The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจเทศบาลเมืงอเขาสามยอด ปี 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจเทศบาลเมืงอเขาสามยอด ปี 2563

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจเทศบาลเมืงอเขาสามยอด ปี 2563

92

จากตารางที่ 4.16 พบว่า
ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.58) คิดเป็นร้อยละ 91.65 โดยเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเร่ือง การให้บริการในแต่ละขั้นตอนมีระยะเวลาที่เหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด
( X = 4.64) คิดเป็นร้อยละ 92.75 รองลงมาได้แก่ การให้บริการเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง มีความ
เสมอภาคเท่าเทียมกัน อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.61) คิดเป็นร้อยละ 92.25 และขั้นตอนการ
ให้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อนและมีความคล่องตัว , การให้บริการมีความสะดวกรวดเร็ว และทันเวลา
อย่ใู นระดบั มากทส่ี ุด ( X = 4.58) คิดเปน็ ร้อยละ 91.50
ดา้ นช่องทางการให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมาก
( X = 4.40) คดิ เป็นร้อยละ 88.06 โดยเมื่อพิจารณาในรายขอ้ พบว่า ส่วนใหญม่ ีความพึงพอใจในเรื่อง
มีช่องทางการประสานงาน ติดต่อ ที่สะดวก และหลากหลาย เช่น โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต
คณะกรรมการหมู่บ้าน เป็นต้น อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.63) คิดเป็นร้อยละ 92.50 รองลงมา
ได้แก่ การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางต่างๆ ชัดเจน เหมาะสม เข้าใจง่าย
อยู่ในระดับมาก ( X = 4.46) คิดเปน็ ร้อยละ 89.25 และมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและ
เข้าใจในการดำเนินงาน อยใู่ นระดับมาก ( X = 4.35) คดิ เป็นรอ้ ยละ 87.00
ด้านเจ้าหน้าท่ี/บุคลากรผู้ให้บริการ ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.68) คิดเป็นร้อยละ 93.58 โดยเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มคี วามพึงพอใจในเร่ือง เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บรกิ าร สามารถตอบคำถาม ชี้แจง
หรือสงสัย ให้คำแนะนำช่วยแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง น่าเช่ือถือ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.74)
คดิ เปน็ ร้อยละ 94.75 รองลงมาไดแ้ ก่ เจ้าหน้าทีใ่ ห้บริการดว้ ยความสภุ าพ และเปน็ กันเอง อย่ใู นระดับ
มากที่สุด ( X = 4.71) คิดเป็นร้อยละ 94.25 และเจ้าหน้าที่แต่งกายเรียบร้อย และเหมาะสม
อย่ใู นระดับมากที่สุด ( X = 4.70) คิดเป็นร้อยละ 94.00
ด้านสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม
อยู่ในระดับมาก ( X = 4.48) คิดเป็นร้อยละ 89.65 โดยเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจในเร่ือง สถานที่ให้บริการมีความปลอดภัยและได้มาตรฐานในการให้บริการ
อยู่ในระดบั มากท่สี ุด ( X = 4.64) คิดเป็นร้อยละ 92.75 รองลงมาได้แก่ สถานท่ีและอุปกรณ์มคี วาม
สะอาดเป็นระเบียบ เรียบร้อย สะดวกต่อการใช้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.61) คิดเป็น

93

ร้อยละ 92.25 และอุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ต่าง ๆ มีคุณภาพและมีความทันสมัย อยู่ในระดับ
มากท่สี ุด ( X = 4.56) คิดเปน็ ร้อยละ 91.25

ด้านผลการปฏิบัติงาน ประชาชนสว่ นใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดบั มากท่ีสุด
( X = 4.55) คิดเป็นรอ้ ยละ 91.06 โดยเมื่อพิจารณาในรายขอ้ พบว่า สว่ นใหญม่ ีความพึงพอใจในเรือ่ ง
กิจกรรมและโครงการตรงตามความต้องการของประชาชน , มีการปรบั ปรุง แก้ไข ในกรณีท่ีผลการ
ดำเนินงานมีความบกพร่อง , กิจกรรมและโครงการมีประโยชน์ คุ้มค่า ต่อประชาชนส่วนรวม
อยู่ในระดับมากที่สดุ ( X = 4.56) คิดเป็นร้อยละ 91.25 และการดำเนินกิจกรรมโครงการเป็นไปด้วย
ความโปร่งใส อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด ( X = 4.53) คิดเปน็ ร้อยละ 90.50

94

บทท่ี 5
สรปุ ผลการประเมนิ และขอ้ เสนอแนะ

การสำรวจความพึงพอใจในการให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี
จังหวัดลพบุรี มีลักษณะเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ซึ่งสามารถสรุปผลการวิจัย
ดงั ตอ่ ไปนี้

1. วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา
การสำรวจความพึงพอใจในการให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี

จังหวัดลพบุรี ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ท่ีสำคัญ เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจที่มีต่องานด้านบริการ
กฎหมาย งานด้านโยธา การขออนุญาตปลูกส่งิ กอ่ สร้าง งานดา้ นการศึกษา (โรงเรียน) งานดา้ นรายได้
หรือภาษี และงานด้านสาธารณสขุ

2. วิธีดำเนนิ การ
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชน หน่วยงานรัฐ หน่วยงานเอกชน ที่ได้รับบริการจากเทศบาล

เมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี จงั หวดั ลพบรุ ี โดยดำเนนิ การเก็บรวบรวมจำนวนทัง้ สิ้น 400 คน
โดยการสมุ่ แบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ แบบสอบถามความ
พึงพอใจในการให้บริการ ซึ่งดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการลงพ้ืนที่เก็บข้อมูลกับกลุ่ม
ผู้ใช้บริการตามกิจกรรมและภารกิจ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติท่ีใช้ ได้แก่ ความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย
สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

3. สรุปผลการประเมนิ
ผลการศึกษาความพึงพอใจในการให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี

จังหวัดลพบุรี สามารถสรุปได้ดังน้ี
3.1 ผลการประเมินความพึงพอใจในการให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอ

เมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ในภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.75
โดยเม่ือพิจารณาในรายโครงการพบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่องานด้านการศึกษา (โรงเรียน)
อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.57) คิดเป็นร้อยละ 91.43 รองลงมาได้แก่ งานด้านสาธารณสุข
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 90.80 และงานด้านรายได้หรือภาษี อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด ( X = 4.54) คิดเปน็ รอ้ ยละ 90.84

95

3.2 ผลการประเมินความพึงพอใจต่องานด้านบริการกฎหมาย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนใหญ่เป็นเพศชายและเพศหญิง จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 มีอายุระหว่าง 41 – 55 ปี
จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 47.50 ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร/ประมง จำนวน 37 คน คิดเป็น
ร้อยละ 46.25 ประเภทผู้รับบริการ ประกอบด้วย ประชาชน จำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 92.50
รองลงมาได้แก่ หน่วยงานรัฐ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5.00 และหน่วยงานเอกชน จำนวน 2 คน
คิดเป็นร้อยละ 2.50 ส่วนผลการประเมินความพึงพอใจต่องานด้านบริการกฎหมาย ในภาพรวม
อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ ( X = 4.51) คดิ เป็นร้อยละ 90.13 โดยเมื่อพิจารณาในรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่
มคี วามพึงพอใจในดา้ นสถานท่ีและสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.52) คิดเป็น
ร้อยละ 90.38 รองลงมาได้แก่ ดา้ นเจ้าหน้าท่ี /บุคลากรให้บรกิ าร อยู่ในระดับมากทีส่ ุด ( X = 4.51)
คิดเป็นร้อยละ 90.25 และด้านผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.51) คิดเป็นร้อยละ
90.13

3.3 ผลการประเมินความพึงพอใจต่องานด้านโยธา การขออนุญาตปลูกส่ิงก่อสร้าง พบว่า
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 72.50 มีอายุระหว่าง
26 – 40 ปี จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 48.75 ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป จำนวน 30 คน
คิดเป็นร้อยละ 37.50 ประเภทผู้รับบริการ ประกอบด้วย ประชาชน จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ
93.75 และหน่วยงานรัฐ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 ส่วนผลการประเมินความพึงพอใจต่อ
งานด้านโยธา การขออนญุ าตปลกู สิ่งก่อสร้าง ในภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.53) คิดเป็น
ร้อยละ 90.56 โดยเมื่อพิจารณาในรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านสถานที่และ
ส่ิงอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.56) คิดเป็นร้อยละ 90.90 รองลงมาได้แก่
ดา้ นผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.54) คิดเปน็ ร้อยละ 90.94 และด้านเจา้ หน้าท่ี /
บุคลากรใหบ้ ริการ อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ ( X = 4.53) คดิ เป็นร้อยละ 90.58

3.4 ผลการประเมินความพึงพอใจต่องานด้านการศึกษา (โรงเรียน) พบว่า ผู้ตอบ
แบบสอบถามสว่ นใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 55 คน คิดเปน็ ร้อยละ 68.75 มีอายุระหว่าง 41 – 55 ปี
จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร/ประมง จำนวน 23 คน คิดเป็น
ร้อยละ 28.75 ประเภทผู้รับบริการ ประกอบด้วย ประชาชน จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 93.75
และหน่วยงานรัฐ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 ส่วนผลการประเมินความพึงพอใจต่องานด้าน
การศึกษา (โรงเรียน) ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.57) คิดเป็นร้อยละ 91.43 โดยเมื่อ
พิจารณาในรายด้านพบว่า สว่ นใหญ่มคี วามพึงพอใจในด้านเจ้าหน้าท่ี /บคุ ลากรให้บริการ อยใู่ นระดับ
มากที่สุด ( X = 4.61) คิดเป็นร้อยละ 92.25 รองลงมาได้แก่ ด้านผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับ

96

มากท่สี ุด ( X = 4.60) คิดเปน็ ร้อยละ 92.25 และด้านสถานท่แี ละส่งิ อำนวยความสะดวก อยู่ในระดับ
มากที่สดุ ( X = 4.56) คดิ เปน็ ร้อยละ 91.20

3.5 ผลการประเมินความพึงพอใจต่องานด้านรายได้หรือภาษี พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 53.75 มีอายุระหว่าง 41 – 55 ปี จำนวน
33 คน คิดเป็นร้อยละ 41.25 ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างท่ัวไป จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 41.25
ประเภทผู้รับบริการ ประกอบด้วย ประชาชน จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ส่วนผลการ
ประเมินความพึงพอใจต่องานด้านรายได้หรือภาษี ในภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.54)
คิดเป็นร้อยละ 90.84 โดยเมือ่ พิจารณาในรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจในดา้ นสถานท่ีและ
สิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.58) คิดเป็นร้อยละ 91.50 รองลงมาได้แก่
ดา้ นเจ้าหน้าที่ /บุคลากรใหบ้ ริการ อยู่ในระดับมากทสี่ ุด ( X = 4.55) คดิ เป็นร้อยละ 91.08 และด้าน
ช่องทางการใหบ้ ริการ อยใู่ นระดับมากทสี่ ุด ( X = 4.54) คิดเป็นรอ้ ยละ 90.88

3.6 ผลการประเมินความพึงพอใจต่องานด้านสาธารณสุข พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 มีอายุระหว่าง 41 – 55 ปี จำนวน
29 คน คิดเป็นร้อยละ 36.25 ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร/ประมง จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ
42.50 ประเภทผู้รับบริการ ประกอบด้วย ประชาชน จำนวน 80 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 ส่วนผล
การประเมินความพึงพอใจต่องานด้านสาธารณสุข ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.55)
คดิ เปน็ ร้อยละ 90.80 โดยเม่ือพจิ ารณาในรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในดา้ นเจ้าหนา้ ท่ี /
บุคลากรให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.68) คิดเป็นร้อยละ 93.58 รองลงมาได้แก่
ด้านกระบวนการ /ข้ันตอนการให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.58) คิดเป็นร้อยละ 91.65
และดา้ นผลการปฏิบตั ิงาน อยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ ( X = 4.55) คิดเป็นรอ้ ยละ 91.06

4. ข้อเสนอแนะ
ผลการประเมินความพึงพอใจท่ีมีต่อการให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอ

เมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ทำให้เห็นศักยภาพและความสามารถในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ
และจะเปน็ ขอ้ มูลสารสนเทศที่สำคัญในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการอย่างต่อเน่ือง (Continuous
Improvement) ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ดังน้ี

4.1 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจท่ีมีตอ่ การให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอ
เมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี พบว่า งานด้านบริการกฎหมาย และงานด้านสาธารณสุข มีผลการประเมิน
ความพึงพอใจท่ีมีต่อการให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด ในด้านช่องทางการให้บริการ

97

เป็นลำดับสดุ ท้าย ดงั นนั้ การจดั ให้มีช่องทางการติดตอ่ ทผ่ี ูร้ ับบริการสามารถติดตอ่ กับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินได้โดยงา่ ย อาจปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

4.1.1 จัดใหม้ ีช่องทางการตดิ ต่อที่สะดวก ควรมีหมายเลขโทรศพั ท์สายด่วน ซงึ่ ประชาชน
ผู้รับบริการสามารถโทรเข้ามาสอบถามข้อมูลหรือแจ้งข้อร้องเรียนได้ฟรีตลอด 24 ช่ัวโมง ท้ังนี้ผู้รับ
โทรศัพท์ จะต้องได้รับการอบรมมาเพ่อื ให้สามารถแกไ้ ขปญั หาหรือตอบคำถามใหค้ วามกระจ่างแก่ผทู้ ่ี
โทรเข้ามาได้ สายดว่ นดังกล่าวควรมีคูส่ ายมากพอทจี่ ะให้บริการโดยผรู้ บั บรกิ ารไมต่ ้องเสียเวลารอสาย
นาน และไม่คิดค่าบริการไม่ว่าผู้รับบริการจะโทรเข้ามาโดยใช้โทรศัพท์ระบบใด จัดทำ Website
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรมี Website ของตนเพ่ือให้ข้อมูลและมี E-mail เพื่อเป็นช่องทางให้
ประชาชนผู้รับบริการสามารถติดต่อได้ตลอดเวลา กล่องรับเรื่องราวร้องทุกข์ องค์กรปกครองส่วน
ท้องถนิ่ ควรตง้ั กล่องรบั เรอื่ งราวรอ้ งทกุ ขเ์ พ่อื ใหส้ ะดวกแก่ประชาชนผู้รับบริการ หรอื สง่ ทางตู้ไปรษณยี ์
โดยไม่ตอ้ งตดิ แสตมป์ เป็นตน้

4.1.2 การติดตามผล เม่ือให้บริการไปแล้ว ในกรณีที่ภารกิจยังไม่เสร็จส้ิน เจ้าหน้าท่ี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรที่จะติดตามผลเป็น ระยะ ๆ เพ่ือแสดงถึงความเอาใจใส่ และให้
ความสำคัญกับประชาชนผู้รับบริการ เป็นการสร้างความประทับใจอีกทางหนึ่ง นอกจากน้ีในการ
ติดตามผลก็อาจทำให้ได้รับข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ในการดำเนินการต่อไปได้ ทำให้เกิดความรู้สึกที่ดี
ทเี่ จ้าหน้าท่ีองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ หว่ งใย ไมท่ อดทงิ้

4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจท่ีมีต่อการให้บรกิ ารของเทศบาลเมอื งเขาสามยอด อำเภอ
เมืองลพบุรี จังหวดั ลพบรุ ี พบวา่ งานด้านโยธา การขออนุญาตปลูกสงิ่ กอ่ สร้าง และงานด้านการศึกษา
(โรงเรยี น) มผี ลการประเมินความพงึ พอใจทม่ี ีต่อการให้บรกิ ารของเทศบาลเมืองเขาสามยอด ในด้าน
กระบวนการ/ขั้นตอนการให้บรกิ าร เป็นลำดับสดุ ท้าย ดังนั้น กระบวนการในการให้บรกิ ารจะตอ้ งเอื้อ
ให้เกิดความถูกต้อง แม่นยำ รวดเร็วและทั่วถึง จะทำให้ประชาชนผู้รับบริการสามารถเข้าถึงบริการ
สาธารณะได้ง่ายข้ึน และขณะเดียวกัน ความชัดเจนของข้อมูลต่าง ๆ เก่ียวกับการบริการทีส่ ื่อสารให้
ผู้รับบรกิ ารได้รับทราบ มีการติดตามผลการปฏิบัติงานและมีการสำรวจความพึงพอใจของประชาชน
ผรู้ ับบริการในด้านต่าง ๆ เพื่อปรับปรงุ บรกิ ารอยา่ งเหมาะสม อาจทำได้โดย

4.2.1 ความรวดเร็วในการให้บริการ เน่ืองจากส่ิงท่ีประชาชนผู้รับบริการต้องการเป็น
อันดับแรกเมื่อมารับบริการ ก็คือ การได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว ตรงเวลา ดังน้ัน หน่วยงานควร
อำนวยความสะดวก และพัฒนาวิธีการลดข้ันตอนในการทำงาน เพื่อให้สามารถให้บริการได้อย่าง
รวดเร็วทส่ี ุด อาจปฏิบัติ ดังนี้ วิเคราะหล์ กั ษณะงาน จำนวน ระยะเวลาเพ่ือจัดสรรและบริหารจัดการ
ทรัพยากร บุคลากร ตามลักษณะของประชาชนผู้รับบริการท่ีมาขอรับบริการท่ีแตกต่างกัน โดยจัด
โยกยา้ ยพนกั งานเข้าไปช่วยเสริมในกจิ กรรมงานทีม่ ีผรู้ ับบริการจำนวนมาก (Cross function) เพอื่ ให้

98

มีพนักงานให้บริการอย่างเพียงพอและทดแทนกันได้ รวมท้ังการวางผังการไหลเวียนของงาน
(Work flow) ให้ง่ายและรวดเรว็ ไม่มีจุดท่ีเป็นคอขวด

4.2.2 ความถูกต้องแม่นยำ การอำนวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชน
ผ้รู ับบริการ นอกจากจะต้องทำดว้ ยความรวดเรว็ แล้วยังต้องมีความถกู ต้องแมน่ ยำไม่ผดิ พลาดขาดตก
บกพรอ่ ง อาจปฏิบัติ ดังนี้ การปฏิบัติงานควรมีการกำหนดขัน้ ตอนการทำงานเปน็ ขอ้ กำหนดทช่ี ัดเจน
จัดทำคู่มือประกอบการทำงาน ว่าแต่ละอย่างต้องใช้เอกสารประกอบอะไรบ้าง การดำเนินงานมี
ขั้นตอนเป็นลำดับอย่างไร มีกระบวนการกล่ันกรอง ตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความถูกต้อง ใช้ระบบ
สารสนเทศชว่ ยจัดการขอ้ มูลและชว่ ยเตือนเมือ่ ถงึ กำหนดเวลา มีการบันทึกวันและเวลาการรบั คำขอ
และรับเร่ืองของเจ้าหน้าท่ีทุกข้ันตอน มีใบแสดงการรับคำขอให้กับผู้ย่ืนคำขอและเวลาแล้วเสร็จ
(วนั รบั ผลการพิจารณา)

