๒ สมั ภาษณ์, ประยงค์ จนั ทรแ์ ดง, ผูช้ ่วยคณบดี คณะรฐั ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา,
เมือ่ วันท่ี ๑๓ เดือน กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๗๓ สัมภาษณ์, ดวงพร วัชรวงค์วรกุล, นักพัฒนาชุมชน เทศบาลตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ
จังหวัดพะเยา, เม่ือวนั ที่ ๒๑ เดอื น มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

๗๔ สัมภาษณ์, อณู อุตตะมา, นักพัฒนาชุมชนชานาญการ เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์
อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา, เมอื่ วนั ท่ี ๒๒ เดอื น มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

๗๕ สัมภาษณ์, เกษร ปัญสุวรรณ์, ผู้อานวยการกองสวัสดิการสังคม เทศบาลตาบลแม่ใจ
อาเภอแมใ่ จ จงั หวดั พะเยา, เมอ่ื วันท่ี ๒๓ เดือน มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

๗๖ สัมภาษณ์, ภัทรกุล ไฝเครือ, ผู้อานวยการกองสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อม เทศบาลตาบลบา้ นเหล่า
อาเภอแมใ่ จ จงั หวัดพะเยา, เมื่อวันท่ี ๒๔ เดอื น มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

๙๙

ความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดพะเยา ศูนย์พัฒนาชาวเขา มูลนิธิธรรมนัส และ ๕) อาสาสมัครดูแล
ผสู้ ูงอายุท่บี า้ น (อผส.) และ อาสาพฒั นาชุมชน(อพม.) ในพน้ื ท่ีในการดแู ลผู้สงู อายุ๗๗

ชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กาห้วยเคียน มีหน่วยงานเทศบาลช่วยเหลือโดยมีการจัดสรร
งบประมาณมาให้ทางชมรมผู้สูงอายุในทุกปี๗๘ ชมรมผู้สูงอายุตาบลป่าแฝก ชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ใจ
และชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ตา ส่วนใหญ่ได้รับความช่วยเหลือและสนับสนุนจากหน่วยงานเทศบาล
ตาบล และโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล๗๙

การเสริมสร้างเครือข่ายองค์กรด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา สรุปได้ว่า
ชมรมผู้สูงอายุได้ไปเสริมสร้างเครือข่ายกับวัด โรงเรียน มหาวิทยาลัย เทศบาลตาบล โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพสต.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สานักงาน
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พมจ.) โดยมีการเสริมสร้างเป็นขั้นตอน คือข้ันตอนที่ ๑ วัด
โรงเรียน มหาวิทยาลัย เทศบาลตาบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพสต.) ฯลฯ ได้มีการ
ปรึกษาหารือกัน ขั้นตอนที่ ๒ ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุนชมรมผู้สูงอายุขั้นตอนท่ี ๓ ได้มีการ
ติดตามผลทไ่ี ด้ทา และขน้ั ตอนท่ี ๔ รว่ มกนั ประเมนิ ผล

โรงเรยี น วัด ระยะที่ ๑ วัด โรงเรียน มหาวิทยาลัย ทต.
มหาวิทยาลยั รพสต. ฯลฯ ได้มกี ารปรึกษาหารอื กนั
เทศบาลตาบล ชมรม ระยะท่ี ๒ ไดจ้ ัดสรรงบประมาณสนับสนุน
ผู้สงู อายุ ชมรมผสู้ งู อายุ
รพสต. ระยะที่ ๓ ไดม้ ีการตดิ ตามผลทีไ่ ดท้ า

ระยะท่ี ๔ ร่วมกนั ประเมินผล

กศน.
สสส.

แผนภมู ิที่ ๕ : การเสรมิ สรา้ งเครอื ขา่ ยองค์กรด้านสุขภาวะของผสู้ ูงอายุในจงั หวดั พะเยา ๔ ระยะ

๗๗ สัมภาษณ์, บัญชา อุทธโยธา, นักพัฒนาชุมชนชานาญการ เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา
อาเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา, เมอ่ื วนั ที่ ๒๒ เดือน มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

๗๘ สัมภาษณ์, พระครูอาทรพัฒนพิศาล, เจ้าคณะตาบลแม่กา/เจ้าอาวาสวัดแม่กาห้วยเคียน และ
ผูก้ อ่ ต้งั ชมรมผู้สูงอายวุ ัดแม่กาหว้ ยเคียน อาเภอเมอื งพะเยา จังหวดั พะเยา, เมือ่ วันที่ ๒ เดือน กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๗๙ สัมภาษณ์, คา ทิพปาละ, เหรัญญิกชมรมผู้สูงอายุตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา,
เมอ่ื วันที่ ๒๑ เดอื น มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

๑๐๐

๔.๔ รูปแบบองคค์ วามรู้การจัดการความรแู้ ละเครอื ข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายใุ น
จังหวดั พะเยา

จากผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ทั้ง ๓ ข้อ ดังกล่าว สรุปได้ว่า องค์กรสุขภาวะผู้สูงอายุ
ถ้าจะให้ผลลัพธ์ท่ีดีควรต้องมีวิสัยทัศน์ กิจกรรม หรือโครงการ ฯลฯ จากท่ีผ่านมากิจกรรมหรือ
โครงการต่างๆ นั้นจะต้องมีกระบวนการจัดการความรู้ ๗ ข้ัน จากกระบวนการจัดการความรู้ก็จะไป
ดาเนนิ การเครือข่าย ๔ ข้นั ตอน ไปสกู่ ารไดค้ วามรเู้ พ่ือนาไปพัฒนาตนเองตอ่ ไป

องค์กรสุข - วิสัยทัศน์ กระบวนการ เครือข่าย สขุ ภาวะ
ภาวะผูส้ งู อายุ - กิจกรรม จดั การเรยี นรู้ ๔ ขั้นตอน
- โครงการ
- ชมรม ๗ ขน้ั

แผนภมู ิท่ี ๖ : รูปแบบการจดั การองคค์ วามรู้ขององคก์ รสุขภาวะผสู้ ูงอายจุ งั หวัดพะเยา

ชมรมผู้สูงอายุจะเติบโตได้นั้น จะต้องมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ ขณะเดียวกันก็ต้องมี
เครือข่าย เพราะฉะน้ันถ้ามกี ระบวนการจดั การเรยี นรูท้ ่ดี ี เครือข่ายทีด่ ี มีวถิ ีทอ้ งถ่นิ วัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน
ท่ดี ี ซึ่งมหี น่วยงานภาครฐั หรอื องคก์ รต่างๆ สนบั สนุนด้วย กจ็ ะกลายเป็นชมรมทมี่ สี ุขภาวะ

วถิ ีท้องถนิ่
วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ
หลกั พุทธธรรม

กระบวนการ ชมรมผสู้ ูงอายุ เครอื ขา่ ย สขุ ภาวะ
จัดการความรู้

๗ ขั้น

ภาครัฐ

แผนภูมิที่ ๗ : การจัดการความรูแ้ ละเครือข่ายองค์กรสขุ ภาวะของผู้สงู อายใุ นจงั หวดั พะเยา

ฉะนั้น องค์กรสุขภาวะต้องมีการจัดการความรู้ของตัวเองอยู่เรื่อยๆ ในขณะเดียวกันก็สร้าง
เครือข่ายเข้ามาโดยใช้วีถีท้องถ่ิน หรือหลักพุทธธรรม ซึ่งควรต้องเข้าไปหาภาครัฐหรือหน่วยงานอ่ืนๆ
มาสนับสนุน ซ่ึงปัจจัยดังกล่าวน้ี ทั้งการจัดการความรู้ เครือข่าย องค์ความรู้ด้านสุขภาวะผู้สูงอายุ
ก็จะนาไปสู่การจดั การความรู้ คอื การมสี ุขภาวะทด่ี ี

๑๐๑

๔.๕ องคค์ วามรู้ที่ได้จากการวิจัย

ผวู้ จิ ัยจะนาเสนอองค์ความร้ทู ไ่ี ด้จากการวิจัย โดยแบ่งออกเป็น ๕ บท ดงั ตอ่ ไปนี้
บทท่ี ๑ บทนา ประกอบด้วย ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหาการวิจยั วตั ถปุ ระสงค์
ของการวจิ ัย ขอบเขตของการวิจยั นยิ ามศัพทท์ ่ใี ชใ้ นการวิจัย กรอบแนวคดิ การวจิ ยั และประโยชน์ที่
จะไดจ้ ากการวิจยั ดังนี้
ผวู้ ิจัยได้เขียนความเป็นมาและความสาคั่ของปั่หาการวจิ ัย ในลักษณะเป็นเหมือนรูป
ปิรามิด (Pyramid) กลับด้าน คือเขียนจาก ฐาน ไปหายอด (กว้าง ไป ลึก) คือ เขียนจากเร่ืองท่วั ๆ ไป
ลงมาเร่ืองเฉพาะ และชี้ให้เห็นปัญหาทีศ่ ึกษาเพ่ือแกป้ ัญหานนั้ ผู้วิจัยได้เริ่มจากการเขียนหลักการและ
เหตุผล เพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบถึงความเป็นมาของการวิจัย โดยอ้างอิงหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และ
ขอ้ มูลที่สาคัญๆ กับเรื่องที่เขียนมาประกอบการบรรยาย คือ เริ่มถึงจานวนประชากรโลก แล้วกลา่ วถึง
จานวนผู้สูงอายุของประเทศ และประเทศไทย ซึ่งก้าวสูสังคมผู้สูงอายุ ท้ังน้ีรัฐบาลไทยได้ตระหนักถึง
สาคัญของปัญหาดังกล่าว พร้อมท้ังมีนโยบายเพ่ือแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซ่ึงจังหวัดพะเยาเป็นหนึ่งใน
จังหวัดท่ีมีประชากรผู้สูงอายุมากถึง ๙๘,๗๕๒ คน และมีชมรมผู้สูงอายุมากถึง ๒๔๔ ชมรม ดังน้ัน
ผู้วิจัยจึงได้จัดทาวิจัยเร่ืองนี้ข้ึนมา โดยมีวั.ถุประสงค์ของการวิจัย คือ ๑) เพ่ือวิเคราะห์การจัดการ
ความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา ๒) เพื่อศึกษาการจัดการความรู้ใน
การสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา และ ๓) เพ่ือเสริมสร้างเครือข่ายองค์กรด้านสุขภาวะ
ของผู้สงู อายใุ นจังหวัดพะเยา ขอบเข.ของการวิจัย ผู้วิจัยได้วางกรอบของปัญหาให้เด่นชัดมากยง่ิ ขึ้น
โดยกาหนดขอบเขตด้านเน้ือหา ด้านพื้นท่ี และด้านประชากร เพ่ือให้ผู้อ่านได้มีความเข้าใจในเนื้อหา
พ้ืนท่ี และประชากรที่ผู้วิจัยจะทาการวิจัย นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย เป็นคาจากัดความท่ีให้ไว้
เพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกันกับผู้วิจัย โดยผู้วิจัยได้ให้ความหมายแบบเจาะจงคือมีความชัดเจนและไม่
กากวมหรอื กว้างเกนิ ไป เพื่อให้ผูอ้ ่านมคี วามเข้าใจตรงกับผู้วจิ ัย เชน่ ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ
๖๐ – ๖๙ ปี ในจังหวัดพะเยา เป็นต้น กรอบแนวคิดการวิจัย ผู้วิจัยได้ทาเป็นแผนภูมิเพ่ือให้ผู้อ่าน
เข้าใจได้ง่าย โดยนาเรื่องการจัดการความรู้เป็นตัวหลักของแผนภูมิ สุขภาวะของผู้สูงอายุ คือ
การเสริมสร้างและการพัฒนา เช่ือมโยงกับจังหวัดพะเยา โดยมีเครือข่ายองค์กรสุขภาวะเชื่อมด้วย
ส่วนประโยชน์ที่จะได้จากการวิจัย ทาให้ทราบถึงประโยชน์และการนาผลการวิจัยไปใช้ คือเป็นการ
สร้างองค์ความรู้ แนวทางการเสรมิ สรา้ งเครอื ข่ายองค์กรสุขภาวะของผูส้ งู อายใุ นจงั หวัดพะเยา
บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในบทน้ีผู้วิจัยได้มุ่งแสวงหาพื้นฐานทาง
ทฤษฎีและแนวคิดต่างๆ คือ การจัดการ การจัดการความรู้ เครือข่าย องค์กร สุขภาวะ สุขภาวะองค์
รวม ผู้สูงอายุ ชมรมผสู้ ูงอายุ ข้อมลู ท่ัวไปจังหวดั พะเยา และชมรมผ้สู ูงอายุจังหวดั พะเยา โดยไดศ้ ึกษา
จากข้อมูลท่ีมีผู้รวบรวมไว้แล้ว ในลักษณะของตารา เอกสารทางวิชาการ รายงาน และระบบสืบค้น
ทางอินเตอร์เน็ต รวมถึงเอกสารของหน่วยงานราชการ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สานักงาน
เทศบาลเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา องค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา เป็นต้น ซ่ึงทาให้ทราบถึง
แหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ไม่เคยทราบมาก่อน ทาให้ผู้วิจัยมีความคิดใหม่ๆ และวิธีการใหม่ๆ ในการทาวิจัย
เป็นตน้

๑๐๒

บทที่ ๓ วิธีดาเนินการวิจัย ประกอบด้วย รูปแบบวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เคร่ืองมอื การวิจัย การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูล และสูตรสถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ดังน้ี

รปู แบบวิจยั ผู้วิจยั ได้กาหนดเปน็ การวจิ ยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดว้ ยการ
สมั ภาษณแ์ บบมีโครงสรา้ งด้วยการสัมภาษณ์เชงิ ลกึ (In-depth Interview) โดยอาศยั แบบสมั ภาษณ์ท่ี
ผู้วจิ ยั สรา้ งขึ้นตามวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย ซ่งึ เป็นลักษณะของคาถามแบบปลายเปดิ (Open-ended
Question) ประชากรและกลมุ่ .ัวอย่าง ผู้วิจยั ได้ระบุไว้อย่างชดั เจนว่าประชากรที่จะศกึ ษาเป็นใคร มี
ลักษณะอย่างไร เช่น บุคลากรจากหน่วยงานภาครัฐ เช่น สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์จังหวัดพะเยา สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วทิ ยาเขตพะเยา หนว่ ยงานเทศบาลในจังหวดั พะเยา และชมรมผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา เป็นต้น โดย
ใช้หลักเกณฑ์การเลือกสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) ซึ่งผู้วิจัยจะทาการ
กาหนดไว้อย่างชัดเจนก่อนท่ีจะลงสนาม เคร่ืองมอื การวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ เทปบนั ทึกเสียง และ
กล้องถ่ายรูป แบบสัมภาษณ์เชิงลึกท่ีผู้วิจัยทาขึ้น ได้ผ่านผู้เชี่ยวชาญในกาตรวจประเมินสภาพ
เครื่องมือวิจัย (IOC) แล้ว จานวน ๕ ท่าน เพ่ือให้ได้คาถามท่ีชัดเจนและตรงกับวัตถุประสงค์ของการ
วิจัย ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ทาอย่างเป็นข้ันตอน คือ ๑) ทาการศึกษาค้นคว้า เพื่อให้ได้
ข้อมูล แนวคิด ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับงานวิจัย จากข้อมูลที่มีผู้รวบรวมไว้แล้ว ในลักษณะของตารา
เอกสารทางวิชาการ รายงาน และระบบสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต รวมถึงเอกสารของหน่วยงานราชการ
และองคก์ รทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๒) ทาการรวบรวมแนวความคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง เพื่อนามาเป็น
แนวทางในการสร้างเคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา ตามกรอบแนวคิดและขอบเขตการวิจัย ๓) ทาการ
สัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์ท่ีเตรียมไว้ ๔) ทาการเก็บข้อมูล โดยการสัมภาษณ์ตามคาถามที่ได้
จัดเตรียมไว้ จากบุคคลผู้ให้ข้อมูลสาคัญ และ ๕) ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสัมภาษณ์ และทา
การเรียบเรยี งข้อมลู ท่ีได้จากการสัมภาษณ์ ตามประเด็นคาถาม การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผวู้ ิจยั ไดน้ าขอ้ มูล
จากการสัมภาษณ์ทุกฉบับ มาดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเน้ือหา และสังเคราะห์ในภาพรวมตาม
กรอบวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ และนาข้อคิดเห็นต่างๆ ของแต่ละท่านมานาเสนอเป็นรายบุคคล และ
เสนอผลท่ีได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบของการบรรยายตามเนื้อหา โดยจัดเนื้อหาเป็น
หมวดหมู่แล้วแบ่งออกเปน็ ตอนๆ ตามวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัยท่ีกาหนดไว้และ สู.รสถิ.ิที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลจากการประเมินความสอดคล้องของวัตถุประสงค์
การวิจัยท่ีผู้เช่ียวชาญตอบ โดยนามาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของโรวเิ นลลี (Rovinall) และ
แฮมเบิลตัน (R.K. Hambleton) นาค่าดัชนีที่คานวณไดม้ าเปรยี บเทียบกับเกณฑ์

บทที่ ๔ ผลการศึกษา ผู้วิจัยได้แบ่งออกเป็น ๔ ส่วน ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ
ผลการศึกษาตามวัตถปุ ระสงค์ขอ้ ท่ี ๑ การจัดการความรแู้ ละเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จงั หวดั พะเยา ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี ๒ การจัดการความรู้ในการเสริมสร้างสขุ ภาวะของ
ผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี ๓ เสริมสร้างเครือข่ายองค์กรด้านสุข
ภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา ซ่ึงสรุปได้ว่า กลุ่มผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยาในหลายชุมชนมีการ
รวมตัวกันในรูปขององค์กร เช่น เป็นชมรมหรือโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความรู้ เช่น
งานประดษิ ฐ์ งานฝีมอื ตา่ งๆ รวมถงึ การดแู ลรกั ษาสุขภาพท่ีถกู ตอ้ ง มีการแสวงหาความรู้โดยการมีเชิญ

