รายงานความรู้เบอื้ งตน้ เก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
จัดทำโดย
นางสาวสจุ ิภา ภผู าทอง เลขที่ 20 ห้อง 5
เสนอ
อาจารย์ ดร.กฤษฎาพนั ธ์ พงษบ์ รบิ ูรณ์
รายงานนี้เป็นสว่ นหน่ึงของวชิ านวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา
หลักสตู รประกาศนียบัตรบัณฑิตวชิ าชพี ครู รนุ่ 7 คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละศลิ ปะศาสตร์
วทิ ยาลัยบัณฑติ เอเชยี จังหวัดขอนแก่น
คำนำ
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา เป็นรายงานที่
จัดทำขนึ้ เพ่อื ส่งเสริมให้นกั ศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง พรอ้ มท้งั นำมาประยกุ ต์ใช้ในการศึกษาและ
ในชีวิตประจำวัน เพื่อจะได้มีการเรียนรู้ใหม่ๆ ซึ่งจะเป็นการสร้างพื้นฐานให้นักศึกษามีความรู้และความเ ข้าใจ
ดังนั้นจึงได้จัดทำรายงานเพือ่ นักศึกษาได้เข้าใจถงึ ความสำคัญของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆมาประยุกต์ใช้
ให้เกดิ ประโยชน์อย่างสงู สดุ และเพ่อื ใชป้ ระกอบการศกึ ษาและปฏิบัติอยา่ งถูกวิธี
จดั ทำโดย
นางสาวสุจภิ า ภูผาทอง
สารบัญ หนา้
1-7
เนื้อหา ส่วนที่ 1 ประวัติ ความเป็นมาของนวตั กรรมทางการศึกษา
8-9
1.1 นวตั กรรมทางการศกึ ษา ในประเดน็ ความหมาย แนวคิดพื้นฐาน ประเภท ลกั ษณะ
การพฒั นา ระยะของนวัตกรรม 10-11
1.2 นวตั กรรมทางการศึกษาในยุคปจั จุบนั
12
สว่ นที่ 2 การสบื คน้ ข้อมลู สารสนเทศเพอ่ื ใช้ในการจัดการเรียนรู้ 13
13-16
2.1การสบื ค้น และรบั ส่งข้อมูล แฟม้ ขอ้ มลู และสารสนเทศเพื่อใชใ้ นการ 16
จดั การเรยี นรู้ 17
2.2 ววิ ัฒนาการของสารสนเทศ 18-19
2.3 ความหมายของคำวา่ ข้อมลู 20-21
2.4 ชนิดของข้อมูล 22-26
2.5 สาเหตุที่ทำใหเ้ กิดสารสนเทศ 27-28
2.6 คอมพวิ เตอร์และอนิ -เทอรเ์ น็ต 29
ระบบการสืบค้นผ่านเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ 30-32
2.7 เว็บไซตท์ ี่เปน็ เครือขา่ ยการเรียนรู้ 33-34
35
2.8 ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 35-36
38-39
2.9 คณุ ภาพของสารสนเทศ (Quality of Information/Information Quality) 40-41
2.10 คุณลักษณะของสารสนเทศท่ดี ี (Characteristics of Information)
2.11 เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การใชช้ ีวิตในสงั คมปัจจบุ นั
2.12 เทคโนโลยสี อ่ื สารโทรคมนาคม
2.13 บทบาทของสารสนเทศ (Role of Information)
2.14 ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ
2.15 ผลของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
2.16 องคป์ ระกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เนือ้ หา สว่ นท่ี 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การเรยี นรู้ หนา้
42-45
3.1 คอมพวิ เตอร์และอินเทอร์เน็ตกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ 46-48
3.2 เทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้ 49
3.3 สือ่ เพื่อการเรียนรู้ 54-61
3.4 หลักการออกแบบนวตั กรรมและส่ือเพอ่ื การเรยี นรู้ 62-64
3.5 การเรียนรู้ แหลง่ เรียนรู้ เครือข่ายการเรยี นรู้ 65
3.6 การจัดการเรยี นรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เนต็ 66
3.7 ระบบการสบื คน้ ผา่ นเครือขา่ ยเพ่ือการเรยี นรู้ 67-69
3.8 การสบื ค้น และรับสง่ ขอ้ มูล แฟม้ ขอ้ มูล 70-75
3.9 สารสนเทศเพ่อื ใช้ในการจัดการเรยี นรู้ 76-79
3.10 การวิเคราะหป์ ญั หาที่เกดิ จากการใชน้ วัตกรรม 80-81
บรรณานกุ รม 90-99
ชดุ ขอ้ สอบก่อนเรยี น หลังเรยี น
1
ส่วนท่ี 1 ประวตั ิ ความเปน็ มาของนวตั กรรมทางการศกึ ษา
ความหมายของ นวัตกรรมการศึกษาและเทคโนโลยีทางการศึกษา
“นวัตกรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนา
ดัดแปลงมาจากของเดิมท่ีมีอยู่แล้ว ให้ทนั สมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึน้ เมอื่ นำ นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานน้ัน
ได้ผลดีมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลสูงกวา่ เดมิ ท้งั ยังชว่ ย ประหยดั เวลาและแรงงานไดด้ ว้ ย
“นวตั กรรม” (Innovation) มีรากศพั ท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทำสิ่งใหม่ขนึ้ มา ความหมายของ
นวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนำแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบ
ใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกจิ หรือก็คือ ”การทำในสิง่ ที่แตกตา่ งจากคนอืน่ โดยอาศยั การเปลี่ยนแปลง
ต่าง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเปน็ โอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหมท่ ี่
ทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นได้
จากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic
Development,1934 โดยจะเน้นไปที่การสร้างสรรค์ การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะ
นำไปสูก่ ารได้มาซ่ึง นวตั กรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพอื่ ประโยชน์ในเชงิ พาณชิ ย์เป็นหลัก
นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถในการเรียนรู้และนำไปปฎิบัติให้เกิดผลได้จริงอีกด้วย (พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ,
Xaap.com)
2
คำว่า “นวัตกรรม” เป็นคำที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คำนี้ เป็นศัพท์บัญญัติของคณะกรรมการ
พิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคำกริยาว่า
innovate แปลว่า ทำใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คำว่า “นวกรรม” ต่อมาพบว่าคำนี้มี
ความหมายคลาดเคลื่อน จึงเปลี่ยนมาใช้คำว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กำ) หมายถึงการนำสิ่งใหม่ๆ เข้ามา
เปลย่ี นแปลงเพม่ิ เติมจากวธิ ีการทท่ี ำอยู่เดมิ เพ่อื ใหใ้ ชไ้ ดผ้ ลดียิ่งขึ้น ดังนั้นไมว่ ่าวงการหรือกิจการใด ๆ ก็ตาม เม่ือมี
การนำเอาความเปลีย่ นแปลงใหม่ๆ เขา้ มาใชเ้ พอ่ื ปรบั ปรงุ งานใหด้ ีขึน้ กว่าเดิมก็เรยี กได้ว่าเปน็ นวัตกรรม ของวงการ
นั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานำเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สำหรับผู้ท่ี
กระทำ หรอื นำความเปลีย่ นแปลงใหม่ ๆ มาใชน้ ี้ เรยี กวา่ เปน็ “นวตั กร” (Innovator) (boonpan edt01.htm)
ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็นการนำวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติ
หลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นขั้น ๆ แล้ว เริ่มตั้งแต่การคิดค้น (Invention) การพัฒนา
(Development) ซึ่งอาจจะเป็นไปในรูปของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) แล้วจึงนำไปปฏิบตั ิจริง
ซึ่งมีความแตกตา่ งไปจากการปฏิบัติเดิมทีเ่ คยปฏบิ ตั ิมา (boonpan edt01.htm)
มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทำให้ใหม่ขึ้นอีกครั้ง(Renewal) ซึ่งหมายถึง การ
ปรับปรุงสิ่งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การนั้น ๆ นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัด
หรือล้มล้างสง่ิ เกา่ ใหห้ มดไป แต่เป็นการ ปรบั ปรุงเสริมแต่งและพัฒนา (boonpan edt01.htm)
ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521 : 14) ไดใ้ หค้ วามหมาย “นวตั กรรม” ไวว้ า่ หมายถงึ วิธกี ารปฎิบตั ิใหมๆ่ ท่แี ปลกไปจาก
เดิมโดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมาหรือมีการปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมและสิ่งทั้งหลาย
เหล่านี้ได้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฎิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมาย
ปลายทางไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพขึน้
3
นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คอื
ระยะที่ 1 มีการประดษิ ฐ์คิดค้น (Innovation) หรอื เปน็ การปรงุ แต่งของเกา่ ให้เหมาะสมกับกาลสมยั
ระยะท่ี 2 พฒั นาการ (Development) มีการทดลองในแหลง่ ทดลองจัดทำอยู่ในลกั ษณะของโครงการทดลอง
ปฏิบตั กิ อ่ น (Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทัว่ ไป ซึง่ จัดว่าเปน็ นวตั กรรมขน้ั สมบูรณ์
ความหมายของนวัตกรรมการศกึ ษา
“นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการ
สอนมีประสิทธิภาพดยี ิง่ ขึ้น ผู้เรียนสามารถเกดิ การเรียนรู้อยา่ งรวดเรว็ มีประสิทธผิ ลสงู กว่าเดิม เกดิ แรงจูงใจในการ
เรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้นวัตกรรมการศึกษา
มากมายหลายอย่าง ซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอยา่ งแพร่หลายแลว้ และประเภททีก่ ำลังเผยแพร่ เช่น การเรียนการ
สอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interactive
Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหล่านี้ เป็นต้น (วารสารออนไลน์ บรรณ
ปญั ญา.htm)
4
“นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูป
ของความคดิ หรอื การกระทำ รวมทงั้ สง่ิ ประดิษฐ์กต็ ามเข้ามาใชใ้ นระบบการศึกษา เพอื่ มงุ่ หวังทจี่ ะเปล่ียนแปลงส่ิงที่
มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิด
แรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดิ
ทศั นเ์ ชิงโตต้ อบ (Interactive Video) สอ่ื หลายมติ ิ (Hypermedia) และอนิ เตอร์เน็ต เหล่านเ้ี ปน็ ตน้
ความหมายของเทคโนโลยี
ความเจริญในด้านต่างๆ ที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าทดลองประดิษฐ์คิดค้นสิ่ง
ต่างๆ โดยอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เมื่อศึกษาค้นพบและทดลองใช้ได้ผลแล้ว ก็นำออกเผยแพร่ใช้ในกิจการ
ด้านต่างๆ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพในกิจการต่างๆ เหล่านั้น และวิชาการ
ทีว่ า่ ดว้ ยการนำความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ มาใชใ้ นกจิ การดา้ นต่างๆ จึงเรียกกนั ว่า “วิทยาศาสตรป์ ระยุกต์” หรอื นิยม
เรียกกนั ทว่ั ไปว่า “เทคโนโลยี” (boonpan edt01.htm)
เทคโนโลยี หมายถงึ การใช้เครอื่ งมือให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ในการแกป้ ัญหา ผทู้ ่ีนำเอาเทคโนโลยมี าใช้ เรียกว่า
นักเทคโนโลยี (Technologist) (boonpan edt01.htm)
เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา) หมายถึง
ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนำวิธีการ มาปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษาให้
สูงขึ้นเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ (boonpan
edt01.htm)
สภาเทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติได้ให้คำจำกัดความของ เทคโนโลยีทางการศึกษา ว่าเป็นการพัฒนาและ
ประยุกตร์ ะบบเทคนิคและอปุ กรณ์ ใหส้ ามารถนำมาใชใ้ นสถานการณไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสม เพื่อสรา้ งเสริมกระบวนการ
เรยี นรขู้ องคนใหด้ ียิง่ ข้นึ (boonpan edt01.htm)
ดร.เปรื่อง กุมุท ได้กล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาว่า เป็นการขยายขอบข่ายของการใช้สื่อการสอน
ให้กว้างขวางขึ้นทั้งในด้านบุคคล วัสดุเครื่องมือ สถานที่ และกิจกรรมต่างๆในกระบวนการเรียนการสอน
(boonpan edt01.htm)
Edgar Dale กล่าวว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา ไม่ใช่เครื่องมือ แต่เป็นแผนการหรือวิธีการทำงานอย่างเป็นระบบ
ใหบ้ รรลุผลตามแผนการ (boonpan edt01.htm)
5
นอกจากนี้เทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นการขยายแนวคิดเกี่ยวกับโสตทัศนศึกษา ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ทั้งน้ี
เนื่องจากโสตทัศนศึกษาหมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ตาดูหูฟัง ดังนั้นอุปกรณ์ในสมัยก่อนมักเน้นการใช้
ประสาทสมั ผัส ด้านการฟงั และการดูเป็นหลัก จงึ ใช้คำวา่ โสตทัศนอุปกรณ์ เทคโนโลยที างการศึกษา มีความหมาย
ที่กวา้ งกว่า ซ่ึงอาจจะพิจารณาจาก ความคิดรวบยอดของเทคโนโลยไี ด้เปน็ 2 ประการ คือ
1. ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ ตามความคิดรวบยอดนี้ เทคโนโลยีทางการศึกษาหมายถึง
การประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของสิ่งประดิษฐ์ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้
สำหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ การใช้เครื่องมือเหล่านี้ มักคำนึงถึงเฉพาะการควบคุมให้
เครื่องทำงาน มักไม่คำนึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้ โดยเฉพาะเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล และการ
เลือกสื่อให้ตรงกับเนื้อหาวิชา ความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามความคิดรวบยอดนี้ ทำให้
บทบาทของเทคโนโลยีทางการศึกษาแคบลงไป คือมีเพียงวัสดุ และอุปกรณ์เท่านั้น ไม่รวมวิธีการ หรือ
ปฏิกริ ยิ าสัมพนั ธ์อ่นื ๆ เขา้ ไปด้วย ซง่ึ ตามความหมายนก้ี ค็ ือ “โสตทศั นศกึ ษา” นัน่ เอง
2. ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ เป็นการนำวิธีการทางจิตวิทยา มนุษยวิทยา กระบวนการกลุ่ม
ภาษา การส่อื ความหมาย การบรหิ าร เคร่ืองยนตก์ ลไก การรับร้มู าใช้ควบคู่กับผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์
และวิศวกรรม เพื่อให้ผู้เรียน เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นมิใช่เพียงการใช้
เครื่องมืออุปกรณ์เท่านั้น แต่รวมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้าไปด้วย มิใช่วัสดุ หรืออุปกรณ์ แต่เพียง
อย่างเดยี ว (boonpan edt01.htm)
6
เป้าหมายของเทคโนโลยีการศกึ ษา
1. การขยายพิสัยของทรัพยากรของการเรียนรู้ กล่าวคือ แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ มิได้หมายถึงแต่เพียง
ตำรา ครู และอุปกรณ์การสอน ที่โรงเรียนมีอยู่เท่านั้น แนวคิดทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ต้องการให้
ผเู้ รยี นมีโอกาสเรียนจากแหลง่ ความรู้ท่ีกว้างขวางออกไปอีก แหล่งทรพั ยากรการเรียนรู้ครอบคลุมถึงเรื่อง
ต่างๆ เช่น
o 1.1 คน คนเป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่สำคัญซึ่งได้แก่ ครู และวิทยากรอื่น ซึ่งอยู่นอก
โรงเรียน เชน่ เกษตรกร ตำรวจ บรุ ษุ ไปรษณยี ์ เปน็ ตน้
o 1.2 วัสดุและเครื่องมือ ได้แก่ โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ เครื่อง
วดิ โี อเทป ของจริงของจำลองสงิ่ พิมพ์ รวมไปถงึ การใชส้ ือ่ มวลชนต่างๆ
o 1.3 เทคนิค-วิธีการ แต่เดิมนั้นการเรียนการสอนส่วนมาก ใช้วิธีให้ครูเป็นคนบอกเนื้อหา แก่
ผู้เรียนปัจจุบันนั้น เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้มากที่สุด ครูเป็นเพียง ผู้
วางแผนแนะแนวทางเทา่ นัน้
o 1.4 สถานที่ อันได้แก่ โรงเรียน ห้องปฏิบัติการทดลอง โรงฝึกงาน ไร่นา ฟาร์ม ที่ทำการรัฐบาล
ภเู ขา แม่นำ้ ทะเล หรอื สถานที่ใด ๆ ท่ีช่วยเพมิ่ ประสบการณท์ ด่ี ีแก่ผู้เรียนได้
2. การเนน้ การเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล ถึงแม้นกั เรยี นจะล้นชน้ั และกระจดั กระจาย ยากแกก่ ารจัดการศึกษา
ตามความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ นักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้พยายามคิด หาวิธีนำเอาระบบการ
เรียนแบบตัวต่อตัวมาใช้ แต่แทนที่จะใช้ครูสอนนักเรียนทีละคน เขาก็คิด ‘แบบเรียนโปรแกรม’ ซึ่งทำ
7
หนา้ ทส่ี อน ซึง่ เหมอื นกับครมู าสอน นักเรยี นจะเรยี นดว้ ยตนเอง จากแบบเรียนดว้ ยตนเองในรูปแบบเรียน
เป็นเล่ม หรือเครื่องสอนหรือสื่อประสมหลายๆ อย่าง จะเรียนช้าหรือเร็วก็ทำได้ตามความสามารถของ
ผเู้ รยี นแตล่ ะคน
3. การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบัติหรือแก้ปัญหา เป็นวิธีการที่เป็น
วทิ ยาศาสตร์ ท่เี ช่อื ถือไดว้ า่ จะสามารถแก้ปญั หา หรือชว่ ยให้งานบรรลเุ ป้าหมายได้ เนื่องจากกระบวนการ
ของวิธีระบบ เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบของงานหรือของระบบ อย่างมีเหตุผล หาทางให้ส่วนต่าง ๆ
ของระบบทำงาน ประสานสัมพนั ธก์ ันอยา่ งมีประสิทธิภาพ
4. พัฒนาเครอ่ื งมือ-วสั ดุอปุ กรณ์ทางการศึกษา วัสดแุ ละเคร่ืองมือต่าง ๆ ทีใ่ ช้ในการศึกษา หรือการเรียนการ
สอนปจั จบุ นั จะต้องมีการพัฒนา ใหม้ ีศกั ยภาพ หรือขีดความสามารถในการทำงานใหส้ ูงย่งิ ขนึ้ ไปอกี
แนวคดิ พื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา
ปัจจยั สำคญั ที่มีอทิ ธิพลอยา่ งมาก ตอ่ วธิ ีการศึกษา ไดแ้ กแ่ นวความคิดพืน้ ฐานทางการศึกษาทเี่ ปลีย่ นแปลงไป อันมี
ผลทำให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาท่ีสำคญั ๆ พอจะสรุปได้4 ประการ คอื
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ความสำคัญในเรื่องความ
แตกต่างระหว่างบคุ คลเอาไว้อยา่ งชัดเจนซ่ึงจะเหน็ ไดจ้ ากแผนการศึกษาของชาติ ให้มงุ่ จดั การศึกษาตามความถนัด
ความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเปน็ เกณฑ์ ตัวอย่างที่เหน็ ไดช้ ดั เจนไดแ้ ก่ การจัดระบบหอ้ งเรียนโดยใช้
อายเุ ปน็ เกณฑ์บ้าง ใชค้ วามสามารถเป็นเกณฑ์บ้าง นวัตกรรมท่ีเกดิ ขึ้นเพื่อสนองแนวความคิดพน้ื ฐานนี้ เชน่
• การเรียนแบบไมแ่ บ่งชัน้ (Non-Graded School)
• แบบเรียนสำเรจ็ รูป (Programmed Text Book)
• เคร่ืองสอน (Teaching Machine)
• การสอนเป็นคณะ (TeamTeaching)
• การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
• เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction)
2. ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่มเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็นพัฒนาการตาม
ธรรมชาติ แตใ่ นปัจจุบนั การวจิ ัยทางดา้ นจติ วทิ ยาการเรียนรู้ ชีใ้ ห้เห็นว่าความพรอ้ มในการเรียนเป็นสิง่ ที่สร้างขึ้นได้
ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่เคยเชื่อกันว่ายาก และไม่
เหมาะสมสำหรับเด็กเล็กก็สามารถนำมาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมที่ตอบสนองแนวความคิดพื้นฐานนี้ได้แก่ ศูนย์การ
เรยี น การจัดโรงเรยี นในโรงเรียน นวัตกรรมท่สี นองแนวความคดิ พืน้ ฐานด้านน้ี เช่น
8
• ศนู ย์การเรยี น (Learning Center)
• การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
• การปรับปรงุ การสอนสามช้นั (Instructional Development in 3 Phases)
3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัยความสะดวก
เป็นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเปน็ ชั่วโมง เท่ากนั ทุกวิชา ทกุ วนั นอกจากนน้ั ก็ยังจดั เวลาเรยี นเอาไวแ้ น่นอนเป็นภาค
เรยี น เป็นปี ในปัจจบุ นั ได้มคี วามคิดในการจัดเป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธ์กบั ลักษณะของแตล่ ะวิชาซ่ึงจะใช้เวลา
ไมเ่ ท่ากัน บางวชิ าอาจใชช้ ่วงส้นั ๆ แตส่ อนบ่อยครงั้ การเรียนก็ไม่จำกัดอยู่แต่เฉพาะในโรงเรยี นเทา่ นั้น นวัตกรรมที่
สนองแนวความคดิ พน้ื ฐานด้านนี้ เชน่
• การจดั ตารางสอนแบบยดื หย่นุ (Flexible Scheduling)
• มหาวิทยาลัยเปดิ (Open University)
• แบบเรียนสำเร็จรปู (Programmed Text Book)
• การเรียนทางไปรษณยี ์
4. ประสทิ ธภิ าพในการเรยี น การขยายตวั ทางวิชาการ และการเปล่ยี นแปลงของสังคม ทำใหม้ ีสิ่งต่างๆ ทีค่ นจะต้อง
เรียนรู้เพิ่มขึน้ มาก แต่การจัดระบบการศกึ ษาในปัจจุบันยังไม่มีประสทิ ธิภาพเพียงพอจึงจำเป็นต้องแสวงหาวิธีการ
ใหมท่ มี่ ีประสิทธิภาพสงู ขน้ึ ทัง้ ในด้านปัจจัยเกยี่ วกับตวั ผเู้ รียน และปจั จัยภายนอก นวัตกรรมในดา้ นน้ที ี่เกิดขน้ึ เช่น
• มหาวทิ ยาลัยเปดิ
• การเรยี นทางวิทยุ การเรยี นทางโทรทัศน์
• การเรยี นทางไปรษณีย์ แบบเรยี นสำเร็จรปู
• ชดุ การเรียน
•
9
2 นวัตกรรมทางการศกึ ษาท่สี ำคัญของไทยในปัจจบุ ัน (2546)
นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทำใหม่ๆ ซึ่งนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวงการจะมีการคิดและทำส่ิง
ใหม่อยู่เสมอ ดังนั้นนวัตกรรมจึงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ได้เร่ือยๆ สิ่งใดที่คิดและทำมานานแล้ว ก็ถือว่าหมดความเปน็
นวตั กรรมไป โดยจะมสี งิ่ ใหม่มาแทน
ในวงการศึกษาปจั จบุ นั มสี ง่ิ ท่เี รยี กว่านวัตกรรมทางการศกึ ษา หรอื นวตั กรรมการเรียนการสอน อยูเ่ ป็นจำนวนมาก
บางอย่างเกิดขึ้นใหม่ บางอย่างมีการใช้มาหลายสิบปีแล้ว แต่ก็ยังคงถือว่าเป็น นวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรม
เหลา่ นน้ั ยังไมแ่ พร่หลายเปน็ ที่รจู้ ักทัว่ ไป ในวงการศึกษา
นวตั กรรมทางการศกึ ษาตา่ งๆ ที่กลา่ วถึงกนั มากในปัจจบุ ัน
E-learning
ความหมาย e-Learning เป็นคำที่ใช้เรียกเทคโนโลยีการศึกษาแบบใหม่ ที่ยังไม่มีชื่อภาษาไทยที่แน่ชัด และมีผู้
นิยามความหมายไว้หลายประการ ผศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ให้คำนิยาม E-Learning หรือ Electronic
Learning ว่า หมายถึง “การเรียนผ่านทางสื่ออิเลคทรอนิกส์ซึ่งใช้การ นำเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ในรูปของ
สื่อมัลติมีเดียได้แก่ ข้อความอิเลคทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติฯลฯ”
เช่นเดียวกับ คุณธิดาทิตย์ จันคนา ที่ให้ความ หมายของ e-learning ่าหมายถึงการศึกษาที่เรียนรู้ผ่านเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตโดยผู้เรียนรู้จะเรียนรู้ ด้วยตัวเอง ารเรียนรู้จะเป็นไปตามปัจจัยภายใต้ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้สอง
10
ประการคือ เรียนตามความรู้ความสามารถของผู้เรียนเอง และ การตอบสนองใน ความแตกต่างระหว่างบุคคล
(เวลาที่แต่ละบุคคลใช้ในการเรียนรู้)การเรียนจะกระทำผ่านสื่อบนเครือข่ายอินเตอร์เนต โดยผู้สอนจะนำเสนอ
ข้อมูลความรู้ให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาผ่านบริการ World Wide Web หรือเวปไซด์ โดยอาจให้มีปฏิสัมพันธ์
(สนทนา โต้ตอบ ส่งข่าวสาร) ระหว่างกัน จะที่มีการ เรียนรู้ ู้ในสามรปู แบบคือ ผู้สอนกับ ผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรยี น
อกี คนหนง่ึ หรอื ผู้เรยี นหน่ึงคนกบั กลุ่มของผู้เรียน ปฏสิ ัมพนั ธ์นี้สามารถ กระทำ ผา่ นเครื่องมอื สองลักษณะคือ
1. ) แบบ Real-time ได้แก่การสนทนาในลักษณะของการพิมพ์ข้อความแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน หรือ ส่งใน
ลกั ษณะของเสียง จากบริการของ Chat room
2. ) แบบ Non real-time ได้แก่การส่งข้อความถึงกันผ่านทางบริการ อิเลคทรอนิคเมลล์ WebBoard
News-group เป็นต้น
ความหมายของ e-Learning ที่มีปรากฏอยู่ในส่วนคำถามที่ถูกถามบ่อย (Frequently Asked Question : FAQ)
ในเว็ป www.elearningshowcase.com ให้นิยามว่า e-Learning มีความหมาย เดียวกับ Technology-based
Learning นั้นคือการศึกษาที่อาศัยเทคโนโลยีมาเป็นส่วนประกอบที่ สำคัญ ความหมายของ e-Learning
ครอบคลุมกวา้ งรวมไปถึงระบบโปรแกรม และขบวนการท่ี ดำเนินการ ตลอดจนถงึ การศกึ ษาท่ใี ช้ ค้ อมพิวเตอร์เป็น
หลักการศึกษาที่อาศัยWebเป็นเครื่องมือหลักการศึกษาจากห้องเรียนเสมือนจริง และการศึกษาที่ใช้ การทำงาน
ร่วมกันของอุปกรณ์อิเลค ทรอนิค ระบบดิจิตอล ความหมายเหล่านี้มาจากลักษณะของการส่งเนือ้ หาของบทเรยี น
ผ่านทาง อุปกรณ์อิเลคทรอนิค ซึ่งรวมทั้งจากในระบบอินเตอร์เนต ระบบเครือข่ายภายใน (Intranets) การ
ถ่ายทอดผ่านสัญญาณทีวี และการใช้ซีดีรอม อย่างไรก็ตาม e-Learning จะมีความหมายในขอบเขต ที่แคบกว่า
การศึกษาแบบทางไกล (Long distance learning) ซึ่งจะรวมการเรียนโดยอาศัยการส่ง ข้อความหรือเอกสาร
ระหว่างกันและชั้นเรียนจะเกิดขึ้นในขณะที่มีการเขียนข้อความส่งถึงกัน การนิยามความหมายแก่ e-learning
Technology-based learning และ Web-based Learning ยังมี ความแตกต่างกัน ตามแต่องค์กร บุคคลและ
กลุ่มบุคคลแต่ละแห่งจะให้ความหมาย และคาดกันวา่ คำ ว่าe-Learning ที่มีการใช้มาตัง้ แต่ปี คศ. 1998 ในที่สุดก็
จะเปลยี่ นไปเป็น e - Learning เหมือนอยา่ ง กบั ทีม่ เี ปล่ยี นแปลงคำเรียกของ e-Business
เมื่อกล่าวถึงการเรียนแบบ Online Learning หรือ Web-based Learning ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของ Technology-
based Learning n่มี ีการเรียนการสอนผา่ นระบบอนิ เตอร์เนต อินทราเน็ต และ เอ็ซทราเน็ต (Extranet) พบว่าจะ
