The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sirawadee1987, 2024-02-02 02:48:09

2024annualTrang

2024annualTrang

รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร นายสมศักดิ์ บุญโยม สหกรณจังหวัดตรัง เปนประธานการประชุม และ นายจรวย ภูมิชาติ ผูอำนวยการกลุม จัดตั้งและสงเสริมหสกรณเปนผูนำเสนอผลงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกรที่เขารับการคัดเลือกเพื่อใหที่ประชุม พิจารณา ที่ประชุมไดพิจารณาคัดเลือกสหกรณการเกษตรนาโยง จำกัด เปนสหกรณดีเดนระดับจังหวัด ประเภทสหกรณภาคการเกษตร และพิจารณาคัดเลือกกลุมเกษตรกรทำสวนนาวง เปนกลุมเกษตรกรดีเดน ระดับจังหวัด ประเภทกลุมเกษตรกรทำสวน การไดรับการคัดเลือกเปนสหกรณกลุมเกษตรกรดีเดน แสดงให เห็นวาสหกรณ/กลุมเกษตรกรนั้นๆ มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนใหสมาชิกมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น 7)รายงานผลการดำเนินงานถึงกรมสงเสริมสหกรณตามเวลาที่กำหนด ผลสำเร็จจากการดำเนินงาน/โครงการ และประโยชนที่กลุมเปาหมายไดรับสามารถคัดเลือกสหกรณ /กลุมเกษตรกรสงเขาประกวด 5 แหง ดังนี้1. สหกรณการเกษตรนาโยง จำกัด , 2.สหกรณการเกษตรเมืองตรัง จำกัด, 3.สหกรณออมทรัพยร.15 พัน 4 จำกัด , 4.กลุมเกษตรกรทำสวนลิพง และ 5.กลุมเกษตรทำสวนนาวง ั ประโยชนที่กลุมเปาหมายไดรับ เชิงปริมาณ สหกรณ/กลุมเกษตรกรเขารับการคัดเลือกเปนสหกรณและกลุมเกษตรกรดีเดนแหงชาติ ประจำป 2566/2567 รวม 5 แหง และไดรับคัดเลือกเปนสหกรณและกลุมเกษตรกรดีเดนแหงชาติ ระดับ จังหวัด ประจำป2566/2567 จำนวน 2 แหง คือ สหกรณการเกษตรนาโยง จำกัด และกลุมเกษตรกร ทำสวนนาวง เชิงคุณภาพ 1) บุคลากรของสหกรณที่ไดรับคัดเลือกเปนสหกรณดีเดน ไดรับขวัญกำลังใจในการสรางผลงานที่ เปนประโยชนตอสวนรวม 2) จังหวัดตรังมีสหกรณท ี่มีผลงานซึ่งสามารถเปนแบบอยางใหแกสหกรณอื่นๆ • ปญหา/อปุสรรค -ไมมี- 35


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ภาพกิจกรรม : สงเสริมและพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกรสูดีเดนแหงชาติ ภาพกิจกรรม : การเขารวมประชุมคณะกรรมการดำเนินการของสหกรณและกลุมเกษตรกรในพื้นที่ จังหวัดตรังเพื่อประชาสัมพันธชี้แจงแนวทางการคัดเลือกสหกรณและกลุมเกษตรกรดีเดนแหงชาติ 36


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติดานการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร แผนงานยุทธศาสตรการเกษตรสรางมลูคา 1.)โครงการ พฒันาศักยภาพการดำเนนิธุรกิจของสหกรณ กลุมเกษตรกร และธุรกิจชมุชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 • เปาหมาย อบรมเชิงปฏิบัติการตอยอดเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ พัฒนาศักยภาพและเพิ่ม ขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ/กลุมเกษตรกร ตลอดหวงโซอุปทานผูแทนสหกรณ (คณะกรรมการดำเนินการ และ/หรือ ผูจัดการ และ/หรือผูชวยผูจัดการ) ที่ถูกคัดเลือกจากการไดรับสนับสนุน อุปกรณที่เกี่ยวของกับธุรกิจรวบรวมและแปรรูปสินคาเกษตรในชวงปงบประมาณ พ.ศ.2560 - 2564 จากกรม สงเสริมสหกรณ จำนวน 2 สหกรณ สหกรณละ 5 คน รวมทั้งสิ้น 10 คน ประกอบดวยสหกรณการเกษตรทุงยาว จำกัด และสหกรณกองทุนสวนยางบานหนองครก จำกัด • ผลการดำเนินการ สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง จึงไดจัดทำโครงการ ภายใตโครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของ สหกรณ กลุมเกษตรกร และธุรกิจชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานธุรกิจรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูป ผลผลิต การเกษตรในสหกรณ 1) จัดอบรมหลักสูตร การตลาดสินคาเกษตร (ยางพารา) เปาหมาย (คณะกรรมการดำเนินการ และ/หรือ ผูจัดการ และ/หรือผูชวยผูจัดการของสหกรณการเกษตรทุงยาว จำกัด) จำนวน 5 ราย โดยวิธีการบรรยายให ความรูและฝกปฏิบัติ วิทยากรจากหนวยงานราชการ/ภาคเอกชน ประกอบดวยหัวขอวิชา การบริหารจัดการ การตลาดสินคาเกษตร (ยางพารา) การควบคุมคุณภาพและการปฏิบัติตามขอกำหนดมาตรฐาน GMP และการ เชื่อมโยงเครือขายเพื่อเพิ่มชองทางการตลาด 2) จัดอบรมหลักสูตร การตลาดสินคาเกษตร (สินคาแปรรูปจากยางพารา) เปาหมาย (คณะกรรมการ ดำเนินการ และ/หรือ ผูจัดการ และ/หรือผูชวยผูจัดการของสหกรณกองทุนสวนยางบานหนองครก จำกัด) จำนวน 5 ราย โดยวิธีการบรรยายใหความรูและฝกปฏิบัติ วิทยากรจากหนวยงานราชการ/ภาคเอกชน ประกอบดวยหัวขอวิชา Digital Brand/แบรนดและการสื่อสารแบรนดสำหรับสินคาเกษตร(สินคาแปรรูปจาก ยางพารา) ฝกปฏิบัติการสรางแบรนดสินคาใหเปนที่รูจักบนโลกออนไลนผานสื่อและแพลตฟอรมตางๆ ผลลพัธเชิงปริมาณ  - สหกรณภาคการเกษตรและกลุมเกษตรกรไดรับการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจและพัฒนา องคกร จำนวน 2 แหง - ผลการเบิกจายงบประมาณรอยละ 100 ผลลพัธเชิงคณุภาพ - สหกรณและกลุมเกษตรกรที่เขารวมโครงการสามารถใหผลตอบแทนแกสมาชิกในรูปแบบเงินเฉลี่ย คืนในธุรกิจเกษตร (รวบรวมและแปรรูป) มูลคาเพิ่มสูงขึ้นอยางนอยรอยละ 3 ไมบรรลุผลสำเร็จเนื่องจาก 37


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร สหกรณไมไดจัดสรรกำไรสุทธิเนื่องจากผลการดำเนินงานขาดทุน สำหรับสหกรณที่มีผลกำไรแตไมสามารถ จัดสรรไดเนื่องจากโอนผลกำไรไปชดเชยขาดทุนสะสม • ปญหา/อุปสรรค 1. สหกรณประสบปญหาดานธุรกิจรวบรวมผลิตผลยางพารา ซึ่งมีความผันผวนในดานราคาและ สหกรณไมสามารถกำหนดราคาขายไดดวยตนเอง ขึ้นอยูกับราคาตลาดกลางที่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงอยู ตลอดเวลา 2. ในปปญชี 2564 และ 2565 สหกรณมีผลกำไรสุทธิจากการดำเนินธุรกิจแตเนื่องจากสหกรณ ประสบปญหาขาดทุนสะสมจึงไมสามารถจัดสรรกำไรสุทธิประจำปได ทำใหไมบรรลุตัวชี้วัด แนวทางแกไข 1. พัฒนาคุณภาพผลิตผลยางพาราเพื่อสรางอำนาจในการตอรองราคารยางพารา 2. รายงานปญหาใหกรมสงเสริมสหกรณทราบเพื่อเปนแนวทางไปการกำหนดเปาหมายให สอดคลองกับตัวชี้วัด • ภาพกิจกรรม : พัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ กลุมเกษตรกร และธุรกิจชุมชน ประจำป งบประมาณ พ.ศ.2566 ภาพกิจกรรม : การจัดอบรมหลักสูตร ตลาดสินคาเกษตร (ยางพารา) ของสหกรณการเกษตรทุงยาว จำกัด ภาพกิจกรรม : จัดอบรมหลักสูตรการตลาดสินคาเกษตร (สินคาแปรรูปจากยางพารา) ของสหกรณกองทุนสวนยางบานหนองครก จำกัด 38


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.) โครงการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสนิคาเกษตร ป พ.ศ.2566 กิจกรรม : สงเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณและกลุมเกษตรกร (สำหรับพืชสมุนไพร) ปจจุบันพื้นที่จังหวัดตรัง มีสหกรณประเภทสหกรณการเกษตรที่เปนองคกรธุรกิจในระดับชุมชน เปนหลัก จำนวน 1 แหง ที่จะสามารถเปนแหลงผลิตสินคาเกษตรปลอดภัยเพื่อกระจายไปยังผูบริโภคทั่วไปได ดังนั้น การผลักดันสหกรณและกลุมเกษตรกรที่เปนองคการหลักในระดับชุมชน ใหเปนศูนยกลางรวบรวม ผลผลิตปลอดภัยรองรับปริมาณผลผลิตของสมาชิกเพื่อสงตอ ไปยังผูบริโภคตางๆ เพื่อใหการสงเสริมเกษตรปลอดภัยของสมาชิกสหกรณเปนไปอยางตอเนื่องและเห็นผลในรูปธรรม สำนักงานสหกรณจังหวัดจังหวัดตรัง จึงจัดทำโครงการอบรม “การยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินคาเกษตร ป 2566” เพื่อถายทอดองคความรูดานการสรางระบบการรับรองมาตรฐาน การสรางความเชื่อมั่นในการผลิต สินคาเกษตรปลอดภัย ดานความสำคัญและการตออายุ GAP ดานการรับประกันคุณภาพผลผลิตและการรักษา มาตรฐาน GAP และสงเสริมใหสถาบันเกษตรกรทำเกษตรปลอดภัยในการผลิตผักและผลไมใหมีคุณภาพได มาตรฐาน GAP ตามวิธีการที่ถูกตองตรงตามหลักวิชาการที่ไดรับการยอมรับดานคุณภาพและไดมาตรฐานตรง ตามความตองการของตลาด • วัตถุประสงค 1. เพื่อสงเสริมและพัฒนาองคความรูดานการผลิตของสมาชิกสหกรณภาคการเกษตรและกลุม เกษตรกรไปสูการตรวจรับรองการผลิตมาตรฐานเกษตรปลอดภัย 2. สรางโอกาสทางการตลาดใหสามารถมีชองทางการจำหนายไดทั้งในประเทศและตางประเทศ และสมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรตามโครงการไดรับการรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) 3. เพื่อสงเสริมใหสถาบันเกษตรกรทำเกษตรปลอดภัย จัดทำฐานขอมูลดานการเกษตรปลอดภัย รวมกับสมาชิกของสหกรณและกลุมเกษตรกร เพื่อการวางแผนการผลิต การตลาด และเชื่อมโยงสินคาเกษตร ปลอดภัย • ตัวชี้วัด เชิงปรมิาณ 1. สหกรณและกลุมเกษตรกรสงเสริมใหสมาชิกทำการเกษตรปลอดภัย จำนวน 1 แหง 2. สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรไดรับการสงเสริมทำการเกษตรปลอดภัย จำนวน 10 ราย เชิงคณุภาพ 1. รายไดของสมาชิกสหกรณที่เขารวมโครงการเพิ่มขึ้นเฉลี่ย (เทียบกับปกอน) ไมนอยกวารอยละ 3 2. มูลคาธุรกิจสินคาเกษตรปลอดภัยของสหกรณที่เขารวมโครงการเพิ่มขึ้นไมนอยกวารอยละ 3 เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินการ จำนวน 15 คน ประกอบดวย สมาชิกสหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด ที่ไดรับรองมาตรฐาน GAP ปงบประมาณ 2565 ภายใตโครงการสงเสริมและสนับสนุนสหกรณและกลุมเกษตรกรทำการเกษตรเพื่อเพิ่ม 39


