รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร [ปกนอก] รายงานประจำป 2566 สำนักงานสหกรณจังหวัด.......... /สำน ั กงานสงเสรมิสหกรณ กร ุ งเทพมหานคร………. กรมสง เสร ิ มสหกรณ
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ดาวนโหลดเลมรายงานประจำป 2566 ไดจาก QR CORD น ี้
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร สารบญ ั สารผูบรหิารหนวยงาน ก ทำเนียบบุคลากร ข บทสรปุผบูริหาร ฎ สวนท ี่1 ขอมลูภาพรวมของหนวยงาน 1 1.1 วิสัยทัศน พันธกิจ และอำนาจหนาที่ 2 1.2 โครงสรางและกรอบอัตรากำลังของหนวยงาน 3 1.3 แผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 4 1.4 ขอมูลสารสนเทศสหกรณ กลุมเกษตรกร และกลุมอาชีพในสังกัดสหกรณ 6 สวนท ี่2 ผลการปฏบิตัริาชการ 13 2.1 ผลการปฏิบัติงานและผลการใชจายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 14 2.2 ผลการดำเนินงาน/โครงการนอกแผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 70 2.3 ผลการดำเนินงาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ และการบูรณาการในระดับพื้นที่ 80 สวนท ี่3 กจิกรรมประชาสัมพันธ 93 3.1 กิจกรรมของหนวยงาน 94 3.2 กิจกรรมที่หนวยงานดำเนินการรวมกับสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ 100 3.3 กิจกรรมที่หนวยงานดำเนินการรวมกับหนวยงานภาคสวนตาง ๆ ในพื้นที่ 101 สวนท ี่4 รายงานทางการเงิน 103 4.1 งบแสดงฐานะการเงิน 104 4.2 งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน 105 4.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 106 สวนท ี่5 ภาคผนวกและ/หรอืบรรณานุกรม 110
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร สารจากสหกรณจังหวัดตรัง สหกรณไทยไดรับการยอมรับวาเปนกลไกสำคัญในการพัฒนาประเทศ เปนกลไกสำคัญในการ สรางความเขมแข็งในกลุมเศรษฐกิจและสังคม ทั้งในชนบทและ ในเมืองของประเทศไทย ตลอดจนเปนองคกร ที่สามารถสรางการมีสวนรวม สงเสริมใหเกิดความรวมมือกันของประชาชน สามารถแกไขปญหาทางดาน เศรษฐกิจ และสังคมของบรรดาสมาชิกโดยการชวยเหลือตนเองและชวยเหลือซึ่งกันและกัน การอดออม การประหยัด ซึ่งจะสอดคลองกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การที่จะทำใหองคกรเหลานี้มีความเขมแข็งเปน องคกรที่มีการนำหลักการ วิธีการ และอุดมการณและการบริหารจัดการในรูปแบบสหกรณจริงนั้น สำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรังเปนหนวยงานที่เกิดขึ้นในสวนภูมิภาค สังกัดกรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณมีภารกิจหนาที่ในการขับเคลื่อนใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล นโยบายของ กระทรวงเกษตรและสหกรณสอดคลองกับภารกิจของกรมสงเสริมสหกรณ รวมทั้งสอดคลองกับนโยบาย ของจังหวัดตรัง โดยมีภารกิจในการกำกับดูแลแนะนำสงเสริมสหกรณ และกลุมเกษตรกรใหมีความเขมแข็งตาม ศักยภาพ มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร สามารถยกระดับการใหบริการแกสมาชิก และมี ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจที่จะสามารถตอบสนองตอความตองการของสมาชิก สงเสริมใหองคกรนำหลัก ธรรมาภิบาลมาใชในการบริหารจัดการ รวมทั้งการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในระดับ สมาชิกและระดับองคกร ในปงบประมาณพ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง กำหนดแผนในการแนะนำสงเสริม สหกรณและกลุมเกษตรกรภายใตแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจายประจำป โดยมีเปาหมายในการสราง ความเขมแข็งใหกับสหกรณและกลุมเกษตรกร พัฒนาศักยภาพในการดำเนินธุรกิจและการกำกับดูแลคุมครอง ในระบบสหกรณเพื่อใหสหกรณกลุมเกษตรกรในจังหวัดตรัง เปนองคกรที่สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม ในระดับฐานรากอยางแทจริง ผลสำเร็จจากการปฏิบัติงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไดมีการจัดทำรายละเอียดตางๆ ไวในรายงานประจำปแลว ขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินการฝายจัดการสหกรณ ผูตรวจสอบกิจการ สมาชิก สหกรณ หนวยงานที่เกี่ยวของ เจาหนาที่กลุมสงเสริมสหกรณ เจาหนาที่กลุมงานวิชาการที่ไดรวมใหการ สนับสนุนขับเคลื่อนในการสรางความเขมแข็งใหกับสหกรณกลุมเกษตรกรไดอยางยั่งยืน หวังเปนอยางยิ่งวา ขอมูลจากการรายงานผลการดำเนินงานประจำป พ.ศ. 2566 (Annual Report) ของสำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง จะเปนประโยชนสำหรับหนวยงานที่เกี่ยวของหรือผูสนใจไดรับทราบและจะเปนประโยชนกับผูศึกษาตอไป (นายสมศักดิ์ บุญโยม) สหกรณจังหวัดตรัง เดือน มกราคม 2566 ก
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร นายสมศกัดิ์ บญุโยม สหกรณจังหวัดตรัง หวัหนาหนว ยงาน ทำเนียบบคุ ลากรสำนักงานสหกรณจ งัหวดัตรงั ข
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร นางนิชกานตนำ้เจ็ดพนักงานทำความสะอาด นายอภิรัตน นามเทวี พนักงานรักษาความปลอดภัย นายศรันยูชปูระดิษฐพนักงานขับรถยนต นายประเสริฐ แสงวีระพันธศิริ พนักงานรักษาความปลอดภัย จ.ส.ต.อรรถ รกัชูชื่นพนักงานขับรถยนต ฝา ยบรหิารทวั่ ไป นางสาวสดใส พลสงัข นักจดัการงานท่วัไปชำนาญการ หวัหนาฝายบรหิารทวั่ ไป วาที่ร.ต.หญิงศิราวดีศริิรัตน นักวิเคราะหนโยบายและแผน วา ง นางวิภาวรรณ สัมพันธรตันนักจัดการงานทั่วไป นางทิพยรัตน แซลี้ เจาพนักงานธุรการ นางธิดาพร พรหมชวย เจาพนักงานธุรการนางสาวนิชกานตกาหา เจาพนักงานธุรการ นางสาวนวภัทร อุนสนิท เจาพนักงานธุรการ เจาพนักงานการเงนิและบัญชี นายวิทยา นิลตะ พนักงานขับรถยนต นายรอเฉด มะหมัดเบ็ญแสละ พนักงานขับรถยนต นายสุวิจักษ ทองขำดี พนักงานขับรถยนต นางจงเจตน มีสุข พนักงานขับรถยนต ค
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร นางสาววารินทร สุขการนักวชิาการสหกรณ กลมุ จดัตั้ งและสง เสริมสหกรณ นายจรวย ภมูชิาต ินักวชิาการสหกรณช ำนาญการพเิศษ ผอู ำนวยการกลมุ จดัตั้งและสง เสริมสหกรณ นางสาวยุพเรศ จุงเจริญ นักวิชาการสหกรณชำนาญการนางสาวศิริวรรณ ชูตรัง นักวิชาการสหกรณชำนาญการนางวรรณิสา จันทรแกว นักวิชาการสหกรณชำนาญการ ง
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร กลุมสง เสริมและพัฒนาธรุ กจิสหกรณ นางสาวอุไรรตัน พรหมหน ู นักวชิาการสหกรณชำนาญการพิเศษ ผอู ำนวยการกลมุ สง เสริมและพัฒนาธรุ กิจสหกรณ นางสาวกิติพร บุญปาน นักวิชาการสหกรณชำนาญการ นางวิศัลยศยา พุมพัว นักวิชาการสหกรณชำนาญการ นางสาวณํฐธีรา แกวนุย นักวิชาการสหกรณ นางสาวมนตกานต มะลิแกว นักวิชาการมาตรฐานสินคา จ
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร กลุมสง เสริมและพัฒนาการบรหิาร การจดัการสหกรณ นางกุฏฐารัตน เพชรสุทธิ์ นักวิชาการสหกรณ นางสาวฐติารยี เจรญิ วฒั นศร ี นักวชิาการสหกรณชำนาญการพิเศษ ผู อำนวยการกลุมสง เสรมิและพฒั นาการบรหิารการจดัการสหกรณ นางสุภาพร ทหารไทย นักวชิาการสหกรณชำนาญการ นางสาวยลภิลักษณ สุวรรณศิลปนักวชิาการสหกรณนางสาวปรียานุช เพชรชวย เจาพนักงานสงเสริมสหกรณ ฉ
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร กลุมตรวจการสหกรณ นายณัฐพล ทองงาม นิติกรชำนาญการ นางสาวโสภิญ จันทรสุข นักวิชาการสหกรณชำนาญการ นายวฒุิชัย ดำแกวนิติกร นายพงษพนัธ ขาวคง นักวชิาการสหกรณชำนาญการ ผอู ำนวยการกลมุ ตรวจการสหกรณ นางสาวธารทิพย ชูยัง นักวิชาการสหกรณ ช
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร กลุมสง เสริมสหกรณ 1 นายยุทธรัตน ชว ยนะ นักวชิาการสหกรณช ำนาญการ ผอู ำนวยการกลมุ สง เสริมสหกรณ 1 นางสาวธนัฏฐา เดชอรัญ นักวิชาการสหกรณชำนาญการนายสิทธริักษสมาธิ เจาพนักงานสงเสริมสหกรณอาวุโสนางสาวอมรรัตน เกื้อนุน นักวิชาการสหกรณปฏิบัติการ นางวิมลภัณฑ ขวัญทองนักวชิาการสหกรณ ซ
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร วาท่ีร.ต.หญิง จุไรรัตนชัยเดช เจาพนักงานสงเสริมสหกรณ กลุมสง เสริมสหกรณ 2 นายอนนัต ทบัอนิ ทร เจาพนกังานสง เสรมิสหกรณอ าวโุส ผอู ำนวยการกลมุ สง เสริมสหกรณ 2 นางสาวเครือฟา สงเนียมนักวชิาการสหกรณชำนาญการนายกรรณ เกาะแกว เจาพนักงานสงเสริมสหกรณอาวุโส นางพัชรนันทร ขำณรงค เจาพนักงานสงเสริมสหกรณ นางนฤมล ฤทธิชูนักวชิาการสหกรณชำนาญการ ฌ
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร กลุมสงเสริมสหกรณ 3 นางสาวพิมลรัตน เชาวนวุฒิกุลนักวชิาการสหกรณชำนาญการนางสาวสคุนธอินขัน นักวชิาการสหกรณชำนาญการ นางสาวทิพยธัญญา หรณิานนทเจาพนักงานสงเสริมสหกรณ นายสงบ เยน็ ใจ นักวชิาการสหกรณช ำนาญการ ผอู ำนวยการกลมุ สง เสริมสหกรณ 3 นางจริาพร โปซิว เจาพนักงานสงเสริมสหกรณ ญ