มีระดบั การจัดการทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไป Online Learning ปกติจะ ประกอบดว้ ยบทเรยี นที่มีข้อความและรูปภาพ
แบบฝึกหัดแบบทดสอบ และบันทึกการเรียน อาทิ คะแนนผลการทดสอบ(test score) และบันทึกความก้าวหน้า
ของการเรียน(bookmarks) แต่ถ้าเป็น Online Learning ที่สูงขึ้นอีกระดับหนึ่ง โปรแกรมของการเรียนจะ
ประกอบด้วยภาพเคลื่อนไหว แบบ จำลอง สื่อที่เป็นเสียง ภาพจากวิดีโอ กลุ่มสนทนาทั้งในระดับเดียวกันหรือใน
ระดบั ผ้รู ู้ ผูม้ ีประสบการณ์ ที่ปรกึ ษาแบบออนไลน์ (Online Mentoring) จดุ เช่ือมโยงไปยังเอกสารอา้ งองิ ทม่ี ีอยู่ ใน
บรกิ ารของเว็ป และการสอ่ื สารกบั ระบบท่บี นั ทกึ ผลการเรยี น เป็นตน้
11
การเรียนรู้แบบออนไลนห์ รือ e-learning การศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต(Internet) หรือ
อินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรูด้ ้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตาม ความสามารถและความสนใจของตน โดย
เนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพเสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน
Web Browser โดยผู้เรยี น ผู้สอน และ เพื่อนร่วมช้ันเรียนทกุ คน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็
ระหวา่ งกันไดเ้ ชน่ เดียวกบั การเรียนในช้นั เรียนปกติ โดยอาศัยเครอ่ื งมอื การติดต่อ สื่อสารทีท่ นั สมัย(e-mail, web-
board, chat) จึงเป็นการเรียนสำหรับทุกคน, เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone,
anywhere and anytime)
ผ้ใู หข้ อ้ มูล : อรรคเดช โสสองช้ัน
ทีม่ า : http://school.obec.go.th/sup_br3/t_1.htm
การสบื ค้น และรบั สง่ ข้อมูล แฟ้มขอ้ มลู และสารสนเทศเพอ่ื ใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้
แหล่งความรู้ออนไลน์ บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet Services ) ระบบเครือขาย
อนิ เทอรเ์ น็ต คือระบบการให้บริการเชื่อมโยงเครอื ขายคอมพิวเตอรเ์ ขา้ ดว้ ยกนท่ัวโลกโดยใชโ้ ปรโตคอล(protocol )
หรือรูปแบบวิธีการส ่ื อสารข้อมลของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์บนระบบเครือ ข่ายที่เรียกว่า ทีซีพีไอพี (TCP/ IP)
อินเทอรเ์ น็ตจงเปรียบเสมือนเคร่ืองมือในการให้บริการสงผ่านข้อมูล ข่าวสาร เอกสารและสื่อในรูปแบบดิจิตอลคือ
เป็นไฟล์ข้อมลูเพื่อการนําไปเก็บไว้และเรียกใชข้ อดจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ในระบบเครือขายท่ีมักเรียกกันว่าเครื่อง
แม่ข่ายหรือเคร่ืองแม่ข่ายเว็บ (Web Server) ปัจจุบัน ระบบเครือขายอินเทอร์เน็ต ครอบคลุมหลายร้อยประเทศ
ทวั่ โลก ทสี่ ามารถตติ อ่ิ อสื่อสารกันได้ ผา่ นทางบริการต่างๆโดยมีอัตราการเจรญิ เติบโตสูงถงึ 160 % ในปคี .ศ.1993
12
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีบริการสําหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่สามารถเช่ือมต่อเข้ากับระบบฯ ได้ใช้งาน ดังนี้
1. บรกิ ารรบั -ส่ง จดหมายอเล็กทรอนิกส์ (E-mail / Electronic Mail )
2. บริการการใช้เคร่ืองจากระยะไกล (Telnet / Remote Login) เป็นบริการท่ีอนุญาติให้เข้าใช้ งานเคร่ือง
คอมพิวเตอรบ์ นระบบเครือข่ายได้ จากทห่ี า่ งไกล เสมอื นหนึ่ง ใช้งานอยหน้าเครอ่ื งนัน้
3. บริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมลู (FTP: File Transfer Protocol) เป็นบริการท่ีอนุญาตให้ใช้เคร่ือง บนระบบเครือ
ข่ายอนิ เทอร์เนต็ ส่งหรือรับไฟล์ (แฟ้มข้อมลู ) จากเครอ่ื งอ่ืน ๆ บนระบบได้
4. บริการสนทนาออนไลน์ (IRC: Internet Relay Chat) เป็นบรกิ ารเพอื่ การพดคุย โต้ตอบกัน บนระบบเครือข่าย
ไดใ้ นเวลาเดยี วกนั (real time) ผ่านโปรแกรมต่าง ๆแบบ MSN หรือ ICQ เป็นต้น
5. บริการเว็บ หรือ เวลไวด์เว็บ (WWW: World Wide Web) ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถสร้างและ อ่านเอกสารที่
เรียกว่าเว็บเพจ(Web Page) บนระบบเครือข่ายได้โดยใช้ภาษา HTML(Hypertext Markup Language) เป็น
ส่ือกลาง ในการสร้างข้อความที่ เชื่อมโยงกันแบบหลายมิติไมม่ ที ่สี ิ้นสุด(Hyperlink) และ ใช้โปรแกรมประเภท
เวิลไวด์เว็บ (World Wide Web) จัดเป็นบริการบนระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต ที่มีการขยายตัวสูงมาก เน่ืองจาก
การใช้งานท่ีได้รับการออกแบบและพัฒนาให้ง่ายอย่างต่อเน่ือง ปัจจุบันเป็นท่ีรวมบริการอื่น ๆ ทั้งหมด ของระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้าไว้ด้วยกัน เกิดการเรียกใช้และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและเอกสาร สื่อดิจิตอล หลากหลาย
รูปแบบทงข้อความ รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวและวิดีโอ ที่เช่ือมโยงกันแบบหลายมิติ เรียกว่า ไฮเปอร์มีเดีย
(Hypermedia ) ช่วยให้การใช้งานบริการอื่น เช่น จดหมายอิเลกทรอนิกส์กระทําผ่านเว็บได้ โดยตรง ไม่ต้องใช้
โปรแกรมอื่นๆในการตั้งค่าและ ไม่ต้องมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ประจําตัวเรียกว่า เว็บเมล์ (Web Mail ) ที่สามารถ
เรียกใชจ้ ากเคร่อื งคอมพิวเตอร์ใด ๆ กไ็ ด้ การที่ข้อความ และสื่อดจิ ิตอลหลากหลายรปู แบบ สามารถเชื่อมโยงกันได้
แบบหลายมิตนิ ัน้ เกิด จากการกาํ หนดตําแหน่งหรือที่ อย่ขู องแฟ้มขอ้ มลต่างๆ บนระบบเครอื ขายอินเทอร์เน็ตไม่ให้
13
ซ้ำกัน เรียกว่า URL (Uniform Resource Locator) หรือWeb Address นั่นเอง บริการเว็บทําให้เกิดการค้นคืน
สารสนเทศ ระดบั โลก โดยก้าวพน้ ขอบเขตทางภาษาและ การเมือง
การใชง้ านโปรแกรมประเภทบราวเซอรแ์ บบพ้ืนฐาน (Internet Explorer Basics ) โปรแกรมประเภทบราวเซอร์
ที่คนส่วนใหญ่ ่ในปัจจุบัน รู้จักและใช้งานเป็น ได้แก่ โปรแกรม IE: Internet Explorer ทําหน้าที่หลักในการ
ถ่ายทอด ข้อความ ในรูปแบบเว็บเพจที่พัฒนาขนด้วยภาษา HTML ให้สามารถสื่อสารกันได้ทั่วโลก เน่ืองจากเป็น
โปรแกรมที่พัฒนาขนโดยบริษัท ไมโครซอฟต์โดยเริ่ม ติดตั้งให้ใช้งานคู่กันไปกับระบบปฏิบัติการวนิ โดส์ตั้งแตเ่ วอร์
ช่ันท่ี 5.0 ในปีค.ศ.1990 เปน็ ตน้ มาและมี การพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง ใหม้ ีคุณลกษณะเด่นๆ ทที่ าํ ใหท้ ํางานและใช้งาน
ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วจน ได้รับความนิยมและใช้งานกันอย่างแพร่หลายครอบครองตลาดอยู่ 80-90
เปอร์เซ็นต์แม้ว่าจะมีโปรแกรม ประเภทบราวเซอร์อื่นๆอีก เช่นโปรแกรม Mozilla Firefox ที่เริ่มได้รับความนิยม
และนํามาใช้กันมากขึ้น เพราะเป็นโปรแกรมที่ อยู่ในกลุ่มของซอฟต์แวร์เปิดเผยรหัส (OSS: Open Source
Software) ที่ไม่เก็บค่า บริการ หรือลิขสิทธิ์ในการใช้งาน เป็นต้น โปรแกรม IE เป็นชุดโปรแกรม ที่มีส่วนประกอบ
หลักเป็นโปรแกรมยอ่ ย ๆ ทไี่ ด้แก่
1. โปรแกรมบราวเซอร์
2. โปรแกรมรบั สงจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ (Outlook Express)
3. โปรแกรมสอ่ื สารสนทนา (MSN Messenger)
4. โปรแกรมประชมุ สอนและฝกึ อบรมออนไลน์ (NetMeeting)
5. โปรแกรมสือ่ สารแบบหอ้ งสนทนา (Microsoft Chat) การใช้งานโดยพื้นฐานของโปรแกรม IE ประกอบดว้ ย
1. การทอ่ งเว็บ (Surf the Web )
2. การจดเก็บข้อมูล หรือเว็บเพจเพ่ือนํามาอ่านศึกษาแบบออฟไลน์เมื่อไม่ได้ต่อเช่ือมระบเครือขายอินเทอร์เน็ต
(Save Web pages )
3. การดาวน์โหลดโปรแกรม หรอื ข้อมูลต่างๆ ( Download Software )
4. การรบั ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Send E-Mail )
5. การเข้ารว่ มการสนทนากลมและอ่านขา่ ว (Participate Newsgroup )
วิวฒั นาการของสารสนเทศ
ในระบบสารสนเทศนั้นจะมีการนำข้อมูลต่างๆ มาประมวลผลให้ข้อมูลนั้นเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้งาน ใน
อดีตทย่ี งั ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็ยงั มีเครื่องมืออื่น มาช่วยในการประมวลผลข้อมูลและช่วยในการสร้างผลผลิตได้ จนถึง
14
ปัจจบุ นั ไดม้ ีการนำคอมพวิ เตอรม์ าช่วยประมวลผลข้อมลู ก็ทำให้ระบบสารสนเทศน้ีพัฒนาไปได้มากข้ึนช่วยให้การ
ดำเนินชีวิตของมนุษยด์ ีขึ้น
ในโลกของเราได้มีการนำเครื่องมือมาชว่ ยในการดำรงชวี ิตมากมาย จนในปจั จุบนั ถือได้ว่าเป็นยุคของเทคโนโลยี
สารสนเทศ หากแบง่ ววิ ฒั นาการของยคุ สารสนเทศจะแบ่งได้ดังน้ี
โลกยคุ กสกิ รรม (Agriculture Age)
ยุคนนี้ บั ตัง้ แตก่ ่อนปี ค.ศ.1800 ถือวา่ เป็นยุคท่ีการดำเนินชีวติ ของมนษุ ย์ขน้ึ อยู่กบั การทำนา ทำสวน ทำไร่ โลก
ในยุคน้ยี งั มีการซ้ือขายสินค้าระหวา่ งกัน แต่กเ็ ป็นสินคา้ เกษตรเปน็ หลกั มีการนำเคร่อื งมือเครื่องทุ่นแรงมาใชง้ าน
ใหไ้ ดผ้ ลผลิตดขี ึ้น ในระบบหนึ่งๆ จะมีผู้รว่ มงานเป็นชาวนา ชาวไร่ เป็นหลกั
ยุคอตุ สาหกรรม (Industrial Age)
ยุคนจ้ี ะนับต้ังแต่ปี ค.ศ.1800 เปน็ ตน้ มา โดยในประเทศอังกฤษได้นำเคร่ืองจักรกลมาชว่ ยงานทางด้านเกษตร
ทำให้มีผลผลิตมากขึ้น และมีผู้ร่วมงานในระบบมากขึ้น เริ่มมีโรงงานอุตสาหกรรม เริ่มมีคนงานในโรงงาน ต่อมา
การนำเครื่องจักรกลมาใช้งานนี้ได้ขยายไปสู่ประเทศต่างๆ และได้มีการแปรรูปผลิตผลทางด้านการเกษตรออกมา
มากขึ้น และเครื่องจักรกลก็เป็นเครื่องมือที่ทำงานร่วมกับมนุษย์ และเริ่มมีโรงงานอุตสาหกรรมมากขึ้น ซึ่งทำให้
โลกของเรามีทงั้ ภาคอตุ สาหกรรมและภาคเกษตรกรรมควบคูก่ นั ไป
ยคุ สารสนเทศ (information Age)
ยุคนี้จะนับตงั้ แตป่ ระมาณปี ค.ศ.1957 จากทก่ี ารทำงานของมนุษย์มีท้ังดา้ นเกษตรและด้านอุตสาหกรรม ทำ
ให้คนงานต้องมีการสือ่ สารกันมากขึ้น ต้องมีความรู้ ในการใช้เครื่องจักรกล ต้องมีการจัดการข้อมูลเอกสาร ข้อมูล
สำนกั งาน งานด้านบัญชี จึงทำให้มคี นงานสว่ นหนง่ึ มาทำงานในสำนักงาน คนงานเหล่าน้ีถือวา่ เปน็ ผทู้ ี่มีความรู้และ
15
ต้องทำหน้าที่ประสานงานระหว่างฝ่ายผลิตและลูกคา้ ทำให้มีการพัฒนาเครื่องมือต่างๆ มาช่วยในการประมวลผล
จดั การใหร้ ะบบงานมปี ระสิทธิภาพดีข้ึน ทำให้เกิดการใช้เคร่ืองมือทางด้านสารสนเทศขึ้นมา ซ่งึ ถอื ว่าเป็นจุดเริ่มต้น
ของเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อเข้าสู่ยุคสารสนเทศ องค์กรต่างๆ ที่นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจดั การงาน
ประจำวัน จะทำงานได้สำเร็จเร็วขึ้น การผลิดทำได้รวดเร็วขึ้น เนื่องจากผู้ผลิตสามารถประมวลผลข้อมูลต่างๆ ได้
เรว็ ขน้ึ มกี ารนำระบบอัตโนมตั ิดา้ นการผลติ มาใช้ มรี ะบบบัญชี และมโี ปรแกรมทท่ี ำงานเฉพาะดา้ นมากขึน้
ความหมายของคำวา่ ข้อมูล
ข้อมูล คือค่าของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปรมิ าณ ที่อยู่ในความควบคุมของกลุ่มของสิง่ ต่าง ๆ ข้อมูลในเรื่อง
การคอมพวิ เตอร์ (หรอื การประมวลผลข้อมลู ) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอยา่ งหนึ่ง ซ่ึงมกั จะเปน็ โครงสร้างตาราง
(แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างต้นไม้ (กลุ่มของจุดต่อที่มีความสัมพันธ์แบบพ่อลูก) หรือโครงสร้างกราฟ
(กลุ่มของจุดต่อที่เชื่อมระหว่างกัน) ข้อมูลโดยปกติเป็นผลจากการวัดและสามารถทำให้เห็นได้โดยใช้กรา ฟหรือ
รูปภาพ ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหน่ึง อาจมองได้ว่าเปน็ ระดับต่ำท่สี ดุ ของภาวะนามธรรมทส่ี บื ทอดเป็น
สารสนเทศและความรู้ ข้อมูลดิบ หรือ ข้อมูลที่ยังไม่ประมวลผล เป็นศัพท์อีกคำหนึ่งที่เกี่ยวข้อง หมายถึงการ
รวบรวมจำนวนและอักขระต่าง ๆ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นตามปกติในการประมวลผลข้อมูลเป็นระยะ และ ข้อมูลท่ี
ประมวลผลแลว้ จากระยะหนึง่ อาจถือวา่ เป็น ขอ้ มูลดิบ ของระยะถัดไปก็ได้ ขอมลู สนามหมายถึงข้อมูลดิบ
ชนิดของข้อมลู
ภาษาซเี ปน็ อีกภาษาหนึ่งท่มี ีชนดิ ของขอ้ มูลให้ใช้งานหลายอย่างดว้ ยกนั ซึ่งชนิดของข้อมูลแตล่ ะอย่างมีขนาดเนอ้ื ท่ี
ทใ่ี ช้ในหนว่ ยความจำทีแ่ ตกต่างกัน และเน่ืองจากการท่มี ขี นาดทแี่ ตกตา่ งกันน้ันเอง ทำใหม้ คี วามสามารถในการ
16
จดั เก็บข้อมูลแต่ละประเภทแตกตา่ งกนั ไป ดงั นนั้ ในการเลือกงานประเภทขอ้ มูลก็ควรจะคำนึงถงึ ความจำเป็นใน
การใชง้ านด้วย สำหรับประเภทของข้อมูลมีดังน้ีคือ
1. ขอ้ มลู ชนิดตวั อกั ษร (Character) คือ ข้อมลู ที่เป็นรหัสแทนตัวอกั ษรหรือค่าจำนวนเต็ม ไดแ้ ก่ ตวั อกั ษร
ตวั เลขและกลุม่ ตัวอกั ขระพเิ ศษใชพ้ ื้นท่ีในการเกบ็ ข้อมูล 1 ไบต ์
