The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poonshup1234, 2022-09-06 02:30:21

หลักสูตรคณิตศาส-ปี65

หลักสูตรคณิต-ปี65





ประกาศโรงเรยี นวัดบางกระเจา้
เร่อื ง ใหใ้ ช้หลกั สตู รโรงเรยี นวดั บางกระเจา้ พุทธศักราช 256๕
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

---------------------------------------------------------

โรงเรียนวัดบางกระเจ้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ได้ดำเนินการ
พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนวัดบางกระเจ้า พุทธศักราช 256๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช2551 และเอกสารประกอบหลักสูตรขึ้นเพื่อใช้เปน็ กรอบและทิศทางในการจดั การเรียนการสอน
ของโรงเรียนวัดบางกระเจ้า

โดยจัดทำและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียน
การสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนอง
นโยบายไทยแลนด์ 4.0 มีความพร้อมในการกา้ วสูส่ ังคมคุณภาพ มีความรูอ้ ย่างแท้จริง

มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย
และพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้
และทกั ษะพน้ื ฐาน รวมทงั้ การมเี จตคตทิ ีจ่ ำเป็นต่อการศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ติ
โดยมุ่งเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญบนพน้ื ฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
และมีทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21

ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่
18 เดือนเมษายน พ.ศ. 256๕ จึงประกาศใหใ้ ช้หลักสตู รโรงเรยี นตงั้ แตบ่ ัดนีเ้ ป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วันท่ี 18 เดอื นเมษายน พ.ศ. 256๕

(พระครูสาครวริ ิยคุณ) (นางสาวชนกฐิยะพร คำภูเวียงทศิ)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางกระเจา้



คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการมีคำสั่งให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคำสั่งให้
เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 รวมทั้งประกาศเรื่องการบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศึกษา กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ .ศ. 2560)ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ลงวนั ที่ 8 มกราคม 2561 โรงเรยี นวดั บางกระเจ้าจึง
ไดท้ ำการปรับปรงุ หลักสตู รสถานศึกษาในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาระ
ภมู ิศาสตรใ์ นกล่มุ สาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม และการงานอาชพี ใชใ้ นชัน้ ประถมศึกษา
ปที ี่ 1 – ๖ เพือ่ นำไปใช้ประโยชนแ์ ละเป็นกรอบในการวางแผนและพฒั นาหลักสตู รของสถานศึกษาและจัดการ
เรียนการสอน อีกท้งั ในปกี ารศึกษา 256๓ โรงเรียนวดั บางกระเจ้าได้จัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียน
เกิดความรู้ มีคุณธรรมและเสริมสร้างทักษะอาชีพ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มี
กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัด
ประเมินผล ใหม้ ีความสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้ เปดิ โอกาสใหโ้ รงเรยี นสามารถกำหนดทิศทางในการ
จัดทำหลกั สตู รการเรียนการสอนในแตล่ ะระดับตามความพร้อมและจดุ เน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทาง
ทีช่ ดั เจนเพอื่ ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 มคี วามพร้อมในการก้าวสสู่ งั คมคุณภาพ มีความรูอ้ ย่างแท้จริง
และมที กั ษะในศตวรรษที่ 21

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุก
ระดับเห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำ
หลักสตู รในระดบั สถานศกึ ษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งข้ึน อกี ทั้งยังช่วยใหเ้ กิดความชดั เจนเร่อื งการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนา
หลกั สตู รในทกุ ระดับตั้งแตร่ ะดับชาตจิ นกระท่ังถึงสถานศึกษา จะตอ้ งสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตวั ชว้ี ดั ท่กี ำหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน รวมท้งั เปน็ กรอบทศิ ทางในการจัดการศึกษา
ทกุ รูปแบบ และครอบคลุมผเู้ รยี นทกุ กลมุ่ เปา้ หมายในระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่ายท่ี
เก่ยี วขอ้ งทงั้ ระดับชาติ ชุมชน ครอบครวั และบุคคลต้องร่วมรบั ผดิ ชอบ โดยรว่ มกนั ทำงานอย่างเป็นระบบ และ
ต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรงุ แก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชน
ของชาติไปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ กี่ ำหนดไว้

โรงเรยี นวดั บางกระเจา้

สารบญั ค

เรอ่ื ง หนา้

ประกาศโรงเรยี น ก
คำนำ ข
สารบัญ ค
ส่วนที่ 1 ความนำ 1
1
ความนำ 2
วสิ ยั ทศั น์/พันธกิจ 2
สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น 3
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 4
ทกั ษะ ๓R๘C ๔
วทิ ยาการคำนวณ 5
สว่ นท่ี 2 โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรียนวดั บางกระเจา้ 12
สว่ นท่ี ๓ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 28
สว่ นท่ี ๔ คำอธบิ ายรายวชิ า 41
86
โครงสร้างรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ส่วนท่ี ๕ เกณฑ์การจบการศกึ ษา

ภาคผนวก



สว่ นที่ 1
ความนำ

หลักสูตรโรงเรียนวัดบางกระเจ้า พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช๒๕๖๐) เป็นแผนหรือแนวทาง หรือข้อกำหนดของ
การจัดการศึกษาของโรงเรียนวัดบางกระเจ้าที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานที่กำหนด มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและ
ประกอบอาชีพที่สุจริต ตลอดจนการรู้จักอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์
ท้งั ดา้ นร่างกาย จติ ใจ และสติปัญญา อกี ทั้งมีความรู้และทักษะท่จี ำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตและมีคุณภาพได้
มาตรฐานสากล ดงั นน้ั หลกั สตู รโรงเรยี นวัดบางกระเจ้า พุทธศกั ราช 256๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุงพุทธศักราช๒๕๖๐) จึงประกอบด้วยสาระสำคัญของหลักสูตร
แกนกลาง สาระความรู้ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท้องถิ่น และสาระสำคัญที่โรงเรียนพัฒนาเพิ่มเติม โดยจัดเป็น
สาระการเรียนรรู้ ายวชิ าพ้ืนฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนร้เู พ่ิมเติม จัดกิจกรรม
พัฒนาผเู้ รียนเปน็ รายปีในระดบั ประถมศึกษา และกำหนดคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของโรงเรยี น

วิสยั ทศั น์

ภายในปี 256๖ โรงเรียนวัดบางกระเจ้าเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ครูมีความเป็นมืออาชีพในการ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการควบคู่คุณธรรม จริยธรรม พร้อมทั้งส่งเสริมความสามารถตาม
ศักยภาพของผู้เรยี น มกี ารบริหารจัดการอยา่ งเป็นระบบ และมปี ระสทิ ธภิ าพ

พันธกจิ

แนวปฏบิ ัติและบทบาทหนา้ ทข่ี องโรงเรยี นวัดบางกระเจา้ ทต่ี ้องทำ เพ่อื ใหบ้ รรลุวสิ ยั ทศั น์ มีดังนี้

๑. จดั การศึกษาอย่างมคี ุณภาพทกุ ระดับ เพือ่ เตรียมพรอ้ มเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน
๒. จดั การเรียนรเู้ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั และตามจุดเน้นการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน
๓. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ตามแนวปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง
๔. พัฒนาครูให้มีความรู้ความสามรถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครบถ้วนตาหลักสูตร

โดยใชส้ อื่ นวตั กรรม เทคโนโลยีเพอื่ ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผเู้ รยี น
๕. พฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลอื และการแนะแนว
๖. ส่งเสริมการออกกำลงั การเล่นกีฬา ดนตรี เพ่อื สุขภาพ และเพือ่ การเข้าร่วมแขง่ ขัน
๗. ส่งเสริมให้นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณธรรม ให้สอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของ

โรงเรียนที่ตง้ั ไว้ และนักเรยี นเปน็ ผู้มีสมรรถนะตามท่โี รงเรยี นต้องการครบถว้ น
๘. ส่งเสรมิ ใหค้ รูมีการพัฒนาศักยภาพตรงตามมาตรฐานวชิ าชีพ



สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

ในการพัฒนาผู้เรยี นโรงเรยี นวัดบางกระเจา้ มุ่งเน้นพฒั นาผเู้ รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานทีก่ ำหนด
ซ่ึงจะช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดสมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดังน้ี

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการใชภ้ าษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งต่างๆการเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใช้วธิ กี ารส่ือสาร ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทีม่ ีต่อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพอ่ื นำไปสู่การสรา้ งองค์ความรูห้ รือสารสนเทศ
เพ่ือการตัดสินใจเกย่ี วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคต่าง ๆทีเ่ ผชญิ ได้
อย่างถกู ต้องเหมาะสม บนพ้นื ฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพนั ธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปญั หา และมกี ารตัดสินใจท่ีมีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กิดข้นึ ต่อตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้
ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวัน การเรียนรูด้ ้วยตนเอง การเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน
สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงคท์ ส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อน่ื

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน
การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม



คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

โรงเรียนวดั บางกระเจา้ มุ่งพฒั นาผ้เู รียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่อื ใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
 มีพฤติกรรมทีแ่ สดงถึงการเคารพ การเทดิ ทนู สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
 เข้ารว่ มกิจกรรมทางพุทธศาสนา และวนั สำคญั ของชาติ
๒. ซื่อสตั ยส์ ุจริต
 ไม่ลกั ขโมย
 ไมพ่ ูดปด
๓. มวี ินยั
 มาโรงเรียนแตเ่ ชา้ ปฏิบัติกิจกรรมหนา้ เสาธงอย่างสม่ำเสมอ
 ปฏิบัติตนตามระเบยี บของโรงเรียนและสังคม
๔. ใฝ่เรียนรู้
 แสวงหาความรู้อยู่เสมอ มนี สิ ยั รกั การอา่ นและการเขียน
 มีทักษะการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี นอย่างสร้างสรรค์
๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
 รจู้ กั เก็บอออม
 ประหยดั พลังงานและส่งิ ของเครอื่ งใช้
๖. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
 ขยันหมั่นเพียร มคี วามอดทน อดกล้ัน
 ทำงานรว่ มกับผูอ้ นื่ และมที กั ษะเป็นผ้นู ำ และผ้ตู ามทีด่ ี
๗. รกั ความเป็นไทย
 มจี ติ สำนึกในความเป็นไทย
 มคี วามชนื่ ชม และเข้าร่วมกจิ กรรมเกีย่ วกบั วัฒนธรรมและประเพณไี ทย
๘. มีจิตสาธารณะ
 รักษาสง่ิ แวดล้อม รกั ษาความสะอาดของโรงเรียนและชุมชน ไมท่ ำลายสาธารณะสมบตั ิ
 มีความรักความสามัคคีเห็นอกเห็นใจ เอื้ออาทรต่อคนรอบข้าง ช่วยเหลือสังคมได้อย่าง

เหมาะสมเมื่อมโี อกาส



ทักษะ ๓R 8C

การพฒั นาผู้เรียนโรงเรยี นวัดบางกระเจ้า มุง่ เนน้ พัฒนาผเู้ รียนให้มีทักษะ ๓R 8C ดังนี้
๓R คอื Reading อ่านออก (W) Riting เขียนได้ (A) Rithmatic มีทกั ษะในการคำนวณ
๘C คือ ⚫ Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิด
อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และแกไ้ ขปัญหาได้
⚫ Creativity and Innovation : คดิ อย่างสรา้ งสรรค์ คดิ เชิงนวัตกรรม
⚫ Collaboration Teamwork and Leadership : ความรว่ มมอื การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ
⚫ Communication Information and Media Literacy : ทกั ษะในการสื่อสาร และการรเู้ ท่าทนั สอ่ื
⚫ Cross-cultural Understanding : ความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม กระบวนการคิดข้าม
วัฒนธรรม
⚫ Computing and ICT Literacy : ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ และการรู้เท่าทันเทคโนโลยี ซึ่งเยาวชน
ในยุคปัจจุบนั มีความสามารถดา้ นคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยอี ยา่ งมากหรือเป็น Native Digital สว่ นคนรุ่นเก่าหรือ
ผสู้ ูงอายเุ ปรยี บเสมอื นเป็น Immigrant Digital แตเ่ ราต้องไม่อายทีจ่ ะเรยี นรู้แม้ว่าจะสงู อายแุ ล้วก็ตาม
⚫ Career and Learning Skills : ทักษะทางอาชพี และการเรียนรู้
⚫ Compassion : มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญของ
ทกั ษะข้นั ต้นท้ังหมด และเปน็ คณุ ลกั ษณะท่เี ด็กไทยจำเปน็ ต้องมี

