The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจเทศบาลเมืงอเขาสามยอด ปี 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจเทศบาลเมืงอเขาสามยอด ปี 2563

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจเทศบาลเมืงอเขาสามยอด ปี 2563

42

กลมุ่ อาสาสมคั รประชาชน
อาสาสมัครปอ้ งกนั ฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.)
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหม่บู า้ น (อสม.)
สภาเดก็ และเยาวชน
อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมู่บ้าน (อสม.) เดก็ และเยาวชน
ลูกเสอื ชาวบา้ น
สภาวัยแรงงาน
สภาผสู้ งู วยั

4.7 เศรษฐกจิ พอเพยี งทอ้ งถิน่ (ดา้ นการเกษตรและแหล่งนำ้ )
4.7.1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของหม่บู า้ นหรือชุมชน
เป็นที่ราบมีแนวภูเขาอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเป็นแนวยาวมีเน้ือท่ีประมาณ 32.50

ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 20,148 ไร่จำนวนประชากร มีทั้งส้ิน 30,168 คน แยกเป็น ชาย
16,743 คน และหญิง 13,425 คน จำนวนครัวเรือน 12,136 ครัวเรือน (ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ณ
วนั ที่ 4 ตลุ าคม 2562) (เดิมจำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลเมืองเขาสามยอด 7 หมบู่ ้าน) แบง่ เขตเป็น
34 ชมุ ชน โดยมีประธานกรรมการชุมชนและคณะกรรมการชมุ ชนละ 15 คน กำกับดูแล

4.7.2 ขอ้ มลู ดา้ นการเกษตร
ตำบลเขาสามยอดโดยท่ัวไปมีความเหมาะสมทางด้านเกษตรกรรม ลักษณะเป็นดินปน
ทราย เน่ืองจากลักษณะภูมิประเทศและภมู ิอากาศเอ้ืออำนวย ลักษณะดินอุดมสมบูรณเ์ หมาะแก่การ
เพาะปลกู พืชทกุ ชนดิ ทำพืชสวน พชื ไร่ ท่สี ำคัญคือ ข้าวโพด มนั สำประหลัง ข้าว ทานตะวัน
4.7.3 ข้อมลู ดา้ นแหลง่ น้ำทางการเกษตร
แหล่งนำ้ มาจากการขดุ สระเพือ่ กักเก็บน้ำ ไมม่ แี ม่น้ำลำคลอง
4.7.4 ข้อมลู ดา้ นแหลง่ นำ้ กิน นำ้ ใช้ (หรอื น้ำเพอ่ื การอุปโภค บริโภค)
ในพ้นื ท่ีตำบลเขาสามยอด มรี ะบบบรกิ ารพ้นื ฐานด้านประปา ให้บริการจำนวน 2 ระบบคอื

การประปาส่วนภูมิภาคสาขาลพบรุ ี
การประปาเทศบาลเมอื งเขาสามยอด จำนวน 13 แหง่
4.8 ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม
4.8.1 การนับถอื ศาสนา
ในเขตเทศบาลเมืองเขาสามยอด มีวัด 10 แห่ง ดังนี้วัดพระบาทน้ำพุ วัดสระมะเกลือ
วัดน้ำจั้น วัดหนองบัวขาว วัดดงสวองใหม่ วัดโนนหัวช้าง วดั ป่าเขาสามยอด วัดดงสวองเก่า วัดสันติ
มรรคคีรี วดั ถำ้ พิบูลธรรมคีรี

43

4.8.2 ประเพณีและงานประจำปี
ประเพณีกำฟา้
เป็นประเพณีที่สำคัญของชาวไทยพวน คำว่า ”กำ” ในภาษาพวน หมายถึง การนับถือ
สักการะ คำว่า “ฟา้ ” หมายถึง เจ้าฟ้า เจ้าแผ่นดิน ผู้อยู่สงู เทียมฟ้า หรือเทวดาและส่ิงศักดิส์ ิทธ์ิทม่ี อง
ไมเ่ ห็น คำวา่ “กำฟา้ ” จึงหมายถึง การนับถือการบูชาฟา้ ประเพณกี ำฟ้าของชาวไทยพวน หมบู่ ้านน้ำ
จั้นตามประเพณีจะจัดตั้งแต่วันข้ึน 2 ค่ำ เดือน 3 ซึ่งเป็นวันเตรียมงานหรือวันสุกดิบ คนในหมู่บ้าน
หรือสมาชิกในครัวเรือนจะช่วยกันทำข้าวปุ้น (ขนมจีน) ข้าวหลาม ข้าวจี่ (ข้าวเหนียวป้ันยัดไส้หวาน
ไส้เค็ม ชุบไข่ และปิ้งไฟจนแห้งเกรียม) เพอื่ นำสิ่งของดังกล่าวไปเซ่นไหว้ผีฟ้า นอกจากนยี้ ังมีการสรา้ ง
ปะรำสำหรับทำพิธีที่วัด ตอนเย็นจะนิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ ผู้อาวุโสของหมู่บ้านจะ
ประกอบพิธีเบิกบายศรี อัญเชิญเทพยดาผีฟ้ามารับเครื่องสังเวย และมีการรำขอพร กล่าวคำขอให้ผี
ฟ้า ผบี ้าน ผีเรอื น มาปกปกั รักษาคนในครอบครัวใหอ้ ยู่ดีกินดี มีขา้ วปลาอาหารบรบิ ูรณ์ ส่ิงสำคัญทสี่ ุด
ของงานบุญน้ีคือทุกคนต้องหยุดทำงานท้ังหลายทั้งปวง เพราะมีความเชื่อว่าหากผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติ
ตามจะถกู ฟา้ ผ่าตายได้
ประเพณบี ุญเผวด
ชาวอีสาน จะจัดทำบุญ ปีละ 1 คร้ัง ระหว่างเดอื น 3 เดือน 4 ไปจนถึงกลางเดือน 5 จะ
จัดประเพณีในชว่ งสปั ดาหแ์ รกของเดือนมีนาคมทุกปี โดยจะมีวนั รวมตามภาษาอีสาน เรียกวา่ วันโฮม
บุญ พุทธศาสนิกชนมาช่วยกันจัดตกแต่งศาลาหรือสถานที่ที่จะทำบุญ จัดเตรียมเคร่ืองสักการะ
ดอกไม้ ธูปเทียน ข้าวตอก อยา่ งละพนั กอ้ น มีการตง้ั ธงใหญ่ ไวแ้ ปดทศิ และมีศาลเล็กๆ เป็นทีเ่ ก็บข้าว
พันก้อน และเครื่องคาวหวาน สำหรับ ผี เปรต และมารรอบๆ ศาลาการเปรียญจะแขวนผ้าผะเหวด
เป็นเร่ืองราวของพระเวสสันดร ตั้งแต่กัณฑ์ท่ี 1 ถึงกัณฑ์สุดท้าย การจัดงานบุญผะเหวด หรือ งาน
เทศน์มหาชาตินิยมท่ีอัญเชิญพระอุปคุต มาปกป้องคุ้มครองมิให้เกดิ เหตุเภทภัยอนั ตรายทั้งปวง และ
ให้โชค ลาภแก่พุทธศาสนิกชนในการทำบุญมหาชาติ จึงมีการแห่พระอุปคุต ซึ่งสมมุติว่า อัญเชิญมา
จาก สะดือทะเล
ประเพณีลอยกระทง
ประเพณีลอยกระทงเปน็ ประเพณีของไทยท่สี ืบทอดมาแต่โบราณ จะกระทำกันในวันข้ึน
15 ค่ำ เดือน 12 (นับเดือนแบบไทยโบราณจะตรงกับเดือนพฤศจิกายน) ตามความเชื่อของคนไทยท่ี
ตอ้ งเกี่ยวข้องกับน้ำเพ่ือใชใ้ นการดำรงชีวติ เช่น ใชด้ ่ืมกิน ใช้อาบชำระร่างกายรวมทั้งการท้ิงสง่ิ ปฏิกูล
ต่างๆ ลงในน้ำตลอดปี เพ่ือเป็นการขอขมาลาโทษ และเช่ือกันว่าการลอยกระทงนี้ จะสามารถบูชา
ลอยพระพทุ ธบาทของสมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจา้ ได้ด้วย ซ่ึงประเพณีลอยกระทงน้ีคนไทยไดป้ ฏิบัติ
กันมาต้ังแต่สมยั สุโขทยั จนถงึ ปัจจุบันน้ี

44

ประเพณีสงกรานต์
วนั สงกรานต์เป็นวันข้ึนปีใหม่ตามประเพณีไทย ซง่ึ กำหนดไว้เป็นวันที่ 13 เมษายน ของ
ทุกปี ในวันนี้จะมีการทำบุญตักบาตรทำทานโดยการปล่อยนกปล่อยปลา สรงน้ำพระ รดน้ำขอพร
ผ้ใู หญ่และผมู้ ีพระคุณ เพ่ือสร้างความเป็นสิรมิ งคลแกต่ นเองและครอบครัว และเปน็ การส่งเสรมิ และ
เสรมิ สรา้ งความผกู พัน การเคารพนอบน้อมระหวา่ งผใู้ หญแ่ ละเด็กขน้ึ และเป็นชว่ งเวลาของการรนื่ เริง
สนุกสนานกันของประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ มีการละเล่นพื้นบ้านตามแต่ละภูมิภาคต่างๆ
ประเพณีสงกรานต์เป็นประเพณีของไทยท่ีสำคัญท่ีสืบทอดกันมาแต่อดีต จึงสมควรท่ีจะสืบสานและ
อนุรกั ษว์ ฒั นธรรมขนบธรรมเนยี มประเพณีอันสำคญั ให้ยืนยงและดำรงอยูส่ ืบไปตราบนานเทา่ นาน
4.8.3 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภาษาถิ่น
ภาษาไทย-พวนภาษาพูดซึ่งมีสำเนียงคล้ายเสียงภาษาถ่ินเหนือ อกั ษร "ร " ในภาษาไทย
กลาง จะเปน็ "ฮ" ในภาษาพวน เช่น

ลำดบั ท่ี ภาษาพวน ภาษาไทย
รัก
1 ฮกั หัวใจ
ใคร
2 หวั เจอ ไปไหน
ช้อน
3 เผอ ให้
คณุ เปน็ คนบ้านไหน
4 ไปกะเลอ/ไปเกอ๋ ทำอะไร
ไปจริงๆหรอื
5 โบง่ /ซอ้ น

6 เหอ้

7 เจ้าเป็นไทบา้ นเลอ

8 เอด็ ผิเลอ/เอ็ดหังก้อ

9 ไปแทบ้ ่

ภาษาลาว – ภาษาเวยี งจทั ร์
สำเนียงเวียงจันทน์ซ่ึงเป็นสำเนียงของคนเมืองหลวง สามารถเข้าใจกันได้ท่ัวประเทศ
การเรยี นภาษาลาวในประเทศลาวน้ัน รัฐบาลลาวไมไ่ ดบ้ ังคับให้ใช้สำเนยี งเวียงจันทน์ แตใ่ ห้สามารถใช้
สำเนียงท้องถิ่นต่าง ๆ ได้ แต่การเรียนภาษาลาวสำหรับชาวต่างประเทศ รัฐบาลลาวแนะนำให้ใช้
สำเนียงเวียงจันทน์ ฉะนั้นประชาชนในประเทศลาวจึงพูดอ่านภาษาลาวเป็นสำเนียงท้องถ่ินของตน
จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จังหวัดชัยภูมิ หนองบัวลำภู หนองคาย (อำเภอเมืองหนองคาย

45

ศรีเชียงใหม่ ท่าบ่อ โพนพิสัย) ขอนแก่น (อำเภอภูเวียง ชุมแพ สีชมพู ภูผาม่าน หนองนาคำ เวียงเก่า
หนองเรือบางหมบู่ า้ น) ยโสธร (อำเภอเมอื งยโสธร ทรายมูล กดุ ชุม บางหม่บู า้ น) อดุ รธานี

ลำดับที่ ภาษาลาวเวยี งจันทร์ ภาษาไทย

1 ฮัก รัก
2 หวั เจอ หัวใจ
3 เผอ ใคร
4 ไปกะเลอ/ไปเก๋อ ไปไหน
5 โบง่ /ซอ้ น ชอ้ น

4.8.4 สินค้าพน้ื เมอื งและของที่ระลึก
ตำบลเขาสามยอด มีสินค้าตุ๊กตาลิงปั้น ตระกร้าปักเคร่ืองหมายข้าราชการทหาร
กระเป๋าผ้ารม่ กลมุ่ แมบ่ า้ นทหาร ยาหม่อง พิมเสนน้ำ สมนุ ไพร ไขเ่ ค็ม
4.9 ทรัพยากรธรรมชาติ
4.9.1 น้ำทีใ่ ชใ่ นการอุปโภค-บริโภค
เป็นน้ำท่ีได้จากน้ำฝน และน้ำดิบจากห้วยขะยูง (อยู่นอกเขต) ซึ่งจะต้องนำมาผ่าน
กระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อยไม่สามารถนำข้ึนมาใช้ให้พอเพียงได้
และบางแหง่ เค็ม ไมส่ ามารถใชด้ ม่ื และอปุ โภคได้
4.9.2 ปา่ ไม้
ในเขตเทศบาลเมืองเขาสามยอดไมม่ ปี ่าไม้
4.9.3 ภูเขา
ในเขตเทศบาลเมอื งเขาสามยอดมภี ูเขาเปน็ สามยอดจงึ เปน็ ทีม่ าของชื่อเทศบาล
4.9.4 คุณภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ
เทศบาลเมืองเขาสามยอดเป็นพ้ืนที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท ประชากรแฝงประมาณ 4,000 -
5,000 คนต่อวัน (ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากถึง 96,811.54 ตันคาร์บอนต่อปี) อาศยั อยู่
ใน 34 ชุมชน มีการขยายตัวของชุมชนเมืองอย่างรวดเร็ว ปัญหาสิ่งแวดล้อมหลากหลายด้านกำลัง
เป็นปัญหาวิกฤติในพ้ืนท่ีเทศบาลเมืองเขาสามยอด ได้แก่ ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยซ่ึงมากถึง
30 ตันต่อวันทำให้เสียค่าใช้จ่ายจากการบริหารจัดการขยะราว 120,000 บาทต่อเดือน อีกท้ังพื้นท่ีทิ้ง
และฝังกลบขยะรองรับได้อย่างจำกัด ปัญหาการลดลงของพื้นที่สีเขียวในเมืองปัจจุบันพื้นท่ีของ
เทศบาลเมืองเขาสามยอด มปี ระมาณ 32.5 ตารางกิโลเมตร (20,148 ไร่) มีพื้นท่ีสีเขียวคิดเป็น 20 %

46

ของพน้ื ท่ีท้ังหมด (4,029 ไร่) ทำให้ไม่สามารถเกบ็ สะสมคาร์บอนได้เทียบเท่ากบั การปลดปล่อย และ
กจิ กรรมต่างๆ ในการดำเนนิ ชีวิต ก็มกี ารปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เชน่ กนั

4.10 อืน่ ๆ
4.10.1 ข้อมลู เกี่ยวกับศกั ยภาพของทอ้ งถ่นิ
การบริหาร แบ่งส่วนราชการออกเป็น 8 กอง และ 1 หน่วยงานตรวจสอบภายใน