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร บทสรุปผูบริหาร (Executive Summary) การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานประจำป (Annual Report) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการเผยแพรประชาสัมพันธผลการดำเนินงาน ตามนโยบายของกรมสงเสริมสหกรณ และยุทธศาสตรของหนวยงาน และรองรับการบริหารจัดการขอมูลเพื่อ การจัดทำรายงานประเมินผลความคุมคา ในการปฏิบัติภารกิจของกรมในระดับหนวยงานตามยุทธศาสตร สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง เปนหนวยงานสวนภูมิภาคของกรมสงเสริมสหกรณดำเนินการ ขับเคลื่อนงานสงเสริมและพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกรใหมีความเขมแข็งอยางอยางยั่งยืน ผลการ ปฏิบัติงานสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรของจังหวัดตรัง ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีอัตรากำลัง จำนวน 54 คน ประกอบดวย ขาราชการ 26 คน พนักงานราชการ 19 คน และพนักงานจางเหมาบริการ 9 คน ตามโครงสรางสำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ประกอบดวย 1) กลุมสงเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ 2) กลุม จัดตั้งและสงเสริมสหกรณ3) กลุมสงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ 4) กลุมตรวจการสหกรณ 5) ฝายบริหารทั่วไป 6) กลุมสงเสริมสหกรณ จำนวน 3 กลุม ประกอบดวย (1) กลุมสงเสริมสหกรณ 1 รับผิดชอบพื้นที่ 4 อำเภอ ไดแก อำเภอเมืองตรัง อำเภอนาโยง อำเภอกันตัง อำเภอสิเกา (2) กลุมสงเสริมสหกรณ 2 รับผิดชอบพื้นที่ 3 อำเภอ ไดแก อำเภอหาดสำราญ อำเภอปะเหลียน อำเภอยานตาขาว (3) กลุมสงเสริมสหกรณ 3 รับผิดชอบพื้นที่ 3 อำเภอ ไดแก อำเภอรัษฎา อำเภอหวยยอด อำเภอวังวิเศษ ตามภารกิจในการขับเคลื่อน การดำเนินงานแผนงาน/โครงการ โดยไดรับการอนุมัติแผนปฏิบัติงาน จำนวน 5 แผนงาน 12 โครงการ และ ไดรับการสรรงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 8,950,909.00 บาท ดังนี้ แผนงานบุคลากรภาครัฐ แผนงานบุคลากรภาครัฐ - คาใชจายบุคลากรภาครัฐกรมสงเสริมสหกรณ แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐาน ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน - งานสงเสริมและพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกรใหมีความเขมแข็ง - โครงการจัดประชุมคณะกรรมการกลางระดับจังหวัด แผนงานยุทธศาสตร แผนงานยุทธศาสตรการเกษตรสรางมูลคา - โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ กลุมเกษตรกรและธุรกิจชุมชน - โครงการระบบสงเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ - โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินคาเกษตร - โครงการสงเสริมการแปรรูปสินคาเกษตร แผนงานยุทธศาสตร แผนงานยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุนการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ฎ
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร - โครงการแกไขปญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกรดวยระบบสหกรณ แผนงานยุทธศาสตรเสริมสรางพลังทางสังคม โครงการสงเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ - โครงการสงเสริมสหกรณตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห สมเด็จพระเจาอยูหัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร - โครงการขับเคลื่อนการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณและ กลุมเกษตรกร แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและสงเสริมเศรษฐกิจฐานราก - โครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพภายใตโครงการจัดที่ดินตานโยบายรัฐบาล(คทช.) แผนงานอื่นๆ - เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ (กพส.) - กองทุนสงเคราะหเกษตรกร ผลการเขาแนะนะสงเสรมิสหกรณและกลุมเกษตรกร ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง มีสหกรณและกลุมเกษตรกรที่อยูในความรับผิดชอบแนะนำ สงเสริม พัฒนาและกำกับดูแลสหกรณจำนวน 84แหงและกลุมเกษตรกรจำนวน 10แหงรวมจำนวน 94แหง 1. ผลการดำเนินงาน สหกรณมีปริมาณธุรกิจ จำนวน 18,902.17 ลานบาท มีกำไรสุทธิ 904.04 ลานบาท มีสมาชิก จำนวน 84,880 คน กลุมเกษตรมีปริมาณธุรกิจ จำนวน 90.63 ลานบาท กำไรสุทธิ 0.40 ลานบาท มีสมาชิก จำนวน 1,499 คน 2. ผลการจัดระดับความเขมแข็งของสหกรณและกลุมเกษตรกร ดังนี้ 1) สหกรณระดับชั้น 1 จำนวน 20 แหง 2) สหกรณระดับชั้น 2 จำนวน 15 แหง 3) สหกรณระดับชั้น 3 จำนวน 39 แหง 4) สหกรณระดับชั้น 4 (ชำระบัญชี) จำนวน 11 แหง 5) กลุมเกษตรกรระดับชั้น 1 จำนวน - แหง 6) กลุมเกษตรกรระดับชั้น 2 จำนวน 3 แหง 7) กลุมเกษตรกรระดับชั้น 3 จำนวน 5 แหง 8) กลุมเกษตรกรระดับชั้น 4 (ชำระบัญชี) จำนวน 2 แหง 3. ผลการจัดมาตรฐานสหกรณและกลมเกษตรกร ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังนีุ้ 1) สหกรณทั้งหมด 84 แหง นำมาจัดมาตรฐานทั้งหมด จำนวน 74 แหง แบงเปนสหกรณ ภาคการเกษตร จำนวน 55 แหง และนอกภาคการเกษตร จำนวน 19 แหง สามารถผานเกณฑมาตรฐานของ กรมสงเสริมสหกรณ จำนวน 32 แหง
รายงานประจำป 2566 (Annual Report Trang) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2) กลุมเกษตรกร จำนวน 8 แหง สามารถผานเกณฑมาตรฐานของกรมสงเสริมสหกรณ จำนวน 3 แหง จากการดำเนินงานของสำนักงานสหกรณจังหวัดตรังที่ผานมา แมสถานการณการแพรระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จะคลี่คลาย แตสมาชิกสหกรณก็ยังไดรับผลกระทบในการประกอบอาชีพ ทำใหรายไดลดลง ประกอบกับสินคาปรับราคาสูงขึ้น คาครองชีพสูงขึ้น สมาชิกบางสวนไมสามารถสงชำระเงินกู ใหกับสหกรณไดตามปกติ สงผลตอการดำเนินงานของสหกรณ และกระทบตอการเขาแนะนำสงเสริมสหกรณ/ กลุมเกษตรกร ในบางกิจกรรมไมสามารถดำเนินงานตามแผนที่กำหนด ซึ่งบุคลากรของสำนักงานสหกรณ จังหวัดตรังไดมีแนวทางในการแนะนำสงเสริมอยางมีประสิทธิภาพ โดยการเขาไปแนะนำสงเสริมตามแผน Action Plan ที่ไดวางไวควบคูกับการแนะนำสงเสริมผานสื่อออนไลนตางๆ เชน ระบบ ZOOM Cloud Meeting , Application line , Facebook เปนตน รวมถึงการประชาสัมพันธงานของสหกรณและกลุม เกษตรกร ผานสื่อออนไลนอีกทางหนึ่งดวย และดวยขาราชการ พนักงานราชการ ในสังกัดปฏิบัติหนาที่ตาม ความรับผิดชอบจนทำใหผลการดำเนินงานของสหกรณจังหวัดตรังสำเร็จลุลวงตามแผนงานที่ไดกำหนดไว
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 1
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร กรอบอตัรากำลงั เพศชาย เพศหญงิ รวม 1) ขาราชการ 8 18 26 2) พนักงานราชการ 1 18 19 3) จางเหมาบริการ 8 1 9 รวม 17 37 54 หมายเหตุ ขอมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 3
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 1.3 แผนการปฏิบตัิงานและงบประมาณรายจายประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักสหกรณจ ังหวัดตรัง ไดรับงบประมาณรายจายประจำป งบประมาณ เปนเงิน 8,950,909.00 บาท แบงเปนรายละเอียดตามแผนงานยุทธศาสตรไดดังนี้ หนวย : บาท แผนงานตามยุทธศาสตร ป 2566 1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ 5,931,039.00 2. แผนงานพื้นฐานสรางความสามารถในการแขงขัน 2,543,830.00 3. แผนงานพื้นฐานสรางความสามารถในการแขงขัน (งบลงทุน) 296,100.00 4. แผนงานบูรณาการพัฒนาและสงเสริมเศรษฐกิจฐานราก 67,000.00 5. แผนงานยุทธศาสตรการเกษตรสรางมูลคา 67,900.00 6. แผนงานยุทธศาสตรสนับสนุนการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 13,500.00 7. แผนงานยุทธศาสตรเสริมสรางพลังทางสังคม 31,540.00 รวม 8,950,909.00 ที่มา : ฝายบริหารทั่วไป สำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรัง งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2566 แผนงานบคุลากรภาครฐัเป็นเงิน 5,931,039.00 บาท แผนงานพืนÊฐานสรา้งความสามารถในการแขง่ขนัเป็นเงิน 2,543,830.00 บาท แผนงานพืนÊฐานสรา้งความสามารถในการแขง่ขนั (งบลงทนุ ) เป็นเงิน 296,100.00 บาท แผนงานบรูณาการพฒันาและสง่เสริมเศรษฐกิจฐานรากเป็นเงิน 67,000.00 บาท แผนงานยทุธศาสตรก์ารเกษตรสรา้งมลูค่าเป็นเงิน 67,900.00 บาท แผนงานยทุธศาสตรส์นบัสนนุการสรา้งโอกาสและความเสมอ ภาคทางสงัคม เป็นเงิน 13,500.00 บาท แผนงานยทุธศาสตรเ์สริมสรา้งพลงัทางสงัคม เป็นเงิน 13,500 บาท 4