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร มูลคา GAP ประจำปงบประมาณ 2564 จำนวน 10 คน วิทยากร เจาหนาที่สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ผูสังเกตการณและผูแทนสหกรณจำนวน 5 คน ณ สหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด อ.ปะเหลียน จ.ตรัง • ผลการดำเนินงาน 1. ศึกษาแผนงาน/คูมือแนวทางการขับเคลื่อนงานตามโครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินคา เกษตร ป 2566 2. วิเคราะหขอมูลในการจัดทำโครงการฯ 3. ประสานกลุมเปาหมาย ผูแทนสถาบันเกษตรกรและผูที่เกี่ยวของเขารวมโครงการฯ ตาม กำหนดเวลา 4. ประสานขอใชสถานที่ที่จะดำเนินการจัดโครงการฯ 5. ดำเนินการจัดอบรมดวยการบรรยายใหความรู โดยวิทยากรจากหนวยงานราชการ ประกอบดวย เนื้อหา ดังนี้ 1. ความสำคัญและการตออายุมาตรฐาน (GAP) การยื่นขอตรวจการรับรองการปฏิบัติทาง การเกษตรที่ดี (GAP) แบบกลุม 2. คุณภาพการผลิตและการรักษามาตรฐาน (GAP) 3. การวางแผนการผลิต การตลาด และการเชื่องโยงสินคาเกษตรปลอดภัย 4. สรุปและรายงานผลการจัดโครงการฯ 5. ติดตามและประเมินผลการดำเนินการ • ผลสำเร็จ เชงิปรมิาณ 1. สหกรณและกลุมเกษตรกรสงเสริมใหสมาชิกทำการเกษตรปลอดภัย จำนวน 1 แหง 2. สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรไดรับการสงเสริมทำการเกษตรปลอดภัย จำนวน 10 ราย 3. ผลการเบิกจายงบประมาณรอยละ 100 เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกร มีรายไดจากการผลิตสินคาปลอดภัยเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 62.72 2. มูลคาธุรกิจสินคาเกษตรปลอดภัยของสหกรณที่เขารวมโครงการเพิ่มขึ้นรอยละ 67.54 • งบประมาณ แผนงานและงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตร การเกษตรสรางมูลคา โครงการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินคาเกษตร กิจกรรมหลัก สงเสริมเกษตรปลอดภัย ในสหกรณและกลุมเกษตรกร กิจกรรมรอง สนับสนุนการทำการเกษตรปลอดภัยสำหรับสินคาผักและผลไม จำนวนเงินทั้งสิ้น 8,150.00 บาท (แปดพันหนึ่งรอยหาสิบบาทถวน) 40


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ปญหา/อปุสรรค สินคาของสหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด รายการ ชาพริกไทย ยังไมผานการรับรอง มาตรฐาน อย. ซึ่งสงผลใหสหกรณทำการตลาดไดคอนขางยาก เนื่องจากผูบริโภคยังไมมีความเชื่อมั่นในความ ปลอดภัยของสินคา ประกอบกับสหกรณขาดเงนิทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ  แนวทางแกไข 1. ดำเนินการจัดหาเงินทุนจากแหลงเงินทุนตางๆ เชน การระดมหุนและระดมเงินฝาก การขอรับการ สนับสนุนงบประมาณจากสวนราชการหรือสถานบันการเงนิอื่น 2. ดำเนินการตามขั้นตอนการขอรับรองมาตรฐาน อย. • ภาพกิจกรรม : โครงการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินคาเกษตร ป พ.ศ.2566 ภาพกิจกรรม : แสดงการจัดอบรมโครงการอบรม“การยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินคาเกษตร ป2566” ของสหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด 41


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 3.) โครงการ สงเสรมิสงเสริมระบบเกษตรแบบแปลงใหญ  กิจกรรม : สงเสริมเกษตรแบบแปลงใหญในสถาบันเกษตรกร • วตัถุประสงค เพื่อสงเสริมแปลงใหญมีการบริหารจัดการกลุมรวมกัน การรวมกลุมผลิต การจำหนาย ใหมี การบริหารจัดการรวมกันตลอดหวงโซ และจัดทำแผนการผลิต/การตลาด เพื่อลดตนทุนการผลิต และเพิ่ม ผลผลิต สำหรับแปลงใหญสหกรณ • ตัวชี้วัด 1. แปลงใหญทั่วไป แปลงใหญจัดตั้ง ป 64 จำนวน 14 แปลง 2. แปลงใหญสหกรณจำนวน 2 แปลง ประกอบดวย แปลงยางพารา 3. สหกรณกองทุนสวนยางหนองบัว จำกัด อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง และ 4. แปลงใหญกุงขาว สหกรณเพาะเลี้ยงสตัวน้ำ จำกัด อำเภอ ปะเหลียน จังหวัดตรัง • ผลการดำเนินงาน 1. แนะนำสงเสริม กำกับ รวมกับหนวยงานอื่น ๆ ในการถายทอดความรูดานการบริหาร จัดการกลุมสนับสนุนใหมีการเชื่อมโยงตลาด แปลงใหญทั่วไป แปลงจัดตั้ง ป 64 รวม 14 แปลง 2. จัดประชุมการบริหารจัดการรวมกันตลอดหวงโซ ในแปลงใหญสหกรณ จำนวน 2 แปลง • ผลสำเร็จ เชิงปรมิาณ 1. แปลงใหญทั่วไป ไดรับการถายทอดความรูดานการบริหารจัดการกลุมรวมกับหนวยงานอื่นๆ จำนวน 14 แปลง แปลงสหกรณ จำนวน 2 แปลง คิดเปนรอยละ 100 2. แปลงใหญสหกรณมีการบริหารจัดการรวมกันตลอดหวงโซ ในแปลงใหญสหกรณจำนวน 2 แปลง เชิงคุณภาพ การบริหารจัดการกลุมแปลงใหญ บริหารจัดการกลุมไดอยางมีคุณภาพ ดำเนินการจัดการ แปลงอยางตอเนื่อง ในเรื่องการรวมกลุมวางแผนการผลิต รวมกลุมซื้อปจจัยการผลิต มีการบริการจัดการกลุม ที่ชัดเจน โปรงใส สมาชิกมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ของกลุม • ปญหา/อปุสรรค เกษตรกรในกลุมแปลงใหญ บางสวนไมมีสวนรวมกับการทำกิจกรรมของกลุม ไมมีการรวมกันขาย แนวทางแกไข สงเสริมใหสมาชิกกลุมแปลงใหญมีการรวมกลุมในการทำกิจกรรมรวมกันขาย 42


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ภาพกิจกรรม : สงเสริมสงเสริมระบบเกษตรแบบแปลงใหญ ภาพ : ประชุมบริหารจัดการรวมกนัตลอดหวงโซแปลงใหญกุงขาวสหกรณเพาะเลี้ยงสตัวน้ำจังหวดัตรัง จำกดั ภาพ : ประชุมบริหารจัดการรวมกันตลอดหวงโซ แปลงใหญยางพาราสหกรณกองทุนสวนยางหนองบัว จำกัด ภาพ : แนะนำสงเสริม กำกับ รวมกับหนวยงานอื่น ๆ ในการถายทอดความรูดานการบริหารจัดการ กลุมสนับสนุนใหมีการเชื่อมโยงตลาด แปลงใหญทั่วไป แปลงจัดตั้ง ป 64 43


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 4.) โครงการ สงเสรมิการแปรรูปสินคาเกษตร กิจกรรม : สงเสริมการแปรรูปสินคาเกษตรในสหกรณและกลุมเกษตรกร กรมสงเสริมสหกรณไดเล็งเห็นความสำคัญในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร รวมไปถึงการ สรางเครือขายสินคาเกษตรแปรรูปของสถาบันเกษตรกร เพื่อใหเกิดการสรางเครือขายผูผลิตระหวางชนิดสินคา และขับเคลื่อนโดยระบบเครือขาย ซึ่งการดำเนินงานโครงการฯ ดังกลาว มีความสอดคลองกับแผนงานในการ สงเสริม ผลักดัน โดยการสรางเครือขาย การใหความรู การวิเคราะหผลิตภัณฑสินคาใหเปนไปตามความ ตองการของตลาด เพื่อสถาบันเกษตรกรไดเห็นถึงความสำคัญของการแปรรูป และกรณีที่กลุมสินคาที่มีชนิด เดียวกัน การสรางเครือขายการผลิตจะชวยใหสินคามีการพัฒนารวมกัน ลดตนทุนและกอใหเกิดการขับเคลื่อน โดยใหระบบเครือขาย ซึ่งคาดหวังสถาบันเกษตรกรหันมาดำเนินธุรกิจแปรรูปเพิ่มมูลคามากขึ้น ซึ่งทำใหมีการ รวบรวมผลผลิตจากสมาชิกมาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลคาเปนการสรางมูลคาสินคาใหมีราคาสูงขึ้นสอดคลองกับ ยุทธศาสตรชาติที่ตองการสรางเกษตรสรางมูลคา กรมสงเสริมสหกรณ จึงไดจัดทำโครงการสงเสริมการแปรรูปสินคาเกษตรในสถาบันเกษตรกรเพื่อ พัฒนาองคความรูสถาบันเกษตรกรดานการพัฒนากระบวนการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลคา รวมไปถึงการ สงเสริม สนับสนุนใหมีการสรางเครือขายตลาดแปรรูปสินคาเกษตรใหกับสถาบันเกษตรกร • วัตถุประสงค 1.เพื่อพัฒนาความรูเกษตรกรดานการพัฒนากระบวนการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลคา 2. เพื่อสรางเครือขายตลาดแปรรูปสินคาเกษตรใหกับสถาบันเกษตรกรใหมีความเขมแข็ง 3. เพื่อสนับสนุนองคความรูดานบรรจุภัณฑสินคาของสถาบันเกษตรกรใหเปนที่รูจักและ สอดคลองกับความตองการของตลาด 4. เพื่อเชื่อมโยงเครือขายตลาดแปรรูปสินคาเกษตรใหกับสถาบันเกษตรกร • ตัวชี้วัด เชิงปรมิาณ สถาบันเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ มีมูลคาเพิ่มขึ้นไมนอยกวารอยละ 10 จากการจำหนาย สินคาเกษตรแปรรูป เชิงคณุภาพ สถาบันเกษตรกร สรางเครือขายตลาดแปรรูปสินคาเกษตรใหกับสถาบันเกษตรกรใหมีความเขมแข็ง และเปนแหลงรวบรวมผลผลิตนำมาแปรรูปเพิ่มสูงขึ้น • เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินการ สหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด (สินคา พริกไทยชง) 44


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ผลการดำเนินงาน 1. ศึกษาแผนงาน/คูมือแนวทางการขับเคลื่อนงานตามโครงการสงเสริมการแปรรูปสินคาเกษตร ประจำปงบประมาณ 2566 2. ประสานกลุมเปาหมาย ผูแทนสถาบันเกษตรกรและผูที่เกี่ยวของเขารวมโครงการฯ ตามกำหนดเวลา 3. รวมประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการและกิจกรรมตามโครงการ แกเจาหนาที่สำนักงานสหกรณ จังหวัดและสถาบันเกษตรกรที่เขารวมโครงการฯ ผานระบบ Zoom 4. สงเสริมองคความรูดานการวิเคราะหตลาดหรือการแปรรูปหรือการจัดทำบรรจุภัณฑหรือการสราง เครือขายการผลิตและการตลาดภายในจังหวัด 5. รวมประชุมสรางเวทีเจรจาทางการคาเพื่อเชื่อมโยงตลาดระหวางสหกรณผูผลิตและ ผูซื้อเพื่อทำ แผนการรับซื้อผลผลิตรวมกัน รวมไปถึงจัดตั้งคณะกรรมการบริหารงานเครือขายตามกลุมชนิดสินคาโดย รวมกันทำกิจกรรมและขับเคลื่อนตามแผนงานที่กำหนดไวรวมกัน 6. สรุปและรายงานผลการจัดโครงการฯ 7. ติดตามและประเมินผลการดำเนินการ • ผลสำเร็จ เชงิปรมิาณ 1. สหกรณและกลุมเกษตรกรไดรับการสงเสริมและสนับสนุนดานการแปรรูปผลผลิต จำนวน 1 แหง 2. ผลการเบิกจายงบประมาณรอยละ 100 เชิงคุณภาพ 1. สหกรณและกลุมเกษตรกรที่เขารวมโครงการมีมูลคาการจำหนายสินคา/ผลิตภัณฑแปรรูปเพิ่มขึ้น รอยละ 40.45 • งบประมาณ แผนงานและงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตรการเกษตร สรางมูลคา โครงการ สงเสริมการแปรรูปสินคาเกษตร กิจกรรมหลัก สงเสริมการแปรรูปสินคาเกษตรในสหกรณ และกลุมเกษตรกร จำนวนเงินทั้งสิ้น 8,800.00 บาท (แปดพันแปดรอยบาทถวน) • ปญหา/อปุสรรค สินคาของสหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด รายการ ชาพริกไทย ยังไมผานการรับรองมาตรฐาน อย. ซึ่งสงผลใหสหกรณทำการตลาดไดคอนขางยาก เนื่องจากผูบริโภคยังไมมีความเชื่อมั่นในความปลอดภัยของ สินคา ประกอบกับสหกรณขาดเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ 45


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร แนวทางแกไข 1. ดำเนินการจัดหาเงินทุนจากแหลงเงินทุนตางๆ เชน การระดมหุนและระดมเงินฝาก การขอรับการ สนับสนุนงบประมาณจากสวนราชการหรือสถานบันการเงนิอื่น 2. ดำเนินการตามขั้นตอนการขอรับรองมาตรฐาน อย. • ภาพกิจกรรม : โครงการ สงเสริมการแปรรูปสินคาเกษตร ภาพกิจกรรม : แสดงการเขารวมประชุมสรางเวที/เจรจาทางการคาเพื่อเชื่อมโยงตลาดระหวางสหกรณผูผลิต และผูซื้อเพื่อทำแผนการรับซื้อผลผลิตรวมกัน ณ โรงแรมเอส.ดี.อเวนิว กรุงเทพมหานคร 46