วทิ ยาการคำนวณ

วิทยาการคำนวณ ประกอบด้วย ๓ องค์ความรู้ ดังนี้
1. การคดิ เชงิ คำนวณ (computational thinking) คือ เข้าใจและเรยี นรวู้ ิธีคดิ และแก้ปัญหาเชิงวเิ คราะห์
มลี ำดบั วิธคี ดิ ซงึ่ นอกจากการเรยี นการเขยี นโปรแกรมแลว้ หวั ใจท่ีสำคัญกว่า คือ สอนให้เราเช่อื มโยงปัญหา
ต่าง ๆ และแกไ้ ขปญั หาได้
2. ใช้เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม (digital technology) ทง้ั เทคนิควธิ ีการตา่ ง ๆ เกย่ี วกับเทคโนโลยดี จิ ิทัลใน
ยุค 4.0 และเปน็ ทางเลอื กในการบรู ณาการเขา้ กับวชิ าอ่ืนได้ดว้ ย
3. รูเ้ ทา่ ทันสอื่ และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (media and information literacy) พูดง่าย ๆ คอื แยกแยะไดว้ า่
ขอ้ มูลไหนเป็นจริงหรอื หลอกลวง ร้กู ฎหมายและลขิ สทิ ธิต์ ่าง ๆ บนโลกไซเบอร์ เพือ่ ใหใ้ ช้งานกนั ได้อย่างถูกต้อง
และปลอดภยั



ส่วนที่ 2
โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นวดั บางกระเจ้า

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ /กจิ กรรม ระดับประถมศึกษา / เวลาเรยี น
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณิตศาสตร์ 160 160 160 160 160 160

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๐0 ๑๐0 ๑๐0 ๑๒0 ๑๒0 ๑๒0

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 40 40 40 80 80 80

 ศาสนาศีลธรรม จรยิ ธรรม

 หน้าทพี่ ลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนนิ ชีวิต ฯ

 เศรษฐศาสตร์ 40 40 40 40 40 40

 ภมู ศิ าสตร์

 ประวัตศิ าสตร์

สขุ ศกึ ษา และพลศึกษา 40 40 40 80 80 80

ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80

การงานอาชพี ๒0 ๒0 ๒0 ๔0 ๔0 ๔0

ภาษาองั กฤษ 200 200 200 80 80 80

รวมเวลาเรยี นพื้นฐาน 840 840 840 840 840 840

รายวชิ าเพ่ิมเติม

หน้าท่ีพลเมือง 40 40 40 40 40 40

สารพัดประโยชนจ์ ากต้นจาก 40 40 40 40 40 40

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น

 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40

 กจิ กรรมนกั เรยี น

- ลกู เสอื /เนตรนารี 40 40 40 40 40 40

- ชุมนมุ 30 30 30 30 30 30

 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10

รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน 120 120 120 120 120 120

รวมเวลาทัง้ หมด 1,0๔0 ชัว่ โมง 1,0๔0 ช่ัวโมง



โครงสร้างหลักสตู รระดับชนั้ ปี

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1

รายวชิ า / กิจกรรม เวลาเรยี น (ช่ัวโมง / ปี)
รายวชิ าพน้ื ฐาน 840
200
ท 11101 ภาษาไทย 160
ค 11101 คณติ ศาสตร์ ๑๐0
ว 11101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40
ส 11101 สงั คมศึกษา 40
ส 11102 ประวัตศิ าสตร์ 40
พ 11101 สุขศึกษา และพลศึกษา 40
ศ 11101 ศลิ ปะ ๒0
ง 11101 การงานอาชพี 200
อ 11101 ภาษาองั กฤษ ๘0
40
รายวิชาเพ่มิ เติม 40
ส 11201 หน้าที่พลเมือง 120
ง 1๑๒01 สารพัดประโยชนจ์ ากต้นจาก 40

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 40
กจิ กรรมแนะแนว 30
กจิ กรรมนกั เรียน 10
1,0๔0
- ลูกเสอื / เนตรนารี
- ชมุ นุม
กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรียนทง้ั สิน้



โครงสรา้ งหลักสตู รระดบั ชน้ั ปี
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2

รายวิชา / กจิ กรรม เวลาเรียน (ช่ัวโมง / ปี)
840
รายวชิ าพ้นื ฐาน 200
ท 12101 ภาษาไทย 160
ค 12101 คณติ ศาสตร์ 100
ว 12101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 40
ส 12101 สังคมศกึ ษา 40
ส 12102 ประวัติศาสตร์ 40
พ 12101 สุขศึกษา และพลศึกษา 40
ศ 12101 ศิลปะ 20
ง 12101 การงานอาชพี 200
อ 12101 ภาษาองั กฤษ ๘0
40
รายวิชาเพิม่ เติม 40
ส 12201 หน้าทพี่ ลเมอื ง 120
ง 1๒๒01 สารพดั ประโยชนจ์ ากตน้ จาก 40

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 40
30
กิจกรรมแนะแนว 10
กิจกรรมนักเรียน 1,0๔0

- ลกู เสอื / เนตรนารี
- ชุมนมุ
กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทงั้ ส้ิน



โครงสรา้ งหลักสูตรระดับชน้ั ปี
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3

รายวิชา / กจิ กรรม เวลาเรียน (ชั่วโมง / ปี)
รายวชิ าพนื้ ฐาน 840
ท 13101 ภาษาไทย 200
ค 13101 คณิตศาสตร์ 160
ว 13101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑๐0
ส 13101 สงั คมศึกษา 40
ส 13102 ประวตั ศิ าสตร์ 40
พ 13101 สุขศกึ ษา และพลศึกษา 40
ศ 13101 ศลิ ปะ 40
ง 13101 การงานอาชพี ๒0
อ 13101 ภาษาองั กฤษ 200
รายวชิ าเพมิ่ เติม ๘0
ส 13201 หนา้ ที่พลเมอื ง 40
ง 1๓๒01 สารพัดประโยชนจ์ ากตน้ จาก 40
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น 120
กจิ กรรมแนะแนว 40
กจิ กรรมนักเรยี น
- ลูกเสือ / เนตรนารี 40
- ชมรม ชมุ นุม 30
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10
รวมเวลาเรียนทงั้ สน้ิ 1,0๔0



โครงสร้างหลกั สูตรระดบั ชน้ั ปี
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรยี น (ช่ัวโมง / ปี)
840
รายวิชาพืน้ ฐาน 160
ท 14101 ภาษาไทย 160
ค 14101 คณิตศาสตร์ ๑๒0
ว 14101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80
ส 14101 สงั คมศกึ ษา 40
ส 14102 ประวัติศาสตร์ 80
พ 14101 สขุ ศกึ ษา และพลศึกษา 80
ศ 14101 ศลิ ปะ ๔0
ง 14101 การงานอาชพี 80
อ 14101 ภาษาองั กฤษ ๘0
40
รายวิชาเพม่ิ เติม 40
ส 14201 หนา้ ทพ่ี ลเมือง 120
ง 1๔๒01 สารพดั ประโยชน์จากตน้ จาก 40

กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน 40
กจิ กรรมแนะแนว 30
กจิ กรรมนกั เรียน 10
1,0๔0
- ลกู เสอื / เนตรนารี
- ชมรม ชมุ นุม
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้

๑๐

โครงสรา้ งหลักสูตรระดบั ช้นั ปี
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5

รายวิชา / กิจกรรม เวลาเรยี น (ชั่วโมง / ป)ี
รายวชิ าพนื้ ฐาน 840
ท 15101 ภาษาไทย 160
ค 15101 คณิตศาสตร์ 160
ว 15101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120
ส 15101 สงั คมศกึ ษา 80
ส 15102 ประวตั ิศาสตร์ 40
พ 15101 สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา 80
ศ 15101 ศลิ ปะ 80
ง 15101 การงานอาชีพ 40
อ 15101 ภาษาอังกฤษ 80
รายวิชาเพิ่มเติม ๘0
ส 15201 หน้าท่พี ลเมอื ง 40
ง 1๕๒01 สารพัดประโยชน์จากต้นจาก 40
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 120
กิจกรรมแนะแนว 40
กิจกรรมนกั เรยี น
- ลูกเสือ / เนตรนารี 40
- ชมรม ชมุ นมุ 30
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10
รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 1,0๔0

๑๑

โครงสร้างหลกั สูตรระดับชน้ั ปี
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6

รายวชิ า / กิจกรรม เวลาเรยี น (ชั่วโมง / ป)ี
840
รายวิชาพน้ื ฐาน 160
ท 16101 ภาษาไทย 160
ค 16101 คณิตศาสตร์ ๑๒๐
ว 16101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80
ส 16101 สงั คมศกึ ษา 40
ส 16102 ประวตั ศิ าสตร์ 80
พ 16101 สุขศึกษา และพลศกึ ษา 80
ศ 16101 ศลิ ปะ ๔0
ง 16101 การงานอาชีพ 80
อ 16101 ภาษาองั กฤษ ๘0
40
รายวชิ าเพม่ิ เติม 40
ส 16201 หนา้ ท่พี ลเมือง 120
ง 1๖๒01 สารพัดประโยชนจ์ ากตน้ จาก 40

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 40
กจิ กรรมแนะแนว 30
กจิ กรรมนักเรยี น 10
1,0๔0
- ลูกเสือ / เนตรนารี
- ชมรม ชมุ นุม
กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทงั้ สน้ิ

๑๒

สว่ นท่ี 3

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์

(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)

ทำไมต้องเรยี นคณติ ศาสตร์
คณติ ศาสตร์มบี ทบาทสำคัญย่ิงต่อความสำเรจ็ ในการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เน่ืองจากคณิตศาสตร์

ช่วยใหม้ นุษย์มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ คิดอยา่ งมีเหตุผล เปน็ ระบบ มแี บบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือ
สถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และสามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตจริงได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ นอกจากนี้ คณิตศาสตร์ยังเป็นเครือ่ งมือใน
การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ
ชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทียมกับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึง
จำเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ่เี จริญกา้ วหน้าอยา่ งรวดเรว็ ในยุคโลกาภวิ ัตน์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๖๐)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ฉบับนี้ จัดทำขึ้นโดยคำนึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นสำหรับ
การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ เป็นสำคัญ นั่นคอื การเตรียมผูเ้ รยี นให้มีทกั ษะดา้ นการคิดวเิ คราะห์ การคิดอย่างมี
วิจารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสารและการร่วมมือ ซึ่งจะส่งผลให้
ผเู้ รยี นรู้เท่าทนั การเปล่ยี นแปลงของระบบเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และสภาพแวดลอ้ ม สามารถแข่งขนั และ
อยรู่ ่วมกับประชาคมโลกได้ ทงั้ น้ี การจัดการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จนนั้ จะต้องเตรียมผู้เรียน
ใหม้ ีความพรอ้ มทจี่ ะเรียนรูส้ งิ่ ต่าง ๆ พร้อมทจ่ี ะประกอบอาชพี เมอื่ จบการศึกษา หรือสามารถศกึ ษาต่อในระดับ
ทสี่ ูงขน้ึ ดงั นน้ั สถานศกึ ษาควรจัดการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รยี น

เรียนรูอ้ ะไรในคณิตศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์จดั เป็น ๔ สาระ ไดแ้ ก่ จำนวนและพีชคณิต การวัดและ

เรขาคณิต สถติ แิ ละความน่าจะเปน็ แคลคูลัส
จำนวนและพีชคณิต ระบบจำนวนจริง สมบัตเิ ก่ียวกับจำนวนจริง อตั ราส่วน ร้อยละ การประมาณค่า

การแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน การใช้จำนวนในชีวิตจริง แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซต ตรรกศาสตร์
นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน เมทริกซ์
จำนวนเชิงซอ้ น ลำดับและอนกุ รม และการนำความรเู้ กยี่ วกับจำนวนและพชี คณิตไปใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ

การวัดและเรขาคณิต ความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นที่ ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา
หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ รูปเรขาคณิตและสมบัติของ
รูปเรขาคณิต การนกึ ภาพ แบบจำลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิตในเรื่อง
การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน เรขาคณิตวิเคราะห์ เวกเตอร์ในสามมิติ และการนำความรู้เกี่ยวกับ
การวัดและเรขาคณติ ไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ

สถิติและความน่าจะเป็น การตั้งคำถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การคำนวณค่าสถิติ
การนำเสนอและแปลผลสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น

๑๓

การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม การใช้ความรู้เกีย่ วกับสถติ ิและความนา่ จะเปน็ ในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ และ
ช่วยในการตัดสนิ ใจ

แคลคูลัส ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ปริพันธ์ของฟังก์ชัน
พีชคณติ และการนำความรเู้ กย่ี วกบั แคลคลู ัสไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ ๑ จำนวนและพชี คณติ
มาตรฐาน ค. ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน

ผลทเี่ กิดข้นึ จากการดำเนนิ การ สมบตั ขิ องการดำเนนิ การ และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๑.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟังก์ชัน ลำดบั และอนุกรม และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๑.๓ ใชน้ พิ จน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธบิ ายความสัมพันธห์ รอื ชว่ ยแก้ปัญหา

ท่กี ำหนดให้

สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณิต
มาตรฐาน ค. ๒.๑ เข้าใจพืน้ ฐานเกย่ี วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีต้องการวดั และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรปู

เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๒.๓ เขา้ ใจเรขาคณิตวเิ คราะห์ และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๒.๔ เข้าใจเวกเตอร์ การดำเนนิ การของเวกเตอร์ และนำไปใช้
(หมายเหตุ : มาตรฐาน ค. ๒.๓ และ มาตรฐาน ค. ๒.๔ สำหรบั ผทู้ ตี่ ้องการเรียนคณิตศาสตรเ์ ป็นพน้ื ฐาน

ในการศึกษาต่อ)

สาระท่ี ๓ สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น
มาตรฐาน ค. ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรู้ทางสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา
มาตรฐาน ค. ๓.๒ เข้าใจหลกั การนบั เบ้อื งตน้ ความนา่ จะเปน็ และนำไปใช้

สาระที่ ๔ แคลคูลัส
มาตรฐาน ค.๔.๑ เขา้ ใจลิมิตและความต่อเน่ืองของฟังก์ชัน อนพุ นั ธข์ องฟังก์ชัน และปรพิ ันธ์ของฟังก์ชนั

และนำไปใช้
(หมายเหตุ : มาตรฐาน ค.๔.๑ สำหรับผูท้ ีต่ อ้ งการเรยี นคณติ ศาสตร์เป็นพ้นื ฐานในการศกึ ษาต่อ)

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถทีจ่ ะนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้

สิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นทีน่ ี้ เน้นทที่ กั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ท่ีจำเป็น และต้องการพัฒนา
ใหเ้ กดิ ขึน้ กบั ผเู้ รียน ได้แกค่ วามสามารถต่อไปนี้

๑. การแกป้ ัญหา เปน็ ความสามารถในการทำความเขา้ ใจปัญหา คิดวเิ คราะห์ วางแผนแก้ปัญหา
และเลือกใชว้ ธิ กี ารท่ีเหมาะสม โดยคำนงึ ถงึ ความสมเหตสุ มผลของคำตอบพร้อมท้ังตรวจสอบ
ความถูกต้อง

๑๔

๒. การส่อื สารและการสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใชร้ ปู ภาษาและ
สญั ลักษณท์ างคณิตศาสตรใ์ นการส่อื สาร สื่อความหมาย สรุปผล และนำเสนอได้อยา่ งถูกต้อง
ชัดเจน

๓. การเชอ่ื มโยง เป็นความสามารถในการใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตรเ์ ปน็ เคร่ืองมือในการเรยี นรู้
คณิตศาสตรเ์ น้ือหาต่าง ๆ หรือศาสตร์อ่ืน ๆ และนำไปใช้ในชีวติ จรงิ

๔. การให้เหตุผล เป็นความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล รับฟังและให้เหตผุ ลสนับสนุนหรือโต้แยง้
เพอื่ นำไปสกู่ ารสรปุ โดยมขี ้อเท็จจริงทางคณติ ศาสตรร์ องรับ

๕. การคดิ สร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการขยายแนวคิดท่ีมีอยู่เดิม หรือสรา้ งแนวคดิ ใหม่
เพ่ือปรบั ปรุง พัฒนาองค์ความรู้

คุณภาพผ้เู รียน
จบชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓

- อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ มีความรู้สึกเชิงจำนวน
มที กั ษะการบวก การลบ การคูณ การ หาร และนำไปใชใ้ นสถานการณต์ ่าง ๆ

- มีความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับเศษส่วนที่ไม่เกิน ๑ มีทักษะการบวก การลบ เศษส่วนที่ตัวส่วน
เท่ากัน และนำไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ

- คาดคะเนและวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร ความจุ เลือกใช้เครื่องมือและหน่วยที่เหมาะสม
บอกเวลา บอกจำนวนเงนิ และนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

- จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม
ทรงกระบอกและกรวย เขยี นรูปหลายเหลี่ยม วงกลมและวงรโี ดยใชแ้ บบของรูป ระบุรูปเรขาคณิต
ทีม่ แี กนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร และนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

- อา่ นและเขียนแผนภูมิรปู ภาพ ตารางทางเดยี ว และนำไปใช้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ

จบชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
- อ่าน เขียนตัวเลข ตวั หนงั สอื แสดงจำนวนนับ เศษสว่ น ทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ตำแหน่ง อัตราสว่ น และ
ร้อยละ มีความรู้สกึ เชิงจำนวน มีทักษะการบวก การลบ การคูณ การหาร ประมาณผลลัพธ์ และ
นำไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ
- อธิบายลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิต หาความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปเรขาคณิต
สร้างรูปสามเหลย่ี ม รูปสีเ่ หลี่ยมและวงกลม หาปรมิ าตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และ
นำไปใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ
- นำเสนอขอ้ มลู ในรปู แผนภมู ิแทง่ ใช้ขอ้ มูลจากแผนภูมิแท่ง แผนภูมริ ปู วงกลม ตารางสองทาง และ
กราฟเส้นในการอธิบายเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ และตดั สนิ ใจ

๑๕

ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง
สาระท่ี ๑ จำนวนและพชี คณติ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน
ผลที่เกิดข้นึ จากการดำเนนิ การ สมบตั ขิ องการดำเนินการ และนำไปใช้

ชั้น ตัวชว้ี ัด / ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

ป.๑ จำนวนนบั ๑ ถงึ ๑๐๐ และ ๐
๑. บอกจำนวนของสงิ่ ต่าง ๆ แสดงสิ่งต่าง ๆ - การนับทลี ะ ๑ และทีละ ๑๐
ตามจำนวนทกี่ ำหนด อ่านและเขียน - การอ่านและการเขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก
ตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทยแสดงจำนวนนบั
ไมเ่ กนิ ๑๐๐ และ ๐ ตัวเลขไทยแสดงจำนวน
๒. เปรยี บเทียบจำนวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐ - การแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๒๐ ในรูป

โดยใชเ้ ครือ่ งหมาย =  > < ความสัมพันธ์ของจำนวนแบบสว่ นยอ่ ย – สว่ นรวม
๓. เรยี งลำดับจำนวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐ และ ๐ (Part – Whole Relationship)
- การบอกอนั ดบั ที่
ต้งั แต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน - หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และ
การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย
- การเปรียบเทียบจำนวนและการใช้เครื่องหมาย

=><
- การเรียงลำดับจำนวน

๔. หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ การบวก การลบ จำนวนนบั ๑ ถงึ ๑๐๐ และ ๐
แสดงการบวกและประโยคสัญลกั ษณแ์ สดงการลบ - ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ
ของจำนวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐ และ ๐
การหาผลบวก การหาผลลบ และความสัมพันธ์
๕. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและ ของการบวกและการลบ
โจทย์ปัญหาการลบของจำนวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐ - การแก้โจทยป์ ญั หาการบวก โจทย์ปญั หาการลบ
และ ๐ และการสร้างโจทย์ปญั หา พร้อมทัง้ หาคำตอบ

ป.๒ จำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐
๑. บอกจำนวนของสิ่งตา่ ง ๆ แสดงสิง่ ตา่ ง ๆ - การนับทีละ ๒ ทลี ะ ๕ ทลี ะ ๑๐ และทีละ ๑๐๐
ตามจำนวนที่กำหนด อา่ นและเขียนตวั เลข - การอา่ นและการเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบิก
ฮินดอู ารบิก ตวั เลขไทย ตวั หนงั สอื แสดง
จำนวนนบั ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน
๒. เปรียบเทยี บจำนวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ - จำนวนคู่ จำนวนค่ี
- หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขยี น
โดยใช้เคร่อื งหมาย =  > <
๓. เรียงลำดับจำนวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
- การเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับจำนวน
ตัง้ แต่ ๓ ถึง ๕ จำนวนจากสถานการณ์ต่าง ๆ

๑๖

ช้ัน ตัวช้ีวดั / ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้

ป.๒ การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนบั

ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐

๔. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์ - การบวกและการลบ

แสดงการบวกและประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการลบ - ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร

ของจำนวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ การหาผลคณู การหาผลหารและเศษ และ

๕. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์ ความสมั พนั ธ์ของการคูณและการหาร

แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกบั จำนวนไมเ่ กนิ - การบวก ลบ คณู หารระคน

๒ หลกั - การแกโ้ จทย์ปัญหาและการสรา้ งโจทย์ปญั หา

๖. หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์ พรอ้ มทัง้ หาคำตอบ

แสดงการหารทตี่ ัวตั้งไม่เกิน ๒ หลกั ตัวหาร ๑ หลัก

โดยที่ผลหารมี ๑ หลักทงั้ หารลงตวั และหารไม่ลงตวั

๗. หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับ

ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐

๘. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขน้ั ตอน

ของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐

ป.๓ จำนวนนับไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

๑. อา่ นและเขยี น ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย - การอา่ น การเขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย

และตวั หนงั สือแสดงจำนวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และตวั หนงั สือแสดงจำนวน

และ ๐ - หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขียน

๒. เปรียบเทียบและเรียงลำดบั จำนวนนับไม่เกนิ ตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย

๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ - การเปรยี บเทียบและเรียงลำดับจำนวน

๓. บอก อา่ นและเขียนเศษส่วนแสดงปริมาณ เศษส่วน
ส่งิ ต่าง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามเศษส่วน - เศษส่วนทตี่ ัวเศษน้อยกว่าหรือเทา่ กับตวั ส่วน
ทีก่ ำหนด - การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดับเศษส่วน

๔. เปรียบเทยี บเศษส่วนท่ตี ัวเศษเทา่ กัน
โดยทต่ี ัวเศษน้อยกว่าหรอื เท่ากับตัวสว่ น

การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนบั

ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

๕. หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ - การบวกและการลบ

แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบ - การคูณ การหารยาวและการหารสน้ั

ของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ - การบวก ลบ คูณ หารระคน

๖. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ - การแก้โจทยป์ ญั หาและการสร้างโจทย์ปัญหา

แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลกั กับจำนวนไม่เกิน พร้อมทงั้ หาคำตอบ

๔ หลกั และจำนวน ๒ หลักกบั จำนวน ๒ หลัก
ป.๓ ๗. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์

แสดงการหารทต่ี ัวตั้งไม่เกิน ๔ หลัก ตวั หาร ๑ หลัก

๑๗

ชนั้ ตวั ชี้วดั / ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้

๘. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจำนวนนับ

ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

๙. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขัน้ ตอน

ของจำนวนนับไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

การบวก การลบเศษส่วน

๑๐.หาผลบวกของเศษส่วนท่ีมีตัวสว่ นเท่ากนั และ - การบวกและการลบเศษสว่ น

ผลบวกไมเ่ กิน ๑ และหาผลลบของเศษสว่ น - การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา

ทีม่ ีตัวสว่ นเท่ากัน การลบเศษสว่ น

๑๑.แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก

เศษสว่ นทม่ี ีตวั สว่ นเท่ากันและผลบวกไมเ่ กิน ๑

และโจทยป์ ัญหาการลบเศษส่วนที่มตี ัวสว่ นเท่ากนั

ป.๔ จำนวนนบั ท่มี ากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

๑. อ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบกิ ตัวเลขไทย และ - การอ่าน การเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย

ตัวหนังสอื แสดงจำนวนนบั ทีม่ ากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และตวั หนังสือแสดงจำนวน

๒. เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนบั ทีม่ ากกวา่ - หลัก คา่ ประจำหลักและค่าของเลขโดด

๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ ในแต่ละหลกั และการเขยี นตัวเลขแสดงจำนวน

ในรปู กระจาย

- การเปรยี บเทียบและเรียงลำดับจำนวน

- ค่าประมาณของจำนวนนับและการใช้เคร่ืองหมาย 

เศษส่วน

๓. บอก อ่านและเขยี นเศษส่วน จำนวนคละแสดง - เศษสว่ นแท้ เศษเกิน

ปรมิ าณสิง่ ตา่ ง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามเศษสว่ น - จำนวนคละ

จำนวนคละท่ีกำหนด - ความสัมพันธร์ ะหวา่ งจำนวนคละและเศษเกิน

๔. เปรยี บเทียบ เรียงลำดับเศษสว่ นและจำนวนคละ - เศษสว่ นที่เทา่ กนั เศษสว่ นอย่างต่ำ

ทต่ี วั ส่วนตัวหนง่ึ เป็นพหคุ ณู ของอีกตวั หน่งึ และเศษสว่ นทีเ่ ทา่ กบั จำนวนนบั

- การเปรยี บเทยี บ เรียงลำดบั เศษส่วนและจำนวนคละ

ทศนยิ ม

๕. อา่ นและเขยี นทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตำแหนง่ แสดง - การอ่านและการเขียนทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตำแหนง่

ปริมาณของสง่ิ ตา่ ง ๆ และแสดงส่ิงตา่ ง ๆ ตามปรมิ าณทีก่ ำหนด

ตามทศนิยมทีก่ ำหนด - หลกั คา่ ประจำหลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก

๖. เปรียบเทยี บและเรยี งลำดับทศนยิ มไม่เกนิ ของทศนิยม และการเขยี นตวั เลขแสดงทศนิยม

๓ ตำแหน่งจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในรปู กระจาย

- ทศนิยมท่ีเท่ากนั

- การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดับทศนิยม

การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนบั
ท่มี ากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
ป.๔ ๗. ประมาณผลลัพธข์ องการบวก การลบ การคณู - การประมาณผลลพั ธ์ของการบวก การลบ การคูณ
การหารจากสถานการณ์ตา่ ง ๆ อย่างสมเหตุสมผล การหาร

๑๘

ชนั้ ตวั ชวี้ ดั / ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

๘. หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ - การบวกและการลบ

แสดงการบวกและประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการลบ - การคณู และการหาร

ของจำนวนนบั ท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ - การบวก ลบ คูณ หารระคน

๙. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ - การแก้โจทยป์ ัญหาและการสรา้ งโจทยป์ ัญหา

แสดงการคูณของจำนวนหลายหลัก ๒ จำนวน พร้อมทง้ั หาคำตอบ

ท่มี ผี ลคณู ไม่เกิน ๖ หลกั และประโยคสญั ลกั ษณ์

แสดงการหารทีต่ ัวตง้ั ไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไมเ่ กนิ

๒ หลกั

๑๐.หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน

ของจำนวนนับ และ ๐

๑๑.แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขนั้ ตอน

ของจำนวนนบั ท่ีมากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

๑๒.สรา้ งโจทย์ปัญหา ๒ ข้นั ตอนของจำนวนนบั

และ ๐ พร้อมท้งั หาคำตอบ

การบวก การลบเศษส่วน

๑๓.หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจำนวนคละ - การบวก การลบเศษสว่ นและจำนวนคละ

ท่ตี วั สว่ นตวั หนงึ่ เป็นพหคุ ูณของอีกตัวหนงึ่ - การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวกและโจทยป์ ญั หา

๑๔.แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและ การลบเศษสว่ นและจำนวนคละ

โจทยป์ ัญหาการลบเศษส่วนและจำนวนคละ

ท่ีตวั สว่ นตัวหนง่ึ เป็นพหุคณู ของอีกตวั หนง่ึ

การบวก การลบทศนิยม

๑๕.หาผลบวก ผลลบของทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง - การบวก การลบทศนยิ ม

๑๖.แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก - การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก การลบ ทศนิยม

การลบ ๒ ข้นั ตอนของทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตำแหน่ง ไมเ่ กิน ๒ ขนั้ ตอน

ป.๕ ทศนยิ ม

๑. เขียนเศษสว่ นที่มตี ัวส่วนเป็นตัวประกอบ - ความสัมพนั ธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม

ของ ๑๐ หรอื ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรปู ทศนยิ ม - ค่าประมาณของทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตำแหนง่

ท่เี ป็นจำนวนเต็ม ทศนิยม ๑ ตำแหน่ง

และ ๒ ตำแหน่ง การใชเ้ ครื่องหมาย 

จำนวนนับและ ๐ การบวก การลบ การคูณ

และการหาร

๒. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาโดยใช้ - การแก้โจทยป์ ญั หาโดยใชบ้ ัญญตั ิไตรยางศ์

บญั ญตั ไิ ตรยางศ์ เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การหาร
ป.๕

เศษส่วน

๓. หาผลบวก ผลลบของเศษสว่ นและจำนวนคละ - การเปรียบเทียบเศษส่วนและจำนวนคละ

๔. หาผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจำนวนคละ - การบวก การลบเศษส่วนและจำนวนคละ

๕. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก - การคูณ การหารของเศษสว่ นและจำนวนคละ

การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขน้ั ตอน - การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและ

ช้ัน ตัวช้ีวดั / ผลการเรยี นรู้ ๑๙

สาระการเรียนรู้
จำนวนคละ
- การแก้โจทย์ปญั หาเศษสว่ นและจำนวนคละ

๖. หาผลคูณของทศนยิ มท่ีผลคูณเปน็ ทศนยิ มไม่เกิน การคูณ การหารทศนิยม
๓ ตำแหนง่ - การประมาณผลลัพธข์ องการบวก การลบ การคูณ

๗. หาผลหารทต่ี ัวตั้งเป็นจำนวนนับหรอื ทศนิยมไม่ การหารทศนยิ ม
เกิน ๓ ตำแหนง่ และตัวหารเปน็ จำนวนนับ - การคณู ทศนยิ ม
ผลหารเป็นทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ตำแหน่ง - การหารทศนยิ ม
- การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกี่ยวกับทศนยิ ม
๘. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก
การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๒ ขน้ั ตอน ร้อยละหรือเปอรเ์ ซน็ ต์
- การอา่ นและการเขียนร้อยละหรอื เปอรเ์ ซน็ ต์
๙. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาร้อยละไมเ่ กนิ - การแก้โจทยป์ ญั หารอ้ ยละ
๒ ขัน้ ตอน เศษสว่ น
- การเปรียบเทียบและเรยี งลำดบั เศษสว่ นและ
ป.๖
๑. เปรยี บเทียบ เรียงลำดับเศษสว่ นและจำนวนคละ จำนวนคละโดยใช้ความรู้เรื่อง ค.ร.น.
จากสถานการณต์ ่าง ๆ อตั ราสว่ น
- อัตราสว่ น อัตราสว่ นที่เทา่ กนั และมาตราสว่ น
๒. เขยี นอัตราสว่ นแสดงการเปรียบเทยี บปริมาณ
๒ ปรมิ าณ จากข้อความหรือสถานการณ์ จำนวนนบั และ ๐
โดยทป่ี รมิ าณแตล่ ะปรมิ าณเป็นจำนวนนับ - ตวั ประกอบ จำนวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ

๓. หาอัตราส่วนทเี่ ท่ากบั อัตราสว่ นทีก่ ำหนดให้ และการแยกตัวประกอบ
- ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
๔. หา ห.ร.ม. ของจำนวนนับไมเ่ กนิ ๓ จำนวน - การแก้โจทย์ปญั หาเก่ียวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
๕. หา ค.ร.น. ของจำนวนนบั ไม่เกนิ ๓ จำนวน การบวก การลบ การคูณ การหารเศษสว่ น
๖. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาโดยใช้ความรู้ - การบวก การลบเศษส่วนและจำนวนคละ

เก่ยี วกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น. โดยใชค้ วามร้เู รื่อง ค.ร.น.
- การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและ
๗. หาผลลัพธข์ องการบวก ลบ คูณ หารระคนของ
เศษสว่ นและจำนวนคละ จำนวนคละ
- การแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำนวนคละ
๘. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาเศษส่วนและ ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหาร
จำนวนคละ ๒ - ๓ ขน้ั ตอน - ความสมั พันธร์ ะหว่างเศษสว่ นและทศนยิ ม
- การหารทศนิยม
ป.๖

๙. หาผลหารของทศนยิ มท่ตี วั หารและผลหารเป็น
ทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตำแหนง่

๑๐.แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก - การแกโ้ จทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนยิ ม

๒๐

ชนั้ ตัวชีว้ ัด / ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้
การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ขัน้ ตอน
(รวมการแลกเงนิ ต่างประเทศ)
๑๑.แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาอัตราส่วน อัตราสว่ นและร้อยละ
๑๒.แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละ - การแกโ้ จทยป์ ญั หาอตั ราส่วนและมาตราสว่ น
- การแกโ้ จทย์ปัญหารอ้ ยละ
๒ - ๓ ขนั้ ตอน

มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรปู ความสัมพันธ์ ฟังกช์ นั ลำดบั และอนุกรม และนำไปใช้

ช้นั ตวั ชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้

ป.๑ แบบรปู

๑. ระบุจำนวนทห่ี ายไปในแบบรูปของจำนวนท่ีเพม่ิ ขน้ึ - แบบรปู ของจำนวนที่เพิ่มข้นึ หรอื ลดลงทีละ ๑

หรอื ลดลงทีละ ๑ และทลี ะ ๑๐ และระบรุ ูปท่หี ายไป และทีละ ๑๐

ในแบบรูปซ้ำของรูปเรขาคณิตและรูปอ่ืน ๆ ที่สมาชิก - แบบรูปซำ้ ของจำนวน รปู เรขาคณติ และรูปอื่น ๆ

ในแตล่ ะชดุ ทซ่ี ้ำมี ๒ รปู

ป.๒ แบบรปู

- - แบบรูปของจำนวนทเ่ี พ่ิมขึ้นหรอื ลดลงทีละ ๒

ทีละ ๕ และทีละ ๑๐๐

- แบบรปู ซำ้

ป.๓ แบบรปู

๑. ระบจุ ำนวนท่หี ายไปในแบบรูปของจำนวนทเ่ี พ่มิ ขน้ึ - แบบรูปของจำนวนทีเ่ พิม่ ข้นึ หรือลดลงทีละเท่า ๆ กนั

หรือลดลงทีละเทา่ ๆ กัน

ป.๔ แบบรูป

- - แบบรปู ของจำนวนที่เกดิ จากการคณู การหาร

ด้วยจำนวนเดียวกัน

ป.๕ - -

ป.๖ แบบรูป

๑. แสดงวธิ คี ิดและหาคำตอบของปญั หาเก่ยี วกับแบบรปู - การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป

สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณิต

มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพืน้ ฐานเก่ยี วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงทตี่ ้องการวัด และนำไปใช้

ชน้ั ตัวชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้

ป.๑ ความยาว

๑. วดั และเปรยี บเทยี บความยาวเปน็ เซนติเมตร เปน็ เมตร - การวัดความยาวโดยใชห้ น่วยทีไ่ มใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน

- การวดั ความยาวเป็นเซนตเิ มตร เป็นเมตร

- การเปรยี บเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เปน็ เมตร

- การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก การลบเก่ียวกับ

ความยาวท่มี ีหน่วยเปน็ เซนตเิ มตร เปน็ เมตร

๒๑

ช้นั ตัวช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้

นำ้ หนัก

๒. วัดและเปรยี บเทียบน้ำหนกั เปน็ กิโลกรัม เป็นขีด - การวัดน้ำหนักโดยใช้หนว่ ยท่ไี มใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน

- การวัดนำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรมั เปน็ ขีด

- การเปรียบเทยี บน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เปน็ ขดี

- การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก การลบเกีย่ วกับน้ำหนกั

ทีม่ ีหน่วยเปน็ กิโลกรมั เปน็ ขดี

ป.๒ เวลา

๑. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั เวลา - การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที (ชว่ ง ๕ นาท)ี

ทมี่ หี นว่ ยเดย่ี วและเปน็ หนว่ ยเดยี วกนั - การบอกระยะเวลาเปน็ ชว่ั โมง เป็นนาที

- การเปรยี บเทยี บระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที

- การอ่านปฏิทนิ

- การแก้โจทย์ปัญหาเก่ยี วกบั เวลา

ความยาว

๒. วดั และเปรยี บเทียบความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร - การวดั ความยาวเปน็ เมตรและเซนตเิ มตร

๓. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร

เกยี่ วกับความยาวท่ีมหี น่วยเป็นเมตรและเซนตเิ มตร - การเปรียบเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสมั พันธ์ระหว่าง

เมตรกับเซนติเมตร

- การแกโ้ จทย์ปัญหาเกย่ี วกบั ความยาวทีม่ หี นว่ ยเปน็

เมตรและเซนตเิ มตร

นำ้ หนัก

๔. วัดและเปรียบเทียบน้ำหนักเปน็ กิโลกรมั และกรมั - การวดั นำ้ หนักเปน็ กิโลกรัมและกรมั กิโลกรมั และขีด

กโิ ลกรัมและขีด - การคาดคะเนน้ำหนกั เป็นกิโลกรมั

๕. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ - การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง

เกี่ยวกบั น้ำหนักทม่ี ีหนว่ ยเปน็ กิโลกรัมและกรมั กิโลกรัมกับกรัม กิโลกรัมกับขีด

กิโลกรัมและขดี - การแก้โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกับน้ำหนกั ที่มีหน่วยเปน็

กิโลกรมั และกรมั กโิ ลกรัมและขีด

ปริมาตรและความจุ

๖. วัดและเปรียบเทยี บปริมาตรและความจุเป็นลิตร - การวดั ปรมิ าตรและความจโุ ดยใชห้ นว่ ยทไี่ ม่ใช่

หน่วยมาตรฐาน

- การวัดปริมาตรและความจุเปน็ ช้อนชา ช้อนโตะ๊

ถ้วยตวง ลติ ร

- การเปรียบเทยี บปริมาตรและความจเุ ปน็ ชอ้ นชา

ช้อนโต๊ะ ถว้ ยตวง ลิตร

- การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกยี่ วกบั ปริมาตรและความจุ

ทีม่ หี น่วยเปน็ ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลติ ร

ป.๓ เงนิ

๑. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับเงิน - การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดงจำนวนเงิน

แบบใช้จุด

- การเปรยี บเทียบจำนวนเงนิ และการแลกเงิน

- การอ่านและเขียนบนั ทึกรายรับรายจา่ ย

๒๒

ชน้ั ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้

- การแกโ้ จทยป์ ญั หาเกย่ี วกับเงนิ

เวลา

๒. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั เวลา - การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที

และระยะเวลา - การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.)