4.2.3 ความสามารถเขา้ ถงึ ได้งา่ ย ความสามารถเข้าถึงและใช้บริการได้ง่ายเปน็ ส่วนหนึ่ง
ทจี่ ะทำให้ประชาชนผ้รู ับบรกิ ารไดร้ ับความสะดวกสบาย ดังนั้นจุดที่ให้บริการควรจะมีการกระจายให้
ทว่ั ถงึ อาจปฏิบตั ิ ดังน้ี การจัดสถานทีท่ ่ีสะดวกในการรับบรกิ าร เช่น จัดให้มบี รกิ ารนอกสถานที่ในที่
ทำการชุมชนหมู่บ้านหรือในย่านชุมชนตามความเหมาะสม โดยกำหนดวันเวลาสถานท่ีให้ชัดเจนและ
สม่ำเสมอ หรอื การให้บรกิ ารแบบเคาะประตูบ้านในบางกจิ กรรมงานการบริการแกป่ ระชาชนบางกลุ่ม

4.2.4 ความชัดเจนของข้อมูลตา่ ง ๆ เก่ียวกับการบริการ ณ จุดบริการ บุคคลท่ัวไปหรือ
ประชาชนผู้รับบรกิ ารจำนวนมากมักจะไม่มคี วามร้เู กย่ี วกบั ขั้นตอนการใหบ้ ริการขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ตลอดจนไม่ทราบว่าต้องจัดเตรียมเอกสารหลักฐานอะไรบ้างในการติดต่อกับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในกรณตี า่ ง ๆ ดังน้ัน การประชาสัมพันธ์และใหข้ อ้ มลู ทช่ี ัดเจนจึงเปน็ ปัจจัยหน่ึงท่ี
ช่วยให้ประชาชนผู้รับบริการได้รับความสะดวกมากขึ้น อาจปฏิบัติ ดังนี้ ติดประกาศหรือสติ๊กเกอร์
ตามทส่ี าธารณะต่าง ๆ เพ่ือประชาสัมพนั ธ์ให้ผู้รับบริการหรือหมายเลขโทรศัพท์ในการติดต่อสอบถาม
จดั ทำป้ายแสดงสถานท่ี ประเภทงาน ข้ันตอนของงาน ระยะเวลาในการให้บริการแต่ละเร่ืองและชื่อ
เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบให้ผู้รับบริการได้รับทราบอย่างชัดเจน จัดเจ้าหน้าท่ีประสัมพันธ์เพื่อให้
คำแนะนำประชาชนผู้รับบริการทราบถึงข้ันตอนการติดต่องานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและ
คำแนะนำต้องชัดเจน หลีกเล่ียงคำย่อที่ประชาชนผู้รับบริการทั่วไปอาจไม่เข้าใจ ใช้สื่อต่าง ๆ เช่น
ป้าย แผ่นพับ แถบบันทึกเสียงและรูปภาพในการประชาสัมพันธ์การใช้บริการให้ทราบทั่วกัน
จดั เตรียมแบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ ไวใ้ ห้พรอ้ มเพรียง เช่น คำร้องขออนญุ าตต่าง ๆ โดยมตี วั อย่างแบบคำรอ้ ง
ทก่ี รอกขอ้ มูลเรียบร้อยเป็นตัวอยา่ ง พร้อมทง้ั มีเจา้ หน้าท่ีคอยให้คำแนะนำ และบรกิ ารเขียนคำร้องจัด
เอกสารตา่ ง ๆ กบั ผ้ไู ม่รหู้ นงั สือและผ้พู กิ าร มปี ระกาศเสียงตามสาย

99

4.2.5 การให้บริการตลอดเวลา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจัดให้มีการบริการ
ตลอดเวลาระหว่างการเปิดให้บริการ เช่น เวลา 08.30-16.30 น. โดยไม่มีการหยุดพักเท่ียง โดยอาจ
จัดเวลาพักสลับกัน เพอื่ สามารถใหบ้ รกิ ารได้อยา่ งตอ่ เน่ือง

4.3 ผลการประเมินความพึงพอใจที่มตี ่อการให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอ
เมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี พบว่า งานด้านรายได้หรือภาษี มีผลการประเมินความพึงพอใจที่มตี ่อการ
ให้บริการของเทศบาลเมืองเขาสามยอด ในด้านผลการปฏิบัติงาน เป็นลำดับสุดท้าย ดังน้ัน การที่
เทศบาลเมืองเขาสามยอด จะสามารถนำบรกิ ารที่ดีมีคณุ ภาพสูงไปสู่ประชาชนได้อย่างสอดคลอ้ งและ
ตรงตามความต้องการของประชาชน มีความจำเป็นอย่างย่ิงในการทำในสิ่งที่ควรทำให้ถูกต้องแต่
เริ่มแรก (do right thing right since the first time) น้ันก็คือ การให้ประชาชนบริการมีส่วนร่วม
ยกระดับคุณภาพการให้บรกิ ารตั้งแต่เรม่ิ ตน้ เพ่ือสามารถแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนได้อย่างตรงจุด ตรงประเด็นและมีประสทิ ธภิ าพสูงสุด อาจทำไดโ้ ดย การให้ประชาชนมสี ่วน
ร่วมในการปกครองและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความโปร่งใสและสามารถ
ตรวจสอบไดใ้ นกจิ กรรมการงานตา่ งๆของรัฐ การจัดซื้อจัดจา้ ง กิจกรรมโครงการทีส่ อดคลอ้ งตอ่ ความ
ตอ้ งการของชมุ ชนและบรบิ ทของเศรษฐกจิ สังคมชุมชน ภายใต้กรอบของการจัดสรรงบประมาณตาม
แผนพัฒนาของเทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ด้วยกระบวนการและ
ข้ันตอน ดังน้ี 1) การสำรวจปัญหาและข้อมูลชุมชน 2) การวิเคราะห์และจัดกลุ่มปัญหา 3) การ
กำหนดแผนงาน/โครงการรองรับ 4) การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย 5) การกำหนดกรอบ
งบประมาณและทรัพยากรทจ่ี ำเป็น 6) การเสนอและบรรจใุ นแผนพัฒนา 3 ปี หรอื 5 ปี ขององค์กรฯ
7) การปฏิบัติตามแผนและการประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณ 8) การทบทวนหรือยุติแผนงาน/
โครงการ

บรรณานุกรม

กาญจน์ เรอื งมนตรี. (2543).เอกสารประกอบการบรรยายในช้นั เรียน. มหาสารคาม : ภาควิชาการ
บรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม,

กำพล เกยี รติปฐมชัย. (2548). การส่อื สารมนุษย์สมั พนั ธ์. กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ.์
กุลธน ธนาพงศธ์ ร. (2542). ประโยชนก์ ารบริหารในงานบริหารงานบคุ คล. กรุงเทพฯ :

มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.
เกรยี งไกร ภมรพล. (2552, มกราคม 4). ความพึงพอใจของประชาชนตอ่ การใหบ้ ริการของ

กรุงเทพมหานคร : ศกึ ษากรณสี ำนกั งานเขตดินแดง[ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก :
http://www.tkc.go.th/thesis/abstract.asp?item id=6445.
คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น , สำนกั งาน.(2552).ความพึงพอใจของผูร้ บั บรกิ าร

ที่มตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคณบดี คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
(ออนไลน)์ เข้าถึงได้จาก : http://pharm.kku.ac.th/km/data/2008-01-06
km2/app.doc
ครรชติ บรรลุผล .(2554).ความพงึ พอใจของผสู้ ูงอายตุ ่อการให้บรกิ ารสงเคราะห์เบี้ยยงั ชีพของ
องค์การบริหารส่วนตำบลดำแมด อำเภอซำสูง จงั หวดั ขอนแก่น.การค้นควา้ อสิ ระ
หลกั สูตรรฐั ศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชารฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม
จรรยา จันทร์เต้ีย .(2553) .ความพงึ พอใจของผู้ชำระภาษีต่อการให้บริการจัดเก็บภาษีขององคก์ าร
บริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตน์ จังหวัดร้อยเอ็ด.การค้นคว้าอิสระ ปริญญารัฐ
ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
จินตนา บญุ บงการ.(2545).ชดุ การเรยี งด้วยตนเอง หลักสูตรการบรหิ ารงาน การบริหารจัดการ
ภาครฐั แนวใหม่. กรุงเทพฯ : อาทติ ย์โปรดกั ส์ กรุป๊ ,
จีระศักดิ์ เงยวจิ ติ ร.(2543) .ความพงึ พอใจของผใู้ ช้น้ำประปาตอ่ การใหบ้ ริการของสำนักงาน
ประปาเชยี งใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่. วทิ ยานพิ นธ์ บธ.ม.เชยี งใหม่ : มหาวิทยาลยั เชยี งใหม,่
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2549). การจัดการและการตลาดบริการ. กรงุ เทพฯ : ซเี อด็ ยเู คชนั่ .
เฉลิมพร อภิชนาพงศ์.(2553) .ความพึงพอใจของผู้รับบริการองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
กรณี ศึกษ าองค์การบริหารส่วน ตำบลบ างบัวทอง ในสุทธิปริทัศน์ สืบค้นจาก

www.dpu.ac.th/dpurc/assets/uploads/magazine/8hnqimn7q58g04s.pdf 12/04/59

101

ชนะดา วีระพันธ์ .(2554) .ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บรกิ ารขององค์การบริหารส่วน
ตำบลบ้านเก่า อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี .หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยบรู พา

ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2547). การตลาดบรกิ าร. กรงุ เทพฯ : ซเี อ็ดยูเคช่นั .
ชศู รี ออสเตรยี . (2542).คณุ ภาพการบรกิ ารออมสินปี 2000” ออมสนิ พัฒนา.6(5) : 4; กนั ยายน-

ตุลาคม,
โชติช่วง ภริ มณ.์ (2548).ความพึงพอใจของลูกค้าต่อบรกิ าร สนิ เชอื่ ของธนาคารอาคาร

สงเคราะห.์ ภาคนิพนธ์ ค.ม. กรงุ เทพฯ : สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์,
ณัฐวุฒิ พริยะจรี ะอนันต์ .(2544).การตลาดธุรกิจบรกิ าร.กรุงเทพ ฯ : ซีเอ็ดยูเคช่นั
เทพศกั ด์ิ บณุ ยรตั พันธ.์ (2546). การเมอื งยคุ ปจั บุ ัน. กรงุ เทพฯ :เพยี ร์สัน
ธีรกิติ นวรัตน์ ณ อยุธยา. (2549). การตลาดบริการ แนวคิดและกลยุทธ์.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :

จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
นพพงษ์ บุญจิตราดุลย.์ (2547). การเมืองของไทย. กรุงเทพฯ :พลสั เพรส.
นรินทร์ คลังผา .(2552).ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วน

ตำบลในเขตอำเภอโคกสำโรง จังหวดั ลพบุรี.วทิ ยานิพนธ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าการจัดการท่วั ไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
ปฐม มณีโรจน์. (2543).ทฤษฎีองคก์ ร. กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนาศาสตร์ สถาบันบัณฑติ พัฒน
บริหารศาสตร์,
ปริญญา จเรรชั ต์, วโิ รจน์ ฤทธ์ิฤาชยั , อานุภาพ เสง็ สาย, และแพรวพรรณ ชชู ว่ ย. (2551,
พฤษภาคม 3). ความพงึ พอใจของเกษตรกรผู้ผลิตและผู้ใชห้ ญ้าแพงโกลา่ ต่อกจิ กรรมนา
หญ้าและพัฒนาอาชีพผลติ เสบียงสัตว์เพอื่ การจำหน่าย[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก
:http://www.did.go.th/person/trainning/satisfy.doc.
พงษ์ศักดิ์ บัวหยาด. (2543). การพฒั นาตนเขา้ สอู่ าชีพ. กรงุ เทพฯ : เอมพันธ.์
พรรณี ช.เจนจติ . (2542). จิตวทิ ยาการเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์การพมิ พ์.
พรรณี พรมน้อย .(2554).ความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดการขยะมูลฝอยขององค์การ
บริหารส่วนตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม.การค้นคว้าอิสระ ปริญญารัฐ
ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม

102

พชิ ิต สุขเจริญพงษ์. (2548).การตลาดเพ่ือสร้างกำไร : กญุ แจแหง่ ความสำเร็จของธรุ กจิ .
กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภนิดา ชัยปญั ญา. (2541). ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อกจิ กรรมไร่นาสวนผสมภายใตโ้ ครงการ
ปรับโครงสร้างและระบบการผลิตการเกษตรของจังหวัดเชียงราย. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญา
มหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.่

ภทั รดา ลมิ พะสุด. (2540). การเมืองในยุคปจั จุบนั . กรงุ เทพฯ : วังอกั ษร.
ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์ .(2548).การจัดการการตลาดบรกิ าร.กรงุ เทพ ฯ : แสงดาว
เลขานกุ ารการเคหะสหเวชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร .(2552).ความพึงพอใจการใหบ้ รกิ ารของ

งานธรุ การ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
http://www.ahs.nu.ac.th/branch/secretaryprogram.htm.
วรเดช จันทรดร. (2545). การพัฒนาต้นแบบการบริการสาธารณะทเ่ี ปน็ เลศิ : กรณศี ึกษาจาก
ตา่ งประเทศ. กรงุ เทพฯ : สถาบันมาตรฐานภาครัฐแหง่ ประเทศไทย.
ววิ ัฒน์ หลอ่ พฒั นเกษม. (2550).ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บรกิ ารด้านสาธารณปู โภค
กจิ การประปาของเทศบาลตำบลโคกกรวด อำเภอเมืองนครราชสีมา จงั หวัดนครราชสีมา.
การศึกษาอสิ ระ รป.ม. ขอนแกน่ : มหาวิทยาลยั ขอนแก่น,
วีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์.(2543).คุณภาพในงานบริการ.พิมพ์ครั้งท่ี 4 .กรุงเทพ ฯ : สมาคมส่งเสริม
เทคโนโลยี
วีระรัตน์ กจิ เลิศไพโรจน์. (2547). การตลาดธรุ กิจบรกิ าร. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชนั่ .
ศิรกิ ร ไชยชนะ .(2553). ความพึงพอใจเกยี่ วกบั การจัดสวัสดกิ ารเงินสงเคราะห์เบ้ียยังชีพของ
ผู้สูงอายขุ ององค์การบรหิ ารส่วนตำบลสะอาดสมบรู ณ์ อำเภอเมอื ง จังหวัดรอ้ ยเอ็ด .
การศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระ ปริญญารัฐศาสตรมหาบณั ฑิต สาขารฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ
มหาสารคาม
ศิรวิ รรณ เสรีรตั น.์ (2543). การบรหิ ารการตลาด. กรงุ เทพฯ : พฒั นาศึกษา.
ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศลิ ป์. (2547). หลกั การตลาด. กรุงเทพฯ :ท็อป
ศุภรา จิตภักดีรัตน์ .(2547).การออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษระดับ
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน .กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา
สมชยั เลิศทิฐวิ งศ.์ (2544).ความพงึ พอใจของลูกค้าต่อการใหบ้ ริการทำความสะอาดของบรษิ ทั พ.ี
ซี.เอ็นเตอร์ไพรส.์ การศกึ ษาคน้ ควา้ อสิ ระ ศศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์,

103

สมบรู ณ์ พรรณนาภพ. (2540). หลกั เบ้อื งตน้ ของการบรหิ ารโรงเรียน .พมิ พ์ครัง้ ท่ี 4. กรุงเทพฯ :
อนงคศ์ ิลปก์ ารพิมพ.์

สมิต สัชฌกุ ร. (2546). การต้อนรับและบรกิ ารท่ีเปน็ เลศิ . กรงุ เทพฯ : สายธาร.
สาโรจ ไชยสมบัติ. (2543).ความพึงพอใจในการทำงานของครอู าจารยโ์ รงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด

กรมสามัญศกึ ษา จงั หวดั ร้อยเอ็ด. การศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ
มหาสารคาม,
สิริโฉม พิเชษฐบุญเกียรติ .(2553) .ความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการของเทศบาลเวียง
พางคําอําเภอแมสาย จงั หวดั เชยี งราย ประเมนิ โครงการโดย
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นท่ีเชียงราย
สุธี นาทวรทัต. (2540). การบรหิ ารธุรกิจขนาดย่อมและการค้าปลกี . นนทบรุ ี :
มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
สุรเชษฐปิตะวาสนา. (2544). ความพึงพอใจของประชาชนตอ่ การให้บรกิ ารของเทศบาลตำบล
ศรีดอนไผ.่ กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร.์
สรุ พล ศรีธรรม. การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการศึกษาขององค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอแม่
สาย จังหวัดเชยี งราย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา) : สถาบันราชภัฏเชียงราย,
2544.
สุริยา พฒุ พวง. (2547). ความพงึ พอใจในการปฏิบตั งิ านของผชู้ ว่ ยหัวหน้างานประถมศึกษา
อำเภอในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ
มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.
เสถียร เหลืองอร่าม. (2549). หลักการบริหารงานบคุ คล .พิมพ์คร้งั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ :
โพธิส์ ามตน้ การพิมพ.์
หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการบรหิ ารกิจการบา้ นเมืองท่ีดี. (2551. กันยายน 16). แบบรายงานผลการสำรวจ
สถานภาพของระบบการอำนวยความสะดวกประชาชน[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
http://209.85.175.104/search?q=cach:097JGXEV5mEJ:oldweb.opdc.go.th/
Newslnfo/Upload/1094984027.doc.
องค์การบรหิ ารส่วนตำบลแมส่ า. (2552 มกราคม 4). โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการให้บรกิ าร
ขององค์การบริหารสว่ นตำบลแม่สา [ออนไลน]์ เขา้ ถึงไดจ้ าก :
http://www.maesaorg/page/typ detail.php?texttyp id=6.

104

อดลุ ย์ จาตุรงคกุล. ดลยา จาตุรงคกลุ . และพมิ พ์เดอื น จาตรุ งคกุล. (2546). การตลาดบรกิ าร.
กรงุ เทพฯ : เพยี รส์ ัน เอ็ดดเู คชน่ั อนิ โดไซนา่ .