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ยุทธศาสตรชาตดิานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงัคม แผนแมบทภายใตยทุธศาสตรชาตดิานการดำเนินภารกิจยทุธศาสตรเพอื่สนับสนนุยุทธศาสตร  แผนงานยุทธศาสตร แผนงานยุทธศาสตรเพอื่สนับสนุนดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 1) โครงการแกไขปญหาหนสี้นิและพฒันาคณุภาพชีวติสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกรดวยระบบสหกรณ  • วตัถุประสงค 1. เพื่อสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรมีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อสงเสริมใหสมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรมีความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ของตนเอง 3. เพื่อเสริมสรางรายไดใหแกสมาชิก โดยผานกลไกการใหบริการของสหกรณหรือกลุมเกษตรกร • ตัวชี้วัด 1. สหกรณและกลุมเกษตรกรที่มีหนี้คาง (NPL) ไดรับการสงเสริมใหมีการบริหารจัดการ สินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 2. สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรผูเขารวมโครงการมีภาระหนี้คางลดลงเฉลี่ยรอยละ 10 • เปาหมาย/ พื้นที่ดำเนินงานการ 1. สหกรณภาคการเกษตรและกลุมเกษตรกรที่มีความเขมแข็งอยูในระดับชั้น 1 และระดับชั้น2 ใน ปงบประมาณ 2565 2. เปนสหกรณภาคการเกษตรและกลุมเกษตรกร ที่สมาชิกมีหนี้คางชำระ/หนี้ผิดนัดชำระ/ หนี้ไมกอใหเกิดรายได 3. เปนสหกรณภาคการเกษตรและกลุมเกษตรกร ที่ไมเคยเขารวมโครงการแกไขปญหา หนี้คาง ชำระของสมาชิกสหกรณ ในป 2562 - 2565 ที่จัดโดยกรมสงเสริมสหกรณ ยกเวนในจังหวัด/พื้นที่ ไมมี สหกรณ หรือกลุมเกษตรกรเปาหมายใหม อาจใหสหกรณ/กลุมเกษตรกรที่เคยเขารวมโครงการเดิม สามารถ ขับเคลื่อน ตอในป 2566 • ผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนการแกไขปญหาหนี้คางของสมาชิกใหเห็นผลสำเร็จอยางเปนรูปธรรม โดยดำเนินการ ดังนี้ 1. สำนักงานสหกรณจังหวัด รวมรับฟงการชี้แจงแนวทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนโครงการ 2. แตงตั้งคณะทำงาน/ทีมงาน 2.1 การแตงตั้งคณะทำงานแกไขปญหาหนี้คางชำระของสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกร เพื่อคัดเลือกสหกรณ/กลุมเกษตรกรเปาหมายเพื่อเขารวมโครงการ วางแผนและกำหนดแนวทางปฏิบัติในการ ขับเคลื่อนการแกไขปญหาหนี้ของสหกรณ/กลุมเกษตรกร สงเสริมสนับสนุนและกำกับดูแลเพื่อใหการ ดำเนินงานเปนไปตามแผนและแนวทางที่กำหนด 47


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.2 การแตงตั้งทีมงานสงเสริมการแกไขปญหาหนี้ (ทีมโคช) เพื่อดำเนินการรวมกับทีม ปฏิบัติการของสหกรณ/กลุมเกษตรกร 3. ประสานงานสหกรณ สงเสริม แนะนำการดำเนินโครงการ 4. วิเคราะหขอมูลธุรกิจสินเชื่อของสหกรณ 5. เขารวมประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ชี้แจงโครงการฯ แนะนำให สหกรณ/กลุมเกษตรกร เปาหมาย ดำเนินการแตงตั้งทีมปฏิบัติการของสหกรณ/กลุมเกษตรกรในการแกไขปญหาหนี้คางชำระของ สมาชิก 6. ประชุมรวมกันระหวางทีมโคชสำนักงานสหกรณจังหวัดกับทีมปฏิบัติของสหกรณ เพื่อวางแผนและ กำหนดแนวทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนโครงการฯ ในการแกไขปญหาหนี้คางชำระของสมาชิก 7. ขับเคลื่อนโครงการฯ ใหเปนไปตามแผนและแนวทางที่กำหนด 8. ติดตามผลการดำเนินการแกไขปญหาหนี้คางของสมาชิกสหกรณ  9. รายงานผลการดำเนินงานใหที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ/ กลุมเกษตรเปนประจำทุก เดือน และรายงานผลการดำเนินโครงการฯ ใหที่ประชุมประจำเดือนขาราชการ พนักงานราชการ รับทราบเปน ประจำทุกเดือน 10. ประเมินผล และรายงานแผน - ผล การแกไขปญหาหนี้คางชำระของสมาชิกสหกรณ/กลุม เกษตรกร ตามศักยภาพลูกหนี้ตามแบบที่กำหนดเปนประจำทุกเดือน • ผลสำเร็จ เชิงปริมาณ จำนวนสหกรณและกลุมเกษตรกรที่มีหนี้คาง (NPL) ไดรับการสงเสริมใหมีการบริหาร จัดการ สินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ จำนวน 8 แหง เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรผูเขารวมโครงการมีภาระหนี้คางลดลงเฉลี่ยรอยละ 1 • งบประมาณที่ไดรับจัดสรร แผนงานและงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตรเพื่อ สนับสนุนดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการแกไขปญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิต สมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกรดวยระบบสหกรณ จำนวนเงินทั้งสิ้น 13,500 บาท • ปญหา/อุปสรรค 1. สหกรณไมแจงหนี้แกสมาชิกทราบ 2. สหกรณไมมีวิธีการบริหารจัดการลูกหนี้อยางมีประสิทธิภาพ 3. สมาชิกนำเงินไปใชผิดวัตถุประสงค 4. สมาชิกยายออกนอกแดน ติดตอไมได 5. สมาชิกไมมีวินัยทางการเงิน เหนียวหนี้ เจตนาไมสงชำระหนี้ 48


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ภาพกิจกรรม : โครงการแกไขปญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกรดวยระบบ สหกรณ ภาพกิจกรรม : การลงพื้นที่ขับเคลื่อนการแกไขปญหาหนี้คางของสมาชิก และการประชุมขับเคลื่อนฯ 49


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติดานพลังทางสงัคม แผนงานยุทธศาสตร แผนงานยุทธศาสตรเสริมสรางพลงัทางสงัคม โครงการสงเสริมการดำเนนิงานอนัเนอื่งมาจากพระราชดำร ิ 1.) โครงการสงเสริมกิจกรรมสหกรณนกัเรยีนในโรงเรียน ตามพระราชดำร ิสมเดจ ็ พระกนษิฐาธิราชเจากรมสมเดจ ็ พระเทพรตันราชสดุาฯ สยามบรมราชกมุาร ี • วตัถุประสงค การสงเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากระราชดำริ ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน มีวัตถุประสงคเพื่อใหคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณนักเรียนและครูผูสอนวิชาสหกรณในโรงเรียนใหมีความรูและ ประสบการณเพื่อนำไปปรับใชในการดำเนินกิจกรรมสหกรณในโรงเรียนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเปนการ สรางเยาวชนใหรูจักคิด ผลิต อดออม ทำการตลาดและบัญชี การปลูกฝงหลักการสหกรณใหแกเด็กและเยาวชนโดย เริ่มจากโรงเรียนเปนอันดับแรกนั้น จะกอใหเกิดความรวมมือรวมแรงรวมใจในกลุมของเด็กนักเรียน ตลอดจนครูและ ประชาชนในทองถิ่นใหมีความสมัครสมานสามัคคีมากขึ้นเกิดการชวยเหลือซึ่งกันและกัน การเห็นแกประโยชน สวนรวม การรวมกลุมในการดำเนินกิจกรรมตาง ๆ โดยการสงเสริมวิธีการสหกรณใหแพรหลายไปยังเด็กนักเรียนใน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน • ตัวชี้วัด ควบคุมการใชจายงบประมาณตามงบรายจายกิจกรรมหลักและเบิกจายใหเปนไปตาม เปาหมายที่กรมกำหนดเปาหมาย รอยละ 100 • เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินการ สำนักงานสหกรณจังหวัดตรังรับผิดชอบโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 2 แหง คือ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบานหินจอก ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสันติ ราษฎรประชาบำรุง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง • ผลการดำเนินงาน 1. แนะนำ สงเสริม สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมสหกรณนักเรียนในโรงเรียน โดยจัดใหมีการ จัดการเรียนรูวิชาการสหกรณในภาคทฤษฎีตามชวงชั้นเรียน ป.4 - ป.6 2. แนะนำการจัดกระบวนการเรียนรูเรื่องการสหกรณแกครูผูรับผิดชอบ/ผูบริหารโรงเรียน เพื่อใหเด็กนักเรียนมีการเรียนรูในเรื่องอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ พรอมทั้งปลูกฝงลักษณะนิสัยให เด็กนักเรียนรูถึงประโยชนในการชวยเหลือซึ่งกันและกันตามอุดมการณสหกรณ ดังนี้ 2.1 แนะนำใหมีการเปดรับสมัครสมาชิกใหมของกิจกรรมสหกรณใหเสร็จสิ้นในเดือน แรกของภาคเรียนที่ 1 2.2 แนะนำใหมีการเลือกตั้งคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ ในเดือนที่ 2 ของการ เปดภาคเรียนแรกของปการศึกษา เพื่อเริ่มตนขับเคลื่อนกิจกรรมสหกรณในโรงเรียน 50


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.3 แนะนำครูผูรับผิดชอบกิจกรรมสหกรณนักเรียนใหใชกิจกรรมสหกรณเปน แกนกลางเชื่อมโยงกับกิจกรรมตางๆของโรงเรียน 2.4 แนะนำใหมีการฝกปฏิบัติการประชุมและการบันทึกรายงานการประชุม คณะกรรมการแกคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ 2.5 แนะนำและประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหคณะกรรมการกิจกรรม สหกรณมีการฝกปฏิบัติการบันทึกบัญชีอยางเปนระบบ ตอเนื่องและเปนปจจุบัน พรอมทั้งสามารถปดบัญชี ประจำป ณ วันที่ 30 กันยายน และ ณ วันที่ 31 มกราคม 2.6 แนะนำใหมีการจัดประชุมใหญสามัญประจำปทุกสิ้นปการศึกษา เพื่อรายงานผล กิจการของสหกรณนักเรียนของโรงเรียน การปนผล การเฉลี่ยคืน การคืนเงินออมใหกับนักเรียนที่จะจบ การศกึษา และการเลือกตั้งคณะกรรมการเพื่อทดแทนคณะกรรมการที่จบการศกึษา 3. จัดกิจกรรมทัศนศึกษาใหแกนักเรียนที่เปนคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณนักเรียน ครู ผูรับผิดชอบ และผูสังเกตการณ 4. จัดใหมีการประเมินผลกิจกรรมสหกรณจากแบบทดสอบวิชาการสหกรณในระดับชั้น ป.6 โดยนักเรียนชั้น ป.6 จะตองมีผลสัมฤทธิ์ไดคะแนนสอบวิชาการสหกรณไมนอยกวารอยละ 70 5. พิจารณาเบิกจายเงินอุดหนุนโดยปฏิบัติใหเปนไปตามระเบียบวาดวยการเบิกจาย งบประมาณงบเงินอุดหนุน หลักเกณฑและวัตถุประสงคของเงินอุดหนุน โดยจัดใหมีกิจกรรมการประกวด คัดเลือกโรงเรียนที่มีผลการจัดกิจกรรมสหกรณนักเรียนดีเดน พรอมมอบรางวัลแกโรงเรียนที่ไดรับการคัดเลือก 6. จัดเก็บขอมูล สรุปและรายงานผลการดำเนินกิจกรรมและตัวชี้วัด ผานระบบ e-project ของกลุมติดตามและประเมินผล กองแผนงานและสงรายงานทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ใหกองประสานงาน โครงการพระราชดำริ • ผลสำเรจ ็ จากการดำเนนิงาน กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณไดดำเนินการโครงการตามแผนงานที่กำหนดโดยรวมกับกลุม สงเสริมสหกรณ 2 ในการแนะนำสงเสริมกิจกรรมสหกรณนักเรียนตามพระราชดำริฯ ซึ่งจังหวัดตรังมีจำนวน 2 โรงเรียน คือโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสันติราษฎรประชาบำรุง ต.ปะเหลียน และโรงเรียนตำรวจ ตระเวนชายแดนบานหินจอก ต.ลิพัง อ.ปะเหลียน จ.ตรัง ปรากฏผลสำเร็จของงานตามกิจกรรม ดังนี้ 1. ไดดำเนินการ แนะนำ สงเสริม สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมสหกรณนักเรียนในโรงเรียนทั้ง สองโรงเรียนใหมีการจัดการเรียนรูวิชาการสหกรณในภาคทฤษฎีตามชวงชั้นเรียน ป.4 - ป.6 จำนวน 2 ครั้ง 2. ไดแนะนำการจัดกระบวนการเรียนรูเรื่องการสหกรณแกครูผูรับผิดชอบและผูบริหาร โรงเรียน เพื่อใหเด็กนักเรียนมีการเรียนรูในเรื่องอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ พรอมทั้งปลูกฝง ลักษณะนิสัยใหเด็กนักเรียนรูถึงประโยชนในการชวยเหลือซึ่งกันและกันตามอุดมการณสหกรณ ดังนี้ 2.1 กิจกรรมสหกรณนักเรียนทั้งสองโรงเรียนมีการเปดรับสมัครสมาชิกใหมของ กิจกรรมสหกรณเสร็จสิ้นในเดือนแรกของภาคเรียนที่1 โดยรับสมัครในเดือนพฤษภาคม 2566 51