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2) งบประมาณทไี่ดรบัจดัสรรประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เปรียบเทียบกบัขอมลูยอนหลัง 2 ป (พ.ศ. 2564 - 2565) (จำแนกตามประเภทงบรายจาย) หนวย : บาท งบรายจาย ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 รวมงบประมาณ 45,736,503.85 9,480,900.16 8,950,909.00 งบบุคลากร 5,671,913.34 5,814,970.16 4,571,017.00 งบดำเนินงาน 32,777,890.51 3,166,330.00 4,083,792.00 งบลงทุน 1,674,900.00 499,600.00 269,100.00 งบอุดหนุน 5,611,800.00 - - งบรายจายอื่น - - - 5,671,913.34 32,777,890.51 1,674,900 5,611,80005,814,970.16 3,166,330.00 499,600 0 04,571,017 4,083,792 296,100 0.00 5,000,000.00 10,000,000.00 15,000,000.00 20,000,000.00 25,000,000.00 30,000,000.00 35,000,000.00งบประมาณที่ได้รับจัดสรร หน่วย : บาท 5
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 1.4 ขอม ู ลสารสนเทศสหกรณ กลุมเกษตรกร และกลุมอาช ี พในสังกดัสหกรณ 1) ขอมูลสารสนเทศสหกรณ (จำแนกตามประเภทสหกรณ) ขอมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 1.1) จำนวนสหกรณและชมุนุมสหกรณ แยกตามสถานะสหกรณ ประเภท จำนวนสหกรณ จำนวนชมุนมุสหกรณ รวมทงั้สนิ้ Active Non-Active Active Non-Active ยังไมเรมิ่ ดำเนนิการ ดำเนนิการ เลกิสหกรณ ยังไมเรมิ่ ดำเนนิการ ดำเนนิการ เลกิชมุนมุ สหกรณ สหกรณการเกษตร - 51 6 - 4 - 61 สหกรณประมง - 1 - - - - 1 สหกรณนคิม - - - - - - - สหกรณรานคา - - - - - - - สหกรณบรกิาร 1 6 1 - - - 8 สหกรณออมทรพัย - 11 - - - - 11 สหกรณเครดติยเูนยี่น - 2 1 - - - 3 รวมทงั้สนิ้ 1 71 8 - 4 - 84 1.2) จำนวนสหกรณ (Active) และจำนวนสมาชกิสหกรณ ประเภท จำนวนสหกรณ (แหง) จำนวนสมาชกิ (ราย) สหกรณการเกษตร 55 60,069 สหกรณประมง 1 198 สหกรณนคิม - - สหกรณรานคา - - สหกรณบรกิาร 7 2,845 สหกรณออมทรพัย 11 21,474 สหกรณเครดติยเูนยี่น 2 294 รวมทงั้สนิ้ 76 84,880 ที่มา : ขอมูลโปรไฟลสหกรณ ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 6
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 1.3) จำนวนสหกรณ (Active) แยกตามเดอืนสิ้นปทางบัญชีของสหกรณ ประเภท เดอืนสิ้นปทางบญัชขีองสหกรณ ม.ค. ก.พ. ม.ีค. เม.ย. พ.ค. ม.ิย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. สหกรณการเกษตร - - 46 - 2 1 - - - - - 6 สหกรณประมง - - - - - - - - - - - 1 สหกรณนคิม - - - - - - - - - - - - สหกรณรานคา - - - - - - - - - - - - สหกรณบรกิาร - - - 1 - - - - 1 1 - 4 สหกรณออมทรพัย - - - - - - - - 2 - 1 8 สหกรณเครดติยเูนยี่น - - - - - - - - - - - 2 รวมทงั้สนิ้ - - 46 1 2 1 - - 3 1 1 21 1.4) จำนวนสหกรณ (Active) แยกตามผลการจดัระดับชนั้ความเขมแขง ็ สหกรณ(เกณฑเดมิ) ประเภท ผลการจดัระดบัชนั้ความเขมแข็งสหกรณ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 สหกรณการเกษตร 9 14 31 - สหกรณประมง - - 1 - สหกรณนคิม - - - - สหกรณรานคา - - - - สหกรณบรกิาร 3 - 3 - สหกรณออมทรพัย 7 1 3 - สหกรณเครดติยเูนยี่น 1 - 1 - รวมทงั้สนิ้ 20 15 39 - ที่มา : ขอมูลโปรไฟลกลุมเกษตรกร ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 7
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 1.5) จำนวนสหกรณ (Active) และปรมิาณธุรกิจสหกรณแยกตามประเภทธุรกิจ หนวย : ลานบาท ประเภท จำนวน สหกรณ (แหง) ปรมิาณธรุกจิแยกตามประเภทธรุกจิ รบัฝากเงนิ ใหเงนิก ู จดัหาสนิคา มาจำหนาย รวบรวม ผลผลติ แปรรปู ผลผลติ ใหบรกิาร และอนื่ ๆ รวม ปรมิาณธรุกจิ สหกรณการเกษตร 55 1,116.24 1,378.19 1,921.18 3,757.24 796.38 2.98 8,972.22 สหกรณประมง 1 0.00 0.00 26.41 150.43 0.62 0.00 177.45 สหกรณนคิม 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 สหกรณรานคา 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 สหกรณบรกิาร 6 2.83 44.28 32.29 0.00 0.00 0.00 79.39 สหกรณออมทรพัย 11 2,636.03 7,033.94 0.00 0.00 0.00 0.00 9,669.98 สหกรณเครดติยเูนยี่น 2 0.00 3.13 0.00 0.00 0.00 0.00 3.13 รวมทงั้สนิ้ 75 3,755.11 8,459.55 1,979.88 3,907.66 797.00 2.98 18,902.17 หมายเหต ุอางอิงขอมูลจากงบการเงนิของสหกรณที่ผสูอบบัญชีรับรองแลว 1.6) จำนวนสหกรณ (Active) และผลการดำเนนิงานของสหกรณ (กำไรสุทธิ/ขาดทนุสทุธ)ิ ประเภท ผลการดำเนนิงานของสหกรณ กำไรสทุธ ิขาดทนุสุทธิ จำนวนสหกรณ (แหง) มลูคา (ลานบาท) จำนวนสหกรณ (แหง) มลูคา (ลานบาท) สหกรณการเกษตร 28 130.88 27 115.17 สหกรณประมง 1 1.04 0 0.00 สหกรณนคิม 0 0.00 0 0.00 สหกรณรานคา 0 0.00 0 0.00 สหกรณบรกิาร 6 4.38 0 0.00 สหกรณออมทรพัย 11 767.40 0 0.00 สหกรณเครดติยเูนยี่น 2 0.34 0 0.00 รวมทงั้สนิ้ 48 904.04 27 115.17 หมายเหต ุอางอิงขอมูลจากงบการเงนิของสหกรณที่ผสูอบบัญชีรับรองแลว 8
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2) ขอมูลสารสนเทศกลุมเกษตรกร (จำแนกตามประเภทกลุมเกษตรกร) ขอมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 2.1) จำนวนกลมุเกษตรกร แยกตามสถานะสหกรณ ประเภท จำนวนกลมุเกษตรกร รวมทงั้สนิ้ Active Non-Active ยังไมเรมิ่ ดำเนนิการ ดำเนนิการ เลกิสหกรณ กลมุเกษตรกรทำนา - - - - กลมุเกษตรกรทำสวน - 8 - 8 กลมุเกษตรกรเลยี้งสัตว - - - - กลมุเกษตรกรทำไร - - - - กลมุเกษตรกรทำประมง - - - - กลมุเกษตรกรอนื่ๆ - - - - รวมทงั้สนิ้ - 8 - 8 2.2) จำนวนกลุมเกษตรกร(Active) และจำนวนสมาชกิกลมุเกษตรกร ประเภท จำนวนสหกรณ (แหง) จำนวนสมาชกิ (ราย) กลมุเกษตรกรทำนา - - กลมุเกษตรกรทำสวน 8 1,499 กลมุเกษตรกรเลยี้งสัตว - - กลมุเกษตรกรทำไร - - กลมุเกษตรกรทำประมง - - กลมุเกษตรกรอนื่ๆ - - รวมทงั้สนิ้ 8 1,499 ที่มา : โปรไฟลกลุมเกษตร ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 9
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.3) จำนวนกลุมเกษตรกร(Active) แยกตามเดือนสนิ้ปทางบญัชขีองกลุมเกษตรกร ประเภท เดอืนสิ้นปทางบญัชขีองกลมุเกษตรกร ม.ค. ก.พ. ม.ีค. เม.ย. พ.ค. ม.ิย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. กลมุเกษตรกรทำนา - - - - - - - - - - - - กลมุเกษตรกรทำสวน - - 5 - - - - - - - - 3 กลมุเกษตรกรเลยี้ง สตัว - - - - - - - - - - - - กลมุเกษตรกรทำไร - - - - - - - - - - - - กลมุเกษตรกรทำ ประมง - - - - - - - - - - - - กลมุเกษตรกรอนื่ๆ - - - - - - - - - - - - รวมทงั้สนิ้ - - 5 - - - - - - - - 3 2.4) จำนวนกลมุเกษตรกร (Active) แยกตามผลการจัดระดบัชั้นความเขมแขง ็ กลุมเกษตรกร (เกณฑเดมิ) ประเภท ผลการจดัระดบัชนั้ความเขมแข็งสหกรณ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 กลมุเกษตรกรทำนา - - - - กลมุเกษตรกรทำสวน - 3 5 - กลมุเกษตรกรเลยี้งสัตว - - - - กลมุเกษตรกรทำไร - - - - กลมุเกษตรกรทำประมง - - - - กลมุเกษตรกรอนื่ๆ - - - - รวมทงั้สนิ้ - 3 5 - ที่มา : โปรไฟลกลุมเกษตร ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 10
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.5) จำนวนกลุมเกษตรกร(Active) และปรมิาณธรุกิจกลุมเกษตรกรแยกตามประเภทธุรกจิ หนวย : ลานบาท ประเภท จำนวน กลมุ เกษตรกร (แหง) ปรมิาณธรุกจิแยกตามประเภทธรุกจิ รบัฝากเงนิ ใหเงนิก ู จดัหาสนิคา มาจำหนาย รวบรวม ผลผลติ แปรรปู ผลผลติ ใหบรกิาร และอนื่ ๆ รวม ปรมิาณธรุกจิ กลมุเกษตรกรทำนา 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 กลมุเกษตรกรทำสวน 8 12.25 6.17 7.90 0.67 63.64 0.00 90.63 กลมุเกษตรกรเลยี้ง สตัว 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 กลมุเกษตรกรทำไร 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 กลมุเกษตรกรทำ ประมง 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 กลมุเกษตรกรอนื่ๆ 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 รวมทงั้สนิ้ 8 12.25 6.17 7.90 0.67 63.64 0.00 90.63 หมายเหต ุอางอิงขอมูลจากงบการเงนิของกลุมเกษตรกรที่ผสูอบบญัชีรับรองแลว 2.6) จำนวนกลุมเกษตรกร(Active) และผลการดำเนนิงานของกลุมเกษตรกร (กำไรสทุธ/ขาดทุน ิ สทุธิ) ประเภท ผลการดำเนนิงานของกลมุเกษตรกร กำไรสทุธ ิขาดทนุสุทธิ จำนวนกลมุ เกษตรกร (แหง) มลูคา (ลานบาท) จำนวนกลมุ เกษตรกร (แหง) มลูคา (ลานบาท) กลมุเกษตรกรทำนา 0 0.00 0 0.00 กลมุเกษตรกรทำสวน 4 0.40 4 2.92 กลมุเกษตรกรเลยี้งสัตว 0 0.00 0 0.00 กลมุเกษตรกรทำไร 0 0.00 0 0.00 กลมุเกษตรกรทำประมง 0 0.00 0 0.00 กลมุเกษตรกรอนื่ๆ 0 0.00 0 0.00 รวมทงั้สนิ้ 4 0.40 4 2.92 หมายเหต ุอางอิงขอมูลจากงบการเงนิของกลุมเกษตรกรที่ผสูอบบญัชีรับรองแลว 11