หรอื ทวภิ าค (:) และการอ่าน

- การบอกระยะเวลาเปน็ ช่วั โมงและนาที

- การเปรียบเทยี บระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์

ระหว่างชว่ั โมงกับนาที

- การอา่ นและการเขียนบันทึกกิจกรรมทรี่ ะบเุ วลา

- การแก้โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกับเวลาและระยะเวลา

๓. เลือกใช้เครื่องวัดความยาวท่ีเหมาะสม วัดและบอก ความยาว

ความยาวของสง่ิ ต่าง ๆ เปน็ เซนตเิ มตรและมิลลิเมตร - การวัดความยาวเป็นเซนตเิ มตรและมิลลิเมตร

เมตรและเซนติเมตร เมตรและเซนตเิ มตร กโิ ลเมตรและเมตร

๔. คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเปน็ เซนติเมตร - การเลือกเคร่อื งวดั ความยาวท่ีเหมาะสม

๕. เปรียบเทียบความยาวระหวา่ งเซนติเมตรกับมิลลิเมตร - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนตเิ มตร

เมตรกบั เซนติเมตร กโิ ลเมตรกับเมตร - การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพนั ธ์

จากสถานการณต์ ่าง ๆ ระหว่างหนว่ ยความยาว

๖. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับ - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเกย่ี วกบั ความยาว

ความยาว ที่มหี นว่ ยเปน็ เซนติเมตรและมิลลิเมตร

เมตรและเซนตเิ มตร กโิ ลเมตรและเมตร
ป.๓ น้ำหนัก

๗. เลอื กใช้เครื่องช่ังทเ่ี หมาะสม วัดและบอกนำ้ หนัก - การเลือกเครือ่ งชงั่ ทเ่ี หมาะสม

เป็นกโิ ลกรัมและขีด กโิ ลกรัมและกรัม - การคาดคะเนน้ำหนักเปน็ กิโลกรมั และเป็นขีด

๘. คาดคะเนนำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรมั และเปน็ ขีด - การเปรียบเทยี บนำ้ หนักโดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหวา่ ง

๙. เปรียบเทยี บนำ้ หนกั ระหว่างกิโลกรมั กบั กรมั กโิ ลกรัมกับกรัม เมตริกตนั กับกิโลกรมั

เมตรกิ ตันกบั กิโลกรัม จากสถานการณต์ า่ ง ๆ - การแก้โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับน้ำหนัก

๑๐.แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกบั น้ำหนัก

ท่ีมหี นว่ ยเป็นกโิ ลกรัมกับกรมั เมตริกตันกับกโิ ลกรมั

ปรมิ าตรและความจุ

๑๑.เลือกใชเ้ ครื่องตวงท่ีเหมาะสม วัดและเปรยี บเทียบ - การวัดปริมาตรและความจเุ ป็นลิตรและมิลลิลติ ร

ปริมาตร ความจเุ ป็นลติ รและมลิ ลิลิตร - การเลอื กเครอ่ื งตวงท่เี หมาะสม

๑๒.คาดคะเนปริมาตรและความจเุ ป็นลิตร - การคาดคะเนปรมิ าตรและความจเุ ปน็ ลิตร

๑๓. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั ปริมาตร - การเปรียบเทยี บปรมิ าตรและความจโุ ดยใช้ความสมั พันธ์

และความจทุ ี่มีหนว่ ยเป็นลิตรและมิลลลิ ติ ร ระหวา่ งลิตรกับมลิ ลิลติ ร ชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊ ถว้ ยตวง

กบั มลิ ลิลติ ร

- การแก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับปรมิ าตรและความจุทีม่ ี

หน่วยเปน็ ลิตรและมิลลลิ ติ ร

ป.๔ เวลา

๑. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั เวลา - การบอกระยะเวลาเป็นวนิ าที นาที ชว่ั โมง

วนั สัปดาห์ เดอื น ปี

๒๓

ชั้น ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้

- การเปรยี บเทยี บระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์

ระหวา่ งหนว่ ยเวลา

- การอา่ นตารางเวลา

- การแก้โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกับเวลา

การวดั และสร้างมุม

๒. วัดและสรา้ งมมุ โดยใช้โพรแทรกเตอร์ - การวัดขนาดของมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์

- การสรา้ งมมุ เมื่อกำหนดขนาดของมุม

รปู ส่ีเหล่ียมมุมฉาก

๓. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเกย่ี วกบั - ความยาวรอบรูปของรปู สเ่ี หล่ียมมมุ ฉาก

ความยาวรอบรูปและพ้นื ท่ีของรูปสีเ่ หลยี่ มมมุ ฉาก - พืน้ ที่ของรูปสี่เหล่ียมมุมฉาก

- การแก้โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั ความยาวรอบรูป

และพื้นท่ขี องรูปสีเ่ หลย่ี มมมุ ฉาก

ป.๕ ความยาว

๑. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกับความยาว - ความสัมพนั ธร์ ะหว่างหนว่ ยความยาว

ท่ีมกี ารเปลย่ี นหน่วยและเขียนในรปู ทศนิยม เซนติเมตรกบั มิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร

กิโลเมตรกับเมตร โดยใช้ความรเู้ รื่องทศนิยม

- การแก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับความยาวโดยใชค้ วามรู้

เรอื่ งการเปล่ียนหน่วยและทศนยิ ม

นำ้ หนัก

๒. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับน้ำหนัก - ความสมั พันธ์ระหว่างหน่วยน้ำหนัก กิโลกรัมกับกรัม

ทีม่ ีการเปล่ียนหนว่ ยและเขยี นในรปู ทศนยิ ม โดยใชค้ วามร้เู รอ่ื งทศนยิ ม

- การแก้โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกับน้ำหนัก โดยใชค้ วามรู้

เรอื่ งการเปล่ยี นหนว่ ยและทศนยิ ม

ปริมาตรและความจุ

๓. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเก่ยี วกับปริมาตร - ปรมิ าตรของทรงส่เี หลยี่ มมมุ ฉากและความจุ

ของทรงสเ่ี หลี่ยมมุมฉากและความจขุ องภาชนะ ของภาชนะทรงส่เี หล่ียมมมุ ฉาก

ทรงสเี่ หล่ยี มมมุ ฉาก - ความสมั พนั ธ์ระหว่าง มลิ ลลิ ติ ร ลิตร

ลกู บาศก์เซนตเิ มตร และลูกบาศกเ์ มตร

- การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกบั ปรมิ าตรของ

ทรงสเ่ี หล่ยี มมมุ ฉากและความจขุ องภาชนะ

ทรงสี่เหลย่ี มมมุ ฉาก

๔. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกย่ี วกับ รปู เรขาคณติ สองมิติ
ความยาวรอบรูปของรูปส่เี หลี่ยม - ความยาวรอบรปู ของรูปส่เี หลย่ี ม
และพืน้ ทีข่ องรปู สี่เหล่ียมดา้ นขนาน - พ้นื ทขี่ องรูปส่เี หลยี่ มด้านขนาน
และรปู ส่ีเหล่ยี มขนมเปียกปนู
และรูปส่เี หลยี่ มขนมเปยี กปนู
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั ความยาวรอบรปู

๒๔

ชัน้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

ของรปู ส่ีเหลี่ยมและพ้นื ที่ของรูปสเ่ี หล่ยี มดา้ นขนาน

และรปู ส่ีเหลยี่ มขนมเปียกปูน

ป.๖ ปรมิ าตรและความจุ

๑. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกบั ปรมิ าตร - ปรมิ าตรของรปู เรขาคณติ สามมติ ทิ ่ปี ระกอบด้วย

ของรูปเรขาคณิตสามมติ ิทีป่ ระกอบดว้ ย ทรงสี่เหลีย่ มมุมฉาก

ทรงสเี่ หลี่ยมมมุ ฉาก - การแก้โจทยป์ ญั หาเก่ียวกบั ปริมาตรของรูปเรขาคณติ

สามมิตทิ ่ปี ระกอบด้วยทรงสี่เหลยี่ มมมุ ฉาก

รูปเรขาคณติ สองมิติ

๒. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกบั - ความยาวรอบรปู และพนื้ ทีข่ องรูปสามเหล่ียม
ป.๖ ความยาวรอบรูปและพื้นท่ขี องรปู หลายเหลี่ยม - มมุ ภายในของรูปหลายเหล่ยี ม

๓. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกยี่ วกบั - ความยาวรอบรปู และพ้นื ที่ของรปู หลายเหลย่ี ม

ความยาวรอบรูปและพน้ื ท่ีของวงกลม - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกยี่ วกบั ความยาวรอบรปู

และพน้ื ท่ขี องรปู หลายเหลีย่ ม

- ความยาวรอบรปู และพื้นท่ีของวงกลม

- การแก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกบั ความยาวรอบรปู

และพื้นทข่ี องวงกลม

มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณติ สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพนั ธ์ระหว่างรปู เรขาคณติ

และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้

ช้นั ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้

ป.๑ รูปเรขาคณิตสองมติ ิและรูปเรขาคณติ สามมิติ

๑. จำแนกรปู สามเหล่ยี ม รปู สี่เหลยี่ ม วงกลม วงรี - ลกั ษณะของทรงสเ่ี หล่ยี มมุมฉาก ทรงกลม

ทรงสี่เหลีย่ มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ทรงกระบอก กรวย

- ลกั ษณะของรปู สามเหลีย่ ม รปู สเี่ หล่ียม วงกลม และวงรี

ป.๒ รูปเรขาคณติ สองมติ ิ
๑. จำแนกและบอกลกั ษณะของรปู หลายเหลีย่ มและวงกลม - ลกั ษณะของรูปหลายเหล่ียม วงกลม และวงรี
และการเขียนรูปเรขาคณิตสองมติ โิ ดยใชแ้ บบของรูป

ป.๓ รปู เรขาคณิตสองมิติ
๑. ระบรุ ูปเรขาคณติ สองมติ ิท่ีมีแกนสมมาตรและ - รูปท่ีมแี กนสมมาตร
จำนวนแกนสมมาตร

๒๕

ชัน้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

ป.๔ รูปเรขาคณิต

๑. จำแนกชนิดของมุม บอกช่ือมุม ส่วนประกอบ - ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเสน้ ตรงและ

ของมมุ และเขียนสัญลักษณ์แสดงมมุ สัญลกั ษณแ์ สดงเสน้ ตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง

- มุม

o ส่วนประกอบของมมุ

o การเรยี กชือ่ มมุ

o สญั ลักษณ์แสดงมมุ

o ชนิดของมุม

๒. สร้างรปู ส่ีเหลย่ี มมุมฉากเม่ือกำหนดความยาวของด้าน - ชนิดและสมบัตขิ องรูปส่ีเหล่ียมมมุ ฉาก
- การสรา้ งรปู สเี่ หลยี่ มมมุ ฉาก

ป.๕ รปู เรขาคณิต

๑. สรา้ งเสน้ ตรงหรือสว่ นของเส้นตรงใหข้ นานกับเสน้ ตรง - เส้นตัง้ ฉากและสญั ลกั ษณ์แสดงการตงั้ ฉาก

หรอื ส่วนของเสน้ ตรงที่กำหนดให้ - เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน

- การสร้างเสน้ ขนาน

- มุมแยง้ มุมภายในและมมุ ภายนอกท่อี ยู่บนขา้ งเดียวกนั

ของเสน้ ตัดขวาง (Transversal)

รูปเรขาคณิตสองมติ ิ

๒. จำแนกรูปส่เี หลี่ยมโดยพจิ ารณาจากสมบัติของรูป - ชนิดและสมบัตขิ องรปู สเ่ี หลี่ยม

๓. สรา้ งรูปส่เี หล่ียมชนิดตา่ ง ๆ เมอื่ กำหนดความยาว - การสรา้ งรปู ส่ีเหล่ียม

ของดา้ นและขนาดของมุมหรือเม่ือกำหนดความยาว

ของเส้นทแยงมุม

รูปเรขาคณติ สามมิติ

๔. บอกลักษณะของปรซิ ึม - ลักษณะและสว่ นต่าง ๆ ของปริซมึ

ป.๖ รูปเรขาคณิตสองมติ ิ

๑. จำแนกรูปสามเหลย่ี มโดยพจิ ารณาจากสมบตั ิของรูป - ชนดิ และสมบตั ิของรปู สามเหล่ียม