อนุสรณ์ ศรีจันทร.์ (2550).ความคิดเหน็ ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหม่บู า้ นใน อำเภอพาน
จังหวดั เชียงราย ตอ่ การกระจายอำนาจการบรหิ ารงานสาธารณสขุ มูลฐานสู่องค์การ
บริหารส่วนตำบล.มหาวทิ ยาลยั แม่ฟา้ หลวง

อเนก กลยาณี. (2542).ความพึงพอใจของนกั เรยี นนอกโรงเรียนสายสามญั ระดับมธั ยมศกึ ษา
วธิ ีการเรยี นไกลทมี่ ีบทบาทครปู ระจำกลุม่ จังหวัดสกลนคร. การศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
การศึกษามหาบัณฑิตมหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม,

อภิชาต พจน์จริ าภรณ.์ (2547). มนุษย์สมั พนั ธใ์ นการทำงาน. กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ์
อรรถกิจ กรณ์ทอง. (2545). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดระบบสายตรวจ.

วิทยานิพนธ์มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.
อิทธิรตั น์ อุสาห์. (2545). ปจั จยั ท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การตัดสนิ ใจซ้ือประกันชีวิตในเขตเทศบาล

นครขอนแก่น. วิทยานิพนธป์ รญิ ญามหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
อนิ ทิรา เพง็ แกว้ . (2548). ความพงึ พอใจในการปฏบิ ัติงานของนกั วชิ าการศกึ ษา

สำนักงานศึกษาธกิ ารอำเภอในภาคใตข้ องประเทศไทย. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑติ
มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒสงขลา.

105

Cooper, A.M. (1985). How to supervise people. New York : McGraw – Hill.
Fitzgerald. Michael R. and Robert F. Durant. “Citizan Evaluation and Urban

Managemena
Ghiselli, E. & Brown, C.W. (1992) Personal and industrial psychology. New York :

McGraw – Hill.
Gilbert, D, &Birkead, N. Dictionary of education.Florida : Dryden. อา้ งถงึ ในสำนัก

นโยบายและแผน กรุงเทพฯ 2538 (หน้า 1 – 9)
Gronroos, C.S. (1990). Experience and brain development. Child Development.

Hoy, W.K, &Miskel C.G. (1991). Educational administration ; theory
research and practice. New York : Random House.
Gundlach, Jam H. and Nelson P.Reaid. “A Scale For the Measurememt of Consumer
SstisfactionWithSocialServive, Journal of Social Research. 38(20) 37-54 ;
April,1983.
Kotler, P. (2000). Marketing management : Analysis, planning, implementation
and control(9th ed.). Englewood Cliffs : Prentice Hall.
Lock, E.A. (1976). The nature and cause of job satisfaction, Industral and
organizational psychology.Chicago : Rand Mcnally.
Lovelock, L. & Wright. K. (1999). Principles of service marketing and management.
(2nded.).New Jersey: Pearson Education.
Millet, John D. Management in public Services : the Quest of Effective
Performance. New York : McGraw-Hill, 1954.
Milton, C.R. (1984). Human behavior in organization. New York : Harper & Row.
Porter, L.W. (1981). A student active need satisfactions in bottom and middle
Management jobs. Journal of Applied Psychologe, 45, p. 1 – 10.
Shelly,G.B. (1975) .Business systems analysis and design. Fullerton : Anaheim
Weber, P. (1967). Consumer behavior in different areas, New York ; Harper &
Row.
Yamane,Taro.(1973).Statistics:An Introductory Analysis.Third edutio.Newyork : Harper
and Row Publication

106

ภาคผนวก
แบบสอบถามความพึงพอใจในการให้บริการ

107

แบบสอบถามความพึงพอใจในการให้บริการของ
เทศบาลเมอื งเขาสามยอด อำเภอเมอื งลพบรุ ี จงั หวัดลพบรุ ี

เร่อื ง งานด้านบรกิ ารกฎหมาย

คำชแ้ี จง : แบบประเมินเรอ่ื งความพึงพอใจของผูร้ ับบริการท่ีมีต่อกจิ กรรมบริการขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นนี้ มี
วัตถุประสงค์เพื่อทราบความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อกิจกรรมการบริการต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ทั้งนขี้ ้อมูลของท่านจักเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน ในการปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการใหบ้ รกิ าร เพือ่ ให้
การบริหารราชการเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และสามารถตอบสนองตามความตอ้ งการของประชาชน
คำสง่ั : โปรดทำเคร่อื งหมาย / ลงในช่อง ( ) ท่ีตรงกบั ความเป็นจรงิ หรือตรงกับความคดิ เห็นของท่านมากที่สดุ

ตอนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไป

1. เพศ

1. ( ) ชาย 2. ( ) หญิง

2. อายุ (ปี)

1. ( ) ตำ่ กว่า 26 ปี 3. ( ) 41 ปี – 55 ปี 5. ( ) 70 ปี ขึ้นไป

2. ( ) 26 ปี – 40 ปี 4. ( ) 56 ปี – 69 ปี

3. อาชีพ

1. ( ) รบั ราชการ/รฐั วิสาหกจิ 5. ( ) นักเรียน/นกั ศกึ ษา 9. ( ) วา่ งงาน

2. ( ) ลูกจา้ ง/พนักงานบรษิ ัท 6. ( ) รบั จา้ งทวั่ ไป 10. ( ) อ่ืน ๆ (โปรดระบ)ุ ...............

3. ( ) ผปู้ ระกอบการ/เจา้ ของธุรกจิ 7. ( ) แมบ่ า้ น/พ่อบา้ น/เกษียณ

4. ( ) คา้ ขายรายย่อย/อาชีพอสิ ระ 8. ( ) เกษตรกร/ประมง

4. กลุ่มผรู้ บั บริการ

1. ( ) ประชาชน 2. ( ) หน่วยงานภาครฐั 3. ( ) หน่วยงานภาคเอกชน

ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เกย่ี วกับความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารท่ีมตี อ่ กิจกรรมการบริการ

ระดบั ความพงึ พอใจ

ความพงึ พอใจตอ่ กจิ กรรมการบริการ มาก มาก ปานกลาง น้อย น้อย
ท่ีสุด ทส่ี ุด
ด้านกระบวนการ / ขน้ั ตอนการใหบ้ ริการ
1. ข้ันตอนการใหบ้ ริการไมย่ ุ่งยากซับซอ้ นและมคี วามคลอ่ งตัว
2. มีการใหบ้ รกิ ารดว้ ยความครบถ้วน ถูกต้อง
3. การให้บริการมคี วามสะดวกรวดเรว็ และทันเวลา
4. การให้บรกิ ารเป็นไปตามลำดับกอ่ นหลัง มคี วามเสมอภาคเทา่ เทยี มกัน
5. มีการแจง้ ระยะเวลาท่ใี ช้ในการดำเนนิ การในแตล่ ะเรอื่ งอย่างชดั เจน

108

ความพงึ พอใจต่อกจิ กรรมการบรกิ าร มาก ระดับความพึงพอใจ นอ้ ย
ทสี่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย ท่ีสดุ
ดา้ นชอ่ งทางการใหบ้ ริการ
1. การประกาศข่าว หรอื ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางตา่ งๆ ชดั เจน เหมาะสม
เข้าใจง่าย
2. มีช่องทางการประสานงาน ติดต่อ ที่สะดวก และหลากหลาย เช่น
โทรศพั ท์ อนิ เทอร์เน็ต เป็นตน้
3.มีจุดใหบ้ รกิ ารท่เี พียงพอต่อการให้บรกิ าร
4.มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและเข้าใจ เกี่ยวกับช่องทางการ
ให้บริการ
ดา้ นเจ้าหนา้ ที่ / บคุ ลากรผู้ใหบ้ รกิ าร
1. เจา้ หน้าที่แต่งกายเรียบรอ้ ย และเหมาะสม
2. เจา้ หน้าที่ใหบ้ ริการดว้ ยความสภุ าพ และเปน็ กันเอง
3. เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ และมีความพร้อมใน
การใหบ้ รกิ าร
4. เจา้ หนา้ ที่บรกิ ารดว้ ยความถกู ต้อง แม่นยำ และรวดเรว็
5. เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ สามารถตอบคำถาม
ชี้แจงหรือสงสัย ให้คำแนะนำช่วยแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง ตามหลักข้อ
กฏหมาย
6. เจ้าหน้าท่ีให้บริการด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต ไม่รับสิ่งของตอบแทน หรือ
สินบน และไม่หาประโยชนใ์ นทางมชิ อบ
ดา้ นสถานท่แี ละส่งิ อำนวยความสะดวก
1. สถานทต่ี ้ังของหน่วยงาน สะดวกในการเดนิ ทางมารบั บริการ
2. ส่ิงอำนวยความสะดวก เช่น ที่จอดรถ ห้องน้ำ Wi-fi ท่ีน่ังรอรับบริการ
มคี วามเพียงพอ
3. สถานท่ีและอุปกรณม์ คี วามสะอาดเปน็ ระเบียบ เรียบร้อย สะดวกตอ่ การใช้
บริการ
4. ป้าย ข้อความบอกจุดให้บริการ และป้ายประชาสัมพันธ์ มีความชัดเจน
เข้าใจง่าย
ดา้ นผลการปฏบิ ัติงาน
1. การใหบ้ รกิ ารมปี ระโยชน์ คุ้มคา่ ต่อประชาชนส่วนรวม
2. การให้บริการเปน็ ไปด้วยความโปรง่ ใส
3. มีการปรับปรงุ แก้ไข ในกรณที ผี่ ลการดำเนินงานมีความบกพร่อง
4. ความพึงพอใจต่อการใหบ้ รกิ ารในภาพรวม

109

ตอนท่ี 3 จุดเดน่ จดุ ท่คี วรปรบั ปรุง และขอ้ เสนอแนะต่อการปรบั ปรงุ การใหบ้ รกิ ารของหน่วยงาน

1. จดุ เด่นของการให้บรกิ ารของหนว่ ยงาน
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
2. จุดทีค่ วรปรบั ปรงุ การใหบ้ ริการของหน่วยงาน
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................................................ ...........................
3. ข้อเสนอแนะต่อการปรบั ปรุงการใหบ้ ริการของหนว่ ยงาน
..................................................................................................................................................................... ..................
............................................................................................................................ ...........................................................

*** สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ ***

110

แบบสอบถามความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการของ
เทศบาลเมอื งเขาสามยอด อำเภอเมอื งลพบุรี จงั หวัดลพบุรี

เรื่อง งานดา้ นโยธา การขออนญุ าตปลกู สงิ่ กอ่ สร้าง

คำชี้แจง : แบบประเมนิ เร่อื งความพึงพอใจของผู้รบั บริการทมี่ ตี ่อกจิ กรรมบริการขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินนี้ มี
วัตถุประสงค์เพ่ือทราบความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อกิจกรรมการบริการต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถนิ่ ทั้งนขี้ ้อมูลของทา่ นจักเป็นประโยชน์ต่อหนว่ ยงาน ในการปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการใหบ้ ริการ เพ่อื ให้
การบริหารราชการเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ และสามารถตอบสนองตามความต้องการของประชาชน
คำส่งั : โปรดทำเครอ่ื งหมาย / ลงในชอ่ ง ( ) ทีต่ รงกบั ความเป็นจรงิ หรอื ตรงกบั ความคิดเหน็ ของท่านมากทส่ี ุด

ตอนที่ 1 : ข้อมลู ท่ัวไป

1. เพศ

1. ( ) ชาย 2. ( ) หญงิ

2. อายุ (ปี)

1. ( ) ตำ่ กว่า 26 ปี 3. ( ) 41 ปี – 55 ปี 5. ( ) 70 ปี ข้ึนไป

2. ( ) 26 ปี – 40 ปี 4. ( ) 56 ปี – 69 ปี

3. อาชพี

1. ( ) รบั ราชการ/รัฐวสิ าหกจิ 5. ( ) นกั เรยี น/นกั ศึกษา 9. ( ) วา่ งงาน

2. ( ) ลูกจา้ ง/พนักงานบริษทั 6. ( ) รบั จา้ งทัว่ ไป 10. ( ) อ่ืน ๆ (โปรดระบุ)...............

3. ( ) ผู้ประกอบการ/เจา้ ของธรุ กจิ 7. ( ) แมบ่ ้าน/พอ่ บ้าน/เกษยี ณ

4. ( ) ค้าขายรายยอ่ ย/อาชพี อสิ ระ 8. ( ) เกษตรกร/ประมง

4. กลมุ่ ผูร้ บั บริการ

1. ( ) ประชาชน 2. ( ) หน่วยงานภาครัฐ 3. ( ) หนว่ ยงานภาคเอกชน

ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เก่ยี วกับความพงึ พอใจของผูร้ ับบรกิ ารทีม่ ตี อ่ กจิ กรรมการบริการ

ระดับความพงึ พอใจ

ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการบริการ มาก มาก ปานกลาง น้อย น้อย
ท่ีสดุ ทส่ี ุด
ด้านกระบวนการ / ข้ันตอนการให้บริการ
1. ข้ันตอนการให้บริการไมย่ ุ่งยากซับซ้อนและมคี วามคลอ่ งตวั
2. มีการให้บริการดว้ ยความครบถว้ น ถกู ต้อง ง่าย และเปน็ ธรรม
3. การใหบ้ ริการมีความสะดวกรวดเร็ว และทนั เวลา
4. การใหบ้ ริการเป็นไปตามลำดับกอ่ นหลงั มคี วามเสมอภาคเทา่ เทียมกัน
5. มกี ารแจง้ ระยะเวลาท่ีใช้ในการดำเนินการในแต่ละเรื่องอย่างชดั เจน

111

ความพึงพอใจตอ่ กิจกรรมการบรกิ าร มาก ระดับความพึงพอใจ นอ้ ย
ทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย ทีส่ ุด
ดา้ นชอ่ งทางการให้บริการ
1. การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพนั ธ์ ผ่านช่องทางต่างๆ ชัดเจน เหมาะสม
เข้าใจงา่ ย
2. มีช่องทางการประสานงาน ตดิ ต่อ ที่สะดวก และหลากหลาย เชน่ โทรศัพท์
อินเทอร์เน็ต คณะกรรมการหมู่บา้ น เป็นต้น
3. มีการออกหน่วยเคลอื่ นทเ่ี พ่อื ให้บริการนอกสถานที่
4. มีการประชาสมั พนั ธ์ให้ประชาชนทราบและเข้าใจในการดำเนินงาน
5. มีการสนับสนุนให้ภาคประชาชนร่วมตรวจสอบการดำเนินโครงการต่างๆ
ของอบต.ได้อยา่ งอิสระ เพอ่ื ความโปร่งใสในการปฏิบัตงิ าน
ด้านเจ้าหนา้ ที่ / บุคลากรผใู้ หบ้ รกิ าร
1. เจ้าหนา้ ทแ่ี ตง่ กายเรียบรอ้ ย และเหมาะสม
2. เจา้ หนา้ ที่ใหบ้ ริการดว้ ยความสภุ าพ และเปน็ กนั เอง
3. เจ้าหน้าท่ีให้บริการด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ และมีความพร้อมใน
การให้บรกิ าร
4. เจา้ หน้าท่ีบรกิ ารด้วยความถูกตอ้ ง แม่นยำ และรวดเรว็
5. เจ้าหน้าท่ีมีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ สามารถตอบคำถาม
ช้ีแจงหรือสงสัย ให้คำแนะนำช่วยแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง น่าเช่ือถือ และ
ได้รบั บรกิ ารที่ดี
6. เจ้าหน้าท่ีให้บริการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ไม่รับส่ิงของตอบแทน หรือ
สินบน และไมห่ าประโยชนใ์ นทางมชิ อบ
ดา้ นสถานทแี่ ละส่ิงอำนวยความสะดวก
1. สถานท่ตี ัง้ ของหนว่ ยงาน สะดวกในการเดินทางมารบั บริการ
2. สิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ที่จอดรถ ห้องน้ำ โทรศัพท์สาธารณะ ที่น่ังรอ
รับบริการ มคี วามเพียงพอ
3. ปา้ ย ขอ้ ความทแ่ี สดงถงึ ขน้ั ตอนการใหบ้ รกิ าร มคี วามชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย
4. มกี ารกำหนดเอกสารประกอบการพจิ ารณาที่เหมาะสม ชัดเจน
5. มตี วั อยา่ งการกรอกแบบฟอรม์ ท่ีชัดเจน
ด้านผลการปฏบิ ตั งิ าน
1. การดำเนินการตรงตามความตอ้ งการของประชาชน
2. การดำเนินกิจกรรมโครงการเปน็ ไปด้วยความโปร่งใส
3. มีการปรับปรงุ แกไ้ ข ในกรณีทผ่ี ลการดำเนนิ งานมีความบกพร่อง
4. มีประโยชน์ คมุ้ ค่า ตอ่ ประชาชนส่วนรวม

112

ตอนที่ 3 จดุ เดน่ จดุ ทีค่ วรปรบั ปรุง และข้อเสนอแนะตอ่ การปรบั ปรงุ การให้บรกิ ารของหนว่ ยงาน

1. จดุ เด่นของการให้บรกิ ารของหน่วยงาน
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
2. จุดทีค่ วรปรับปรงุ การใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยงาน
................................................................................................................................................... ....................................
.......................................................................................................................................................................................
3. ข้อเสนอแนะต่อการปรบั ปรงุ การให้บริการของหนว่ ยงาน
................................................... .................................................................................................................. ..................
.......................................................................................................................................................................................

*** สถาบันวจิ ัยและพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ ***

113

แบบสอบถามความพงึ พอใจในการให้บริการของ
เทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี จงั หวดั ลพบรุ ี

เรอ่ื ง งานดา้ นการศกึ ษา (โรงเรียน)

คำช้แี จง : แบบประเมนิ เรอื่ งความพึงพอใจของผู้รับบรกิ ารทมี่ ีต่อกจิ กรรมบริการขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นนี้ มี
วัตถุประสงค์เพื่อทราบความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อกิจกรรมการบริการต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่นิ ทั้งนข้ี ้อมูลของท่านจักเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการใหบ้ ริการ เพื่อให้
การบรหิ ารราชการเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองตามความต้องการของประชาชน
คำส่งั : โปรดทำเครือ่ งหมาย / ลงในช่อง ( ) ทต่ี รงกับความเปน็ จริงหรือตรงกับความคดิ เห็นของทา่ นมากทสี่ ุด

ตอนท่ี 1 : ขอ้ มูลท่วั ไป

1. เพศ

1. ( ) ชาย 2. ( ) หญิง

2. อายุ (ปี)

1. ( ) ต่ำกว่า 26 ปี 3. ( ) 41 ปี – 55 ปี 5. ( ) 70 ปี ข้ึนไป

2. ( ) 26 ปี – 40 ปี 4. ( ) 56 ปี – 69 ปี

3. อาชพี

1. ( ) รับราชการ/รัฐวสิ าหกจิ 5. ( ) นักเรียน/นักศกึ ษา 9. ( ) ว่างงาน

2. ( ) ลูกจ้าง/พนกั งานบรษิ ทั 6. ( ) รับจ้างทวั่ ไป 10. ( ) อื่น ๆ (โปรดระบ)ุ ...............