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 3) ขอมลูสารสนเทศกลมุอาชพีในสงักดัสหกรณ (จำแนกตามประเภทผลิตภัณฑ) ขอมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 3.1) จำนวนกลุมอาชพีแยกตามสถานะกลมุอาชีพ ประเภท Active Non-Active รวมทงั้สนิ้ ดำเนินธรุกจิ ดำเนินธรุกจิ เปนครั้งคราว หยดุ ดำเนินการ แจงยกเลกิ กลมุแลว แตยงัไมได แจงคนืเงนิเขาคลัง จงัหวดั แจงยกเลกิกลุม และคนืเงนิเขา คลงัจงัหวดั เรยีบรอยแลว ตดิตามไมได อาหารแปรรปู 12 5 0 0 0 0 17 ผาและเครอื่งแตงกาย 1 0 0 0 0 0 1 ของใช/ของตกแตง / ของทรี่ะลึก/เคร่อืงประดับ 5 0 0 0 0 0 5 เลยี้งสตัว 1 0 0 0 0 0 1 บรกิาร 0 0 0 0 0 0 0 เครอื่งดมื่แอลกอฮอล 0 0 0 0 0 0 0 เครอื่งดมื่ ไมมแีอลกอฮอล 0 0 0 0 0 0 0 สมุนไพรทไี่มใชอาหาร/ยา 0 0 0 0 0 0 0 เพาะปลกู 0 0 0 0 0 0 0 ปจจยัการผลติ 1 0 0 0 0 0 1 รวมทงั้สนิ้ 20 5 0 0 0 0 25 ที่มา : รายงานสรุปผลการสงเสริมกลุมอาชีพในสหกรณ กลุมสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ สหกรณ สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 รายละเอียดกลุมอาชีพ 12
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 13
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.1 ผลการปฏิบตังิานและผลการใชจายงบประมาณตามแผนปฏิบตัิงานและ แผนการใชจายงบประมาณประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 ยทุธศาสตรชาตดิานการสรางความสามารถในการแขงขนั แผนแมบทภายใตยทุธศาสตรชาตดิานการดำเนินภารกิจพื้นฐานเพอื่สนับสนุนยทุธศาสตร แผนงานพนื้ฐาน แผนงานพนื้ฐานดานการสรางความสามารถในการแขงขนั 1) งานแนะนำ สงเสริม สนบัสนุน พัฒนาและกำกบัการดำเนนิงานของสหกรณและกลมุเกษตรกร 1.1) แนะนำสงเสรมิฯ สหกรณและกลมุเกษตรกรใหมีความเขมแขง ็ ตามศกัยภาพ • เปาหมาย สหกรณ 84 แหง สมาชิก 84,880 ราย กลุมเกษตรกร 10 แหง สมาชิก 1,499 ราย พื้นที่อำเภอ 10 อำเภอ ผลการดำเนินการ แนะนำสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรยึดแนวทางตาม แผนพัฒนาความเขมแข็งสหกรณดังนี้ ตามที่กรมสงเสริมสหกรณ ไดกำหนดแผนพัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรกรสูความเขมแข็ง ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อดำเนินการรักษาและยกระดับชั้นสหกรณ/กลุมเกษตรกร ใหเกิดผลงานตามเกณฑ การประเมินยกระดับชั้นสหกรณ/กลุมเกษตรกร ที่กำหนด (กรมสงเสริมสหกรณรวมกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ) ประกอบดวย 4 ดาน คือ กรมสงเสริมสหกรณ 2 ดาน คือ ดานความสามารถในการใหบริการสมาชิก และดาน ประสิทธิภาพของการบริหารงาน และกรมตรวจบัญชีสหกรณ 2 ดาน คือ ดานประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ (อัตราสวนทางการเงนิ) และประสิทธิภาพในการจัดการองคกร (การควบคุมภายใน) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและพัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหเกิดความเขมแข็งตามศักยภาพ ตามเกณฑประเมินความเขมแข็งของสหกรณ/กลุมเกษตรกร ในจังหวัดตรัง ใหสอดคลองในแตละระดับชั้น ซึ่งมี เกณฑประเมินตามตัวชี้วัดผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ ดังนี้ 1) สหกรณ มีความเขมแข็ง ระดับชั้น 1 และระดับชั้น 2 กำหนดใหมีผลสำเร็จไมนอยกวารอยละ 91 ของสหกรณท ี่มีสถานะดำเนินงาน จำนวน 75 แหง 2) กลุมเกษตรกร มีความเขมแข็ง ระดับชั้น 1 และระดับชั้น 2 กำหนดใหมีผลสำเร็จไมนอยกวารอย ละ 30 ของกลุมเกษตรกรที่มีสถานะดำเนินงาน จำนวน 8 แหง • ผลการดำเนนิงาน สำนักงานสหกรณจังหวัดตรังดำเนินการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเขมแข็งสหกรณ/กลุมเกษตรกร พ.ศ. 2566 ดังนี้ 1) จัดทำแผนปฏิบัติงาน (Action plan) ยกระดับชั้นสหกรณ/กลุมเกษตรกร 2) ดำเนินการรวบรวม วิเคราะหขอมูลสหกรณ/กลุมเกษตรกร เบื้องตน เชน ขอมูลทั่วไป มาตรฐาน สหกรณ/กลุมเกษตรกร ชั้นสหกรณ/กลุมเกษตรกร ขอบกพรอง ฯลฯ 3) เขารวมการประชุม “การขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อสงเสริมและ พัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกร สูความเขมแข็ง” เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2565 ณ หองประชุม ชั้น 3 อาคาร 14
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ฝกอบรมสวนกลาง สำนักพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ กรมสงเสริมสหกรณ ถนนพิชัย เขตดุลิต กรุงเทพมหานคร และผานระบบ ZOOM Meeting ไปยังสำนักงานสหกรณจังหวัดและสำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ 76 จังหวัดทั่วประเทศ โดยมีวัตถุประสงค เพื่อรับทราบนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ ในการ ขับเคลื่อนงานสงเสริมและพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกรใหมีความเขมแข็ง ซึ่งการชำระบัญชีสหกรณ/ กลุมเกษตรกร เปนหนึ่งในประเด็นสำคัญ หลังจากการรับฟงนโยบายฯ แลว ไดใหมีการประชุมหารือระหวาง สำนักงานสหกรณจ ังหวัดและสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณแตละจังหวัด และการบูรณาการรวมกันระหวางกรม สงเสริมสหกรณและกรมตรวจบัญชีสหกรณ 4) กรมสงเสริมสหกรณขอความรวมมือสหกรณจังหวัดคัดเลือกกลุมเปาหมายสหกรณ/กลุม เกษตรกร เขารวมโครงการสงเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร โดยกลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณไดคัดเลือก กลุมเปาหมายฯ จำนวน 3 แหง ทั้งนี้ ทางกองแผนงานไดมีการปรับแผนงานโครงการดังกลาว ซึ่งจังหวัดตรังมี สหกรณและกลุมเกษตรกรที่มีความเขมแข็งประจำป 2565 ระดับชั้น 1 และระดับชั้น 2 รวม 72 แหงจาก สหกรณทั้งสิ้น 75 แหง คิดเปนรอยละ 96 ซึ่งมากกวาตัวชี้วัดตามแผนงานกำหนดไวรอยละ 90 จึงไมตอง คัดเลือกเปาหมายโครงการสงเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร 5) กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณชี้แจงทำความเขาใจการแนะนำ สงเสริมการพัฒนาระดับชั้นความ เขมแข็ง ในการดำเนินการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเขมแข็งสหกรณ/กลุมเกษตรกร พ.ศ. 2566 ในที่ประชุม ประจำเดือนของสำนักงานสหกรณจังหวัด เพื่อกลุมสงเสริมสหกรณไดนำไปชี้แจงทำความเขาใจกับ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ/กลุมเกษตรกร ฝายจัดการวางแผนรวมกันกำหนดแนวทางในการสงเสริมการ รักษาระดับชั้น และการผลักดันสูในระดับชั้นที่สูงขึ้น 6) ประสานขอมูลจากสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณในสวนของสหกรณ/กลุมเกษตรกรที่ปดบัญชี เพื่อประเมินในดานประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ (อัตราสวนทางการเงิน : CFSAWS:SS) และดาน ประสิทธิภาพในการจัดการองคกร (การควบคุมภายใน : RQ2) 7) กลุมสงเสริมสหกรณ จัดเก็บขอมูลแบบติดตามความกาวหนาของความเขมแข็งสหกรณ/กลุม เกษตรกร และบันทึกขอมูลผานระบบประเมินความเขมแข็งสหกรณและกลุมเกษตรกร เมื่อระบบประเมินผล ความเขมแข็งแลว กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณจะดำเนินการดึงขอมูลตามแบบประเมินผล ตรวจสอบ ความถูกตองของขอมูล หากขอมูลของที่ใดมีความผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อน ทางกรมฯ จะเปดใหเจาหนาที่ สงเสริมสหกรณจัดทำหนังสือขออุทธรณผลการจัดชั้นความเขมแข็งสหกรณและกลุมเกษตรกรได 8) สรุปผลการจัดระดับชั้นสูความเขมแข็งภาพรวมทั้งจังหวัด และติดตามผลการปฏิบัติงาน ในที่ประชุมเปนประจำทุกเดือน ขั้นตอนการดำเนินการเพื่อแนะนำสงเสริมใหผานเกณฑอัตราสวนทางการเงิน ตามแผนพัฒนา สหกรณ/กลุมเกษตรกรสูความเขมแข็ง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรม : แนะนำสงเสริมใหสหกรณ/กลุมเกษตรกร วิเคราะหขอมูลจากงบแสดงฐานะทางการเงิน ตามอัตราสวนทางการเงิน 6 อัตราสวน เทียบกับคามาตรฐานเพื่อใหทราบผลวาสหกรณ/กลุมเกษตรกร มีขอบกพรองในสวนใด แลวนำเสนอผลการวิเคราะหตอที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ เพื่อหาแนว 15