๑๐๓

ผทู้ รงคุณวุฒิมาเปน็ วิทยากรใหค้ วามรู้หรือไปศึกษาดงู านนอกสถานท่ี มีการจดั ระบบขอ้ มลู ความรู้และ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ท้ังในชมรมและระหว่างชมรม การดาเนนิ งานดังกล่าวอาศัยเครอื ข่ายท้ังภายใน
และภายนอก คือ เครือข่ายภายในได้แก่หน่วยงานต่างๆ ท่ีมีอยู่ในพ้ืนท่ี เช่น เทศบาล วัด โรงเรียน
และเครือข่ายภายนอกได้แก่หน่วยงานอ่ืนๆ ที่อยู่ภายนอกเขตพื้นที่ ส่วนการจัดการความรู้ในการ
เสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา พบว่า มีการดาเนินการใน ๔ ด้าน คือ ๑) ด้าน
กายภาพ ส่งเสรมิ ให้ผู้สูงอายุออกกาลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัย ๒) ด้านศีล ให้ผสู้ ูงอายุมี
โอกาสไปทาบุญบาเพ็ญกุศลท่ีวัด ประพฤติตนเป็นแบบอย่างแก่ลูกหลาน ๓) ด้านจิต มีการไหว้ พระ
สวดมนตเ์ พอ่ื ให้จิตสงบมีสมาธิ และ ๔) ด้านปญั ญา ใหค้ วามรทู้ ้ังทางโลกและทางธรรมเพอื่ ให้ร้ทู ันโลก
ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน ซึ่งการจัดการความรู้ทั้ง ๔ ด้านดังกล่าวอาศัยเครือข่ายภายในและเครือข่าย
ภายนอกมาช่วยจัดเวที จัดอบรม และให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ ดังน้ันจึงควรมีการเสริมสร้างเครือข่าย
องค์กรด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุในทุกด้าน เช่น ด้านวิทยากร สถานที่ งบประมาณ เพ่ือให้การ
ช่วยเหลือชมรมผู้สูงอายุอย่างเต็มศักยภาพ ส่วนท่ี ๔ เป็นรูปแบบองค์ความรู้การจัดการความรู้และ
เครือข่ายองค์กรสขุ ภาวะของผู้สงู อายใุ นจังหวดั พะเยา และองค์ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการวจิ ัย

บทท่ี ๕ สรุปผลการวิจยั อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ผ้วู จิ ัยได้ทาการสรปุ จากผลการวจิ ัย
ทัง้ หมดที่ไดท้ าการศึกษามา เป็นความเรียงโดยแบ่งตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย และในการอภปิ ราย
ผล ผู้วจิ ัยไดท้ าการวิเคราะหจ์ ากผลการวิจัย โดยช้ีให้เห็นว่าผลการวจิ ัยสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของ
การวิจัย และสอดคล้อง/ขัดแย้งกับหลักการและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องหรืองานวิจัยที่เก่ียวข้อง หรือไม่
และนาเสนอขอ้ เสนอแนะจากการทาวจิ ัย คือ ขอ้ เสนอแนะหน่วยงานภาครฐั ข้อเสนอแนะในการเรียน
การสอน และขอ้ เสนอแนะในการทาวิจัยครงั้ ตอ่ ไป

ในการทาวิจัยเรื่องน้ี ผู้วิจัยได้รู้ถึงการจัดรูปแบบและระเบียบของการทาวิจัยในรูปแบบ
สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เช่น การตั้งค่าหน้ากระดาษ
ตัวเลขและตัวอักษร การแทรกเชิงอรรถ การอ้างอิงจากพระไตรปิฎก หนังสือวารสาร เว็ปไซต์ หรือ
สิง่ พิมพต์ ่าง ๆ

บทที่ ๕

สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัย เรื่อง การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จังหวัดพะเยา มีวัตถุประสงค์ ๓ ข้อ คือ ๑) เพ่ือวิเคราะห์การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุข
ภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา ๒) เพ่ือศึกษาการจัดการความรู้ในการเสริมสร้างสุขภาวะของ
ผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา และ ๓) เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายองค์กรด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จงั หวดั พะเยา

วิธีการวิจัย เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ศึกษาวิจัยเอกสาร รายงาน
การวิจัยท่ีเก่ียวข้อง และมีการสัมภาษณ์ประกอบ เป็นการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างด้วยการ
สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยอาศัยแบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามวัตถุประสงค์
ของการวิจยั ซึง่ เป็นลักษณะของคาถามแบบปลายเปิด (Open-ended Question)

กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชากร จานวน ๒๕ รูป/คน ซ่ึงเป็นบุคคลผู้ให้ข้อมูลสาคัญ
จากหน่วยงานภาครัฐ ๓ คน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ๖ รูป/คน หน่วยงานเทศบาล ๖ คน และ
ชมรมผสู้ งู อายุ ๑๐ คน

๕.๑ สรุปผลการวิจัย

การวิจัย เรื่อง การจัดการความรู้และเครือข่ ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จงั หวดั พะเยา สามารถสรุปผลการวิจัยทีไ่ ดจ้ ากการสัมภาษณ์จากกลุ่มตวั อย่าง ซึ่งเปน็ บุคคลผใู้ หข้ ้อมูล
สาคัญ จากหน่วยงานภาครัฐ สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา หน่วยงานเทศบาล และชมรมผู้สูงอายุ
ตามวตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย ดังน้ี

๕.๑.๑ วัตถุประสงค์ ข้อท่ี ๑ การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของ
ผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา พบว่า ชมรมผู้สูงอายุมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ ให้กับสมาชิกชมรม
ระหว่างชมรม หรือหน่วยงานอื่นๆ หน่วยงานภาครัฐทั้ง ๓ แห่ง มีบทบาทและความสาคัญเป็นอย่าง
มาก คือ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน และส่งเสริม ในเร่ืองต่างๆ เช่น
ส่งเสริมอาชีพผ้สู ูงอายุ ดูแลสขุ ภาพ รวมถึงการจัดกจิ กรรม เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ตา่ งๆ เพ่ือถ่ายทอด
ให้กับสมาชิกในชมรม และระหว่างชมรมผู้สูงอายุ ทางมหาวิทยาลัยพะเยามีนักศึกษาจิตอาสา และ
อาจารย์เขา้ ไปสอนผ้สู งู อายุ ให้ความรู้ ชว่ ยเหลอื และสนับสนนุ อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมบู่ า้ น
(อสม.) แพทย์ประจาตาบล ศูนย์บริการสาธารณสุขให้ความรู้เก่ียวกับเร่ืองการดูแลสุขภาพหน่วยงาน
เทศบาล ใหก้ ารสนับสนุน ส่งเสรมิ และจัดกจิ กรรมเวทีแลกเปลีย่ นความรใู้ ห้ชมรมผสู้ งู อายขุ องแตล่ ะ

๑๐๕

ตาบล เช่น เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยในเวทีพื้นท่ี
กิจกรรมศึกษาดูงานเปิดกระบวนทัศน์การเรียนรู้กับโฮงเฮียนผู้สูงอายุในพื้นที่อ่ืนๆ คือ โรงเรียน
ผู้สูงอายุเทศบาลตาบลบ้านเหล่า เป็นต้น ส่วนชมรมผู้สูงอายุท้ัง ๓ แห่ง ได้มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยน
ความรู้ ให้กับสมาชิกชมรม และระหว่างชมรม เช่น กิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
รวมถงึ กจิ กรรมนนั ทนาการตา่ งๆ

การจัดการชมรมผู้สูงอายุเป็นแหล่งดูงาน ถา่ ยทอดองค์ความรู้ให้กบั ชมรม หรือหน่วยงาน
อ่ืนๆ พบว่า สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพะเยา ช่วยเหลือเรื่องสนับสนุน
งบประมาณ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา และศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา ช่วยเร่ือง
ของการจัดกิจกรรมต่างๆ และส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุทุกตาบลในจังหวัดพะเยามีการจัดการชมรม
ผู้สูงอายุ ให้เป็นแหล่งดูงาน ถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้กับชมรม และหน่วยงานอื่นๆ มีการจัดกิจกรรม
แบบโรงเรียนผู้สูงอายุ มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสมาชิกชมรมผู้สูงอายุกันเอง และ
มหาวิทยาลัยพะเยา มีส่วนร่วมชมรมผู้สูงอายุในรปู แบบของโรงเรียนผู้สูงอายุ “พุฒิภัทร” ศูนย์เรียนรู้
ผู้สูงวัย วัดแม่กาห้วยเคียน มีการจัดเวทีแลกเปล่ียนความรู้ ให้กับสมาชิกชมรมทุกวันพระตลอดทั้งปี
มีการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้สงู อายุ ทั้งช่วงเช้าและช่วงบ่าย สว่ นหน่วยงานเทศบาล จัดให้ชมรม
ผู้สูงอายุมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับสมาชิกชมรม มีกิจกรรมต่างๆ เช่น การออกกาลังกาย
การรวมกลุ่ม การดูแลรักษาสุขภาพผู้สงู อายุ รวมถงึ ส่งเสรมิ ปราชญ์ชาวบา้ นถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับ
ลกู หลาน

๕.๑.๒ วตั ถุประสงค์ ข้อที่ ๒ การจัดการความรูใ้ นการเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สงู อายุ
ในจังหวัดพะเยา พบว่า ผู้นาชุมชน รวมถึงหน่วยงานภาครัฐท้ัง ๓ แห่ง ให้ความสาคัญในการดูแล
สุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนมากพอสมควร เพราะปัจจุบันผู้สูงอายุมีบทบาทในชุมชนมากขึ้น ดังนั้น
การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งสาคัญ ทุกภาคส่วนให้ความสาคัญกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ในชมุ ชน เช่น ชมรมผ้สู ูงอายตุ าบลบ้านถ้า ทางเทศบาลตาบลบ้านถ้า จะมีรถรบั -ส่ง ผสู้ ูงอายุในตาบล
เม่ือมีกิจกรรมต่างๆ เทศบาลตาบลป่าแฝกได้ให้ความสาคัญกับชมรมผู้สูงอายุเป็นอันดับต้นๆ โดยได้มี
การจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุเป็นประจาทุกๆปี เช่น โครงการจัดงานวันกตัญญูผู้สูงอายุ การสนับสนุน
งบประมาณจากกองทุน สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีการ
ออกกาลังกายท่ีถูกวิธี ส่งเสริมการรวมกลุ่มในรูปแบบอื่นๆ เช่น กลุ่มสมุนไพร การทาลูกประคบ
การปลูกสมุนไพร การจกั สาน และชมรมฌาปนกิจชมรมผู้สูงอายุ เป็นต้น เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์
และผู้นาชุมชนให้ความสาคัญกับการดูแลสุขภาพขอผู้สูงอายุ โดยการส่งเสริมกิจกรรมการออก
กาลงั กาย ออกเยย่ี มบา้ นผสู้ ูงอายทุ ี่เจ็บปว่ ยเร้ือรงั ให้ไดร้ ับการดแู ลท่ีถูกตอ้ ง ส่วนเทศบาลตาบลศรีถอ้ ย
เทศบาลตาบลแม่ใจ ให้ความสาคัญกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายใุ ห้มากขึน้ และเทศบาลตาบลบ้าน
เหล่า ผู้นาชุมชน ให้ความร่วมมือประสานงาน ทากิจกรรมต่างๆ ตลอดจนขอความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานอื่น เทศบาลรวมใจพัฒนา ได้จัดทาฐานข้อมูล ผู้สูงอายุในชุมชน มีเวทีสะท้อนปัญหา และ
สถานการณข์ องผสู้ ูงอายใุ นชุมชนในเวทีต่างๆ ทาให้ผู้นาชุมชนเห็นความสาคญั ของการพฒั นาคุณภาพ
ชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนมากข้ึน กลุ่มหรือหน่วยงานในชุมชนได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ของ
กองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพระดบั พนื้ ท่ี เพอ่ื จัดทากจิ กรรมต่างๆของผู้สงู อายุทุกปี

๑๐๖

จัดให้ชมรมผู้สูงอายุประกอบกิจกรรม เพ่ือส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ พบว่า สานักงาน
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดพะเยา สนับสนุนงบประมาณให้กับพื้นท่ีต่างๆ
ในจังหวัดพะเยา เพ่ือให้นามาจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
พะเยา ได้จัดให้ชมรมผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา มีกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพ ตามหลัก ๖ อ. คือ
๑) อาหาร ๒) ออกกาลังกาย ๓) อารมณ์ ๔) อนามัยส่ิงแวดล้อม ๕) อโรคยา และ๖) อบายมขุ

ศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา มีการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เช่น
อบรม ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ การบริหารข้อเข่า สุขภาพปากและฟัน เป็นต้น
โรงเรียนผู้สูงอายุพุฒิภัทร ศูนย์เรียนรู้ผู้สูงวัย วัดแม่กาห้วยเคียน จะประกอบกิจกรรม เพ่ือส่งเสริม
สุขภาพของผู้สูงอายุ คือ การออกกาลังกายในรูปแบบต่างๆ เช่น การเต้น ราวงย้อนยุค มีการรวมตัว
กันประมาณเวลา ๑๖.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. ในวันพระจะมีวิทยากรจากหลายท่ีไปจัดกิจกรรม เช่น
ถ้าวิทยากรมากจากวิทยาลัยพะเยาบรมราชชนนี ก็จะเป็นเร่ืองของการตรวจสุขภาพเบื้องต้น ถ้าเป็น
คณะสาธารสุขจากมหาวิทยาลัยพะเยา ก็จะเป็นเร่ืองของการส่งเสริมการออกกาลังกายเบ้ืองต้น
คณะรัฐศาสตรม์ หาวิทยาลยั พะเยาไปจดั กิจกรรม ก็จะเปน็ เร่ืองการแตง่ ตัว การทาบายศรี

เทศบาลตาบลป่าแฝก เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์ ส่งเสริมผู้สูงอายุรวมกลุ่ม เพื่อทา
กิจกรรมร่วมกัน เช่น ราไม้พองผู้สูงอายุ ป่ันจักรยาน เล่นกีฬา และส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพร
เทศบาลตาบลศรีถ้อย จัดกิจกรรม คือ ๑) ดนตรีบาบัด ใช้ดนตรี เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ผ่อนคลาย
๒) อาหารเป็นยา มีการให้ความรู้เก่ียวกับอาหารท่ีเป็นยา ๓) ปลูกพืชสมุนไพรเพื่อจัดทาลูกประคบ
และ ๔) อบรมให้ความรู้ การดูแลผู้สูงอายุในบ้าน เทศบาลตาบลแม่ใจ จัดกิจกรรม คือ ส่งเสริมให้
ผู้สูงอายอุ อกกาลงั กายเพื่อสขุ ภาพ มีการราวงยอ้ นยุค เดิน ว่งิ เพอ่ื สุขภาพ เปน็ ต้น เทศบาลตาบลบ้าน
เหล่า จัดกิจกรรม คือ ๑) จัดต้ังกลุ่มเงินออม เพื่อช่วยเพ่ือน ๒) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชมรม
ผู้สูงอายุ ๓) ส่งเสริมภูมิปัญญาด้านต่างๆ ๔) จัดกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ เพ่ือส่งเสริมสุขภาพกาย
และจิตใจ และ ๕) ส่งเสริมการออกกาลังกายที่เหมาะสม และเทศบาลรวมใจพัฒนา จัดกิจกรรมตาม
ความต้องการของผสู้ ูงอายุ ซ่งึ บรู ณาการหลายหนว่ ยงาน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพสต.) โรงเรียน วัด ศูนย์เรียนรู้ตามอัธยาศัย(กศน.)
กจิ กรรมส่งเสริมสขุ ภาพการออกกาลงั สาหรบั ผสู้ ูงอายุในปีท่ผี ่านมา อาทิ ๑) กิจกรรมส่งเสริมการออก
กาลังของผู้สูงอายุ ๒) อบรมความรู้การดูแลตัวเองสาหรับผู้สูงอายุ ๓) กิจกรรมดนตรีสร้างสุข
(อังกะลุง) ๔) กิจกรรมส่งเสริมอาชีพตามความสนใจของผู้สูงอายุ เช่น ทาสมุนไพร เหรียญโปรยทาน
๕) ส่งเสริมการสร้างคุณคา่ ให้ตนเอง ๖) การตรวจเบาหวาน ความดัน มะเร็ง สาหรับผู้ปว่ ยสงู อายุ ๗)
การเรียนรู้ และนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิต และ ๘) ธรรมะเพื่อชีวิต
สาหรับผู้สูงอายุและชมรมผู้สูงอายุ ได้มีการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ ดังน้ี การออกกาลังที่
เหมาะสมกับวยั ผู้สูงอายุ การเดนิ -วิง่ เพอื่ สขุ ภาพ ราไม้พอง ราวงยอ้ นยคุ และการปัน่ จักยาน เปน็ ตน้

๕.๑.๓ วตั ถปุ ระสงค์ ขอ้ ที่ ๓ การเสรมิ สรา้ งเครอื ข่ายองค์กรดา้ นสขุ ภาวะของผสู้ งู อายุ
ในจังหวดั พะเยา พบวา่ การประสานความช่วยเหลือจากชมรมผู้สูงอายุในชุมชน องค์กรภาครัฐ และ
เอกชน สานักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ เป็นหนว่ ยงานในระดับภูมภิ าคท่รี ับนโยบาย
จากกระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในพื้นที่ และการทางานต้องมีเครือข่ายท้ัง

