The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2022-07-10 04:52:46

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562-2565)

แผนพฒั นาการศึกษาขันพืนฐาน

ระยะ ปี (พ.ศ. - )

สํานักงานเขตพืนทกี ารศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน

แผนพฒั นาการศึกษาขนั พืนฐาน

ระยะ ปี (พ.ศ. - )

สํานักงานเขตพืนทกี ารศึกษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน

เอกสารลาํ ดบั ที /
กลุม่ นโยบายและแผน
สพป.ลาํ ปาง เขต

คำนำ

ตามบทบญั ญัติของพระราชกฤษฎกี าวาดวยการบรหิ ารกจิ การบานเมอื งทด่ี ี พ.ศ. 2546
มาตรา 16 กำหนดใหสวนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ป และแผนปฏิบัติการประจำป ของ
สว นราชการโดยใหร ะบุสาระสำคัญ เปา หมาย ผลสัมฤทธ์ขิ องงานและใหม ีการทบทวน บทบาท ภารกจิ อำนาจ
หนาท่ี โครงสรางการบริหารงานไวดวย ดังนั้น เพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติดังกลาว สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ซึ่งเปนสวนราชการทางการศึกษา ที่มีหนาที่หลักในการสงเสริม
สนบั สนนุ การจัดการศึกษาภาคบังคบั ท้ังดา นคณุ ภาพการศกึ ษา ดานโอกาสทางการศกึ ษา ดา นการมีสวนรว มจาก
ทกุ ภาคสว นของสังคม จึงไดจ ัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562 – 2565) ขนึ้

เอกสารแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562 – 2565) ของ
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 ฉบบั นี้ จดั ทำข้นึ เพ่อื ใชเปนคมู ือประกอบการ
ปฏบิ ัตงิ าน บรหิ ารจัดการและพฒั นาการศกึ ษา และเพือ่ ใหส ถานศกึ ษาในสงั กัด หนวยงานทเ่ี ก่ยี วขอ งนำไป
เปนกรอบแนวทางในการดำเนินงานใหเ กิดผลผลิต ผลลพั ธตามท่ีกำหนดไว ตลอดจนเปนเครอื่ งมือในการ
ประสานงาน บรู ณาการการทำงานรวมกบั หนวยงานทเ่ี กี่ยวขอ ง ใหประสบผลสำเรจ็ เปน รปู ธรรม บรรลุตาม
เปา หมายที่กำหนดไว

สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิ ผูบรหิ าร
การศึกษา ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทุกทานทใ่ี หความรว มมอื และมสี ว นรวมในการ
ขับเคล่ือนนโยบายไปสกู ารปฏบิ ัตใิ หมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลสงู สดุ ตอ การพฒั นาการศึกษา

สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

สารบญั

คำนำ บรบิ ทและสภาพการจัดการศึกษา หนา
สวนท่ี 1 สถานภาพของสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1
สว นท่ี 2 กรอบนโยบายและทิศทางพัฒนาการศกึ ษา 1
สว นท่ี 3 บญั ชจี ดั สรรปง บประมาณ 2562-2565 33
สว นที่ 4 การขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานสกู ารปฏบิ ตั ิ 35
สว นที่ 5 63
65

ภาคผนวก

-การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอก 298 / 2560
-ความเชอ่ื มโยงระหวา งยทุ ธศาสตร
-คำสงั่ สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ท่ี
ลงวันท่ี 10 ตลุ าคม 2561

สว นที่ 1
บรบิ ทและสภาพการจดั การศึกษา

1. ท่ีต้ัง

สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 ต้ังอยหู มทู ่ี 12 ถนนลำปาง - งาว
ตำบลพิชัย อำเภอเมอื ง จงั หวดั ลำปาง รหัสไปรษณยี  52000 Website:www.lpg1.obec.go.th

2. พน้ื ที่รับผดิ ชอบและสภาพภมู ิประเทศ

จดั สง เสรมิ สนบั สนนุ จดั การศกึ ษาภาคบังคบั เขตพืน้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ 4 อำเภอ ดงั น้ี