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.2 กิจกรรมสหกรณนักเรียนทั้งสองโรงเรียน มีการเลือกตั้งคณะกรรมการกิจกรรม สหกรณ ในเดือนที่ 2 ของการเปดภาคเรียนแรกของปการศึกษา เพื่อเริ่มตนขับเคลื่อนกิจกรรมสหกรณ ในโรงเรียนโดยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสันติราษฎรประชาบำรุง ไดดำเนินการเลือกตั้งคณะกรรมการ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2566 และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบานหินจอก ไดกำเนินการเลือกตั้ง คณะกรรมการดำเนินการเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2566 2.3 ไดดำเนินการแนะนำครูผูรับผิดชอบและผูบริหารโรงเรียนและนักเรียนทั้ง 2 โรงเรียนใหมีการเรียนรูเรื่องของการเชื่อมโยงกิจกรรมของโรงเรียน (เชนกิจกรรมการผลิตดานการเกษตรและ อาชีพ กิจกรรมออมทรัพย กิจกรรมรานสหกรณ กิจกรรมสวัสดิการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ฯลฯ) ดวยการใช“กิจกรรมสหกรณเปนแกนกลาง” ทั้งในภาคทฤษฎีและ การปฏิบัติจริง 2.4 ไดดำเนินการแนะนำทั้งสองโรงเรียน ใหมีการฝกปฏิบัติการประชุม คณะกรรมการและการประชุมใหญสามัญประจำป และฝกใหกรรมการผูรับผิดชอบบันทึกรายงานการประชุม คณะกรรมการและรายงานการประชุมใหญสามัญประจำปกิจกรรมสหกรณน ักเรียนทุกครั้งที่มการประชุม ี 2.5 ไดดำเนินการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ จัดอบรมใหความรูแก นักเรียนที่เปนคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณนักเรียน ควบคูกับเขาแนะนำสงเสริมบอยครั้งเพื่อตรวจสอบการ บันทึกบัญชีของกิจกรรม ใหคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณมีการฝกปฏิบัติการบันทึกบัญชีอยางเปนระบบ ตอเนื่องและเปนปจจุบัน ทำใหทั้งสองโรงเรียนสามารถปดบัญชีประจำป ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 และ ณ วันที่ 31 มกราคม 2566 ไดแลวเสร็จ 2.6 ไดดำเนินการแนะนำใหมีการจัดประชุมใหญสามัญประจำป เพื่อรายงานผล กิจการของสหกรณนักเรียนของโรงเรียน การปนผล การเฉลี่ยคืน การคืนเงินออมใหกับนักเรียนที่จะจบ การศกึษา และการเลือกตั้งคณะกรรมการเพื่อทดแทนคณะกรรมการที่จบการศึกษา ซึ่งโรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนสันติราษฎรประชำบำรุง ประชุมเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2566 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบานหิน จอก ประชุมเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2566 3. ไดดำเนินกิจกรรมสรางประสบการณดานการสหกรณแกเด็กนักเรียน ทั้ง 2 โรงเรียนโดย การจัดกิจกรรมทัศนศึกษาเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2566 ไดนำคณะกรรมการสมาชิก ผูตรวจสอบกิจการ ครูผูรับผิดชอบกิจกรรมสหกรณนักเรียนและเจาหนาที่สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง เยี่ยมชมและเรียนรูจำนวน 3 พื้นที่ คือ สหกรณโคนมพัทลุง จำกัด ตำบลนาทอม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง,ฟารมวิบูลยพันธ ออรแกนิคฟารม (นายาคาเฟ) ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง และสวนเดอลอง เมืองเกษตรแปรรูป ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง 4. โดยทั้ง 2 โรงเรียนไดดำเนินการประเมินผลกิจกรรมสหกรณจากแบบทดสอบวิชาการ สหกรณในระดับชั้น ป.6 โดยนักเรียนชั้นป.6 มีผลคะแนนสอบวิชาการสหกรณไมนอยกวารอยละ 70 5. การเบิกจายเงินอุดหนุนไดปฏิบัติเปนไปตามระเบียบวาดวยการเบิกจายงบประมาณ งบเงิน อุดหนุน หลักเกณฑและวัตถุประสงคของเงินอุดหนุน โดยไดจัดโครงการประกวดการบันทึกรายงานการประชุม และกิจกรรมการประกวดการบันทึกบัญชีของโรงเรียน ตชด. จำนวน 1 ครั้ง ทั้ง 2 โรงเรียน เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2565 ซึ่งผลการประกวดการบันทึกบัญชีรางวัลชนะเลิศคือโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน 52


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร บานหินจอก ผลการประกวดการบันทึกรายงานการประชุมรางวัลชนะเลิศคือโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สันติราษฎรประชาบำรุง และไดมีการมอบเกียรติบัตรและเงินรางวัลใหกับผูชนะการประกวด ทั้ง 2 โรงเรียน โรงเรียนละ 1,000 บาท จากงบของกรมสงเสริมสหกรณ และจากการสนับสนุนของสหกรณการเกษตร ยานตาขาว จำกัด และสหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด อีกโรงเรียนละ 2,000 บาท 6. ไดจัดอบรมใหความรูแกสมาชิกกิจกรรมสหกรณนักเรียนชั้น ป.3- ป.6 เกี่ยวกับ อุดมการณ หลักการ วิธีการสหกรณ ทั้ง 2 โรงเรียน จำนวน 1 ครั้ง 7. ไดดำเนินการจัดเก็บขอมูล สรุปและรายงานผลการดำเนินกิจกรรมและตัวชี้วัด ผานระบบ e-project ของกลุมติดตามและประเมินผล กองแผนงาน ภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน จำนวน 12 ครั้ง และจัดสงรายงานทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ใหกองประสานงานโครงการพระราชดำริตามระยะเวลา ที่กำหนด • งบประมาณที่ไดรับจัดสรร ไดรับการจัดสรรงบประมาณจากแผนงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงาน ยุทธศาสตรเสริมสรางพลังทางสังคม โครงการสงเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมรอง สงเสริมและพัฒนา สหกรณ/กลุมเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ งบดำเนินงาน 17,240.00บาท และงบเงิน อุดหนุน จำนวน 2,000.00 บาท •ปญหา/อุปสรรค งบประมาณของสำนักงานสหกรณจังหวัดมีจำกัดและลดนอยลงทุกป นโยบายประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง ทำใหการออกไปแนะนำสงเสริมกิจกรรมสหกรณนักเรียนทำไดไมเต็มที่ แนวทางแกไข ประสานครูผูรับผิดชอบกิจกรรมสหกรณและใหคำแนะนำผานทางโทรศัพทและแอฟพลิเคชั่นไลน • ภาพกจิกรรม : โครงการสงเสริมกิจกรรมสหกรณน ักเรียนในโรงเรียน ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิ ราชเจากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การประชุมชี้แจงและวางแผนการสงเสริมกิจกรรมสหกรณน ักเรียน 53


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ภาพกิจกรรม : การอบรมใหความรูเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีกิจกรรมสหกรณนักเรียน ภาพกิจกรรม : การประชุมคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณนักเรียน ภาพกิจกรรม : การประชุมใหญสามัญประจำปกิจกรรมสหกรณนักเรียน ภาพกิจกรรม : การไปทัศนศึกษาดูงาน 54


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ภาพกิจกรรม : การประกวดบันทึกรายงานการประชุมและบันทึกบัญชีกิจกรรมสหกรณนักเรียน ภาพกิจกรรม : การทดสอบความรูกิจกรรมสหกรณนักเรียน ภาพกิจกรรม : การใหความรูอุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ ภาพกิจกรรม : การแนะนำสงเสริมกิจกรรมกิจกรรมสหกรณน ักเรียน 55


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.) โครงการคลนิกิเกษตรเคลอื่นทใี่นพระราชานเุคราะห สมเด ็ จพระบรมโอรสาธริาชฯ สยามกุฎราชกมุาร • วตัถุประสงค เพื่อนำบริการภาครัฐ ทั้งระดับจังหวัด อำเภอ และภาคเอกชน ไปใหบริการแกเกษตรกรในพื้นที่ ตำบล หมูบาน และเปดโอกาสใหผูขอรับบริการสามารถเขาถึงบริการตาง ๆ ไดมากที่สุด เปนการปฏิบัติงานเชิง รุกทำใหเกษตรกรในพื้นที่เปาหมายที่มีปญหาไดรับบริการทางเกษตรกรอยางรวดเร็ว และสอดคลองกับสภาพ ปญหาในพื้นที่ เชน การวิเคราะหดิน การวินิจฉัยโรคพืช โรคสัตว โรคสัตวน้ำและการใหวัคซีนปองกันโรค รวมถึงการถายทอดเทคโนโลยีและฝกอบรมความรูการเกษตรตามกรอบภารกิจของหนวยงาน • ตัวชี้วัด 1. เกษตรกรผูเขารวมโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ไดรับคำแนะนำและความรูเกี่ยวกับการสหกรณ และคำแนะนำเกี่ยวกับขั้นตอนการจัดตั้งสหกรณและกลุมเกษตรกรเพิ่มขึ้น 2. เกษตรกรผูเขารวมโครงการไดรูจักหนวยงานมากยิ่งขึ้น • เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ เปาหมายเกษตรผูสนใจเขารับบริการ จำนวน 300 คน และสำนักงานเกษตรจังหวัดตรังผูรับผิดชอบ โครงการ ไดกำหนดแผนการจัดโครงการในพื้นที่เพื่อใหบริการ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ธันวาคม 2565 ณ ศาลาประชาคมอำเภอหาดสำราญ หมูที่ 9 ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง ครั้งที่ 2 วันที่ 20 กุมภาพันธ 2566 ณ อาคารเอนกประสงคองคการบริหารสวนตำบลละมอ หมูที่ 1 ตำบลละมอ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ครั้งที่ 3 วันที่ 25 พฤษภาคม 2566 ณ ที่ทำการองคการบริหารสวนตำบลทุงคาย ม.4 ตำบลทุงคาย อำเภอยานตาขาว จังหวัดตรัง ครั้งที่ 4 วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ณ ศาลาประชาคมอำเภอวังวิเศษ หมูที่ 7 ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง • ผลการดำเนินงาน 1. ประสาน ติดตอ เขารวมประชุมรวมกับสำนักงานเกษตรจังหวัดตรังและหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อ รวมบูรณาการดำเนินกิจกรรมภายใตโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห ฯ 2. ประชาสัมพันธการจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห ฯ กอนจัดงานอยาง นอย 1 สัปดาห 3. ดำเนินการจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณภายใตโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะหฯ ไตรมาสละ 1 ครั้ง รวม 4 ครั้ง เปาหมาย 300 คน ซึ่งสำนักงานเกษตรจังหวัดตรังไดจัดทำแผนกำหนดการจัด โครงการ ฯ ดังนี้... 56


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ธันวาคม 2565 ณ ศาลาประชาคมอำเภอหาดสำราญ หมูที่ 9 ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัด ครั้งที่ 2 วันที่ 20 กุมภาพันธ 2566 ณ อาคารเอนกประสงคองคการบริหารสวนตำบลละมอ หมูที่ 1 ตำบลละมอ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ครั้งที่ 3 วันที่ 25 พฤษภาคม 2566 ณ ที่ทำการองคการบริหารสวนตำบลทุงคาย ม.4 ตำบลทุง คาย อำเภอยานตาขาว จังหวัดตรัง ครั้งที่ 4 วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ณ ศาลาประชาคมอำเภอวังวิเศษ หมูที่ 7 ตำบลวังมะปราง เหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง 4. รายงานผลการดำเนินงานในระบบขอมูล โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห ฯ ของกรมสงเสริมการเกษตร ภายใน 30 วัน หลังจากวันใหบริการ 5. รายงานผลการดำเนินงานใหกองประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ทางระบบ E-Project ภายใน 30 วัน หลังจากวันใหบริการ • ผลสำเรจ ็ จากการดำเนนิงาน 1. สำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรัง ไดประสาน ติดตอ เขารวมประชุมรวมกับสำนักงานเกษตรจังหวัดตรัง และหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อรวมบูรณาการดำเนินกิจกรรมภายใตโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 2. กอนจัดงานมีการประชาสัมพันธใหสหกรณและกลุมเกษตรกรในพื้นที่จัดงานทราบลวงหนากอน 2 สัปดาห 3. ไดรวมกับหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณในจังหวัดตรังจัดคลินิกเกษตรกรเคลื่อนที่ ในตำบลเปาหมายตามแผนงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะหฯ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดตรัง จำนวน 4 ครั้ง โดยไดกำหนดกิจกรรม คือ จัดนิทรรศการดานการสหกรณแจกเอกสาร เผยแพร ใหคำปรึกษาดานสหกรณแกเกษตรกรผูสนใจการจัดตั้งสหกรณและกลุมเกษตรกร การสรางกิจกรรม เรียนรูดานสหกรณโดยจัดกิจกรรมการตอบปญหา รับรางวัลเปนของขวัญใหแกเกษตรกรและเยาวชนผูสนใจเขา รวมงาน เพื่อใหเกษตรกรมีความรูความเขาใจเรื่องการสหกรณมากยิ่งขึ้น ปรากฏผล ดังน ี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ธันวาคม 2565 ณ ศาลาประชาคมอำเภอหาดสำราญ หมูที่ 9 ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง จำนวนผูเขารวม 75 ราย กิจกรรมจัดนิทรรศการความรูเกี่ยวกับการสหกรณ แจกเอกสารเผยแพร ใหคำแนะนำการจัดตั้งสหกรณและกลุมเกษตรกร และกิจกรรมเรียนรูดานสหกรณโดยจัด กิจกรรมการตอบปญหา รับรางวัลเปนของขวัญใหแกเกษตรกรและเยาวชนผูสนใจเขารวมงาน เพื่อใหเกษตรกร มีความรูความเขาใจเรื่องการสหกรณมากยิ่งขึ้น ครั้งที่ 2 วันที่20 กุมภาพันธ2566 ณ อาคารเอนกประสงคองคการบริหารสวนตำบลละมอ หมู ที่ 1 ตำบลละมอ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จำนวนผูเขารวม 75 ราย กิจกรรมจัดนิทรรศการความรูเกี่ยวกับ การสหกรณ แจกเอกสารเผยแพร ใหคำแนะนำการจัดตั้งสหกรณและกลุมเกษตรกร และกิจกรรมเรียนรูดาน 57