๑๐๗

หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน การประสานงานกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน(อปท.)
ท่เี ป็นหน่วยงานใกลช้ ิดกับกลุ่มเป้าหมายซึง่ รวมถงึ กลุ่มผู้สูงอายุด้วย สานักงานสาธารสขุ จงั หวัดพะเยา
ได้ประสานความช่วยเหลือ โดยผ่านทางหน่วยงานในกากับของกระทรวง สาธารณสุขอาเภอ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพ.สต.) ในการดาเนินงาน ทางาน ร่วมกับสาขาสมาคมผู้สูงอายุ
แห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ประจาจังหวัดพะเยา และ
ศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแมต่ า ไดม้ ีส่วนช่วยเหลือในการเป็นผู้ติดต่อ ประสานงาน กับหน่วยงาน
และองค์กรที่จัดกิจกรรมให้กับชมรมผู้สูงอายุ สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
กรมผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลตาบล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตพะเยา มหาวิทยาลัยพะเยา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพ.สต.) อาสาสมัคร
สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) และสานักงานประกันและส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ เทศบาลตาบล
ป่าแฝก สนับสนุนให้ผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรมในระดับอาเภอ และจังหวัดอย่างต่อเนื่อง ขอรับการ
สงเคราะห์ครอบครัว โดยประสานสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพะเยา
(พมจ. พะเยา) ในการให้ความช่วยเหลือเงนิ สงเคราะห์ครอบครัวผู้สูงอายุ และจดั ทาโครงการปรบั ปรุง
สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้กับคนพิการ และผู้สูงอายุในการปรับปรุงบ้าน ห้องน้า ให้กับผู้สูงอายุท่ี
พิการ โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก กองทุนฟ้ืนฟูสมรรถภาพท่ีจาเป็นต่อสุขภาพจังหวัด
พะเยา เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์ มีการประสานงานกับผู้สูงอายุหมู่บ้าน เน้นการมีส่วนร่วมให้
ผ้สู ูงอายุเข้ามาร่วมกิจกรรม รว่ มคดิ ร่วมทา ดาเนนิ งาน เทศบาลตาบลศรีถอ้ ย ให้ชมรมผู้สูงอายุ และ
หน่วยงานต่างๆ เข้ามาพูดคุย(แบบไมเ่ ป็นทางการ) ในเรอื่ งต่างๆ เช่น ส่งเสริมการคัดแยกขยะ โดยจัด
กิจกรรมขยะให้ผู้สูงอายุ เพ่ือเป็นหน่วยงานการคัดแยกขยะในชุมชน และวางแผนการดาเนินงาน
รว่ มกนั

เทศบาลตาบลแม่ใจ โรงพยาบาลแม่ใจ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่ใจ
เข้ามาสนับสนนุ ให้ความช่วยเหลือในเร่ืองต่างๆ เชน่ เปน็ วิทยากรใหค้ วามรเู้ รื่องสุขภาพของผู้สูงอายุ
รวมถึงการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เทศบาลตาบลบ้านเหล่า ได้ประสานงบประมาณจาก สสส.
เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ในพื้นท่ี และประสานการช่วยเหลือจาก สานักงานพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดพะเยา (พมจ. พะเยา) ด้านที่อยู่อาศัย อุปกรณ์ และเทศบาลตาบลรวม
ใจพัฒนา ได้ประสานความชว่ ยเหลอื คอื ๑) ด้านบุคลากร และหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เชน่ โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพสต.) ศูนย์การเรียนรู้ตามอัธยาศัย(กศน.) ๒) สถานท่ี ใช้ส่วนของสานักงาน
เทศบาลรวมใจพัฒนา ๓) งบประมาณ จากกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ตามโครงการการพัฒนาแบบนวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และงบประมาณของ
เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา ๔) ประสานการช่วยเหลือสงเคราะห์ จากสานักงานพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์ จังหวัดพะเยา ศูนย์พัฒนาชาวเขา มูลนิธิธรรมนัส และ ๕) อาสาสมัครดูแล
ผู้สูงอายุที่บ้าน (อผส.) และ อาสาพัฒนาชุมชน (อพม.) ในพ้ืนท่ีในการดูแลผู้สูงอายุ และหน่วยงานท่ี
เข้ามาให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน และให้งบประมาณเพื่อนามาจัดกิจกรรมต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็น
หนว่ ยงานเทศบาลตาบลของแต่ละชมรม

การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุ พบว่า หน่วยงานภาครัฐทั้ง
๓ แห่ง ให้การสนับสนุนงบประมาณ สนับสนุนองค์ความรู้กับเครือข่าย กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุใน

๑๐๘

ชุมชน มีเครือข่ายการพัฒนาผู้สูงอายุในด้านสุขภาพ มีกลุ่มจัดกิจกรรม และเน้นการเสริมสร้าง
สขุ ภาพกาย สุขภาพจติ ใจ ตามเกณฑ์การพัฒนาชมรมผสู้ ูงอายุสุขภาพ ประกอบด้วย ๑) มสี ุขภาพดีทั้ง
ร่างกาย จิตใจ และสังคม ๒) มีฟันที่ใช้งานได้อย่างเหมาะสม ๓) มีดัชนีมวลกาย หรือรอบเอว อยู่ใน
เกณฑ์ปกติ และ ๔) มพี ฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพใหอ้ ายุยืนยาวอยา่ งมคี ุณภาพ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตพะเยา จัดการองค์ความรู้ เพอื่ ศึกษา
สภาพปัญหา แนวทาง วธิ ีทาง เพื่อทาให้เกิดความยั่งยนื อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และมหาวิทยาลัยพะเยา
กาลังดาเนินการทาเป็นหลักสูตรการเรียนการสอน แบ่งเป็น ๒ ส่วน ส่วนที่ ๑ เป็นภาคทฤษฎี/ภาค
วิชาการ ประกอบด้วย วิชาสังคมศึกษา ศาสนา ภาษาเพ่ือการสื่อสารพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ
และถ่ายทอดภูมิปัญญาไทย ส่วนท่ี ๒ ภาคปฏิบัติ/กิจกรรม จัดกิจกรรมเรียนรู้ตามอัธยาศัยของ
ผูส้ ูงอายุ

เทศบาลตาบลป่าแฝก ส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้าน ให้ความสาคัญกับการ
ดูแลตัวเอง และส่งเสริมให้มีการออกเย่ียมเยียนผู้สูงอายุด้วยกัน โดยไม่ต้องใช้งบประมาณ เพ่ือให้
กาลังใจซึ่งกันและกัน ในยามว่าง เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์ ได้สร้างเครือข่ายผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
เชื่อมโยงไปยังตาบลใกล้เคียงเข้ารว่ มชมรมผู้สูงอายอุ าเภอ เพ่ือขับเคล่อื นฐานผู้สูงอายุ สรา้ งเครือข่าย
ประสานงานในระดับหมูบ้าน ตาบล เพื่อทาประโยชน์ต่อชุมชน สังคม เทศบาลตาบลศรีถ้อยให้
เครือข่ายมีส่วนร่วมในการส่งเสริมกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุ มีส่วนร่วมในการดาเนินงานของชุมชนใน
ทกุ ๆ เร่อื ง และเน้นการพ่งึ พาตนเอง การผลกั ดันกจิ กรรมสาธารณะใหผ้ ู้สงู อายดุ ูแลซ่งึ กนั และกัน ดา้ น
สุขภาพ และดา้ นอ่ืนๆ เทศบาลตาบลแม่ใจ ประสานสานักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
จังหวัดพะเยา (พมจ. พะเยา) ความช่วยเหลือเงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุ เทศบาลตาบลบ้านเหล่า มีการ
พัฒนา ข้อมูลของผู้สูงอายุ พัฒนากิจกรรมต่างๆ ส่งเสริมสุขภาวะในกลุ่มผู้สูงอายุ และจัดทาส่ือ
ประชาสัมพันธ์เป็นเอกสาร และทางเว็บไซต์ และเทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา ได้จัดการความรู้และ
เครือข่ายองค์กรสุขภาวะผู้สูงอายุ คือ จัดต้ังคณะทางานขับเคล่ือนการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน จัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสริมอาชีพของผู้สูงอายุ คือ การพัฒนาศักยภาพ การพัฒนา
สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อผู้สูงอายุ การพัฒนาระบบบริการ การจัดตั้งกองทุน หรือจัดให้มีสวัสดิการ
ช่วยเหลือกัน ใช้ข้อมูลในการส่งเสริม แก้ไขปัญหาผู้สูงอายุ และการพัฒนากฎกติกา ระเบียบ
แนวปฏิบตั ิ เพ่ือส่งเสริมสุขภาพของผสู้ ูงอายุ

๕.๒ อภปิ รายผล

จากการศึกษา การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จังหวัดพะเยา แบ่งออกเปน็ ๓ ขอ้ ใหญ่ ตามวัตถุประสงคข์ องการวิจยั ผูว้ จิ ยั อภปิ รายผลได้ ดังนี้

๕.๒.๑ วัตถุประสงค์ข้อท่ี ๑ วิเคราะห์การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะ
ของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา สามารถอภิปรายผลการวิจัย ได้ดังน้ี ๑) ได้มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยน
ความร้ใู นสมาชกิ ชมรมผสู้ ูงอายุ หรือหน่วยงานอืน่ ๆ ได้ทาการสนับสนุน ๒) จดั ประกวดชมรมผสู้ ูงอายุ
ดีเด่น เพ่ือให้เป็นแหล่งถ่ายอดความรู้ ซ่ึงกันและกัน/แชร์ความรู้ ๓) ผู้นาเห็นความสาคัญ โดยเข้า

๑๐๙

มาร่วมกิจกรรมนั้นๆ พร้อมท้ังสนับสนุนงบประมาณ ๔) กิจกรรมเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ โดยอบรมใน
เรอื่ งของการดแู ลสุขภาพกาย และสุขภาพใจ ๕) การจดั การความร้แู ละเครอื ขา่ ยสขุ ภาวะของผู้สูงอายุ
สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั พะเยาเป็นเครือขา่ ยพัฒนาดา้ นสขุ ภาพจิต

กล่าวได้ว่าการจัดการความรู้ของชมรมผู้สูงอายุ วัดแม่กาห้วยเคียน ชมรมผู้สูงอายุตาบล
ปา่ แฝก ชมรมผู้สูงอายตุ าบลแม่ใจ และชมรมผู้สูงอายุตาบลแม่ตา เป็นไปตามกระบวนการการจัดการ
ความรู้ ๗ ข้ัน คือ ๑) องค์กรสุขภาวะมีการบ่งช้ีความรู้ตัวเอง เช่น มีความรู้เรื่องการประดิษฐ์ดอกไม้
เย็บปักถักร้อย จักสาน งานฝีมือต่างๆ การทาลูกประคบ และการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้องและ
เหมาะสม ๒) มกี ารสร้างและแสวงหาความรู้ โดยการเชญิ ผูท้ รงคุณวุฒิจากหน่วยงานหรือองคก์ รต่างๆ
มาเปน็ วทิ ยากรให้ความรู้ สอดคล้องกบั วลัยพร นนั ทศ์ ุภวัฒน์ และคณะ๑ ทวี่ ่า ผู้สูงอายุควรมีความรู้
ความเข้าใจเก่ียวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การดูแลสุขภาพเม่ือเจ็บไข้ได้ป่วย ๓) การจัดระบบข้อมูล
ความรู้ คือมีการจัดหมวดหมู่ความรู้ โดยเปิดเป็นโรงเรียนผู้สูงอายุพุฒิภัทร มีคณาจารย์และนิสิต
จิตอาสาจากมหาวิทยาลัยพะเยา เข้าไปจัดการเรียนการสอนช่วงเช้าจะมีการสอนในกลุ่มวิชา
ภาษาไทย ศาสนา และช่วงบ่ายเป็นกิจกรรมตามอัธยาศัย เช่น งานฝีมือ จักสาน งานประดิษฐ์ต่างๆ
๔) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ ชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กาห้วยเคียน กาลังดาเนินการทาหลักสูตร
การเรียนการสอน สอดคล้องกับ อาชัญญา รัตนอุบล และคณะ๒ ท่ีว่าควรจะส่งเสริมและจัดบริการ
การศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิตทั้งการศึกษานอกระบบ ในระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยสร้าง
หลักสูตรการเตรียมความพร้อมเมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ โดยเพิ่มความรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ให้ทันต่อ
การเปล่ียนแปลงของโลก ๕) การเข้าถึงความรู้ ซ่ึงชมรมผู้สูงอายุท้ัง ๔ แห่ง ได้นาผู้สูงอายุไปศึกษาดู
งานตามสถานที่ต่างๆ ท้ังในจังหวัดใกล้เคียงและต่างจังหวัด ๖) การแบ่งปันแลกเปล่ียนความรู้ เช่น
ได้มกี ารพบปะ พูดคยุ แลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ันอยู่เสมอท้งั ในชมรม และระหวา่ งชมรม ๗) การเรยี นรขู้ อง
ชมรมผู้สูงอายุ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ เย็บปักถักร้อย จักสาน งานฝีมือต่างๆ การทาลูกประคบน้ัน
สามารถนาไปวางจาหน่าย และหารายได้เสริมให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ สอดคล้องกับ สุทธิพงศ์ บุญผดุง๓
ท่ีว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังมีความต้องการประกอบอาชีพเสริมเพ่ือสร้างรายได้ เพ่ือไม่ต้องพ่ึงพิงจาก
ลูกหลาน สามารถใช้จา่ ยในเรือ่ งตา่ งๆ ได้ด้วยตนเอง

ซ่ึงเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
เครือขายภายใน คือ เทศบาลตาบล โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพสต.)
วดั โรงเรยี น มหาวิทยาลัย ศูนย์การเรียนรตู้ ามอธั ยาศยั (กศน.) ขณะเดียวกันชมรมผสู้ งู อายุทง้ั ๔ แห่ง
ก็ได้มีหน่วยงานภายนอกก็ได้เข้ามาสนับสนุนเช่นกัน ซึ่งท้ังเครือข่ายภายในและเครือข่ายภายนอก

๑ วลัยพร นันท์ศุภวัฒน์ และคณะ, โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ, (คณะพยาบาลศาสตร์:
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ๒๕๔๘), หน้า ๕.

๒ อาชัญญา รัตนอุบล และคณะ, การศึกษาสภาพปัญหาความต้องการ และรูปแบบการจัดการทาง
การศึกษาความต้องการ และรูปแบบการจัดกิจกรรมทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเตรียมความพร้อม เม่ือเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของผู้ใหญ่วัยแรงงาน ,
(กรงุ เทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๒), บทคดั ย่อ.

๓ สุทธิพงศ์ บุญผดุง, การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลัก
เศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑), (กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา, ๒๕๕๔), หน้า ๘๓.

๑๑๐

ต้องมีการรับรู้มุมมองร่วมกัน มีวิสัยทัศน์ที่ตรงกัน มีการจัดการร่วมกัน มีการเสริมสร้างซ่ึงกันและกัน
พ่ึงพาอาศัยกัน รวมถงึ มปี ฏสิ ัมพันธ์เชงิ แลกเปล่ียนต่อกัน ซ่ึงสอดคล้องกบั วัชพลประสิทธ์ิ ก้อนแกว้ ๔
ท่ีว่า หน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจประเด็นด้านผู้สูงอายุมากขึ้น ฐานข้อมูลด้านผู้สูงอายุมีเพ่ิมขึ้น
รวมทั้งหน่วยงานต่างๆ พยายามปรับข้อมูลให้ทันสมัยเป็นระยะๆ ในด้านการบริหารจัดการ มีความ
พยายามในการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ โดยสานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุพยายาม
ผลักดนั ให้หน่วยงานตา่ งๆ มีการปรบั แผนและแปลงแผนผู้สูงอายุไปสกู่ ารปฏิบัติ มีความพยายามเช่อื ม
งานดา้ นผูส้ ูงอายุไปสสู่ ่วนภมู ิภาคและส่วนท้องถิ่น

๕.๒.๒ วัตถุประสงค์ขอ้ ที่ ๒ การจัดการความรู้ในการเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุ
ในจังหวัดพะเยา สามารถอภิปรายผลการวิจัย ได้ว่า ผู้สูงอายุสามารถดาเนินการจัดการใน ๔ ด้าน
คือ ๑) ด้านกายภาพ คือ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุดูออกกาลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัย และ
รักษาสุขภาพตนเอง สอคล้องกับ สุพร คูหา๕ ท่ีว่าควรให้ความสาคัญในการปรับปรุงคุณภาพชีวิต
ทางด้านร่างกายของผู้สูงอายุ ๒) ด้านศลี คือ ทาใหผ้ ู้สูงอายุไปทาบุญ ใส่บาตรที่วัด ประพฤตติ นอยู่ใน
ความสารวม ๓) ด้านจิต คือ มกี ารไหวพ้ ระสวดมนต์ เพื่อให้จติ ในสงบ มีสมาธิ ๔) ด้านปัญญา คอื ให้
รู้ทันโลกทันเหตุการณ์ในปัจจุบัน สอดคล้องกับ สุทธิพงศ์ บุญผดุง๖ ท่ีว่า ควรจัดกิจกรรมเพ่ือให้
ผู้สูงอายุเข้าร่วม เช่น กิจกรรมทางศาสนา การทาบุญ งานประเพณีวันสาคัญต่างๆ โดยชุมชนร่วมกับ
โรงเรียน การจัดกิจกรรมท่ีให้ผสู้ ูงอายแุ สดงออก เชน่ การรอ้ งราทาเพลง การพบปะพดู คยุ แสดงความ
คิดเห็น เป็นต้น ซึ่งการจัดการความรู้ท้ัง ๔ ด้าน คือ กาย ศีล จิต และปัญญา ใช้วิธีการสร้างความ
ตระหนักในเทศบาลตาบล หรือหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้องเขา้ มาจัดเวที จดั อบรม และใหค้ วามรแู้ ก่ผู้สูงอายุ

๕.๒.๓ วัตถุประสงค์ข้อที่ ๓ เสริมสร้างเครือข่ายองค์กรด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จังหวัดพะเยา สามารถอภิปรายผลการวิจัย ได้ว่าองค์กรสุขภาวะผู้สูงอายุ จะมีผลลัพธ์ท่ีดีน้ันต้องมี
วิสัยทัศน์ กิจกรรม หรือโครงการต่างๆ อย่างเป็นกระบวนการตามกระบวนการจัดการความรู้ ๗ ข้ัน
คือ มีการบ่งชี้ความร้ตู วั เอง มกี ารสร้างและแสวงหาความรู้ มกี ารจัดระบบข้อมูลความรู้ มกี ารประมวล
และกลั่นกรองความรู้ มกี ารเข้าถึงความรู้ มีการแบง่ ปันแลกเปล่ียนความรู้ และมีการเรียนรู้ของชมรม
ผู้สูงอายุ และการดาเนินการเครือข่าย ๔ ข้ันตอน โดยที่โรงเรียน มหาวิทยาลัย ทต. รพสต. ฯลฯ
มีการปรึกษาหารือกัน จัดสรรงบประมาณสนับสนุนชมรมผู้สูงอายุ ติดตามผลที่ได้ทา และร่วมกัน
ประเมินผล จนนาไปสู่การได้ความรู้เพื่อนาไปพัฒนาตนเองต่อไป การท่ีชมรมผู้สูงอายุจะเติบโตได้นั้น
จะต้องมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ มีเครือข่ายท่ีดี มีวิถีท้องถิ่น/วัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีดี และต้องมี

๔ วัชพลประสิทธ์ิ ก้อนแก้ว, พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่อาศัยในเขตเทศบาลตาบล
คลองตาหรุ อาเภอเมืองชลบรุ ี, (วิทยาลัยการบรหิ ารรฐั กจิ : มหาวิทยาลยั บรู พา, ๒๕๕๗), หนา้ ๔๓.