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ทางแกไข โดยพิจารณาจากการพึ่งตนเอง เชน การเพิ่มทุนภายในของสหกรณ/กลุมเกษตรกร จากการให สมาชิกถือหุนเพิ่มหรือรับฝากเงินจากสมาชิกเพิ่มลดการพึ่งพาแหลงเงินกูจากภายนอก เรงรัดติดตามหนี้ใหมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ลดคาใชจายที่ไมจำเปน และดำเนินงานใหเปนไปตามหลักธรรมาภิบาลสหกรณ ขั้นตอนการดำเนนิการเพื่อแนะนำสงเสริมใหผานเกณฑคณุภาพการควบคุมภายใน ตามแผนพฒันา สหกรณ/กลุมเกษตรกรสูความเขมแข็ง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรม : ดำเนินการตามขอสังเกตของผูสอบบัญชี ตามแบบ RQ2-3 ในประเด็น ดังนี้ 1) สงเสริมใหสหกรณจัดใหมีผูจัดทำบัญชี 2) สงเสริมใหสหกรณจัดทำบัญชีใหเปนปจจุบันตามหลักบัญชี และนำเสนอรายงานตอที่ประชุม คณะกรรมการเปนประจำทุกเดือน 3) สงเสริมใหผูตรวจสอบกิจการทำหนาที่ตรวจสอบและรายงานผลเปนลายลักษณอักษร 4) แนะนำสหกรณดำเนินงานภายใตระเบียบ ขอบังคับของสหกรณ/กลุมเกษตรกรอยางเครงครัด เพื่อปองกันปญหาดานการบริหารงานและขอบกพรอง ผลลพัธเชิงปริมาณ ตารางที่ 1 แสดงผลลัพธเชิงปริมาณพัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรกรสูความเขมแข็ง ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 ระดบัชนั้ ณ วนัที่ 30 กนัยายน 2564 (แหง) ณ วนัที่ 31 สงิหาคม 2565 (แหง) ณ วนัที่ 31 สงิหาคม 2566 (แหง) ชั้น 1 28 24 20 ชั้น 2 44 48 15 ชั้น 3 3 3 39 ชั้น 4 10 11 11 รวม 85 86 85 จากตารางที่ 1 แสดงผลลัพธเชิงปริมาณ การพัฒนาสหกรณสูความเขมแข็ง ผลการยกระดับชั้น สหกรณ/กลุมเกษตรกร ของสำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จัดอยูในระดับชั้น 1 และ ระดับชั้น 2รวมจำนวน 35แหง จากสหกรณท ี่มีสถานะดำเนินงาน จำนวน 74 แหง (ไมรวมสหกรณที่ดำเนินงานไม ครบ 2 ป 1 แหง และ สหกรณที่เลิก ระดับชั้น 4) และกลุมเกษตรกร จัดอยูในระดับชั้น 2 จำนวน 3 แหง จากกลุม เกษตรกรที่มีสถานะดำเนินงาน จำนวน 8 แหง ทั้งนี้ เนื่องจากรอบประเมินลาสุด กรมสงเสริมสหกรณและกรม ตรวจบัญชีสหกรณไดมีการปรับเกณฑการประเมินความเขมแข็งสหกรณและกลุมเกษตรกรใหม ผลลพัธเชงิคณุภาพ ผลการพัฒนาสหกรณสูความเขมแข็ง การยกระดับชั้นสหกรณ/กลุมเกษตรกร ของสำนักงานสหกรณ จังหวัดตรัง ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระดับชั้น 1 และระดับชั้น 2 ผานเกณฑประเมิน ตามตัวชี้วัดของกรม สงเสริมสหกรณ คิดเปนรอยละ 46.67 ซึ่งต่ำกวาเกณฑตัวชี้วัดกำหนดใหมีผลสำเร็จ รอยละ 91 ของสหกรณที่มี สถานะดำเนินงาน จำนวน 75 แหง ในสวนของกลุมเกษตรกร จัดอยูในระดับชั้น 2 จำนวน 3 แหง คิดเปน 16
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร รอยละ 37.50 ซึ่งสูงกวาเกณฑตัวชี้วัดกำหนดใหมีผลสำเร็จ รอยละ 30 ของกลุมเกษตรกรที่มีสถานะดำเนินงาน จำนวน 8 แหง ทั้งนี้ เนื่องจากการประเมินความเขมแข็งฯ รอบประเมินลาสุด กรมสงเสริมสหกรณและกรม ตรวจบัญชีสหกรณ ไดมีการปรับเกณฑการประเมินความเขมแข็งสหกรณและกลุมเกษตรกรใหม สงผลใหการ รักษาและยกระดับชั้นความเขมแข็งของสหกรณใหมีระดับที่สูงขึ้น มีประสิทธิภาพต่ำลงกวาเดิมเมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2565 • ปญหา/อุปสรรค 1. สหกรณ/กลุมเกษตรกรมีขนาดเล็กและสหกรณ/กลุมเกษตรกรที่จัดตั้งใหม ยังไมมีรายไดไม เพียงพอในการจัดจางหรือมีการมอบหมายใหคณะกรรมการดำเนินการ แตในทางปฏิบัติไมไดดำเนินงานตามที่ ไดรับมอบหมาย 2. สหกรณ/กลุมเกษตรกรมีขนาดเล็ก การนับการมีสวนรวมในการดำเนินธุรกิจกับสหกรณ ซึ่งนับ เฉพาะประเภทธุรกิจที่สูงที่สุด 3. สหกรณม ีผลการดำเนินงานขาดทุนตอเนื่องหลายปจำเปนตองใชเวลาในการฟนฟู 4. สหกรณหยุดดำเนินการ แนวทางแกไข : การสงเสริมและพัฒนาความเขมแข็งของสหกรณ ควรมีการดำเนินงานอยาง ตอเนื่อง เพื่อใหเกิดความเขมแข็ง โดยมีการบูรณาการรวมกันระหวางสหกรณ เจาหนาที่สงเสริมสหกรณ และ ผูสอบบัญชี เพื่อใหการดำเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไป • ภาพกิจกรรม : แนะนำสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรใหมีความเขมแข็งตามศักยภาพ ภาพกิจกรรม : การประชุมบุคลากร สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง รวมกับ สำนักงานตรวจบัญชี สหกรณตรัง เพื่อพิจารณาหารือแนวทาง และกำหนดแผนงานเพื่อการขับเคลื่อนแนะนำสงเสริมฯ สหกรณและ กลุมเกษตรกรในจังหวัดตรัง ใหมีความเขมแข็งตามศักยภาพ ณ หองประชุมทับเที่ยง สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง 17
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 1.2) การจดัตงั้สหกรณและกลมุเกษตรกรใหสามารถดำเนนิการไดอยางมีคณุภาพ • เปาหมาย ในรอบปงบประมาณ พ.ศ.2566 ไดมีประชาชนในจังหวัดตรัง มีความประสงคจัดตั้ง สหกรณจำนวน 1 แหง.สมาชิกแรกตั้งสมาชิก 38 ราย โดยจัดตั้งในสหกรณประเภทสหกรณบริการ และไดรับ การจัดทะเบียน ใชชื่อ สหกรณบานมั่นคงพรอมใจสัมพันธตรัง จำกัด • ผลการดำเนินการ กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณรวมกับกลุมสงเสริมสหกรณ 3 ไดรับการประสานงานกับประชาชน ผูเดือดรอนเกี่ยวกับที่อยูอาศัยในที่ดินชุมชนของการรถไฟแหงประเทศไทย จำนวน 9 ชุมชน โดยขอให สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ดำเนินการจัดตั้งสหกรณใหเพื่อเปนการบรรเทาความเดือดรอนของประชาชน และไดดำเนินการจัดตั้งสหกรณตามกระบวนการจัดตั้งตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ วาดวยการดำเนินการ จดทะเบียนจัดตั้งสหกรณ พ.ศ. 2552 และสามารถจัดตั้งสหกรณไดสำเร็จจำนวน 1 แหง ตามเปาหมาย คือ สหกรณบานมั่นคงสัมพันธพรอมใจตรัง จำกัด สมาชิกแรกตั้ง จำนวน 38 รายรายละเอียด ดังนี้ 1. วันที่ 30 สิงหาคม 2565 จัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับอุดมการณ หลักการ วิธีการสหกรณ และ การทำธุรกิจของสหกรณ ณ หองประชุมมูลนิธิอันดามัน ตำบลบางรัก อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง มีผูสนใจเขา รับความรู จำนวน 41 คน 2. วันที่ 13 กันยายน 2565 รวมประชุมผูซึ่งประสงคจะเปนสมาชิก เพื่อกำหนดชื่อสหกรณ จำนวน 3 ชื่อ เพื่อยื่นขอจองชื่อ เลือกคณะผูจัดตั้งสหกรณ กำหนดประเภท วัตถุประสงคของสหกรณ การ เตรียมจัดทำแผนดำเนินการเกี่ยวกับธุรกิจและการจัดทำรางขอบังคับ และเนื่องจากผูซึ่งประสงคจะจัดตั้ง สหกรณมีจำนวน 9 ชุมชน จึงไดรวมกับกลุมสงเสริมสหกรณ 3 ดำเนินการจัดประชุมใหความรูเกี่ยวกับสหกรณ พื้นฐานและสรางความเขาใจกับสมาชิกในแตละชุมชน ดังนี้ 1) วันที่20 กันยายน 2565 จำนวน 3 ชุมชน คอืชุมชนชายเขาพัฒนาใหม, ชุมชนลำภูรา และชุมชนทางลอ ณ วัดถ้ำอิโสราษฏร ตำบลลำภูรา อำเภอหวยยอด จังหวัดตรัง 2) วันที่ 27 กันยายน 2565 จำนวน 4 ชุมชน คือ ชุมชนบอสีเสียด, ชุมชนควน ดินแดง, ชุมชนคลองชาง และชุมชนหนองยวน 2 ณ วัดบอสีเสียด ตำบลคลองเต็ง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 3) วันที่ 30 กันยายน 2565 จำนวน 2 ชุมชน คือ ชุมชนคลองมวนและชุมชนนาวา ณ ชุมชนคลองมวน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง 3. วันที่ 11 ตุลาคม 2565 รวมประชุมคณะผูจัดตั้งสหกรณ เพื่อพิจารณากำหนดประเภทของ สหกรณ วัตถุประสงคของสหกรณ ที่ตั้งสำนักงาน กำหนดแผนดำเนินการเกี่ยวกับธุรกิจ ของสหกรณ การจัดทำ บัญชีรายชื่อผูซึ่งจะเปนสมาชิกสหกรณ รูปแบบทะเบียนสมาชิกและทะเบียนหุน และกำหนดรางขอบังคับของ สหกรณ เพื่อนำเสนอใหที่ประชุมผูซึ่งจะเปนสมาชิกพิจารณา ณ หองประชุมสำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 4. วันที่ 21 ตุลาคม 2565 รวมประชุมผูซึ่งจะเปนสมาชิกของสหกรณบานมั่นคงสัมพันธพรอม ใจตรัง จำกัด เพื่อแจงใหสมาชิกทราบเกี่ยวกับ ชื่อสหกรณ ประเภทของสหกรณ วัตถุประสงคของสหกรณ 18
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ที่ตั้งสำนักงาน แผนการดำเนินการเกี่ยวกับธุรกิจของสหกรณ และกำหนดขอบังคับขึ้นถือใช มีสมาชิกเขารวม ประชุม จำนวน 38 คน ณ วัดถ้ำอิโส ตำบลลำภูรา อำเภอหวยยอด จังหวัดตรัง 5. กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณไดรับเอกสารการขอจดทะเบียนสหกรณเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2565 และนายทะเบียนสหกรณรับจดทะเบียนสหกรณเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 6. สหกรณประชุมใหญครั้งแรกภายใน 90 วัน เมื่อวันที่17 มกราคม พ.ศ. 2566 7. สหกรณเริ่มดำเนินธุรกิจเมื่อวันที่13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 • ปญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางการแกไขหรือขอเสนอแนะ - ไมมี - • ภาพกิจกรรม : จัดตั้งสหกรณบ านมั่นคงพรอมใจสัมพันธตรัง จำกัด ภาพกิจกรรม : ประชุมผูซึ่งจะเปนสมาชิกของสหกรณบานมั่นคงสัมพันธพรอมใจตรัง จำกัด เพื่อแจงให สมาชิกทราบเกี่ยวกับ ชื่อสหกรณ ประเภทของสหกรณ วัตถุประสงคของสหกรณ ที่ตั้งสำนักงาน แผนการ ดำเนินการเกี่ยวกับธุรกิจของสหกรณ และกำหนดขอบังคับขึ้นถือใช มีสมาชิกเขารวมประชุม จำนวน 38 คน ณ วัดถ้ำอิโสราษฎร ตำบลลำภูรา อำเภอหวยยอด จังหวัดตรัง 19
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2) งานกำกบั ดแูล ตรวจสอบและคมุครองระบบสหกรณ 2.1) การตรวจการสหกรณ • เปาหมายท ี่1 การตรวจการสหกรณ โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด เปาหมาย(รอยละ 25) จำนวนสหกรณ 19 แหง ดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงสหกรณเปาหมายเพื่อเขาตรวจการในปงบประมาณ พ.ศ.2566 1. ชุมนุมสหกรณจ ังหวัดตรัง จำกัด 2. สหกรณกองทุนสวนยางบานน้ำผุด จำกัด 3. สหกรณการเกษตรสรางชาติตรัง จำกัด 4. สหกรณการเกษตรกันตัง จำกัด 5. สหกรณการเกษตรเมืองตรัง จำกัด 6. ชุมนุมสหกรณกองทุนสวนยางเครือขายปะเหลียน จำกัด 7. สหกรณกองทุนสวนยางโพธิ์โทน จำกัด 8. สหกรณกองทุนสวนยางหนองบัว จำกัด 9. สหกรณการเกษตรวังเจริญ จำกัด 10. สหกรณการเกษตรหวยยอด จำกัด 11. สหกรณกองทุนสวนยางบานบางดีจำกัด 12. สหกรณกองทุนสวนยางบานทุงตอ จำกัด 13. สหกรณกองทุนสวนยางบานหนองศรีจันทรจำกัด 14. สหกรณการเกษตรวังวิเศษ จำกัด 15. สหกรณกองทุนสวนยางวังครีีจำกัด 16. สหกรณการเกษตรรัษฎา จำกัด 17 สหกรณกองทุนสวนยางบานหนองเอื้อง จำกัด 18. สหกรณกองทุนสวนยางโคกแตว จำกัด 19. สหกรณการเกษตรหาดสำราญ จำกัด 20