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร สหกรณโดยจัดกิจกรรมการตอบปญหา รับรางวัลเปนของขวัญใหแกเกษตรกรและเยาวชนผูสนใจเขารวมงาน เพื่อใหเกษตรกรมีความรูความเขาใจเรื่องการสหกรณมากยิ่งขึ้น ครั้งที่ 3 วันที่ 25 พฤษภาคม 2566 ณ ที่ทำการองคการบริหารสวนตำบลทุงคาย ม.4 ตำบลทุง คาย อำเภอยานตาขาว จังหวัดตรัง จำนวนผูเขารวม 75 ราย กิจกรรมจัดนิทรรศการความรูเกี่ยวกับการ สหกรณ แจกเอกสารเผยแพร ใหคำแนะนำการจัดตั้งสหกรณและกลุมเกษตรกร และกิจกรรมเรียนรูดาน สหกรณโดยจัดกิจกรรมการตอบปญหา รับรางวัลเปนของขวัญใหแกเกษตรกรและเยาวชนผูสนใจเขารวมงาน เพื่อใหเกษตรกรมีความรูความเขาใจเรื่องการสหกรณมากยิ่งขึ้น ครั้งที่ 4 วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ณ ศาลาประชาคมอำเภอวังวิเศษ หมูที่ 7 ตำบล วังมะปราง เหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จำนวนผูเขารวม 75 ราย กิจกรรมจัดนิทรรศการความรูเกี่ยวกับการสหกรณ แจกเอกสารเผยแพร ใหคำแนะนำการจัดตั้งสหกรณและกลุมเกษตรกร และกิจกรรมเรียนรูดานสหกรณโดยจัด กิจกรรมการตอบปญหา รับรางวัลเปนของขวัญใหแกเกษตรกรและเยาวชนผูสนใจเขารวมงาน เพื่อใหเกษตรกร มีความรูความเขาใจเรื่องการสหกรณมากยิ่งขึ้น 4. ไดรายงานผลการดำเนินงานในระบบขอมูล โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะหฯ ของกรมสงเสริมการเกษตร ไดภายใน 30 วัน จำนวน 4 ครั้ง 5. ไดรายงานผลการดำเนินงานใหกองประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ทางระบบ E-Project หลังจากวันที่ใหบริการ ทุกวันที่ 25 ของทุกเดือน • งบประมาณที่ไดรับจัดสรร ไดรับการจัดสรรงบประมาณจากแผนงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงาน ยุทธศาสตรเสริมสรางพลังทางสังคม โครงการสงเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมรอง สงเสริมและพัฒนา สหกรณ/กลุมเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ งบดำเนินงาน 17,240.00บาท (หนึ่งหมื่น เจ็ดพันสองรอยสี่สิบบาทถวน) • ปญหา/อุปสรรค - ไมมี - • ภาพกจิกรรม : โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห ฯ 58


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ภาพกิจกรรม : การออกหนวยโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ประจำป 2566 3) โครงการขบัเคลอื่นการประยกุตใชปรชัญาของเศรษฐกิจพอเพยีงในสหกรณและกลมุเกษตรกร • วตัถุประสงค 1. เพื่อเปนการเผยแพร สนับสนุน สงเสริม กระตุนและสรางแรงจูงใจใหสหกรณและกลุมเกษตรกรได นำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใหในการดำเนินงาน สงเสริมและสนับสนุนให สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรมีการดำเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. เพื่อคัดเลือกสหกรณและกลุมเกษตรกรที่นำแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชใน การดำเนินงานไดอยางโดดเดน และสามารถเปนแบบอยางใหสหกรณและกลุมเกษตรกรอื่นสามารถนำไป ประยุกตใชกับองคกรได • ตัวชี้วดั สหกรณไดรับการสงเสริมและพัฒนาความเขมแข็งตามศักยภาพ จำนวน 5 แหง • เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1. สหกรณการเกษตรนาโยง จำกัด 2. สหกรณการเกษตรเมืองตรัง จำกัด 3. สหกรณการเกษตรวังวิเศษ จำกัด 4. สหกรณการเกษตรรัษฎา จำกัด 5. สหกรณการเกษตรยานตาขาว จำกัด • ผลการดำเนินงาน ชี้แจงทำความเขาใจในการดำเนินโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณและ กลุมเกษตรกร 1. แนะนำ สงเสริมการดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับองคกร โดยแนะนำ สงเสริมใหสหกรณดำเนินธุรกิจและบริหารจัดการโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให ดำเนินการตามแผนการประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสหกรณ มีการกำหนดหลักปรัชญา 59


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ของเศรษฐกิจพอเพียงไวในแผนกลยุทธหรือแผนการปฏิบัติงานประจำป ใหดำเนินกิจกรรมที่ชวยเสริมสราง กระตุนใหสมาชิกนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช เชน จัดทำโครงการเกี่ยวกับการออม จัดประกวดการออม การบันทึกบัญชีครัวเรือน 2. แนะนำ สงเสริมการดำเนินกิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสมาชิก โดยแนะนำ สงเสริมใหสมาชิกนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในชีวิตประจำวัน สงเสริมให ดำเนินการตามแผนครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง 3. คัดเลือกสหกรณ/กลุมเกษตรกรที่ไดนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช และสามารถเปนแบบอยางไดตามแนวทางโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณและกลุม เกษตรกร ระดับจังหวัด 4. รายงานผลการคัดเลือกฯ และผลการดำเนินงานการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงในสหกรณและกลุมเกษตรกรตามที่กองประสาสรงานโครงการพระราชดำริกำหนด • ผลสำเร็จจากการดำเนินงาน 1. มีสหกรณเขารวมโครงการขับเคลื่อนการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณและกลุมเกษตรกร จำนวน 5 สหกรณ สมาชิกเขารวมโครงการฯ รวม 53 ราย โดยสมาชิกที่เขารวม โครงการฯ สามารถลดรายจายได(โดยเฉลี่ย) รายละ 450 บาท/ราย/เดือน และสามารถเพิ่มรายได (โดยเฉลี่ย) รายละ 1,200 บาท/ราย/เดือน 2. มีสหกรณที่ไดรับคัดเลือกเปนสหกรณตนแบบการประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ระดับจังหวัด ประจำป พ.ศ. 2566 จำนวน 1 แหง คือ สหกรณการเกษตรนาโยง จำกัด เชิงปริมาณ สหกรณและกลุมเกษตรกร จำนวน 5 สหกรณ เขารวมโครงการขับเคลื่อนการประยุกตใช ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณและกลุมเกษตรกร และไดรับคัดเลือกเปนสหกรณตนแบบ การประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับจังหวัด ประจำป พ.ศ. 2566 จำนวน 1 แหง เชิงคุณภาพ 1. สหกรณไดนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการบริหารงาน ชวยให การดำเนินงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เปนสวนหนึ่งที่ชวยใหสหกรณเขมแข็ง มั่นคงยิ่งขึ้นสมาชิกสหกรณ ผูเขารวมโครงการซึ่งไดนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการดำเนินชีวิตประจำวัน มีชีวิต ความเปนอยูที่ดีขึ้น 2. สมาชิกสหกรณที่เขารวมโครงการขยายผลการนําหลักปรัชญของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ในสหกรณและ กลุมเกษตรกรเมื่อปงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกตใชอยาง ตอเนื่อง 60


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 3. สหกรณการเกษตรนาโยง จำกัด ไดรับการคัดเลือกเปนสหกรณที่นำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชและสามารถเปนแบบอยางได • งบประมาณที่ไดรับจัดสรร งบประมาณตามแผนปฏิบัติงาน และงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 แผนงาน ยุทธศาสตรเสริมสรางพลังทางสังคม โครงการสงเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ/กลุมเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมรองสงเสริมและพัฒนาสหกรณ/ กลุมเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน 3,200 บาท • ปญหา/อุปสรรค -ไมมี- • ภาพกิจกรรม : โครงการขับเคลื่อนการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณและกลุมเกษตรกร ภาพกิจกรรม : ชี้แจงโครงการและเขาแนะนำสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดตรัง 61


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ภาพกิจกรรม : สมาชิกสหกรณที่เขารวมโครงการ เพาะปลูกผัก ทำนา เลี้ยงสัตว บริโภคเองในครัวเรือนและ จำหนาย เพื่อลดรายจาย เพิ่มรายได ภาพ : ประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื่อคัดเลือกผลงานขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณและกลุมเกษตรกรกรดีเดนระดับจังหวัด 62


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 4) โครงการจัดงาน “7 มิถุนายน วันสหกรณนักเรียน ประจำป 2566” • วตัถุประสงค  1. เพื่อสงเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรูการสหกรณในโรงเรียน 2. เพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธกิจกรรมสหกรณนักเรียนสูครู นักเรียน ผูปกครองและประชาชน ทั่วไปใหเปนที่แพรหลาย 3. เพื่อเผยแพรความรู ความเขาใจเรื่องการสหกรณใหนักเรียน บุคลากรทางการศึกษาและประชาชนทั่วไป • ตัวชี้วัด 1. มีผูเขารวมกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการไมนอยกวา 80 คน 2. ทุกหนวยงานมีการดำเนินกิจกรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสมในแตละพื้นที่ • เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินการ เปาหมายผูเขารวมโครงการ คือ ครู ผูปกครอง นักเรียน ขาราชการกรมสงเสริมสหกรณ กรมตรวจ บัญชีสหกรณ หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ขบวนการสหกรณ และประชาชนในจังหวัด ๆ ละ 80 คน และสำนักงาน สหกรณจังหวัดตรังไดคัดเลือกโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสันติราษฎรประชาบำรุงตำบลปะเหลียน อำเภอปะ เหลียน จังหวัดตรัง เปนสถานที่จัดงาน • ผลการดำเนินงาน 1. สำนักงานสหกรณจังหวัดตรังดำเนินการวางแผนดำเนินโครงการตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ 2. สำนักงานสหกรณจังหวัดตรังรวมกับสถานศึกษา สหกรณ หรือหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ดำเนินการจัดงาน 3. สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ดำเนินการจัดงาน โดยออกแบบและกำหนดใหมีกิจกรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสมในแตละพื้นที่ เชนการจัดนิทรรศการการจัดการเรียนรูสหกรณในโรงเรียนและกิจกรรม สหกรณในโรงเรียนที่มีผลงานดีเดน นิทรรศการสื่อการสอนสหกรณในโรงเรียน การตอบปญหาชิงรางวัล กิจกรรมการเสวนา การประกวดผลงาน หรือกิจกรรมอื่น ๆ ตามความเหมาะสม 4. สำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรัง ประเมินผลและสรุปผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ 5. รายงานผลเปนรูปเลมพรอมไฟลขอมูลรูปถาย ไปยังสำนักพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีการ สหกรณ ภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2566 6. มีการเผยแพรประชาสัมพันธการจัดกิจกรรม “7 มิถุนายน วันสหกรณนักเรียน ประจำป 2566” ผานสื่อ Social media ตาง ๆ เชน Facebook Line TikTok YouTube Website เปนตน ตามความ เหมาะสม • ผลสำเรจ ็ จากการดำเนินงาน กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณไดดำเนินการประสานงานโรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การ ประถมศึกษาพื้นที่ 1 และพื้นที่ 2 และศูนยถายทอดเทคโนโลยีการสหกรณที่ 17 และ 18 จังหวัดสงขลา เพื่อ ดำเนินการขับเคลื่อนการจัดกิจกรรม “7 มิถุนายน วันสหกรณนักเรียน ประจำป 2566” ณ โรงเรียนตำรวจ ตระเวนชายแดนสันติราษฎรประชาบำรุง ต.ปะเหลียน จ.ตรัง ปรากฏผลสำเร็จของงานตามกิจกรรม ดังนี้ 63