2. ข้อมูลชนิดจำนวนเตม็ (Integer) คอื ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ เลขจำนวนเต็ม ไดแ้ ก่ จำนวนเตม็ บวก จำนวนเต็มลบ และ
ศนู ย์ ขอ้ มลู ชนดิ จำนวนเต็มใช้พื้นทใี่ นการเกบ็ ขอ้ มลู ขนาด 2 ไบต์
3. ข้อมูลชนดิ จำนวนเต็มที่มีขนาด 2 เท่า (Long Integer) คือ ข้อมลู ทเ่ี ป็นเลขจำนวนเต็ม ใช้พน้ื ท่ีในการเก็บ
เปน็ 2 เทา่ ของ Integer คอื มีขนาด 4 ไบต ์
4. ขอ้ มูลชนิดเลขทศนิยม (Float) คือ ข้อมลู ทเ่ี ป็นเลขทศนิยม ขนาด 4 ไบต์
5. ขอ้ มูลชนดิ เลขทศนยิ มอย่างละเอยี ด (Double) คือ ข้อมูลทเ่ี ปน็ เลขทศนิยม ใช้พน้ื ท่ใี นการเก็บข้อมลู เป็น 2
เท่าของ float คือมีขนาด 8 ไบต์
ชนดิ ขนาดความกวา้ ง ชว่ งของค่า การใช้งาน
Char 8 บิต ASCII character (-128
Unsignedchar 8 บิต ถงึ 127) เกบ็ ข้อมูลชนดิ อักขระ
Int 16 บิต เก็บข้อมลู อักขระแบบ
long 32 บิต 0-255 ไมค่ ิดเคร่อื งหมาย
Float 32 บิต เก็บข้อมลู ชนิดจำนวน
-32768 ถึง 32767 เต็ม
-2147483648 ถงึ เก็บข้อมูลชนิดจำนวน
2147483649 เตม็ แบบยาว
3.4E-38 ถงึ 3.4E+38 หรอื เก็บข้อมลู ชนิดเลข
ทศนิยม 6 ทศนิยม
17
Double 64 บิต 1.7E-308 ถึง 1.7E+308 เก็บข้อมูลชนดิ เลข
หรอื ทศนิยม 12 ทศนิยม
Unsigned int
16 บิต 0 ถงึ 65535 เก็บข้อมลู ชนิดจำนวน
Unsigned เต็ม ไม่คดิ เครื่องหมาย
long int
32 บิต 0 ถงึ 4294967296 เกบ็ ข้อมูลชนิดจำนวน
เตม็ แบบยาว ไม่คิด
เครอื่ งหมาย
สำหรบั รปู แบบของรหสั ควบคุมนัน้ จะเร่ิมตน้ ดว้ ยตวั อักษร back slash(\) จากนัน้ กต็ ามดว้ ยตวั อักษรพิเศษ
รหัสควบคุมที่นยิ มใชก้ ันท่วั ไปมีดงั นคี้ ือ
คา่ คงท่ีตัวอักษร รหัสควบคมุ ความหมาย
Bell(Alert) \a ส่งเสยี ง Beep
Backspace \b ยอ้ นกลับไป 1 ตวั อักษร
Horizontal tab \t แท็บในแนวนอน
Newline(Line Feed) \n ขนึ้ บรรทดั ใหม่
18
Vertical tab \v แท็บในแนวตั้ง
Form feed \f ขน้ึ หนา้ ใหม่
Carriage return \r รหัส Return
Quotation mark(“) แทนตวั อักษร Double
Apostrophe(‘) \” Quote(’’)
Null \’ แทนตวั อกั ษร Single Quote(’)
\ 0 ไม่มีคา่
19
สาเหตทุ ่ีทำใหเ้ กดิ สารสนเทศ
1. เม่ือมีวทิ ยาการความรู้ หรือสิ่งประดิษฐ์ หรอื ผลิตภณั ฑใ์ หม่ๆ พร้อมกนั นนั้ ก็จะเกดิ สารสนเทศมาพร้อมๆ กนั
ด้วย จากนั้นกจ็ ะมกี ารเผยแพร่ หรอื กระจายสารสนเทศ เก่ียวกับ วิทยาการความรู้ หรือสิ่งประดษิ ฐ์ ผลติ ภัณฑ์ ชนดิ
นัน้ ๆไปยงั แหลง่ ตา่ งๆ ที่เก่ยี วข้อง
2. เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ เปน็ เครอื่ งมือสำคญั ในการผลิตสารสนเทศ เนือ่ งจากมี ความสะดวกในการป้อน ข้อมูล
การปรบั ปรงุ แก้ไข การทำซำ้ การเพ่ิมเตมิ ฯลฯ ทำให้มคี วาม สะดวกและง่ายต่อการผลติ สารสนเทศ
3. เทคโนโลยีสอื่ สารยคุ ใหม่มีความเร็วในการสอื่ สารสูงขน้ึ สามารถเผยแพรส่ ารสนเทศ จากแหล่งหน่ึง ไปยัง
สถานท่ีต่างๆ ทั่วโลกในเวลาเดยี วกันกบั เหตกุ ารณท์ ่ีเกิดข้ึนจรงิ อีกทงั้ สามารถสง่ ผา่ นขอ้ มลู ได้อย่างหลากหลาย
รูปแบบ พร้อมๆ กนั ในเวลาเดยี วกัน
4. เทคโนโลยีการพิมพท์ ี่มีความสามารถในการผลติ สารสนเทศสูงข้ึน สามารถผลติ สารสนเทศได้คร้งั ละจำนวน
มากๆ ในเวลาสน้ั ๆ มีสสี ันเหมือนจรงิ ทำให้มีปริมาณสารสนเทศใหม่ๆ เกิดขน้ึ อยตู่ ลอดเวลา
20
5. ผ้ใู ช้มคี วามจำเป็นตอ้ งใชส้ ารสนเทศเพ่ือการศกึ ษา เพอื่ การคน้ ควา้ วจิ ัย เพ่ือการ พัฒนาคุณภาพชีวติ เพ่ือการ
ตดั สินใจ เพอื่ การแกไ้ ขปญั หา เพื่อการปฏบิ ตั งิ าน หรอื ปรบั ปรุง ประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั ิงาน, การบรหิ ารงาน ฯลฯ
6. ผ้ใู ชม้ ีความตอ้ งการใช้สารสนเทศ เพื่อตอบสนองความสนใจ ตอ้ งการทราบแหล่งทอี่ ยู่ของสารสนเทศ ต้องการ
เข้าถงึ สารสนเทศ ตอ้ งการสารสนเทศทม่ี าจากตา่ งประเทศ ตอ้ งการสารสนเทศอย่างหลากหลาย หรือตอ้ งการ
สารสนเทศอยา่ งรวดเรว็ เป็นตน้
คอมพิวเตอร์และอิน-เทอร์เนต็
เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ หมายถึง การเชอื่ มต่อคอมพวิ เตอร์และอุปกรณต์ ่อพว่ งเขา้ ด้วยกนั โดยใช้ส่อื กลางต่างๆ
เช่น สายสัญญาณ คล่นื วิทยุ เป็นต้น เพอ่ื ทำให้สามารถสือ่ สาร แลกเปลีย่ นข้อมูลและใช้ทรพั ยากรรว่ มกันไก้
เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ แบ่งออกเป็น 6 ประเภท
1. เครือขา่ ยเฉพาะท่ี หรือ แลนด์
2. เครือข่ายนครหลวง หรอื แมน
3. เครอื ขา่ ยบรเิ วณกวา้ ง หรือแวน
4. เครอื ข่ายภายในองค์กร หรืออินทราเนต็
5. เครือข่ายภายนอกองค์กร หรืออนิ ทราเน็ต
6. เครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต
21
เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรม์ ีองคป์ ระกอบพืน้ ฐาน 2 ส่วนหลกั คอื องค์ประกอบดา้ นฮาร์ดแวร์ และองค์ประกอบ
ดา้ นซอฟต์แวร์ โดยองค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ หมายถงึ อปุ กรณ์ท่ใี ชง้ านและเชือ่ มต่อภายในเครอื ข่าย เชน่ เคร่ือง
คอมพวิ เตอร์ แปน้ พิมพ์ สายสัญญาณ เปน็ ตน้ ส่วนองค์ประกอบดา้ นซอฟตแ์ วร์ หมายถึง ระบบปฏบิ ตั ิการ หรอื
โปรแกรมต่างๆ ท่ีใช้สนับสนนุ การทำงานและใหบ้ ริการดา้ นต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แกผ่ ูใ้ ชใ้ ห้สามารถ
ติดต่อสื่อสารผา่ นเครอื ขา่ ยได้
อินเทอร์เน็ต (internet) มาจากคำว่า interconnection network หมายถึง การใช้ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ที่นำเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกันโดยผ่านสื่อกลางชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น สายโทรศัพท์
ดาวเทียม เป็นต้น เพื่อสื่อสารข้อมูลกัน โดยอินเทอร์เน็ตเป็นการนำเครือข่ายขนาดเล็กมาเชื่อมต่อกันจนเป็น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มขี นาดใหญ่คลอบคลุมทัว่ โลกโดยมีมาตรฐานการรับส่งข้อมลู ระหว่างกันเป็นแบบเดยี วกนั
ซึ่งภายในเครือจ่ายแต่ละเครื่องสามารถรับและส่งข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น ตัวอักษร
ภาพกราฟฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง เป็นต้น ทำให้อินเทอร์เน็ตเป้นส่วนสำคัญในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ใน
ปัจจบุ นั
ระบบการสบื ค้นผ่านเครอื ขา่ ยเพอ่ื การเรยี นรู้
ความหมายของเครือข่ายการเรยี นรู้
หมายถงึ การเรยี นร้ใู นระบบคอมพวิ เตอร์ เพือ่ ใช้ประกอบกิจกรรมทางการศึกษาทุกระดับ มีองค์ประกอบ
สำคัญ คอื อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์
22
คุณลกั ษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
1.สามารถเขา้ ถงึ ไดก้ ว้างขวาง ง่าย สะดวก เรยี กข้อมูลมาใช้ไดง้ ่าย
2.เป็นการเรยี นแบบรว่ มกนั และทำงานรว่ มกนั เป็นกลมุ่
3.สร้างกิจกรรมการเรยี นรู้
4.ผู้เรียนเป็นศนู ย์กลางเรียนการสอน
5.จัดใหเ้ ครือข่ายการเรยี นรเู้ ป็นเสมือนชุมชนของการเรียนรู้แบบออนไลน์
แนวทางการบริหารจดั การและพฒั นาเครือขา่ ยการเรียนรู้
1. ขน้ั การก่อรปู เครือขา่ ยการเรียนรู้ (Leaning Network Forming)
2. ขนั้ การจดั ระบบบรหิ ารเครือข่ายการเรยี นรู้ (Leaning Network Organizing)
3. ขนั้ การใชเ้ ครือข่ายการเรยี นรู้ (Leaning Network Utilizing)
4. ขน้ั การธำรงรกั ษาเครือขา่ ยการเรยี นรู้ (Leaning Network Maintaining)
กระบวนการและวธิ กี ารสรา้ งเครอื ข่ายการเรียนรู้
มขี น้ั ตอนและวิธตี า่ งๆ ดงั น้ี
1.การตระหนักถึงความจำเปน็ ในการสร้างเครือข่าย
2.การตดิ ต่อกับองค์กรที่จะรว่ มเปน็ เครือขา่ ย
3.การสร้างพันธกรณีร่วมกัน
4.การพัฒนาความสมั พันธร์ ่วมกัน
5.การทำกจิ กรรมรว่ มกนั
6.การรวมตวั กนั จัดต้ังองค์กรใหม่รว่ มกัน
ความหมายของ E-Learning
หมายถึง การเรียนการสอนในลกั ษณะใดก็ได้ ที่ใช้การถา่ ยทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ โดย
ผ่านทางเครือข่ายอินเทอรืเน็ต หรอื ระบบอน่ื ๆ ท่ีคลา้ ยคลงึ กนั ซึ่งเนื้อหา หรือสารสนเทศสำหรับการสอนหรอื การ
อบรม ใช้การนำเสนอตวั อักษร ภาพนิง่ ผสมผสานกับการใชภ้ าพเคลื่อนไหว วดี ที ศั น์และเสียง
23
E-Learning ในประเทศไทย
แบ่งได้ 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ
- การนำเสนอในลักษณะ Web Based Instruction (WBI)
- การนำเสอนในลกั ษณะ E-Learning
ปญั หาการพัฒนาระบบการเรียนรผู้ า่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
1. ปัญหาการสนบั สนุนด้านงบประมาณและบุคลากร
2. ปัญหาเร่ืองราคาของซอฟต์แวร์ CMS/LMS และการลิขสิทธ์ิ
3. ปญั หาเรือ่ งทมี งานดำเนนิ การ
4. ปญั หาเกีย่ วกบั Infrastructure
5. ปัญหาเกยี่ วกบั มาตรฐานการจัดทำระบบ CMS/LMS
ข้อดแี ละข้อเสยี ของการเรยี นรู้ผ่านเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็
ขอ้ ดี
1.ผเู้ รยี นและผูส้ อนไม่ตอ้ งการเรยี นสอนในเวลาเดยี วกัน
2.ผเู้ รียนและผู้สอนไม่ตอ้ งมาพบกันในห้องเรยี น
ข้อเสยี
1.ไมส่ ามารถรบั รู้ความรสู้ กึ ปฏกิ ริ ิยาท่แี ทจ้ รงิ ของผเู้ รยี นและผู้สอน
2.ไม่สามารถส่ือความรสู้ ึกอารมณ์ในการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งแท้จรงิ
ขอ้ คำนงึ ในการจัดการเรียนรผู้ ่านระบบเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็
1. ความพร้อมของอุปกรณ์และระบบเครือขา่ ย
2. ทกั ษะใชค้ อมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็
3. ความพร้อมของผู้เรยี น
4. ความพรอ้ มของผูส้ อน
5. เนอ้ื หา บทเรยี น
24
เวบ็ ไซต์ที่เปน็ เครอื ขา่ ยการเรียนรู้
♣ Trueplookpanya.com
♣ Kroobannok.com
กรรมวิธีการจัดการขอ้ มลู (Datamanipulation) (ใหม้ ีคณุ คา่ เปน็ สารสนเทศ)
การจดั การข้อมลู ใหม้ ีคุณค่าเปน็ สารสนเทศ กระทำไดโ้ ดยการเปล่ยี นแปลงสถานภาพของข้อมูล ซ่ึงมีวธิ กี าร หรือ
กรรมวธิ ดี งั ตอ่ ไปน้ี (Kroenke and Hatch1994 : 18-20)
1. การรวบรวมข้อมูล (Capturing/gathering/collecting Data) ที่ต้องการจากแหล่งต่างๆ โดยการ
เครื่องมือ ช่วยค้นที่เป็นบัตรรายการ หรือ OPAC แล้วนำตัวเล่มมาพิจารณาว่ามีรายการใดที่สามารถ
นำมาใชป้ ระโยชน์ได้
2. การตรวจสอบข้อมูล (Verifying/checking Data) โดยตรวจสอบเนื้อหาของข้อมูลที่หามาได้ ในประเด็น
ของ ความถูกต้องและความแม่นยำของเนื้อหา ความสอดคล้องของตาราง, ภาพประกอบ หรือแผนที่ กับ
เน้อื หา
25
3. การจัดแยกประเภท/จัดหมวดหมู่ข้อมูล (Classifying Data) เมื่อผ่านการตรวจสอบความถูกต้อง
สอดคล้องกัน ของเนื้อหาแล้ว นำข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นมาแยกออกเป็นกอง หรือกลุ่ม ๆ ตามเรื่องราวท่ี
ปรากฏในเน้อื หา
4. จากนั้นก็นำแต่ละกอง หรือกลุ่ม มาทำการเรียงลำดับ/เรียบเรียงข้อมูล (Arranging/sorting Data) ให้
เป็นไป ตามความเหมาะสมของเน้ือหาว่าจะเร่ิมจากหวั ข้อใด จากนั้นควรเปน็ หวั ข้ออะไร
5. หากมีข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขจะต้องนำตัวเลขนั้นมาทำการวิเคราะห์หาค่าทางสถิติที่เกี่ยวข้อง หรือทำการ
คำนวณข้อมูล (Calculating Data) ให้ได้ผลลัพธ์ออกเสียก่อน
6. หลงั จากนั้นจงึ ทำการสรุป (Summarizing/conclusion Data) เนอ้ื หาในแตล่ ะหัวข้อ
7. เสร็จแล้วทำการจัดเก็บ หรือบันทึกข้อมูล (Storing Data) ลงในสื่อประเภทต่างๆ เช่น ทำเป็นรายงาน
หนังสือ บทความตีพิมพ์ในวารสาร หนังสือพิมพ์ หรือลงในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ (แผ่นดิสก์ ซีดี -รอม
ฯลฯ)
8. จัดทำระบบการค้นคืน เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Retrieving Data) จะได้
จดั เกบ็ และค้นคนื สารสนเทศอยา่ งถกู ตอ้ ง แม่นยำ รวดเร็ว และตรงกับความตอ้ ง
9. ในการประมวลผลเพอื่ ให้ได้มาซ่ึงสารสนเทศ จกั ต้องมีการสำเนาขอ้ มลู (Reproducing Data) เพอ่ื ปอ้ งกัน
ความเสยี หายท่อี าจเกิดข้ึนกับข้อมูล ทง้ั จากสาเหตุทางกายภาพ และระบบการจัดเก็บข้อมลู
10. จากนั้นจึงทำการการเผยแพร่ หรือส่ือสาร หรือกระจายข้อมูล (Communicating/disseminating Data)
เพอื่ ให้ผลลัพธ์ท่ีได้ถึงยังผ้รู ับ หรือผ้ทู ่ีเกย่ี วขอ้ ง
การจัดการข้อมูลให้มีสถานภาพเป็นสารสนเทศ (Transformation Processing) ในความเป็นจริงแล้วไม่จำเป็นที่
จะต้องทำครบ ทั้ง 10 วิธีการ การที่จะทำกี่ขั้นตอนนั้นขึ้นอยู่กับ ข้อมูลที่นำเข้ามาในระบบการประมวลผล หาก