คือ สำนักปลัดเทศบาล กองวิชาการและแผนงาน กองการศึกษา กองคลัง กองช่าง กองสาธารณสุข
และสิ่งแวดล้อม กองประปาและกองสวัสดิการสังคม กับอีก 1 หน่วยงานตรวจสอบภายใน
มีผู้บังคับบญั ชาสูงสดุ ฝ่ายประจำคือ ปลัดเทศบาล 1 คน ฝ่ายการเมืองประกอบด้วย นายกเทศมนตรี
1 คน และรองนายกเทศมนตรีไม่เกิน 3 คน ท่ีปรึกษานายกเทศมนตรี 3 คน สมาชิกสภาเทศบาล
18 คน เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ

การประชุมประชาคมหรือการประชุมอื่นๆท่ีมีลักษณะคล้ายกัน และเกี่ยวข้องกับการ
จดั ทำแผนยุทธศาสตร์การพฒั นา มดี งั นี้

การจัดทำแผนชุมชน ซึ่งแต่ละชุมชนได้ดำเนินการประชุมแผนโดยมีเทศบาลเมือง
เขาสามยอดเป็นพเี่ ล้ียงดแู ล ประชุมประชาคม เพอื่ รับทราบปญั หาหรอื ความตอ้ งการของประชาชนใน
เขตเทศบาลเมอื งเขาสามยอด เพอื่ เปน็ ข้อมูลในการจดั ทำแผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา

การประชุมคณะกรรมการการจัดลำดับความสำคัญ ซ่ึงคณะกรรมการชุดน้ีมาจาก
ตัวแทนประธานชุนทั้ง 3 เขต เขตละ 5 คน รวม 15 คน เป็นคณะกรรมการจัดลำดับความสำคัญ
ซึ่งมีหน้าท่ีพิจารณาโครงการท่ีมาจากแผนชุมชน แผนระดับตำบล ก่อนที่จะจัดทำร่างแผนพัฒนา
ทอ้ งถ่นิ ส่ีปี

การประชมุ คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลเมอื งเขาสามยอด
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลเมอื งเขาสามยอด
ก าร ป ระ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ติ ด ต าม แ ล ะ ป ร ะ เมิ น ผ ล แ ผ น พั ฒ น าเท ศ บ าล เมื อ ง
เขาสามยอด
4.10.2 จำนวนบุคลากร
จำนวนบคุ ลากรในสังกัด เทศบาลเมอื งเขาสามยอด

สำนกั /สว่ น พนักงาน ลูกจา้ ง พนักงานจ้าง รวม(คน)
เทศบาลสามญั ประจำ ภารกิจ ท่วั ไป
สำนักงานปลดั 27
กองวิชาการและแผนงาน 13 - 77 8
กองคลัง 7 - 1- 14
9 - 41

47

สำนัก/สว่ น พนักงาน ลูกจ้าง พนกั งานจา้ ง รวม(คน)
เทศบาลสามญั ประจำ ภารกิจ ทว่ั ไป
กองสวสั ดิการสงั คม 6
กองสาธารณสขุ และสงิ่ แวดลอ้ ม 5 - 1- 22
กองการศกึ ษา 7 - 4 11 52
กองช่าง 33 - 16 3 9
กองประปา 5 - 22 5
หน่วยตรวจสอบภายใน 3 - 2- 1
1 - -- 144
รวม 83 - 37 24

(ทีม่ า : งานการเจ้าหน้าท่ี สำนกั ปลัดฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2563)

48

4.10.3 โครงสร้างและกระบวนการบริหารงานบุคคล และโครงสร้างและกระบวนการ
บรหิ าร

นางสายใจ เลศิ วริ ิยะประภา
นายกเทศมนตรี

ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี ท่ปี รกึ ษานายกเทศมนตรี
นายสเุ มธ ประภาสวสั ด์ิ นางสวุ ิมล จฑู ะสุวรรณ

พันโทขรรคช์ ัย ภทู่ อง นางจิรพรรณ พยงงาม นางมณฑาทพิ ย์ คงจรูญ
รองนายกเทศมนตรี คนที่ 1 รองนายกเทศมนตรี คนที่ 2 เลขานกุ ารนายกเทศมนตรี

นางจรรยงค์ ธราสิทธิ์ รองนายกเทศมนตรี คนท่ี 3
ปลัดเทศบาล (ว่าง)

พ.จ.อ.บญุ เลศิ พฤฒากรณ์ น.ส.วนั เพ็ญ เปรมมาก
รองปลัดเทศบาล รองปลัดเทศบาล

พ.จ.อ.บุญเลิศ พฤฒากรณ์ พนักงานเทศบาล : 13คน นางสกุ ิตตยิ า ล้มิ สริ ิสมั พันธ์ พนกั งานเทศบาล : 5คน
รองปลัดเทศบาล พนักงานจา้ งตามภารกิจ : 7คน รก.ผอ. พนกั งานจา้ งตามภารกิจ : 1คน
พนกั งานจา้ งทัว่ ไป : -คน
รก.หัวหน้าสำนกั ปลัด พนักงานจา้ งท่ัวไป : 7คน กองสวัสดิการสงั คม พนกั งานจา้ งเหมา : 3คน
พนักงานจ้างเหมา : 14 คน

นางจรรยงค์ ธราสิทธ์ิ พนกั งานเทศบาล : 33คน นางวราภรณ์ เริงใจ พนกั งานเทศบาล : 10คน
พนักงานจ้างตามภารกจิ : 17คน ผอ.กองคลัง พนกั งานจา้ งตามภารกจิ : 4คน
ปลดั เทศบาล รก.
ผอ.กองการศึกษา พนักงานจ้างท่วั ไป : 2คน พนกั งานจา้ งทั่วไป : 1คน
พนกั งานจ้างเหมา : 42คน พนักงานจา้ งเหมา : 1คน

นายณฐั พล เขยี วทอง พนักงานเทศบาล : 5คน นางวรญั ญา น้อมธงไทย พนกั งานเทศบาล : 7คน
ผอ.กองชา่ ง พนักงานจา้ งตามภารกิจ : 1คน ผอ.กองวิชาการและ พนกั งานจา้ งตามภารกิจ: -คน
พนักงานจ้างทั่วไป : 2คน แผนงาน พนกั งานจา้ งทวั่ ไป : -คน
พนักงานจา้ งเหมา : 1คน

วา่ ที่รท.ณรงคศ์ กั ด์ิ ฟักเขียว พนกั งานจ้างเหมา : 15คน น.ส.วันเพ็ญ เปรมมาก พนกั งานเทศบาล : 3คน
ผอ.กองสาธารณสขุ และ รองปลัดเทศบาล พนักงานจ้างตามภารกจิ : 2คน
พนักงานเทศบาล : 5คน รก.ผอ.กองประปา พนักงานจ้างทวั่ ไป : -คน
สง่ิ แวดล้อม พนกั งานจา้ งตามภารกิจ : 5คน
พนักงานจา้ งทวั่ ไป : 11คน พนกั งานจา้ งเหมา : 3คน
พนักงานจ้างเหมา : 28คน

49

4.10.4 หลักการบรหิ ารกิจการบ้านเมอื งท่ดี ี
เทศบาลเมืองเขาสามยอด เน้นการบริหารงานโดยจัดระเบียบเพื่อให้สังคมสามารถอยู่
ร่วมกันได้อย่างสงบสุข และผู้อยู่ในความถูกต้องเป็นธรรม ตามหลักพื้นฐานการบริหารกิจการ
บ้านเมืองทดี่ ี ดงั นี้

หลักนิติธรรม (The Rule of Law) หมายถึง การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ขอ้ บังคับตา่ งๆ โดยถือว่าเป็นการปกครองภายใต้กฎหมายมใิ ช่ตามอำเภอใจ หรืออำนาจของตัวบุคคล
จะต้องคำนึงถึงความเป็นธรรม และความยุติธรรม รวมท้ังมีความรัดกุม และรวดเร็วด้วย เทศบาล
เมืองเขาสามยอดได้ออกเทศบัญญัติที่เป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปี และเทศบัญญัติที่ใช้ในการ
ปฏบิ ัติงานตามอำนาจหนา้ ทผ่ี า่ นความเหน็ ชอบของสภาเทศบาล

หลักคุณธรรม (Morality) หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้อง การส่งเสริมให้
บคุ ลากรพัฒนาตนเองไปพรอ้ มกัน เพ่ือให้บคุ ลากรมีความซ่ือสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ วินัย
ประกอบอาชีพสุจริต เทศบาลเมืองเขาสามยอดปฏิบัติหน้าท่ีโดยยึดถือระเบียบกฎหมาย พร้อมทั้งมี
การพัฒนาพนักงานเทศบาลให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามตำแหน่ง พร้อมทั้ ง
ฝึกอบรมทางด้านคณุ ธรรมจริยธรรม

หลักความโปร่งใส (Accountability) หมายถึง การไม่ทุจริต คอร์รัปชั่นประชาชน
เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ได้สะดวกและใจง่าย และมีกระบวนการให้ประชาชนตรวจสอบความถูกต้อง
อยา่ งชัดเจน
เทศบาลเมืองเขาสามยอด สามารถให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารโดยการร่วมประชุมจัดทำแผน
ชมุ ชน แผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ การขอข้อมูลขา่ วสาร รับทราบ ขา่ วสารการ

หลักการมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การให้โอกาสให้บุคลากรผู้มีส่วน
เก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วมทางการบริหารจัดการเก่ียวกับการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ เช่น เป็น
คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและหรือคณะทำงานโดยใช้ข้อมูลความคิดเห็น แนะนำ ปรึกษา
ร่วมวางแผนและร่วมปฏิบัติ เทศบาลเมืองเขาสามยอดแต่งต้ังประชาชนมีความรู้ ความสามารถ มี
ประสบการณ์ หรือเรียกว่าคลังสมอง มาเป็นคณะกรรมการท่ีปรึกษาด้านการศึกษาการรักษา
สิ่งแวดล้อมการสาธารณสุข การสวัสดิการสังคม การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สิน การ
โยธา เป็นคณะกรรมการจดั ซ้อื จัดจา้ ง คณะกรรมการจดั ทำแผนพฒั นาทอ้ งถิน่

หลักความรับผิดชอบ (Responsibility) หมายถึง การตระหนักในสิทธิและหน้าท่ี
ความสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาการบริหารจัดการ การกระตือรือร้นในการ
แก้ไขปัญหา และเคารพในความคดิ เห็นทีแ่ ตกต่าง โดยท่ีความกล้าท่จี ะยอมรับผลดีและผลเสียจากการ
กระทำของตน เทศบาลเมืองเขาสามยอดได้บริหารเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น สงเคราะห์
ช่วยเหลือตามความต้องการของประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเด็ก เยาวชน ประชาชน สตรี ผู้สูงอายุ

50

ท่ียากไร้รวมท้ังผู้พิการ ด้วยความรวดเร็วและถูกต้องการประชุมสภาเทศบาลได้มีการแสดงความ
คิดเห็นที่มีเหตุและผลรวมทั้งการประชุมประชาคม การประชุมคณะกรรมการชุมชนท้ัง 34 ชุมชน
โดยยอมรบั ความคดิ เหน็ ที่แตกต่าง ความมเี หตุมีผลตามระบอบประชาธปิ ไตย

หลักความคุ้มค่า (Cost effectiveness of Economy ) หมายถึง การบริหาร
จัดการและใช้ทรพั ยากร ท่ีมอี ยา่ งจำกัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่สว่ นรวมโดยรณรงค์ให้บุคลากร
มคี วามประหยัด ใชว้ ัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า และรักษาทรัพยากรธรรมชาตใิ ห้สมบูรณ์ย่ังยืน เทศบาล
เมืองเขาสามยอดมีงบประมาณน้อยแต่ประชาชนมีจำนวนและความต้องการค่อนข้างมาก จึงได้จัด
โครงการหรือกิจกรรมท่ีจำเป็นเรง่ ด่วนที่ตรงกับความต้องการของประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มประชาชน
ทยี่ ากไร้ขอรบั การสนับสนนุ จากกลุม่ ประชาชนทม่ี ีคุณภาพชวี ิตที่ดกี วา่ ในชุมชน โครงการคัดแยกขยะ
เพือ่ เพิม่ มูลคา่ ของขยะ และการจัดทำปุ๋ยชวี ภาพ

การสง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนความเปน็ มา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 หมวดที่ 5 แนวนโยบาย

พน้ื ฐานแหง่ รัฐ ส่วนท่ี 10 แนวนโยบายด้านการมสี ่วนรว่ มของประชาชนมาตรา 78 รฐั ตอ้ งดำเนินการ
ตามแนวนโยบายดา้ นการมสี ว่ นร่วมของประชาชน ดงั ต่อไปนี้

ส่งเสรมิ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมทงั้ ในระดบั ชาติ และระดบั ท้องถ่นิ

ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจทางการเมือง
การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกจิ และสังคม รวมท้งั การจัดทำบรกิ ารสาธารณะ

สง่ เสริมและสนบั สนุนการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ
ทกุ ระดับ ในรปู แบบองคก์ รทางวิชาชพี หรอื ตามสาขาอาชีพที่หลากหลายหรอื รูปแบบอื่น

ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้มแข็งในทางการเมือง และจัดให้มีกฎหมายจัดต้ัง
กองทนุ พัฒนาการเมืองภาคประชาชน เพอื่ ชว่ ยเหลอื การดำเนินกิจกรรมสาธารณะของชุมชน รวมทั้ง
สนับสนุนการดำเนินการของกลุ่มประชาชนท่ีรวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายทุกรูปแบบให้สามาร ถ
แสดงความคดิ เห็น และเสนอความต้องการของชมุ ชนในพน้ื ท่ี

ส่งเสริมและให้การศกึ ษาแกป่ ระชาชนเกยี่ วกับการพฒั นาการเมอื ง และการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข รวมท้ังส่งเสรมิ ให้ประชาชนได้ใช้สิทธิการ
เลือกตงั้ โดยสุจรติ และเที่ยงธรรม

พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ถึงแก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 7
พ.ศ. 2550 มาตรา 3/1 วรรคสาม ในการปฏิบัติหน้าท่ีของราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของ

51

ประชาชน การเปิดเผยข้อมูลการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ท้ังนี้ตามความ
เหมาะสมของแตล่ ะภารกิจ

พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถึงแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2546 มาตรา 50
วรรคสอง การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าท่ีของเทศบาลต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำ
แผนพัฒนา การจัดทำงบประมาณ การจัดซ้ือจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ให้เทศบาลมีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบการ
บรกิ ารสาธารณะ เพ่ือประโยชน์ของประชาชนในทอ้ งถ่ินของตนเอง ดงั น้ี

นโยบายของผ้บู ริหาร “คนเป็นศูนย์กลางของการพฒั นา”
ดา้ นการศกึ ษา
ด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
ดา้ นเศรษฐกจิ และการทอ่ งเทยี่ ว
ดา้ นโครงสร้างพ้นื ฐาน
ดา้ นสาธารณสุข
ดา้ นความมนั่ คง
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
ด้านการบรหิ ารจดั การบ้านเมอื งท่ดี ี