อำเภอเมืองลำปาง มพี นื้ ที่ติดตอ กบั อำเภอเมอื งปาน แจห ม แมเ มาะ หางฉัตร เกาะคา และแมท ะ
อำเภอหางฉัตร มพี ืน้ ทต่ี ิดตอ กบั อำเภอ เมอื งลำปาง เกาะคา เสรมิ งาม และจงั หวดั ลำพนู
อำเภองาว มีพ้ืนทตี่ ดิ ตอ กบั อำเภอแมเ มาะ แจห ม วังเหนือ และจังหวดั พะเยา
อำเภอแมเมาะ มีพ้นื ท่ีตดิ ตอกบั อำเภอเมอื งลำปาง แมทะ แจห ม งาว และจงั หวัดแพร
สภาพภมู ิประเทศ อำเภอเมืองลำปาง อำเภอหางฉตั ร เปน ท่รี าบ และทร่ี าบลมุ รมิ ฝง แมน้ำสภาพความเปน อยู
แตกตา งกันมลี ักษณะเปนชมุ ชนใหญ คนเมอื ง ชุมชนขนาดกลาง เปน หมูบาน หยอมบานขนาดใหญบ า ง เลก็ บาง
การคมนาคมสะดวก เปน แหลง เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมสำคญั ของจงั หวดั ลำปาง เกษตรกรรม เชน ปลูกขาว ขาวโพด
กระเทยี ม สับปะรด เปน ตน อตุ สาหกรรมเซรามิคมีขนาดใหญ ขนาดยอ ม และครวั เรอื น สนิ คา เซรามคิ มีคุณภาพดี เปน ที่
ยอมรบั มากทสี่ ดุ ในประเทศไทยมแี หลง ผลิตไมสกั และผลติ ภณั ฑจ ากไมสักซึ่งสรา งรายไดแ ละอาชพี ใหป ระชากรใน
จังหวัดลำปาง
อำเภองาว เปนทรี่ าบสงู ภเู ขาสงู และเปน ปาคอ นขางทบึ มีความอุดมสมบูรณด ว ยไมมคี าหลากหลาย
นานาชนิด สภาพความเปน อยูมลี ักษณะเปน ชมุ ชนขนาดใหญ ขนาดกลาง มหี มบู านชนเผาบนพน้ื ทีส่ งู รวมถงึ คนตา งดา ว
อาศัยปะปน ฐานะคอ นขา งยากจน สภาพถนนและการคมนาคมในบางพื้นทีไ่ มส ะดวก หา งไกล ทุรกนั ดาร ประชากร
สว นใหญม อี าชพี เกษตรกรรมปลกู พืชสวน พชื ไร พืชผกั สวนครัวมแี หลง ทองเที่ยวทเ่ี ปน เอกลักษณของจังหวดั ลำปาง
คือถ้ำผาไท และเจา พอประตผู า
อำเภอแมเ มาะมสี ภาพพนื้ ที่เปนแอง คลายกนกระทะ บางสวนเปน ทงุ หญา และปาไมโ ปรง มีแหลง
ทรพั ยากรธรรมชาตดิ า นแรธาตุ เชน ลิกไนต หนิ ปูน ดนิ ขาว สภาพอากาศรอ นอบอา วเกือบตลอดปประชาชน
มคี วามเปน อยูแ ตกตา งกันบางพ้นื ทเี่ ปน ชมุ ชนขนาดใหญ บางพ้ืนที่เปนชมุ ชนขนาดเลก็ มีฐานะดี มีอาชีพม่นั คง
บางพื้นทม่ี ลี กั ษณะเปนหยอมบา นหรอื เปนชนเผา บนพื้นท่ีสงู ฐานะคอนขา งยากจน การคมนาคมบางพืน้ ทสี่ ะดวก
บางพ้นื ท่ียากลำบาก หา งไกล มีอาชพี เกษตรกรรมปลกู พชื สวน พืชไร พืชผกั สวนครัว

2

แผนทแี่ สดงเขตพ้ืนทร่ี ับผดิ ชอบ

อาํ เภอเมืองลาํ ปาง อาํ เภองาว
อาํ เภอหา้ งฉตั ร อาํ เภอแมเ่ มาะ

อำนาจหนา ที่ตามกฎหมายวาดวยระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร

(ประกาศ ณ วันท่ี 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 และ 28 สิงหาคม 2561 นายธรี ะเกียรติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป

รฐั มนตรีวา การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร )

สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามอี ำนาจหนาทด่ี ำเนนิ การใหเ ปนไปตามอำนาจหนา ท่ขี องสำนกั งานเขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษาตามกฎหมายวาดว ยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร และมอี ำนาจหนา ทด่ี งั ตอไปน้ี

(1) จัดทำ นโยบาย แผนพฒั นา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาใหส อดคลองกับนโยบาย
มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน และความตอ งการของทอ งถน่ิ

(2) วิเคราะหก ารจัดตง้ั งบประมาณเงินอุดหนุนท่วั ไปของสถานศกึ ษา และหนวยงานในเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา และ
แจงการจัดสรรงบประมาณทีไ่ ดร บั ใหห นว ยงานขา งตนรบั ทราบ รวมท้ังกำกับตรวจสอบ ติดตามการใชจา ยงบประมาณของ
หนวยงานดงั กลาว

(3) ประสาน สง เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาหลักสตู รรวมกบั สถานศึกษาในเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา
(4) กำกับ ดูแล ตดิ ตาม และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานและในเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา
(5) ศึกษา วเิ คราะห วจิ ยั และรวบรวมขอมลู สารสนเทศดานการศึกษาในเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา

3

(6) ประสานการระดมทรัพยากรดานตาง ๆ รวมทง้ั ทรพั ยากรบคุ คล เพอื่ สง เสรมิ สนบั สนนุ การจดั และพฒั นา
การศกึ ษาในเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา

(7) จดั ระบบประกนั คุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
(8) ประสาน สง เสรมิ สนบั สนุน การจดั การศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ รวมทงั้
บคุ คล องคก รชุมชน องคก รวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นทจี่ ัดการศกึ ษารปู แบบที่
หลากหลายในเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา
(9) ดำเนินการและประสาน สง เสรมิ สนบั สนุนการวิจัยและพัฒนาการศกึ ษาในเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา
(10) ประสาน สงเสรมิ การดำเนินการของคณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการ และคณะทำงานดา นการศึกษา
(11) ประสานการปฏิบัตริ าชการทัว่ ไปกบั องคกรหรอื หนว ยงานตา ง ๆ ทงั้ ภาครัฐ เอกชน และองคกรปกครองสว น
ทองถ่นิ
(12) ปฏบิ ัตงิ านรวมกับหรอื สนบั สนนุ การปฏบิ ัติงานของหนว ยงานอนื่ ที่เก่ียวของหรอื ทไ่ี ดร บั มอบหมาย
การแบงสว นราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา
(1) กลุมอำนวยการ
(2) กลมุ นโยบายและแผน
(3) กลมุ สงเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
(4) กลมุ บรหิ ารงานการเงินและสนิ ทรัพย
(5) กลุม บรหิ ารงานบคุ คล
(6) กลุมพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
(7) กลุมนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา
(8) กลมุ สงเสรมิ การจดั การศึกษา
(9) หนว ยตรวจสอบภายใน
(10) กลมุ กฎหมายและคดี
สวนราชการภายในสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามีอำนาจหนา ท่ดี งั ตอไปนี้
(1) กลมุ อำนวยการ มอี ำนาจหนา ทีด่ งั ตอ ไปนี้

(ก) ปฏิบตั งิ านสารบรรณสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
(ข) ดำเนินการเก่ียวกับงานชว ยอำนวยการ
(ค) ดำเนนิ การเกีย่ วกับอาคารสถานท่ี สงิ่ แวดลอม และยานพาหนะ
(ง) จดั ระบบบริหารงาน การควบคุมภายใน และพฒั นาองคก ร
(จ) ประชาสมั พนั ธ เผยแพรกจิ การ ผลงาน และบรกิ ารขอ มลู ขาวสาร
(ฉ) ประสานการดำเนนิ งานระหวา งหนว ยงานภายในและภายนอกเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
(ช) ดำเนนิ การเลอื กต้ังและสรรหากรรมการและอนุกรรมการ
(ซ) ประสาน สง เสริมการจดั สวสั ดิการและสวสั ดิภาพ

4

(ฌ) ปฏบิ ตั หิ นาทอ่ี นื่ ทเี่ ก่ียวขอ งกับกจิ การภายในของสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาที่มใิ ชง านของสวนราชการ
ใดโดยเฉพาะ

(ญ) ปฏบิ ัตงิ านรว มกบั หรือสนบั สนุนการปฏิบัตงิ านของหนว ยงานอืน่ ทเี่ กี่ยวขอ งหรอื ทไ่ี ดร ับมอบหมาย
(2) กลุมนโยบายและแผน มอี ำนาจหนา ทีด่ งั ตอไปน้ี

(ก) จดั ทำนโยบายและแผนพฒั นาการศึกษาใหสอดคลอ งกบั นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา
แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และความตอ งการของทองถน่ิ

(ข) วิเคราะหก ารจดั ตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทวั่ ไปของสถานศกึ ษาและแจง การจดั สรรงบประมาณ
(ค) ตรวจสอบ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการใชจ ายงบประมาณและผลการปฏิบตั ติ ามนโยบาย
และแผน
(ง) ดำเนินการวเิ คราะห และจัดทำขอมลู เก่ียวกบั การจดั ตง้ั ยุบ รวม เลกิ และโอนสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน
(จ) ปฏบิ ัตงิ านรว มกบั หรือสนบั สนุนการปฏิบัตงิ านของหนวยงานอนื่ ท่ีเก่ยี วของหรือที่ไดร บั มอบหมาย

(3) กลมุ สง เสรมิ การศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร มอี ำนาจหนา ที่
ดังตอ ไปนี้

(ก) ศกึ ษา วิเคราะห ดำเนินการ และสงเสริมการจดั การศึกษาทางไกล
(ข) ศกึ ษา วิเคราะห วิจัย และพฒั นาระบบขอ มลู สารสนเทศเพอ่ื การบริหารและการจดั การศกึ ษา
(ค) ดำเนนิ งานสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา
(ง) ดำเนนิ การวิเคราะห และปฏิบัติงานระบบคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
(จ) สง เสรมิ สนบั สนุน และดำเนนิ งานบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศ
(ฉ) ปฏบิ ตั งิ านรว มกับหรอื สนบั สนุนการปฏิบัตงิ านของหนว ยงานอนื่ ทเ่ี กยี่ วของ หรอื ที่ไดร บั มอบหมาย
(4) กลุม บรหิ ารงานการเงนิ และสินทรพั ย มีอำนาจหนาทดี่ งั ตอ ไปน้ี
(ก) ดำเนนิ งานเกย่ี วกบั งานบรหิ ารการเงนิ
(ข) ดำเนนิ งานเกย่ี วกับงานบรหิ ารงานบญั ชี
(ค) ดำเนนิ งานเกี่ยวกบั งานบรหิ ารงานพัสดุ
(ง) ดำเนินงานเกย่ี วกบั งานบรหิ ารสินทรพั ย
(จ) ใหคำปรกึ ษาสถานศกึ ษาเก่ยี วกับการดำเนินงานบริหารการเงนิ งานบัญชี งานพสั ดุ และงานบรหิ าร
สนิ ทรพั ย
(ฉ) ปฏิบตั งิ านรว มกับหรอื สนบั สนนุ การปฏิบตั งิ านของหนวยงานอื่นท่เี กย่ี วขอ ง หรอื ที่ไดรบั มอบหมาย
(5) กลุม บริหารงานบุคคล มีอำนาจหนา ท่ีดงั ตอ ไปนี้
(ก) วางแผนอัตรากำลงั และกำหนดตำแหนง
(ข) สงเสรมิ สนบั สนุนการมหี รอื เลอ่ื นวทิ ยฐานะ
(ค) วิเคราะหและจัดทำขอ มลู เกยี่ วกบั การสรรหา บรรจแุ ละแตง ตัง้ ยา ย โอน และการลาออกจากราชการ
ของขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