๒. สร้างรูปสามเหล่ยี มเมื่อกำหนดความยาวของด้าน - การสร้างรปู สามเหลย่ี ม

และขนาดของมุม - ส่วนต่าง ๆ ของวงกลม

- การสร้างวงกลม

รูปเรขาคณิตสามมติ ิ

๓. บอกลกั ษณะของรูปเรขาคณิตสามมติ ิชนดิ ต่าง ๆ - ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย พีระมิด

๔. ระบุรปู เรขาคณิตสามมิตทิ ี่ประกอบจากรูปคล่ี - รปู คล่ขี องทรงกระบอก กรวย ปรซิ ึม พีระมดิ

และระบรุ ูปคลี่ของรูปเรขาคณติ สามมิติ

๒๖

สาระท่ี ๓ สถติ ิและความนา่ จะเปน็

มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ิในการแกป้ ญั หา

ชน้ั ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้

ป.๑ การนำเสนอข้อมลู

๑. ใช้ข้อมลู จากแผนภูมริ ูปภาพในการหาคำตอบ - การอา่ นแผนภูมริ ปู ภาพ

ของโจทยป์ ญั หา เม่ือกำหนดรูป ๑ รปู แทน ๑ หน่วย

ป.๒ การนำเสนอขอ้ มูล

๑. ใชข้ ้อมูลจากแผนภมู ริ ูปภาพในการหาคำตอบ - การอา่ นแผนภูมริ ปู ภาพ

ของโจทย์ปญั หาเมื่อกำหนดรปู ๑ รูปแทน ๒ หนว่ ย

๕ หนว่ ย หรอื ๑๐ หน่วย

ป.๓ การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำเสนอข้อมลู

๑. เขยี นแผนภูมริ ูปภาพ และใชข้ ้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมลู

ในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา - การอ่านและการเขยี นแผนภมู ิรูปภาพ

๒. เขยี นตารางทางเดยี วจากข้อมูลท่ีเป็นจำนวนนับ

และใชข้ ้อมูลจากตารางทางเดียวในการหาคำตอบ - การอา่ นและการเขียนตารางทางเดียว

ของโจทย์ปัญหา (One-Way Table)

ป.๔ การนำเสนอขอ้ มูล

๑. ใชข้ ้อมูลจากแผนภูมแิ ท่ง ตารางสองทาง - การอา่ นและการเขียนแผนภมู แิ ท่ง

ในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา (ไม่รวมการย่นระยะ)

- การอา่ นตารางสองทาง (Two-Way Table)

ป.๕ การนำเสนอขอ้ มลู

๑. ใชข้ ้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา - การอ่านและการเขยี นแผนภมู ิแท่ง

๒. เขยี นแผนภูมแิ ทง่ จากขอ้ มูลท่ีเป็นจำนวนนบั - การอ่านกราฟเส้น

ป.๖ การนำเสนอข้อมลู
๑. ใช้ขอ้ มูลจากแผนภูมริ ปู วงกลมในการหาคำตอบ - การอ่านแผนภูมริ ูปวงกลม
ของโจทย์ปัญหา

๒๗

คำอธิบายรายวิชา

๒๘

สว่ นที่ 4

คำอธิบายรายวชิ าและโครงสรา้ งรายวิชา

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องการนับทีละ 1 และทีละ 10 การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
ตัวเลขไทยแสดงจำนวน การแสดงจำนวนนับไม่เกิน 20 ในรูปความสัมพันธ์ของจำนวนแบบส่วนย่อย
สว่ นรวม (Part – Whole Relationship) การบอกอนั ดับท่ี หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียน

ตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจำนวนและการใชเ้ คร่ืองหมาย =  > < การเรยี งลำดับ
จำนวน ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ และความสมั พันธ์ของ
การบวกและการลบ การแก้โจทย์ปญั หาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ และการสร้างโจทยป์ ัญหา พร้อมทั้งหา
คำตอบ แบบรูปของจำนวนท่ีเพิ่มขึน้ หรอื ลดลงทีละ 1 และทลี ะ 10 แบบรปู ซ้ำของจำนวน รปู เรขาคณิตและ
รปู อนื่ ๆ การวดั ความยาวโดยใชห้ น่วยท่ีไม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน การวดั ความยาวเปน็ เซนติเมตร เป็นเมตร การ
เปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับความยาวที่มี
หน่วยเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การวัดน้ำหนักโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดน้ำหนักเป็น
กิโลกรัม เป็นขีด การเปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับ
น้ำหนักท่มี ีหน่วยเป็นกโิ ลกรัม เปน็ ขดี ลักษณะของทรงสี่เหล่ียมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ลกั ษณะ
ของรปู สามเหลยี่ ม รปู สีเ่ หลีย่ ม วงกลม และวงรี การอ่านแผนภูมิรูปภาพและได้มกี ารบรู ณาการอาเซียนศึกษา
ได้ศึกษาวิวัฒนาการของการผนึกกำลังรวมกลุ่มกันเป็นอาเซียน กลไกการทำงานของอาเซียน การเมืองการ
ปกครอง ที่หลากหลายในอาเซียน อัตลักษณ์ประจำชาติของอาเซียน การเผยแผ่ศาสนาในอาเซียน การสร้าง
สัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน การส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศในอาเซียน การพัฒนาสังคมตาม
แบบอยา่ งของคนเก่งอาเซียน และการจดั ต้งั ประชาคมอาเซียน โดยเน้นการจัดตงั้ ประชาคมการเมืองและความ
มั่นคงอาเซียน รวมทั้งความท้าทายกับการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้นัก
เรียนรู้และเข้าใจประวัติความเปน็ มาความหมายหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการการรีไซเคิล
เพื่อเป็นการนำเศษวัสดุของเหลือกินเหลือใช้มาแปรรูปใหม่เพื่อนำกลับมาใช้งานอีกครั้ง เป็นการจัดการวัสดุ
เหลอื ใช้ทีก่ ำลงั จะเป็นขยะ โดยนำไปผา่ นกระบวนการแปรสภาพ และนำกลับมาใช้ใหม่ และบูรณาการเร่ืองยา
เสพติดในสถานศึกษาเพื่อให้นักเรียนได้รู้โทษของยาเสพติดและเพื่อป้องกันนักเรียนไม่ให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยา
เสพติด บหุ รแี่ ละแอลกอฮอล์

โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การเชื่อมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ การสื่อสาร
และการสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงาน
อย่างมีระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง
รวมทงั้ มีเจตคติที่ดตี ่อคณติ ศาสตร์

๒๙

รหัสตวั ช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวม ๑๐ ตัวชี้วัด

๓๐

ค๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง

ศึกษาความรู้เกีย่ วกับเร่ืองการนับทีละ 2 ทลี ะ 5 ทลี ะ 10 และทลี ะ 100 การอ่านและการเขียน
ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน จำนวนคู่ จำนวนคี่ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละ
หลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวน การบวกและ
การลบ ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร การหาผลคูณ การหาผลหารและเศษ และ
ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์
ปัญหา พร้อมทั้งหาคำตอบ แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึน้ หรือลดลงทลี ะ 2 ทีละ 5 และทีละ 100 แบบรปู
ซ้ำ การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที (ช่วง 5 นาที) การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที การ
เปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชั่วโมงเป็นนาที การอ่านปฏิทิน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การวัดความ
ยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตร การเปรียบเทยี บความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์
ระหว่างเมตรกบั เซนตเิ มตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวทีม่ ีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร การวัด
น้ำหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัม การเปรียบเทียบน้ำหนัก
โดยใช้ความสัมพันธร์ ะหว่างกโิ ลกรัมกบั กรัม กิโลกรัมกบั ขีด การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกับน้ำหนักท่ีมีหน่วยเป็น
กิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การวัดปริมาตรและความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัด
ปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา
ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วย
ตวง ลิตร ลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี และการเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้แบบของรูป
การอ่านแผนภูมริ ปู ภาพ และไดม้ ีการบูรณาการอาเซยี นศึกษาได้ศึกษาวิวัฒนาการของการผนึกกำลังรวมกลุ่ม
กันเป็นอาเซียน กลไกการทำงานของอาเซียน การเมืองการปกครอง ที่หลากหลายในอาเซียน อัตลักษณ์
ประจำชาตขิ องอาเซียน การเผยแผศ่ าสนาในอาเซียน การสร้างสมั พันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน การส่งเสริม
ความเท่าเทียมกันทางเพศในอาเซียน การพัฒนาสังคมตามแบบอย่างของคนเก่งอาเซียน และการจัดต้ัง
ประชาคมอาเซียน โดยเน้นการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน รวมทั้งความท้าทายกับการ
ก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้นักเรียนรู้และเข้าใจประวัติความเป็นมา
ความหมายหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการการรีไซเคิลเพื่อเป็นการนำเศษวัสดุของเหลือกิน
เหลือใช้มาแปรรูปใหม่เพื่อนำกลับมาใช้งานอีกครั้ง เป็นการจัดการวัสดุเหลือใช้ที่กำลังจะเป็นขยะ โดยนำไป
ผ่านกระบวนการแปรสภาพ และนำกลบั มาใช้ใหม่ และบรู ณาการเร่ืองยาเสพตดิ ในสถานศึกษาเพ่ือให้นักเรียน
ได้รูโ้ ทษของยาเสพตดิ และเพอื่ ป้องกันนักเรยี นไม่ให้เขา้ ไปยุ่งเก่ยี วกบั ยาเสพติด บุหรแี่ ละแอลกอฮอล์

โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนำเสนอ

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงาน
อย่างมีระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง
รวมทงั้ มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ่ คณติ ศาสตร์

๓๑

รหสั ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.2/๑ ป.2/๒ ป.2/๓ ป.2/๔ ป.2/๕ ป.2/6 ป.2/7 ป.2/8
ค ๒.๑ ป.2/๑ ป.2/๒ ป.2/๓ ป.2/๔ ป.2/๕ ป.2/6

ค ๒.๒ ป.2/๑

ค ๓.๑ ป.2/๑
รวม ๑6 ตัวช้ีวัด

๓๒

ค13101 คณิตศาสตร์3 คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับ การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวน
หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและ
เรยี งลำดับจำนวน การบวก การลบ การคณู การหารยาวและการหารสัน้ การบวก ลบ คณู หารระคน การแก้
โจทย์ปญั หาและการสร้างโจทย์ปัญหา พร้อมท้ังหาคำตอบ ของจำนวนนบั ไม่เกนิ 100,000 และ 0 เศษส่วน
ที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน การเปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วน การบวก และการลบเศษส่วน
การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวกและโจทยป์ ัญหา การลบเศษส่วน แบบรูปของจำนวนทเ่ี พ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละเท่า ๆ
กนั การบอกจำนวนเงนิ และเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใชจ้ ดุ การเปรยี บเทียบจำนวนเงนิ และการแลกเงิน การ
อ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การ
เขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) และการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การ
เปรียบเทียบระยะเวลาโดยใชค้ วามสัมพนั ธ์ระหว่างช่ัวโมงกับนาที การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมท่รี ะบุ
เวลา การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและ
เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือกเครื่องวัดความยาวที่เหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ
เป็นเซนติเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว การแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับความยาว การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด การ
เปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม การแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับน้ำหนัก การวัดปรมิ าตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร การเลอื กเครื่องตวงทีเ่ หมาะสม การคาดคะเน
ปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตรช้อน
ชา ช้อนโต๊ะถ้วยตวงกับมิลลลิ ิตร การแก้โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับปรมิ าตรและความจทุ ีม่ ีหน่วยเป็นลติ รและมลิ ลลิ ิตร
รูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตร การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมูล การอ่านและการเขียนแผนภูมิ
รูปภาพ การอ่านและการเขียนตารางทางเดียว(One-Way Table) และได้มีการบูรณาการอาเซียนศึกษาได้
ศึกษาวิวัฒนาการของการผนึกกำลังรวมกลุ่มกันเป็นอาเซียน กลไกการทำงานของอาเซียน การเมืองการ
ปกครอง ทห่ี ลากหลายในอาเซยี น อัตลักษณป์ ระจำชาติของอาเซียน การเผยแผ่ศาสนาในอาเซียน การสร้าง
สัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน การส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศในอาเซียน การพัฒนาสังคมตาม
แบบอยา่ งของคนเก่งอาเซยี น และการจัดต้งั ประชาคมอาเซยี น โดยเน้นการจดั ตง้ั ประชาคมการเมืองและความ
มั่นคงอาเซียน รวมทั้งความท้าทายกับการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซยี น บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้นัก
เรียนรู้และเข้าใจประวตั ิความเปน็ มาความหมายหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการการรีไซเคลิ
เพื่อเป็นการนำเศษวัสดุของเหลือกินเหลือใช้มาแปรรูปใหม่เพื่อนำกลับมาใช้งานอีกครั้ง เป็นการจัดการวัสดุ
เหลอื ใช้ท่กี ำลังจะเปน็ ขยะ โดยนำไปผา่ นกระบวนการแปรสภาพ และนำกลับมาใช้ใหม่ และบูรณาการเรื่องยา
เสพติดในสถานศึกษาเพื่อให้นักเรียนได้รู้โทษของยาเสพติดและเพื่อป้องกันนักเรียนไม่ให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยา
เสพติด บุหรแ่ี ละแอลกอฮอล์

โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง

คณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การเชื่อมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ การสื่อสาร

และการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์

เพื่อให้เกดิ ความร้คู วามเข้าใจ ความคดิ รวบยอด ใฝร่ ูใ้ ฝ่เรยี น มรี ะเบียบวินยั มุง่ ม่ันในการทำงานอย่างมี

ระบบ ประหยัด ซือ่ สตั ย์ มวี ิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชวี ิตได้อย่างพอเพียง รวมท้ัง

มเี จตคติทด่ี ีตอ่ คณิตศาสตร์

๓๓

รหัสตวั ช้วี ดั
ค 1.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/10 ป.3/11
ค 1.2 ป.3/1
ค 2.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/10 ป.3/11

ป.3/12 ป.3/13
ค 2.2 ป.3/1
ค 3.1 ป.3/1 ป.3/2
รวม 28 ตัวชี้วัด

๓๔

ค๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์๔ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

ศึกษา ฝึกทักษะ การอ่านและการเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวน
นับที่มากกว่า 100,000 หลัก ค่าประจำหลกั และค่าของเลขโดดในแต่ละหลักการใช้ 0 เพื่อยึดตำแหน่งของ
หลัก การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับมากกว่า
100,000 การประมาณค่าของจำนวนนับ โดยใช้เครื่องหมาย ≈ การบวก การลบ การคูณ หารจำนวนนับ
บอก อ่าน และเขียนเศษส่วน จำนวนคละ แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน จำนวน
คละที่กำหนด เปรียบเทียบ เรียงลำดับเศษส่วน และจำนวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่ง เป็นพหุคูณของอีกตัวหนึ่ง
อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ และแสดง สิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมที่
กำหนด เปรียบเทียบและเรียงลำดับทศนิยม ไม่เกิน ๓ ตำแหน่งจำกสถานการณ์ต่าง ๆ ประมาณผลลัพธ์ของ
การบวก การลบ การคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน
ประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์ แสดงการลบของจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการคูณของจำนวนหลายหลัก ๒ จำนวน ที่มีผล
คูณไม่เกิน ๖ หลักและ ประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้ง ไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก หา
ผลลพั ธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจำนวนนบั และ ๐ แสดงวธิ ีหำคำตอบของโจทย์ปญหา ๒ ขั้นตอนของ
จำนวนนับที่มากกว่า๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปญหา ๒ ขั้นตอน ของจำนวนนับและ ๐ พร้อมทั้งหา
คำตอบ หาผลบวก ผลลบของเศษสว่ นและ จำนวนคละที่ตัวสว่ นตัวหนึ่งเปน็ พหุคูณ ของอกี ตวั หนึ่ง แสดงวธิ ีหา
คำตอบของโจทย์ปญหา การบวกและโจทยป์ ญหาการลบเศษสว่ น และจำนวนคละท่ีตัวสว่ นตัวหนงึ่ เปน็ พหุคูณ
ของอีกตัวหนึ่ง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหำคำตอบของโจทย์ปญหา การบวก
การลบ ๒ ขั้นตอน ของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญหา เกี่ยวกับเวลา วัดและ
สร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูป
สี่เหลี่ยมมุมฉาก จำแนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม ส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูป
สี่เหลี่ยมมุมฉากเมื่อกำหนดความยาวของด้าน และใช้ข้อมูลจากแผนภมู ิแท่ง ตารางสองทาง ในการหาคำตอบ
ของโจทยป์ ญั หา

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการ

ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้

เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ

และกระบวนการท่ีไดไ้ ปใชใ้ นการเรยี นรู้สิ่งตา่ ง ๆ และใช้ในชีวติ ประจำวนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ เหน็ คุณคา่ และมีเจต

คติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มี

วจิ ารณญาณ

มุ่งเน้นให้นักเรียนยึดมั่นจริยธรรมคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวมไม่เห็น

ประโยชน์ส่วนตัวจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อประโยชน์ของผู้อื่น นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษ

และพิษภัยของยาเสพติด รู้จักแก้ไขปัญหาชีวิตของตนเองด้วยเหตุและผล รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง

พรอ้ มกับรู้จักวิธีการปองกนั และจัดการกับปญหาตาง ๆ เชน การเลอื กปฏิบัติและความรุนแรง อันเปนสภาพท่ี

พบไดจริงในชีวติ ทางเพศ การเท่าเทยี มทางสทิ ธเิ สรภี าพทุกคนมสี ทิ ธิตัดสนิ ใจเลือกได้ตนเองโดยเคารพในความ

หลากหลาย ตลอดจนสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกับนักเรียนโดยนำวัสดุเหลือใช้นำกลับมาใช้ใหม่

ดัดแปลงเป็นชิน้ งานของตนเอง นักเรียนรู้จักอดออม ประหยัด รู้จักพอประมาณ รู้จักการวางแผนเป็นขั้นตอน

๓๕

สามารถแก้ปัญหาอย่างรอบคอบและมีเหตุผล นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอาเซียนข้อมูล
เบ้อื งต้นที่สามารถนำมาต่อยอดในการเรยี นรู้ เชน่ พื้นที่ จำนวน ประชากร เมอื ง เป็นต้น

รหัสตัวช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘ ป.๔/๙ ป.๔/๑๐ ป.๔/๑๑

ป.๔/๑๒ ป.๔/๑๓ ป.๔/๑๔ ป.๔/๑๕ ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวม ๒๒ ตัวชี้วดั

๓๖

ค15101 คณิตศาสตร๕์ คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เวลา 160 ช่ัวโมง

ศึกษาฝึกทักษะการเขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนนี้เป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ใน
รูปทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและ
จำนวนคละ หาผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขั้นตอน หาผลคูณของทศนิยมที่ผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง หา
ผลหารท่ตี วั ต้งั เป็นจำนวนนับหรือทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตำแหน่ง และตวั หารเปน็ จำนวนนับผลหารเป็นทศนิยมไม่
เกนิ ๓ ตำแหน่ง แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบ การคูณ ก า ร ห า ร ท ศ น ิ ย ม ๒
ขั้นตอน แสดงวิธีหำคำตอบของโจทย์ปญหาร้อยละไม่เกิน ๒ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญหา
เกี่ยวกับความยาวที่มีการเปลี่ยนหน่วย และเขียนในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ป ญหา เกี่ยวกับ
น้ำหนักทมี่ ีการเปล่ยี นหน่วย และเขยี นในรูปทศนิยม แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญหา เก่ยี วกับปริมาตรของ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญหาเกี่ยวกับ
ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยม ขนมเปียกปูน สร้าง
เส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรง ให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรง ที่กำหนดให้ จำแนกรูปสี่เหลี่ยมโดย
พิจารณาจากสมบัติ ของรูป สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ เมื่อกำหนด ความยาวของด้านและขนาดของมุม
หรือเมื่อกำหนดความยาวของเส้นทแยงมุม บอกลักษณะของปริซึม ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคำตอบ
ของโจทย์ปญหา เขียนแผนภมู ิแท่งจากขอ้ มลู ท่เี ป็นจำนวนนบั

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการ
ปฏิบตั ิจรงิ ทดลอง สรุป เพ่อื พัฒนาทักษะและกระบวนการในการคดิ คำนวณ การแก้ปญั หา การให้เหตุผล การ
เชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและ
กระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิง่ ตา่ ง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ เห็นคุณค่าและมีเจตคติ
ที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อยา่ งเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ
มคี วามคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรคแ์ ละมีความเชอื่ มัน่ ในตนเอง

มุ่งเน้นให้นักเรยี นยึดมั่นจริยธรรมคณุ ธรรม ความซื่อสัตย์สจุ ริต มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวมไม่เห็น
ประโยชน์ส่วนตัวจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อประโยชน์ของผู้อื่น นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของยาเสพติด รูจ้ ักแก้ไขปัญหาชีวิตของตนเองดว้ ยเหตแุ ละผล รู้จักบทบาทหนา้ ท่ี
ของตนเอง พร้อมกับรู้จักวิธีการปองกันและจัดการกับปญหาตาง ๆ เชน การเลือกปฏิบัติและความรุนแรง
อนั เปนสภาพทพี่ บไดจรงิ ในชีวติ ทางเพศ การเทา่ เทยี มทางสิทธิเสรีภาพทุกคนมสี ิทธติ ัดสินใจเลอื กไดต้ นเองโดย
เคารพในความหลากหลาย ตลอดจนสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกับนักเรียนโดยนำวัสดุเหลือใช้นำ
กลับมาใช้ใหม่ ดัดแปลงเป็นชิ้นงานของตนเอง นักเรียนรู้จักอดออม ประหยัด รู้จักพอประมาณ รู้จักการ
วางแผนเป็นขั้นตอน สามารถแก้ปัญหาอย่างรอบคอบและมีเหตุผล นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับ
ประเทศอาเซียนข้อมูลเบื้องต้นที่สามารถนำมาต่อยอดในการเรียนรู้ เช่น พื้นที่ จำนวน ประชากร เมือง เป็น
ตน้

๓๗

รหัสตวั ชีว้ ดั

ค 1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7 ป.5/8 ป.5/9

ค 2.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4
ค 2.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4

ค 3.1 ป.5/1 ป.5/2
รวม 19 ตัวช้ีวัด

๓๘

ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

ศึกษาฝึกทักษะการเปรียบเทียบ เรียงลำดับเศษส่วนและ จำนวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียน
อัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบ ปริมาณ ๒ ปริมาณ จากข้อความหรือ สถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละ
ปริมาณเป็นจำนวนนับ หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน ที่กำหนดให้ หา ห.ร.ม. ของจำนวนนับไม่เกิน ๓
จำนวน หา ค.ร.น. ของจำนวนนบั ไมเ่ กิน ๓ จำนวน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญหา โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ
ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหา
คำตอบของโจทย์ปญหา เศษส่วนและจำนวนคละ ๒ - ๓ ขั้นตอน หาผลหารของทศนิยมที่ตัวหารและ ผลหาร
เปน็ ทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตำแหน่ง แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญหา การบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม
๓ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญหา อัตราส่วน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญหา ร้อยละ ๒ - ๓
ขั้นตอน แสดงวิธีคิดและหคำตอบของปญหา เกี่ยวกับแบบรูป แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญหาเกี่ยวกับ
ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ป ญหา
เกี่ยวกบั ความยาวรอบรปู และพืน้ ที่ของรปู หลายเหลี่ยม แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ญหาเกี่ยวกับความยาว
รอบรูปและพื้นที่ของวงกลม จำแนกรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปส ามเหลี่ยมเม่ือ
กำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูป
เรขาคณติ สามมิตทิ ่ปี ระกอบจากรปู คลี่ และระบรุ ูปคล่ขี องรปู เรขาคณติ สามมติ ิ ใชข้ อ้ มูลจากแผนภมู ริ ปู วงกลม
ในการ หาคำตอบของโจทย์ปญหา

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการ
ปฏบิ ัติจริง ทดลอง สรุป เพอื่ พฒั นาทักษะและกระบวนการในการคดิ คำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตผุ ล การ
เชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและ
กระบวนการทีไ่ ด้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอยา่ งสรา้ งสรรค์ เห็นคุณค่าและมเี จตคติ
ที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อยา่ งเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ
มีความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์และมคี วามเชอื่ มัน่ ในตนเอง

มุ่งเน้นให้นักเรยี นยึดมั่นจริยธรรมคณุ ธรรม ความซื่อสัตย์สจุ ริต มีความรับผดิ ชอบต่อส่วนรวมไม่เห็น
ประโยชน์ส่วนตัวจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อประโยชน์ของผู้อื่น นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ
เก่ียวกับโทษและพิษภัยของยาเสพติด รจู้ กั แก้ไขปัญหาชวี ติ ของตนเองดว้ ยเหตุและผล รจู้ กั บทบาทหนา้ ที่
ของตนเอง พร้อมกับรู้จักวิธีการปองกันและจัดการกับปญหาตาง ๆ เชน การเลือกปฏิบัติและความรุนแรง
อนั เปนสภาพที่พบไดจริงในชีวติ ทางเพศ การเท่าเทยี มทางสิทธเิ สรภี าพทุกคนมีสิทธติ ัดสินใจเลือกได้ตนเองโดย
เคารพในความหลากหลาย ตลอดจนสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกับนักเรียนโดยนำวัสดุเหลือใช้นำ
กลับมาใช้ใหม่ ดัดแปลงเป็นชิ้นงานของตนเอง นักเรียนรู้จักอดออม ประหยัด รู้จักพอประมาณ รู้จักการ
วางแผนเป็นขั้นตอน สามารถแก้ปัญหาอย่างรอบคอบและมีเหตุผล นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับ
ประเทศอาเซียนข้อมูลเบื้องต้นที่สามารถนำมาต่อยอดในการเรียนรู้ เช่น พื้นที่ จำนวน ประชากร เมือง เป็น
ตน้