การประชุมประชาคม และกระบวนการสง่ เสริมให้ประชาชนมีส่วนรว่ ม
มีการประชุมประชาคมทุกเดือนเพื่อรวบรวมข้อมูลปัญหา และความต้องการของ

ประชาชน เพ่ือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารงาน และส่งเสริมการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย และยังตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องที่ และนำข้อมูลท่ีผ่านเวทีการ
ประชุมประชาคม แตล่ ะหมู่บ้านมาวเิ คราะห์ถงึ จุดอ่อน จุดแขง็ อุปสรรค และโอกาสในการพัฒนาด้าน
ตา่ งๆ ประกอบด้วยผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่ม หัวหน้าส่วนราชการ ผู้บริหาร และสมาชิกสภาท้องถ่ิน เข้า
ร่วมประชุมเพ่ือสอบถาม ตรวจสอบ เสนอแนะช้ีแจงโครงการกิจกรรมต่างๆ จากทุกภาคส่วนท้ัง
ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม โดยการจดั ประชมุ ประชาคมทกุ เดอื น เดือนละ 1 คร้งั

การจัดให้มีคณะกรรมการชุมชน โดยแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นฝ่ายต่างๆ
เช่น ประธานชุมชน ฝ่ายสวสั ดิการสังคม ฝ่ายการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ฝ่ายสาธารณสขุ และ
สิง่ แวดล้อม โดยประชาชนในชุมชนเลือกกันเอง

ทป่ี รึกษาของเทศบาลฝ่ายต่างๆ ท่ีเป็นประชาชนโดยทั่วไปแตม่ ีความรู้ประสบการณ์
ใหค้ ำปรกึ ษาเกย่ี วกับ การศกึ ษา สขุ ภาพอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม สวสั ดิการสงั คม โยธา

52

แต่งต้ังประชาชนเป็นคณะกรรมการร่วมกับเทศบาล เช่น เปิดซองรับซอง ตรวจรับ
การพสั ดุ

เว็บไซด์ของเทศบาลทป่ี ระชาชนท่ัวไปศึกษาข้อมลู และมขี ้อเสนอแนะได้ รวมท้ังการ
ร้องขอต่างๆ ท่ีเก่ยี วกบั ความเดอื ดรอ้ น และไม่เขา้ ใจในเรอื่ งต่างๆ

เทศบาลมกี ารเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสารเพื่อใหป้ ระชาชนไดร้ ับทราบ ดงั น้ี
วารสารเทศบาล
แผ่นพบั
คู่มือแนะนำการติดต่อกับเทศบาล
หอกระจายขา่ ว/เสียงตามสาย
ตูร้ ับฟังความคดิ เห็น
การประชุมประชาคม / ชมุ ชน
ปิดประกาศ
เวบ็ ไซต์ www.khaosamyod.net

ขอตรวจสอบข้อมลู ข่าวสารจากเทศบาลตามพระราชบัญญตั ิข้อมลู ข่าวสาร พ.ศ. 2540
การจัดทำแผนพัฒนาทอ้ งถ่นิ ประชาชนจะมีตัวแทนในคณะกรรมการ

คณะกรรมการพฒั นาท้องถิน่ จำนวน 3-6 คนเลอื กตวั แทนกันเอง
คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒ นาท้องถ่ิน จำนวน 3 คน
เลอื กตวั แทนกันเอง
คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น จำนวน 2 คน
เลอื กกันเอง
ตรวจสอบติดตามผลการปฏิบัติงานของเทศบาล ระบบ Car score (Community
Assessment Report)
การสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนกลุ่มต่างๆ เช่น ผู้สูงอายุ, กลุ่มอาชีพ, คน
พิการ อาสาสมัครสาธารณสุข , ลูกเสือชาวบ้าน , อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน , ศูนย์พัฒนา
ครอบครวั และสภาเด็กและเยาวชน เปน็ ต้น
จัดหน่วยเทศบาลเคลื่อนท่ี เพื่อไปประชุมชี้แจง สอบถาม รับฟังข้อเสนอของ
ประชาชนในชุมชนตา่ งๆ
การจัดตู้รับฟงั ความคิดเห็นของประชาชน
จัดหมายเลขโทรศัพท์ดว่ น เพอ่ื รับเหตแุ จ้งเหตุ
การรบั คำร้องขอจากประชาชน
การเขา้ รบั ฟงั การประชุมสภาเทศบาล

53

กระบวนการมสี ว่ นร่วม การเมืองการ
บรหิ าร
กระบวน
การมสี ่วนร่วม

การจดั ทำ
แผนพัฒนาทอ้ งถิน่

การติดตามและ
ประเมินผล

- ประชาคมระดบั ชมุ ชน เสนอแนะในการ ตดิ ตามและ - ประชุมประชาคมทกุ วันท่ี
- รวบรวมปญั หา/ความ 20 ของเดือน
ตอ้ งการ จัดกจิ กรรม ดำเนินงาน เป็น - ร้องทกุ ข/์ รอ้ งเรียน
โครงการ รายโครงการ
- แผนชุมชน - ที่ปรึกษาเทศบาล
- ประชาคมเมอื ง รวบรวม ดว้ ยวิธี - ร่วมกจิ กรรมโครงการของ
ปญั หาความตอ้ งการ เทศบาลฯ
ระดับตำบล (CAR SCORE) - ศูนยช์ ว่ ยเหลือประชาชน
- จัดระดบั ความสำคัญของ เทศบาลเมืองเขาสามยอด
โครงการ จากตวั แทน
ประธานชมุ ชน 2 ครัง้

54

5. งานวจิ ยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง
เฉลิมพร อภิชนาพงศ์ (2553) ได้ศึกษาเร่ืองความพึงพอใจของผู้รับบริการองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถ่ิน กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลบางบัวทอง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือวัดระดับและ
ลำดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการในตำบลบางบัวทองที่มีต่อกระบวนการขั้นตอนการ
ให้บริการจำนวน 5 ด้าน เพ่ือวัดระดับและลำดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการในตำบล
บางบัวทองที่มีต่อเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ เพื่อวัดระดับและลำดับความพึงพอใจของประชาชน
ผู้รับบริการในตำบลบางบัวทองที่มีต่อสิ่งอำนวยความสะดวก และหาความสัมพันธ์ระหว่าง
คณุ ลักษณะผู้ตอบ กับความพงึ พอใจของผูร้ บั บริการดา้ นตา่ งๆซง่ึ ผลการสำรวจสรุปได้ดงั นี้

ผู้รับ บ ริก ารขอ งอง ค์ก ารบ ริห ารส่ วน ตำบ ลบาง บัวท องมี ความพึ งพ อ ใจ ลำดั บแ รก ได้แก่
ด้านการให้บริการจากเจ้าหน้าที่ รองลงมา ได้แก่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวกที่มีอยู่ในสำนักงาน
ด้านการบริหารจัดการของเจ้าหน้าที่ ด้านการดูแลผู้สูงอายุ ด้านการจัดเก็บขยะมูลฝอย ด้านงาน
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ด้านการส่งเสริมศาสนาและวัฒนธรรมประจำท้องถิ่น ส่วนความ
พอใจลำดบั สดุ ท้าย ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมภาคประชาชน

สิริโฉม พิเชษฐบุญเกียรติ (2553:บทคัดย่อ) ได้ศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการให
บริการของเทศบาลเวียงพางคาํ อาํ เภอแมสาย จงั หวดั เชยี งราย มีวตั ถุประสงคเพ่อื ศึกษาความพงึ พอใจ
ของประชาชนตอการใหบริการของเทศบาลตําบลเวียงพางคํา จงั หวัดเชยี งราย

ผลการศึกษา พบวา
ความพึงพอใจของผูมีสวนไดสวนเสียที่มีตอความเช่ือมั่นในการใหบริการตอประชาชนของ
เทศบาลตําบลเวยี งพางคาํ ในภาพรวม พบวา ผูมีสวนไดสวนเสยี มคี วามพึงพอใจตอการใหบริการและ
ความเชื่อมั่นในการใหบริการของเทศบาลตําบลเวียงพางคําอยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 6.02) และ
หากเทียบกับคารอยละจะมีคารอยละอยูระหวาง 76-80 หากพิจารณาเปนรายดาน พบวา ความ
พึงพอใจของผูมีสวนไดสวนท่ีมีตอความเช่ือมั่นในการ ใหบริการตอประชาชนของเทศบาลตําบล
เวยี งพางคํา มากที่สุดใน 3 อนั ดบั แรก คอื “การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการ
ของประชาชน” ( X = 6.07, รอยละ = 76-80), “การเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของหนวยงาน” (X = 6.05,
รอยละ = 76-80) และ “การเกดิ ประโยชนสขุ ของประชาชน” (X = 6.01, รอยละ = 76-80)
ความพึงพอใจของผู้มีสวนไดสวนที่มีตอการใหบริการและความเช่ือมั่นในการใหบริการของ
เทศบาลตําบลเวียงพางคํา ในภาพรวม พบวา ผูมีสวนไดสวนเสยี มคี วามพึงพอใจตอการใหบริการและ
ความเช่ือมั่นในการใหบริการของเทศบาลตําบลเวียงพางคําอยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 6.08) และ
หากเทียบกับคารอยละจะมีคารอยละอยูระหวาง 76-80 หากพิจารณาเปนรายดาน พบวาความ
พงึ พอใจของผูมีสวนไดสวนที่มตี อการใหบริการและความ เช่ือมน่ั ในการใหบรกิ ารของเทศบาลตําบล

55

เวียงพางคํา มากที่สุดใน 3 อันดับแรก คือ “ดานเจาหนาที่ /บุคลากรผูใหบริการ” (X = 6.16, รอยละ
= 76-80), “ดานกระบวนการ/ข้ันตอนการใหบริการ” (X = 6.13,รอยละ = 76-80), และ “ดานคุณภาพของ
การใหบรกิ าร”, “ดานความเชอ่ื มัน่ ในคุณภาพการใหบรกิ าร”(X =6.10, รอยละ = 76-80)

สุจิราพร วานะ (2552) ได้ศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการขององค์การ
บริหารส่วนตำบล : กรณีศึกษาเฉพาะองค์การบริหารส่วนตำบลเกษม อำเภอตระการพืชผล จังหวัด
อุบลราชธานี ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการขององค์การบริหาร
ส่วนตำบล : กรณีศึกษาเฉพาะองค์การบรหิ ารส่วนตำบลเกษม เป็นรายด้านจะพบว่า ด้านเจ้าหน้าที่
ผู้ให้บริการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ด้านการดำเนินงานตามบทบาท และด้านหน้าที่ความ
รับผดิ ชอบ ด้านกระบวนการใหบ้ รกิ าร ดา้ นขอ้ มลู ข่าวสาร ตามลำดับ

นรินทร์ คลังผา (2552) ได้ศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การ
บริหารสว่ นตำบลในเขตอำเภอโคกสำโรง จังหวดั ลพบุรี

ผลการวิจัยสรุปได้วา่
1. ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขต
อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี จำนวน 4 ด้าน ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับรายข้อ
ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปค่าเฉล่ียต่ำสุด ได้แก่ 1) ด้านความเชื่อถือ 2) ด้านความสามารถ 3) ด้านความ
เต็มใจ และ 4) ด้านความรวดเรว็ ตามลำดับ
2. การเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนท่ีมีต่อการให้บริการขององค์การบริหาร
ส่วนตำบลในเขตอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เม่ือจำแนกตามอาชีพรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระดับ
การศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และเม่ือจำแนกตามเพศ อายุ สถานภาพ
สมรส และประเภทของงานบริการทีใ่ ช้ ไมแ่ ตกต่างกันอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05
ชนะดา วีระพันธ์ (2554 : บทคัดย่อ) ได้ทำการศึกษาวิจัยเร่ืองความพึงพอใจของประชาชน
ตอ่ การใหบ้ ริการขององค์การบริหารส่วน ตำบลบ้านเก่า อำเภอพานทอง จังหวดั ชลบุรี มีวัตถปุ ระสงค์
เพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจของประชาชน ต่อการให้บริการขององค์การบรหิ ารส่วนตำบลบา้ นเก่า
อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี และเพ่ือเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนต่อการใหบ้ รกิ ารของ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเก่า อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ
สมรส การศึกษาและอาชพี
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหาร
ส่วนตำบลบ้านเก่า อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี โดยรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด
เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉล่ียมากที่สุด คือ ด้านการให้บริการอย่างเพียงพอ

56

รองลงมาคือด้านการให้บริการอย่างเสมอภาคและด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า โดยในด้าน
การให้บริการอย่างเพียงพอ ประชาชนมีความพึงพอใจในเรื่องอาคารสถานที่ให้บริ การมีความ
เหมาะสม ในด้านการให้บริการอย่างเสมอภาค ประชาชนมีความพึงพอใจในเร่ืองเจ้าหน้าที่บริการด้วย
ความยิ้มแย้มแจ่มใส และในดา้ นการให้บริการอย่างก้าวหน้า ประชาชนมีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่
ผู้ให้บรกิ ารมีความรบั ผิดชอบและมุ่งมัน่ ในการปฏบิ ัติงาน

จรรยา จนั ทร์เต้ีย (2553) ได้ศกึ ษาความพึงพอใจของผู้ชำระภาษีต่อการให้บริการจัดเกบ็ ภาษี
ขององคก์ ารบริหารสว่ นตำบลขีเ้ หล็ก อำเภอปทมุ รัตน์ จงั หวัดร้อยเอ็ด

ผลการวจิ ยั พบวา่
1. ความพึงพอใจของผชู้ ำระภาษีต่อการให้บรกิ ารจัดเก็บภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบล
ข้ีเหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า
อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับจากค่าเฉลยี่ มากไปน้อย ไดแ้ ก่ ความเชื่อถอื ได้ ด้านความซ่ือสตั ย์
ด้านความสุภาพอ่อนโยนในการให้บริการด้านความสามารถ ด้านการเข้าถึงการบริการ ด้านการ
สือ่ สาร ด้านความเข้าใจ ด้านการตอบสนอง ด้านความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์ และด้านการสร้าง
สง่ิ ทจ่ี ับต้องได้
2. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ชำระภาษีท่ีมีเพศ อายุ อาชีพ รายได้ และ
การศึกษาแตกต่างกัน ต่อการให้บริการจัดเก็บภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอ
ปทมุ รัตน์ จังหวัดรอ้ ยเอ็ด โดยรวมไม่แตกตา่ งกันทางสถติ ิท่ีระดับ .05
3. ข้อเสนอแนะของผู้ชำระภาษีต่อการให้บริการจัดเก็บภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบล
ขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด มีดังนี้ เจ้าหน้าท่ีควรให้คำแนะนำทุกครั้ง เจ้าหน้าที่ควรให้
ความรู้เก่ียวกับภาษี ขั้นตอนมาก เจ้าหน้าท่ีควรทำให้ เจ้าหน้าที่ให้บริการยืดหยุ่นเรื่องเวลา
เจ้าหน้าที่ควรช่วยเรื่องการเขียนเอกสาร ควรประชาสมั พันธ์บ่อย ๆ ออกอากาศด้วย ไม่ควรเปลี่ยน
เจา้ หน้าท่เี กบ็ ภาษถี ้ามีความจำเปน็ และควรให้บรกิ ารในวนั เสารห์ รือวนั อาทิตยเ์ ป็นบางคร้ัง