ข้อมูลผ่าน ขั้นตอน ที่ 1 หรือ 2 มาแล้ว พอมาถึงเรา เราก็ทำขั้นตอนที่ 3 ต่อไปได้ทันที แต่อย่างไรก็ตามการให้
ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่มี คุณค่า จักต้องทำตามลำดับดังกล่าวข้างต้น ไม่ควรทำข้ามขั้นตอน ยกเว้นขั้นตอนที่ 5 และ
ข้ันตอนท่ี 6 กรณีท่ีเป็นข้อมลู เกีย่ วกับตวั เลขก็ทำข้นั ตอนที่ 5 หากข้อมลู ไมใ่ ช่ตวั เลขอาจจะขา้ มข้ันตอนที่ 5 ไปทำ
ขั้นตอนที่ 6 ได้เลย เป็นต้น ผลลัพธ์ หรือผลผลิตที่ได้จากการประมวลผล หรือกรรมวิธีจัดการข้อมูล ปรากฏแก่
สังคมในรปู ของสอ่ื ประเภทต่างๆ เชน่ เปน็ หนังสือ วารสาร หนังสือพมิ พ์ ซดี ี-รอม สไลด์ แผ่นใส แผนท่ี เทปคลาส
เซท ฯลฯ แต่อย่างไรกต็ ามไม่ไดห้ มายความว่า ผลผลติ หรอื ผลลพั ธน์ ้ันจะมสี ถานภาพเป็นสารสนเทศเสมอไป
26
ความสำคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
สามารถอธิบายความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้าน
ต่าง ๆ ของผคู้ นไว้หลายประการดงั ต่อไปนี้ (จอหน์ ไนซ์บติ ต์ อ้างถงึ ใน ยนื ภูว่ รวรรณ)
• ประการที่หน่ึง เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทำใหส้ ังคมเปลยี่ นจากสงั คมอตุ สาหกรรมมาเปน็ สังคมสารสนเทศ
• ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเปน็ เศรษฐกิจโลก
ที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทำให้เกิด
สังคมโลกาภิวฒั น์
• ประการทีส่ าม เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องคก์ รมีลักษณะผูกพัน มกี ารบังคบั บัญชาแบบแนวราบมากขึ้น
หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธรุ กิจอืน่ เปน็ เครือข่าย การดำเนินธุรกิจมีการแข่งขนั
กันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัว
สนับสนนุ เพ่อื ให้เกดิ การแลกเปลี่ยนขอ้ มูลได้ง่ายและรวดเรว็
• ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตามความ
ต้องการการใช้เทคโนโลยใี นรูปแบบใหม่ทีเ่ ลือกไดเ้ อง
• ประการทห่ี ้า เทคโนโลยสี ารสนเทศทำใหเ้ กิดสภาพทางการทำงานแบบทกุ สถานทแ่ี ละทกุ เวลา
• ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทำให้วิถี
การตัดสนิ ใจ หรือเลือกทางเลอื กได้ละเอียดขึ้น
กล่าวโดยสรุปแล้ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สำคัญในทุกวงการ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโลกด้านความ
เป็นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัยและการ
พฒั นาตา่ ง ๆ
27
ความสำคัญของสารสนเทศ
สารสนเทศได้กลายมาเป็นปจั จยั สำคญั ต่อการดำเนินชีวติ ของคนในสงั คมปัจจบุ นั ในองค์กรตา่ งๆ สารสนเทศ
ไดก้ ลายเป็นทรพั ยส์ ินอนั มคี า่ จนมคี ำกล่าวว่าสารสนเทศ คือ อำนาจ (Information is power) ใครทม่ี ีสารสนเทศ
มากก็จะสามารถควบคุมหรือต่อรองได้ ฝา่ ยที่มสี ารสนเทศมากกวา่ มกั จะไดเ้ ปรียบคแู่ ข่งเสมอ จนอาจนำไปสยู่ คุ “
สงครามข้อมลู ข่าวสาร ” ได้
ดงั น้นั สารสนเทศจึงมีประโยชนม์ ากมาย เชน่ ชว่ ยลดความอยากรู้ คลายความสงสัย ช่วยแก้ปัญหา ชว่ ย
วางแผนและการตัดสินใจได้อยา่ งถกู ต้อง สารสนเทศจึงชว่ ยพัฒนาบคุ คล ชว่ ยการปฏิบัตงิ าน ชว่ ยในการดำเนนิ
ชวี ิต ซ่งึ สง่ ผลต่อการพฒั นาสังคมและประเทศ สารสนเทศจึงมีความสำคัญตอ่ บุคคล องค์กร และสงั คม ดังนี้
1 ความสำคัญของสารสนเทศต่อบุคคลและต่อองค์กร
ในชวี ติ ประจำวัน ไม่วา่ จะเปน็ การศึกษา การประกอบอาชีพ หรือการดำรงชีพ สารสนเทศมีบทบาทต่อ
มนษุ ย์มากเกนิ กวา่ ท่บี างคนตระหนกั ถึง
28
ในด้านการปฏบิ ตั ิงานและในการจัดการ สารสนเทศทีถ่ ูกต้องนับเปน็ องค์ประกอบสำคญั โดยเฉพาะการ
แกป้ ัญหา การตดั สนิ ใจ และการปฏบิ ตั ิงานให้บรรลุวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
2 ความสำคญั ของสารสนเทศต่อสังคม
สารสนเทศมคี วามสำคัญตอ่ สังคม 2 ดา้ น คือ ด้านการปกครอง และดา้ นการพัฒนา
ดา้ นการเมอื งการปกครอง สารสนเทศจำเป็นตอ่ การดำเนินชีวติ และการตดั สนิ ใจของประชาชนอันเปน็
พน้ื ฐานของสงั คม ผปู้ กครองจึงต้องจัดการให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้ จงึ จะเกดิ การ
บริหารท่โี ปรง่ ใส เป็นสงั คมประชาธปิ ไตย ไม่เกดิ ความวุ่นวาย
ในดา้ นการพฒั นา สารสนเทศมีความสำคญั ย่งิ ทัง้ ในการเตรยี มแผนพัฒน าและการปฏิบตั ิตามแผน เชน่
สารสนเทศเกี่ยวกบั ชุมชน สารสนเทศเกย่ี วกับสง่ิ แวดลอ้ ม สารสนเทศเกี่ยวกบั การเมืองการปกครอง สารสนเทศ
เกีย่ วกับเทคนิคการแก้ปัญหา สารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ งานวจิ ัยหรือการประดิษฐซ์ งึ่ จะชว่ ยในการพฒั นาต่อไป
ความหมายของสารสนเทศ ( Information )
ซาเรซวิค และวดู (Saracevic and Wood 1981 : 10) ได้ให้คำนิยามสารสนเทศไว้ 4 นิยามดังนี้
1. Information is a selection from a set of available message, a selection which reduces
uncertainty. สารสนเทศ คอื การเลอื กสรรจากชุดของข่าวสารท่ีมีอยู่ เป็นการเลอื กที่ช่วยลดความไม่แนน่ อน หรือ
กล่าวได้ว่า สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ไดม้ ีเลือกสรรมาแล้ว (เป็นข้อมูลทีม่ ีความแน่นอนแลว้ ) จากกลุ่มของขอ้ มูลทมี่ ี
อยู่
2. Information as the meaning that a human assigns to data by means of conventions used in
their presentation. สารสนเทศ คือ ความหมายทมี่ นษุ ย์ (สัง่ ) ใหแ้ ก่ ข้อมูล ด้วยวธิ ีการนำเสนอทีเ่ ปน็ ระเบยี บ
แบบแผน
29
3. Information is the structure of any text-which is capable of changing the image-structure of a
recipient. (Text is a collection of signs purposefully structured by a sender with the intention of
changing the image-structure of recipient) สารสนเทศ คือ โครงสรา้ งของข้อความใดๆ ทส่ี ามารถ
เปลีย่ นแปลงโครงสร้าง ทาง จนิ ตภาพ (ภาพลักษณ)์ ของผู้รบั (ข้อความ หมายถึง ที่รวมของสัญลกั ษณ์ต่างๆ มี
โครงสรา้ งท่ีมี จุดมุ่งหมาย โดยผู้ส่งมีเป้าหมายท่จี ะ เปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งทาง จินตภาพ (+ความรสู้ กึ นึกคิด) ของ
ผู้รบั (สาร)
4. Information is the data of value in decision making. สารสนเทศ คอื ข้อมลู ท่ีมีค่าในการตัดสินใจ
นอกจากนน้ั ยังมีความหมายทีน่ ่าสนใจดังนี้
สารสนเทศ คอื ข้อมูลท่มี ีการปรบั เปล่ยี น (Convert) ด้วยการจดั รปู แบบ (Formatting) การกลนั่ กรอง (Filtering)
และการสรปุ (Summarizing) ใหเ้ ป็นผลลัพธท์ ่ีมี รปู แบบ (เช่น ข้อความ เสียง รูปภาพ หรอื วีดิทศั น์) และเน้ือหาท่ี
ตรงกับ ความต้องการ และเหมาะสมต่อการนำไปใช้ (Alter 1996 : 29, 65, 714)
• สารสนเทศ คือ ตัวแทนของข้อมูลทีผ่ ่านการประมวลผล (Process) การจดั การ (Organized) และการ
ผสมผสาน (Integrated) ใหเ้ กิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ (Post 1997 : 7)
• สารสนเทศ คอื ข้อมูลท่มี ีความหมาย (Meaningful) หรอื เปน็ ประโยชน์ (Useful) สำหรับบางคนทจี่ ะใช้
ชว่ ยในการ ปฏบิ ัตงิ านและการจัดการ องคก์ าร (Nickerson 1998 : 11)
• สารสนเทศ คอื ข้อมลู ท่มี ีความหมาย (Schultheis and Sumner 1998 : 39)
• สารสนเทศ คอื ข้อมูลทีม่ ีความหมายเฉพาะภายใตบ้ รบิ ท (Context) ท่เี กี่ยวข้อง (Haag, Cummings
and Dawkins 2000 : 20)
• สารสนเทศ คอื ข้อมลู ทีผ่ ่านการปรับเปล่ียน (Converted) มาเปน็ สิง่ ทมี่ ีความ หมาย (meaningful)
และเป็น ประโยชน์ (Useful) กบั เฉพาะบุคคล (O’Brien 2001 : 15)
• สารสนเทศ คอื ข้อมลู ที่ผ่านการประมวลผล หรือข้อมูลที่มีความหมาย (McLeod, Jr. and Schell 2001
: 12)
• สารสนเทศ คือ ข้อมลู ทีไ่ ด้รับการจดั ระบบเพ่ือใหม้ ีความหมายและมีคุณคา่ สำหรบั ผู้ใช้ (Turban,
McLean and Wetherbe 2001 : 7)
• สารสนเทศ คอื ที่รวม (ชดุ ) ข้อเทจ็ จรงิ ท่ีได้มีการจัดการแล้ว ในกรณีเชน่ ขอ้ เทจ็ จริงเหลา่ นัน้ ไดม้ ีการเพ่ิม
คุณคา่ ภายใต้คุณค่าของข้อเท็จจรงิ นนั้ เอง (Stair and Reynolds 2001 : 4)
30
• สารสนเทศ คือ ข้อมลู ที่ไดร้ ับการประมวลผล หรอื ปรงุ แต่ง เพ่ือให้มคี วามหมาย และเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้ใช้
(เลาวด์ อน และเลาว์ดอน 2545 : 6)
• สารสนเทศ คือ ข้อมูลทีไ่ ด้รบั การประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบท่มี ีความหมายตอ่ ผู้รับ และมคี ณุ ค่าอนั
แท้จริง หรือ คาดการณว์ า่ จะมีคา่ สำหรับการดำเนนิ งาน หรอื การตัดสินใจใน ปัจจบุ ัน หรอื อนาคต
(ครรชิต มาลัยวงศ์ 2535 : 12)
• สารสนเทศ คือ เรื่องราว ความรู้ตา่ งๆ ที่ไดจ้ ากการนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีการอย่างใดอยา่ งหน่ึง
และมี การผสมผสานความรู้ หรอื หลักวิชาที่เกย่ี วข้อง หรือความคิดเหน็ ลงไปดว้ ย (กลั ยา อดุ มวิทิต 2537
:3)
• สารสนเทศ คอื ข้อความรทู้ ่ีประมวลได้จากข้อมลู ต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งในเรอื่ งน้ันจนได้ ข้อสรุป เป็น
ขอ้ ความรูท้ ่ี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเนน้ ท่กี ารเกิดประโยชน์ คอื ความรู้ที่เกิดข้ึนเพิม่ ขนึ้ กับผใู้ ช้
(สุชาดา กรี ะนันท์ 2542 : 5)
• สารสนเทศ คอื ข่าวสาร หรือการชีแ้ จงข่าวสาร (ปทปี เมธาคณุ วุฒิ 2544 : 1)
• สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล ผา่ นการวเิ คราะห์ หรือสรุปให้อยู่ในรูปทมี่ ีความหมายที่
สามารถนำไป ใช้ประโยชนไ์ ด้ตามวตั ถุประสงค์ (จติ ติมา เทียมบุญประเสรฐิ 2544 : 4)
• สารสนเทศ คอื ผลลพั ธท์ ่ีเกดิ จากการประมวลผลข้อมลู ดิบทถ่ี กู จดั เกบ็ ไว้อยา่ งเปน็ ระบบ ที่สามารถนำไป
ประกอบการทำงาน หรอื สนับสนุนการตดั สินใจของผู้บรหิ าร ทำให้ผบู้ รหิ ารสามารถแกไ้ ขปัญหา หรอื
ทางเลอื กในการ ดำเนิน งานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบลู ย์ เกียรติโกมล 2545
: 40)
• สารสนเทศ คอื ข้อมูลทไ่ี ดผ้ า่ นการประมวลผล หรือจดั ระบบแล้ว เพือ่ ให้มีความหมายและ คณุ ค่าสำหรบั
ผใู้ ช้ (ทพิ วรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ 2545 : 9)
• สารสนเทศ คอื ผลลัพธท์ ่ีได้จากการประมวลผลของขอ้ มลู ดบิ (Raw Data) ประกอบไปด้วย ขอ้ มลู ตา่ งๆ
ทเี่ ปน็ ตวั อกั ษร ตัวเลข เสยี ง และภาพ ทน่ี ำไปใช้สนบั สนนุ การ บรหิ ารและการตดั สนิ ใจของผบู้ ริหาร
(นภิ าภรณ์ คำเจริญ 2545 : 14)
สรุป สารสนเทศ คือ ข้อมูล ข่าวสาร ข่าว ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น หรือประสบการณ์ อยู่ในรูปแบบที่แตกตา่ งกัน
ออกไป เช่น ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียง สัญลักษณ์ หรือกลิ่น ที่ถูกนำมาผ่านกระบวนการประมวลผล ด้วย
31
วธิ กี ารที่ เรยี ก ว่า กรรมวธิ ีจัดการข้อมลู (Data Manipulation) และผลที่ไดอ้ าจแสดงผลออกมาในรูปแบบของสื่อ
ประเภทต่าง เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ แผนที่ แผ่นใส ฯลฯ และเป็นผลลัพธ์ที่ผู้ใช้สามารถนำไปใช้
ประโยชน์ได้อย่างถูกต้อง ตรงและทันกับความต้องการ หรือ สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ที่มีความถูกต้อง ตรงตาม
ต้องการ และทันต่อความต้องการของผู้ใช้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นผลลัพธ์ที่ได้มาจากการนำข้อมูลมาประมวลผล
ด้วยกรรมวิธีจัดการข้อมูลหรือ สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ที่ได้มาจากการนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยกรรมวิธีจัดการ
ข้อมูล ซึ่งจะต้องเป็น ผลลัพธ์ที่มี คุณสมบัติถูกต้อง ตรงตามต้องการ และทันต่อความต้องการของผู้ใช้ หรื อผู้ที่
เก่ียวข้อง
คุณภาพของสารสนเทศ (Quality of Information/Information Quality)
คณุ ภาพของสารสนเทศ จะมีคณุ ภาพสูงมาก หรือน้อย พิจารณาท่ี 3 ประเดน็ ดังน้ี (Bentley 1998 : 58-59)
1. ตรงกบั ความต้องการ (Relevant) หรือไม่ โดยดูวา่ สารสนเทศน้ันผ้ใู ช้สามารถนำไปใชเ้ พ่ิมประสิทธภิ าพได้
มากกวา่ ไม่ใชส้ ารสนเทศ หรอื ไม่ คณุ ภาพของสารสนเทศ อาจจะดทู ่ีมันมีผลกระทบต่อกจิ กรรมของผู้ใช้ หรือไม่
อย่างไร
2. น่าเช่ือถือ (Reliable) เพยี งใด ความนา่ เชอ่ื ถือมหี ัวขอ้ ท่ีจะใช้พิจารณา เชน่ ความทันเวลา (Timely) กบั ผู้ใช้