๕ สุพร คูหา, แนวทางการปรับปรุงคุณภาพชวี ิตผู้สูงอายุของเทศบาลตาบลหนองขาว อาเภอท่าม่วง
จงั หวัดกาญจนบุรี, (ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ , ๒๕๕๒), อดั สาเนา.

๖ สุทธิพงศ์ บุญผดุง, การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ินโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลัก
เศรษฐกจิ พอเพยี ง (ระยะท่ี ๑), (กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา, ๒๕๕๔), หน้า ๘๓.

๑๑๑

หน่วยงานภาครัฐ หรือองค์กรต่างๆ สนับสนุนด้วย ซึ่งสอดคล้องกับ โปรดปราน เพชรสด๗ ที่ว่า
หน่วยงานราชการ ภาครัฐ ควรสนับสนุนส่งเสริมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้รจู้ ักปรับตัวต่อ
สถานการณ์ท่ีมีความเปลี่ยนแปลง เพ่ือให้สามารถรับมือกับการดารงชีวิต ท้ังด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ
สังคม สิ่งแวดล้อม สามารถเรียนรู้ เข้าใจ ยอมรับ และปรับตวั ใหก้ รมกลนื เพ่ือใหส้ ามารถดารงชีวิตอยู่
กับครอบครัวและสงั คมได้อย่างมคี ุณคา่ และมีความความสขุ

อย่างไรก็ตาม การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัด
พะเยา จะต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน เพื่อผลักดันให้เกิดการดาเนินงานอย่างมี
ประสิทธิภาพต้องพัฒนานโยบาย กลไก และการจัดการในพ้ืนที่ โดยการเสริมกลไกประสานในระดับ
พน้ื ที่ (จังหวัด อาเภอ หรือตาบล) และสรา้ งมาตรฐานงาน ตัวชี้วัดการทางาน ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนที่
มุ่งเน้นให้เกิดแนวทางสาคัญในการดาเนินงาน ระบบดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยใช้โรงพยาบาล
ตาบลส่งเสริมสุขภาพ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน เป็นหลักในการจัดการ และ
ให้บริการโดยมีหน่วยงาน องค์กร ชุมชน ให้การสนับสนุน และควรส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีชีวิตความ
เป็นอยู่ท่ีปราศจากสภาวะการพ่ึงพาให้นานท่ีสุด โดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพท่ีเหมาะสม
การส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์ท้ังด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านโภชนาการการออกกาลัง
กาย พัฒนาผู้สูงอายุให้เป็นคนท่ีมีคุณภาพ มีคุณค่า สามารถปรับตัวเท่าทันการเปล่ียนแปลง โดย
สง่ เสริมและสนับสนุนให้มีการนาความรู้ และประสบการณ์ของผู้สูงอายุมาใช้ประโยชน์แกส่ ังคม และ
ประเทศชาติต่อไป

๕.๓ ข้อเสนอแนะ

จากผลของการศึกษาวิจัย ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะซ่ึงอาจเป็นประโยชน์ต่อนโยบายของรัฐ
การเรยี นการสอน และการทาวจิ ยั ครงั้ ต่อไป

๕.๓.๑ หน่วยงานรัฐควรกาหนดแผน หรือนโยบาย เพ่ือส่งเสริมกิจกรรมผู้สูงอายุ เพ่ือให้
เปน็ ชุมชนสง่ เสริมสุขภาวะผู้สูงอายอุ ย่างยง่ั ยนื

๕.๓.๒ ข้อเสนอแนะในการเรียนการสอน การจัดการความรู้และเครอื ขา่ ยองค์กรสุขภาวะ
ของผู้สูงอายใุ นจังหวดั พะเยา เหมาะแกก่ ารนามาถา่ ยทอดใหก้ ับผสู้ นใจศกึ ษา โดยเฉพาะมหาวทิ ยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ควรตระหนักในประเด็นเหล่านี้ นามาผ่านกระบวนการเรียนการสอนใน
สถานศึกษาให้มากข้ึน

๕.๓.๓ ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป ควรมกี ารวิจัยการบริหารการกาหนดปรชั ญา
การพฒั นาหลักสูตรสาหรบั ผสู้ งู อายุ หรือโรงเรยี นผสู้ ูงอายุในจงั หวดั พะเยา หรอื จงั หวัดอน่ื ๆ

๗ โปรดปราน เพชรสด, แนวโน้มการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เพ่ือรองรับสังคมผู้สูงอายุ
ชมุ ชนบา้ นจารุง จังหวัดระยอง, (ระยอง: มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, ๒๕๕๘), หนา้ ๑๑๘.

บรรณานุกรม

๑. ภาษาบาลี - ไทย :

๑.๑ ขอ้ มูลปฐมภูมิ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณร์ าชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙.

๑.๒ ขอ้ มูลทุตยิ ภูมิ

๑.๑.๑ หนังสอื
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖.

พิมพ์ครั้งท่ี ๔. กรุงเทพมหานคร: เจ. เอส. การพมิ พ,์ ๒๕๔๘.
กระทรวงสาธารณสุข. คู่มอื การดูแลส่งเสรมิ สขุ ภาพผู้สงู อายุ. กรุงเทพมหานคร: องค์การรบั ส่งสินค้า

และพัสดุภณั ฑ์, ๒๕๕๐.
กัญญามน อินหว่าง และคณะ. องค์การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งท่ี ๒. กรุงเทพมหานคร :

สานักพมิ พม์ หาวิทยาลยั เซนตจ์ อห์น, ๒๕๕๐.
กาญจนา แก้วเทพ. เครื่องมือการทางานแนววัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สานักงาน

เลขาธิการสภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพ่ือการพฒั นา, ๒๕๓๘.
เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักดิ์. การจัดการเครือข่ายกลยุทธ์สาคัญสู่ความสาเร็จของการปฏิรูป

การศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร: บริษทั ชคั เชสมเี ดียจากัด, ๒๕๔๓.
ขวัญเมือง แก้วดาเกิง และ นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร. ความฉลาดทางสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร:

นิวธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จากดั , ๒๕๕๔.
คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานผู้สูงอายุแห่งชาติ. แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒

(พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๖๔). กรุงเทพมหานคร: สานกั นายกรฐั มนตร,ี ๒๕๔๕.
จันทรเ์ พญ็ สันตวาจา. แนวคิดพนื้ ฐาน ทฤษฎีและกระบวนการพยาบาล. นนทบุรี: บริษัทธนาเพรส

จากัด, ๒๕๔๘.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. การจดั การองคก์ าร. กรุงเทพมหานคร: ปญั ญาชน, ๒๕๕๑.
ติน ปรัชญพฤทธ์ิ. ทฤษฎีองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานชิ , ๒๕๓๘.
ทองหล่อ วงษ์ธรรมมา. การศึกษาและวิเคราะห์เหตุการณ์โลกปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร :

สานกั พมิ พโ์ อเดียนสโตร,์ [ม.ป.ป.].
ธิตพิ ัฒน์ เอ่ยี มนิรันดร์. หน่วยท่ี ๒ การประยกุ ต์นเิ ทศศาสตรด์ ้านการจดั การความรู้เพอ่ื การพัฒนา

ในประมวลสาระชุดวิชาการประยุกต์นิเทศศาสตร์เพื่อการพัฒนา เล่มท่ี ๑. นนทบุรี:
สาขาวชิ านิเทศศาสตรม์ หาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๔๘.
นภาภรณ์ พิพฒั น์. เปดิ โลกความสขุ Gross National Happiness. กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพ์
มติชน, ๒๕๕๐.

๑๑๓

นรินทร์ แจ่มจารัส. การพัฒนาองค์การ. พิมพ์คร้ังที่ ๔. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์พัฒนาทุนมนุษย์,
๒๕๔๙.

นฤมล นิราธร. การสร้างเครือข่ายการทางาน:ข้อควรพิจารณาบางประการ. กรุงเทพมหานคร :
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร,์ ๒๕๔๒.

น้าทิพย์ วิภาวิน และนงเยาว์ เปรมกมลเนตร. นวัตกรรมห้องสมุดและการจัดการความรู้.
กรุงเทพมหานคร: ศูนยห์ นงั สือจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๑.

ศิริพานิช. กระบวนทัศน์ ทิศทางการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุไทย. สานักงานวิจัยและพัฒนาระบบ
สขุ ภาพชมุ ชน (สพช.), นครปฐม: หา้ งหนุ้ สว่ นจากัด สหพฒั นไพศาล, ๒๕๕๒.

บรรลุ ศิริพานิช และคณะ. ชมรมผู้สูงอายุ : รูปแบการดาเนินการท่ีเหมาะสม. กรุงเทพมหานคร:
ศุภวนชิ การพมิ พ์, ๒๕๔๑.

บญุ ดี บุญญากิจ นงลักษณ์ ประสพสขุ โชคชยั และคณะ. การจัดการความรจู้ ากทฤษฎสี กู่ ารปฏิบัติ.
พิมพค์ ร้งั ที่ ๒. กรงุ เทพมหานคร: สถาบันเพม่ิ พลผลติ แหง่ ชาต,ิ ๒๕๔๘.

พยอม วงศส์ ารศรี. การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พ์สุภา, ๒๕๔๕.
พรธิดา วิเชียรปัญญา. การจัดการความรู้ : พ้ืนฐานและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพมหานคร:

บริษัทเอ็กซ์เปอรเ์ นท็ จากัด, ๒๕๔๗.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร:

บริษัทสหพรน้ิ ตงิ้ แอนดพ์ ับลิสซิง่ , ๒๕๕๑.
พระไพศาล วิสาโล. แลขอบฟ้าเขียว ทางเลือกสาคัญสาหรับอนาคตท่ีกาลังปรากฏเป็นจริง.

กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์โกมลคีมทอง, ๒๕๔๙.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร. เครือข่าย : ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ. กรุงเทพมหานคร:

โครงการเสรมิ สร้างการเรียนร้เู พอ่ื ชมุ ชนเป็นสขุ (สรส.), ๒๕๔๗.
พระราชวรมุนี (ป.อ.ปยุตฺโต). สถาบันสงฆ์กับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมคีมทอง,

๒๕๒๗.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร:

นานมีบุค๊ พับลเิ คช่ันส์ จากดั , ๒๕๔๖.
ละออง สุวิทยาภรณ์. ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุในชนบท กรณีศึกษาเฉพาะอาเภอควนขุน จังหวัด

พัทลงุ . พทั ลงุ : มหาวทิ ยาลยั พทั ลุง, ๒๕๓๔.
ศรเี รือน แกว้ กงั วาน. จิตวทิ ยาพฒั นาการชีวิตทกุ ช่วงวัย. พิมพ์ครัง้ ท๗ี่ . กรุงเทพมหานคร:สานกั พิมพ์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐.
ศิริวรรณ ศิริบญุ . มิติดา้ นสังคมกับการพัฒนา. สานักงานวิจัยและพฒั นาระบบสขุ ภาพชมุ ชน (สพช.),

กรุงเทพมหานคร: ห้างห้นุ สว่ นจากดั สหพฒั นไพศาล, ๒๕๕๒.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. สุขภาพคนไทย ๒๕๕๖: ปฏิรูปประเทศไทย

ปฏิรูปโครงสรา้ งอานาจเพ่ิมพลังพลเมือง. พิมพ์คร้งั ที่ ๑. นครปฐม: บริษทั อมรินทรพ์ ร้ิน
ติ้งแอนดพ์ ับลิชช่ิง จากดั (มหาชน), ๒๕๕๖.
สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. การดูแลรักษาโรคผู้สูงอายุด้วยการแพทย์ทางเลือก สาหรับบุคลากร
ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข. นนทบรุ :ี กรมการแพทย์, ๒๕๔๗.

๑๑๔

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สรุปสาระสาคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. ๒๕๕๕- ๒๕๕๙. กรุงเทพมหานคร : สหมิตรพ
รนิ้ ตง้ิ แอนดพ์ บั ลชิ ชงิ่ จากัด, ๒๕๕๔.

สานักงานส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๕๖. กรุงเทพมหานคร:
โรงพมิ พ์สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๕๑.

สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการอบรมแกนนาชมรมสร้างสุข
ภาเรื่องการออกกาลังการเพ่ือสุขภาพ อาหารมีคุณค่า ปลอดภัย และการมีสุขภาพจิต
ทดี่ ี สาหรับเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข. กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและวัสดุภัณฑ์
(ร.ส.พ.), ๒๕๔๘.

สามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ.๒๕๕๕. จังหวัดพะเยา. กรุงเทพมหานคร: สานักงานสถิติแห่งชาติ,
๒๕๕๕.

สิรินทร ฉันสิรกิ าญจน. สถานการณ์ องค์ความรเู้ กย่ี วกับการทางานผ้สู ูงอายุแบบบูรณาการ. สานัก
งานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.). กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากัด
สหพฒั นไพศาล, ๒๕๕๒.

สุรพล ดาริห์กุล. ล้านนาสิ่งแวดล้อมสังคม และวัฒนธรรม โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย
องคก์ รการคา้ ครุ ุสภา. กรุงเทพมหานคร: ร่งุ อรณุ พบั ลิซซ่ิงจากัด, ๒๕๔๒.

สุวดี เบญจวงศ์. ผู้สูงอายุ คนแก่และคนชรา : มิติทางสังคมและวัฒนธรรม. มนุษยสังคมสาร:
มหาวิทยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบึง, ๒๕๔๑.

สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ (บรรณาธิการ). การสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๓. สานักนโยบาย
และยทุ ธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสขุ , ๒๕๔๕.

___________. การสาธารณสุขไทย ๒๕๔๘-๒๕๕๐. กรุงเทพมหานคร: องค์การสงเคราะห์ทหาร
ผ่านศกึ , ๒๕๕๐.

เสนาะ ตเิ ยาว์. หลักการบรหิ าร. กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร,์ ๒๕๔๓.
เสรี พงศ์พิศ. เครือข่าย : ยทุ ธวธิ ีเพื่อประชาคมเข้มขน้ ชุมชนเข้มแข็ง. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน

ส่งเสรมิ วิสาหกจิ ชมุ ชน, ๒๕๔๘.
อคิน รพีพัฒน์. การศึกษาและวิเคราะห์ชุมชนในการวิจัยเชิงคุณภาพ,ในอุทัยดุลยเกษม (บก.).

คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อการพัฒนา . ขอนแก่น: สถาบันวิจัยและพัฒนา
มหาวิทยาลัยขอนแกน่ , ๒๕๓๖.
อาภาพร เผ่าวัฒนา สิรินธร กลัมพากร และคณะ. การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคใน
ชมุ ชน : การประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีสู่การปฏิบัติ. พิมพ์คร้ังท่ี ๓. กรุงเทพมหานคร :
คลังนาวทิ ยา, ๒๕๕๖.
อุมาพร ฉัตรวิโรจน์. การสร้างเสริมสุขภาพตามวัย. กาแพงเพชร: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร, ๒๕๕๖.

๑๑๕

๑.๑.๒ บทความ
ชุติมา หฤทัย. “นโยบายชีวิตตามแผนพัฒนาสาธารณสุข” วารสารกองการพยาบาล.

กรุงเทพมหานคร : มปท. ,๒๕๓๑.
บังอร ธรรมศิริ. “ครอบครัวกับการดูแลผู้สูงอายุ”. วารสารการเวก ฉบับนิทรรศการวันเจ้าฟ้า

วิชาการ. คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ,์ ๒๕๔๙.
ประเวศ วะสี. “สุขภาพในฐานะอุดมการณ์ของมนุษย์”. หมออนามัย. ปีท่ี ๙ ฉบับที่ ๖ (พฤษภาคม–

มถิ นุ ายน ๒๕๔๓.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). “สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ”. พุทธจักร. ปีที่ ๕๙ ฉบับที่ ๑๑

(พฤศจิกายน ๒๕๔๘).
วชิ ยั เสนชุม่ และคณะ. “ปัจจัยพยากรณ์บทบาทของสมาชิกครอบครัวในการดแู ลและส่งเสรมิ สขุ ภาพ

ผู้สูงอายุตาบลพะวอ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก”. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ.
ปที ี่ ๕ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๔.

๑.๑.๓ รายงานการวจิ ัย
โปรดปราน เพชรสด. แนวโน้มการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ

ชุมชนบ้านจารุง จังหวัดระยอง. ระยอง: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร,
๒๕๕๘.
พรทิพย์ สุขอดิศัย และคณะ. วิถีชีวิตและแนวทางการมีสุขภาวะของผู้สูงอายุในภาคตะวันออก.
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคมคณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยบรู พา, ๒๕๕๗.
พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ). การศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดเร่ืองสุขภาพแบบองค์รวมใน
พระพุทธศาสนาเถรวาทกับแนวคิดตะวันตก. พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๐.
วลัยพร นันท์ศุภวัฒน์ และคณะ. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ. คณะพยาบาลศาสตร์:
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, ๒๕๔๘.
วัชพลประสิทธ์ิ ก้อนแก้ว. พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุท่ีอาศัยในเขตเทศบาลตาบล
คลองตาหรุ อาเภอเมืองชลบรุ ี. วิทยาลัยการบรหิ ารรัฐกิจ : มหาวิทยาลยั บูรพา, ๒๕๕๗.
สุทธิพงศ์ บุญผดุง. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ินโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา,
๒๕๕๔.
อาชัญญา รัตนอุบล และคณะ. การศึกษาสภาพปัญหาความต้องการ และรูปแบบการจัดการทาง
การศึกษาความต้องการ และรูปแบบการจัดกิจกรรมทางการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเตรียมความพร้อม เมื่อเข้าสู่
สังคมผู้สูงอายุของผู้ใหญ่วัยแรงงาน. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั , ๒๕๕๒.