57

6. กรอบแนวคดิ ในการศึกษา
การสำรวจความพึงพอใจของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี

ผู้ศึกษาได้กำหนดกรอบแนวคิดในการศึกษา ตามความสมั พันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
โดยสามารถเขยี นแผนภาพได้ดงั น้ี

ตัวแปรอิสระ ตวั แปรตาม
เพศ ความพึงพอใจของการให้บริการของเทศบาลเมอื งเขา
อายุ สามยอด อำเภอเมอื งลพบรุ ี จงั หวดั ลพบุรี
อาชีพ 1. งานด้านบริการกฎหมาย
2. งานด้านโยธา การขออนุญาตปลกู ส่งิ ก่อสรา้ ง
ประเภทผู้รบั บริการ 3. งานด้านการศึกษา (โรงเรียน
4. งานด้านรายไดห้ รอื ภาษี
5. งานดา้ นสาธารณสขุ

58

บทที่ 3
วธิ ดี ำเนนิ การศกึ ษา

การสำรวจความพึงพอใจในการให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี
จังหวัดลพบุรี ครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจที่มีต่องานด้านบริการ
กฎหมาย งานดา้ นโยธา การขออนญุ าตปลูกสิ่งกอ่ สร้าง งานด้านการศกึ ษา (โรงเรยี น) งานดา้ นรายได้
หรอื ภาษี และงานด้านสาธารณสขุ มีรายละเอยี ด ดงั นี้

1. รปู แบบการดำเนินการศึกษา
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลกับ

ผใู้ ช้บริการ ในกิจกรรมและภารกิจ จำนวน 5 งาน ได้แก่ งานด้านบริการกฎหมาย งานด้านโยธา การขอ
อนุญาตปลูกสิ่งก่อสร้าง งานด้านการศึกษา (โรงเรียน) งานด้านรายได้หรือภาษี และงานด้าน
สาธารณสขุ

2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2.1 ประชากรท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคร้ังนี้ ได้แก่ ประชาชน หน่วยงานรฐั หน่วยงาน

เอกชน ที่ได้รับบริการจากเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี จำนวน
29,813 คน จำแนกตามกิจกรรมและภารกิจ จำนวน 5 งานดังนี้ 1) งานด้านบริการกฎหมาย
2) งานดา้ นโยธา การขออนุญาตปลูกส่ิงก่อสรา้ ง 3) งานด้านการศึกษา (โรงเรียน) 4) งานด้านรายได้
หรอื ภาษี และ 5) งานดา้ นสาธารณสุข ซ่งึ แตล่ ะฉบบั

2.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชน หน่วยงานรัฐ หน่วยงานเอกชน ที่ได้รับบริการจาก
เทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี จำนวน 395 คน โดยกำหนดขนาดของ
กลุ่มตัวอยา่ ง จากสตู รของยามาเนย่ ์ (Yamane.1973 : 725) ทีร่ ะดับความคลาดเคลือ่ น .05

n = N
1+Ne2

เมอื่ N = ขนาดของประชากร
e = ระดับความคลาดเคลอื่ นทยี่ อมให้เกิดข้ึนได้
n = ขนาดกลุม่ ตวั อย่างทต่ี อ้ งการ

59

แทนสตู รไดด้ งั นี้

n = 29,813 2
1+29,813 (0.05)

n= 29,813 = 394.70
75.5325

จากน้ันทำการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งเป็นวิธีการสุม่ ตัวอย่างที่คำนึงถึง
ความเป็นไปได้ทางสถิติ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 5 งาน ๆ ละ 80 คน รวมท้ังส้ิน
จำนวน 400 คน

3. เครอื่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

3.1 เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นเครื่องมือในการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการของ

เทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 5 ฉบับ

ได้แก่ 1) งานด้านบริการกฎหมาย 2) งานด้านโยธา การขออนุญาตปลูกสิ่งก่อสร้าง 3) งานด้าน

การศึกษา (โรงเรียน) 4) งานด้านรายได้หรือภาษี และ 5) งานด้านสาธารณสุข ซึ่งแต่ละฉบับ

มีรายละเอยี ดดงั น้ี

3.1.1 ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนน้ีมีวัตถุประสงค์จะนำเสนอและพรรณนาลักษณะของ

กลุ่มตัวอยา่ งที่ได้รับบริการ ทำให้เห็นลักษณะและธรรมชาติของกลุ่มตัวอยา่ ง อันจะเป็นประโยชนต์ ่อ

การวิเคราะห์ความพึงพอใจท่ีมีต่อกิจกรรมการบริการ ซ่ึงมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ

(Check list) ได้แก่ เพศ อายุ อาชพี และ ประเภทผรู้ ับบริการ

3.1.2 ตอนที่ 2 ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจของผู้รับบรกิ ารท่ีมีต่อกิจกรรมการบริการ

ส่วนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอระดับความพึงพอใจการให้บริการในแต่ละกิจกรรม ประกอบด้วย

5 ด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ ด้านช่องทางการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าท่ี/

บุคลากรใหบ้ รกิ าร ดา้ นสถานทีแ่ ละสิง่ อำนวยความสะดวก และดา้ นผลการปฏบิ ัติงาน โดยผู้ศกึ ษาได้

กำหนด ลักษณะของแบบสอบถามตามวธิ ีการวัดทศั นคติแบบลิเคิรต์ (Likert’s scale) ดงั นี้

1) ระดบั ความพงึ พอใจมากทส่ี ุด คะแนน เท่ากับ 5

2) ระดับความพงึ พอใจมาก คะแนน เท่ากบั 4

3) ระดับความพงึ พอใจปานกลาง คะแนน เท่ากบั 3

4) ระดับความพึงพอใจน้อย คะแนน เทา่ กับ 2

5) ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ยทีส่ ดุ คะแนน เท่ากบั 1

60

3.1.3 ตอนท่ี 3 จุดเด่น จุดท่ีควรปรับปรุง และข้อเสนอแนะต่อการปรับปรุงการ
ใหบ้ ริการของหน่วยงาน ซ่ึงมลี กั ษณะเปน็ ข้อคำถามปลายเปิด

3.2 การสร้างเคร่ืองมือมขี น้ั ตอนการสรา้ งเครื่องมือ ดงั นี้
3.2.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับ ความพึงพอใจของการ

ให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี และแนวคิดการปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ

3.2.2 นำข้อมูลท่ีได้มาสร้างกรอบการวัดความพึงพอใจ พร้อมท้ังนิยามเชิงทฤษฎี และ
นยิ ามเชิงปฏิบัติการ

3.2.3 สร้างเคร่ืองมอื ตามนยิ ามเชิงปฏิบตั กิ ารของความพึงพอใจในการให้บรกิ าร
3.2.4 ตรวจสอบความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามความพึงพอใจการ
ใหบ้ รกิ าร และพัฒนาปรบั ปรุงแบบสอบถาม
3.2.5 กำหนดประชากรและกลุ่มตวั อย่างท่ใี ช้ในการศกึ ษาวจิ ยั
3.2.6 นำแบบสอบถามที่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรและกลุ่มตัวอย่างตาม
ประเด็นทสี่ ำรวจ
3.2.7 นำขอ้ มูลทไ่ี ดม้ าวิเคราะหข์ ้อมลู ตามประเด็นและความต้องการที่ต้องการ
3.2.8 สรุปผลการศกึ ษา และเสนอแนะเพ่อื พัฒนาการใหบ้ รกิ ารขององค์การ

4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
ในการเก็บรวมรวมข้อมูลการสำรวจความพึงพอใจในการให้บริการในครั้งน้ี คณะผู้ศึกษา

ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยเก็บจากกลุ่มตัวอย่างในแต่ละประเภทงานท่ีให้บริการ
ตามจำนวนกลุ่มตวั อย่างที่กำหนดไว้

5. การวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิติทีใ่ ช้
การวิจยั คร้ังน้ี ประกอบดว้ ยการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ที่สำคัญ ดังนี้
5.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้สถิติเชงิ พรรณนา ได้แก่ ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย

ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
5.2 ข้อมูลท่ีได้จากแบบสอบถามวัดความพึงพอใจด้านต่าง ๆ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่

ค่าเฉลย่ี สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน

61

ในส่วนของระดับความพึงพอใจ เกณฑ์ที่นำมาใช้แปลความหมายของค่าเฉล่ีย ผู้ศึกษา
ไดก้ ำหนดเกณฑไ์ ว้ดงั น้ี (บุญชม ศรสี ะอาด. 2545 : 100)

1.00 – 1.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับ นอ้ ยทส่ี ดุ
1.51 – 2.50 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั น้อย
2.51 – 3.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง
3.51 – 4.50 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับ มาก
4.51 – 5.00 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับ มากทส่ี ดุ

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

การสำรวจความพึงพอใจของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
ในคร้ังน้ี ได้ดำเนินการประเมินใน 6 เรื่อง โดยนำเสนอผลการประเมิน ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้

สว่ นท่ี 1 ผลการประเมินความพึงพอใจทม่ี ตี อ่ งานบริการในภาพรวม
สว่ นท่ี 2 ผลการประเมินความพงึ พอใจทีม่ ีต่องานดา้ นบรกิ ารกฎหมาย
ส่วนที่ 3 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจที่มตี ่องานดา้ นโยธา การขออนญุ าตปลูกส่งิ กอ่ สร้าง
ส่วนท่ี 4 ผลการประเมินความพงึ พอใจท่ีมีต่องานดา้ นการศกึ ษา (โรงเรยี น)
สว่ นที่ 5 ผลการประเมินความพึงพอใจทีม่ ตี อ่ งานดา้ นรายได้หรือภาษี
ส่วนที่ 6 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจที่มีตอ่ งานดา้ นสาธารณสุข

ส่วนที่ 1 ผลการประเมินความพงึ พอใจที่มีต่องานบรกิ ารในภาพรวม

ตารางที่ 4.1 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจท่ีมตี อ่ งานบรกิ าร ในภาพรวม

ความพงึ พอใจตอ่ โครงการในภาพรวม ระดบั
X S.D. ความ ร้อยละ
1. งานดา้ นบรกิ ารกฎหมาย
2. งานดา้ นโยธา การขออนุญาตปลูกส่งิ ก่อสร้าง คิดเห็น
3. งานดา้ นการศึกษา (โรงเรียน) 4.51 0.61 มากท่สี ุด 90.13
4. งานด้านรายไดห้ รอื ภาษี 4.53 0.65 มากที่สดุ 90.56
5. งานดา้ นสาธารณสขุ 4.57 0.52 มากที่สดุ 91.43
4.54 0.51 มากที่สุด 90.84
รวม 4.55 0.57 มากท่สี ดุ 90.80
4.54 0.57 มากที่สุด 90.75

จากตารางที่ 4.1 พบว่า
ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอ

เมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ในภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.75
โดยเมื่อพิจารณาในรายโครงการพบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่องานด้านการศึกษา (โรงเรียน)

63

อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.57) คิดเป็นร้อยละ 91.43 รองลงมาได้แก่ งานด้านสาธารณสุข
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 90.80 และงานด้านรายได้หรือภาษี อยู่ในระดับ
มากที่สุด ( X = 4.54) คิดเปน็ ร้อยละ 90.84

สว่ นที่ 2 ผลการประเมินความพึงพอใจทีม่ ีต่องานดา้ นบรกิ ารกฎหมาย
2.1 ข้อมลู ทว่ั ไป

ตารางท่ี 4.2 แสดงข้อมูลทั่วไปงานดา้ นบริการกฎหมาย ประกอบด้วย เพศ อายุ อาชพี และประเภท
ผ้รู บั บริการ

รายการ จำนวน/คน ร้อยละ
เพศ
40 50.00
1. ชาย 40 50.00
2. หญิง
อายุ 2 2.50
1. ต่ำกวา่ 26 ปี 22 27.50
2. 26 – 40 ปี 38 47.50
3. 41 – 55 ปี 18 22.50
4. 56 – 69 ปี
อาชีพ 2 2.50
1. รับราชการ/รัฐวสิ าหกิจ 8 10.00
2. ลกู จา้ ง/พนกั งานบรษิ ทั 3 3.75
3. ผูป้ ระกอบการ/เจ้าของธรุ กิจ 1 1.25
4. คา้ ขายรายยอ่ ย/อาชพี อสิ ระ 1 1.25
5. นกั เรียน/นักศกึ ษา 21 26.25
6. รับจ้างท่วั ไป 6 7.50
7. แม่บา้ น/พ่อบา้ น/เกษียณ 37 46.25
8. เกษตรกร/ประมง 1 1.25
9. ว่างงาน

64

ตารางท่ี 4.2 (ตอ่ )

รายการ จำนวน/คน ร้อยละ
ประเภทผู้รบั บริการ
74 92.50
1. ประชาชน 4 5.00
2. หนว่ ยงานรฐั 2 2.50
3. หน่วยงานเอกชน 80 100.00

รวม

จากตารางที่ 4.2 พบวา่
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เปน็ เพศชายและเพศหญิง จำนวน 40 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00
มีอายุระหว่าง 41 – 55 ปี จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 47.50 รองลงมาได้แก่
อายุระหว่าง 26 – 40 ปี จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 และอายุระหว่าง 56 – 69 ปี จำนวน
18 คน คดิ เป็นร้อยละ 22.50
ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร/ประมง จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 46.25 รองลงมาได้แก่
อาชีพรับจ้างทั่วไป จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 26.25 และอาชีพลูกจ้าง/พนักงานบริษัท จำนวน
8 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.00
ประเภทผู้รับบริการ ประกอบด้วย ประชาชน จำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 92.50
รองลงมาได้แก่ หน่วยงานรัฐ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5.00 และหน่วยงานเอกชน จำนวน 2 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.50

65

2.2 ผลการประเมินความพงึ พอใจทีม่ ีตอ่ งานดา้ นบรกิ ารกฎหมาย

ตารางที่ 4.3 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจที่มีตอ่ งานดา้ นบรกิ ารกฎหมาย ในภาพรวม

งานดา้ นบริการกฎหมาย ระดับ
X S.D. ความ รอ้ ยละ
1. ดา้ นกระบวนการ /ข้ันตอนการใหบ้ ริการ
2. ด้านชอ่ งทางการให้บริการ คิดเห็น
3. ด้านเจา้ หน้าท่ี /บคุ ลากรใหบ้ รกิ าร 4.50 0.62 มาก 90.00
4. ด้านสถานท่ีและสงิ่ อำนวยความสะดวก 4.49 0.63 มาก 89.88
5. ดา้ นผลการปฏบิ ตั งิ าน 4.51 0.62 มากทส่ี ดุ 90.25
4.52 0.58 มากท่ีสดุ 90.38
รวม 4.51 0.60 มากทีส่ ดุ 90.13
4.51 0.61 มากทสี่ ดุ 90.13