5

(ง) ศึกษา วเิ คราะห และดำ เนินการเกยี่ วกบั การประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน การเล่อื นเงนิ เดอื น
การมอบหมายหนา ทใ่ี หป ฏิบัติของขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

(จ) จดั ทำขอ มลู เก่ยี วกบั บำเหนจ็ ความชอบและทะเบียนประวัติ
(ฉ) จัดทำขอ มลู ระบบจายตรงเงินเดอื นและคา จางประจำ
(ช) ปฏิบัติการบรกิ ารและอำนวยความสะดวกในเร่อื งการออกหนังสอื รบั รองตา ง ๆ การออกบตั รประจำตวั
และการขออนญุ าตตา ง ๆ
(ซ) ศกึ ษา วิเคราะห และจัดทำขอมลู เพือ่ ดำเนนิ งานวินยั อุทธรณ รองทกุ ข และการดำเนนิ คดีของรัฐ
(ฌ) ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั หรอื สนบั สนุนการปฏบิ ตั งิ านของหนว ยงานอ่ืนท่ีเกยี่ วของ หรอื ทไี่ ดรบั มอบหมาย
(6) กลุมพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มอี ำนาจหนา ท่ดี งั ตอ ไปนี้
(ก) ดำเนนิ งานฝก อบรมการพฒั นากอ นแตงตั้ง
(ข) ดำเนนิ งานฝก อบรมพฒั นาเพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพการปฏบิ ตั งิ าน
(ค) ดำเนนิ งานพฒั นาขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหเปนไป ตามมาตรฐานวชิ าชีพและ
จรรยาบรรณ
(ง) ปฏิบตั งิ านสง เสรมิ สนบั สนุน และยกยอ งเชดิ ชูเกียรตขิ า ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
(จ) ดำเนินการเกย่ี วกับการลาศึกษาตอ ฝกอบรม หรือปฏิบตั กิ ารวจิ ัยภายในประเทศหรือตา งประเทศ
(ฉ) ศึกษา วิเคราะห วจิ ัย และเสรมิ สรางระบบเครือขายการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
(ช) ปฏบิ ัติงานรว มกบั หรอื สนบั สนุนการปฏิบตั งิ านของหนว ยงานอื่นทเี่ กี่ยวของ หรอื ท่ีไดร บั มอบหมาย
(7) กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา มอี ำนาจหนา ท่ีดงั ตอไปน้ี
(ก) ประสาน สง เสริม สนบั สนนุ และพฒั นาหลักสตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน หลกั สตู รการศกึ ษาระดบั กอน
ประถมศึกษา และหลกั สูตรการศึกษาพเิ ศษ
(ข) ศึกษา วเิ คราะห วจิ ัย เพอ่ื พฒั นาหลกั สตู รการสอนและกระบวนการเรยี นรขู องผเู รียน
(ค) วิจยั พัฒนา สงเสรมิ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินเกย่ี วกับการวัดและการประเมนิ ผลการศึกษา
(ง) วิจยั พัฒนา สง เสรมิ มาตรฐานการศกึ ษาและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา รวมทงั้ ประเมิน ตดิ ตาม
และตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา
(จ) นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
(ฉ) ศกึ ษา วเิ คราะห วิจยั และพฒั นาส่อื นวัตกรรมการนเิ ทศทางการศกึ ษา
(ช) ปฏบิ ัติงานเลขานกุ ารคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาของเขตพ้นื ที่
การศกึ ษา
(ซ) ปฏิบัตงิ านรว มกบั หรอื สนบั สนุนการปฏิบตั งิ านของหนวยงานอนื่ ท่เี ก่ยี วของ หรอื ท่ีไดรบั มอบหมาย
(8) กลุมสง เสริมการจดั การศกึ ษา มีอำนาจหนา ท่ดี งั ตอ ไปน้ี
(ก) ศกึ ษา วเิ คราะห สง เสรมิ สนับสนนุ และดำเนินงานเกี่ยวกับศาสตรพ ระราชา
(ข) สงเสรมิ การจัดการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานในรปู แบบการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษา
ตามอัธยาศัย

6

(ค) สงเสรมิ สนบั สนนุ และดำเนนิ การเกี่ยวกบั การจัดเตรียมขอมูลการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของบคุ คล
ครอบครัว องคกร ชุมชน องคกรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอ่นื