๑๑๖

๑.๑.๔ ข้อมลู ออนไลน์
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. ประกาศสานกั ทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรือ่ ง จานวน

ราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ ตามหลักฐาน
การทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://stat.bora.dopa.go.th (วนั ท่ีสืบค้น : ๒๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๘)
เขมวไล ธีรสุวรรณจักร. ระบบประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในประเทศไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก : http://www.iceh.or.th (วันที่สืบคน้ : ๖ มกราคม ๒๕๕๙).
ฉัตรกมล สิงห์น้อย. การสร้างสุขภาพและสุขภาวะท่ีดี, เอกสารประกอบการบรรยาย, [ออนไลน์],
เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.scribd.com. (วนั ท่สี บื ค้น : ๖ มกราคม ๒๕๕๙).
ดวงกมล ศักดิ์เลิศสกุล. สุขภาพแบบองค์รวม (Holistic Health). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.oknation.net (วันท่สี บื ค้น : ๖ มกราคม ๒๕๕๙).
วิกพิ ีเดียสารานุกรมไทย. จงั หวดั พะเยา. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www. th.wikipedia.org.
(วันท่สี บื คน้ : ๗ มนี าคม ๒๕๕๙).
วิจารณ์ พานิช. การจัดการความรู้ คืออะไร : ไม่ทาไม่รู้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.
anamai.moph.go.th (วันทส่ี ืบคน้ : ๔ มกราคม ๒๕๕๙).
สานั กง าน สถิ ติแห่ งช าติ . พ ฤ ติ ก ร ร ม สุ ข ภ า พ ผู้ สู ง อ า ยุ . [ออ นไ ลน์ ]. เข้ าถึ งไ ด้จ าก :
http://service.nso.go.th (วนั ทส่ี บื ค้น : วันท่ี ๗ มกราคม ๒๕๕๙).
สานักงานสถิติแห่งชาติ. สารวจประชากรสงู อายุในประเทศไทย. [ม.ป.ท.], ๒๕๕๗.
สานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข. สาระสุขภาพ. [ออนไลน์]. เข้าถึง
ไดจ้ าก : http://www.moph.go.th (วนั ท่ีสบื คน้ ๖ มกราคม ๒๕๕๙).
องค์กร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://sites,google.com. (วันที่สืบค้น : วันที่ ๕ มกราคม
๒๕๕๙).
United Nations. World Economic and Social Survey 2007, Development in an Aging
World. (NewYork: United Nations Publishing Section). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.un.org. (วันท่ีสบื คน้ : วนั ที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๙).

๑.๑.๕ สัมภาษณ์
เกษร ปญั สวุ รรณ์. ผู้อานวยการกองสวัสดกิ ารสงั คม เทศบาลตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จงั หวัดพะเยา.

สมั ภาษณ์, ๒๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๙.
คา ทิพปาละ. เหรัญญิกชมรมผู้สูงอายุตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. สัมภาษณ์,

๒๑ มถิ ุนายน ๒๕๕๙.
เครือวรรณ ธุรเสร็จ. รองประธานชมรมผู้สูงอายุ ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา.

สมั ภาษณ์, ๓๐ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙.
ดวงพร วัชรวงค์วรกุล. นักพัฒนาชุมชน เทศบาลตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา.

สัมภาษณ์, ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๙.

๑๑๗

ถิรายุส์ บาบัด. อาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาชาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย
พะเยา. สัมภาษณ์, ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙.

นวิยา วิชาศิลป์. พยาบาลชานาญการ(วิชาชีพ) ศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา อาเภอเมือง
พะเยา จังหวัดพะเยา. สัมภาษณ,์ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙.

น้อย ศรีสะเกษ. รองประธานชมรมผู้สูงอายุตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. สัมภาษณ์,
๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๙.

บัญชา อุทธโยธา. นักพัฒนาชุมชนชานาญการ เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา อาเภอแม่ใจ
จงั หวัดพะเยา. สัมภาษณ์, ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

บัวหล่ัน พันธว์ งค์. ผสู้ ูงอายตุ าบลแม่ตา อาเภอเมอื งพะเยา จังหวัดพะเยา. สมั ภาษณ์, ๓๐ มถิ ุนายน
๒๕๕๙.

ประทีป ภาชนนท์. นักพัฒนาชุมชน เทศบาลตาบลศรีถ้อย อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. สัมภาษณ์,
๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๙.

ประยงค์ จันทร์แดง,ผศ.ดร. ผู้ช่วยคณบดี คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา.
สัมภาษณ์, ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙.

พรหมมา ปัญญาวรรณ. เลขขาชมรมผู้สูงอายุ ตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. สัมภาษณ์,
๒๐ มถิ ุนายน ๒๕๕๙.

พระครูพศิ าลสรกิจ, ดร. เลขานุการ เจ้าคณะจังหวัดพะเยา และอาจารย์ประจามหาวิทยาลัยมหาจฬุ า
ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา. สัมภาษณ์, ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๙.

พระครูศรีวรพินิจ. ผู้อานวยการสานักงานวิทยาสง์์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตพะเยา. สัมภาษณ์, ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙.

พระครูโสภณปริยัติสุธี (ศรีบรรดร ถิรธมฺโม). ผู้อานวยการสานักงานวิทยาเขตพะเยา มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเจ้าคณะอาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา. สัมภาษณ์,
๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙.

เพ่ง จันทร์สิงหาญ. ที่ปรึกษาชมรมผู้สูงอายุ ตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. สัมภาษณ์,
๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๙.

ภทั รกลุ ไฝเครอื . ผู้อานวยการกองสาธารณสุขและสง่ิ แวดล้อม เทศบาลตาบลบา้ นเหล่า อาเภอแม่ใจ
จงั หวดั พะเยา. สมั ภาษณ์, ๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

วัลลภา ธนู ประสิทธ์ิวัชรากร. นักสังคมสงเคราะห์ชานาญการ สานักงานพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษยจ์ ังหวดั พะเยา. สัมภาษณ์, ๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

สนิท แก้วยาหลา้ . ประธานชมรมผู้สูงอายุ ตาบลแมต่ า อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา. สมั ภาษณ์,
๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

สมิง คานัญญา. รองประธานชมรมผู้สูงอายุ ตาบลแม่ใจ อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. สัมภาษณ์,
๒๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๙.

สาริณีย์ ภาสยะวรรณ. อาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาพัฒนาสังคม
มหาวทิ ยาลัยพะเยา. สัมภาษณ์, ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๑๑๘

สุทิตย์ เสมอเช่ือ. นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา.
สัมภาษณ์, ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๙.

อณู อตุ ตะมา. นักพัฒนาชุมชนชานาญการ เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์ อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา.
สมั ภาษณ์, ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๙.

อ้าย ฉัตรอินต๊ะ. ผู้สูงอายุ ตาบลป่าแฝก อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. สัมภาษณ์, ๒๑ มิถุนายน
๒๕๕๙.

2. ภาษาองั กฤษ :

2.1 Books
Emissions from Fuel Combustion Population. IEA (OECD/World Bank. original

population ref OECD/ World Bank, 2012.
Fayol Henri. General and Industrial Management. London: Sir Isaac Pitman & Sons,

1949.
Griffin Ricky W. Management. Boston, MA: Houghton Mifflin Company, 1999.
Parson Talcott. Administrative Science Quarterly, Effective of Size. Complexity and

Ownership in Administrative Intensity. New York: Holt, Rinchart & Winston,
1960.
Rench, Dereck and Saward Heather. Dictionary of management. New York:
International Publications Service, 1975.
Stoner James AF. Management. New jersey: Prentice-Hall, 1978.
United Nations. We the peoples: the role of the United Nations in the twenty-first
century: the millennium report. New York : United Nations, 2006.

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
บทความการวจิ ยั

การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สงู อายุในจังหวัดพะเยา
Managing Knowledge and Social network Management

of The Senior Health Organization in the Province of Phayao

ผศ.ดร. สเุ ทพ สารบรรณ
Asst.Prof. Dr. Suthep Saraban

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
วทิ ยาเขตพะเยา

Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Phayao Campus

บทคัดยอ่

การวิจยั ครั้งน้มี ีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพ่ือวิเคราะหก์ ารจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กร
สุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา ๒) เพ่ือศึกษาการจัดการความรู้ในการเสริมสร้างสุขภาวะของ
ผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา และ ๓) เพ่ือเสริมสร้างเครือข่ายองค์กรด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จงั หวดั พะเยา

เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาเอกสารและมีการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ๒๕ รูป/
คนท่ีเป็นตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ ๓คน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ๖ รูป/คน หน่วยงานเทศบาล
๖ คน และชมรมผสู้ ูงอายุ ๑๐ คน

ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยาในหลายชุมชนมีการรวมตัวกันในรูปของ
องค์กร เช่น เป็นชมรมหรือโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความรู้ เช่น งานประดิษฐ์
งานฝีมือต่างๆ รวมถึงการดูแลรกั ษาสุขภาพที่ถูกต้อง มีการแสวงหาความรู้โดยการมีเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ
มาเป็นวิทยากรให้ความรู้หรือไปศึกษาดูงานนอกสถานที่ มีการจัดระบบข้อมูลความรู้และการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในชมรมและระหว่างชมรม การดาเนินงานดังกล่าวอาศัยเครือข่ายท้ังภายใน
และภายนอก คือ เครือข่ายภายในได้แก่หน่วยงานต่างๆ ที่มีอยู่ในพ้ืนท่ี เช่น เทศบาล วัด โรงเรียน
และเครือข่ายภายนอกได้แก่หน่วยงานอื่นๆ ที่อยู่ภายนอกเขตพื้นที่ ส่วนการจัดการความรู้ในการ
เสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา พบว่า มีการดาเนินการใน ๔ ด้าน คือ ๑) ด้าน
กายภาพ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายอุ อกกาลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัย ๒) ด้านศลี ให้ผสู้ ูงอายุมี
โอกาสไปทาบุญบาเพ็ญกุศลท่ีวัด ประพฤติตนเป็นแบบอย่างแก่ลูกหลาน ๓) ด้านจิต มีการไหว้พระ
สวดมนต์เพื่อให้จิตสงบมีสมาธิ และ ๔) ด้านปัญญา ให้ความรู้ทัง้ ทางโลกและทางธรรมเพื่อให้รู้ทันโลก

๑๒๑

ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงการจัดการความรู้ท้ัง ๔ ด้านดังกล่าวอาศัยเครือข่ายภายในและเครือข่าย
ภายนอกมาช่วยจัดเวที จัดอบรม และให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ ดังนั้นจึงควรมีการเสริมสร้างเครือข่าย
องค์กรด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุในทุกด้าน เช่น ด้านวิทยากร สถานท่ี งบประมาณ เพ่ือให้การ
ช่วยเหลือชมรมผูส้ ูงอายอุ ยา่ งเตม็ ศักยภาพ
คาหลัก : การจดั การความรู้, เครอื ขา่ ย, องค์กร, สขุ ภาวะของผสู้ ูงอาย,ุ จงั หวัดพะเยา

Abstract

The purposes of this research are to manage the knowledge and social
networking of The Senior Health Organization in the province of Phayao. The three
objectives are the following 1) To analyze knowledge management and enterprise
networks related to the wellbeing of seniors in the province of Phayao. 2) To study
the management of knowledge in enhancing the wellbeing of seniors in the province
of Phayao, and 3) To strengthen the network of organizations related to the wellbeing
of seniors in the province of Phayao.

This research represents a qualitative approach and is based on
documentary research and interviews.

The sample population of 25 persons who provide important information,
3 persons from government agencies, 6 persons from higher educational institutions,
3 persons from government agencies and 10 persons from the local senior club.

The result of the research found that 1) Providing the platform for an
ongoing exchange of knowledge between the club and its members in other
departments is crucial, as well as the exchange of essential knowledge, such as religion,
culture, language, crafts, and the performance of long life ancient religious ceremonies
in a natural outdoor setting. 2) The promotion of senior member lecturers exchanging
and learning from each other or indulging in various projects is likewise of great
importance. It is highly recommended to let elders teach children for example, and
encourage elder members of Putipath (The Putipath school) to study from other
sources. 3) All leaders and all sectors rooted for the importance of senior members
and expressed their support in terms of financial support within the budget as well as
their willingness to support lecturers and sincere willingness to join the activities of
senior members. 4) Coordinating various and suitable activities of the senior club and
encourage good health along the lines of healthy food, exercise, emotional care,
social as well as natural environment care, and support in times of disease. 5) Every
sector coordinates senior citizen assistance with other organizations in matters such as
the need for personal coordinators and lecturers within the limits of the budget in

๑๒๒

order to help senior members. 6) All sectors provide knowledge management within

the corporate network, such as health education concerning the strengthening of

mental health as well as physical health, in other words mental well-being. As for

sustainable health care habits, the University of Phayao and Putiphat (at Wat Maeka

Huay Kiean) manage the curriculum for seniors and MahaChulalongkornrajviddhalya

University, Phayao Campus has developed a course called MCU. Phayao model.

Key word: Managing Knowledge, Social network, Management,

Senior Health Organization, Phayao province.

คานา

การศึกษาวิจัยเร่ืองน้ี เกิดขึ้นจากความสนใจที่จะศึกษา สุขภาวะของผู้สูงอายุซ่ึง
ประเทศไทยมีจานวนผู้สูงอายุเพมิ่ ขึ้นอยา่ งตอ่ เน่ือง และประเทศไทยกาลังเข้าสู่การเป็นสังคมผูส้ ูงอายุ
ซง่ึ จงั หวดั พะเยาเปน็ จังหวัดหนง่ึ ในภาคเหนือตอนบน ท่ีมีประชากรผู้สูงอายุมากถึง ๙๘,๗๔๒ คน และ
มีชมรมผู้สูงอายุ มากถึง ๒๔๔ ชมรม ผู้สูงอายุเหล่าน้ีมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและ
สติปัญญาโดยภาพรวม มีสภาพท่ีเสื่อมโทรมลง การที่พัฒนาการของผู้สงู อายุจะดไี ด้ ส่วนหน่ึงย่อมมา
จากการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเอง และจากคนรอบข้างที่คอยดูแลเอาใจใส่ ซึง่ การเสรมิ สรา้ งสุขภาวะ
ของผู้สูงอายนุ ั้น จะทาใหผ้ ้สู ูงอายุเกิดความสขุ สงบเยน็ ทงั้ ด้านภาวะสขุ ภาพรา่ งกาย และสุขภาพจติ ใจ
จนสามารถพึ่งตนเองได้บ้างตามสมควร และเกิดการยอมรับสภาพความเป็นจริงของชีวิต ซ่ึงจะทาให้
การมีชีวิตในช่วงเวลาท่ีเหลืออยู่ เพื่อเป็นการพักผ่อนปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิดความสงบ
สุขแก่ผู้สูงอายุเอง และการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างปกติ ต้องอาศัยการดาเนินงานของ
หน่วยงานต่างๆ ทุกภาคส่วนในพ้ืนที่ร่วมดาเนินการด้วย ปัญหาท่ีพบในผู้สูงอายุ คือ ปัญหาสุขภาพ
และส่ิงที่จะทาให้ผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา จะมีสุขภาพที่ดีได้น้ัน คือ ควรมีการเสริมสร้างสุขภาวะ
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ กล่าวคือมีสุขภาพองค์ท่ีดีทั้ง
๔ มิติ คือ ๑) มีร่างกายท่ีสมบูรณ์ แข็งแรงปราศจากโรคหรือความเจ็บป่วย ๒) มีสภาวะทางจิตใจที่
แจ่มใส ปลอดโปร่ง ไม่มีความกังวล มีความสุข มีเมตตา ๓) สามารถให้การดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและ
กนั มีความเอื้ออาทร มีความยุติธรรม และ ๔) จิตสัมผัสกบั ส่ิงที่มีบคุ คลยึดม่นั และเคารพสูงสุด ทาให้
เกิดความหวัง ความเชื่อม่ันศรัทธา มีการปฏิบัติในส่ิงท่ีดีงามด้วยความมีเมตตากรุณา ไม่เห็นแก่ตัว มี
ความเสยี สละ และยนิ ดีในการที่ไดม้ องเห็นความสุขหรือความสาเร็จของบุคคลอน่ื แต่ท้ังนี้ก็ตอ้ งอาศัย
การดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ทุกภาคส่วนในพื้นที่ร่วมดาเนินการด้วย รวมทั้งรัฐควรมีการให้
ความสาคัญกับการจัดระบบช่วยเหลือผู้สูงอายุ รวมถึงการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุด้วย ดังน้ัน
เพื่อวิเคราะห์การจัดการความรู้ และเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัด
พะเยา จึงได้ศึกษาการจัดการความรู้ และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จงั หวัดพะเยา ตอ่ ไป

๑๒๓

เครอ่ื งมอื และวิธีการศึกษา

ในการศึกษาการวิจัย เรื่อง การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุ
ใน จังหวัดพะเยา เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) คือ เป็นการศึกษาวิจัยเอกสาร
รายงาน การวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์ประกอบ เป็นการสัมภาษณแ์ บบมีโครงสรา้ งดว้ ยการ
สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยอาศัยแบบสัมภาษณ์ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นตามวัตถุประสงค์
ของการวิจัย ซึ่งเป็นลักษณะของคาถามแบบปลายเปิด ( Open-ended Question) รวมทั้ง
การสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group)

เครื่องมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูลของการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) ซ่ึงรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ด้วยการสัมภาษณ์
เชิงลึก(In-depth Interview) เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ แบบบันทึกการสัมภาษณ์เชิง ลึก
เทปบันทึกเสียง และกล้องถ่ายรูป ซ่ึงผู้วิจัยสร้างแบบสัมภาษณ์ขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ประกอบด้วยคาถามปลายเปิด จานวน ๒ ตอน คือ ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ และ
ตอนท่ี ๒ บทสัมภาษณ์ การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา
มที งั้ หมด ๖ ข้อย่อย

กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชากร จานวน ๒๕ รูป/คน ซึ่งเป็นบุคคลผู้ให้ข้อมูลสาคัญ
จากหน่วยงานภาครัฐ ๓ คน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ๖ รูป/คน หน่วยงานเทศบาล ๖ คน และ
ชมรมผูส้ ูงอายุ ๑๐ คน

วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้นาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ทุกฉบับ มาดาเนินการ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา และสังเคราะห์ในภาพรวมตามกรอบวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ และนา
ขอ้ คิดเห็นต่างๆ ของแต่ละท่านมานาเสนอเป็นรายบุคคล และเสนอผลที่ได้จากการวเิ คราะห์ข้อมูลใน
รูปแบบของการบรรยายตามเนื้อหา โดยจัดเนื้อหาเป็นหมวดหมู่แล้วแบ่งออกเป็นตอนๆ ตาม
วตั ถุประสงค์ของการวิจยั ที่กาหนดไว้

ผลการศกึ ษา

การวิจัย เร่ือง การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จังหวดั พะเยา สามารถสรปุ ผลการวจิ ยั ทไี่ ด้จากการสมั ภาษณจ์ ากกล่มุ ตวั อยา่ ง ซง่ึ เป็นบคุ คลผใู้ หข้ อ้ มูล
สาคัญ จากหน่วยงานภาครฐั สถานศกึ ษาระดับอุดมศึกษา หน่วยงานเทศบาล และชมรมผู้สูงอายุ ตาม
วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ดังน้ี

วัตถุประสงค์ ข้อที่ ๑ การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จงั หวดั พะเยา พบวา่ ชมรมผู้สูงอายุมกี ารจดั เวทีแลกเปล่ียนความรู้ ใหก้ ับสมาชิกชมรมระหว่างชมรม
หรือหน่วยงานอ่ืนๆ หน่วยงานภาครัฐทั้ง ๓ แห่ง มีบทบาทและความสาคัญเป็นอย่างมาก คือ ได้เข้า
มามีส่วนร่วมในการให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน และส่งเสริม ในเร่ืองต่างๆ เช่น ส่งเสริมอาชีพ
ผู้สูงอายุ ดูแลสุขภาพ รวมถึงการจัดกิจกรรม เวทแี ลกเปลี่ยนความรู้ต่างๆ เพื่อถ่ายทอดให้กับสมาชิก
ในชมรม และระหว่างชมรมผู้สูงอายุ ทางมหาวิทยาลัยพะเยามีนักศึกษาจิตอาสา และอาจารย์เข้าไป
สอนผู้สูงอายุ ให้ความรู้ ช่วยเหลือ และสนับสนุน อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.)