จากตารางที่ 4.3 พบว่า
ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่องานด้านบริการกฎหมาย ในภาพรวม อยู่ในระดับ
มากที่สุด ( X = 4.51) คิดเป็นร้อยละ 90.13 โดยเมื่อพิจารณาในรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่มีความ
พึงพอใจในด้านสถานท่ีและสงิ่ อำนวยความสะดวก อย่ใู นระดับมากที่สุด ( X = 4.52) คิดเป็นร้อยละ
90.38 รองลงมาได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่ /บุคลากรให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.51) คิดเป็น
รอ้ ยละ 90.25 และดา้ นผลการปฏิบตั งิ าน อยู่ในระดบั มากที่สุด ( X = 4.51) คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.13

66

2.3 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจทีม่ ีต่องานดา้ นบรกิ ารกฎหมาย

ตารางที่ 4.4 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจท่มี ีงานดา้ นบริการกฎหมาย ในแตล่ ะด้าน

ระดับ

งานดา้ นบริการกฎหมาย X S.D. ความ รอ้ ยละ
คิดเห็น

ด้านกระบวนการ / ข้ันตอนการให้บริการ

1. ขั้นตอนการให้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อนและมีความ

คล่องตัว 4.56 0.59 มากทส่ี ดุ 91.25

2. มีการให้บรกิ ารดว้ ยความครบถว้ น ถกู ตอ้ ง 4.53 0.62 มากที่สุด 90.50

3. การใหบ้ ริการมีความสะดวกรวดเร็ว และทันเวลา 4.51 0.64 มากทส่ี ุด 90.25

4. การให้บริการเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอ

ภาคเทา่ เทียมกนั 4.45 0.65 มาก 89.00

5. มีการแจ้งระยะเวลาทีใ่ ช้ในการดำเนินการในแต่ละเรอ่ื ง

อย่างชดั เจน 4.45 0.61 มาก 89.00

รวม 4.50 0.62 มาก 90.00

ดา้ นชอ่ งทางการให้บริการ

1. การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทาง

ตา่ งๆ ชดั เจน เหมาะสม เขา้ ใจงา่ ย 4.46 0.62 มาก 89.25

2. มีช่องทางการประสานงาน ติดต่อ ท่ีสะดวก และ

หลากหลาย เช่น โทรศพั ท์ อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นต้น 4.48 0.66 มาก 89.50

3. มีจดุ ให้บรกิ ารท่เี พยี งพอตอ่ การใหบ้ รกิ าร 4.50 0.69 มาก 90.00

4. มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและเข้าใจ

เกี่ยวกับชอ่ งทางการใหบ้ ริการ 4.54 0.57 มากท่สี ุด 90.75

รวม 4.49 0.63 มาก 89.88

ด้านเจ้าหนา้ ที่/บคุ ลากรผใู้ ห้บริการ

1. เจา้ หนา้ ทแ่ี ตง่ กายเรียบร้อย และเหมาะสม 4.64 0.56 มากที่สุด 92.75

2. เจา้ หนา้ ที่ให้บรกิ ารด้วยความสภุ าพ และเป็นกนั เอง 4.51 0.64 มากที่สดุ 90.25

3. เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่

และมคี วามพร้อมในการให้บริการ 4.50 0.64 มาก 90.00

67

ตารางที่ 4.4 (ต่อ)

ระดบั

งานด้านบริการกฎหมาย X S.D. ความ รอ้ ยละ
คดิ เห็น

4. เจ้าหน้าท่ีให้บริการด้วยความถูกต้อง แม่นยำ และ

รวดเร็ว 4.40 0.69 มาก 88.00

5. เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ

สามารถตอบคำถาม ช้แี จงหรือขอ้ สงสัย ใหค้ ำแนะนำชว่ ย

แกป้ ญั หาได้อยา่ งถูกต้อง ตามหลักข้อกฎหมาย 4.48 0.64 มาก 89.50

6. เจ้าหน้าที่ใหบ้ ริการด้วยความซ่อื สัตย์ สจุ รติ ไมร่ ับสง่ิ ของ

ตอบแทน หรือสนิ บน และไมห่ าประโยชน์ในทางมชิ อบ 4.55 0.57 มากท่สี ดุ 91.00

รวม 4.51 0.62 มากท่สี ดุ 90.25

ด้านสถานที่และสงิ่ อำนวยความสะดวก

1. สถานท่ีต้ังของหน่วยงาน สะดวกในการเดินทางมารับ

บริการ 4.58 0.55 มากที่สดุ 91.50

2. ส่ิงอำนวยความสะดวก เช่น ที่จอดรถ ห้องน้ำ Wi-fi

ท่นี งั่ รอรบั บริการ มีความเพียงพอ 4.48 0.62 มาก 89.50

3. สถานที่และอุปกรณ์มีความสะอาดเป็นระเบียบ

เรยี บร้อย สะดวกต่อการใชบ้ ริการ 4.54 0.59 มากที่สุด 90.75

4. ป้ายแสดง ข้อความบอกจุดให้บริการ และป้าย

ประชาสมั พันธ์ มีความชดั เจน เข้าใจงา่ ย 4.49 0.57 มาก 89.75

รวม 4.52 0.58 มากท่สี ุด 90.38

ด้านผลการปฏิบตั ิงาน

1. การใหบ้ รกิ ารมปี ระโยชน์ คมุ้ ค่าต่อประชาชนส่วนรวม 4.45 0.61 มาก 89.00

2. การใหบ้ ริการเปน็ ไปดว้ ยความโปร่งใส 4.51 0.62 มากทส่ี ดุ 90.25

3. มีการปรับปรุง แก้ไข ในกรณีท่ีผลการดำเนินงานมี

ความบกพร่อง 4.53 0.59 มากท่ีสุด 90.50

4. ความพึงพอใจตอ่ การใหบ้ ริการในภาพรวม 4.54 0.59 มากทส่ี ุด 90.75

รวม 4.51 0.60 มากท่สี ุด 90.13

68

จากตารางท่ี 4.4 พบว่า
ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดับมาก ( X = 4.50) คิดเป็นร้อยละ 90.00 โดยเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเร่ือง ขั้นตอนการให้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อนและมีความคล่องตัว อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด ( X = 4.56) คิดเป็นร้อยละ 91.25 รองลงมาได้แก่ มีการให้บริการด้วยความครบถ้วน
ถูกต้อง อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.50 และการให้บริการมีความสะดวก
รวดเร็ว และทันเวลา อยู่ในระดบั มากทีส่ ุด ( X = 4.51) คิดเป็นร้อยละ 90.25
ด้านช่องทางการให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมาก
( X = 4.49) คดิ เปน็ ร้อยละ 89.88 โดยเมื่อพจิ ารณาในรายข้อพบวา่ ส่วนใหญม่ ีความพึงพอใจในเร่ือง
มกี ารประชาสัมพันธใ์ หป้ ระชาชนทราบและเข้าใจเกย่ี วกับช่องทางการใหบ้ ริการ อยู่ในระดบั มากท่ีสุด
( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.75 รองลงมาได้แก่ มีจุดให้บริการท่ีเพียงพอต่อการให้บริการ
อยู่ในระดับมาก ( X = 4.50) คิดเป็นรอ้ ยละ 90.00 และมีชอ่ งทางการประสานงาน ติดต่อ ที่สะดวก
และหลากหลาย เช่น โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต เปน็ ต้น อย่ใู นระดบั มาก (X = 4.48) คิดเปน็ รอ้ ยละ 89.50
ด้านเจ้าหน้าท่ี/บุคลากรผู้ให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.51) คิดเป็นร้อยละ 90.25 โดยเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเรอ่ื ง เจ้าหน้าทแ่ี ต่งกายเรยี บร้อย และเหมาะสม อยู่ในระดับมากทส่ี ุด ( X = 4.64)
คิดเป็นร้อยละ 92.75 รองลงมาได้แก่ เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ไม่รับส่ิงของตอบ
แทน หรือสินบน และไม่หาประโยชน์ในทางมิชอบ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.55) คิดเป็นร้อยละ
91.00 และเจ้าหน้าท่ีให้บริการด้วยความสุภาพ และเป็นกันเอง อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.51)
คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.25
ด้านสถานท่ีและสิ่งอำนวยความสะดวก ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดบั มากที่สุด ( X = 4.52) คิดเป็นร้อยละ 90.38 โดยเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเร่ือง สถานท่ีต้ังของหน่วยงาน สะดวกในการเดินทางมารับบริการ อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด ( X = 4.58) คิดเป็นร้อยละ 91.50 รองลงมาได้แก่ สถานที่และอุปกรณ์มีความสะอาดเป็น
ระเบียบ เรยี บร้อย สะดวกต่อการใชบ้ ริการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.54) คิดเปน็ ร้อยละ 90.75
และป้ายแสดง ข้อความบอกจุดให้บริการ และป้ายประชาสัมพันธ์ มีความชัดเจน เข้าใจง่าย
อย่ใู นระดบั มาก ( X = 4.49) คิดเป็นร้อยละ 89.75

69

ดา้ นผลการปฏิบัติงาน ประชาชนสว่ นใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด
( X = 4.51) คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.13 โดยเมื่อพจิ ารณาในรายขอ้ พบวา่ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในเรอื่ ง
ความพึงพอใจต่อการให้บริการในภาพรวม อยู่ในระดบั มากท่ีสุด ( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.75
รองลงมาได้แก่ มกี ารปรับปรงุ แกไ้ ข ในกรณที ผี่ ลการดำเนนิ งานมีความบกพรอ่ ง อยู่ในระดับมากทสี่ ุด
( X = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.50 และการให้บริการเป็นไปด้วยความโปร่งใส อยู่ในระดับมากท่ีสุด
( X = 4.51) คดิ เป็นร้อยละ 90.25

ส่วนที่ 3 ผลการประเมินความพงึ พอใจทมี่ ีต่องานด้านโยธา การขออนุญาตปลูกสิง่ ก่อสรา้ ง
3.1 ข้อมูลท่วั ไป

ตารางท่ี 4.5 แสดงขอ้ มูลท่วั ไปงานด้านโยธา การขออนุญาตปลูกสิ่งก่อสร้าง ประกอบดว้ ย เพศ อายุ
อาชพี และประเภท ผู้รับบรกิ าร

รายการ จำนวน/คน ร้อยละ
เพศ
22 27.50
1. ชาย 58 72.50
2. หญิง
อายุ 11 13.75
1. ต่ำกวา่ 26 ปี 39 48.75
2. 26 – 40 ปี 25 31.25
3. 41 – 55 ปี 5 6.25
4. 56 – 69 ปี
อาชีพ 7 8.75
1. รับราชการ/รฐั วสิ าหกจิ 2 2.50
2. ลกู จา้ ง/พนกั งานบรษิ ทั 14 17.50
3. ค้าขายรายยอ่ ย/อาชพี อสิ ระ 5 6.25
4. นกั เรยี น/นักศกึ ษา 30 37.50
5. รับจ้างท่ัวไป 5 6.25
6. แม่บ้าน/พ่อบา้ น/เกษยี ณ 11 13.75
7. เกษตรกร/ประมง

70

ตารางที่ 4.5 (ต่อ)

รายการ จำนวน/คน รอ้ ยละ
8. วา่ งงาน 6 7.50
ประเภทผรู้ บั บริการ
1. ประชาชน 75 93.75
2. หน่วยงานรัฐ 5 6.25
80 100.00
รวม

จากตารางท่ี 4.5 พบว่า
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็ นเพศหญิ ง จำนวน 58 คน คิดเป็ นร้อยละ 72.50
และเพศชาย จำนวน 22 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 27.50
มีอายุระหว่าง 26 – 40 ปี จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 48.75 รองลงมาได้แก่
อายุระหวา่ ง 41 – 55 ปี จำนวน 25 คน คดิ เป็นร้อยละ 31.25 และอายุตำ่ กว่า 26 ปี จำนวน 11 คน
คดิ เป็นร้อยละ 13.75
ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 37.50 รองลงมาได้แก่
อาชพี ค้าขายรายย่อย/อาชีพอิสระ จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 และอาชีพเกษตรกร/ประมง
จำนวน 11 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 13.75
ประเภทผู้รับบริการ ประกอบด้วย ประชาชน จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 93.75
และหนว่ ยงานรัฐ จำนวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6.25

71

3.2 ผลการประเมินความพึงพอใจท่ีมีตอ่ งานด้านโยธา การขออนญุ าตปลกู สง่ิ ก่อสร้าง

ตารางที่ 4.6 แสดงผลการประเมนิ ความพงึ พอใจท่ีมีต่องานดา้ นโยธา การขออนุญาตปลูกส่ิงก่อสรา้ ง
ในภาพรวม

งานดา้ นโยธา การขออนุญาตปลูกสิ่งก่อสร้าง ระดบั
X S.D. ความ รอ้ ยละ
1. ดา้ นกระบวนการ /ขน้ั ตอนการให้บริการ
2. ด้านชอ่ งทางการให้บริการ คิดเหน็
3. ดา้ นเจา้ หนา้ ท่ี /บุคลากรใหบ้ รกิ าร 4.51 0.68 มากทส่ี ุด 90.15
4. ด้านสถานทแี่ ละส่งิ อำนวยความสะดวก 4.50 0.69 มาก 90.25
5. ด้านผลการปฏิบัตงิ าน 4.53 0.64 มากที่สุด 90.58
4.56 0.63 มากท่สี ดุ 90.90
รวม 4.54 0.64 มากทสี่ ุด 90.94
4.53 0.65 มากทีส่ ุด 90.56

จากตารางท่ี 4.6 พบว่า
ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่องานด้านโยธา การขออนุญาตปลูกสิ่งก่อสร้าง
ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.56 โดยเมื่อพิจารณาในรายด้าน
พบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านสถานที่และส่ิงอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมากท่ีสุด
( X = 4.56) คิดเป็นร้อยละ 90.90 รองลงมาได้แก่ ด้านผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากท่ีสุด
( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.94 และด้านเจ้าหน้าที่ /บุคลากรให้บริการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด
( X = 4.53) คิดเป็นรอ้ ยละ 90.58

72

3.3 ผลการประเมินความพึงพอใจท่มี ีต่องานดา้ นโยธา การขออนญุ าตปลกู สง่ิ กอ่ สรา้ ง

ตารางที่ 4.7 แสดงผลการประเมินความพงึ พอใจทีม่ ตี อ่ งานด้านโยธา การขออนุญาตปลกู ส่ิงก่อสร้าง
ในแตล่ ะด้าน

ระดบั

งานด้านโยธา การขออนญุ าตปลกู ส่ิงกอ่ สรา้ ง X S.D. ความ ร้อยละ
คิดเหน็

ด้านกระบวนการ / ขนั้ ตอนการใหบ้ ริการ

1. ข้นั ตอนการให้บรกิ ารไม่ยงุ่ ยากซับซอ้ นและมีความคล่องตวั 4.50 0.69 มาก 90.00

2. มีการให้บริการด้วยความครบถ้วน ถูกต้อง ง่าย และ

เป็นธรรม 4.51 0.67 มากที่สุด 90.25

3. การให้บริการมีความสะดวกรวดเร็ว และทนั เวลา 4.51 0.69 มากทส่ี ุด 90.25

4. การให้บริการเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอ

ภาคเท่าเทยี มกนั 4.48 0.67 มาก 89.50

5. มกี ารแจ้งระยะเวลาทใี่ ช้ในการดำเนนิ การในแต่ละเรอ่ื ง

อยา่ งชดั เจน 4.54 0.65 มากท่ีสดุ 90.75

รวม 4.51 0.68 มากทสี่ ุด 90.15

ดา้ นชอ่ งทางการให้บรกิ าร

1. การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทาง

ต่างๆ ชดั เจน เหมาะสม เข้าใจง่าย 4.53 0.73 มากทสี่ ดุ 90.50

2. มีช่องทางการประสานงาน ติดต่อ ที่สะดวก และ

หลากหลาย เช่น โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต คณะกรรมการ

หมู่บา้ น เปน็ ตน้ 4.44 0.69 มาก 88.75

3. มีการออกหน่วยเคลื่อนท่เี พอื่ ใหบ้ รกิ ารนอกสถานที่ 4.51 0.69 มากท่สี ดุ 90.25

4. มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและเข้าใจใน

การดำเนนิ งาน 4.53 0.64 มากท่ีสุด 90.50

5. มีการสนับสนุนให้ภาคประชาชนร่วมตรวจสอบการ

ดำเนินโครงการต่างๆ ขององค์กร/หน่วยงาน ได้อย่าง

อิสระ เพือ่ ความโปร่งใสในการปฏบิ ตั ิงาน 4.56 0.61 มากที่สดุ 91.25

รวม 4.50 0.69 มาก 90.25

73

ตารางท่ี 4.7 (ต่อ)

ระดบั

งานดา้ นโยธา การขออนญุ าตปลูกสิ่งก่อสร้าง X S.D. ความ รอ้ ยละ
คิดเห็น

ด้านเจา้ หนา้ ท/ี่ บุคลากรผู้ให้บรกิ าร

1. เจ้าหนา้ ท่ีแต่งกายเรียบร้อย และเหมาะสม 4.54 0.65 มากทส่ี ดุ 90.75

2. เจ้าหน้าทใ่ี ห้บรกิ ารดว้ ยความสภุ าพ และเปน็ กนั เอง 4.54 0.64 มากที่สุด 90.75

3. เจ้าหน้าท่ีให้บริการด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่

และมคี วามพร้อมในการให้บริการ 4.49 0.67 มาก 89.75

4. เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความถูกต้อง แม่นยำ และ

รวดเร็ว 4.51 0.64 มากท่สี ดุ 90.25

5. เจ้าหน้าท่ีมีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ

สามารถตอบคำถาม ชแ้ี จงหรือข้อสงสัย ให้คำแนะนำช่วย

แกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง น่าเชอ่ื ถือ และได้รบั บรกิ ารท่ีดี 4.53 0.64 มากท่สี ุด 90.50

6. เจา้ หน้าท่ีใหบ้ ริการด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต ไมร่ ับสิ่งของ

ตอบแทน หรือสินบน และไมห่ าประโยชน์ในทางมชิ อบ 4.58 0.61 มากทสี่ ุด 91.50

รวม 4.53 0.64 มากทีส่ ุด 90.58

ดา้ นสถานทแี่ ละสิ่งอำนวยความสะดวก

1. สถานที่ต้ังของหน่วยงาน สะดวกในการเดินทางมารับ

บรกิ าร 4.54 0.62 มากท่ีสุด 90.75

2. สิ่งอำนวยความสะดวก เชน่ ท่ีจอดรถ หอ้ งน้ำ โทรศัพท์

สาธารณะ ท่นี ั่งรอรับบริการ มคี วามเพียงพอ 4.60 0.61 มากทสี่ ุด 92.00

3. ป้ายแสดง ข้อความท่ีแสดงถึงข้ันตอนการให้บริการ

มีความชัดเจน เข้าใจงา่ ย 4.56 0.65 มากทส่ี ดุ 91.25

4. มกี ารกำหนดเอกสารประกอบการพิจารณาท่ีเหมาะสม

ชัดเจน 4.53 0.67 มากท่ีสุด 90.50

5. มีตวั อย่างการกรอกแบบฟอร์มที่ชัดเจน 4.50 0.71 มาก 90.00

รวม 4.56 0.63 มากทส่ี ดุ 90.90

74

ตารางท่ี 4.7 (ตอ่ )

ระดับ

งานด้านโยธา การขออนุญาตปลกู สง่ิ ก่อสร้าง X S.D. ความ ร้อยละ
คดิ เหน็

ด้านผลการปฏิบัตงิ าน

1. การดำเนินการตรงตามความตอ้ งการของประชาชน 4.56 0.61 มากท่สี ดุ 91.25

2. การดำเนนิ กจิ กรรมโครงการเป็นไปด้วยความโปร่งใส 4.60 0.59 มากที่สดุ 92.00

3. มีการปรับปรุง แก้ไข ในกรณีที่ผลการดำเนินงานมี

ความบกพรอ่ ง 4.54 0.64 มากทสี่ ดุ 90.75

4. มปี ระโยชน์ ค้มุ คา่ ต่อประชาชนส่วนรวม 4.49 0.67 มาก 89.75

รวม 4.54 0.64 มากท่สี ดุ 90.94

จากตารางที่ 4.7 พบวา่
ด้านกระบวนการ / ข้ันตอนการให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม

อยู่ในระดบั มากที่สุด ( X = 4.51) คิดเป็นร้อยละ 90.15 โดยเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเร่ือง มีการแจ้งระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการในแต่ละเรื่องอย่างชัดเจน
อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.75 รองลงมาได้แก่ มีการให้บริการด้วยความ
ครบถ้วน ถูกต้อง งา่ ย และเป็นธรรม , การใหบ้ ริการมีความสะดวกรวดเรว็ และทันเวลา อยู่ในระดับ

มากท่ีสุด ( X = 4.51) คิดเปน็ ร้อยละ 90.25 และขั้นตอนการให้บรกิ ารไม่ยุ่งยากซับซ้อนและมีความ

คลอ่ งตวั อยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.50) คิดเป็นร้อยละ 90.00
ด้านช่องทางการให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมาก

( X = 4.50) คิดเป็นรอ้ ยละ 90.25 โดยเม่ือพจิ ารณาในรายข้อพบวา่ สว่ นใหญ่มีความพึงพอใจในเร่ือง
มีการสนับสนุนให้ภาคประชาชนร่วมตรวจสอบการดำเนินโครงการต่างๆ ขององค์กร/หน่วยงาน

ได้อย่างอิสระ เพื่อความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.56) คิดเป็นร้อยละ
91.25 รองลงมาได้แก่ การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางต่างๆ ชัดเจน เหมาะสม
เข้าใจง่าย , มกี ารประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและเข้าใจในการดำเนนิ งาน อยู่ในระดับมากท่ีสุด
( X = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.50 และมีการออกหน่วยเคล่ือนที่เพ่ือให้บริการนอกสถานที่

อยู่ในระดับมากที่สดุ ( X = 4.51) คิดเปน็ รอ้ ยละ 90.25

75

ด้านเจ้าหน้าท่ี/บุคลากรผู้ให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับ
มากที่สุด ( X = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.58 โดยเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ
ในเรื่อง เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต ไม่รับส่ิงของตอบแทน หรือสินบน และไม่หา
ประโยชน์ในทางมิชอบ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.58) คิดเป็นร้อยละ 91.50 รองลงมาได้แก่
เจ้าหน้าท่ีแต่งกายเรียบร้อย และเหมาะสม , เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความสุภาพ และเป็นกันเอง
อย่ใู นระดับมากที่สดุ ( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.75 และเจ้าหนา้ ท่ีมคี วามรู้ ความสามารถในการ
ให้บริการ สามารถตอบคำถาม ช้ีแจงหรือข้อสงสัย ให้คำแนะนำช่วยแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
น่าเชือ่ ถือ และไดร้ ับบรกิ ารทด่ี ี อย่ใู นระดบั มากที่สุด ( X = 4.53) คิดเปน็ รอ้ ยละ 90.50

ด้านสถานท่ีและสิ่งอำนวยความสะดวก ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดบั มากที่สุด ( X = 4.56) คิดเป็นร้อยละ 90.90 โดยเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเรอื่ ง ส่ิงอำนวยความสะดวก เช่น ท่ีจอดรถ ห้องนำ้ โทรศัพทส์ าธารณะ ท่ีนั่งรอรับ
บริการ มีความเพียงพอ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.60) คิดเป็นร้อยละ 92.00 รองลงมาได้แก่
ป้ายแสดง ข้อความที่แสดงถึงข้ันตอนการให้บริการ มีความชัดเจน เข้าใจง่าย อยู่ในระดับมากท่ีสุด
(X = 4.56) คิดเป็นร้อยละ 91.25 และสถานที่ต้ังของหน่วยงาน สะดวกในการเดินทางมารับบริการ
อยู่ในระดบั มากที่สุด ( X = 4.54) คดิ เป็นร้อยละ 90.75

ดา้ นผลการปฏิบัตงิ าน ประชาชนสว่ นใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดบั มากท่ีสุด
( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.94 โดยเม่ือพิจารณาในรายขอ้ พบวา่ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในเรื่อง
การดำเนินกิจกรรมโครงการเป็นไปด้วยความโปร่งใส อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.60) คิดเป็น
ร้อยละ 92.00 รองลงมาได้แก่ การดำเนินการตรงตามความต้องการของประชาชน อยู่ในระดับ
มากที่สุด ( X = 4.56) คดิ เป็นร้อยละ 91.25 และมีการปรับปรุง แก้ไข ในกรณีท่ีผลการดำเนินงานมี
ความบกพร่อง อยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ ( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.75

76

ส่วนที่ 4 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจทีม่ ีต่องานดา้ นการศกึ ษา (โรงเรียน)
4.1 ข้อมลู ทั่วไป

ตารางที่ 4.8 แสดงข้อมูลท่ัวไป งานด้านการศึกษา (โรงเรียน) ประกอบด้วย เพศ อายุ อาชีพ และ
ประเภทผู้รบั บริการ

รายการ จำนวน/คน รอ้ ยละ
เพศ
55 68.75
1. ชาย 25 31.25
2. หญงิ
อายุ 11 13.75
1. ตำ่ กวา่ 26 ปี 7 8.75
2. 26 – 40 ปี 34 42.50
3. 41 – 55 ปี 25 31.25
4. 56 – 69 ปี 3 3.75
5. 70 ปีขึ้นไป
อาชพี 11 13.75
1. รับราชการ/รัฐวสิ าหกิจ 2 2.50
2. ลกู จา้ ง/พนกั งานบริษัท 3 3.75
3. ผู้ประกอบการ/เจา้ ของธุรกจิ 13 16.25
4. คา้ ขายรายยอ่ ย/อาชพี อิสระ 10 12.50
5. นักเรยี น/นกั ศกึ ษา 11 13.75
6. รบั จ้างท่ัวไป 6 7.50
7. แม่บา้ น/พอ่ บา้ น/เกษยี ณ 23 28.75
8. เกษตรกร/ประมง 1 1.25
9. ว่างงาน
ประเภทผรู้ บั บริการ 75 93.75
1. ประชาชน 5 6.25
2. หนว่ ยงานรัฐ 80 100.00

รวม

77

จากตารางท่ี 4.8 พบว่า
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 68.75
และเพศหญิง จำนวน 25 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 31.25
มีอายุระหว่าง 41 – 55 ปี จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 รองลงมาได้แก่
อายุระหว่าง 56 – 69 ปี จำนวน 25 คน คดิ เป็นร้อยละ 31.25 และอายุต่ำกวา่ 26 ปี จำนวน 11 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.75
ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร/ประมง จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 28.75 รองลงมาได้แก่
อาชีพค้าขายรายย่อย/อาชีพอิสระ จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 16.25 และอาชีพรับราชการ/
รัฐวสิ าหกจิ , อาชีพรบั จา้ งท่วั ไป จำนวน 11 คน คิดเปน็ ร้อยละ 13.75
ประเภทผู้รับบริการ ประกอบด้วย ประชาชน จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 93.75
และหน่วยงานรัฐ จำนวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6.25

4.2 ผลการประเมินความพงึ พอใจท่ีมตี ่องานดา้ นการศกึ ษา (โรงเรยี น)
ตารางท่ี 4.9 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจที่มีตอ่ งานด้านการศึกษา (โรงเรยี น) ในภาพรวม

งานด้านการศึกษา (โรงเรยี น) ระดับ
X S.D. ความ ร้อยละ
1. ดา้ นกระบวนการ /ข้ันตอนการให้บรกิ าร
2. ด้านช่องทางการให้บริการ คดิ เหน็
3. ดา้ นเจา้ หน้าที่ /บุคลากรใหบ้ ริการ 4.53 0.57 มากทสี่ ดุ 90.65
4. ด้านสถานที่และสง่ิ อำนวยความสะดวก 4.54 0.53 มากทสี่ ดุ 90.81
5. ดา้ นผลการปฏิบัติงาน 4.61 0.50 มากทส่ี ดุ 92.25
4.56 0.51 มากทส่ี ุด 91.20
รวม 4.60 0.49 มากที่สุด 92.25
4.57 0.52 มากท่สี ุด 91.43

จากตารางที่ 4.9 พบว่า
ประชาชนส่วนใหญ่มคี วามพงึ พอใจต่องานด้านการศกึ ษา (โรงเรียน) ในภาพรวม อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด ( X = 4.57) คิดเป็นร้อยละ 91.43 โดยเม่ือพิจารณาในรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่มีความ
พึงพอใจในด้านเจ้าหน้าที่ /บุคลากรให้บริการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.61) คิดเป็นร้อยละ
92.25 รองลงมาได้แก่ ด้านผลการปฏิบตั ิงาน อยใู่ นระดบั มากที่สดุ ( X = 4.60) คิดเป็นรอ้ ยละ 92.25
และดา้ นสถานที่และสง่ิ อำนวยความสะดวก อย่ใู นระดับมากทส่ี ุด (X = 4.56) คดิ เปน็ ร้อยละ 91.20

78

4.3 ผลการประเมินความพงึ พอใจที่มตี อ่ งานด้านการศกึ ษา (โรงเรยี น)

ตารางท่ี 4.10 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจทม่ี ีต่องานดา้ นการศึกษา (โรงเรียน) ในแตล่ ะด้าน