(ง) ประสานและสงเสรมิ องคก รปกครองสว นทองถน่ิ ใหส ามารถจดั การศึกษาสอดคลองกบั นโยบาย และ
มาตรฐานการศึกษา

(จ) สง เสรมิ การจดั การศึกษาสำหรบั ผูพกิ าร ผดู อ ยโอกาส และผมู ีความสามารถพิเศษ
(ฉ) สง เสริมงานการแนะแนว สุขภาพ อนามยั กีฬา และนันทนาการ ลกู เสอื ยุวกาชาด เนตรนารี ผบู ำเพญ็
ประโยชน นกั ศึกษาวิชาทหาร ประชาธิปไตย วนิ ัยนกั เรียน การพิทกั ษส ทิ ธิเดก็ และเยาวชน และงานกจิ การนกั เรยี นอื่น
(ช) สง เสรมิ สนบั สนุนการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษา
(ซ) ประสานการปองกันและแกไ ขปญ หาการใชส ารเสพติด และสง เสรมิ ปองกนั แกไ ขและคมุ ครองความ
ประพฤตนิ ักเรียนและนกั ศึกษา รวมท้งั ระบบดูแลชว ยเหลือนักเรียน
(ฌ) ดำเนินงานวเิ ทศสมั พันธ
(ญ) ประสาน สงเสริมการศกึ ษากับการศาสนาและการวฒั นธรรม
(ฎ) สง เสรมิ แหลง การเรยี นรู สิ่งแวดลอ มทางการศึกษา และภมู ิปญ ญาทองถน่ิ
(ฏ) ประสานและสง เสรมิ สถานศึกษาใหม บี ทบาทในการสรา งความเขม แขง็ ของชมุ ชน
(ฐ) ปฏบิ ตั ิงานรวมกบั หรือสนบั สนนุ การปฏิบัติงานของหนวยงานอนื่ ทเ่ี กี่ยวของ หรอื ที่ไดรบั มอบหมาย
(9) หนว ยตรวจสอบภายใน ใหป ฏิบัตงิ านขึ้นตรงกบั หัวหนา สวนราชการ และมอี ำนาจหนาท่ดี งั ตอไปน้ี
(ก) ดำเนนิ งานเกีย่ วกับงานตรวจสอบการเงิน การบญั ชี และตรวจสอบระบบการดูแลทรพั ยส นิ
(ข) ดำเนินงานเกี่ยวกับงานตรวจสอบการดำเนินงานหรอื กระบวนการปฏิบตั ิงาน เปรยี บเทียบกบั ผลผลิต
หรอื เปาหมายทกี่ ำหนด
(ค) ดำเนินงานเก่ียวกบั การประเมินการบรหิ ารความเส่ยี ง
(ง) ดำเนนิ การอ่นื เก่ยี วกบั การตรวจสอบภายในตามทกี่ ฎหมายกำหนด
(จ) ปฏบิ ตั งิ านรวมกับหรือสนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านของหนวยงานอนื่ ที่เก่ยี วของหรอื ทไ่ี ดร บั มอบหมาย”
(10) กลมุ กฎหมายและคดี ใหปฏิบัตงิ านข้นึ ตรงกบั ผูอ ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา และมอี ำนาจ
หนาที่ ดงั ตอ ไปนี้
(ก) สง เสริม สนบั สนนุ พฒั นาการมีวนิ ัยและรกั ษาวนิ ัย
(ข) ดำเนินการสืบสวนเกยี่ วกับเรอื่ งรอ งเรียน
(ค) ดำเนินการสอบสวนเก่ียวกบั วินยั และการตรวจพจิ ารณาวนิ ยั
(ง) ดำเนินการเกี่ยวกบั การอุทธรณแ ละการพจิ ารณาอุทธรณ
(จ) ดำเนนิ การเก่ยี วกบั การรองทุกขและการพจิ ารณารอ งทกุ ข
(ฉ) ดำเนินการเกยี่ วกบั ความรบั ผิดทางละเมดิ ของเจาหนาท่ี
(ช) ดำเนนิ การเกีย่ วกบั งานคดีปกครอง คดแี พง คดีอาญา และคดีอน่ื ๆ ของรฐั
(ซ) ดำเนินการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ
(ฌ)ศกึ ษา วิเคราะห วจิ ัย จดั ทำขอมูลและติดตามประเมินผลเพอื่ พฒั นางานกฎหมายและงานคดขี องรฐั

7

(ญ)ปฏบิ ัตงิ านรว มกบั หรือสนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหนว ยงานอ่นื ที่เกี่ยวของหรอื ทไี่ ดร บั มอบหมาย

4. ขอมูลพ้นื ฐานทางการศึกษา (ขอ มลู 10 พฤศจิกายน 2561)

4.1.ขอ มลู จำนวนบคุ ลากรในสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

ตำแหนง จำนวนบุคลากรในสำนักงาน
เขตพื้นท่กี ารศึกษา
ผอู ำนวยการ สพป.ลำปาง เขต 1 1
รองผูอำนวยการ สพป.ลำปาง เขต 1 3
ศึกษานิเทศก 9
บุคลากร 38(ค) 39
ลูกจางประจำ 12
พนักงานราชการ 2
อัตราจา ง 8
74
รวมทั้งสิน้