เม่ือ ผู้ใชจ้ ำเป็นต้องใชม้ สี ารสนเทศน้ัน หรือไม่ สารสนเทศทีน่ ำมาใชต้ ้องมีความถูกต้อง (Accurate) สามารถพิสูจน์
(Verifiable) ได้ว่าเปน็ ความจริง ด้วยการวิเคราะหข์ ้อมลู ที่เกี่ยวขอ้ ง เปน็ ต้น
3. สารสนเทศนั้นเข้มแข็ง (Robust) เพียงใด พิจารณาจากการที่สารสนเทศสามารถเคลื่อนตัวเองไปพร้อมกับ
กาลเวลาที่เปลี่ยนไป (Rigorous of Time) หรือพิจารณาจากความอ่อนแอของมนุษย์ (Human Frailty) เพราะ
มนุษย์ อาจทำความผิดพลาดในการป้อนข้อมูล หรือการประมวลผลข้อมูล เพราะฉะนั้นจะต้องมีการควบคุม หรือ
ตรวจสอบ ไม่ให้มีความผิดพลาดเกิดขึ้น หรือพิจารณาจากความผิดพลาด หรือล้มเหลวของระบบ (System
32
Failure) ทจ่ี ะส่งผล เสยี หายตอ่ สารสนเทศได้ ดังนนั้ จึงตอ้ งมีการป้องกันความผิดพลาด (ท่เี น้อื หา และไม่ทันเวลา)
ที่อาจเกิดขึ้นได้ หรือ พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลง การจัดการ (ข้อมูล) (Organizational Changes) ที่อาจจะ
ส่งผลกระทบ (สร้างความเสียหาย) ต่อสารสนเทศ เช่น โครงสร้าง แฟ้ม ข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูล การรายงาน
จักตอ้ งมกี ารปอ้ งกัน หากมกี าร เปลย่ี นแปลงในเรอื่ งดังกล่าว
นอกจากนั้นซวาสส์ (Zwass 1998 : 42) กลา่ วถึง คณุ ภาพของสารสนเทศจะมมี ากน้อยเพียงใดขน้ึ อยู่กับ การ
ทันเวลา ความสมบรู ณ์ ความกะทัดรดั ตรงกับความต้องการ ความถกู ต้อง ความเที่ยงตรง (Precision) และ
รูปแบบทีเ่ หมาะสม ในเรื่องเดียวกัน โอไบรอ์ นั (O’Brien 2001 : 16-17) กลา่ ววา่ คุณภาพของสารสนเทศ
พจิ ารณาใน 3 มิติ ดงั นี้
1. มติ ดิ า้ นเวลา (Time Dimension)
1. สารสนเทศควรจะมีการเตรยี มไว้ให้ทันเวลา (Timeliness) กบั ความต้องการของผู้ใช้
2. สารสนเทศควรจะต้องมีความทันสมยั หรือเปน็ ปจั จบุ นั (Currency)
3. สารสนเทศควรจะต้องมีความถี่ (Frequency) หรือบ่อย เท่าทีผ่ ้ใู ช้ต้องการ
4. สารสนเทศควรมีเร่ืองเกย่ี วกับชว่ งเวลา (Time Period) ตั้งแตอ่ ดีต ปจั จบุ นั และอนาคต
2. มติ ดิ ้านเนื้อหา (Content Dimension)
• ความถกู ตอ้ ง ปราศจากข้อผิดพลาด
• ตรงกับความต้องการใชส้ ารสนเทศ
• สมบรู ณ์ สง่ิ ทจ่ี ำเปน็ จะต้องมีในสารสนเทศ
• กะทัดรัด เฉพาะที่จำเปน็ เทา่ นนั้
• ครอบคลุม (Scope) ทงั้ ดา้ นกว้างและด้านแคบ (ด้านลกึ ) หรอื มีจุดเนน้ ท้ังภายในและภายนอก
• มีความสามารถ/ศักยภาพ (Performance) ท่แี สดงใหเ้ หน็ ไดจ้ ากการวดั คา่ ได้ การบง่ บอกถงึ การพัฒนา
หรือสามารถเพม่ิ พนู ทรัพยากร
3. มติ ิด้านรปู แบบ (Form Dimension)
• ชัดเจน งา่ ยตอ่ การทำความเข้าใจ
• มที ัง้ แบบรายละเอียด (Detail) และแบบสรุปย่อ (Summary)
• มีการเรยี บเรียง ตามลำดับ (Order)
• การนำเสนอ (Presentation) ทหี่ ลากหลาย เช่น พรรณนา/บรรยาย ตวั เลข กราฟกิ และอ่นื ๆ
• รูปแบบของส่อื (Media) ประเภทตา่ ง ๆ เชน่ กระดาษ วดี ิทศั น์ ฯลฯ
33
สว่ นสแตรแ์ ละเรยโ์ นลด์ (Stair and Reynolds 2001 : 7) กลา่ วถึง คณุ ค่าของสารสนเทศข้นึ อยู่กับการท่ี
สารสนเทศน้ัน สามารถช่วยใหผ้ ้ทู ่มี หี นา้ ที่ตัดสินใจทำให้เป้าหมายขององคก์ ารสมั ฤทธิ์ผลไดม้ ากน้อยเพยี งใด หาก
สารสนเทศ สามารถทำใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายขององค์การได้ สารสนเทศนน้ั ก็จะมีคุณค่าสูงตามไปดว้ ย
คณุ ลกั ษณะของสารสนเทศทีด่ ี (Characteristics of Information)
1. สารสนเทศที่ดีต้องมีความความถกู ต้อง (Accurate) และไม่มคี วามผดิ พลาด
2. ผู้ทีม่ สี ทิ ธิใชส้ ารสนเทศสามารถเขา้ ถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาทเ่ี หมาะสม
ตาม ความต้องการของผใู้ ช้
3. สารสนเทศต้องมีความชัดเจน (Clarity) ไม่คลมุ เครือ
4. สารสนเทศที่ดตี ้องมีความสมบรู ณ์ (Complete) บรรจไุ ปด้วยข้อเท็จจริงท่ีมีสำคญั ครบถ้วน
5. สารสนเทศตอ้ งมคี วามกะทัดรัด (Conciseness) หรอื รดั กมุ เหมาะสมกับผใู้ ช้
6. กระบวนการผลติ สารสนเทศต้องมีความประหยดั (Economical) ผู้ท่ีมีหน้าท่ตี ัดสินใจมักจะต้องสร้างดลุ ย
ภาพ ระหว่างคุณค่าของสารสนเทศกบั ราคาท่ีใชใ้ นการผลิต
7. ต้องมีความยึดหย่นุ (Flexible) สามารถในไปใช้ในหลาย ๆ เป้าหมาย หรอื วัตถุประสงค์
8. สารสนเทศทด่ี ีต้องมรี ปู แบบการนำเสนอ (Presentation) ที่เหมาะสมกบั ผู้ใช้ หรอื ผทู้ เ่ี กี่ยวขอ้ ง
9. สารสนเทศทด่ี ีต้องตรงกบั ความตอ้ งการ (Relevant/Precision) ของผู้ที่ทำการตัดสินใจ
34
10. สารสนเทศทด่ี ีต้องมีความน่าเชื่อถือ (Reliable) เชน่ เป็นสารสนเทศท่ีไดม้ าจากกรรมวธิ ีรวบรวมที่น่าเชอ่ื
ถือ หรือแหล่ง (Source) ทน่ี า่ เช่อื ถอื เป็นต้น
11. สารสนเทศทด่ี คี วรมีความปลอดภัย (Secure) ในการเข้าถึงของผู้ไมม่ สี ิทธิใชส้ ารสนเทศ
12. สารสนเทศท่ีดคี วรงา่ ย (Simple) ไมส่ ลับซบั ซ้อน มีรายละเอียดท่เี หมาะสม (ไม่มากเกนิ ความจำเปน็ )
13. สารสนเทศทด่ี ตี ้องมีความแตกต่าง หรอื ประหลาด (Surprise) จากขอ้ มลู ชนดิ อืน่ ๆ
14. สารสนเทศท่ีดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรอื ทันต่อความต้องการ (Timely) ของผูใ้ ช้ หรือ
สามารถสง่ ถงึ ผรู้ ับได้ในเวลาท่ีผใู้ ช้ต้องการ
15. สารสนเทศท่ีดีต้องเปน็ ปจั จบุ ัน (Up to Date) หรอื มคี วามทันสมัย ใหมอ่ ยู่เสมอ มิเชน่ น้ันจะไม่ทันตอ่ การ
เปล่ียนแปลงทด่ี ำเนินไปอยา่ งรวดเรว็
16. สารสนเทศทดี่ ตี ้องสามารถพิสูจน์ได้ (Verifiable) หรอื ตรวจสอบจากหลาย ๆ แหล่ง ไดว้ ่ามีความถูกต้อง
นอกจากนนั้ สารสนเทศมีคุณสมบตั ิที่แตกตา่ งไปจากสนิ ค้าประเภทอื่น ๆ 4 ประการคอื ใชไ้ มห่ มด ไมส่ ามารถ
ถ่ายโอนได้ แบ่งแยกไม่ได้ และสะสมเพม่ิ พูนได้ (ประภาวดี สบื สนธ์ 2543 : 12-13) หรอื อาจสรปุ ไดว้ า่ สารสนเทศ
ท่ีดตี อ้ งมคี ุณลกั ษณะครบทั้ง 4 ด้าน คอื ด้านเวลา (ทนั เวลา และทนั สมัย) ด้านเนื้อหา (ถูกต้อง สมบรู ณ์ ยึดหยุ่น
นา่ เชอื่ ถือ ตรงกับ ความต้องการ และตรวจสอบได้) ด้านรูปแบบ (ชดั เจน กะทดั รัด ง่าย รูปแบบการนำเสนอ
ประหยัด แปลก) และดา้ น กระบวนการ (เข้าถงึ ได้ และปลอดภัย)
35
เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การใช้ชีวิตในสงั คมปจั จุบนั
ในภาวะปัจจบุ นั นนั้ สารสนเทศได้กลายเป็นปัจจยั พ้ืนฐานปัจจัยที่ห้า เพิม่ จากปจั จัยสป่ี ระการท่ีมนุษยเ์ ราขาด
เสียมิได้ในการดำรงชวี ิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศท่ีจำเปน็ ในการประกอบธุรกิจ ในการค้าขาย การผลิต
สินค้า และบริการ หรือการให้บรกิ ารสังคม การจดั การทรัพยากรของชาติ การบริหารและปกครอง จนถึงเรือ่ งเบา
ๆ เรื่องไร้สาระบา้ ง เชน่ สภากาแฟที่สามารถพบไดท้ ุกแห่งหนในสังคม เรือ่ งสาระบนั เทงิ ในยามพักผ่อน
ไปจนถึงเร่ืองความเปน็ ความตาย เชน่ ขา่ วอุทกภัย วาตภัย หรือการทำรัฐประหารและปฏวิ ัติ เปน็ ตน้
ในความคดิ เห็นของกลุม่ บุคคลตา่ ง ๆ ตง้ั แตน่ ักวชิ าการ นักธรุ กิจ นักสังคมศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ จนกระทัง่ ผนู้ ำ
ต่าง ๆ ในโลก ดงั เชน่ ประธานาธิบดี Bill Clinton และรองประธานาธิบดี Al Gore ของสหรฐั อเมรกิ า สารสนเทศ
เปน็ ทรัพยากรที่สำคัญท่สี ดุ อย่างหน่ึงในปจั จบุ นั และในยุคสังคมสารสนเทศแห่งศตวรรษที่ 21 สารสนเทศจะ
กลายเป็นทรัพยากรท่สี ำคญั ที่สดุ เหนือส่ิงอ่นื ใด กล่าวกันสน้ั ๆ สารสนเทศกำลงั จะกลายเปน็ ฐานแหง่ อำนาจอนั
แท้จริงในอนาคต ทั้งในทางเศรษฐกจิ และทางการเมอื งในสมัยสงั คมเกษตรนนั้ ปัจจัยพ้นื ฐานในการผลติ ทส่ี ำคัญ
ได้แก่ ท่ีดิน แรงงาน และทุนทรพั ย์ ตอ่ มาในสังคมอุตสาหกรรม การผลิตต้องพ่ึงพาปจั จัยพื้นฐานเพม่ิ เติม ไดแ้ ก่
วสั ดุ พลังงาน และโดยเฉพาะอย่างยง่ิ สารสนเทศ สังคมเกษตรและสังคมอตุ สาหกรรมต้องพ่งึ พาการใช้ทรัพยากรที่
มีอยู่อย่างจำกัด อันไดแ้ ก่ ทด่ี ิน พลงั งาน และวัสดุ เป็นอย่างมาก และผลของการใช้ทรัพยากรเหล่านัน้ อยา่ ง
ฟุ่มเฟอื ยและขาดความระมดั ระวัง กไ็ ดส้ รา้ งปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มที่รนุ แรงมาก ซึ่งกำลังคุกคามโลกรวมทัง้ ประเทศ
ไทย ต้งั แต่ปัญหาการแปรปรวนของสภาพดนิ ฟา้ อากาศ ภยั ธรรมชาติท่นี บั วันจะเพ่ิมความถี่และรนุ แรงขนึ้ ปัญหา
การบอ่ นทำลายความสมดลุ ทางนเิ วศวทิ ยาทง้ั ปา่ ดงดบิ ปา่ ชายเลน ปา่ ต้นน้ำลำธาร ความแหง้ แลง้ อากาศเป็นพิษ
แมน่ ำ้ ลำคลองที่เต็มไปด้วยสารพิษ เจือปน ตลอดจนถงึ ปัญหาวกิ ฤตทิ างจราจรและภยั จากควันพิษในมหานครทกุ
แห่งทัว่ โลก ในทางตรงกันขา้ ม ขบวนการผลิต การเก็บ และถ่ายทอดสารสนเทศ อาศยั การใชว้ ัสดุและพลังงานน้อย
36
มาก และไม่มผี ลเสยี ตอ่ ภาวะแวดล้อมหรอื มีเพยี งเลก็ น้อยมาก ย่งิ กว่านั้นสารสนเทศจะสามารถช่วยให้กิจกรรมการ
ผลติ และการบริการต่าง ๆ เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เช่น สามารถช่วยใหก้ ารผลติ ทางอุตสาหกรรมใช้วัตถุดิบ
และพลงั งานน้อยลง มีมลภาวะนอ้ ยลง แตส่ ินคา้ มีคณุ ภาพดีขึ้นคงทนมากข้ึน ปัญหาวิกฤติทางจราจรในบางด้านก็
สามารถผ่อนปรนได้ดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน่ ในการช่วยติดต่อส่ือสารทางธรุ กจิ ต่างๆ โดยไม่จำเปน็ ต้อง
เดินทางด้วยตนเองดงั เชน่ แต่ก่อน จึงอาจกล่าวไดว้ ่า เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีส่วนอย่างมาก ในการนำสังคม สู่
ววิ ฒั นาการอีกระดับหน่งึ ที่อาจเรยี กได้วา่ เป็นสังคมสารสนเทศ อนั เป็นสงั คมท่ีพงึ ปรารถนาและยั่งยืนยิ่งขึ้น นั่นจึง
เปน็ เหตุผลท่ีว่าสงั คมตา่ ง ๆ ในโลก ตา่ งจะต้องกา้ วส่สู ังคมสารสนเทศอยา่ งหลีกเลย่ี งไม่ได้ ไม่เรว็ ก็ชา้ และน่ัน
หมายความวา่ สังคมจะต้องพ่ึงพาเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างแนน่ อน ไม่วา่ เราจะยอมรับหรือไม่กต็ าม มใิ ชเ่ พยี งแต่
เพ่ือสร้างขีดความสามารถในเชงิ แข่งขันในสนามการคา้ ระหว่างประเทศ แตเ่ พ่ือความอยรู่ อดของมนุษยชาติ และ
เพ่อื คณุ ภาพชวี ติ ที่ดีข้ึนอีกต่างหากด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยคี โู่ ลกในตน้ ศตวรรษที่ 21
และเปน็ แรงกระต้นุ และเปน็ ปัจจัยรองรบั ขบวนการโลกาภิวัตน์ ทีก่ ำลังผนวกสงั คมเศรษฐกิจไทยเข้าเปน็ อนั หน่ึง
เดยี วกันกบั สงั คมโลก กลา่ วกันอย่างส้ัน ๆ เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีท่เี ก่ียวข้องกบั การจดั หา วเิ คราะห์
ประมวล จดั การและจัดเก็บ เรียกใชห้ รือแลกเปลยี่ น และเผยแพรส่ ารสนเทศ ด้วยระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ไม่ว่าจะอยู่
ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรอื ภาพเคลื่อนไหว รวมไปถงึ การนำสารสนเทศและข้อมลู ไปปฏบิ ตั ิตามเนื้อหา
ของสารสนเทศนนั้ เพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของผ้ใู ช้ การจัดหา วิเคราะห์ ประมวล และจัดการกบั ข่าวสารขอ้ มูล
จำนวนมหาศาล จึงขาดเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ เสียมไิ ด้ ส่วนการแสวงหาและแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสาร
อย่างรวดเร็ว ทันเวลา ประหยดั คา่ ใชจ้ ่าย และมปี ระสทิ ธิภาพ กจ็ ำเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีโทรคมนาคม
และทา้ ยสุดสารสนเทศท่ีมี จะกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์จากการบรโิ ภค อย่างกว้างขวางตามแต่จะตอ้ งการและอยา่ ง
ประหยัดทส่ี ดุ กต็ ้องอาศยั ทัง้ สองเทคโนโลยีขา้ งต้นในการจัดการและการส่อื หรือขนยา้ ยจากแหล่งข้อมลู สารสนเทศ
สู่ผบู้ รโิ ภคในทสี่ ุด ฉะนนั้ เทคโนโลยสี ารสนเทศจงึ ครอบคลุมถึงหลาย ๆ เทคโนโลยหี ลกั อนั ไดแ้ ก่
คอมพวิ เตอร์ทง้ั ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ และฐานข้อมูล โทรคมนาคมซึ่งรวมถึง เทคโนโลยรี ะบบสอื่ สารมวลชน
(ได้แก่ วิทยุ และโทรทัศน์) ทั้งระบบแบบมสี ายและไร้สาย รวมถึงเทคโนโลยีด้านอเิ ล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ
อาทิ เทคโนโลยีโทรทศั น์ความคมชดั สงู (HDTV) ดาวเทยี มคมนาคม (communications satellite) เสน้ ใยแก้วนำ
แสง (fibre optics) สารก่ึงตัวนำ (semiconductor) ปัญญาประดษิ ฐ์ (artificial intelligence) อปุ กรณ์อัตโนมัติ
สำนักงาน (office automation) อปุ กรณ์อตั โนมัตใิ นบ้าน (home automation) อปุ กรณอ์ ตั โนมัติในโรงงาน
(factory automation) เหลา่ น้ี เปน็ ต้น นอกจากการเป็นเทคโนโลยีทไ่ี มท่ ำลายธรรมชาติ