๓๙

รหัสตัวชีว้ ัด
ค ๑.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ป.6/9 ป.6/10 ป.6/11

ป.6/12
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓
รวม 16 ตวั ช้ีวัด

๔๐

โครงสร้างรายวิชา

ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์๑ ๔๑
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑
โครงสรา้ งรายวิชาพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั /สาระการเรยี นรู้ เวลา คะแนน
การเรยี นรู้ เรียนร้/ู ตวั ช้วี ัด
(ชั่วโมง)
๑ จำนวนนบั ๑ ถึง ค๑.๑ ป ๑/๑
๑๐ ป ๑/๒ สาระสำคญั ๑๕ ๕
และ ๐ ป ๑/๓
จำนวนนับ ๑ ถีง ๑๐ และ

ศูนย์ใช้บอกจำนวนของสิ่งต่างๆ

ตัวเลขฮนิ ดูอารบิกและตวั เลขไทย

เป็นสญั ลกั ษณ์ที่แสดงจำนวน

สาระการเรียนรู้

- การนับทลี ะ ๑ และทลี ะ ๑๐

- การอ่านและการเขียนตัวเลข

ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยแสดง

จำนวน

- การแสดงจำนวนนับไม่เกิน๒๐

ในรูปความสัมพันธ์ของจำนวน

แบบส่วนยอ่ ย-สว่ นรวม

-การบอกอันดบั ที่

-หลัก ค่าของเลขโดดแต่ละหลัก

และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวน

ในรปู กระจาย

-การเปรียบเทียบจำนวนและการ

ใช้เครือ่ งหมาย =

-การเรียงลำดับจำนวน

๒ การบวกจำนวน ค๑.๑ ป ๑/๔ สาระสำคญั ๑๓ ๕
การบวกเป็นการนำจำนวน
สองจำนวนทม่ี ี ป ๑/๕
ตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไปมารวมกัน
ผลบวกไมเ่ กนิ ๙ ก า ร ห า ผ ล บ ว ก ม ี ว ิ ธ ี ก า ร ที่
หลากหลาย
สาระการเรียนรู้
- ความหมายของการบวก
ความหมายของการลบ การหา
ผลบวก การหาผลลบ และ
ความสัมพันธ์ของการบวกและ
การลบ

๔๒

หนว่ ยท่ี ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ/สาระการเรยี นรู้ เวลา คะแนน
การเรยี นรู้ เรียนร้/ู ตวั ช้วี ดั (ชัว่ โมง) ๕
- การแก้โจทย์ปัญหาการบวก
๓ การลบจำนวนสอง ค๑.๑ ป ๑/๔ โจทยป์ ญั หาการลบ และการสร้าง ๑๕ ๕
โจทย์ปญั หา พรอ้ มทัง้ หาคำตอบ
ทมี่ ีตัวตง้ั ไมเ่ กนิ ๙ ป ๑/๕ สาระสำคัญ ๑๒

๔ จำนวนนับ ๑๑-๒๐ ค๑.๑ ป ๑/๑ การลบเป็นการนำจำนวน
ป ๑/๒ หนึ่งออกจากอีกจำนวนหนึ่ง แล้ว
ป ๑/๓ หาจำนวนที่เหลือ การหาผลลบมี
วธิ ีการที่หลากหลาย
สาระการเรยี นรู้
- ความหมายของการบวก
ความหมายของการลบ การหา
ผลบวก การหาผลลบ และ
ความสัมพันธ์ของการบวกและ
การลบ
- การแก้โจทย์ปัญหาการบวก
โจทย์ปญั หาการลบ และการสร้าง
โจทยป์ ญั หา พร้อมท้งั หาคำตอบ
สาระสำคัญ

จำนวนนับ ๑๑ ถึง ๒๐ เป็น
จำนวนนับที่เพิ่มขึ้นทีละ ๑
ตามลำดับในการเขียนตัวเลข
แสดงจำนวนใดๆ ใช้สัญลักษณ์๐-
๙ เรียกสญั ลักษณน์ ้ีว่าเลขโดด
สาระการเรยี นรู้
- การนับทีละ ๑๑ ถงึ ๒๐
- การอ่านและการเขียนตัวเลข
ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยแสดง
จำนวน
- การแสดงจำนวนนับไม่เกิน๒๐
ในรูปความสัมพันธ์ของจำนวน
แบบส่วนย่อย-สว่ นรวม
-การบอกอนั ดบั ท่ี
-หลกั ค่าของเลขโดดแตล่ ะหลัก
และการเขียนตวั เลขแสดง
-หลัก ค่าของเลขโดดแต่ละหลัก
และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวน
ในรปู กระจาย

๔๓

หน่วยที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั /สาระการเรยี นรู้ เวลา คะแนน
การเรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตัวช้ีวดั (ชว่ั โมง) ๑๐
-การเปรียบเทียบจำนวนและการ
๕ การบวกจำนวนทม่ี ี ค๑.๑ ป ๑/๔ ๑๕ ๕
ใช้เครอื่ งหมาย =
ผลบวกไมเ่ กนิ ๒๐ ป ๑/๕ -การเรยี งลำดับจำนวน ๑๕
สาระสำคญั
๖ การลบจำนวนท่มี ี ค๑.๑ ป ๑/๔
ก า ร ห า ผ ล บ ว ก ม ี ว ิ ธ ี ก า ร ที่
ตัวต้งั ไม่เกนิ ๒๐ ป ๑/๕ หลากหลายใช้ทกั ษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ในการหาคำตอบ
และตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของคำตอบ
สาระการเรยี นรู้
- ความหมายของการบวก
ความหมายของการลบ การหา
ผลบวก การหาผลลบ และ
ความสัมพันธ์ของการบวกและ
การลบ
- การแก้โจทย์ปัญหาการบวก
โจทย์ปญั หาการลบ และการสร้าง
โจทย์ปญั หา พร้อมท้งั หาคำตอบ
สาระสำคญั

ก า ร ห า ผ ล บ ว ก ม ี ว ิ ธ ี ก า ร ที่
หลากหลายใช้ทกั ษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ในการหาคำตอบ
และตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของคำตอบ
สาระการเรียนรู้
- ความหมายของการบวก
ความหมายของการลบ การหา
ผลบวก การหาผลลบ และ
ความสัมพันธ์ของการบวกและ
การลบ
- การแก้โจทย์ปัญหาการบวก
โจทย์ปญั หาการลบ และการสร้าง
โจทยป์ ญั หา พรอ้ มท้งั หาคำตอบ

๔๔

หนว่ ยท่ี ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ/สาระการเรียนรู้ เวลา คะแนน
การเรียนรู้ เรยี นรู้/ตัวช้วี ัด
ค๒.๒ ป ๑/๑ (ชั่วโมง)
๗ รูปเรขาคณิต
ค๑.๒ ป ๑/๑ สาระสำคัญ ๕๕
๘ แบบรปู
รูปสามเหลี่ยมสี่เหลี่ยม

วงกลมและวงรีเป็นรูปเรขาคณิต

สองมิติ ส่วนทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ทรงกลม ทรงกระบอกและกรวย

เปน็ รปู เรขาคณติ สามมิติ

สาระการเรียนรู้

-ลักษณะของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ทรงกลม ทรงกระบอก

-ลักษณะของรูปสามเหลี่ยม รูป

สี่เหลี่ยม วงกลม และวงรี

สาระสำคญั ๖๕

แบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง

สัมพันธ์กัน แบบรูปของรูปที่มีสี

สัมพันธ์กัน แบบรูปของรูปที่มี

ขนาดสมั พนั ธก์ นั สามารถบอกรูป

ตอ่ ไปหรอื รูปทีห่ ายไปได้

สาระการเรียนรู้

- แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มข้ึน

หรอื ลดลงทลี ะ ๑ และทลี ะ ๑๐

- แบบรูปซ้ำของจำนวน รูป

เรขาคณิตและรูปอนื่ ๆ

๙ การวัดความยาว ค๒.๑ ป ๑/๑ สาระสำคัญ ๙ ๑๐
การวัดความยาวของสิ่งใดๆ

เป็นการวัดระยะทางจากปลาย
ข้างหนึ่งไปยงั ปลายอีกข้างหน่งึ
สาระการเรียนรู้
- การวัดความยาวโดยใช้หน่วยท่ี
ไมใ่ ช้หนว่ ยมาตรฐาน
- การวดั ความยาวเป็นเซนตเิ มตร
เปน็ เมตร
-การเปรียบเทียบความยาวเป็น
เซนติเมตร เปน็ เมตร
-การแก้โจทยป์ ัญหาการบวก การ
ลบเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วย
เป็นเซนติเมตร เป็นเมตร

๔๕

หนว่ ยท่ี ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ/สาระการเรียนรู้ เวลา คะแนน
การเรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด (ชัว่ โมง) ๑๐
สาระสำคญั
๑๐ การวดั นำ้ หนัก ค๒.๑ ป ๑/๒ ก า ร ว ั ด น ้ ำ ห น ั ก เ ป ็ น ก า ร ช่ั ง ๙

น้ำหนักของสิ่งต่างๆ กิโลกรัม ขีด
เป็นหน่วยมาตรฐานที่ใช้บอก
นำ้ หนัก
สาระการเรยี นรู้
-การวัดน้ำหนักโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่
หนว่ ยมาตรฐาน
-การวดั นำ้ หนกั เปน็ กิโลกรัม เป็นขีด
- ก า ร เ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ น ้ ำ ห น ั ก เ ป็ น
กิโลกรมั เป็นขีด
-การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็น
กิโลกรมั เปน็ ขีด

๑๑ จำนวนนบั ๒๑ ถึง ค๑.๑ ป ๑/๑ สาระสำคัญ ๑๕ ๑๐
๑๐๐ ป ๑/๒ จำนวนนับ ๒๑ ถึง ๑๐๐ การ
ป ๑/๓
เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูป
กระจาย เป็นการเขียนในรูปการ
บวกค่าของเลขโดด เมื่อนำจำนวน
สองจำนวนมาเปรียบเทียบกันจะมี
ค่าเท่ากัน มากกว่า หรือน้อยกว่า
อย่างใดอยา่ งหน่ึงเท่าน้นั
สาระการเรียนรู้
- การนับทีละ ๑ และทลี ะ ๑๐
- การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดู
อารบกิ ตวั เลขไทยแสดงจำนวน
- การแสดงจำนวนนับไม่เกิน๑๐๐
ในรูปความสัมพันธ์ของจำนวนแบบ
ส่วนยอ่ ย-สว่ นรวม
-การบอกอันดับที่
-หลัก ค่าของเลขโดดแต่ละหลัก
และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวน
ในรูปกระจาย
-การเปรียบเทียบจำนวนและการใช้

เครือ่ งหมาย =
-การเรยี งลำดบั จำนวน

๔๖

หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ/สาระการเรยี นรู้ เวลา คะแนน
การเรียนรู้ เรยี นรู/้ ตวั ชว้ี ัด (ช่ัวโมง) ๑๐
สาระสำคญั
๑๒ การบวกจำนวนท่มี ี ค๑.๑ ป ๑/๔ การหาผลบว กมีวิธีการท่ี ๑๓
ผลบวกไม่เกนิ ๑๐๐ ป ๑/๕
หลากหลายและใช้ทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการ
หาคำตอบและตรวจสอบความ
สมเหตสุ มผลของคำตอบ
สาระการเรียนรู้
- ความหมายของการบวก
ความหมายของการลบ การหา
ผลบวก การหาผลลบ และ
ความสัมพันธ์ของการบวกและการ
ลบ
- การแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์
ปัญหาการลบ และการสร้างโจทย์
ปญั หา พรอ้ มทง้ั หาคำตอบ

๑๓ การลบจำนวนท่ีมีตวั ค๑.๑ ป ๑/๔ สาระสำคัญ ๑๓ ๑๐

ต้ังไม่เกิน ๑๐๐ ป ๑/๕ ก า ร ห า ผ ล ล บ ม ี ว ิ ธ ี ก า ร ท่ี

หลากหลายและใช้ทักษะ

กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในการ

หาคำตอบและตรวจสอบความ

สมเหตุสมผลของคำตอบ

สาระการเรียนรู้

- ความหมายของการบวก

ความหมายของการลบ การหา

ผลบวก การหาผลลบ และ

ความสัมพันธ์ของการบวกและการ

ลบ

- การแก้โจทยป์ ัญหาการบวก โจทย์

ปัญหาการลบ และการสร้างโจทย์

ปญั หา พร้อมท้งั หาคำตอบ


Click to View FlipBook Version