ท่ีมา : กลมุ บริหารงานบคุ คล

สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 มบี คุ ลากรในสงั กดั ทง้ั หมด จำนวน
74 คน ประกอบดว ย ผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 จำนวน 1 คน
รองผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 จำนวน 3 คน บุคลากร 38 ค จำนวน
39 คน ศกึ ษานิเทศก จำนวน 9 คน พนกั งานราชการ 2 คน ลกู จางประจำ จำนวน 12 คน อตั ราจา ง 8 คน
รวม 74 คน

8

4.2 จำนวนโรงเรยี นในสงั กัด

ที่ อำเภอ ร.ร.ในระบบ จดั การเรยี น คดิ เปน เรียนรวมทุกช้นั เรียน ร.ร.ในระบบDMC
DMC การสอน รอ ยละ ทุกชัน้ เรียน บางชนั้ เรียน ไมม นี ักเรียน
1 เมอื ง 50 78.00 7
2 แมเมาะ 20/1 39 85.72 11 2
3 งาว 26/2 18 82.15 3 3
4 หา งฉตั ร 21 23 71.73 5 3
120 15 79.17 61 15
รวม 95 25 1

จำนวนโรงเรยี นในสังกดั สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 มที ้งั หมด
120 โรงเรยี น แยกเปน อำเภอเมอื ง 50 โรงเรียน จดั การเรียนการสอน 39 โรงเรียน คดิ เปน รอ ยละ 78.00 มีโรงเรยี น
ขนาดเลก็ ไปเรียนรวม 11 โรงเรยี น และไมม ีนกั เรยี น (นกั เรยี นศูนยคน) จำนวน 7 โรงเรียน ซึง่ ใน 7 โรงเรียนนี้
รวมอยใู นโรงเรยี นทไ่ี ปเรียนรวม 11 โรงเรียนแลว อำเภอแมเ มาะ 20 โรงเรยี น 1 สาขา จดั การเรียนการสอน 18 โรงเรยี น
คิดเปน รอยละ 85.72 มีโรงเรยี น ขนาดเล็กไปเรยี นรวม 3 โรงเรียน และไมม ีนกั เรยี น (นกั เรียนศูนยค น) จำนวน
2 โรงเรียน ซง่ึ ใน 2 โรงเรียนนี้ รวมอยูใ นโรงเรยี นที่ไปเรียนรวม 3 โรงเรยี นแลว อำเภองาว 26 โรงเรยี น 2 สาขา จดั การ
เรียนการสอน 23 โรงเรยี น คิดเปนรอ ยละ 82.15 มโี รงเรยี นขนาดเลก็ ไปเรยี นรวม 5 โรงเรยี น และไมม ีนกั เรียน (นักเรียน
ศนู ยค น) จำนวน 3 โรงเรียน ซึง่ ใน 3 โรงเรียนน้ี รวมอยใู นโรงเรียนท่ีไปเรยี นรวม 5 โรงเรียนแลว อำเภอหางฉัตร 21
โรงเรยี น จัดการเรียนการสอน 15 โรงเรยี น คดิ เปนรอ ยละ 71.73 มโี รงเรียนขนาดเลก็ ไปเรยี นรวมทกุ ชน้ั เรียน 6 โรงเรยี น
เรยี นรวมบางชัน้ เรยี น 1 โรงเรียน และไมม นี ักเรยี น (นกั เรยี นศูนยคน) จำนวน 3 โรงเรียน ซึ่งใน 3 โรงเรยี นน้ี รวมอยใู น
โรงเรยี นที่ไปเรยี นรวม 6 โรงเรียนแลว

4.3 จำนวนโรงเรยี นตามโปรแกรม DMC แยกตามขนาด

ที่ อำเภอ เลก็ (0-120 คน) จำนวนโรงเรยี นแยกตามขนาด ใหญ(1500 คนขน้ึ ไป รวม

1 เมือง 42 กลาง(121-600 คน) ใหญ(601-1500 คน) 2 50
2 แมเ มาะ 14 21
3 งาว 20 60 2 28
4 หางฉัตร 17 61 21
93 80 120
รวม 31
23 4

จำนวนโรงเรยี นในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ตามโปรแกรม DMC
แยกตามขนาดดังนี้ อำเภอเมือง โรงเรยี นขนาดเลก็ (0-120 คน) 42 โรงเรียน โรงเรยี นขนาดกลาง(121-600 คน)