ระดับ

งานดา้ นการศึกษา (โรงเรียน) X S.D. ความ รอ้ ยละ
คิดเหน็

ด้านกระบวนการ / ข้ันตอนการให้บรกิ าร

1. มขี ้นั ตอนการดำเนนิ งานที่เปน็ ระบบและชัดเจน 4.43 0.61 มาก 88.50

2. การใหบ้ ริการมคี วามสะดวก รวดเร็วถูกต้อง 4.54 0.57 มากทสี่ ดุ 90.75

3. การให้บริการเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอ

ภาคเทา่ เทียมกนั 4.58 0.55 มากท่สี ดุ 91.50

4. การให้บรกิ ารมรี ะยะเวลาทีเ่ หมาะสม 4.55 0.55 มากที่สุด 91.00

5. มีการปรับปรุงการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและ

ได้มาตรฐานมากยิ่งขึ้น 4.58 0.55 มากท่สี ุด 91.50

รวม 4.53 0.57 มากท่ีสดุ 90.65

ดา้ นชอ่ งทางการให้บริการ

1. การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทาง

ต่างๆ ชดั เจน เหมาะสม เข้าใจง่าย 4.61 0.52 มากที่สุด 92.25

2. มีช่องทางการประสานงาน ติดต่อ ที่สะดวก และ

หลากหลาย เช่น โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต คณะกรรมการ

หมบู่ ้าน เปน็ ตน้ 4.50 0.50 มาก 90.00

3. มีการออกหนว่ ยเคลื่อนท่ีเพื่อให้บริการนอกสถานที่ 4.59 0.59 มากทส่ี ดุ 91.75

4. มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและเข้าใจใน

การดำเนนิ งาน 4.46 0.50 มาก 89.25

รวม 4.54 0.53 มากทีส่ ดุ 90.81

ดา้ นเจ้าหน้าท่/ี บุคลากรผู้ใหบ้ ริการ

1. เจ้าหนา้ ท่ีแตง่ กายเรยี บรอ้ ย และเหมาะสม 4.60 0.52 มากท่สี ุด 92.00

2. เจ้าหน้าทีใ่ หบ้ รกิ ารด้วยความสุภาพ และเป็นกันเอง 4.58 0.50 มากทส่ี ุด 91.50

3. เจ้าหน้าท่ีให้บริการดว้ ยความกระตอื รอื รน้ เอาใจใส่

และมคี วามพรอ้ มในการให้บรกิ าร 4.66 0.53 มากทส่ี ุด 93.25

79

ตารางท่ี 4.10 (ต่อ)

ระดบั

งานด้านการศึกษา (โรงเรียน) X S.D. ความ ร้อยละ
คิดเหน็

4. เจา้ หน้าท่มี ีความรู้ ความสามารถในการสอนเปน็ อย่างดี 4.58 0.50 มากที่สดุ 91.50

5. เจ้าหนา้ ที่มจี ำนวนเพยี งพอในการปฏิบัติหน้าท่ี 4.59 0.50 มากทีส่ ุด 91.75

6. เจ้าหน้าที่มีความรับผิดชอบในการดูแลเด็กอย่าง

เหมาะสมและท่ัวถงึ 4.68 0.47 มากทส่ี ดุ 93.50

รวม 4.61 0.50 มากทีส่ ดุ 92.25

ดา้ นสถานท่แี ละส่ิงอำนวยความสะดวก

1. สิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกสถานที่ศึกษาเอื้อต่อ

การเรียนรู้และสรา้ งประสบการณ์ 4.51 0.53 มากที่สดุ 90.25

2. ส่ิงอำนวยความสะดวก เชน่ ห้องเรยี น ห้องน้ำ สื่อและ

วัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอน มีความเหมาะสมกับวัย

และเพยี งพอตอ่ การจดั การเรยี นการสอน 4.55 0.53 มากท่สี ุด 91.00

3. อาคารสถานท่ีและอุปกรณ์มีความเหมาะสม สะอาด

เป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย 4.58 0.52 มากทส่ี ดุ 91.50

4. มีการใหบ้ รกิ ารอาหารกลางวนั อาหารวา่ ง อาหารเสริม

วสั ดกุ ารศกึ ษา เพยี งพอต่อความตอ้ งการของเดก็ 4.55 0.50 มากทส่ี ุด 91.00

5. การจัดชั้นเรยี นเหมาะสมกบั จำนวนนักเรยี นและคุณครู

ผู้สอน 4.61 0.49 มากที่สดุ 92.25

รวม 4.56 0.51 มากทีส่ ดุ 91.20

ดา้ นผลการปฏิบัติงาน

1. การดำเนินงานเป็นไปด้วยความโปร่งใส 4.61 0.49 มากทสี่ ดุ 92.25

2. มีการปรับปรุง แก้ไข ในกรณีท่ีผลการดำเนินงานมี

ความบกพร่อง 4.58 0.50 มากท่สี ดุ 91.50

3. มปี ระโยชน์ คุ้มค่า ตอ่ ประชาชนสว่ นรวม 4.65 0.48 มากทส่ี ุด 93.00

4. เดก็ มพี ัฒนาการในด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจและสังคม 4.56 0.50 มากที่สดุ 92.25

รวม 4.60 0.49 มากท่ีสุด 92.25

80

จากตารางท่ี 4.10 พบว่า
ด้านกระบวนการ / ขั้นตอนการให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.65 โดยเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเรื่อง การให้บริการเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ,
มีการปรับปรุงการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานมากย่ิงข้ึน อยู่ในระดับมากที่สุด
( X = 4.58) คิดเป็นรอ้ ยละ 91.50 รองลงมาไดแ้ ก่ การใหบ้ รกิ ารมีระยะเวลาท่ีเหมาะสม อยู่ในระดับ
มากที่สุด ( X = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 91.00 และการให้บริการมีความสะดวก รวดเร็วถูกต้อง
อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ ( X = 4.54) คิดเปน็ ร้อยละ 90.75
ด้านช่องทางการให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับ
มากที่สุด ( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.81 โดยเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่มีความ
พึงพอใจในเร่ือง การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางต่างๆ ชัดเจน เหมาะสม
เข้าใจง่าย อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.61) คิดเป็นรอ้ ยละ 92.25 รองลงมาได้แก่ มีการออกหน่วย
เคลื่อนท่ีเพื่อให้บริการนอกสถานท่ี อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.59) คิดเป็นร้อยละ 91.75
และมีช่องทางการประสานงาน ติดต่อ ที่สะดวก และหลากหลาย เช่น โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต
คณะกรรมการหมบู่ ้าน เป็นตน้ อยใู่ นระดบั มาก ( X = 4.50) คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.00
ด้านเจ้าหน้าท่ี/บุคลากรผู้ให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดบั มากท่ีสุด ( X = 4.61) คิดเป็นร้อยละ 92.25 โดยเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเร่ือง จ้าหน้าท่ีมีความรับผิดชอบในการดูแลเด็กอย่างเหมาะสมและทั่วถึง
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.68) คิดเป็นร้อยละ 93.50 รองลงมาได้แก่ เจ้าหน้าท่ีให้บริการด้วย
ความกระตือรือร้น เอาใจใส่ และมีความพร้อมในการให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.66)
คิดเป็นร้อยละ 93.25 และเจ้าหน้าที่แต่งกายเรียบร้อย และเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด
( X = 4.60) คิดเปน็ ร้อยละ 92.00
ด้านสถานท่ีและส่ิงอำนวยความสะดวก ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.56) คิดเป็นร้อยละ 91.20 โดยเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเรื่อง การจัดช้ันเรียนเหมาะสมกับจำนวนนักเรียนและคุณครูผู้สอน อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด ( X = 4.61) คิดเป็นร้อยละ 92.25 รองลงมาได้แก่ อาคารสถานท่ีและอุปกรณ์มีความ
เหมาะสม สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.58) คิดเป็นร้อยละ 91.50
และส่ิงอำนวยความสะดวก เช่น ห้องเรียน ห้องน้ำ ส่ือและวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอน มีความ
เหมาะสมกบั วยั และเพยี งพอต่อการจัดการเรยี นการสอน , มีการให้บริการอาหารกลางวัน อาหารว่าง

81

อาหารเสริม วัสดุการศึกษา เพียงพอต่อความต้องการของเด็ก อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.55)
คดิ เปน็ ร้อยละ 91.00

ดา้ นผลการปฏิบัติงาน ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด

( X = 4.60) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92.25 โดยเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่า สว่ นใหญ่มีความพึงพอใจในเร่อื ง

มีประโยชน์ คุ้มค่า ต่อประชาชนส่วนรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.65) คิดเป็นร้อยละ 93.00

รองลงมาได้แก่ การดำเนินงานเป็นไปด้วยความโปร่งใส อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.61) คิดเป็น
ร้อยละ 92.25 และมีการปรับปรุง แก้ไข ในกรณีที่ผลการดำเนินงานมีความบกพร่อง อยู่ในระดับ
มากทสี่ ุด ( X = 4.58) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 91.50

สว่ นท่ี 5 ผลการประเมินความพึงพอใจทีม่ ีตอ่ งานด้านรายได้หรอื ภาษี
5.1 ข้อมูลทั่วไป

ตารางท่ี 4.11 แสดงขอ้ มลู ทว่ั ไปงานด้านรายได้หรือภาษี ประกอบดว้ ย เพศ อายุ อาชพี และประเภท
ผรู้ ับบริการ

รายการ จำนวน/คน รอ้ ยละ
เพศ
37 46.25
1. ชาย 43 53.75
2. หญิง
อายุ 6 7.50
1. ต่ำกวา่ 26 ปี 24 30.00
2. 26 – 40 ปี 33 41.25
3. 41 – 55 ปี 17 21.25
4. 56 – 69 ปี
อาชพี 1 1.25
1. รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 2 2.50
2. ลกู จ้าง/พนกั งานบริษัท 1 1.25
3. ผปู้ ระกอบการ/เจ้าของธรุ กจิ 5 6.25
4. ค้าขายรายยอ่ ย/อาชีพอสิ ระ 9 11.25
5. นกั เรยี น/นักศึกษา

82

ตารางที่ 4.11 (ตอ่ )

รายการ จำนวน/คน รอ้ ยละ
6. รบั จ้างทั่วไป 33 41.25
7. แมบ่ ้าน/พอ่ บา้ น/เกษยี ณ 7 8.75
8. เกษตรกร/ประมง 22 27.50
ประเภทผู้รบั บริการ
1. ประชาชน 80 100.00
80 100.00
รวม

จากตารางท่ี 4.11 พบว่า
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 53.75
และเพศชาย จำนวน 37 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 46.25
มีอายุระหว่าง 41 – 55 ปี จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 41.25 รองลงมาได้แก่
อายุระหว่าง 26 – 40 ปี จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 และอายุระหวา่ ง 56 – 69 ปี จำนวน
17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 21.25
ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างท่ัวไป จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 41.25 รองลงมาได้แก่
อาชพี เกษตรกร/ประมง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 และนกั เรียน/นักศึกษา จำนวน 9 คน
คิดเป็นร้อยละ 11.25
ประเภทผรู้ ับบริการ ประกอบดว้ ย ประชาชน จำนวน 80 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00

83

5.2 ผลการประเมินความพึงพอใจท่มี ตี อ่ งานด้านรายได้หรอื ภาษี

ตารางที่ 4.12 แสดงผลการประเมนิ ความพงึ พอใจที่มีต่องานดา้ นรายไดห้ รอื ภาษี ในภาพรวม

งานด้านรายไดห้ รือภาษี ระดับ
X S.D. ความ ร้อยละ
1. ด้านกระบวนการ /ขน้ั ตอนการให้บริการ
2. ดา้ นชอ่ งทางการให้บริการ คิดเหน็
3. ด้านเจ้าหนา้ ท่ี /บคุ ลากรให้บรกิ าร 4.54 0.50 มากทส่ี ุด 90.75
4. ด้านสถานทแ่ี ละสิ่งอำนวยความสะดวก 4.54 0.52 มากทส่ี ุด 90.88
5. ดา้ นผลการปฏิบตั ิงาน 4.55 0.51 มากทสี่ ดุ 91.08
4.58 0.51 มากที่สุด 91.50
รวม 4.50 0.50 มาก 90.00
4.54 0.51 มากที่สดุ 90.84

จากตารางที่ 4.12 พบวา่
ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่องานด้านรายได้หรือภาษี ในภาพรวม อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด ( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.84 โดยเม่ือพิจารณาในรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่มีความ
พงึ พอใจในด้านสถานที่และส่ิงอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมากทส่ี ุด ( X = 4.58) คิดเป็นร้อยละ
91.50 รองลงมาได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่ /บุคลากรให้บริการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.55) คิดเป็น
ร้อยละ 91.08 และด้านช่องทางการให้บรกิ าร อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ ( X = 4.54) คิดเปน็ ร้อยละ 90.88

84

5.3 ผลการประเมินความพึงพอใจท่ีมตี อ่ งานดา้ นรายไดห้ รือภาษี

ตารางท่ี 4.13 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจทมี่ ตี ่องานดา้ นรายไดห้ รอื ภาษี ในแตล่ ะด้าน

ระดบั

งานด้านรายได้หรอื ภาษี X S.D. ความ รอ้ ยละ
คดิ เหน็

ด้านกระบวนการ / ขั้นตอนการให้บรกิ าร

1. ข้ันตอนการให้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อนและมีความ

คลอ่ งตัว 4.51 0.50 มากท่ีสุด 90.25

2. การให้บริการมีความสะดวกรวดเร็ว และทนั เวลา 4.45 0.50 มาก 89.00

3. การให้บริการเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอ

ภาคเท่าเทยี มกนั 4.59 0.50 มากทส่ี ุด 91.75

4. มกี ารแจ้งระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนนิ การในแตล่ ะเรอื่ ง

อย่างชัดเจน 4.55 0.50 มากที่สุด 91.00

5. การแจ้งรายละเอียดหลักฐานประกอบการขอรับ

บรกิ ารอยา่ งชดั เจน 4.59 0.50 มากทีส่ ุด 91.75

รวม 4.54 0.50 มากทสี่ ุด 90.75

ดา้ นชอ่ งทางการใหบ้ รกิ าร

1. การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทาง

ต่างๆ ชัดเจน เหมาะสม เขา้ ใจง่าย 4.56 0.50 มากที่สดุ 91.25

2. มกี ารออกหน่วยเคล่อื นที่เพือ่ ให้บรกิ ารนอกสถานที่ 4.58 0.50 มากท่สี ุด 91.50

3. มีเอกสาร แผ่นพับ ใบปลิวแจกเพ่ือเสริมสร้างความรู้

ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการจดั เกบ็ รายไดห้ รือภาษี 4.50 0.57 มาก 90.00

4. มีตวั อยา่ งแนะนำวิธีการกรอกขอ้ มูลใบแบบฟอรม์ 4.54 0.53 มากที่สุด 90.75

รวม 4.54 0.52 มากท่ีสดุ 90.88

ด้านเจ้าหนา้ ที่/บุคลากรผู้ให้บริการ

1. เจ้าหน้าทแี่ ตง่ กายเรยี บร้อย และเหมาะสม 4.58 0.50 มากท่สี ุด 91.50

2. เจา้ หน้าทใี่ ห้บริการดว้ ยความสุภาพ และเป็นกนั เอง 4.60 0.49 มากทีส่ ดุ 92.00

3. เจ้าหน้าท่ีให้บริการด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่

และมคี วามพร้อมในการให้บรกิ าร 4.53 0.53 มากที่สดุ 90.50

85

ตารางท่ี 4.13 (ต่อ)

ระดบั

งานด้านรายได้หรือภาษี X S.D. ความ ร้อยละ
คดิ เหน็

4. เจา้ หน้าที่บริการด้วยความถกู ต้อง แมน่ ยำ และรวดเรว็ 4.53 0.53 มากที่สดุ 90.50

5. เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ

สามารถตอบคำถาม ช้ีแจงหรือสงสัย ให้คำแนะนำช่วย

แก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งถูกต้อง นา่ เชอ่ื ถอื 4.54 0.53 มากท่ีสุด 90.75