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 1. สำนักงานสหกรณจังหวัดตรังดำเนินการประสานงานกับโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สันติราษฎรประชาบำรุง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง,โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ประถมศึกษาพื้นที่ 1 และพื้นที่ 2 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณตรังและศูนยถายทอดเทคโนโลยีการสหกรณที่ 17 และ 18 จังหวัดสงขลา เพื่อรวมวางแผนดำเนินโครงการในการจัดกิจกรรม “7 มิถุนายน วันสหกรณ นักเรียน ประจำป 2566” จำนวน 1 ครั้ง 2. สำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรังรวมกับสถานศึกษา, สำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาพื้นที่1 และพื้นที่ 2,ขบวนการสหกรณในจังหวัดตรัง,สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณตรัง,ศูนยถายทอดเทคโนโลยีการ สหกรณที่ 17 และ 18 จังหวัดสงขลา,และหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ดำเนินการ จัดโครงการจัดงาน “7 มิถุนายน วันสหกรณนักเรียน ประจำป 2566” ในวันที่ 7 มิถุนายน 2566 ณ โรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนสันติราษฎรประชาบำรุง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง มีผูเขารวมงานทั้งหมด 244 คน จำนวน 10 โรงเรียน เปนนักเรียน 128 คน ครู 35 คน ผูปกครอง 10 คน สวนราชการ 61 คน ประชาชนทั่วไป 10 คน โดยใชงบประมาณจากกรมสงเสริมสหกรณ จำนวน 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถวน) และงบจากการ สนับสนุนของขบวนการสหกรณในจังหวัดตรัง จำนวน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถวน) 3. สำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรัง ดำเนินการจัดงาน โดยออกแบบและกำหนดใหมีกิจกรรมตางๆดังนี้ 3.1 กิจกรรมการประกวดวาดภาพ “สหกรณในจินตนาการของหนู” 3.2 กิจกรรมการประกวดเรียงความเรื่อง “สหกรณนักเรียนในโรงเรียนของหนู” 3.3 กิจกรรมการประกวดเลานิทานเกี่ยวกับการสหกรณ 3.4 กิจกรรมการแขงขันตอบปญหาเกี่ยวกับการสหกรณ 3.5 กิจกรรมการละลายพฤติกรรม โดยวิทยากรจากศูนยถายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ ที่ 17 และ 18 จังหวัดสงขลา” 3.6 กิจกรรมการจัดนิทรรศการของโรงเรียนจำนวน 10 โรงเรียน 3.7 การจัดนิทรรศการของศูนยเรียนรูดานการสหกรณของสหกรณการเกษตรยานตาขาว จำกัด 3.8 การจัดนิทรรศการบัญชีตนกลาและบัญชีครัวเรือนของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณตรัง 3.9 การมอบเกียรติบัตรใหกับครู นักเรียน ดีเดนดานกิจกรรมสหกรณนักเรียน จำนวน 10 โรงเรียน 4. สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ไดดำเนินการประเมินผลและสรุปผลหลังเสร็จสิ้นโครงการในที่ ประชุมประจำเดือนของสำนักงานเพื่อเปนขอมูลในการดำเนินงานในปตอไป 5. ไดดำเนินการรายงานผลการจัดงาน Google Form พรอมไฟลขอมูลรูปถาย ไปยังสำนักพัฒนา และถายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2566 6. ไดดำเนินการเผยแพรประชาสัมพันธการจัดกิจกรรม “7 มิถุนายน วันสหกรณนักเรียน ประจำป 2566” ผานสื่อ Social media, Facebook, Line และ Website ของสำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ในวันที่ 7 มิถุนายน 2566 64


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • งบประมาณที่ไดรับจัดสรร ไดรับการจัดสรรงบประมาณจากกรมสงเสริมสหกรณ งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 20,000 บาท และในการจัดงานไดใชงบประมาณของกรมสงเสริมสหกรณ จำนวน 20,000 บาท และงบจากการสนับสนุนของขบวนการสหกรณในจังหวัดตรัง จำนวน 30,000 บาท • ปญหา/อุปสรรค -ไมมี- • ภาพกิจกรรม : โครงการจัดงาน “7 มิถุนายน วันสหกรณนักเรียน ประจำป 2566” ภาพกิจกรรม : พิธีเปดงานและมอบเกียรติบัตร ภาพกิจกรรม : กิจกรรมประกวดเลานิทาน ภาพกิจกรรม : การประกวดวาดภาพและประกวดเรียงความ 65


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติดานเศรษฐกิจฐานราก แผนงานบรูณาการ แผนงานบรูณาการพฒันาและสงเสรมิเศรษฐกิจฐานราก 1) โครงการสงเสรมิและพัฒนาอาชีพเพื่อแกไขปญหาทดี่ินทำกินของเกษตรกร • วตัถุประสงค 1. เพื่อบูรณาการรวมกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการสงเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดในรูปแบบ เศรษฐกิจชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่เปาหมายการจัดที่ดินทำกินใหชุมชนภายใต คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ (คทช.) และพัฒนาคุณภาพชีวิตใหมีความกินดี อยูดี มีสันติสุข และ สรางความเขมแข็งในชุมชน 2. เพื่อสงเสริมใหความรูใหเกิดการรวมกลุมตามความเหมาะสมของพื้นที่และสรางความเขมแข็งใหชุมชน • ตัวชี้วัด สมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกรที่เขารวมโครงการมีรายไดเพิ่มขึ้นรอยละ 10 • เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินการ การแนะนำ สงเสริม บูรณาการรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ และติดตามผลการดำเนินโครงการฯ จำนวน 41 พื้นที่ ดังนี้ ตารางที่ 9 แสดงรายชื่อพื้นที่ดำเนินการโครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแกไขปญหาที่ดินทำกินฯ 1. ชุมชนทาเรือบางคางคาว ต.เขาไมแกว อ.สิเกา 2. ชุมชนบอปู ต.เขาไมแกว อ.สิเกา 3. ชุมชนในลัด ม.5 ต.ไมฝาด อ.สิเกา 4. ชุมชนตุหุน ม.3 ต.บอหิน อ.สิเกา 5. ชุมชนทุงทอง ม.4 ต.เขาไมแกว อ.สิเกา 6. ชุมชนทุงเสม็ด ม.7 ต.เขาไมแกว อ.สิเกา 7. ชุมชนหัวสะพานคลองสิเกา ต.บอหิน อ.สิเกา 8. ชุมชนนาพละ ม.7 ต.ไมฝาด อ.สิเกา 9. ชุมชนแพปลา ม.5 ต.ไมฝาด อ.สิเกา 10. ชุมชนทุงขี้เหล็ก ม.6 ต.เขาไมแกว อ.สิเกา 11. ชุมชนบานโตะบัน ม.8 ต.บอหิน อ.สิเกา 12. บานทาเรือทุงเสม็ด ม.4 ต.เขาไมแกว อ.สิเกา 13. ชุมชนบานทากะหยง ม.4ต.บางสัก อ.กันตัง 14. บานควนตุงกู ม.3 ต.บางสัก อ.กันตัง 15. ปาสายเขาหวาง ต.โคกยาง อ.กันตัง 16. ชุมชนบานเกาะมุกด ม.2 ต.เกาะลิบง อ.กันตัง 17. ปาควนบางหมาก ต.บางหมาก อ.กันตัง 18. ชุมชนทาเรือควนตุงกู ม.3 ต.บางสัก อ.กันตัง 19. บานสะพานทามะขาม ม.2,4 ต.คลองชีลอม อ.กันตัง 20. ปาควนบาหวี ต.บาหวี อ.หาดสำราญ 21. บานตะเสะทาเรือใหม ต.ตะเสะ อ.หาดสำราญ 22. ชุมชนบานตะเสะ ต.ตะเสะ อ.หาดสำราญ 23. บานตะเสะ ม.4 ต.ตะเสะ อ.หาดสำราญ 24. บานควนลอม ม.9 ต.หาดสำราญ อ.หาดสำราญ 66


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 25. บานปากปรนตก ม.1 ต.หาดสำราญ อ.หาดสำราญ 26. ชุมชนบานหยงสตาร ม.2 ต.ทาขาม อ.ปะเหลียน 27. ชุมชนบานดานศุลกากร ม.2 ต.ทาขาม อ.ปะเหลียน 28. ชุมชนบานพิกุลทอง ม.3 ต.ทาขาม อ.ปะเหลียน 29. ชุมชนบานหลุมถาน ม.8 ต.ทาขาม อ.ปะเหลียน 30. บานพิกุลทอง ม.3 ต.ทาขาม อ.ปะเหลียน 31. บานควนล้ำเพชร ม.9 ต.ทาขาม อ.ปะเหลียน 32. บานทอนหาน ม.6 ต.ทาขาม อ.ปะเหลียน 33. ชุมชนบานทุงปาหนัน ม.2 ต.ลิพัง อ.ปะเหลียน 34. บานทางสาย ม.7 ต.ลิพัง อ.ปะเหลียน 35. ชุมชนบานแหลมยาง ม.7 ต.บานนา อ.ปะ เหลียน 36. บานแหลม ม.2 ต.เกาะสุกร อ.ปะเหลียน 37. บานทุง ม.3 ต.เกาะสุกร อ.ปะเหลียน 38. บานทอนนาหมู ม.1 ต.ทุงยาว อ.ปะเหลียน 39. ชุมชนบานทาคลอง ม.4 ต.สุโสะ อ.ปะเหลียน 40. บานทุงสำราญ ม.6 ต.ทุงกระบือ อ.ยานตาขาว 41. ปาใส ปาแก ต.อาวตง อ.วังวิเศษ • ผลการดำเนินงาน 1.จัดประชุมคณะทำงานดานการสงเสริทมและพัฒนาอาชีพ ภายใตคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช.จังหวัดตรัง) จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้ 1) ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2566 มีผูเขารวมประชุม 40 คน 2) ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2566 มีผูเขารวมประชุม 40 คน 3) ครั้งที่ 3/2566 เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2566 มีผูเขารวมประชุม 40 คน 4) ครั้งที่ 4/2566 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2566 มีผูเขารวมประชุม 40 คน 2. แนะนำ สงเสริม บูรณาการรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ติดตามผลการดำเนินโครงการฯ จำนวน 41 พื้นที่ 3. เขารวมประชุมคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช.จังหวัดตรัง) จำนวน 2 ครั้ง 4. เขารวมประชุมขับเคลื่อนโครงการฯ และรับฟงประเด็นปญหาตางๆ รวมกับหนวยงานตางๆ • ผลสำเร็จ เชิงปรมิาณ : เกษตรกรไดรับการสงเสริมและพัฒนาความรูดานอาชีพเสริม ความรูดานการพัฒนาดิน และมีรายไดเพิ่มขึ้นรอยละ 10 เชิงคุณภาพ : เกษตรกรมีความรู ความเขาใจดานการสงเสริมอาชีพและการรวมกลุม • งบประมาณที่ไดรับจัดสรร ไดรับการจัดสรรงบประมาณจากกรมสงเสริมสหกรณ งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 63,000 บาท 67


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ปญหา/อุปสรรค จากการสำรวจขอมูลเกษตรกรผูครอบครองที่ดินและสภาพพื้นที่ตั้งพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ปรากฎวา เกษตรกรสวนใหญไมไดตั้งบานเรือนอยูในพื้นที่ที่ไดรับจัดสรร ใชที่ดินที่ไดรับจัดสรรในการเขาทำกินอยางเดียว จึงไมเขาเงื่อนไขที่ไดรับการสนับสนุนงบประมาณในการสงเสริมอาชีพของหนวยงานที่เกี่ยวของ แตมีความ ประสงคขอเขารวมกิจกรรมในพื้นที่อื่น ซึ่งไมใชพื้นที่เปาหมายตามนโยบายของรัฐบาลที่กำหนด หนวยงาน ในจังหวัดตรังจึงไมไดรับงบประมาณในการขับเคลื่อนโครงการฯ ประกอบกับพื้นที่มีขอจำกัด เชน เปนพื้นที่ ลาดสูง ไมมีแหลงน้ำ ไมมีถนนสัญจร ไมมีไฟฟา เปนตน พื้นที่ปาชายเลน เปนพื้นที่ที่อนุญาตใหเฉพาะพื้นที่ ที่อยูอาศัยเทานั้น ไมสามารถใชพื้นที่บริเวณรอบๆ ในการประกอบอาชีพเสริมไดไมมีพื้นที่กลางในการทำ กิจกรรมตางๆ จากการลงพื้นที่ของคณะทำงานฯ พบวาเกษตรกรสวนใหญในพื้นที่ขาดแหลงน้ำเพื่อการ เกษตรกร • ภาพถายกิจกรรม : โครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแกไขปญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร ภาพกิจกรรม : แนะนำ สงเสริม บูรณาการรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการสงเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ภาพกิจกรรม : จัดประชุมคณะทำงานดานการสงเสริมและพัฒนาอาชีพ ภายใตคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน จังหวัด (คทช.จังหวัดตรัง) 68


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร สรุปผลการใชจายงบประมาณเปรยีบเทยีบกับงบประมาณทไี่ดรบัจดัสรร ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 (จำแนกตามประเภทงบรายจาย) ขอมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 4,571,017.00 4,083,792.00 269,100.00 0 0 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ 4,571,017.00 4,083,792.00 269,100.00 0 0 4,571,017.00 4,083,792.00 269,100.00 0 0 4,571,017.00 4,083,792.00 269,100.00 0.00 500,000.00 1,000,000.00 1,500,000.00 2,000,000.00 2,500,000.00 3,000,000.00 3,500,000.00 4,000,000.00 4,500,000.00 5,000,000.00งบประมาณ หน่วย : บาท 69