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • เปาหมายท ี่2 การตรวจการสหกรณ ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ (รอยละ 15) จำนวน สหกรณ 11แหง ดังนี้ ตารางท ี่3 แสดงสหกรณเปาหมายเพื่อเขาตรวจการตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ ในปงบประมาณ พ.ศ.2566 • ผลการดำเนินการ 1. จัดทำแผนปฏิบตัิงาน กำหนดเปาหมาย/กิจกรรม โดยนำผลการวิเคราะหความเสี่ยง รายงานของผูสอบบัญชี รายงานขอสังเกตของผูสอบบัญชี ขอมูลการวิเคราะหสหกรณจากนักการเงินประจำ จังหวัด 2. เขาตรวจสอบตามแผนที่กำหนด 3. สรุปขอเท็จจริงและรายงานผลโดยการบันทึกผานระบบตรวจการสหกรณพรอมทั้งจัดสง เอกสารรายงานการตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินตอนายทะเบียนสหกรณ 4. วิเคราะหผลการตรวจการสหกรณ เพื่อประกอบการพิจารณาสั่งการของนายทะเบียน สหกรณ • ปญหา/อุปสรรค - ไมมี- 1. สหกรณกองทุนสวนยางบานเกาะปราง จำกัด 2. สหกรณออมทรัพยกำนันผูใหญบานอำเภอกันตัง จำกัด 3. สหกรณการเกษตรอุตสาหกรรมตรัง จำกัด 4. สหกรณกองทุนสวนยางทุงใหญจำกัด 5. สหกรณกองทุนสวนยางหนองบอพัฒนา จำกัด 6. สหกรณเครดิตยูเนี่ยนชุมชนปะเหลียน จำกัด 7. สหกรณอ ิสลามอัล-ฟจรจำกัด 8. สหกรณกองทุนสวนยางบานหนองครก จำกัด 9. สหกรณกองทุนสวนยางบานไชยภักดีจำกัด 10. ชุมนุมสหกรณอุตสาหกรรมการยางตรัง จำกัด 11. สหกรณกองทุนสวนยางบานบางครามพัฒนา จำกัด 21
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ภาพกจิกรรม : การตรวจการสหกรณ โดยทีมตรวจการสหกรณระดับจังหวัด ภาพกิจกรรม : กลุมตรวจการสหกรณรวมกับกลุมสงเสริมสหกรณ1 และกลุมสงเสริมสหกรณ2 เขาไปตรวจการสหกรณโดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ณ สหกรณการเกษตรหวยยอด จำกัด และสหกรณอื่น ที่เปนเปาหมายในการเขาตรวจการประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 22
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.2) การตดิตามประเมนิผลความกาวหนาการแกไขขอบกพรองของสหกรณ/กลมุเกษตรกร • เปาหมาย สหกรณในจังหวัดตรังซึ่งนายทะเบียนสหกรณออกคำสั่ง ตามมาตรา 22 (1) จำนวน 12 สหกรณ ดังนี้ ตารางท ี่4 แสดงสหกรณในจังหวัดตรังซึ่งนายทะเบียนสหกรณออกคำสั่ง ตามมาตรา 22 (1) • ผลการดำเนนิการ 1) เขาติดตามประเมินผลความกาวหนาการแกไขขอบกพรอง 2) รายงานผลการติดตามประเมินผลความกาวหนาการแกไขขอบกพรองเสนอตอนายทะเบียนสหกรณ โดยการบันทึกผานระบบตรวจการสหกรณ • ปญหา/อปุสรรค - ไมมี – 1. สหกรณเพาะเลี้ยงสัตวน้ำจังหวัดตรัง จำกัด 2. สหกรณการเกษตรวังวิเศษ จำกัด 3. ชุมนุมสหกรณจ ังหวัดตรัง จำกัด 4. สหกรณการเกษตรอุตสาหกรรมตรัง จำกัด 5. สหกรณกองทุนสวนยางบานคลองโตนพัฒนา จำกัด 6. สหกรณอ ิสลามอัล-ฟจรจำกัด 7. สหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด 8. ชุมนุมสหกรณกองทุนสวนยางตรัง จำกัด 9. สหกรณกองทุนสวนยางบานหนองเอื้อง จำกัด 10. สหกรณกองทุนสวนยางบานไรควน จำกัด 11. สหกรณบริการโรงพยาบาลตรัง จำกัด 12. สหกรณออมทรัพยตำรวจตรัง จำกัด 23
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ภาพกิจกรรม : การติดตามประเมินผลความกาวหนาการแกไขขอบกพรองของสหกรณ ภาพกิจกรรม : กลุมตรวจการสหกรณเขาไปติดตามประเมินผลความกาวหนาการแกไขขอบกพรอง ของสหกรณ/กลุมเกษตรกร 2.3) การจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแกไขปญหาการดำเนินงานของสหกรณและ กลุมเกษตรกรที่มีขอบกพรอง (จกบ.) • เปาหมาย เพื่อบูรณาการรวมกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของในการพิจารณาแกไข ขอบกพรองของสหกรณและกลุมเกษตรกรในจังหวัดตรัง และประมวลขอบกพรองของสหกรณและกลุม เกษตรกรเปาหมาย และกำหนดแผนงานแนวทางแกไขปญหาขอบกพรองที่เกิดขึ้น จัดประชุม 4 ครั้ง/ป ผูเขารวมประชุม ประกอบดวย คณะทำงานระดับจังหวัดฯ และผูที่เกี่ยวของ ครั้งละ 16 คน ระหวางเดือน ธันวาคม 2565 - กันยายน 2566 ณ หองประชุมสำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรัง • ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ไดดำเนินการจัดประชุมฯ จำนวน 4 ครั้ง และสรุปรายงานผล การประชุมนำเสนอผูตรวจราชการกรม เขตตรวจราชการที่ 6 ดังนี้ - ครั้งที่ 1 วันที่ 16 มกราคม 2566 มีผูเขารวมประชุม จำนวน 16 คน - ครั้งที่ 2 วันที่ 23 มีนาคม 2566 มีผูเขารวมประชุม จำนวน 16 คน - ครั้งที่ 3 วันที่ 24 พฤษภาาคม 2566 มีผูเขารวมประชุม จำนวน 12 คน - ครั้งที่ 4 วันที่ 28 กรกฎาคม 2566 มีผูเขารวมประชุม จำนวน 16 คน 24
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ปญหา/อุปสรรค - ไมมี - • ภาพกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแกไขปญหาการดำเนินงานของสหกรณ และกลุมเกษตรกรที่มีขอบกพรอง (จกบ.) ภาพกิจกรรม : การประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแกไขปญหาการดำเนินงานของสหกรณ และกลุมเกษตรกรที่มีขอบกพรอง (จกบ.) ณ หองประชุมสำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรัง ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 2.4) การชำระบญัชสีหกรณ/กลมุเกษตรกรในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 • เปาหมาย การดำเนินงานการชำระบัญชีสหกรณและกลุมเกษตรกร ของสำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 13 แหง ประกอบดวยสหกรณ/กลุมเกษตรกร ที่ตองดำเนินการชำระบัญชีตาม ขั้นตอนที่กำหนดตามคูมือการชำระบัญชีปกติ จำนวน 11 แหง แยกเปนสหกรณ 9 แหง และกลุมเกษตรกร 2 แหง และมีสหกรณที่ยื่นคำรองขอตอศาลใหสั่งลมละลาย และอยูระหวางคดีจำนวน 2 แหง 25
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ตารางท ี่ 5 แสดงรายชื่อสหกรณ/กลุมเกษตรกรที่อยูระหวางการชำระบัญชีประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ที่ สหกรณ/กลมุเกษตรกร ขนั้ตอนการชำระบญัชี สหกรณ 11 แหง 1. สหกรณการเกษตรสิเกา จำกดัขั้นตอนที่6 ดำเนินการจัดการทรพัยสินและหนี้สิน 2. สหกรณกองทุนสวนยางหนองยายแม็ม จำกัด ขั้นตอนที่6 ดำเนินการจัดการทรพัยสินและหนี้สิน 3. สหกรณบริการผรูักษปาตนน้ำตรัง จำกัด ขั้นตอนที่6 ดำเนินการจัดการทรพัยสินและหนี้สิน 4. สหกรณกองทุนสวนยางทุงควน จำกัด ขั้นตอนที่6 ดำเนินการจัดการทรพัยสินและหนี้สิน 5. สหกรณกองทุนสวนยางหนองมวง จำกัด ขั้นตอนที่6 ดำเนินการจัดการทรพัยสินและหนี้สิน 6. สหกรณการเกษตรศภุนิมติวังวเิศษ จำกัด ขั้นตอนที่6 ดำเนินการจัดการทรพัยสินและหนี้สิน 7. สหกรณเครดิตยูเนี่ยนทากลางตรัง จำกัด ขั้นตอนที่ 2 รับมอบทรัพยสิน และจัดทำงบการเงิน ม. 80 8. สหกรณกองทุนสวนยางยานซื่อ จำกัด ขั้นตอนที่6 ดำเนินการจัดการทรพัยสินและหนี้สิน (ศาลพิพากษายกเลิกลมละลาย) 9. สหกรณสหกรณรถยนตโดยสารตรงัจำกัด ขั้นตอนที่1 เลิกสหกรณฯ เมื่อวันที่12 กรกฎาคม 2565 10. สหกรณกองทุนสวนยางบานนางอ จำกัด ขั้นตอนที่6 ดำเนินการจัดการทรพัยสินและหนี้สิน (ระหวางคดี : กพส.บังคับคดียึดทรัพย) 11. สหกรณกองทุนสวนยางบานปะเหลียน จำกัด ขั้นตอนที่6 ดำเนินการจัดการทรพัยสินและหนี้สิน (ศาลพิพากษาลมละลาย) กลมุเกษตรกร 2 แหง 12. กลุมเกษตรกรทำประมงบอหิน ขั้นตอนที่6 ดำเนินการจัดการทรพัยสินและหนี้สิน 13. กลุมเกษตรกรทำสวนหนองตรดุขั้นตอนที่3 ดำเนินการจัดสงงบการเงิน ม. 80 ใหผูสอบบัญชี เปาหมายการชำระบัญชีสหกรณและกลุมเกษตรกร ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใหไดรอยละ 25 ของสหกรณและกลุมเกษตรกรทั้งหมดที่อยูระหวางการชำระบัญชี ไมรวมสหกรณและกลุมเกษตรกรที่อยูใน ขั้นตอนที่ 6 (ระหวางคดี จำนวน 2 แหง) สามารถถอนชื่อได คือเปาหมายการชำระบัญชีใหสามารถถอนชื่อได อยางนอยจำนวน 3 แหง • ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรัง ไดดำเนินการชำระบัญชีตามกระบวนการดำเนินงานการชำระบัญชี สหกรณ/กลุมเกษตรกร ดังนี้ 1) ผูชำระบัญชีสหกรณ/กลุมเกษตรกร กำหนดแผนการดำเนินงานการชำระบัญชีประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 เสนอตอนายทะเบียนสหกรณ/นายทะเบียนกลุมเกษตรกรประจำจังหวัด และกำหนด เปนตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน โดยดำเนินการกำหนดแผนการชำระบัญชีตามขั้นตอนที่กำหนดในคูมือการชำระ บัญชี 26