6. เจ้าหน้าท่ีใหบ้ ริการด้วยความซอ่ื สัตย์ สจุ รติ ไม่รบั ส่ิงของ

ตอบแทน หรือสนิ บน และไมห่ าประโยชน์ในทางมชิ อบ 4.56 0.52 มากทสี่ ุด 91.25

รวม 4.55 0.51 มากทสี่ ุด 91.08

ด้านสถานทีแ่ ละสง่ิ อำนวยความสะดวก

1. สถานท่ีตั้งของหน่วยงาน สะดวกในการเดินทางมารับ

บรกิ าร 4.54 0.53 มากทส่ี ดุ 90.75

2. สิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ท่จี อดรถ หอ้ งนำ้ โทรศพั ท์

สาธารณะ ท่ีนั่งรอรบั บรกิ าร มีความเพยี งพอ 4.54 0.53 มากทส่ี ุด 90.75

3. สถานที่มีความสะอาดเป็นระเบียบ เรียบร้อย สะดวก

ตอ่ การใช้บริการ 4.60 0.49 มากท่สี ดุ 92.00

4. ป้าย ข้อความบอกจดุ ให้บริการ และป้ายประชาสัมพันธ์

มีความชดั เจน เขา้ ใจง่าย 4.63 0.49 มากทส่ี ุด 92.50

รวม 4.58 0.51 มากท่สี ุด 91.50

ดา้ นผลการปฏบิ ตั งิ าน

1. การดำเนนิ งานตรงตามความตอ้ งการของประชาชน 4.55 0.50 มากที่สดุ 91.00

2. การดำเนนิ กจิ กรรมโครงการเปน็ ไปดว้ ยความโปร่งใส 4.50 0.50 มาก 90.00

3. มีการปรับปรุง แก้ไข ในกรณีที่ผลการดำเนินงานมี

ความบกพร่อง 4.46 0.50 มาก 89.25

4. กิจกรรมและโครงการมีประโยชน์ คุ้มค่า ต่อประชาชน

ส่วนรวม 4.49 0.50 มาก 89.75

รวม 4.50 0.50 มาก 90.00

86

จากตารางท่ี 4.13 พบว่า
ด้านกระบวนการ / ข้ันตอนการให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.75 โดยเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเร่ือง การให้บริการเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ,
การแจ้งรายละเอียดหลักฐานประกอบการขอรับบริการอย่างชัดเจน อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.59)
คิดเป็นร้อยละ 91.75 รองลงมาได้แก่ มีการแจ้งระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการในแต่ละเร่ืองอย่าง
ชดั เจน อยู่ในระดับมากทส่ี ุด ( X = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 91.00 และขัน้ ตอนการให้บริการไม่ยุ่งยาก
ซับซอ้ นและมคี วามคลอ่ งตัว อยูใ่ นระดับมากท่สี ุด ( X = 4.51) คิดเปน็ รอ้ ยละ 90.25
ด้านช่องทางการให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับ
มากที่สุด ( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.88 โดยเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่มีความ
พึงพอใจในเร่ือง มีการออกหน่วยเคลื่อนที่เพ่ือให้บริการนอกสถานท่ี อยู่ในระดับมากที่สุด
( X = 4.58) คิดเป็นร้อยละ 91.50 รองลงมาได้แก่ การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์
ผ่านช่องทางต่างๆ ชัดเจน เหมาะสม เข้าใจง่าย อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.56) คิดเป็นร้อยละ
91.25 และมีตัวอย่างแนะนำวิธีการกรอกข้อมูลใบแบบฟอร์ม อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.54)
คดิ เป็นร้อยละ 90.75
ด้านเจ้าหน้าท่ี/บุคลากรผู้ให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 91.08 โดยเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเร่ือง เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความสุภาพ และเป็นกันเอง อยู่ในระดับมากท่ีสุด
( X = 4.60) คิดเป็นร้อยละ 92.00 รองลงมาได้แก่ เจ้าหน้าที่แต่งกายเรียบร้อย และเหมาะสม
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.58) คิดเป็นร้อยละ 91.50 และเจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความซื่อสัตย์
สุจริต ไม่รับส่ิงของตอบแทน หรือสินบน และไม่หาประโยชน์ในทางมิชอบ อยู่ในระดับมากที่สุด
( X = 4.56) คดิ เป็นร้อยละ 91.25
ด้านสถานท่ีและสิ่งอำนวยความสะดวก ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.58) คิดเป็นร้อยละ 91.50 โดยเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจ ในเรื่อง ป้าย ข้อความบอกจุดให้บริการ และป้ายประชาสัมพันธ์ มีความชัดเจน
เข้าใจง่าย อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.63) คิดเป็นร้อยละ 92.50 รองลงมาได้แก่ สถานท่ีมีความ
สะอาดเป็นระเบียบ เรียบร้อย สะดวกต่อการใช้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.60) คิดเป็น
ร้อยละ 92.00 และสถานที่ตั้งของหน่วยงาน สะดวกในการเดินทางมารับบริการ , สิ่งอำนวยความ

87

สะดวก เช่น ท่ีจอดรถ ห้องน้ำ โทรศัพท์สาธารณะ ที่นั่งรอรับบริการ มีความเพียงพอ อยู่ในระดับ
มากทสี่ ุด ( X = 4.54) คดิ เป็นร้อยละ 90.75

ด้านผลการปฏิบัติงาน ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมาก
( X = 4.50) คิดเป็นรอ้ ยละ 90.00 โดยเมื่อพิจารณาในรายข้อพบวา่ ส่วนใหญม่ ีความพึงพอใจในเรื่อง
การดำเนินงานตรงตามความตอ้ งการของประชาชน อยู่ในระดับมากท่ีสดุ ( X = 4.55) คิดเป็นรอ้ ยละ
91.00 รองลงมาได้แก่ การดำเนินกิจกรรมโครงการเป็นไปด้วยความโปร่งใส อยู่ในระดับมาก
( X = 4.50) คิดเป็นร้อยละ 90.00 และกิจกรรมและโครงการมีประโยชน์ คุ้มค่า ต่อประชาชน
ส่วนรวม อยใู่ นระดับมาก ( X = 4.49) คดิ เป็นร้อยละ 89.75

ส่วนที่ 6 ผลการประเมินความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ งานดา้ นสาธารณสขุ
6.1 ขอ้ มูลทว่ั ไป

ตารางท่ี 4.14 แสดงข้อมูลทั่วไปงานด้านสาธารณสุข ประกอบด้วย เพศ อายุ อาชีพ และประเภท
ผรู้ บั บริการ

รายการ จำนวน/คน ร้อยละ
เพศ
36 45.00
1. ชาย 44 55.00
2. หญงิ
อายุ 14 17.50
1. ต่ำกว่า 26 ปี 23 28.75
2. 26 – 40 ปี 29 36.25
3. 41 – 55 ปี 14 17.50
4. 56 – 69 ปี
อาชีพ 5 6.25
1. ลกู จา้ ง/พนักงานบริษัท 4 5.00
2. ผ้ปู ระกอบการ/เจา้ ของธุรกิจ 8 10.00
3. คา้ ขายรายย่อย/อาชพี อิสระ 4 5.00
4. นักเรียน/นักศกึ ษา 19 23.75
5. รับจา้ งทั่วไป

88

ตารางท่ี 4.14 (ต่อ)

รายการ จำนวน/คน รอ้ ยละ
6. แม่บา้ น/พอ่ บ้าน/เกษียณ 2 2.50
7. เกษตรกร/ประมง 34 42.50
8. วา่ งงาน 4 5.00
ประเภทผรู้ บั บริการ
1. ประชาชน 80 100.00
80 100.00
รวม

จากตารางที่ 4.14 พบว่า
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00
และเพศชาย จำนวน 36 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 45.00
มีอายุระหว่าง 41 – 55 ปี จำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 36.25 รองลงมาได้แก่
อายุระหว่าง 26 – 40 ปี จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 28.75 และอายุต่ำกว่า 26 ปี , อายุระหว่าง
56 – 69 ปี จำนวน 14 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.50
ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร/ประมง จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 รองลงมาได้แก่
อาชีพรับจ้างท่ัวไป จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 23.75 และอาชีพค้าขายรายย่อย/อาชีพอิสระ
จำนวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10.00
ประเภทผู้รบั บรกิ าร ประกอบดว้ ย ประชาชน จำนวน 80 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00

89

6.2 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจท่ีมีต่องานด้านสาธารณสุข

ตารางที่ 4.15 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจทมี่ ตี ่องานด้านสาธารณสุข ในภาพรวม

งานด้านสาธารณสุข ระดบั
X S.D. ความ รอ้ ยละ
1. ด้านกระบวนการ /ขนั้ ตอนการใหบ้ รกิ าร
2. ดา้ นชอ่ งทางการใหบ้ ริการ คิดเหน็
3. ดา้ นเจ้าหน้าท่ี /บุคลากรใหบ้ ริการ 4.58 0.51 มากที่สุด 91.65
4. ด้านสถานท่แี ละสิ่งอำนวยความสะดวก 4.40 0.66 มาก 88.06
5. ด้านผลการปฏิบตั งิ าน 4.68 0.50 มากทีส่ ดุ 93.58
4.48 0.62 มาก 89.65
รวม 4.55 0.50 มากที่สุด 91.06
4.55 0.57 มากท่สี ดุ 90.80

จากตารางที่ 4.15 พบว่า
ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจตอ่ งานด้านสาธารณสุข ในภาพรวม อยู่ในระดับมากทส่ี ุด
( X = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 90.80 โดยเม่ือพิจารณาในรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ
ในด้านเจ้าหน้าท่ี /บุคลากรให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.68) คิดเป็นร้อยละ 93.58
รองลงมาได้แก่ ด้านกระบวนการ /ข้ันตอนการให้บริการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.58) คิดเป็น
ร้อยละ 91.65 และด้านผลการปฏบิ ตั ิงาน อยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ ( X = 4.55) คดิ เปน็ ร้อยละ 91.06

90

6.3 ผลการประเมินความพงึ พอใจทมี่ ีต่องานด้านสาธารณสุข

ตารางท่ี 4.16 แสดงผลการประเมนิ ความพงึ พอใจท่มี ีงานด้านสาธารณสุข ในแต่ละดา้ น

ระดับ

งานด้านสาธารณสุข X S.D. ความ รอ้ ยละ
คดิ เห็น

ด้านกระบวนการ / ขั้นตอนการให้บรกิ าร

1. ข้ันตอนการใหบ้ ริการไม่ยงุ่ ยากซับซ้อนและมีความคล่องตัว 4.58 0.55 มากที่สุด 91.50

2. มีการให้บรกิ ารดว้ ยความครบถ้วน ถกู ต้อง 4.51 0.50 มากท่สี ุด 90.25

3. การใหบ้ ริการมีความสะดวกรวดเร็ว และทันเวลา 4.58 0.52 มากทสี่ ุด 91.50

4. การให้บริการเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอ

ภาคเทา่ เทียมกัน 4.61 0.49 มากทส่ี ุด 92.25

5. การให้บรกิ ารในแต่ละขัน้ ตอนมีระยะเวลาทีเ่ หมาะสม 4.64 0.48 มากทสี่ ดุ 92.75

รวม 4.58 0.51 มากท่ีสดุ 91.65

ดา้ นชอ่ งทางการใหบ้ ริการ

1. การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทาง

ต่างๆ ชัดเจน เหมาะสม เขา้ ใจง่าย 4.46 0.62 มาก 89.25

2. มีช่องทางการประสานงาน ติดต่อ ท่ีสะดวก และ

หลากหลาย เช่น โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต คณะกรรมการ

หมบู่ า้ น เป็นตน้ 4.63 0.49 มากทส่ี ุด 92.50

3.มีการออกหนว่ ยเคลื่อนทีเ่ พือ่ ใหบ้ ริการนอกสถานท่ี 4.18 0.79 มาก 83.50

4.มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและเข้าใจใน

การดำเนินงาน 4.35 0.66 มาก 87.00

รวม 4.40 0.66 มาก 88.06

ดา้ นเจ้าหน้าที่/บคุ ลากรผ้ใู หบ้ รกิ าร

1. เจา้ หน้าท่ีแตง่ กายเรยี บรอ้ ย และเหมาะสม 4.70 0.49 มากที่สุด 94.00

2. เจ้าหนา้ ทีใ่ หบ้ ริการดว้ ยความสุภาพ และเป็นกันเอง 4.71 0.48 มากทส่ี ดุ 94.25

3. เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่

และมคี วามพรอ้ มในการให้บรกิ าร 4.68 0.52 มากทีส่ ดุ 93.50

4. เจ้าหนา้ ทีบ่ ริการดว้ ยความถูกตอ้ ง แม่นยำ และรวดเร็ว 4.56 0.55 มากที่สดุ 91.25

91

ตารางที่ 4.16 (ตอ่ )

ระดบั

งานดา้ นสาธารณสุข X S.D. ความ ร้อยละ
คิดเหน็

5. เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ

สามารถตอบคำถาม ช้ีแจงหรือสงสัย ให้คำแนะนำช่วย

แกป้ ัญหาได้อย่างถกู ต้อง น่าเช่อื ถอื 4.74 0.47 มากที่สุด 94.75

6. เจา้ หนา้ ท่ีให้บริการด้วยความซื่อสัตย์ สจุ ริต ไม่รับสงิ่ ของ

ตอบแทน หรอื สนิ บน และไมห่ าประโยชนใ์ นทางมชิ อบ 4.69 0.49 มากทีส่ ดุ 93.75

รวม 4.68 0.50 มากท่ีสดุ 93.58

ด้านสถานที่และสง่ิ อำนวยความสะดวก

1. สถานที่ตั้งของหน่วยงาน สะดวกในการเดินทางมารับ

บรกิ าร 4.30 0.66 มาก 86.00

2. สง่ิ อำนวยความสะดวก เชน่ ทจ่ี อดรถ ห้องนำ้ โทรศัพท์

สาธารณะ ทีน่ ่ังรอรับบรกิ าร มีความเพียงพอ 4.30 0.66 มาก 86.00

3. อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ต่าง ๆ มีคุณภาพและมี

ความทันสมยั 4.56 0.57 มากทสี่ ุด 91.25

4. สถานที่และอุปกรณ์มีความสะอาดเป็นระเบียบ

เรียบรอ้ ย สะดวกต่อการใช้บรกิ าร 4.61 0.56 มากที่สดุ 92.25

5. สถานที่ให้บริการมีความปลอดภัยและได้มาตรฐานใน

การใหบ้ ริการ 4.64 0.53 มากที่สดุ 92.75

รวม 4.48 0.62 มาก 89.65

ดา้ นผลการปฏิบตั ิงาน

1. กิจกรรมและโครงการตรงตามความตอ้ งการของประชาชน 4.56 0.50 มากที่สดุ 91.25

2. การดำเนินกิจกรรมโครงการเปน็ ไปด้วยความโปร่งใส 4.53 0.50 มากทส่ี ุด 90.50

3. มีการปรับปรุง แก้ไข ในกรณีท่ีผลการดำเนินงานมี

ความบกพร่อง 4.56 0.50 มากทีส่ ดุ 91.25

4. กิจกรรมและโครงการมปี ระโยชน์ คุ้มคา่ ต่อประชาชน

สว่ นรวม 4.56 0.50 มากท่สี ดุ 91.25

รวม 4.55 0.50 มากท่ีสดุ 91.06


Click to View FlipBook Version