หรือสร้าง มลภาวะ(ในตัวของมนั เอง) ตอ่ สง่ิ แวดล้อมแล้ว คุณสมบัตโิ ดดเดน่ อ่นื ๆ ท่ีทำให้มนั กลายเป็นเทคโนโลยี
ยุทธศาสตร์สำคญั แหง่ ยุคปัจจุบนั และในอนาคตกค็ ือ ความสามารถในการเพิ่มประสทิ ธภิ าพและสมรรถภาพ
37
ในเกอื บทุก ๆ กจิ กรรม อาทิโดย
1. การลดตน้ ทนุ หรอื คา่ ใช้จา่ ย
2. การเพิ่มคุณภาพของงาน
3. การสรา้ งกระบวนการหรอื กรรมวธิ ใี หม่ ๆ
4. การสร้างผลติ ภัณฑแ์ ละบริการใหม่ ๆ ขึ้น
ฉะนนั้ โอกาสและขอบเขตการนำ เทคโนโลยีนีม้ าใช้ จึงมหี ลากหลายในเกือบทุก ๆ กจิ กรรมกว็ า่ ได้ ไม่วา่ จะเปน็
การปกครอง การใหบ้ ริการสงั คม การผลติ ท้ังภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ รวมถึงการค้าทัง้ ภายในและ
ระหว่างประเทศอีกด้วย โดยพอสรุปไดด้ ังต่อไปน้ี
ภาคสงั คม การบรหิ ารและปกครอง การใหบ้ ริการพื้นฐานของรัฐ การบรกิ ารสาธารณสุข การบริการการศึกษา การ
ใหบ้ ริการข้อมลู และสาระบันเทงิ การอนุรักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การบรรเทาสาธารณภัย
การพยากรณ์อากาศและอุตนุ ิยม ฯลฯ
ภาคเศรษฐกจิ การเกษตร การปา่ ไม้ การประมง การสำรวจและขดุ เจาะน้ำมันและ ก๊าซธรรมชาติ การสำรวจแร่
และทรัพยากรธรรมชาติทั้งบนและใตผ้ ิวโลก การก่อสรา้ ง การคมนาคมทั้งทางบก น้ำ และอากาศ การคา้ ภายใน
และระหวา่ งประเทศ อุตสาหกรรมการผลติ อุตสาหกรรมบรกิ าร อาทิ ธุรกิจการท่องเทย่ี ว การเงิน การธนาคาร
การขนสง่ และ การประกนั ภัย ฯลฯ ผลประโยชนต์ า่ งๆ จากการประยกุ ตใ์ ช้ของเทคโนโลยดี ังกล่าว ล้วนเกดิ จาก
คุณสมบัติพเิ ศษหลาย ๆ ประการของเทคโนโลยกี ล่มุ น้ี อันสบื เนือ่ งจากการพัฒนาของ เทคโนโลยีทม่ี อี ตั ราสงู และ
อย่างต่อเน่ืองตลอดหลายทศวรรษทผี่ า่ นมา ววิ ัฒนาการทางเทคโนโลยนี ี้ส่งผลให้
• ราคาของฮาร์ดแวร์และอปุ กรณ์ รวมทั้งคา่ บริการ สำหรับการเกบ็ การประมวล และการแลกเปล่ยี น
เผยแพรส่ ารสนเทศมีการลดลงอย่างต่อเน่ืองและรวดเร็ว
• ทำให้สามารถนำพาอปุ กรณ์ต่าง ๆ ทงั้ คอมพิวเตอรแ์ ละ โทรคมนาคมติดตามตัวได้ เนื่องจากได้มี
พฒั นาการการยอ่ สว่ นของช้ินสว่ น (miniaturization) และพฒั นาการการสอ่ื สารระบบไร้สาย
• ประการท้าย ทจ่ี ัดวา่ สำคัญที่สุดก็วา่ ได้คือ ทำให้เทคโนโลยีต่าง ๆ เชน่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอรแ์ ละการ
ส่ือสารมุ่งเข้าส่จู ดุ ท่ีใกลเ้ คียงกัน (converge)
ประเทศอุตสาหกรรมในโลกได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของเทคโนโลยยี ทุ ธศาสตร์กลุ่มนี้ จึงให้ความสำคัญต่อ
เทคโนโลยนี ้มี ากกว่าเทคโนโลยอี ื่น ๆ ที่จัดเปน็ เทคโนโลยียทุ ธศาสตร์สำคญั อีกหลายกลุ่ม ดงั เชน่ กล่มุ
ประเทศ OECD (Organization for Economic Co-operation and Development) ไดศ้ ึกษา
เปรียบเทียบ ศักยภาพของเทคโนโลยไี ฮเทค 5 กลุ่มสำคัญในปัจจบุ นั คือ เทคโนโลยีชวี ภาพ เทคโนโลยี
38
วสั ดใุ หม่ เทคโนโลยอี วกาศ เทคโนโลยนี วิ เคลียร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ในประเดน็ ผลกระทบสำคญั 5
ประเดน็ ได้แก่
(1) การสรา้ งผลิตภณั ฑแ์ ละบริการใหม่ ๆ
(2) การปรบั ปรุงกระบวนการผลิตผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ าร
(3) การยอมรบั จากสงั คม
(4) การนำไปใช้ประยุกต์ในภาค/สาขาอ่ืน ๆ
(5) การสร้างงานในทศวรรษปี 1990 ปรากฏว่าเทคโนโลยสี ารสนเทศได้รับการยอมรบั ในศักยภาพสูงสุด
ในทุก ๆ ประเดน็
เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
เทคโนโลยีสือ่ สารโทรคมนาคม ใชใ้ นการตดิ ตอ่ สื่อสารรบั /สง่ ข้อมูลจากทไี่ กล ๆ เปน็ การสง่ ของขอ้ มลู
ระหว่างคอมพวิ เตอรห์ รอื เครอ่ื งมือท่อี ย่หู ่างไกลกัน ซึง่ จะชว่ ยให้การเผยแพรข่ ้อมูลหรือสารสนเทศไป
ยงั ผู้ใช้ในแหล่งตา่ ง ๆ เป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกตอ้ ง ครบถ้วน และทนั การณ์ ซึ่งรูปแบบของ
ขอ้ มูลท่ีรับ/สง่ อาจเป็นตวั เลข (Numeric Data) ตัวอกั ษร (Text) ภาพ (Image) และเสยี ง (Voice)
เทคโนโลยีทีใ่ ชใ้ นการสอ่ื สารหรือเผยแพร่สารสนเทศ ได้แก่ เทคโนโลยที ีใ่ ชใ้ นระบบโทรคมนาคมท้งั
ชนดิ มีสายและไร้สาย เช่น ระบบโทรศัพท์, โมเดม็ , แฟกซ์, โทรเลข, วิทยกุ ระจายเสียง, วทิ ยุโทรทัศน์
เคเบิ้ลใยแกว้ นำแสง คลืน่ ไมโครเวฟ และดาวเทียม เป็นต้น
สำหรับกลไกหลักของการสอ่ื สารโทรคมนาคมมีองค์ประกอบพนื้ ฐาน 3 ส่วน ได้แก่ ตน้ แหลง่ ของ
ข้อความ (Source/Sender), ส่ือกลางสำหรบั การรับ/สง่ ขอ้ ความ (Medium), และสว่ นรับขอ้ ความ
(Sink/Decoder) ดังแผนภาพต่อไปนี้ คือ
แผนภาพแสดงกลไกหลกั ของการสอื่ สารโทรคมนาคม
39
นอกจากน้ี เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานไดเ้ ป็น 6 รปู แบบ ดงั น้ี
ต่อไปนี้ คอื
1. เทคโนโลยที ีใ่ ชใ้ นการเก็บข้อมลู เชน่ ดาวเทียมถา่ ยภาพทางอากาศ, กล้องดิจิทลั , กล้องถา่ ยวีดี
ทัศน์, เคร่อื งเอกซเรย์ ฯลฯ
2. เทคโนโลยที ีใ่ ชใ้ นการบันทึกขอ้ มลู จะเปน็ สอื่ บนั ทกึ ขอ้ มลู ต่าง ๆ เชน่ เทปแม่เหล็ก, จาน
แมเ่ หลก็ , จานแสงหรือจานเลเซอร์, บตั รเอทีเอ็ม ฯลฯ
3. เทคโนโลยีทใี่ ช้ในการประมวลผลขอ้ มูล ได้แก่ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ทงั้ ฮารด์ แวร์ และ
ซอฟตแ์ วร์
4. เทคโนโลยที ่ใี ชใ้ นการแสดงผลข้อมลู เชน่ เครอ่ื งพิมพ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ
5. เทคโนโลยีที่ใช้ในการจดั ทำสำเนาเอกสาร เช่น เคร่ืองถา่ ยเอกสาร, เครือ่ งถ่ายไมโครฟิลม์
6. เทคโนโลยีสำหรับถา่ ยทอดหรอื สอ่ื สารขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เชน่ โทรทศั น์,
วิทยุกระจายเสียง, โทรเลข, เทเลก็ ซ์ และระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรท์ ง้ั ระยะใกลแ้ ละไกล
ลกั ษณะของขอ้ มลู หรอื สารสนเทศท่สี ่งผา่ นระบบคอมพวิ เตอร์และการสอ่ื สาร ดังน้ี
ข้อมลู หรือสารสนเทศท่ีใชก้ ันอยู่ทั่วไปในระบบสอ่ื สาร เช่น ระบบโทรศัพท์ จะมีลักษณะของสญั ญาณ
เป็นคล่นื แบบต่อเนือ่ งทีเ่ ราเรียกวา่ "สญั ญาณอนาลอก" แต่ในระบบคอมพิวเตอร์จะแตกต่างไป เพราะ
ระบบคอมพิวเตอรใ์ ช้ระบบสัญญาณไฟฟา้ สงู ต่ำสลับกัน เปน็ สัญญาณที่ไมต่ ่อเนื่อง เรียกว่า "สญั ญาณ
ดิจติ อล" ซึ่งขอ้ มลู เหลา่ นัน้ จะสง่ ผา่ นสายโทรศัพท์ เมื่อเราตอ้ งการส่งข้อมลู จากคอมพิวเตอรเ์ ครื่อง
หนึ่งไปยงั เครอ่ื งอื่น ๆ ผา่ นระบบโทรศัพท์ ก็ต้องอาศยั อุปกรณ์ช่วยแปลงสญั ญาณเสมอ ซ่งึ มีชือ่
เรียกว่า "โมเดม็ " (Modem)
40
บทบาทของสารสนเทศ (Role of Information)
การนำสารสนเทศไปใช้ 3 ดา้ น ดังน้ี (จติ ติมา เทยี มบุญประเสริฐ 2544 : 5) ดา้ นการวางแผน ด้านการตัดสนิ ใจ
และ ดา้ นการดำเนนิ งาน นอกจากนน้ั สารสนเทศยังมบี ทบาท ในเชงิ เศรษฐกิจ ดังน้ี (ประภาวดี สบื สนธ์ 2543 :
7-8)
1. ช่วยลดความเส่ียงในการตดั สินใจ (Decision) หรอื ชว่ ยชแี้ นวทางในการแกไ้ ขปญั หา (Problem Solving)
2. ชว่ ย หรอื สนับสนนุ การจดั การ (Management) หรอื การดำเนินงานขององค์การ ใหม้ ีประสิทธิภาพและ
เกิด ประสทิ ธผิ ลมากข้ึน
3. ใชท้ ดแทนทรัพยากร (Resources) ทางกายภาพ เชน่ กรณีการเรยี นทางไกล ผู้เรยี นทีเ่ รียนนอกห้องเรียน
จรงิ สามารถเรียนร้เู รือ่ งตา่ งๆ เช่นเดยี วกบั หอ้ งเรียนจรงิ โดยไมต่ ้องเดินทางไปเรียนที่ห้องเรียนนั้น
4. ใชใ้ นการกำกบั ติดตาม (Monitoring) การปฏบิ ตั งิ านและการตดั สินใจ เพอ่ื ดูความก้าวหน้าของงาน
5. สารสนเทศเปน็ ช่องทางโนม้ น้าว หรอื ชักจงู ใจ (Motivation) ในกรณีของการโฆษณาท่ีทำใหผ้ ู้ชม, ผฟู้ งั
ตดั สินใจ เลอื กสนิ คา้ หรือบริการน้นั
6. สารสนเทศเป็นองค์ประกอบสำคัญของการศึกษา (Education) สำหรบั การเรียนรู้ ผ่านสอ่ื ประเภทต่างๆ
7. สารสนเทศเป็นองค์ประกอบสำคัญทีส่ ง่ เสริมวัฒนธรรม และสนั ทนาการ (Culture & Recreation) ใน
ด้าน ของการเผยแพร่ในรูปแบบตา่ งๆ เช่น วีดิทศั น์ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นตน้
8. สารสนเทศเปน็ สนิ ค้าและบรกิ าร (Goods & Services) ทสี่ ามารถซื้อขายได้
9. สารสนเทศเป็นทรัพยากรท่ีต้องลงทนุ (Investment) จงึ จะไดผ้ ลผลติ และบริการ เพื่อเปน็ รากฐานของ
การ จดั การ และการดำเนินงาน
ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ
ประสทิ ธิภาพ (Efficiency)
• ระบบสารสนเทศทำให้การปฏิบัติงานมคี วามรวดเรว็ มากขึ้น โดยใช้กระบวนการประมวลผลขอ้ มลู ซึ่งจะทำ
ให้สามารถเก็บรวบรวม ประมวลผลและปรับปรุงขอ้ มลู ให้ทันสมัยได้อย่างรวดเร็วระบบสารสนเทศชว่ ยใน
การจดั เก็บขอ้ มลู ทม่ี ีขนาดใหญ่ หรือมีปรมิ าณมากและช่วยทำใหก้ ารเข้าถึงขอ้ มลู (access) เหล่านนั้ มี
ความรวดเร็วดว้ ย
• ชว่ ยลดต้นทนุ การท่ีระบบสารสนเทศชว่ ยทำใหก้ ารปฏิบตั ิงานทีเ่ ก่ยี วข้องกับขอ้ มลู ซ่งึ มปี รมิ าณมากมี
ความสลับซับซ้อนให้ดำเนินการไดโ้ ดยเรว็ หรือการช่วยใหเ้ กิดการตดิ ต่อส่ือสารได้อย่างรวดเรว็ ทำใหเ้ กิด
การประหยัดตน้ ทนุ การดำเนินการอย่างมาก
41
• ชว่ ยใหก้ ารติดตอ่ สื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว การใช้เครือขา่ ยทางคอมพวิ เตอรท์ ำให้มีการติดต่อไดท้ ั่วโลก
ภายในเวลาท่รี วดเรว็ ไม่ว่าจะเปน็ การตดิ ต่อระหว่างเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์กับเคร่ืองคอมพวิ เตอรด์ ้วยกนั
(machine to machine) หรือคนกับคน (human to human) หรอื คนกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ (human
to machine) และการตดิ ต่อสอื่ สารดงั กลา่ วจะทำให้ข้อมูลท่ีเปน็ ทง้ั ข้อความ เสยี ง ภาพนง่ิ และ
ภาพเคลือ่ นไหวสามารถส่งได้ทันที
• ระบบสารสนเทศชว่ ยทำให้การประสานงานระหว่างฝ่ายต่าง ๆ เปน็ ไปได้ดว้ ยดโี ดยเฉพาะหากระบบ
สารสนเทศนน้ั ออกแบบ เพื่อเอื้ออำนวยใหห้ นว่ ยงานทั้งภายในและภายนอกท่ีอยู่ในระบบของซัพพลาย
ท้งั หมด จะทำให้ผู้ที่มีสว่ นเกย่ี วข้องทั้งหมดสามารถใชข้ ้อมูลร่วมกนั ได้ และทำให้การประสานงาน หรือ
การทำความเขา้ ใจเป็นไปไดด้ ้วยดียิง่ ขึ้น
ประสิทธิผล (Effectiveness)
ระบบสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศที่ออกแบบสำหรบั ผู้บรหิ าร เชน่ ระบบสารสนเทศทช่ี ่วยใน
การสนับสนนุ การตดั สนิ ใจ (Decision support systems) หรอื ระบบสารสนเทศสำหรับผบู้ ริหาร (Executive
support systems) จะเออื้ อำนวยให้ผบู้ ริหารมีข้อมูลในการประกอบการตดั สินใจไดด้ ีข้นึ อนั จะสง่ ผลใหก้ าร
ดำเนินงานสามารถบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ไวไ้ ด้
ระบบสารสนเทศช่วยในการเลือกผลิตสินคา้ /บริการท่เี หมาะสมระบบสารสนเทศจะช่วยทำให้องค์การทราบถึง
ขอ้ มลู ที่เกี่ยวข้องกับตน้ ทนุ ราคาในตลาดรปู แบบของสินค้า/บริการทีม่ ีอยู่ หรอื ช่วยทำให้หน่วยงานสามารถเลือก
ผลิตสนิ คา้ /บรกิ ารทมี่ ีความเหมาะสมกับความเชยี่ วชาญ หรือทรพั ยากรที่มีอยู่
ระบบสารสนเทศช่วยปรบั ปรุงคณุ ภาพของสนิ คา้ /บรกิ ารใหด้ ีขนึ้ ระบบสารสนเทศทำให้การตดิ ต่อระหวา่ ง
หน่วยงานและลกู ค้า สามารถทำไดโ้ ดยถูกตอ้ งและรวดเร็วขึ้น ดังนน้ั จึงชว่ ยใหห้ นว่ ยงานสามารถปรบั ปรงุ คุณภาพ
ของสินค้า/บริการให้ตรงกับความตอ้ งการของลูกค้าไดด้ ีข้นึ และรวดเร็วขึน้ ดว้ ยปัจจัยทีท่ ำใหเ้ กิดความล้มเหลวใน
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
จากงานวิจยั ของ Whittaker (1999: 23) พบวา่ ปัจจยั ของความลม้ เหลวหรอื ความผิดพลาดท่ีเกดิ จากการนำ
เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นองค์การ มีสาเหตหุ ลัก 3 ประการ ไดแ้ ก่
การขาดการวางแผนทด่ี ีพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแผนจดั การความเส่ียงไมด่ ีพอ ยง่ิ องค์การมีขนาดใหญ่มาก
ข้ึนเทา่ ใด การจดั การความเสี่ยงย่อมจะมีความสำคญั มากขึ้นเปน็ เงาตามตวั ทำให้คา่ ใช้จ่ายดา้ นนีเ้ พมิ่ สงู ข้นึ
42
การนำเทคโนโลยีท่ไี ม่เหมาะสมมาใช้งาน การนำเทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามาใชใ้ นองค์การจำเป็นตอ้ งพจิ ารณาให้
สอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของธรุ กิจหรอื งานที่องค์การดำเนินอยู่ หากเลอื กใชเ้ ทคโนโลยที ่ีไมส่ อดรบั กบั ความต้องการ
ขององค์การแลว้ จะทำให้เกิดปัญหาตา่ ง ๆ ตามมา และเป็นการสิน้ เปลืองงบประมาณโดยใชเ่ หตุ