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2) มอบหมายกลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณ ใหคำปรึกษา แนะนำ และประสานงานกับ หนวยงานภายนอก กรณีที่ผูชำระบัญชีพบปญหาอุปสรรคในการชำระบัญชี เพื่อใหการชำระบัญชีมีความถูกตอง และครบถวน 3) ประชุมติดตามการชำระบัญชีสหกรณและกลุมเกษตรกรเปนประจำทุก 2 เดือน/ครั้ง 4) รายงานผลการติดตามความกาวหนาในการชำระบัญชีสหกรณและกลุมเกษตรกร พรอม ปญหาอุปสรรคเปนประจำทุกเดือน และผูชำระบัญชีรายงานความเคลื่อนไหวระหวางการชำระบัญชีตอนายทะเบียน สหกรณ ทุกระยะ 6 เดือน พรอมจัดสงรายงานใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งนี้การชำระบัญชีสหกรณและกลุมเกษตรกร ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงาน สหกรณจังหวัดตรัง มีผลสำเร็จในการชำระบัญชีสหกรณซึ่งสามารถดำเนินการถอนชื่อสหกรณออกจากทะเบียน ได จำนวน 3 แหง ดังนี้ ตารางที่ 6 แสดงผลสำเร็จในการชำระบัญชีสหกรณสามารถดำเนินการถอนชื่อสหกรณออกจากทะเบียน ที่ สหกรณ/กลุมเกษตรกร วันที่ถอนชื่อ 1. สหกรณบริการผูรกัษปาตนนำ้ตรัง จำกัด วันที่3 มีนาคม 2566 2. สหกรณกองทุนสวนยางทุงควน จำกัด วันที่ 20 มีนาคม 2566 3. สหกรณกองทุนสวนยางหนองมวง จำกัด วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 จากตารางที่ 6 สหกรณ/กลุมเกษตรกร ที่อยูระหวางการชำระบัญชีขั้นตอนที่ 3 - 4 ยกระดับสู ขั้นตอนที่ 5 จำนวน ไดจำนวน 1 แหง คือ กลุมเกษตรกรทำสวนหนองตรุด ซึ่งตนปงบประมาณการชำระบัญชี อยูขั้นตอนที่ 2 ดำเนินการสงงบการเงิน ม. 80 ใหผูสอบบัญชี สามารถยกระดับสูขั้นตอนที่ 5 โดยไดดำเนินการจัด ประชุมใหญเพื่ออนุมัติงบการเงิน ม. 80 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2566 ปจจุบันการชำระบัญชีอยูขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการทรัพยสินและหนี้สิน ดังนั้น เมื่อสิ้นปงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีสหกรณ/กลุมเกษตรกร ที่อยูระหวางการชำระบัญชี ณ วันที่30 กันยายน 2566 รวมจำนวน 10 แหง แยกเปน สหกรณจำนวน 8 แหง (สหกรณชำระบัญชีตามปกติ จำนวน 6 แห ง และอย ู ระหว างคด ี จำนวน 2 แห ง) และกล ุ มเกษตรกร จำนวน 2 แห ง ดังตอไปนี้ 27
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ตารางที่ 7 แสดงรายชื่อสหกรณ/กลุมเกษตรกร ที่อยูระหวางการชำระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2566 ที่ สหกรณ/กลมุเกษตรกร ขั้นตอนการชำระบญัช ี ณ วนัที่ 1 ตลุาคม 2565 ความกาวหนา/ขนั้ตอน ณ วนัท ี่30 กนัยายน 2566 สหกรณ 11 แหง (สหกรณช ำระบญัชตีามปกต ิจำนวน 9 แหง และอยรูะหวางคด ีจำนวน 2 แหง) 1. สหกรณการเกษตรสิเกา จำกดั ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ 2. สหกรณกองทุนสวนยางหนองยายแม็ม จำกัด ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ 3. สหกรณการเกษตรศภุนิมติวังวเิศษ จำกัด ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ 4. สหกรณเครดิตยูเนี่ยนทากลางตรัง จำกัด ขั้นตอนที่ 2 รับมอบทรัพยสิน และจัดทำงบการเงนิม. 80 ขั้นตอนที่ 2 จัดทำงบการเงิน ม. 80 5. สหกรณกองทุนสวนยางยานซื่อ จำกัด ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ (ศาลพิพากษายกเลิกลมละลาย) ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ 6. สหกรณรถยนตโดยสารตรัง จำกัด ขั้นตอนที่ 1 เลิกสหกรณฯ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2565 ขั้นตอนที่ 2 รับมอบทรัพยสิน และจัดทำงบการเงนิม. 80 7. สหกรณกองทุนสวนยางบานนางอ จำกัด ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ (ระหวาง คดี: กพส.บังคับคดียดึทรัพย) ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ (ระหวาง คดี: กพส.บังคับคดียดึทรัพย) 8. สหกรณกองทุนสวนยางบานปะเหลียน จำกัด ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ (ศาลพิพากษาลมละลาย) ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ (ศาลมีคำสั่งปดคดีลมละลาย) กลมุเกษตรกร 2 แหง 9. กลุมเกษตรกรทำประมงบอหิน ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ 10. กลุมเกษตรกรทำสวนหนองตรดุ ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการจัดสง งบการเงิน ม. 80 ใหผูสอบบัญชี ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการ ทรัพยสินและหนสี้นิ 28
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ผลลพัธเชิงปรมิาณ การชำระบัญชีสหกรณและกลุมเกษตรกร ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานสหกรณ จังหวัดตรัง มีผลสำเร็จในการชำระบัญชีสหกรณ/กลุมเกษตร ซึ่งสามารถดำเนินการถอนชื่อสหกรณออกจาก ทะเบียนได จำนวน 3 แหง คิดเปนรอยละ 27.27 ของสหกรณ และกลุมเกษตรกรทั้งหมดที่อยูระหวางการชำระ บัญชี จำนวน 11 แหง ไมรวมสหกรณและกลุมเกษตรกรที่อยูใน ขั้นตอนที่ 6 (คดี) ผลลพัธเชงิคณุภาพ จากเปาหมายตามตัวชี้วัดการชำระบัญชีฯ ดังกลาวขางตน สำนักงานสหกรณจังหวัดตรังสามารถ ดำเนินการถอนชื่อสหกรณออกจากทะเบียนได จำนวน 3 แหง คิดเปนรอยละ 27.27 ซึ่งผลการดำเนินงานสูง กวาเปาหมายตามตัวชี้วัดใหถอนชื่อไดรอยละ 25 ของสหกรณและกลุมเกษตรกรทั้งหมดที่อยูระหวางการชำระ บัญชีไมรวมสหกรณและกลุมเกษตรกรที่อยูระหวาง (คดี) เนื่องจาก การชำระบัญชีสหกรณและกลุมเกษตรการ สวนใหญอยูในขั้นตอนที่ 6 การดำเนินการจัดการทรัพยสินและหนี้สิน ซึ่งจะสามารถดำเนินการไดยากในแตละ กรณีตาง ๆ กันไป อาทิเชน การติดตามลูกหนี้ ใหชำระหนี้ เงินสด เงินฝากหรือทรัพยสินมีไมเพียงพอในการ ติดตามหนี้หรือเปนคาใชจายในการดำเนินการชำระบัญชีตาง ๆ การดำเนินการขายทอดตลาดทรัพยสิน การ ชำระหนี้แกเจาหนี้ไมเพียงพอ การดำเนินคดีหรือการรองขอตอศาลใหสั่งลมละลาย เปนตน ซึ่งเปนขั้นตอนที่ จำเปนตองใชระยะเวลาดำเนินการที่นาน ทั้งนี้ ผลการชำระบัญชีมีสหกรณและกลุมเกษตรกร ที่สามารถ ดำเนินการชำระบัญชีเลื่อนขั้นตอนจาก ตนปงบประมาณได จำนวน 5 แหง ซึ่งถือไดวาการดำเนินการชำระ บัญชีสหกรณและกลุมเกษตรกรของสำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง มีผลสำเร็จและมีความกาวหนาพอสมควร • ปญหา/อุปสรรค 1) ปญหาขั้นตอนการรับมอบทรัพยสินและการจัดทำงบการเงิน มาตรา 80 และผูสอบบัญชีรับรอง งบการเงิน มาตรา 80 ซึ่งมีปญหาสหกรณไมไดสงมอบทรัพยสินหรือติดตอผูสงมอบทรัพยสินไมได ไดรับมอบ เอกสารที่ไมสมบูรณและรายละเอียดไมครบถวน เอกสารสูญหาย ทำใหตองใชระยะเวลานานในการจัดทำงบ การเงิน และในสวนงบการเงินที่จัดสงแลว ผูสอบบัญชีตั้งขอสังเกตการสอบบัญชี โดยใหยืนยันยอดลูกหนี้ เงิน รับฝาก และทุนเรือนหุน 100% ปญหาสำหรับสหกรณ ที่เลิกนานแลวและมีสมาชิกจำนวนมากที่ไมสามารถ ติดตอไดซ่งึปจจุบันบางรายไดยายที่อยอาศัย และเสียชีวิต ู แนวทางแกไข ประสานงานผูสอบบัญชีโดยตรงเพื่อรวมกันแกไขปญหาเพื่อใหสามารถจัดทำการปดงบ การเงินได จัดทำบันทึกถอยคำผูที่เกี่ยวของ สอบถามที่อยูอาศัยของสมาชิก ดำเนินการขอที่อยูอาศัยของ สมาชิกจากทะเบียนราษฎร จากอดีตคณะกรรมการและเจาหนาที่ของสหกรณและแจงความในกรณีเอกสารสูญ หาย เพื่อใชประกอบเปนหลักฐานในการตรวจสอบรับรองของผูสอบบัญชี 2) ปญหาขั้นตอนการดำเนินการจัดการทรัพยสินและหนี้สิน ดังนี้ - การติดตามลูกหนี้ใหชำระหนี้ หนี้ขาดอายุความ ไมสามารถติดตอลูกหนี้ได ลูกหนี้หลีกเลี่ยงที่จะไม พบปะกับผูชำระบัญชี หากมีการฟองรองดำเนินคดี ไมคุมกับคาใชจายในการดำเนินคดีกับลูกหนี้ รวมทั้ง ใช ระยะเวลานาน 29
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร - เงินสด เงินฝากหรือทรัพยสินคงเหลือมีไมเพียงพอในการติดตามหนี้หรือเปนคาใชจายใน การดำเนินการชำระบัญชีตาง ๆ เชน คาจัดสงหนังสือถึงสมาชิกทางไปรษณีย - การดำเนินการขายทอดตลาดทรัพยสิน กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินแตละสวนเปนของ หนวยงานที่เกี่ยวของและสหกรณซ่งึตองปรึกษาหนวยงานที่เกี่ยวของในการดำเนินการ รวมถึงเมื่อประกาศขาย ทอดตลาดทรัพยสินแลวไมมีผูประสงคประมูลราคาทรัพยสินดังกลาว - การวินิจฉัยการดำเนินการชำระบัญชีของแตละหนวยงานไมตรงกัน เชน ในกรณี ทรัพยสินสวนที่เหลือจากการชำระบัญชี สหกรณไมมีภาระในการจายชำระหนี้แกเจาหนี้แลว และไดจายเงินคา หุนคืนใหแกสมาชิกเสร็จสิ้นแลว สหกรณม ีความประสงคมอบทรัพยสินที่เหลือดังกลาว ใหแกสหกรณอื่นเพื่อใช ประโยชนตอไป ทั้งนี้ ตามคำแนะนำของนายทะเบียนสหกรณ เรื่อง วิธีปฏิบัติในการชำระบัญชีสหกรณ พ.ศ. 2546 การจัดการเกี่ยวกับทรัพยสิน ใหผูชำระบัญชีตรวจสอบสภาพและจัดการจำหนายทรัพยสิน - มีเงินคงเหลือไมเพียงพอในการจายชำระหนี้แกเจาหนี้ ทำใหมีการดำเนินคดีหรือการรองขอ ตอศาลใหสั่งลมละลาย และเงินคงเหลือไมเพียงพอในการคืนคาหุนแกสมาชิก แนวทางแกไข ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของตาง ๆ เพื่อใหการชำระบัญชี สหกรณ/ กลุมเกษตรกร มีความถูกตองครบถวน 3) สภาวะทางเศรษฐกิจ และราคาผลผลิตทางการเกษตรมีความผันผวนตกต่ำซึ่งสงผลกระทบตอ รายไดของสมาชิกทำใหไมสามารถชำระหนี้ได แนวทางแกไข ติดตามชำระหนี้อยางตอเนื่อง โดยติดตามทวงถามหนี้จนถึงที่สุด เอกสาร ทวงหนี้เปนลายลักษณอักษร และภาพถายเพื่อเปนหลักฐาน และควรประสานงานผูสอบบัญชีโดยตรง • ภาพกิจกรรม : การประชุมผูชำระบัญชีสหกรณ/กลุมเกษตรกร เพื่อติดตามผลการชำระบัญชีและรับ ฟงปญหาอุปสรรคการชำระบัญชีสหกรณ/กลุมเกษตรกร ภาพกิจกรรม : การประชุมติดตามความกาวหนา และปญหาอุปสรรคในการชำระบัญชีสหกรณ และกลุมเกษตรกร 30