๑๒๔

แพทย์ประจาตาบล ศูนย์บริการสาธารณสุขให้ความรู้เก่ียวกับเร่ืองการดแู ลสุขภาพหน่วยงานเทศบาล
ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และจัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ ให้ชมรมผู้สูงอายุของแต่ละตาบล
เช่น เทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา มีกิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนร้ภู ูมิปญั ญาไทยในเวทีพนื้ ที่ กิจกรรม
ศึกษาดูงานเปิดกระบวนทัศน์การเรียนรู้กับโฮงเฮียนผู้สูงอายุในพื้นท่ีอ่ืนๆ คือ โรงเรียนผู้สูงอายุ
เทศบาลตาบลบ้านเหล่า เป็นต้น ส่วนชมรมผู้สูงอายุท้ัง ๓ แห่ง ได้มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้
ให้กับสมาชิกชมรม และระหว่างชมรม เช่น กิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน รวมถึง
กิจกรรมนนั ทนาการตา่ งๆ

การจัดการชมรมผู้สูงอายุเป็นแหลง่ ดงู าน ถ่ายทอดองคค์ วามรใู้ หก้ ับชมรม หรือหน่วยงาน
อ่นื ๆ พบว่า สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดพะเยา ช่วยเหลือเร่ืองสนับสนุน
งบประมาณ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา และศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา ช่วยเรื่อง
ของการจัดกิจกรรมต่างๆ และส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุทุกตาบลในจังหวัดพะเยามีการจัดการชมรม
ผู้สูงอายุ ให้เป็นแหล่งดูงาน ถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้กับชมรม และหน่วยงานอื่นๆ มีการจัดกิจกรรม
แบบโรงเรียนผู้สูงอายุ มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสมาชิกชมรมผู้สูงอายุกันเอง และ
มหาวิทยาลัยพะเยา มีสว่ นร่วมชมรมผู้สูงอายุในรูปแบบของโรงเรยี นผ้สู ูงอายุ “พุฒิภัทร” ศูนย์เรียนรู้
ผู้สูงวัย วัดแม่กาห้วยเคียน มีการจัดเวทีแลกเปล่ียนความรู้ ให้กับสมาชิกชมรมทุกวันพระตลอดท้ังปี
มกี ารจัดการเรียนการสอนให้กับผสู้ ูงอายุ ท้งั ช่วงเช้าและชว่ งบ่าย สว่ นหน่วยงานเทศบาล จดั ให้ชมรม
ผู้สูงอายุมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับสมาชิกชมรม มีกิจกรรมต่างๆ เช่น การออกกาลังกาย
การรวมกลุ่ม การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพผู้สูงอายุ รวมถึงส่งเสรมิ ปราชญช์ าวบ้านถ่ายทอดองคค์ วามรู้ให้กับ
ลูกหลาน

วัตถุประสงค์ ข้อท่ี ๒ การจัดการความรู้ในการเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จังหวัดพะเยา พบว่า ผู้นาชุมชน รวมถึงหน่วยงานภาครัฐทั้ง ๓ แห่ง ให้ความสาคัญในการดูแล
สุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนมากพอสมควร เพราะปัจจุบันผู้สูงอายุมีบทบาทในชุมชนมากข้ึน ดังน้ัน
การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งสาคัญ ทุกภาคส่วนให้ความสาคัญกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ในชุมชน เช่น ชมรมผู้สูงอายุตาบลบ้านถ้า ทางเทศบาลตาบลบ้านถ้า จะมีรถรับ-ส่ง ผู้สูงอายุในตาบล
เมื่อมีกิจกรรมต่างๆ เทศบาลตาบลป่าแฝกได้ใหค้ วามสาคัญกับชมรมผู้สูงอายุเป็นอันดับตน้ ๆ โดยได้มี
การจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุเป็นประจาทุกๆปี เช่น โครงการจัดงานวันกตัญญูผู้สูงอายุ การสนับสนุน
งบประมาณจากกองทุน สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีการ
ออกกาลังกายท่ีถูกวิธี ส่งเสริมการรวมกลุ่มในรูปแบบอื่นๆ เช่น กลุ่มสมุนไพร การทาลูกประคบ การ
ปลูกสมุนไพร การจกั สาน และชมรมฌาปนกิจชมรมผสู้ งู อายุ เป็นต้น เทศบาลตาบลเจรญิ ราษฎร์ และ
ผู้นาชุมชนให้ความสาคัญกับการดูแลสุขภาพขอผู้สูงอายุ โดยการส่งเสริมกิจกรรมการออกกาลังกาย
ออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่เจบ็ ป่วยเรื้อรงั ใหไ้ ด้รับการดูแลที่ถกู ต้อง ส่วนเทศบาลตาบลศรีถ้อย เทศบาล
ตาบลแม่ใจ ให้ความสาคัญกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุให้มากขึ้น และเทศบาลตาบลบ้านเหล่า
ผู้นาชุมชน ให้ความร่วมมือประสานงาน ทากิจกรรมต่างๆ ตลอดจนขอความช่วยเหลือจากหน่วยงาน
อนื่ เทศบาลรวมใจพัฒนา ไดจ้ ัดทาฐานขอ้ มลู ผู้สูงอายุในชุมชน มีเวทีสะทอ้ นปัญหา และสถานการณ์
ของผู้สูงอายุในชุมชนในเวทีต่างๆ ทาให้ผู้นาชุมชนเห็นความสาคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ

๑๒๕

ผู้สูงอายุในชุมชนมากขึ้น กลุ่มหรือหน่วยงานในชุมชนได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ของกองทุน
หลักประกันสขุ ภาพระดับพื้นท่ี เพื่อจัดทากจิ กรรมตา่ งๆของผสู้ งู อายุทุกปี

จัดให้ชมรมผู้สูงอายุประกอบกิจกรรม เพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ พบว่า สานักงาน
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพะเยา สนับสนุนงบประมาณให้กับพ้ืนท่ีต่างๆ
ในจังหวัดพะเยา เพื่อให้นามาจัดกิจกรรมท่ีส่งเสรมิ สุขภาพของผู้สูงอายุ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
พะเยา ได้จัดให้ชมรมผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา มีกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพ ตามหลัก ๖ อ. คือ
๑) อาหาร ๒) ออกกาลังกาย ๓) อารมณ์ ๔) อนามยั สิ่งแวดลอ้ ม ๕) อโรคยา และ๖) อบายมขุ

ศูนย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เช่น
อบรม ให้ความรู้เร่ืองการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ การบริหารข้อเข่า สุขภาพปากและฟัน เป็นต้น
โรงเรียนผู้สูงอายุพุฒิภัทร ศูนย์เรียนรู้ผู้สูงวัย วัดแม่กาห้วยเคียน จะประกอบกิจกรรม เพ่ือส่งเสริม
สุขภาพของผู้สูงอายุ คือ การออกกาลังกายในรูปแบบต่างๆ เช่น การเต้น ราวงย้อนยุค มีการรวมตัว
กันประมาณเวลา ๑๖.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. ในวันพระจะมีวิทยากรจากหลายท่ีไปจัดกิจกรรม เช่น
ถ้าวิทยากรมากจากวิทยาลัยพะเยาบรมราชชนนี ก็จะเป็นเร่ืองของการตรวจสุขภาพเบ้ืองต้น ถ้าเป็น
คณะสาธารสุขจากมหาวิทยาลัยพะเยา ก็จะเป็นเร่ืองของการส่งเสริมการออกกาลังกายเบ้ืองต้น
คณะรฐั ศาสตร์มหาวทิ ยาลัยพะเยาไปจัดกิจกรรม กจ็ ะเป็นเรอ่ื งการแตง่ ตวั การทาบายศรี

เทศบาลตาบลป่าแฝก เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์ ส่งเสริมผู้สูงอายุรวมกลุ่ม เพื่อทา
กิจกรรมร่วมกัน เช่น ราไม้พองผู้สูงอายุ ป่ันจักรยาน เล่นกีฬา และส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพร
เทศบาลตาบลศรีถ้อย จัดกิจกรรม คือ ๑) ดนตรีบาบัด ใช้ดนตรี เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ผ่อนคลาย
๒) อาหารเป็นยา มีการให้ความรู้เก่ียวกับอาหารที่เป็นยา ๓) ปลูกพืชสมุนไพรเพื่อจัดทาลูกประคบ
และ ๔) อบรมให้ความรู้ การดูแลผู้สูงอายุในบ้าน เทศบาลตาบลแม่ใจ จัดกิจกรรม คือ ส่งเสริมให้
ผ้สู ูงอายุออกกาลังกายเพอื่ สุขภาพ มกี ารราวงย้อนยคุ เดิน วิ่ง เพอ่ื สุขภาพ เป็นต้น เทศบาลตาบลบา้ น
เหล่า จัดกิจกรรม คือ ๑) จัดตั้งกลุ่มเงินออม เพื่อช่วยเพ่ือน ๒) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชมรม
ผู้สูงอายุ ๓) ส่งเสริมภูมิปัญญาด้านต่างๆ ๔) จัดกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ เพ่ือส่งเสริมสุขภาพกาย
และจิตใจ และ ๕) ส่งเสริมการออกกาลังกายท่ีเหมาะสม และเทศบาลรวมใจพัฒนา จัดกิจกรรมตาม
ความตอ้ งการของผู้สูงอายุ ซง่ึ บูรณาการหลายหนว่ ยงาน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพสต.) โรงเรียน วัด ศูนย์เรียนรู้ตามอัธยาศัย(กศน.)
กจิ กรรมส่งเสรมิ สุขภาพการออกกาลังสาหรับผู้สงู อายุในปีท่ีผ่านมา อาทิ ๑) กิจกรรมสง่ เสริมการออก
กาลังของผู้สูงอายุ ๒) อบรมความรู้การดูแลตัวเองสาหรับผู้สูงอายุ ๓) กิจกรรมดนตรีสร้างสุข
(อังกะลุง) ๔) กิจกรรมส่งเสริมอาชีพตามความสนใจของผู้สูงอายุ เช่น ทาสมุนไพร เหรียญโปรยทาน
๕) ส่งเสริมการสร้างคุณคา่ ให้ตนเอง ๖) การตรวจเบาหวาน ความดัน มะเร็ง สาหรับผู้ป่วยสูงอายุ ๗)
การเรียนรู้ และนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิต และ ๘) ธรรมะเพ่ือชีวิต
สาหรับผู้สูงอายุและชมรมผู้สูงอายุ ได้มีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ดังนี้ การออกกาลังท่ี
เหมาะสมกบั วยั ผ้สู ูงอายุ การเดิน-วงิ่ เพอื่ สุขภาพ ราไม้พอง ราวงย้อนยุค และการปน่ั จกั ยาน เปน็ ตน้

วัตถุประสงค์ ข้อที่ ๓ การเสริมสร้างเครือข่ายองค์กรด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จังหวัดพะเยา พบว่า การประสานความช่วยเหลือจากชมรมผู้สูงอายุในชุมชน องค์กรภาครัฐ และ
เอกชน สานักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ เปน็ หนว่ ยงานในระดับภูมภิ าคที่รับนโยบาย

๑๒๖

จากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในพื้นที่ และการทางานต้องมีเครือข่ายท้ัง
หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน การประสานงานกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ (อปท.)
ที่เป็นหน่วยงานใกล้ชิดกับกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงรวมถึงกลุ่มผู้สูงอายุด้วย สานักงานสาธารสุขจังหวัด
พะเยา ได้ประสานความช่วยเหลือ โดยผ่านทางหน่วยงานในกากับของกระทรวงสาธารณสุขอาเภอ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพ.สต.) ในการดาเนินงาน ทางาน ร่วมกับสาขาสมาคมผู้สูงอายุ
แห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ประจาจังหวัดพะเยา และ
ศนู ย์บริการสาธารณสุขตาบลแม่ตา ได้มีส่วนช่วยเหลือในการเป็นผู้ติดต่อ ประสานงาน กับหน่วยงาน
และองค์กรท่ีจัดกิจกรรมให้กับชมรมผู้สูงอายุ สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ กรม
ผู้สงู อายุ องค์การบริหารสว่ นจังหวัด เทศบาลตาบล มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยา
เขตพะเยา มหาวิทยาลัยพะเยา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพ.สต.) อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหมู่บ้าน(อสม.) และสานักงานประกันและส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ เทศบาลตาบลป่าแฝก
สนับสนุนให้ผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรมในระดับอาเภอ และจังหวัดอยา่ งต่อเนื่อง ขอรบั การสงเคราะห์
ครอบครัว โดยประสานสานักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวัดพะเยา (พมจ. พะเยา)
ในการให้ความช่วยเหลือเงินสงเคราะห์ครอบครัวผ้สู ูงอายุ และจัดทาโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม
ท่ีอยู่อาศัยให้กับคนพิการ และผู้สูงอายุในการปรับปรุงบ้าน ห้องน้า ให้กับผู้สูงอายุที่พิการ โดยขอรับ
การสนับสนุนงบประมาณจาก กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จาเป็นต่อสุขภาพจังหวัดพะเยา เทศบาล
ตาบลเจริญราษฎร์ มีการประสานงานกับผู้สูงอายุหมู่บ้าน เน้นการมีส่วนร่วมให้ผู้สูงอายุเข้ามาร่วม
กิจกรรม ร่วมคิด รว่ มทา ดาเนนิ งาน เทศบาลตาบลศรถี อ้ ย ใหช้ มรมผู้สงู อายุ และหน่วยงานต่างๆ เข้า
มาพูดคุย(แบบไม่เป็นทางการ) ในเร่ืองต่างๆ เช่น ส่งเสริมการคัดแยกขยะ โดยจัดกิจกรรมขยะให้
ผสู้ งู อายุ เพอ่ื เป็นหนว่ ยงานการคดั แยกขยะในชมุ ชน และวางแผนการดาเนินงานร่วมกัน

เทศบาลตาบลแม่ใจ โรงพยาบาลแม่ใจ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่ใจ
เข้ามาสนับสนุน ใหค้ วามช่วยเหลือในเร่ืองต่างๆ เช่น เป็นวิทยากรให้ความรู้เร่ืองสขุ ภาพของผู้สงู อายุ
รวมถึงการตรวจสุขภาพเบ้ืองต้น เทศบาลตาบลบ้านเหล่า ได้ประสานงบประมาณจาก สสส.
เพ่ือขับเคล่ือนกิจกรรมต่างๆ ในพ้ืนท่ี และประสานการช่วยเหลือจาก สานักงานพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดพะเยา (พมจ. พะเยา) ด้านที่อยู่อาศัย อุปกรณ์ และเทศบาลตาบลรวม
ใจพัฒนา ได้ประสานความช่วยเหลือ คือ ๑) ด้านบุคลากร และหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เช่น โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพสต.) ศูนย์การเรียนรู้ตามอัธยาศัย(กศน.) ๒) สถานท่ี ใช้ส่วนของสานักงาน
เทศบาลรวมใจพัฒนา ๓) งบประมาณ จากกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ตาม
โครงการการพัฒนาแบบนวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และงบประมาณของเทศบาล
ตาบลรวมใจพัฒนา ๔) ประสานการช่วยเหลือสงเคราะห์ จากสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ จังหวัดพะเยา ศูนย์พัฒนาชาวเขา มูลนิธิธรรมนัส และ ๕) อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุท่ีบ้าน
(อผส.) และ อาสาพัฒนาชุมชน(อพม.) ในพ้ืนท่ีในการดูแลผู้สูงอายุ และหน่วยงานท่ีเข้ามาให้ความ
ช่วยเหลือ สนับสนุน และให้งบประมาณเพื่อนามาจัดกิจกรรมต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็นหน่วยงาน
เทศบาลตาบลของแตล่ ะชมรม

การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุ พบว่า หน่วยงานภาครัฐทั้ง
๓ แห่ง ให้การสนับสนุนงบประมาณ สนับสนุนองค์ความรู้กับเครือข่าย กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุใน

๑๒๗

ชุมชน มีเครือข่ายการพัฒนาผู้สูงอายุในด้านสุขภาพ มีกลุ่มจัดกิจกรรม และเน้นการเสริมสร้าง
สขุ ภาพกาย สุขภาพจิตใจ ตามเกณฑ์การพฒั นาชมรมผสู้ งู อายสุ ขุ ภาพ ประกอบด้วย ๑) มีสขุ ภาพดที ้ัง
ร่างกาย จิตใจ และสังคม ๒) มีฟันท่ีใช้งานได้อย่างเหมาะสม ๓) มีดัชนีมวลกาย หรือรอบเอว อยู่ใน
เกณฑป์ กติ และ ๔) มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพให้อายุยืนยาวอย่างมีคุณภาพ