การขาดการจดั การหรือสนับสนุนจากผบู้ รหิ ารระดบั สงู การที่จะนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใชง้ านในองค์กร
หากขาดซึ่งความสนับสนุนจากผู้บรหิ ารระดบั สงู แลว้ ก็ถือวา่ ลม้ เหลวตง้ั แต่ยังไม่ไดเ้ ริม่ ตน้ การได้รบั ความมั่นใจจาก
ผู้บรหิ ารระดับสูงเป็นก้าวย่างท่ีสำคัญและจำเปน็ ทจ่ี ะทำให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในองคก์ ารประสบ
ความสำเรจ็
สำหรับสาเหตขุ องความล้มเหลวอ่ืน ๆ ท่พี บจากการนำเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ เชน่ ใช้เวลาในการดำเนินการ
มากเกนิ ไป (Schedule overruns) นำเทคโนโลยีท่ลี ้ำสมยั หรอื ยงั ไม่ผา่ นการพสิ ูจนม์ าใช้งาน (New orunproven
technology) ประเมินแผนความตอ้ งการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศไม่ถกู ต้อง, ผูจ้ ัดจำหนา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Vendor) ท่ีองค์การซื้อมาใช้งานไม่มีประสทิ ธิภาพและขาดความรับผิดชอบ และระยะเวลาของการพฒั นาหรือนำ
เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้จนเสร็จสมบรู ณใ์ ชเ้ วลานอ้ ยกว่าหน่ึงปี
นอกจากนี้ ปัจจยั อ่นื ๆ ทที่ ำใหก้ ารนำเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชไ้ ม่ประสบความสำเร็จในด้านผู้ใช้งานนนั้ อาจสรุป
ไดด้ ังนี้ คือ ความกลวั การเปลี่ยนแปลง กลา่ วคือ ผคู้ นกลัวท่ีจะเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมท้งั กลัววา่
เทคโนโลยสี ารสนเทศจะเขา้ มาลดบทบาทและความสำคญั ในหน้าทีก่ ารงานทีร่ บั ผิดชอบของตนใหล้ ดน้อยลง จนทำ
ใหต้ อ่ ตา้ นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
การไม่ตดิ ตามข่าวสารความรู้ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอ เน่ืองจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
เปลี่ยนแปลงรวดเรว็ มาก หากไมม่ ั่นติดตามอยา่ งสมำ่ เสมอแลว้ จะทำให้กลายเปน็ คนลา้ หลงั และตกขอบ จนเกิด
สภาวะชะงกั งนั ในการเรียนรูแ้ ละใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโครงสร้างพนื้ ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศ
กระจายไม่ทวั่ ถึง ทำให้ขาดความเสมอภาคในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเกดิ การใช้กระจุกตัวเพียงบางพืน้ ท่ี
ทำใหเ้ ปน็ อปุ สรรคในการใชง้ านด้านต่าง ๆ ตามมา เช่น ระบบโทรศพั ท์ อนิ เทอรเ์ นต็ ความเร็วสูง ฯลฯ
43
ผลของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
การกำเนดิ ของคอมพวิ เตอรเ์ ม่ือประมาณหา้ สิบกวา่ ปีที่แลว้ เปน็ กา้ วสำคญั ท่นี ำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการ
นำเอาคอมพวิ เตอร์มาใชเ้ ป็นเคร่อื งคำนวณ แตต่ ่อมาได้มีความพยายามพัฒนาใหค้ อมพวิ เตอรเ์ ป็นอุปกรณ์สำคญั
สำหรบั การจดั การข้อมูล เมื่อเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำใหส้ ามารถสรา้ งคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาด
เล็กลง แต่ประสทิ ธภิ าพสูงขนึ้ สภาพการใช้งานจงึ ใช้งานกันอยา่ งแพรห่ ลาย ผลของเทคโนโลยสี ารสนเทศทีม่ ตี อ่
ชวี ติ ความเปน็ อยแู่ ละสังคมจึงมีมาก มีการเรยี นรู้และใชส้ ารสนเทศกันอย่างกวา้ งขวาง ผลของเทคโนโลยี
สารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดงั น้ี
การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุม
เครื่องปรบั อากาศ ใช้ควมคมุ ระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นตน้
เสริมสร้างความเท่าเทยี มในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทัว่ ทุกหน
แห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอการการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล การ
44
กระจายการเรียนรู้ไปยังถิ่นห่างไกล นอกจากนี้ในปัจจุบันมีความพยายามที่ใช้ระบบการรักษาพยาบาลผ่าน
เครือขา่ ยสอ่ื สาร
สารสนเทศกับการเรยี นการสอนในโรงเรยี น การเรียนการสอนในโรงเรยี นมีการนำคอมพิวเตอร์และเครอ่ื งมือ
ประกอบชว่ ยในการเรยี นรู้ เชน่ วดี ิทัศน์ เครือ่ งฉายภาพ คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน คอมพวิ เตอรช์ ่วยจัดการศึกษา จัด
ตารางสอน คำนวณระดบั คะแนน จัดชั้นเรียน ทำรายงานเพ่ือให้ผู้บริหารได้ทราบถึงปัญหาและการแก้ปญั หาใน
โรงเรยี น ปจั จุบันมกี ารเรยี นการสอนทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศในโรงเรียนมากขึน้
เทคโนโลยีสารสนเทศกบั สิ่งแวดลอ้ ม การจดั การทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเปน็ ต้องใช้สารสนเทศ เชน่ การ
ดแู ลรกั ษาป่า จำเป็นต้องใชข้ ้อมูล มีการใช้ภาพถา่ ยดาวเทียม การตดิ ตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ
การจำลองรูปแบบสภาวะสงิ่ แวดลอ้ มเพ่ือปรับปรุงแกไ้ ข การเกบ็ รวมรวมข้อมูลคณุ ภาพน้ำในแมน่ ำ้ ตา่ ง ๆ การ
ตรวจวดั มลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวดั ระยะไกลมาช่วย ทเ่ี รียกว่าโทรมาตร เปน็ ต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์
สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มี
คอมพวิ เตอร์ควบคมุ การทำงาน
การผลติ ในอุตสาหกรรม และการพาณชิ ยกรรม การแขง่ ขนั ทางดา้ นการผลิตสินค้าอตุ สาหกรรมจำเปน็ ต้องหา
วธิ กี ารในการผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลงเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์เขา้ มามีบทบาทมาก มีการใช้ข้อมูลข่าวสารเพอื่ การ
บรหิ ารและการจัดการ การดำเนนิ การและยังรวมไปถึงการให้บรกิ ารกับลูกคา้ เพอ่ื ให้ซือ้ สนิ ค้าไดส้ ะดวกขึน้
หลักเกณฑก์ ารประเมนิ ผลลพั ธ์ หรือผลผลิต(Criterias to Evaluated Outputs)
ขอ้ มลู ของบางคนอาจเปน็ สารสนเทศสำหรับอีกคนหน่ึง (Nickerson 1998 : 11) การท่ีจะบ่งบอกว่าผลผลติ หรอื
ผลลัพธ์มีคณุ คา่ หรือสถานภาพเป็นสารสนเทศ หรือไม่นั้น เราใช้หลักเกณฑ์ตอ่ ไปนี้ประกอบการพิจารณา
1. ความถกู ต้อง (Accuracy) ของผลผลิต หรือผลลพั ธ์
2. ตรงกบั ความต้องการ (Relevance/pertinent)
3. ทันกบั ความต้องการ (Timeliness)
การพิจารณาความถูกต้องดูที่เนื้อหา (Content) ของผลผลิต โดยพิจารณาจากขั้นตอนของการประมวลผล
(Process; verifying, calculating) ข้อมูล สำหรับการตรงกับความต้องการ หรือทันกับความต้องการ มีผู้ใช้
ผลผลิตเป็น เกณฑ์ในการพิจารณา หากผู้ใช้เห็นว่าผลผลิตตรงกับความต้องการ หรือผลผลิตสามารถตอบปัญหา
45
หรือแก้ไขปญั หา ของผใู้ ชไ้ ด้ และสามารถเรียกมาใช้ได้ในเวลาที่เขาต้องการ (ทันต่อความตอ้ งการใช้) เราจึงจะสรุป
ได้ว่า ผลผลติ หรือ ผลลัพธน์ ้ันมีสถานภาพ เป็นสารสนเทศ
คณุ ภาพ หรอื คุณค่าของสารสนเทศ ขึ้นอยกู่ ับข้อมลู (Data) ทน่ี ำเข้ามา (Input) หากข้อมลู ที่นำเข้ามาประมวลผล
เป็นข้อมูลที่ดี ผลลัพธ์ที่ได้ก็จะมีคุณภาพดี หรือมีคุณค่า ผู้ใช้ หรือผู้บริโภคสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ แต่หาก
ข้อมูลที่ นำเข้ามาประมวลผลไม่ดี ผลผลิต หรือผลลัพธ์ก็จะมีคุณภาพไม่ดี หรือไม่มีคุณค่า สมดั่งกับวลีที่ว่า GIGO
(Garbage In Garbage Out) หมายความวา่ ถ้านำขยะเข้ามา ผลผลติ (สิง่ ทไี่ ด้ออกไป) ก็คือขยะนน่ั เอง
องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบ คือ กลุ่มขององค์การต่างๆ ทท่ี ำงานร่วมกนั เพ่อื จุดประสงค์อนั เดยี วกัน ระบบอาจจะประกอบดว้ ยบุคคลากร
เคร่ืองมือ เครื่องใช้ พัสดุ วธิ กี าร ซ่ึงท้ังหมดนจ้ี ะต้องมรี ะบบจดั การอันหน่งึ เพื่อให้บรรลจุ ุดประสงค์อนั เดยี วกัน
สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ข้อมูลทผี่ า่ นการวเิ คราะห์หรอื ประมวลผลแลว้ พร้อมจะใชง้ านไดท้ ันที โดยไม่
ตอ้ งแปล หรือตีความใด ๆ อีก
เทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการประมวลผล เพ่ือให้ได้สารสนเทศ ตามทตี่ ้องการ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศน้ันอาจกล่าวไดว้ ่าประกอบขึน้ จากเทคโนโลยสี องสาขาหลกั คือ เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสอ่ื สารโทรคมนาคม สำหรับรายละเอยี ดพอสงั เขปของแตล่ ะเทคโนโลยีมีดงั ตอ่ ไปน้คี ือ
เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์
คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เครื่องอเิ ล็กทรอนกิ ส์ที่สามารถจดจำข้อมลู ตา่ ง ๆ และปฏบิ ตั ติ ามคำสั่งทบ่ี อก เพื่อให้คอมพิวเตอร์
ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ คอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อเชื่อมกันเรียกว่า ฮาร์ดแวร์
(Hardware) และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์นี้จะต้องทำงานร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกกันว่า ซอฟต์แวร์
(Software) (มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช. สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2546: 4)
ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ อุปกรณ์รับข้อมูล (Input) เช่น แผงแป้นอักขระ (Keyboard), เมาส์,
เครอ่ื งตรวจกวาดภาพ (Scanner), จอภาพสมั ผัส (Touch Screen), ปากกาแสง (Light Pen), เครอ่ื งอา่ นบตั รแถบ
แม่เหลก็ (Magnetic Strip Reader), และเครอื่ งอา่ นรหัสแทง่ (Bar Code Reader)
อปุ กรณ์ส่งขอ้ มลู (Output) เช่น จอภาพ (Monitor), เครือ่ งพิมพ์ (Printer), และเทอร์มินัล
46
หน่วยประมวลผลกลาง จะทำงานรว่ มกบั หน่วยความจำหลักในขณะคำนวณหรือประมวลผล โดยปฏิบตั หิ นา้ ทตี่ าม
คำส่ังของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการดึงข้อมูลและคำสั่งทีเ่ กบ็ ไว้ไว้ในหนว่ ยความจำหลกั มาประมวลผล
หนว่ ยความจำหลกั มีหนา้ ทเ่ี กบ็ ข้อมลู ท่ีมาจากอุปกรณร์ ับขอ้ มลู เพือ่ ใช้ในการคำนวณ และผลลพั ธข์ องการคำนวณ
ก่อนท่ีจะสง่ ไปยังอปุ กรณ์ส่งข้อมูล รวมทงั้ การเกบ็ คำสั่งขณะกำลังประมวลผล
หน่วยความจำสำรอง ทำหนา้ ที่จดั เกบ็ ข้อมลู และโปรแกรมขณะยังไม่ไดใ้ ช้งาน เพื่อการใช้ในอนาคต
ซอฟต์แวร์ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญและจำเป็นมากในการควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์
สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ มีหนา้ ท่คี วบคมุ อุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์
และเปน็ ตัวกลางระหวา่ งผใู้ ชก้ บั คอมพวิ เตอร์หรือฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ระบบสามารถแบง่ เปน็ 3 ชนดิ ใหญ่ คือ
โปรแกรมระบบปฏบิ ัติการ ใช้ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณพ์ ่วงต่อกบั เครื่องคอมพวิ เตอร์
ตัวอยา่ งโปรแกรมที่นิยมใชก้ นั ในปจั จุบนั เช่น UNIX, DOS, Microsoft Windows
โปรแกรมอรรถประโยชน์ ใช้ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในระหว่างการประมวลผลข้อมูล
หรือในระหวา่ งท่ใี ชเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมทน่ี ิยมใชก้ นั ในปจั จุบัน เชน่ โปรแกรมเอดเิ ตอร์ (Editor)
โปรแกรมแปลภาษา ใช้ในการแปลความหมายของคำสั่งที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่อง
คอมพวิ เตอรเ์ ข้าใจและทำงานตามท่ีผูใ้ ช้ต้องการ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทำงานเฉพาะด้านตามความต้องการ ซึ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์น้ี
สามารถแบ่งเป็น 3 ชนิด คอื ซอฟต์แวร์ประยุกตเ์ พ่ืองานทว่ั ไป เป็นซอฟต์แวรท์ ี่สร้างขึ้นเพื่อใช้งานท่ัวไปไม่เจาะจง
ประเภทของธุรกจิ ตวั อย่าง เชน่ Word Processing, Spreadsheet, Database Management เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์เฉพาะงาน เปน็ ซอฟต์แวรท์ ่ีสรา้ งขน้ึ เพ่ือใช้ในธรุ กจิ เฉพาะ ตามแต่วัตถปุ ระสงค์ของการนำไปใช้
ซอฟต์แวร์ประยุกต์อื่น ๆ เป็นซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อความบันเทิง และอื่น ๆ นอกเหนือจากซอฟต์แวร์ประยุกต์
สองชนิดข้างต้น ตัวอย่าง เช่น Hypertext, Personal Information Management และซอฟต์แวร์เกมต่าง ๆ
เปน็ ตน้
สำหรับกระบวนการการจัดการระบบสารสนเทศ เพื่อให้ได้สารสนเทศตามต้องการอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ
และมคี ณุ ภาพ ดงั แผนภาพตอ่ ไปน้คี ือ