9

6 โรงเรียน โรงเรยี นขนาดใหญ( 601-1500 คน) ไมมี( ศูนยโรงเรยี น) โรงเรยี นขนาดใหญ( 1500 คนขึน้ ไป) 2 โรงเรยี น
รวมทั้งสน้ิ 50 โรงเรยี น อำเภอแมเมาะ โรงเรยี นขนาดเลก็ (0-120 คน) 14 โรงเรียน โรงเรยี นขนาดกลาง(121-600 คน)
6 โรงเรยี น โรงเรียนขนาดใหญ( 601-1500 คน) 1 โรงเรียน โรงเรยี นขนาดใหญ(1500 คนขน้ึ ไป) ไมม(ี ศูนยโ รงเรยี น)
รวมทั้งสิ้น 21 โรงเรียน อำเภองาว โรงเรยี นขนาดเลก็ (0-120 คน) 20 โรงเรยี น โรงเรียนขนาดกลาง(121-600 คน)
8 โรงเรียน โรงเรยี นขนาดใหญ(601-1500 คน) ไมม (ี ศูนยโรงเรียน) โรงเรยี นขนาดใหญ(1500 คนขนึ้ ไป) ไมมี
( ศูนยโ รงเรยี น) รวมทง้ั ส้ิน 28 โรงเรยี น อำเภอหา งฉัตร โรงเรยี นขนาดเลก็ (0-120 คน) 17 โรงเรียน โรงเรียนขนาด
กลาง(121-600 คน) 3 โรงเรยี น โรงเรียนขนาดใหญ( 601-1500 คน) 1 โรงเรียน โรงเรียนขนาดใหญ( 1500 คนขึน้ ไป)
ไมมี(ศูนยโรงเรยี น) รวมท้งั สน้ิ 21 โรงเรียน

4.4 จำนวนโรงเรียนขนาดเลก็ (นกั เรยี น 0-120 คน)

ท่ี อำเภอ จำนวน ร.ร.ขนาดเล็กในระบบ DMC จัดการเรียนการสอน คิดเปน รอ ยละ
73.81
1 เมือง 42 31 78.58
11 75.00
2 แมเ มาะ 14 (13ร.ร 1สาขา) 15 64.71
11 73.12
3 งาว 20(18 ร.ร. 2 สาขา) 68

4 หางฉัตร 17

รวม 93 (90 ร.ร. 3 สาขา)

จำนวนโรงเรยี นขนาดเลก็ (นกั เรียน 0-120 คน) ในสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถม
ศึกษาลำปาง เขต 1 รวมทง้ั ส้นิ 93 โรงเรยี น จัดการเรยี นการสอน 68 โรงเรียน คิดเปนรอ ยละ 73.12
แยกรายละเอยี ด ดังน้ี โรงเรยี นขนาดเล็กสังกดั อำเภอเมือง 42 โรงเรยี น จดั การเรียนการสอน 31 โรงเรียน
คดิ เปนรอยละ 73.81 โรงเรยี นขนาดเลก็ สังกัดอำเภอแมเ มาะ 14 โรงเรยี น จดั การเรียนการสอน 11 โรงเรยี น
คิดเปน รอยละ 78.58 โรงเรียนขนาดเล็กสังกดั อำเภองาว 20 โรงเรยี น จดั การเรียนการสอน 15 โรงเรยี น
คิดเปน รอ ยละ 75.00 โรงเรยี นขนาดเล็กสงั กดั อำเภอหา งฉตั ร 17 โรงเรยี น จัดการเรยี นการสอน 11 โรงเรยี น
คิดเปน รอ ยละ 64.71

4.4 แสดงจำนวนนกั เรียนและหองเรียน

ระดับการศึกษา ช้ัน จำนวนนักเรียน จำนวนหองเรียน
886 59
อนุบาล 1 1,433 106
1,603 109
กอ นประถมศึกษา อนุบาล 2 3,922 274
2,012 128
อนุบาล 3 1,947 126
1,904 125
รวมกอ นประถม 1,878 123

ประถมศกึ ษาปท ี่ 1

ประถมศึกษา ประถมศึกษาปที่ 2
ประถมศกึ ษาปท ี่ 3

ประถมศกึ ษาปที่ 4

ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 1,980 10
ประถมศึกษาปท่ี 6 1,972
รวมประถมศกึ ษา 11,693 125
มธั ยมศึกษาปท่ี 1 397 123
มัธยมศกึ ษาตอนตน มธั ยมศึกษาปที่ 2 423 750
มัธยมศึกษาปท่ี 3 389 24
รวมมัธยมศกึ ษาตอนตน 1,209 25
รวมทั้งสิน้ 16,824 25
47
1,098

โรงเรยี นในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 มีช่อื ในระบบตามโปรแกรม
DMC (Data Management Center) จำนวน 120 โรงเรยี น (117 โรงเรียน 3 สาขา) จดั การเรยี นการสอนจรงิ จำนวน
96 โรงเรียน (93 โรงเรียน 3 สาขา) ขนาดเลก็ ไปเรียนรวมทกุ ชั้น จำนวน 25 โรงเรียน และเรยี นรวมบางช้นั 1 โรงเรยี น

5. สภาพการจัดการศึกษา
ปการศกึ ษา 2561 สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 มผี ลการดำเนนิ งาน

จดั การศึกษา เมอ่ื เทียบกบั จำนวนประชากรวัยเรยี น ตาม ทร.14 ในเขตพน้ื ที่บริการ 4 อำเภอ ดังนี้
5.1 ดา นโอกาสทางการศกึ ษา
ประชากรวยั เรยี นในเขตพนื้ ท่ีบรกิ ารไดร บั สิทธแิ ละโอกาสอยา งเสมอภาคเทา เทยี มกนั ในการศึกษาระดบั

ปฐมวยั ระดับประถมศกึ ษา และระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ดังน้ี
1) ประชากรวยั เรียนในเขตพื้นทบี่ ริการ เกิด พ.ศ. 2557 ( 3 ขวบ ) จำนวนทง้ั หมด 2,524 คน