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตพะเยา จดั การองค์ความรู้ เพ่ือศกึ ษา
สภาพปัญหา แนวทาง วิธที าง เพ่ือทาให้เกิดความยั่งยืนอย่างมปี ระสิทธิภาพ และมหาวิทยาลัยพะเยา
กาลังดาเนินการทาเป็นหลักสูตรการเรียนการสอน แบ่งเป็น ๒ ส่วน ส่วนที่ ๑ เป็นภาคทฤษฎี/ภาค
วิชาการ ประกอบด้วย วิชาสังคมศึกษา ศาสนา ภาษาเพ่ือการส่ือสารพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ
และถ่ายทอดภูมิปัญญาไทย ส่วนที่ ๒ ภาคปฏิบัติ/กิจกรรม จัดกิจกรรมเรียนรู้ตามอัธยาศัยของ
ผู้สูงอายุ

เทศบาลตาบลป่าแฝก ส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้าน ให้ความสาคัญกับการ
ดูแลตัวเอง และส่งเสริมให้มีการออกเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุด้วยกัน โดยไม่ต้องใช้งบประมาณ เพ่ือให้
กาลังใจซ่ึงกันและกัน ในยามว่าง เทศบาลตาบลเจริญราษฎร์ ได้สร้างเครือข่ายผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
เช่ือมโยงไปยังตาบลใกล้เคยี งเข้าร่วมชมรมผ้สู ูงอายุอาเภอ เพื่อขับเคล่ือนฐานผสู้ ูงอายุ สร้างเครือข่าย
ประสานงานในระดับหมูบ้าน ตาบล เพ่ือทาประโยชน์ต่อชุมชน สังคม เทศบาลตาบลศรีถ้อยให้
เครือข่ายมีส่วนร่วมในการส่งเสริมกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุ มีส่วนร่วมในการดาเนินงานของชุมชนใน
ทกุ ๆ เร่อื ง และเนน้ การพ่ึงพาตนเอง การผลักดนั กจิ กรรมสาธารณะให้ผ้สู ูงอายุดูแลซ่งึ กนั และกัน ด้าน
สุขภาพ และด้านอ่ืนๆ เทศบาลตาบลแม่ใจ ประสานสานกั งานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์
จังหวัดพะเยา (พมจ. พะเยา) ความช่วยเหลือเงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุ เทศบาลตาบลบ้านเหล่า มีการ
พัฒนา ข้อมูลของผู้สูงอายุ พัฒนากิจกรรมต่างๆ ส่งเสริมสุขภาวะในกลุ่มผู้สูงอายุ และจัดทาส่ือ
ประชาสัมพันธ์เป็นเอกสาร และทางเว็บไซต์ และเทศบาลตาบลรวมใจพัฒนา ได้จัดการความรู้และ
เครือข่ายองค์กรสุขภาวะผู้สูงอายุ คือ จัดตั้งคณะทางานขับเคลื่อนการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน จัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสริมอาชีพของผู้สูงอายุ คือ การพัฒนาศักยภาพ การพัฒนา
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ การพัฒนาระบบบริการ การจัดต้ังกองทุน หรือจัดให้มีสวัสดิการ
ช่วยเหลือกัน ใช้ข้อมูลในการส่งเสริม แก้ไขปัญหาผู้สูงอายุ และการพัฒนากฎกติกา ระเบียบ
แนวปฏิบตั ิ เพอื่ ส่งเสรมิ สขุ ภาพของผูส้ งู อายุ

อภปิ รายผล

จากการศึกษา การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัด
พะเยา แบง่ ออกเป็น ๓ ขอ้ ใหญ่ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย ผวู้ จิ ยั อภปิ รายผลได้ ดังน้ี

วัตถุประสงค์ข้อที่ ๑ วิเคราะห์การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของ
ผสู้ ูงอายุในจังหวัดพะเยา สามารถอภิปรายผลการวิจยั ไดด้ ังน้ี ๑) ได้มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้
ในสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ หรือหน่วยงานอ่ืนๆ ได้ทาการสนับสนุน ๒) จัดประกวดชมรมผู้สูงอายุดีเด่น
เพื่อให้เป็นแหล่งถ่ายอดความรู้ ซึ่งกันและกัน/แชร์ความรู้ ๓) ผู้นาเห็นความสาคัญ โดยเข้ามาร่วม
กิจกรรมนั้นๆ พร้อมท้ังสนับสนุนงบประมาณ ๔) กิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ โดยอบรมในเรื่องของ

๑๒๘

การดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพใจ ๕) การจัดการความรู้และเครือข่ายสุขภาวะของผู้สูงอายุ
สานักงานสาธารณสุขจังหวดั พะเยาเป็นเครอื ข่ายพัฒนาดา้ นสุขภาพจติ

กล่าวได้ว่าการจัดการความรู้ของชมรมผู้สูงอายุ วัดแม่กาห้วยเคียน ชมรมผู้สูงอายุตาบล
ปา่ แฝก ชมรมผู้สูงอายตุ าบลแม่ใจ และชมรมผสู้ ูงอายุตาบลแม่ตา เป็นไปตามกระบวนการการจัดการ
ความรู้ ๗ ขั้น คือ ๑) องค์กรสุขภาวะมีการบ่งชี้ความรู้ตัวเอง เช่น มีความรู้เรื่องการประดิษฐ์ดอกไม้
เย็บปักถักร้อย จักสาน งานฝีมือต่างๆ การทาลูกประคบ และการดูแลรักษาสุขภาพท่ีถูกต้องและ
เหมาะสม ๒) มกี ารสร้างและแสวงหาความรู้ โดยการเชิญผทู้ รงคุณวุฒิจากหน่วยงานหรือองค์กรตา่ งๆ
มาเป็นวิทยากรให้ความรู้ สอดคล้องกับ วลัยพร นันท์ศภุ วัฒน์ และคณะ๑ ทว่ี ่า ผู้สูงอายุควรมีความรู้
ความเข้าใจเก่ียวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บไข้ได้ป่วย ๓) การจัดระบบข้อมูล
ความรู้ คือมีการจัดหมวดหมู่ความรู้ โดยเปิดเป็นโรงเรียนผู้สูงอายุพุฒิภัทร มีคณาจารย์และนิสิต
จิตอาสาจากมหาวิทยาลัยพะเยา เข้าไปจัดการเรียนการสอนช่วงเช้าจะมีการสอนในกลุ่มวิชา
ภาษาไทย ศาสนา และช่วงบ่ายเป็นกิจกรรมตามอัธยาศัย เช่น งานฝีมือ จักสาน งานประดิษฐ์ต่างๆ
๔) การประมวลและกล่ันกรองความรู้ ชมรมผู้สูงอายุวัดแม่กาห้วยเคียน กาลังดาเนินการทาหลักสูตร
การเรียนการสอน สอดคล้องกับ อาชัญญา รัตนอุบล และคณะ๒ ท่ีว่าควรจะส่งเสริมและจัดบริการ
การศึกษาต่อเน่ืองตลอดชีวิตท้ังการศึกษานอกระบบ ในระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยสร้าง
หลักสูตรการเตรียมความพร้อมเมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ โดยเพิ่มความรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ให้ทันต่อ
การเปล่ียนแปลงของโลก ๕) การเข้าถึงความรู้ ซ่ึงชมรมผู้สูงอายุทั้ง ๔ แห่ง ได้นาผู้สูงอายุไปศึกษาดู
งานตามสถานท่ีต่างๆ ท้ังในจังหวัดใกล้เคียงและต่างจังหวัด ๖) การแบ่งปันแลกเปล่ียนความรู้ เช่น
ไดม้ กี ารพบปะ พดู คุย แลกเปลีย่ นเรียนรู้กนั อยเู่ สมอท้งั ในชมรม และระหว่างชมรม ๗) การเรยี นรูข้ อง
ชมรมผู้สูงอายุ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ เย็บปักถักร้อย จักสาน งานฝีมือต่างๆ การทาลูกประคบน้ัน
สามารถนาไปวางจาหน่าย และหารายได้เสริมให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ สอดคล้องกับ สุทธิพงศ์ บุญผดุง๓
ที่ว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังมีความต้องการประกอบอาชีพเสริมเพื่อสร้างรายได้ เพื่อไม่ต้องพึ่งพิงจาก
ลูกหลาน สามารถใชจ้ า่ ยในเรอื่ งตา่ งๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง

ซ่ึงเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
เครือขายภายใน คือ เทศบาลตาบล โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพสต.)
วดั โรงเรียน มหาวทิ ยาลัย ศูนย์การเรยี นรตู้ ามอธั ยาศัย (กศน.) ขณะเดียวกันชมรมผูส้ งู อายุทง้ั ๔ แห่ง
ก็ได้มีหน่วยงานภายนอกก็ได้เข้ามาสนับสนุนเช่นกัน ซ่ึงทั้งเครือข่ายภายในและเครือข่ายภายนอก
ต้องมีการรับรู้มุมมองร่วมกัน มีวิสัยทัศน์ที่ตรงกัน มีการจัดการร่วมกัน มีการเสริมสร้างซ่ึงกันและกัน

๑ วลัยพร นันท์ศุภวัฒน์ และคณะ, โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ, (คณะพยาบาลศาสตร์:
มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, ๒๕๔๘), หน้า ๕.

๒ อาชัญญา รัตนอุบล และคณะ, การศึกษาสภาพปัญหาความต้องการ และรูปแบบการจัดการทาง
การศึกษาความต้องการ และรูปแบบการจัดกิจกรรมทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเตรียมความพร้อม เมื่อเข้าสู่สังคมผู้สู งอายุของผู้ใหญ่วัยแรงงาน,
(กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๕๒), บทคดั ยอ่ .

๓ สุทธิพงศ์ บุญผดุง, การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลัก
เศรษฐกจิ พอเพียง (ระยะท่ี ๑), (กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, ๒๕๕๔), หน้า ๘๓.

๑๒๙

พงึ่ พาอาศัยกนั รวมถงึ มีปฏิสัมพันธ์เชิงแลกเปล่ียนตอ่ กัน ซ่ึงสอดคลอ้ งกับ วัชพลประสิทธิ์ กอ้ นแกว้ ๔
ที่ว่า หน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจประเด็นด้านผู้สูงอายุมากข้ึน ฐานข้อมูลด้านผู้สูงอายุมีเพิ่มข้ึน
รวมท้ังหน่วยงานต่างๆ พยายามปรับข้อมูลให้ทันสมัยเป็นระยะๆ ในด้านการบริหารจัดการ มีความ
พยายามในการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ โดยสานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุพยายาม
ผลกั ดนั ให้หนว่ ยงานตา่ งๆ มีการปรับแผนและแปลงแผนผสู้ งู อายุไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ มคี วามพยายามเชอื่ ม
งานดา้ นผสู้ ูงอายุไปสู่สว่ นภูมิภาคและสว่ นทอ้ งถ่ิน

วัตถุประสงค์ข้อที่ ๒ การจัดการความรู้ในการเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จังหวัดพะเยา สามารถอภิปรายผลการวิจัย ได้ว่า ผู้สูงอายุสามารถดาเนินการจัดการใน ๔ ด้าน คือ
๑) ด้านกายภาพ คือ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุดูออกกาลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัย และรักษา
สุขภาพตนเอง สอคล้องกับ สุพร คูหา๕ ที่ว่าควรให้ความสาคัญในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตทางด้าน
ร่างกายของผู้สูงอายุ ๒) ด้านศีล คือ ทาให้ผู้สูงอายุไปทาบุญ ใส่บาตรท่ีวัด ประพฤติตนอยู่ในความ
สารวม ๓) ด้านจิต คือ มกี ารไหว้พระสวดมนต์ เพื่อให้จิตในสงบ มีสมาธิ ๔) ด้านปัญญา คือ ให้รู้ทัน
โลกทันเหตุการณ์ในปัจจุบัน สอดคล้องกับ สุทธิพงศ์ บุญผดุง๖ ที่ว่า ควรจัดกิจกรรมเพ่ือให้ผู้สูงอายุ
เข้าร่วม เช่น กิจกรรมทางศาสนา การทาบุญ งานประเพณีวันสาคัญต่างๆ โดยชุมชนร่วมกบั โรงเรียน
การจัดกิจกรรมท่ีให้ผู้สูงอายุแสดงออก เช่น การร้องราทาเพลง การพบปะพูดคุยแสดงความคิดเห็น
เป็นต้น ซ่ึงการจัดการความรู้ทั้ง ๔ ด้าน คือ กาย ศีล จิต และปญั ญา ใช้วธิ ีการสร้างความตระหนกั ใน
เทศบาลตาบล หรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเข้ามาจัดเวที จดั อบรม และให้ความรูแ้ ก่ผู้สงู อายุ

วัตถุประสงค์ข้อที่ ๓ เสริมสร้างเครือข่ายองค์กรด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จังหวัดพะเยา สามารถอภิปรายผลการวิจัย ได้ว่าองค์กรสุขภาวะผู้สูงอายุ จะมีผลลัพธ์ที่ดีน้ันต้องมี
วิสัยทัศน์ กิจกรรม หรือโครงการต่างๆ อย่างเป็นกระบวนการตามกระบวนการจัดการความรู้ ๗ ขั้น
คือ มกี ารบ่งชคี้ วามรตู้ ัวเอง มกี ารสร้างและแสวงหาความรู้ มกี ารจดั ระบบข้อมูลความรู้ มกี ารประมวล
และกลั่นกรองความรู้ มกี ารเขา้ ถึงความรู้ มีการแบ่งปันแลกเปลีย่ นความรู้ และมีการเรียนรู้ของชมรม
ผู้สูงอายุ และการดาเนินการเครือข่าย ๔ ขั้นตอน โดยท่ีโรงเรียน มหาวิทยาลัย ทต. รพสต. ฯลฯ
มีการปรึกษาหารือกัน จัดสรรงบประมาณสนับสนุนชมรมผู้สูงอายุ ติดตามผลที่ได้ทา และร่วมกัน
ประเมินผล จนนาไปสูก่ ารได้ความรู้เพ่ือนาไปพัฒนาตนเองต่อไป การท่ีชมรมผ้สู ูงอายุจะเติบโตได้นั้น
จะต้องมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ี มีเครือข่ายที่ดี มีวิถีท้องถิ่น/วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดี และต้องมี
หน่วยงานภาครัฐ หรือองค์กรต่างๆ สนับสนุนด้วย ซึ่งสอดคล้องกับ โปรดปราน เพชรสด๗ ที่ว่า
หน่วยงานราชการ ภาครัฐ ควรสนับสนุนส่งเสริมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้รู้จักปรับตัวต่อ
สถานการณ์ท่ีมีความเปล่ียนแปลง เพ่ือให้สามารถรับมือกับการดารงชีวิต ท้ังด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ

๔ วัชพลประสิทธ์ิ ก้อนแก้ว, พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่อาศัยในเขตเทศบาลตาบล
คลองตาหรุ อาเภอเมืองชลบุรี, (วิทยาลัยการบรหิ ารรฐั กจิ : มหาวิทยาลัยบรู พา, ๒๕๕๗), หนา้ ๔๓.

๕ สุพร คหู า, แนวทางการปรับปรุงคุณภาพชีวิตผ้สู ูงอายุของเทศบาลตาบลหนองขาว อาเภอท่าม่วง
จังหวดั กาญจนบรุ ี, (ขอนแก่น: มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , ๒๕๕๒), อดั สาเนา.

๖ สุทธิพงศ์ บุญผดุง, การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑), (กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา, ๒๕๕๔), หน้า ๘๓.

๗ โปรดปราน เพชรสด, แนวโน้มการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ
ชุมชนบา้ นจารงุ จงั หวัดระยอง, (ระยอง: มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, ๒๕๕๘), หนา้ ๑๑๘.

๑๓๐

สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม สามารถเรยี นรู้ เขา้ ใจ ยอมรับ และปรบั ตัวให้กรมกลนื เพือ่ ให้สามารถดารงชีวิตอยู่
กับครอบครัวและสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี ุณค่าและมีความความสุข

อย่างไรก็ตาม การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัด
พะเยา จะต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน เพื่อผลักดันให้เกิดการดาเนินงานอย่างมี
ประสิทธิภาพต้องพัฒนานโยบาย กลไก และการจัดการในพ้ืนท่ี โดยการเสริมกลไกประสานในระดับ
พื้นที่ (จังหวดั อาเภอ หรอื ตาบล) และสร้างมาตรฐานงาน ตัวชี้วัดการทางาน ดแู ลผู้สูงอายุในชุมชนที่
มุ่งเน้นให้เกิดแนวทางสาคัญในการดาเนินงาน ระบบดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยใช้โรงพยาบาล
ตาบลส่งเสริมสุขภาพ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน เป็นหลักในการจัดการ และ
ให้บริการโดยมีหน่วยงาน องค์กร ชุมชน ให้การสนับสนุน และควรส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีชีวิตความ
เป็นอยู่ท่ีปราศจากสภาวะการพึ่งพาให้นานที่สุด โดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสม
การส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีสุขภาพท่ีสมบูรณ์ท้ังด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านโภชนาการการออกกาลัง
กาย พัฒนาผู้สูงอายุให้เป็นคนที่มีคุณภาพ มีคุณค่า สามารถปรับตัวเท่าทันการเปล่ียนแปลง โดย
สง่ เสริมและสนับสนุนให้มีการนาความรู้ และประสบการณ์ของผู้สูงอายุมาใช้ประโยชน์แก่สงั คม และ
ประเทศชาติตอ่ ไป

สรปุ และข้อเสนอแนะ

จากการวจิ ยั การจดั การความรแู้ ละเครอื ขา่ ยองคก์ รสขุ ภาวะของผู้สงู อายใุ นจงั หวัดพะเยา
พบว่ามีข้อเสนอแนะซ่ึงอาจเป็นประโยชน์ต่อนโยบายของรัฐ การเรียนการสอน และการทาวิจัยครั้ง
ตอ่ ไป

๑) หน่วยงานรัฐควรกาหนดแผน หรือนโยบาย เพื่อส่งเสริมกิจกรรมผู้สูงอายุ เพ่ือให้เป็น
ชมุ ชนสง่ เสริมสุขภาวะผู้สงู อายุอยา่ งยั่งยืน

๒) ข้อเสนอแนะในการเรยี นการสอน การจัดการความรแู้ ละเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของ
ผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา เหมาะแก่การนามาถ่ายทอดให้กับผู้สนใจศึกษา โดยเฉพาะมหาวิทยาลัย
มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ควรตระหนกั ในประเด็นเหลา่ นี้ นามาผ่านกระบวนการเรียนการสอนใน
สถานศกึ ษาให้มากข้นึ

๓) ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการวิจัยการบริหารการกาหนดปรัชญา
การพฒั นาหลักสูตรสาหรับผ้สู ูงอายุ หรือโรงเรียนผสู้ ูงอายุในจงั หวัดพะเยา หรือจงั หวัดอน่ื ๆ

บรรณานุกรม

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖.
พมิ พค์ รัง้ ที่ ๔. กรงุ เทพมหานคร : เจ. เอส. การพิมพ,์ ๒๕๔๘.

กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร : องค์การรับส่ง
สินค้า และพสั ดุภัณฑ์, ๒๕๕๐.

กระทรวงสาธารณสุข. พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐. กรุงเทพมหานคร : ราชกิจจานุเบกษา
เลม่ ที่ ๒๕ (๑๒๔) ตอนที่ ๑๖ ก, ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๐.

๑๓๑

กาญจนา แก้วเทพ. เครื่องมือการทางานแนววัฒนธรรมชุมชน, กรุงเทพมหานคร : สานักงาน
เลขาธิการสภาคาทอลกิ แห่งประเทศไทยเพ่ือการพัฒนา, ๒๕๓๘.

บรรลุ ศิริพานิช และคณะ. ชมรมผู้สูงอายุ : รูปแบการดาเนินการที่เหมาะสม. กรุงเทพมหานคร :
ศุภวนชิ การพิมพ,์ ๒๕๔๑.

บญุ ดี บุญญากิจ นงลักษณ์ ประสพสุขโชคชัย และคณะ. การจดั การความรู้ จากทฤษฎสี ู่การปฏิบัติ.
พิมพค์ รั้งท่ี ๒. กรงุ เทพมหานคร : สถาบันเพิม่ พลผลิตแหง่ ชาติ, ๒๕๔๘.

โปรดปราน เพชรสด. แนวโน้มการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ
ชุมชนบ้านจารุง จังหวัดระยอง. ระยอง: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร,
๒๕๕๘.

พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ), การศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดเร่ืองสุขภาพแบบองค์รวมใน
พระพุทธศาสนาเถรวาทกับแนวคิดตะวันตก. สารนิพนธ์พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต.บัณฑิต
วทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๐.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), “สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ”. พุทธจักร. ปีที่ ๕๙ ฉบับท่ี ๑๑
พฤศจกิ ายน ๒๕๔๘.

พระไพศาล วิสาโล. แลขอบฟ้าเขียว ทางเลือกสาคัญสาหรับอนาคตท่ีกาลังปรากฏเป็นจริง,
กรงุ เทพมหานคร : สานกั พมิ พโ์ กมลคมี ทอง, ๒๕๔๙.

พระมหาสุทิตย์ อาภากโร. เครือข่าย : ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ. กรุงเทพมหานคร :
โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพอ่ื ชมุ ชนเป็นสุข (สรส., ๒๕๔๗).

พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). สถาบันสงฆ์กับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโกมคีมทอง,
๒๕๒๗.

วลัยพร นันท์ศุภวัฒน์ และคณะ. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ. คณะพยาบาลศาสตร์:
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, ๒๕๔๘.

วัชพลประสิทธ์ิ ก้อนแก้ว. พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่อาศัยในเขตเทศบาลตาบล
คลองตาหรุ อาเภอเมืองชลบุรี. วิทยาลยั การบริหารรัฐกจิ มหาวิทยาลยั บูรพา, ๒๕๕๗.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. สุขภาพคนไทย ๒๕๕๖: ปฏิรูปประเทศไทย
ปฏิรูปโครงสร้างอานาจเพิ่มพลังพลเมือง. พิมพ์ครั้งท่ี ๑. นครปฐม : บริษทั อมรินทร์พ
ริ้นติง้ แอนดพ์ ับลิชช่งิ จากดั (มหาชน), ๒๕๕๖.

สริ ินทร ฉนั สริ ิกาญจน์. สถานการณ์ องค์ความรู้เก่ียวกับการทางานผูส้ งู อายแุ บบบูรณาการ. สานัก
งานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.), กรุงเทพมหานคร, ห้างหุ้นส่วน จากัด
สหพฒั นไพศาล, ๒๕๕๒.

สุทธิพงศ์ บุญผดุง. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถ่ินโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี ๑). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา,
๒๕๕๔.

๑๓๒

อาชัญญา รัตนอุบล และคณะ. การศึกษาสภาพปัญหาความต้องการ และรูปแบบการจัดการทาง
การศึกษาความต้องการ และรูปแบบการจัดกิจกรรมทางการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยเพื่อส่งเสริมการเรยี นรู้ด้านการเตรยี มความพร้อม เม่ือเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุของผู้ใหญ่วัยแรงงาน. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๕๒.

Griffin Ricky W. Management. Boston, MA: Houghton Mifflin Company, 1999.
Parson Talcott. Administrative Science Quarterly. Effective of Size, Complexity and

Ownership in Administrative Intensity. New York : Holt, Rinchart & Winston,
1960.
Rench Dereck and Saward Heather. Dictionary of management. New York:
International Publications Service, 1975.
Stoner James AF. Management. New jersey : Prentice-Hall, 1938.

ภาคผนวก ข

กิจกรรมทเี่ ก่ยี วข้องกับการนาผลจากโครงการวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์

๑. กจิ กรรมดา้ นการเรยี นการสอน
๑.๑ สามารถนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ ในกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียน

ผู้สงู อายุ หรอื สอดแทรกในกจิ กรรมการเรยี นการสอนในรายวิชาท่เี ก่ียวข้อง
๑.๒ นาไปถ่ายทอดให้กับผู้ที่สนใจศึกษา โดยนาไปเผยแพร่ทางเว็บไซต์ และทาง

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เพื่อเป็นแบบแผนในโรงเรียนผู้สูงอายุ หรือในชมรม
ผ้สู ูงอายุ

๒. กิจกรรมดา้ นการพฒั นาสขุ ภาวะของผ้สู งู อายุ
๒.๑ สามารถนาไปสร้างความรู้ให้เกิดประโยชน์ กับการจัดการความรู้และเครือข่าย

องคก์ รสุขภาวะของผ้สู งู อายใุ นจังหวดั พะเยา
๒.๒ สามารถนาองค์ความรู้ไปปรับ และประยุกต์ใช้ในโรงเรียนผู้สูงอายุ หรือชมรม

ผู้สงู อายใุ นชมุ ชนไดใ้ นรูปแบบหนงึ่

๓. กจิ กรรมดา้ นวิชาการ
๓.๑ นาผลการวิจัยไปกาหนดนโยบายทางการศึกษา ต้ังแต่ระดับพื้นฐานถึง

ระดบั อุดมศึกษา
๓.๒ นาไปบรรจุในหลกั สตู รการเรียนการสอน ต้งั แตร่ ะดบั พน้ื ฐานถงึ ระดับอุดมศกึ ษา

ภาคผนวก ค

ตารางเปรยี บเทยี บวตั ถุประสงค์ กจิ กรรมที่วางแผนไว้
และกิจกรรมที่ได้ดาเนนิ การมาและผลท่ไี ดร้ ับของโครงการ

กิจกรรม ผลทไ่ี ด้รบั บรรลุ โดยทาให้
วัตถปุ ระสงค์
๑. ศกึ ษาข้อมลู ทราบถงึ การจัดการ/
ขอ้ ที่ ๑ สามารถวเิ คราะห์ถึงการ
ปฐมภูมิ ทตุ ิยภูมิ การจดั การความรู้/เครอื ขา่ ย/ จัดการความรแู้ ละเครือข่าย
องค์กรสขุ ภาวะของ
การจดั การความรู้ องค์กร/สขุ ภาวะ/สุขภาวะ ผสู้ งู อายุ

และเครือขา่ ย องค์รวม และผู้สูงอายุ

องค์กรสุขภาวะ

ของผู้สูงอายุ

๒. ศกึ ษาข้อมูล ทราบถึงข้อมูลทั่วไปจังหวัด ข้อท่ี ๒-๓ ทราบถงึ การการจดั การ
ข้อที่ ๑ ความรู้ในดา้ นเสรมิ สร้าง
ท่ัวไปจงั หวดั พะเยา ชมรมผู้สูงอายุจงั หวดั ขอ้ ที่ ๑-๓ สุขภาวะของผูส้ งู อายุใน
จังหวัดพะเยา และการ
พะเยา ชมรม พะเยา และเครือขา่ ย เสรมิ สร้างเครือขา่ ย
ด้านสุขภาวะของผ้สู ูงอายุ
ผ้สู ูงอายจุ งั หวดั หน่วยงาน หรอื งค์กรท่ี จังหวดั พะเยา

พะเยา และ เกย่ี วข้อง สามารถวิเคราะห์จานวน
ประชากร จานวนผู้สูงอายุ
เครือข่าย ชมรมผู้สูงอายุ หน่วยงาน
เครือข่าย หรือองค์กรที่มี
หนว่ ยงาน หรือ ส่วนเกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
ในจังหวดั พะเยา
องค์กรท่ีเกี่ยวขอ้ ง ส า ม า ร ถ วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม
คิ ด เ ห็ น ข อ ง บุ ค ค ล ผู้ ใ ห้
๓ . ก า ร ส า ร ว จ ทราบถงึ ข้อมูลท่ัวไป จานวน ข้อมูลสาคัญ ในด้านการ
จัดการความรู้และเครือข่าย
ระดับพื้นท่ี ท่ีต้อง ประชากร จานวนผสู้ ูงอายุ อ ง ค์ ก ร สุ ข ภ า ว ะ ข อ ง
ผูส้ งู อายใุ นจงั หวดั พะเยา
ดาเนินการศึกษา ชมรมผสู้ งู อายุ หน่วยงาน

เครือข่าย หรอื องค์กรทม่ี สี ว่ น

เกย่ี วข้องกับผูส้ ูงอายุใน

จงั หวัดพะเยา

๔. การเก็บข้อมูล ทราบถึงการจดั เวที

ด้วยแบบสัมภาษณ์ แลกเปล่ียนความรู้ ให้กับ

เชิงลึก สมาชกิ ชมรมระหวา่ งชมรม

หรอื หนว่ ยงานอื่นๆ/ การ

จดั การชมรมผู้สูงอายุเป็น

แหล่งดงู าน ถ่ายทอดองค์

ความรู้ใหก้ บั ชมรมหรอื

หน่วยงานอ่นื ๆ/ผนู้ าชุมชน

(ประธาน อบต. ผู้ใหญบ่ ้าน

๑๓๕

กิจกรรม ผลทไ่ี ด้รบั บรรลุ โดยทาให้

วตั ถุประสงค์

๔. การเก็บข้อมูล กานนั ฯลฯ) เห็นความสาคัญ ขอ้ ท่ี ๑-๓ สามารถวิเคราะห์ความ

ด้วยแบบสัมภาษณ์ ในการดูแลสขุ ภาพของ คิ ด เ ห็ น ข อ ง บุ ค ค ล ผู้ ใ ห้

เชิงลึก(ตอ่ ) ผู้สงู อายใุ นชมุ ชน/ชมรม ข้อมูลสาคัญ ในด้านการ

ผู้สูงอายุประกอบกจิ กรรมใด จดั การความร้แู ละเครือขา่ ย

เพ่ือส่งเสรมิ สุขภาพของ อ ง ค์ ก ร สุ ข ภ า ว ะ ข อ ง

ผ้สู งู อายุ/การประสานความ ผ้สู ูงอายใุ นจังหวัดพะเยา

ชว่ ยเหลือจากชมรมผสู้ ูงอายุ

ในชมุ ชน องคก์ รภาครฐั และ

เอกชน และจดั การความรู้

และครือข่ายองค์กรสขุ ภาวะ

ของผูส้ ูงอายุ

๕. รายงานฉบบั ได้รายงานฉบับสมบูรณ์ที่ ข้อ ๑-๒ ได้รายงานการวิจยั ที่

สมบรู ณ์ สามารถตอบวัตถุประสงค์ของ สมบูรณ์ ถูกต้อง และนาสง่

โครงการวจิ ยั ทง้ั ๓ ขอ้ คือ สถาบันวจิ ยั พทุ ธศาสตร์

๑) เพอื่ วเิ คราะหก์ ารจดั การ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลง

ความรแู้ ละเครือข่ายองค์กร กรณราชวทิ ยาลัย

สขุ ภาวะของผูส้ ูงอายุใน อาเภอวงั น้อย

จงั หวัดพะเยา ๒) เพอ่ื ศึกษา จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

การจัดการความรู้ในการ

เสริมสร้างสขุ ภาวะของ

ผู้สงู อายุในจงั หวดั พะเยา และ

๓) เพอื่ เสริมสร้างเครือขา่ ย

องค์กรด้านสขุ ภาวะของ

ผ้สู ูงอายใุ นจงั หวดั พะเยา

ภาคผนวก ง

ตัวอย่างแบบสัมภาษณ์ เพ่ือการวจิ ัย

แบบสัมภาษณ์ เพ่ือการวจิ ยั

เร่อื ง การจดั การความรู้และเครอื ข่ายองค์กรสขุ ภาวะของผ้สู ูงอายุในจงั หวดั พะเยา
************

แบบสัมภาษณ์นี้ เป็นส่วนหน่ึงของการวิจัย เรื่อง การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กร
สุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา คาตอบของท่านทุกข้อมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อเครือข่าย
องค์กรสขุ ภาวะของผ้สู ูงอายใุ นจังหวดั พะเยาต่อไป ขอบคณุ ลว่ งหนา้ มา ณ โอกาสน้ี

ตอนที่ ๑ ข้อมูลทัว่ ไปของผใู้ หส้ ัมภาษณ์

ชอ่ื – นามสกลุ (ผใู้ หส้ ัมภาษณ)์ .............................................................................................................
เพศ ...................... อายุ ......................ปี ตาแหนง่ ................................................................................
เบอรโ์ ทรศัพท.์ ........................................................
หนว่ ยงาน / ท่ีอยู่
...................................................................................................... ..........................................................
............................................................................................................................. ...................................
วัน เดือน ปี ทส่ี ัมภาษณ์ ........../........../.......... สถานทีส่ มั ภาษณ.์ .........................................................
เวลาทส่ี ัมภาษณ์ ตั้งแตเ่ วลา..............................................น. ถึงเวลา..................................................น.

ตอนที่ ๒ บทสัมภาษณ์ การจัดการความรู้และเครือข่ายองค์กรสุขภาวะของผู้สูงอายุใน
จังหวดั พะเยา
๑) ทางชมรมผู้สูงอายุมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ ให้กับสมาชิกชมรมระหว่างชมรม หรือ
หน่วยงานอ่ืนๆอยา่ งไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................... ......
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

๑๓๗

๒) ท่านได้จัดการชมรมผู้สูงอายุเป็นแหล่ง ดูงาน ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับชมรมหรือหน่วยงาน
อน่ื ๆ อยา่ งไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
๓) ท่านคิดว่าผู้นาชุมชน (ประธาน อบต. ผู้ใหญ่บ้าน กานัน ฯลฯ) เห็นความสาคัญในการดูแล
สุขภาพของผสู้ งู อายใุ นชมุ ชนมากน้อยแคไ่ หน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
๔) ทา่ นไดจ้ ัดใหช้ มรมผูส้ ูงอายขุ องทา่ นประกอบกิจกรรมใดบา้ ง เพอื่ สง่ เสริมสขุ ภาพของผู้สูงอายุ
................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................... ...........................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
๕) ท่านประสานความช่วยเหลือจากชมรมผู้สูงอายุในชุมชนท่าน และองค์กรภาครัฐ เอกชน
อย่างไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
๖) ทา่ นได้จดั การความรแู้ ละครือขา่ ยองค์กรสขุ ภาวะของผู้สูงอายอุ ยา่ งไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

๑๓๘

รายนามผู้ใหส้ ัมภาษณ์ / รายนามผู้เช่ียวชาญตรวจสอบสภาพเครื่องมอื /
แบบประเมนิ สภาพเคร่อื งมอื

รายนามผูใ้ ห้สัมภาษณ์

๑. รายนามผู้ให้ข้อมูลสาคญั จากบคุ ลากรหน่วยงานภาครฐั

๑.๑) ชื่อ-นามสกลุ นางวัลลภา ธนู ประสิทธ์ิวชั รากร
ตาแหนง่ นักสังคมสงเคราะหช์ านาญการ
หนว่ ยงาน / ที่อยู่ สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั พะเยา

๑.๒) ชอื่ -นามสกุล นายสุทิตย์ เสมอเชือ่
ตาแหน่ง นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ
หนว่ ยงาน / ทอ่ี ยู่ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดพะเยา

๑.๓) ชอ่ื -นามสกลุ นางนวยิ า วิชาศิลป์
ตาแหนง่ พยาบาลชานาญการ(วชิ าชีพ)
หน่วยงาน / ที่อยู่ ศนู ย์บรกิ ารสาธารณสุขตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา
จงั หวัดพะเยา

๒. รายนามผใู้ หข้ ้อมูลสาคญั จากสถานศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษา

๒.๑) ช่อื -นามสกุล พระราชปรยิ ตั ิ, ดร.
ตาแหนง่ รักษาการผอู้ านวยการสานักงานวทิ ยาเขต
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตพะเยา
หน่วยงาน / ที่อยู่ เจ้าคณะจงั หวดั พะเยา
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตพะเยา

๒.๒) ช่ือ-นามสกุล พระครูโสภณปรยิ ัตสิ ุธี, รศ.ดร. (ศรีบรรดร ถิรธมฺโม)
ตาแหนง่ รักษาการผู้อานวยการสานักวิชาการ
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย,
หนว่ ยงาน / ท่ีอยู่ รองเจ้าคณะจังหวัดพะเยา
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตพะเยา

๒.๓) ชอ่ื -นามสกุล พระครศู รีวรพนิ จิ , ดร.
ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการวิทยาลัยสงฆ์
หนว่ ยงาน / ทอ่ี ยู่ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตพะเยา


Click to View FlipBook Version