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.2 ผลการดำเนนิงาน/โครงการนอกแผนการปฏิบตัิงานและงบประมาณ รายจายประจำปง  บประมาณ พ.ศ. 2566 1.) โครงการพัฒนาผูนำกลุมเกษตรกร • วตัถุประสงค 1. เพื่อใหคณะกรรมการกลางกลุมเกษตรกร ไดประชุมและรวมกันหาแนวทางแกไขปญหาของสมาชิก กลุมเกษตรกร 2. เพื่อใหกลุมเกษตรกรมีเครือขายที่เขมแข็ง สามารถเปนที่พึ่งของสมาชิกได • ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ : คณะกรรมการกลางกลุมเกษตรกร ทุกระดับไดเขารวมประชุมอยางนอยรอยละ 80 เชิงคุณภาพ : ผูเขารวมประชุมและกลุมเกษตรกรมีแนวทางในการพัฒนากลุมใหผานมาตรฐาน และมีระดับความเขมแข็งเพิ่มขึ้น • เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินการ คณะกรรมการกลุมเกษตรกรระดับจังหวัด และผูนำ/สมาชิกกลุมเกษตรกรและสำนักงานสหกรณ จังหวัดตรังไดจัดประชุม ณ หองประชุมสำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง • ผลการดำเนินงาน 1. จัดประชุมคณะกรรมการกลางกลุมเกษตรกรระดับจังหวัด 2 ครั้ง ครั้งละ 2 วัน จำนวน 7 คน 2. รายงานผลการจัดประชุมคณะกรรมการกลางกลุมเกษตรกรระดับจังหวัดใหกรมสงเสริมสหกรณทราบ • ผลสำเร็จจากการดำเนินงาน 1. กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณไดดำเนินการประสานงานคณะกรรมการกลางกลุมเกษตรกร ระดับจังหวัด เพื่อกำหนดแผนการจัดประชุม จัดเตรียมระเบียบวาระการประชุม จัดทำหนังสือเชิญประชุม และ บันทึกรายงานการประชุม และไดดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการกลางระดับจังหวัดจำนวน 2 ครั้ง เมื่อ วันที่ 9 มีนาคม 2566 และวันที่ 12 กันยายน 2566 ณ หองประชุมสำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง อำเภอเมือง ตรัง จังหวัดตรัง มีคณะกรรมการกลางระดับจังหวัดเขารวมประชุมทั้งหมด 7 คน คิดเปนรอยละ 100 2. ไดดำเนินการรายงานผลการจัดประชุมคณะกรรมการกลางระดับจังหวัดใหกรมสงเสริมสหกรณ ทราบเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2566 3. คณะกรรมการกลางกลุมเกษตรกรระดับจังหวัด ไดมีมติเสนอแผนงานโครงการ จำนวน 1 โครงการ คือโครงการทำตลาดสะอาดใหคณะกรรมการกลางกลุมเกษตรกรระดับประเทศพิจารณา • งบประมาณที่ไดรับจัดสรร ไดรับการจัดสรรงบประมาณจากกรมสงเสริมสหกรณ งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 3,570 บาท 70


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ปญหา/อุปสรรค - ไมมี- • ภาพถายกิจกรรม : โครงการพัฒนาผูนำกลุมเกษตรกร ภาพกิจกรรม : การประชุมคณะกรรมการกลางกลุมเกษตรกรระดับจังหวัด 71


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.3 ผลการดำเนนิงาน/โครงการตามนโยบายสำคัญและการบ ู รณาการในระดบั พ ื้นท ี่ งานสงเสรมิและพฒันา โครงการขยายผลเกษตรเพื่ออาหารกลางวันตามแนวพระราชดำร ิสมเด ็ จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุาร ีจังหวดัตรัง ประจำป 2566 • วัตถปุระสงค  1. เพื่อใหนักเรียน ไดบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและเพียงพอ สงเสริมสุขภาพทำใหมีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง 2. เพื่อสงเสริมการเรียนรูและพัฒนาทักษะในการทำเกษตรใหแกนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ผูปกครอง และกลุมเครือขายผานการฝกปฏิบัติในแปลงสาธิตของโรงเรียน โดยเนนการทำเกษตรปลอดภัย เกษตร อินทรีย 3. เพื่อสรางแหลงเรียนรูดานการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในชุมชน 4. เพื่อสรางกลุมเครือขายในการผลิตสินคาเกษตรมาเปนวัตถุดิบในการประกอบอาหารของโรงเรียน •ตัวชี้วัด 1. นักเรียนและครู มีอาหารที่ปลอดภัยและเพียงพอสำหรับการบริโภค จำนวน 11 โรงเรียน 2. มีแหลงเรียนรูดานการเกษตรตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน • เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนในสังกัดสำนักเขตพื้นที่การประถมศึกษาเขตพื้นที่ 1 และเขตพื้นที่ 2 จำนวน 10 โรงเรียน และ โรงเรียนในเขตเทศบาล จำนวน 1 โรงเรียน •ผลการดำเนินงาน คณะกรรมการบริหารโครงการ ฯ พิจารณากำหนดหลักเกณฑการคัดเลือกโรงเรียนเขารวม โครงการ ฯ และ กำหนดแผนปฏิบัติงานตามโครงการ ในสวนของสำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรังไดรับภารกิจงานตามโครงการ ดังนี้ 1. รวมลงพื้นที่ประเมินโรงเรียนและคัดเลือกใหเหลืออำเภอละ 1 โรงเรียน 2. จัดประชุมจัดตั้งสหกรณนักเรียนในโรงเรียน 3. เปนวิทยากรอบรมใหความรูเกี่ยวกับ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ 4. รวมลงพื้นที่ติดตามประเมินผล •ผลสำเร็จจากการดำเนินงาน กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณ ไดรับมอบหมายใหเขารวมบูรณาการโครงการกับหนวยงานในสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยไดรับมอบภารกิจในการลงพื้นที่ประเมินคัดเลือกโรงเรียน,ประชุมจัดตั้งกิจกรรม สหกรณนักเรียนในโรงเรียน,อบรมใหความรูเกี่ยวกับ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ และแนะนำการดำเนิน กิจกรรมสหกรณนักเรียนใหกับครูผูรับผิดชอบกิจกรรมและคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณนักเรียน และติดตาม ประเมินผล ตามแผนการปฏิบัติงานที่คณะกรรมการบริหารโครงการ ฯ ไดกำหนดไว จำนวน 11 โรงเรียน มีผลสำเร็จ ดังนี้ 72


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 1. ไดรวมลงพื้นที่ประเมินโรงเรียนและคัดเลือกโรงเรียนที่สมัครเขารวมโครงการจากจำนวน 22 ให เหลือ 11 โรงเรียน เปนโรงเรียนในแตละอำเภอละ 1 โรงเรียน และโรงเรียนในเขตเทศบาล จำนวน 1 โรงเรียน ประกอบดวย 1. โรงเรียนวัดควนศรีนวล อำเภอนาโยง 2. โรงเรียนบานโคกรัก อำเภอหาดสำราญ 3. โรงเรียนบานโคกชะแง อำเภอเมืองตรัง 4. โรงเรียนบานควนอินทนินงาม อำเภอยานตาขาว 5. โรงเรียนบานแหลมสอม อำเภอปะเหลียน 6. โรงเรียนวัดควนเมา อำเภอรัษฎา 7. โรงเรียนบานโคกยาง อำเภอกันตัง 8. โรงเรียนบานทุงขี้เหล็ก อำเภอสิเกา 9. โรงเรียนบานในปง อำเภอวังวิเศษ 10. โรงเรียนบานซา อำเภอหวยยอด 11. โรงเรียนเทศบาล 6 เทศบาลนครตรัง 2. ไดดำเนินการจัดประชุมนักเรียนผูสนใจสมัครเปนสมาชิกกิจกรรมสหกรณนักเรียนเพื่อจัดตั้ง สหกรณนักเรียนในโรงเรียน ตามกระบวนการจัดตั้งสหกรณนักเรียนในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน และให คำแนะนำการดำเนินกิจกรรมสหกรณนักเรียนใหกับครูผูรับผิดชอบและคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณนักเรียน โดย ใหมีการดำเนินกิจกรรมกลุมผลิตตาง ๆ ผานบัญชีกิจกรรมสหกรณน ักเรียนไปสูโครงการอาหารกลางวัน จำนวน 11 โรงเรียน 3. ไดดำเนินการเปนวิทยากรอบรมใหความรูเกี่ยวกับ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ แกผูแทน นักเรียน ครูและผูปกครอง จำนวน 110 คน จำนวน 11 โรงเรียน 4. รวมลงพื้นที่กับคณะกรรมการติดตามประเมินเพื่อติดตามผลการดำเนินงานของโรงเรียนที่เขารวม โครงการ พบวานักเรียนและครูมีอาหารที่ปลอดภัยและเพียงพอสำหรับการบริโภค และโรงเรียนสามารถเปน แหลงเรียนรูดานการเกษตรตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน จำนวน 11 โรงเรียน • งบประมาณที่ไดรับจัดสรร งบประมาณตามแผนพัฒนาจังหวัด งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 • ปญหา/อุปสรรค - ไมมี- 73


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ภาพกจิกรรม : โครงการขยายผลเกษตรเพื่ออาหารกลางวันตามแนวพระราชดำริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดตรัง ประจำป 2566 ภาพกิจกรรม : การรวมลงพื้นที่ประเมินคัดเลือกโรงเรียน ภาพกิจกรรม : การอบรมใหความรูเกี่ยวกับอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ ภาพกิจกรรม : การจัดประชุมจัดตั้งสหกรณนักเรียนในโรงเรียน 74


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ภาพกิจกรรม : การใหคำแนะนำ ภาพกิจกรรม : ลงพื้นที่ติดตามประเมินผล ภาพกิจกรรม : นักเรียนและครูมีอาหารที่ปลอดภัยและเพียงพอสำหรับการบริโภค 75


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร โครงการสงเสริมการดำเนินธุรกจิรานคาสหกรณในรูปแบบซเูปอรมารเกต ็ สหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ มีนโยบายในการพัฒนารานคาสหกรณใหเปนจุดจำหนายสินคาของ สหกรณและกลุมเกษตรกรที่มีคุณภาพจากจังหวัดตาง ๆ เชน ขาวสาร นม ไขไก ผักผลไม อาหารแปรรูป เพื่อ เปน ชองทางใหผูบริโภคเขาถึงสินคาสหกรณไดมากขึ้น และผลักดันใหสหกรณมีบทบาทหนาที่ในการเปนศูนย รวบรวม และจำหนายผลผลิตที่มีคุณภาพแกประชาชนอยางทั่วถึงในรูปแบบซูเปอรมารเก็ตสหกรณ กรม สงเสริมสหกรณไดดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายซูเปอรมารเก็ตสหกรณ ตามแนวคิด สด สะอาด ปลอดภัย “สดจากฟารมสูมือทาน รวมปนสุขสูชุมชน” โดยดำเนินการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจรานคาในรูปแบบ ซูเปอรมารเก็ตสหกรณใหกับผูแทนรานคาสหกรณ ที่เขารวมโครงการ อาทิ เทคนิคการจัดราน การพัฒนาการ บริหารจัดการ การออกแบบโมเดลธุรกิจสำหรับ ซูเปอรมารเก็ตสหกรณ รวมถึงการสรางเครือขายความรวมมือ ระหวางสหกรณ กลุมเกษตรกร สมาชิกเกษตรกร และหนวยงานตาง ๆ รวมถึงขยายโอกาสทางการตลาด กระจายรายไดใหกับเกษตรกร ผูผลิตสินคาผานการบริหารจัดการของรานคาในรูปแบบซูเปอรมารเก็ตสหกรณ ไปสูสมาชิกและประชาชนในชุมชน ใหไดบริโภคสินคาที่มีคณุภาพ ปลอดภัย ในราคาที่เปนธรรม • วัตถุประสงค 1. เพื่อสงเสริมและพัฒนาการดำเนินธุรกิจรานคาสหกรณในรูปแบบซูเปอรมารเก็ตสหกรณ 2. เพื่อสงเสริมการเชื่อมโยงธุรกิจระหวางรานคาสหกรณและเครือขายสหกรณและกลุมเกษตรกร ผูผลิตสินคา •ตัวชวี้ัด ติดตามการดำเนินงานโครงการสงเสริมการดำเนินธุรกิจรานคาสหกรณในรูปแบบซูเปอรมารเก็ต สหกรณ จำนวน 6 แหง • เปาหมาย/พื้นที่ดำเนินการ 1. สหกรณการเกษตรนาโยง จำกัด อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง 2. สหกรณการเกษตรยานตาขาว จำกัด อำเภอยานตาขาว จังหวัดตรัง 3. สหกรณการเกษตรหวยยอด จำกัด อำเภอหวยยอด จังหวัดตรัง 4. สหกรณการเกษตรเมืองตรัง จำกัด อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 5. สหกรณการเกษตรเพื่อการตลาดลูกคา ธ.ก.ส. ตรัง จำกัด อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 6. สหกรณการเกษตรหาดสำราญ จำกัด อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง •ผลการดำเนินงาน แนะนำ สงเสริม ติดตามการดำเนินโครงการสงเสริมการดำเนินธุรกิจรานคาสหกรณในรูปแบบ ซูเปอรมารเก็ตสหกรณ สงเสริมการเชื่อมโยงธุรกิจระหวางรานคาสหกรณและเครือขายสหกรณและ กลุมเกษตรกรผูผลิตสินคา 76


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร •ผลสำเรจ ็ เชิงปรมิาณ มีการเชื่อมโยงธุรกิจระหวางรานคาสหกรณและเครือขายสหกรณและกลุมเกษตรกรผูผลิตสินคา จำนวน 6 แหง 10,192,032 บาท เชิงคณุภาพ สหกรณท ี่เขารวมโครงการฯ มีการเชื่อมโยงนำสินคาจากสมาชิก และเครือขายสหกรณกลุมเกษตรกร มาจำหนายผานซูเปอรมารเก็ตสหกรณ • ปญหา/อปุสรรค 1. สหกรณเปาหมายขาดเงินทุนในการปรับปรุงตกแตงราน และการประชาสัมพันธรานใหนาสนใจ 2. พื้นที่ภายในรานคับแคบ ไมสามารถขยายหรือตอเติมใหใหญขึ้นได แนวทางแกไข หนวยงานภาครัฐจัดสรรงบประมาณหรือสนับสนุนเงินกูดอกเบี้ยต่ำ เพื่อใหสหกรณน ำไปปรับปรุง พัฒนารานสหกรณตอไป • ภาพกจิกรรม : โครงการสงเสริมการดำเนินธุรกิจรานคาสหกรณในรูปแบบซูเปอรมารเก็ตสหกรณ ภาพกิจกรรม : รานซูเปอรมารเก็ตสหกรณของสหกรณต างๆ ในพื้นที่จังหวัดตรัง จำหนายสินคาทางการเกษตร และผลิตภัณฑในชุมชน 77