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 3) งานสงเสรมิสหกรณและกลมุเกษตรกรใหผานเกณฑมาตรฐานของกรมสงเสรมิสหกรณ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 • เปาหมาย กรมสงเสริมสหกรณ ไดอนุมัติแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดานการสงเสริมและพัฒนาองคกร (1) สหกรณภาคการเกษตรที่นำมาจัดมาตรฐานผานเกณฑ มาตรฐาน ไมนอยกวารอยละ 80 จากสหกรณจำนวน 55 สหกรณ, สหกรณนอกภาคการเกษตรที่นำมาจัด มาตรฐานผานเกณฑมาตรฐาน ไมนอยกวารอยละ 80 จากสหกรณนอกภาค จำนวน 19 สหกรณ (2) กลุม เกษตรกรที่นำมาจัดเกณฑมาตรฐานผานเกณฑมาตรฐานกรมสงเสริมสหกรณไมนอยกวารอยละ 81จากกลุมเกษตรกร จำนวน 8 กลุม • ผลการดำเนนิงาน ขั้นตอนที่ 1 : ศึกษา วิเคราะหขอมูลพื้นฐานยอนหลังเปรียบเทียบมาตรฐานสหกรณและกลุม เกษตรกรแตละขอ ถาไมผานขอใดวิเคราะหปญหา สาเหตุ และวางแผนในการแนะนำสงเสริมตอไป ขั้นตอนที่2 : จัดประชุม Workshop วันที่10 มีนาคม 2566 ภายในสำนักงานสหกรณจ ังหวัดรวมกับ กลุมงานวิชาการ กลุมสงเสริมสหกรณ รวมวิเคราะหขอมูลตามขั้นตอนที่ 1 เพื่อหาแนวทางแกไขหรือแนวทาง ดำเนินงาน ขั้นตอนที่3 : กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณจัดทำเอกสารแนวทางการสงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกร กลุมสงเสริมสหกรณนำเขาที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ฝายจัดการ และแนะนำสงเสริมการปฏิบัติงาน ของสหกรณใหผานเกณฑมาตรฐานแตละขอ ขั้นตอนที่ 4 : สหกรณและกลุมเกษตรกรประชุมใหญสามัญประจำป เจาหนาที่สงเสริมสหกรณที่ รับผิดชอบประเมินมาตรฐานในระบบและรายงาน (กระดาษ) กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณตรวจสอบและ พิมพแบบประเมินรายงานสหกรณจ ังหวัด ขั้นตอนที่ 5 : ติดตามและรายงานผลในที่ประชุมเปนประจำทุกเดือน 31
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ผลลพัธเชงิปรมิาณ ตารางท ี่8 แสดงผลลัพธเชิงปริมาณงานสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรใหผานเกณฑมาตรฐานของกรม สงเสริมสหกรณ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผลจากการสงเสริมสหกรณ หนวยนบั แผน ผล(ระดับมาตรฐาน) 1. สหกรณท ั้งหมด 84 แหง (1.1) สหกรณที่นำมาจัด มาตรฐานทั้งหมด จำนวน 74 แหง - สหกรณภาคการเกษตรผาน เกณฑมาตรฐาน - สหกรณนอกภาคการเกษตร ผานเกณฑมาตรฐาน แหง แหง ผานมาตรฐาน ไมนอย กวารอยละ 80 ผานมาตรฐาน ไมนอย กวารอยละ 80 นำมาจัดมาตรฐาน 55 แหง - ผานมาตรฐาน 19 แหง - ไมผานมาตรฐาน 36 แหง นำมาจัดมาตรฐาน 19 แหง - ผานมาตรฐาน 13 แหง - ไมผานมาตรฐาน 6 แหง (1.2) สหกรณท ี่ไมนำมาจัด มาตรฐานทั้งหมด จำนวน 10 แหง แหง - ตั้งใหมไมถึง 2 ป 2 แหง เลิก/ชำระบัญชี 8 แหง 2. กลุมเกษตรกรทั้งหมด 10 แหง (1.1) กลุมเกษตรกรที่นำมาจัด มาตรฐานทั้งหมด จำนวน 8 แหง ผานเกณฑมาตรฐาน แหง ผานมาตรฐาน ไมนอย กวารอยละ 81 นำมาจัดมาตรฐาน 8 แหง - ผานมาตรฐาน 3 แหง - ไมผานมาตรฐาน 5 แหง (1.2) กลุมเกษตรกรที่ไมนำมาจัด มาตรฐานทั้งหมด จำนวน 2 แหง แหง - เลิก/ชำระบัญชี 2 แหง ผลลัพธเชิงคุณภาพ 1. ทราบถึงสถานะและผลการดำเนินงานในภาพรวมเบื้องตนของสหกรณและกลุมเกษตรกร 2. สามารถกำหนดแนวทางการดำเนินงานหรือแนวทางการพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกรใหผาน มาตรฐานได โดยวิเคราะหหาสาเหตุและแกไขปรับปรุงใหผานเกณฑมาตรฐานขอนั้นๆ ได 3. ไดรับสิทธิพิเศษบางประการที่กรมสงเสริมสหกรณกำหนด 4. เปนขอมูลพื้นฐานและเปนชองทางใหภาครัฐเขาไปชวยเหลือไดตรงตามความตองการที่แทจริง และการเปนสหกรณและกลุมเกษตรกรที่ไดมาตรฐานจะไดรับความเชื่อถือและการยอมรับ 5. สมาชิกมีความพึงพอใจและความศรัทธาตอสถาบันเกษตรกร และสมาชิกเขามามีสวนรวมในการ ดำเนินธุรกิจการบริหารจัดการที่เปนไปตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ 6. เจาหนาที่สงเสริมสหกรณสามารถนำไปใชเปนขอมูลในการสงเสริมและพัฒนา 32
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ปญหา/อุปสรรค 1. คณะกรรมการดำเนินการขาดความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการ มีภารกิจหลายดาน มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนกรรมการ ขาดบุคลากรที่มีความรูความสามารถ จึงควรใหการศึกษาอบรม คณะกรรมการดำเนินการ ใหมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่และการบริหารงาน 2. ผูตรวจสอบกิจการที่มีคุณสมบัติตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณยังมีไมเพียงพอและไมเขาใจ บทบาทหนาที่ของตนเอง และยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องขอบังคบัระเบียบ ตลอดจนเรื่องบัญชีจึงควรให การศึกษาอบรมผูตรวจสอบกิจการเพิ่มเติมและใหความรู ความเขาใจในบทบาทหนาที่ของผูตรวจสอบกิจการ และการรายงานผลการตรวจสอบกิจการ 3. สมาชิกสังกัดหลายองคกร สหกรณและกลุมเกษตรกรมีการบริการดานธุรกิจนอย จึงไปใชบริการ จากองคกรอื่น สมาชิกขาดการติดตอหรือไมรวมทำธุรกิจกับสหกรณ สหกรณไมมีการจัดทำขอมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับสมาชิก และขาดการประชาสัมพันธที่ดี สมาชิกขาดความเชื่อมั่นและศรัทธา และขาดความรู ความเขาใจในระบบของสหกรณและกลุมเกษตรกร จึงควรใหความรูแกสมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกร เกี่ยวกับสิทธิ หนาที่ของการเปนสมาชิก และเขาใจถึงหลักการ อุดมการณ และวิธีการสหกรณที่แทจริง ภาพกจิกรรม : งานสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรใหผานเกณฑมาตรฐานของกรมสงเสริมสหกรณ ภาพกิจกรรม : การประชุมกิจกรรมเพื่อติดตามผลการสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรสูมาตรฐาน 33
รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 4) งานสงเสรมิและพฒันาสหกรณและกลมุเกษตรกรสดู ีเดนแหงชาต ิ • เปาหมาย พัฒนาสงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของสหกรณและกลุมเกษตรกรสูดีเดน คัดเลือกสหกรณและ กลุมเกษตรกรที่มีผลการดำเนินงานดีเดน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนด สหกรณ/กลุมเกษตรกร จำนวน 7 แหง ไดแก 1) สหกรณการเกษตรนาโยง จำกัด 2) สหกรณการเกษตรเมืองตรัง จำกัด 3) สหกรณออมทรัพยสาธารณสุข จำกัด 4) สหกรณออมทรัพยโรงพยาบาลตรัง จำกัด 5) สหกรณออมทรัพย ร.15 พัน 4 จำกัด 6) กลุมเกษตรกรทำสวนลิพัง 7) กลุมเกษตรทำสวนนาวง ตัวชี้วดั 1) จำนวนสหกรณภาคการเกษตรที่เสนอเขารับการคดัเลือกเปนสหกรณดีเดนแหงชาติจำนวน 1แหง 2) จำนวนสหกรณนอกภาคการเกษตรที่เสนอเขารับการคัดเลือกเปนสหกรณดีเดนแหงชาติ จำนวน 1 แหง 3) จำนวนกลุมเกษตรกรที่เสนอเขารับการคัดเลือกเปนกลุมเกษตรกรดีเดนแหงชาติ จำนวน 1 แหง • ผลการดำเนินการ 1) ศึกษารายละเอียดงานการพัฒนาและสงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรสูดีเดนในป 2566/2567 และ วิเคราะหขอมูลสหกรณและกลุมเกษตรกร เพื่อเปนฐานขอมูลคัดเลือกเปาหมาย 2) ประสานงาน ชี้แจงโครงการแกกลุมสงเสริมสหกรณเพื่อกลุมสงเสริมสหกรณเสนอรายชื่อสหกรณ/ กลุมเกษตรกรที่มีความพรอมเขารวมโครงการฯ 3) ชี้แจงแนวทางการดำเนินการคัดเลือกสหกรณ/กลุมเกษตรกรที่มีผลงานดีเดนเพื่อเสนอเขารับ การคัดเลือกเปนสหกรณ/กลุมเกษตรกรดีเดนแหงชาติ ประจำป 2566/2567 ใหแกสหกรณและกลุมเกษตรกร ในจังหวัด โดยการเขารวมการประชุมคณะกรรมการดำเนินงานของสหกรณและกลุมเกษตรกร 4) แนะนำ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรเปาหมาย สูสหกรณ/กลุมเกษตรกรดีเดน 5) ชี้แจงหลักเกณฑการคัดเลือก และแนวทางการสงเสริมสหกรณสูดีเดน โดยใชฐานขอมูล ผลการ ใหคะแนนสหกรณที่เขารับการคัดเลือกเปนสหกรณดีเดนในป 2566/2567 เพื่อการพัฒนาสหกรณให สอดคลองกับเกณฑในการคดัเลือก 6) จัดประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื่อคัดเลือกสหกรณและกลุมเกษตรกรดีเดนแหงชาติ ระดับ จังหวัด ประจำป 2566/2567 ในวันที่ 25 สิงหาคม 2566 ณ สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ซึ่งมีบุคลากรของหนวยงานภายนอก ประกอบดวย ผูแทนสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณตรัง ผูแทน สำนักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดตรัง และผูแทน ธ.ก.ส. จังหวัดตรัง รวมเปนคณะกรรมการดวย โดยมี 34