3. ( ) ผู้ประกอบการ/เจ้าของธรุ กจิ 7. ( ) แม่บา้ น/พอ่ บา้ น/เกษยี ณ

4. ( ) คา้ ขายรายยอ่ ย/อาชพี อสิ ระ 8. ( ) เกษตรกร/ประมง

4. กลมุ่ ผรู้ ับบริการ

1. ( ) ประชาชน 2. ( ) หน่วยงานภาครฐั 3. ( ) หนว่ ยงานภาคเอกชน

ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เกย่ี วกับความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารทมี่ ีต่อกจิ กรรมการบริการ

ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการบริการ มาก ระดับความพึงพอใจ น้อย
ที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย ทีส่ ดุ
ดา้ นกระบวนการ / ข้นั ตอนการให้บรกิ าร
1. มีขน้ั ตอนการดำเนนิ งานทเ่ี ปน็ ระบบและชดั เจน
2. การใหบ้ รกิ ารมคี วามสะดวก รวดเร็วถกู ตอ้ ง
3. การให้บรกิ ารเป็นไปตามลำดับก่อนหลงั มคี วามเสมอภาคเท่าเทียมกนั
4. การใหบ้ รกิ ารมีระยะเวลาที่เหมาะสม
5. มีการปรับปรุงการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานมาก
ย่งิ ขึน้

114

ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการบริการ มาก ระดบั ความพึงพอใจ นอ้ ย
ทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย ที่สุด
ด้านชอ่ งทางการให้บรกิ าร
1. การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ ชดั เจน เหมาะสม
เข้าใจง่าย
2. มชี ่องทางการประสานงาน ติดตอ่ ที่สะดวก และหลากหลาย เช่น โทรศัพท์
อนิ เทอร์เนต็ คณะกรรมการหมูบ่ า้ น เป็นต้น
3. มีการออกหน่วยเคลอื่ นทเี่ พ่อื ให้บรกิ ารนอกสถานท่ี
4. มกี ารประชาสัมพันธใ์ หป้ ระชาชนทราบและเข้าใจในการดำเนนิ งาน
ด้านเจา้ หนา้ ท่ี / บคุ ลากรผูใ้ หบ้ ริการ
1. เจ้าหน้าที่แตง่ กายเรียบร้อย และเหมาะสม
2. เจ้าหน้าทใ่ี ห้บรกิ ารดว้ ยความสุภาพ และเป็นกนั เอง
3. เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ และมีความพร้อมใน
การให้บริการ
4. เจา้ หนา้ ท่ีมคี วามรู้ ความสามารถในการสอนเป็นอยา่ งดี
5. เจ้าหน้าทม่ี ีจำนวนเพยี งพอในการปฏิบัตหิ น้าที่
6. เจา้ หนา้ ที่มีความรับผดิ ชอบในการดูแลเดก็ อยา่ งเหมาะสมและทวั่ ถึง
ด้านสถานท่แี ละสิ่งอำนวยความสะดวก
1. ส่ิงแวดล้อมภายในและภายนอกสถานที่ศึกษาเอื้อต่อการเรียนรู้และ
สรา้ งประสบการณ์
2. สิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ห้องเรียน ห้องน้ำ สื่อและวัสดุอุปกรณ์
การเรียนการสอน มีความเหมาะสมกับวัยและเพียงพอต่อการจัดการเรียน
การสอน
3. อาคารสถานท่ีและอุปกรณ์มคี วามเหมาะสม สะอาดเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย
4. มีการให้บริการอาหารกลางวัน อาหารว่าง อาหารเสริม วัสดุการศึกษา
เพียงพอต่อความต้องการของเดก็
5. การจัดชน้ั เรยี นเหมาะสมกับจำนวนนักเรียนและคุณครูผสู้ อน
ด้านผลการปฏิบัตงิ าน
1. การดำเนนิ งานเป็นไปด้วยความโปรง่ ใส
2. มกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ข ในกรณที ี่ผลการดำเนนิ งานมีความบกพรอ่ ง
3. มีประโยชน์ คมุ้ คา่ ตอ่ ประชาชนสว่ นรวม
4. เดก็ มพี ัฒนาการในด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจและสงั คม

115

ตอนที่ 3 จดุ เด่น จดุ ท่ีควรปรับปรุง และขอ้ เสนอแนะต่อการปรับปรงุ การใหบ้ ริการของหนว่ ยงาน

1. จุดเด่นของการใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยงาน
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
2. จดุ ท่ีควรปรับปรุงการใหบ้ ริการของหน่วยงาน
....................................................................................................................................................... ................................
.......................................................................................................................................................................................
3. ขอ้ เสนอแนะตอ่ การปรบั ปรุงการใหบ้ รกิ ารของหน่วยงาน
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

*** สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ ***

116

แบบสอบถามความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการของ
เทศบาลเมอื งเขาสามยอด อำเภอเมอื งลพบุรี จงั หวดั ลพบรุ ี

เรือ่ ง งานดา้ นรายได้หรอื ภาษี

คำชีแ้ จง : แบบประเมนิ เรือ่ งความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ ารทีม่ ตี ่อกิจกรรมบริการขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ น้ี มี
วัตถุประสงค์เพ่ือทราบความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อกิจกรรมการบริการต่าง ๆ ขององค์ กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ิน ทั้งนข้ี ้อมูลของทา่ นจกั เป็นประโยชน์ต่อหนว่ ยงาน ในการปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการใหบ้ ริการ เพอื่ ให้
การบริหารราชการเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และสามารถตอบสนองตามความต้องการของประชาชน
คำส่งั : โปรดทำเคร่อื งหมาย / ลงในชอ่ ง ( ) ทีต่ รงกบั ความเป็นจรงิ หรือตรงกบั ความคดิ เหน็ ของทา่ นมากที่สุด

ตอนท่ี 1 : ข้อมูลทัว่ ไป

1. เพศ

1. ( ) ชาย 2. ( ) หญงิ

2. อายุ (ป)ี

1. ( ) ตำ่ กวา่ 26 ปี 3. ( ) 41 ปี – 55 ปี 5. ( ) 70 ปี ขึ้นไป

2. ( ) 26 ปี – 40 ปี 4. ( ) 56 ปี – 69 ปี

3. อาชพี

1. ( ) รบั ราชการ/รฐั วิสาหกจิ 5. ( ) นักเรียน/นกั ศึกษา 9. ( ) ว่างงาน

2. ( ) ลกู จ้าง/พนักงานบริษัท 6. ( ) รบั จา้ งทว่ั ไป 10. ( ) อื่น ๆ (โปรดระบ)ุ ...............

3. ( ) ผู้ประกอบการ/เจา้ ของธุรกิจ 7. ( ) แม่บ้าน/พ่อบา้ น/เกษียณ

4. ( ) คา้ ขายรายย่อย/อาชีพอิสระ 8. ( ) เกษตรกร/ประมง

4. กลุม่ ผู้รับบริการ

1. ( ) ประชาชน 2. ( ) หน่วยงานภาครัฐ 3. ( ) หนว่ ยงานภาคเอกชน

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกบั ความพึงพอใจของผูร้ บั บริการทม่ี ตี ่อกจิ กรรมการบริการ

ระดับความพงึ พอใจ

ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการบรกิ าร มาก มาก ปานกลาง น้อย น้อย
ท่ีสุด ทส่ี ุด
ดา้ นกระบวนการ / ข้ันตอนการใหบ้ รกิ าร
1. ขั้นตอนการให้บริการไม่ย่งุ ยากซบั ซอ้ นและมีความคลอ่ งตัว
2. การใหบ้ รกิ ารมคี วามสะดวกรวดเร็ว และทนั เวลา
3. การใหบ้ รกิ ารเป็นไปตามลำดบั ก่อนหลัง มคี วามเสมอภาคเทา่ เทียมกนั
4. มกี ารแจ้งระยะเวลาท่ีใช้ในการดำเนนิ การในแตล่ ะเรอ่ื งอยา่ งชัดเจน
5. การแจ้งรายละเอียดหลกั ฐานประกอบการขอรับบรกิ ารอยา่ งชดั เจน