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร การสนับสนุนการรวบรวมและกระจายผลไมเพื่อยกระดับราคาไมใหตกต่ำของสถาบัน เกษตรกร สำนักงานสหกรณจังหวัดตรังรวมกับสหกรณในพื้นที่จังหวัดตรัง ไดดำเนินการขับเคลื่อนสนับสนุนการ รวบรวมและกระจายผลไมเพื่อบรรเทาผลกระทบของปริมาณผลไมของสมาชิกสหกรณที่ออกสูตลาดจำนวน มาก ใหสามารถกระจายผลไมออกนอกแหลงผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปนการสรางเสถียรภาพดาน ราคาผลผลิตของสมาชิกสหกรณและสถาบันเกษตรกร ใหเปนไปตามกลไกตลาดที่เปนธรรม และมีการเชื่อมโยง เครือขายสหกรณเพื่อสรางเครือขายการจำหนายผลิตของสมาชิกสหกรณในราคาที่เปนธรรม • วัตถปุระสงค  เพื่อใหความชวยเหลือเกษตรกรสมาชิกสหกรณผูปลูกผลไมที่ประสบปญหาดานการจำหนายผลผลิต อันเนื่องมาจากผลผลิตลนตลาด หรือถูกกดราคาจากพอคาคนกลาง • เปาหมาย/พนื้ที่ดำเนนิการ เครือขายสหกรณในพื้นที่จังหวัดตรัง และลูกคาทั่วไป •ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรังรวมกับกระบวนการสหกรณดำเนินการใหการชวยเหลือเกษตรกรสมาชิก สหกรณในการจำหนายผลผลิต(ผลไม)ออกสูตลาด ดวยการประชาสัมพันธและสนับสนุนการรวบรวมและ กระจายผลไมไปยังเครือขายสหกรณและลูกคาทั่วไปในพื้นที่จังหวัดตรังและพื้นที่ตางจังหวัด โดยไดรับความ รวมมือจากเครือขายสหกรณและกลุมลูกคาทั่วไปในการสั่งซื้อผลไมในพื้นที่จังหวัดตรัง มีปริมาณการรวบรวม และกระจายผลไมทั้งสิ้น จำนวน 14.15 ตัน และกระจายผลไมใหกับเครือขายสหกรณจำนวนทั้งสิ้น 14.63 ตัน มูลคา 622,886.00 บาท เชิงปรมิาณ 1. สามารถกระจายผลไมไปยังเครือขายสหกรณในพื้นที่จังหวัดตรังและกลุมลูกคาทั่วไป จำนวนทั้งสิ้น 14.63 ตัน คิดเปนเงิน 622,886.00 บาท 2. สามารถรวบรวมและกระจายผลไมไปยังเครือขายสหกรณในพื้นที่ตางจังหวัด จำนวนทั้งสิ้น 14.15ตัน เชงิคณุภาพ 1. ลูกคาพึงพอใจในคุณภาพและราคาของสินคา 2. สมาชิกสหกรณไดรับการชวยเหลือไมใหราคาผลผลิตตกต่ำ สามารถจำหนายผลผลิตไดในราคาที่ เปนธรรม 78


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร • ภาพกจิกรรม : การสนับสนุนการรวบรวมและกระจายผลไมเพื่อยกระดับราคาไมใหตกต่ำของ สถาบันเกษตรกร ภาพกิจกรรม : การนำผลผลิตทางการเกษตรมากระจายใหแกผบูริโภคในพื้นที่จังหวัดตรัง 79


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร 2.3) งานบร ู ณาการกับหนวยงานภาคสวนตาง ๆ ในพน ื้ท ี่ โครงการจดัทำระบบควบคมุคุณภาพและมาตรฐานใหกับสินคาสงิ่บงชที้างภมูศิาสตรไทย (Internal Control) สนิคาพรกิไทยตรัง • วัตถุประสงค เพื่อสรางระบบควบคุมคุณภาพและมาตรฐานใหกับสินคา ใหสามารถตรวจสอบยอนกลับถึงแหลงที่มา ของสินคาและสรางความเชื่อมั่นใหกับผูบริโภค รวมทั้งผลักดันใหผูผลิตและผูประกอบการนำตราสัญลักษณสิ่ง บงชี้ทางภูมิศาสตรไทยไปสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคา • เปาหมาย สหกรณ/กลุมเกษตรกรผูผลิต ผูประกอบการ และผูที่เกี่ยวของกับสินคา “พริกไทยตรัง” • พื้นที่ดำเนนิงานโครงการ พื้นที่ปลูกพริกไทยตรังครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดในจังหวัดตรัง •ผลการดำเนินงาน กรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย ไดประกาศขึ้นทะเบียน “พริกไทยตรัง” เปนสินคาสิ่งบงชี้ ทางภูมิศาสตร ตั้งแตวันที่ 29 ตุลาคม 2563 โดยคัดเลือกพริกไทยพันธุปะเหลียน และไดสนับสนุนงบประมาณ แกสำนักงานพาณิชยจังหวัดตรัง จัดทำโครงการจัดทำระบบควบคุมคุณภาพและมาตรฐานใหกับสินคาสิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตรไทย (Internal Control) สินคาพริกไทยตรัง โดยจางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยา เขตนครศรีธรรมราช เปนที่ปรึกษาและดำเนินโครงการจัดประชุมและลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบกระบวนการผลิต สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรสินคา “พริกไทยตรัง” ระหวางวันที่ 23 – 29 เมษายน 2566 และนำผลการลงพื้นที่ นำเขาที่ประชุมระดับจังหวัด ซึ่งสำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรัง เปนคณะทำงานโครงการฯ และมีสมาชิกสหกรณ การเกษตรปะเหลียน จำกัด ที่ปลูกพริกไทยพันธุปะเหลียน เขารวมโครงการดังกลาว มีสหกรณ/กลุมเกษตรกร ผูผลิต และผูประกอบการพริกไทยตรังที่ไดรับมอบหนังสืออนุญาตใหใชตราสัญลักษณส ิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรไทย สินคา "พริกไทยตรัง" ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ทั้งสิ้นจำนวน 41 ราย เปนสมาชิกผูปลูกพริกไทยของ สหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด จำนวน 15 ราย สามารถใชตราสัญลักษณ GI ไดตั้งแตวันที่ 8 สิงหาคม 2566 ถึงวันที่ 7 สิงหาคม 2568 (โดยมีอายุการใชตรา 2 ป นับแตวันที่ไดรับอนุญาต) สำนักงานสหกรณจังหวัด ตรัง ไดสงเสริมการปลูกและแปรรูปพริกไทยพันธุปะเหลียน ตลอดจนประชาสัมพันธใหเปนที่รูจัก ชวยเพิ่มชอง ทางการจำหนายที่เนนชองทางออนไลนเพื่อสรางรายไดใหแกสมาชิกสหกรณและชุมชน •ผลสำเรจ ็ เชิงปรมิาณ สมาชิกสหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด ที่ปลูกพริกไทยตรัง ไดรับตราสัญลักษณสิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตรไทย สินคา "พริกไทยตรัง" จำนวน 15 ราย 80


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร เชิงคณุภาพ สมาชิกสหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด ไดรับการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานใหกับสินคา พริกไทยตรัง สามารถตรวจสอบยอนกลับถึงแหลงที่มาของสินคาและสรางความเชื่อมั่นใหกับผูบริโภค รวมทั้ง ผลักดันใหสมาชิกผูปลูกพริกไทย นำตราสัญลักษณสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรไทยไปสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคา • ปญหา/อปุสรรค -ไมมี- • ภาพกจิกรรม : โครงการจัดทำระบบควบคุมคุณภาพและมาตรฐานใหกับสินคาสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรไทย (Internal Control) สินคาพริกไทยตรัง ภาพกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานควบคุมตรวจสอบกระบวนการผลิตสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร “พริกไทยตรัง” ภาพกิจกรรม : คณะกรรมการลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบกระบวนการผลิตสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร “พริกไทยตรัง” 81


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ภาพกิจกรรม : มอบหนังสืออนุญาตใหใชตราสัญลักษณสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรไทย “พริกไทยตรัง” แกสมาชิกสหกรณการเกษตรปะเหลียน จำกัด ที่เขารวมโครงการฯ 82


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร โครงการหนวยบำบดัทกุข บำรงุสุข สรางรอยยมิ้ ใหประชาชนจังหวัดตรงั” ประจำป  งบประมาณ พ.ศ. 2566 • วัตถปุระสงค  เพื่อนำบริการของรัฐ ทั้งระดับจังหวัด อำเภอ และภาคเอกชน ไปใหบริการประชาชนในพื้นที่ตำบล หมูบาน ในลักษณะของเคานเตอรบริการประชาชน (Counter Service) และเปดโอกาสใหผูขอรับบริการ สามารถเขาถึงบริการตาง ๆ ไดมากที่สุด ตลอดจนใหบริการทางดานการเกษตรแกเกษตรกร เปนการแกไข ปญหาทางวิชาการเกษตรที่เปนปญหาเรงดวน และสามารถแกไขปญหาดวยการวิเคราะห วิจัย ใหคำแนะนำ บูรณาการความรวมมือระหวางหนวยงานราชการ หนวยงานสงเสริม และหนวยงานภาคีที่เกี่ยวของ โดยพัฒนา ฟนฟูเกษตรกรใหสามารถทำการผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน •ตัวชี้วัด ประชาชนในพื้นที่ตำบล หมูบาน สามารถเขาถึงบริการของภาครัฐไดมากขึ้น • เปาหมาย/พนื้ทดี่ำเนนิงานโครงการ ในพื้นที่เปาหมายตามแผนงานการจัดโครงการจำนวน 10 ครั้ง 10 อำเภอ •ผลการดำเนินงาน 1. จังหวัดตรังกำหนดแผนการจัดโครงการ ฯ และแจงใหหนวยงานภาคีไดรับทราบ 2. หนวยงานแจงการเขารวมโครงการ ฯ ใหจังหวัดตรังทราบ 3. หนวยงานเขารวมกิจกรรมตามโครงการ ฯ จำนวน 10 ครั้ง •ผลสำเร็จจากการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณจังหวัดตรัง ไดรับทราบแผนการจัดโครงการและประสานงานกับจังหวัดตรังเพื่อ เขารวมบูรณาการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ“หนวยบำบัดทุกข บำรุงสุข สรางรอยยิ้มใหประชาชน” จังหวัด ตรังประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 รวมกับหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณในจังหวัดตรัง และ ภาคเอกชน ในสวนของสำนักงานสหกรณจังหวัดตรังไดกำหนดกิจกรรมการจัดนิทรรศการดานการสหกรณ แจกเอกสารเผยแพร การใหคำปรึกษาดานการรวมกลุมเพื่อจัดตั้งสหกรณและกลุมเกษตรกรแจกน้ำยาลางจาน แกประชาชนผูเขารวมงาน และตอบปญหามอบของรางวัลใหแกเยาวชนและประชาชนผูเขารวมงาน ทำให ประชาชนและเยาวชนมีความรูความเขาใจเรื่องการสหกรณมากยิ่งขึ้น จำนวน 10 ครั้ง 10 อำเภอ มีเยาวชน และประชาชนเขารวมกิจกรรมจำนวน 650 คน ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ณ โรงเรียนบานนาเมืองเพชร ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา ครั้งที่ 2 วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ณ โรงเรียนบานทุงตอ หมูที่ 5 ตำบลทุงตอ อำเภอหวยยอด ครั้งที่ 3 วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2566 ณ ที่ทำการองคการบริหารสวนตำบลปะเหลียน หมูที่ 1 ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน 83


รายงานประจำป 2566 (Annual Report) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงัของเกษตรกร ครั้งที่ 4 วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ณ ศาลาประชาคมอำเภอวังวิเศษ หมูที่ 7 ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ ครั้งที่ 5 วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2566 ณ โรงเรียนบานชองลม หมูที่ 11 ตำบลวังมะปราง อำเภอวังวิเศษ ครั้งที่ 6 วันที่ 26 เมษายน 2566 ณ วิทยาลัยการอาชีพกันตัง หมูที่ 3 ตำบลกันตังใต อำเภอกันตัง ครั้งที่ 7 วันที่ 25 พฤษภาคม 2566 ณ ที่ทำการองคการบริหารสวนตำบลทุงคาย หมูที่ 4 ตำบลทุงคาย อำเภอยานตาขาว ครั้งที่ 8 วันที่ 15 มิถุนายน 2566 ณ โรงเรียนวัดเชี่ยวชาญกิจ หมูที่ 7 ตำบลหนองตรุด อำเภอเมืองตรัง ครั้งที่9 วันที่18 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 ณ ศาลาอเนกประสงคหมูที่2 ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฎา ครั้งที่ 10 วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ณ โรงเรียนหาดสำราญวิทยาคม หมู 9 ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ • งบประมาณที่ไดรับจัดสรรและผลการใชจายงบประมาณ งบประมาณสำนักงานสหกรณจ ังหวัดตรัง งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 • ปญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไข -ไมมี- • ภาพกจิกรรม : โครงการหนวยบำบัดทุกข บำรุงสุข สรางรอยยิ้มใหประชาชนจังหวัดตรัง” ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 ภาพกิจกรรม : การออกหนวยใหบริการประชาชน โครงการ “หนวยบำบัดทุกข บำรุงสุข สรางรอยยิ้มให ประชาชนจังหวัดตรัง”ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 84


Click to View FlipBook Version