117

ความพงึ พอใจตอ่ กจิ กรรมการบรกิ าร มาก ระดบั ความพึงพอใจ นอ้ ย
ท่สี ุด มาก ปานกลาง น้อย ที่สุด
ดา้ นช่องทางการใหบ้ ริการ
1. การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพนั ธ์ ผ่านชอ่ งทางต่างๆ ชัดเจน เหมาะสม
เข้าใจงา่ ย
2. มกี ารออกหนว่ ยเคลื่อนที่เพอ่ื ให้บริการนอกสถานที่
3. มีเอกสาร แผ่นพับ ใบปลิวแจกเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การจดั เก็บรายได้หรือภาษี
4. มีตัวอยา่ งแนะนำวธิ ีการกรอกขอ้ มูลใบแบบฟอร์ม
ด้านเจ้าหนา้ ท่ี / บุคลากรผู้ให้บริการ
1. เจ้าหน้าทแี่ ต่งกายเรียบรอ้ ย และเหมาะสม
2. เจา้ หนา้ ท่ใี ห้บรกิ ารดว้ ยความสุภาพ และเปน็ กนั เอง
3. เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ และมีความพร้อมใน
การให้บริการ
4. เจา้ หน้าท่บี รกิ ารด้วยความถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว
5. เจ้าหน้าท่ีมีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ สามารถตอบคำถาม
ชแ้ี จงหรือสงสยั ให้คำแนะนำช่วยแก้ปญั หาไดอ้ ย่างถกู ต้อง น่าเชอ่ื ถือ
6. เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ไม่รับส่ิงของตอบแทน หรือ
สนิ บน และไม่หาประโยชนใ์ นทางมิชอบ
ด้านสถานทแ่ี ละสิง่ อำนวยความสะดวก
1. สถานที่ตง้ั ของหน่วยงาน สะดวกในการเดนิ ทางมารบั บรกิ าร
2. สิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ที่จอดรถ ห้องน้ำ โทรศัพท์สาธารณะ ท่ีนั่งรอ
รับบรกิ าร มคี วามเพียงพอ
3. สถานที่มคี วามสะอาดเปน็ ระเบยี บ เรยี บรอ้ ย สะดวกต่อการใช้บริการ
4. ป้าย ข้อความบอกจุดให้บริการ และป้ายประชาสัมพันธ์ มีความชัดเจน
เข้าใจง่าย
ดา้ นผลการปฏบิ ัตงิ าน
1. การดำเนินงานตรงตามความตอ้ งการของประชาชน
2. การดำเนินกิจกรรมโครงการเปน็ ไปด้วยความโปรง่ ใส
3. มกี ารปรบั ปรุง แก้ไข ในกรณที ผ่ี ลการดำเนนิ งานมีความบกพรอ่ ง
4. กิจกรรมและโครงการมีประโยชน์ คุ้มคา่ ตอ่ ประชาชนส่วนรวม

118

ตอนที่ 3 จุดเดน่ จุดท่คี วรปรับปรุง และขอ้ เสนอแนะต่อการปรบั ปรงุ การให้บริการของหน่วยงาน

1. จุดเด่นของการให้บรกิ ารของหน่วยงาน
..................................................................................................................................................................... ..................
.......................................................................................................................................................................................
2. จดุ ทคี่ วรปรับปรุงการให้บรกิ ารของหน่วยงาน
.......................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................... ................................................................
3. ข้อเสนอแนะตอ่ การปรับปรุงการให้บรกิ ารของหนว่ ยงาน
............................................................................................................................. ..........................................................
.................................................................................................................................................................................... ...

*** สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ ***

119

แบบสอบถามความพงึ พอใจในการให้บริการของ
เทศบาลเมืองเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบรุ ี จงั หวัดลพบรุ ี

เร่อื ง งานดา้ นสาธารณสุข

คำชแ้ี จง : แบบประเมินเร่อื งความพึงพอใจของผูร้ บั บรกิ ารทมี่ ตี ่อกจิ กรรมบรกิ ารขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ นี้ มี
วัตถุประสงค์เพื่อทราบความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อกิจกรรมการบริการต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ ทั้งน้ขี ้อมูลของทา่ นจักเป็นประโยชนต์ ่อหนว่ ยงาน ในการปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บรกิ าร เพอ่ื ให้
การบริหารราชการเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองตามความต้องการของประชาชน
คำสั่ง : โปรดทำเคร่ืองหมาย / ลงในช่อง ( ) ที่ตรงกบั ความเปน็ จรงิ หรอื ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากท่ีสดุ

ตอนท่ี 1 : ข้อมลู ทัว่ ไป

1. เพศ

1. ( ) ชาย 2. ( ) หญงิ

2. อายุ (ปี)

1. ( ) ต่ำกว่า 26 ปี 3. ( ) 41 ปี – 55 ปี 5. ( ) 70 ปี ข้ึนไป

2. ( ) 26 ปี – 40 ปี 4. ( ) 56 ปี – 69 ปี

3. อาชีพ

1. ( ) รบั ราชการ/รฐั วสิ าหกจิ 5. ( ) นักเรยี น/นกั ศกึ ษา 9. ( ) วา่ งงาน

2. ( ) ลูกจ้าง/พนกั งานบรษิ ทั 6. ( ) รบั จา้ งท่วั ไป 10. ( ) อื่น ๆ (โปรดระบุ)...............

3. ( ) ผู้ประกอบการ/เจ้าของธุรกิจ 7. ( ) แมบ่ า้ น/พ่อบ้าน/เกษยี ณ

4. ( ) ค้าขายรายยอ่ ย/อาชีพอิสระ 8. ( ) เกษตรกร/ประมง

4. กลุ่มผู้รบั บริการ

1. ( ) ประชาชน 2. ( ) หน่วยงานภาครฐั 3. ( ) หน่วยงานภาคเอกชน

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกยี่ วกับความพึงพอใจของผู้รบั บริการทีม่ ตี ่อกจิ กรรมการบริการ

ระดับความพงึ พอใจ

ความพึงพอใจตอ่ กจิ กรรมการบริการ มาก มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ย
ท่สี ุด ท่สี ุด
ดา้ นกระบวนการ / ขน้ั ตอนการใหบ้ รกิ าร
1. ขั้นตอนการให้บรกิ ารไมย่ ุ่งยากซบั ซอ้ นและมคี วามคลอ่ งตวั
2. มกี ารให้บริการดว้ ยความครบถ้วน ถกู ต้อง
3. การให้บรกิ ารมคี วามสะดวกรวดเรว็ และทันเวลา
4. การให้บรกิ ารเปน็ ไปตามลำดับก่อนหลงั มคี วามเสมอภาคเท่าเทียมกัน
5. การให้บริการในแตล่ ะขนั้ ตอนมีระยะเวลาท่ีเหมาะสม

120

ความพงึ พอใจต่อกจิ กรรมการบริการ มาก ระดบั ความพึงพอใจ น้อย
ทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย ท่สี ดุ
ด้านชอ่ งทางการใหบ้ รกิ าร
1. การประกาศข่าว หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ ชัดเจน เหมาะสม
เข้าใจงา่ ย
2. มชี อ่ งทางการประสานงาน ตดิ ตอ่ ที่สะดวก และหลากหลาย เชน่ โทรศพั ท์
อนิ เทอรเ์ นต็ คณะกรรมการหมู่บา้ น เปน็ ตน้
3.มีการออกหน่วยเคลื่อนท่เี พ่อื ให้บริการนอกสถานท่ี
4.มีการประชาสัมพนั ธใ์ ห้ประชาชนทราบและเขา้ ใจในการดำเนนิ งาน
ดา้ นเจ้าหนา้ ที่ / บุคลากรผ้ใู ห้บริการ
1. เจา้ หน้าทแ่ี ต่งกายเรยี บรอ้ ย และเหมาะสม
2. เจา้ หน้าทใ่ี ห้บริการด้วยความสภุ าพ และเป็นกนั เอง
3. เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ และมีความพร้อมใน
การใหบ้ รกิ าร
4. เจ้าหน้าทบ่ี ริการดว้ ยความถกู ตอ้ ง แม่นยำ และรวดเร็ว
5. เจ้าหน้าท่ีมีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ สามารถตอบคำถาม
ชี้แจงหรือสงสยั ใหค้ ำแนะนำช่วยแก้ปัญหาได้อย่างถูกตอ้ ง นา่ เช่อื ถอื
6. เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ไม่รับส่ิงของตอบแทน หรือ
สนิ บน และไมห่ าประโยชนใ์ นทางมิชอบ
ด้านสถานทแี่ ละสงิ่ อำนวยความสะดวก
1. สถานท่ีตั้งของหน่วยงาน สะดวกในการเดินทางมารบั บรกิ าร
2. สิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ที่จอดรถ ห้องน้ำ โทรศัพท์สาธารณะ ท่ีน่ังรอ
รบั บรกิ าร มคี วามเพียงพอ
3. อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ เครือ่ งใชต้ ่าง ๆ มีคณุ ภาพและมคี วามทันสมยั
4. สถานท่ีและอุปกรณ์มีความสะอาดเป็นระเบียบ เรียบร้อย สะดวกตอ่ การใช้
บรกิ าร
5. สถานท่ใี ห้บรกิ ารมีความปลอดภยั และไดม้ าตรฐานในการให้บริการ
ด้านผลการปฏบิ ตั ิงาน
1. กิจกรรมและโครงการตรงตามความต้องการของประชาชน
2. การดำเนนิ กจิ กรรมโครงการเป็นไปดว้ ยความโปรง่ ใส
3. มกี ารปรับปรงุ แก้ไข ในกรณีท่ผี ลการดำเนนิ งานมีความบกพรอ่ ง
4. กจิ กรรมและโครงการมปี ระโยชน์ คุ้มคา่ ต่อประชาชนส่วนรวม

121

ตอนที่ 3 จุดเด่น จดุ ทค่ี วรปรบั ปรุง และขอ้ เสนอแนะต่อการปรับปรงุ การให้บรกิ ารของหน่วยงาน

1. จดุ เด่นของการใหบ้ ริการของหน่วยงาน
..................................................................................................................................................................... ..................
.......................................................................................................................................................................................
2. จดุ ท่คี วรปรบั ปรุงการให้บริการของหนว่ ยงาน
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
3. ขอ้ เสนอแนะต่อการปรับปรุงการให้บรกิ ารของหน่วยงาน
.............................................................................................................................. .........................................................
.......................................................................................................................................................................................

*** สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ ***


Click to View FlipBook Version