เขา เรียนในระดับปฐมวัย สงั กัด สพฐ. 2,210 คน สังกดั เอกชน 210 คน สังกดั เทศบาล 78 คน เขา เรยี นชั้นอืน่
และนอกเขตบรกิ าร 26 คน คิดเปน รอยละ 100

เกิด พ.ศ. 2557 เขาเรยี น จาํ นวน/คน รอยละ
สังกดั สพฐ. 2,210 87.55
สงั กัดเอกชน 210 8.32
สังกดั เทศบาล 78 3.09
เขาเรียนชนั้ อน่ื /นอกเขต 26 1.04

รวม 2,524 100

2) ประชากรวัยเรียนในเขตพ้นื ทบี่ รกิ าร เกิด พ.ศ. 2554 จำนวนท้ังหมด 2,659 คน
เขาเรยี นในช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 1 ปการศึกษา 2561 สงั กดั สพฐ. จำนวน 1,522 คน สงั กดั สำนักงานการศกึ ษา

11

พเิ ศษ จำนวน 6 คน สังกัดสถานศกึ ษาเอกชน จำนวน 875 คน เขา เรยี นตา งจงั หวัดและชั้นอ่ืน จำนวน
256 คน รวมทง้ั ส้ิน 2,659 คน คดิ เปน รอ ยละ 100

เกิด พ.ศ. 2554 เขาเรยี น จาํ นวนนกั เรียน รอยละ
สังกัด สพฐ. 1,522 57.23
เสงั กดั สศศ. 6 0.22
สังกดั เอกชน 875 32.9
เขาเรยี นช้นั อนื่ /นอกเขต 256 9.62

รวม 2,659 100

3) ผเู รียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 ปก ารศึกษา 2560 เขาเรยี นตอ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1

ปก ารศึกษา 2561 จำนวน 2,073 คน เขาเรียนตอ โรงเรียนสังกดั สพฐ. จำนวน 1,824 คน

เขา เรยี นสังกัดอนื่ จำนวน 249 คน คิดเปน รอยละ 100

จบชั้น ป.6 ปก ารศึกษา 2560 เรยี นตอชั้น ม.1 ปก ารศึกษา 2561

จํานวนทจ่ี บ เขาสังกดั สพฐ. เขาสังกดั เอกชน,เทศบาล รอ ยละ
จํานวน รอยละ จาํ นวน รอยละ

2,073 1,824 87.98 249 12.01 100

4) ผูเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 3 ปก ารศกึ ษา 2560 จำนวน 398 คน เขา เรียนตอ ในระดับทส่ี ูงขึ้น

ในปก ารศกึ ษา 2561 สายสามญั 128 คน สายอาชีพ 244 คน เขา เรียนเทียบเทา 24 คน ประกอบอาชีพ

2 คน รวม 396 คิดเปนรอยละ 99.49

จบชั้น ม.3 ปการศึกษา 2560 เรยี นตอชั้น ม.ปลาย ปก ารศึกษา 2561

จํานวนที่จบ เขาสายสามัญ เขาสายอาชีพ เทียบเทา รวม รอยละ
จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ

398 128 32.16 244 61.3 24 6.03 396 99.49

5) ปการศกึ ษา 2560 จำนวนนกั เรียนทงั้ ส้ิน 16,824 คน มอี ตั ราการออกกลางคนั เปนศูนย

12

อตั ราการออกกลางคัน ปการศึกษา 2560

อนบุ าล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา รวม รอยละ

จน.นร. ออกกลางคัน จน.นร. ออกกลางคัน จน.นร. ออกกลางคัน

3,922 0 11,693 0 1,209 0 16,824 0

การจัดการศึกษาเรยี นรวม (สำหรบั นกั เรียนพิการเรยี นรวม)
การจดั การศกึ ษาเรยี นรวม (สำหรบั นกั เรยี นพิการเรยี นรวม) เพ่ือเปนการประกันสิทธิและโอกาสทาง

การศึกษา ตลอดจนการใหบ รกิ ารทางการศกึ ษาแกเ ด็กและเยาวชนท่ีพกิ าร สามารถเขาถงึ การศึกษา และการขอรบั
ส่ิงอำนวยความสะดวก สอ่ื บรกิ าร และความชว ยเหลอื อนื่ ใดทางการศึกษา และสอดคลอ งกบั สภาพความตองการ
ของคนพกิ าร ซง่ึ หมายถงึ เดก็ พกิ าร ทม่ี ขี อ จำกัดในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมในชีวติ ประจำวนั หรอื การมสี ว นรวมในสังคม
เนื่องจากความบกพรอ งตามท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด มี 9 ประเภทความบกพรอ งหรือประเภทพิการ ไดแ ก
1. บกพรอ งทางการเหน็ 2. บกพรอ งทางการไดยิน 3. บกพรองทางสตปิ ญญา 4. บกพรองทางรา งกายหรอื สุขภาพ
5. บกพรอ งทางการเรียนรู 6. บกพรอ งทางการพดู และภาษา 7. บกพรองทางพฤตกิ รรมหรอื อารมณ 8.บกพรอง
ออทสิ ตกิ และ 9. มคี วามพิการซ้ำซอน

กระบวนการ/โครงการ/กจิ กรรม ทสี่ งเสริมสนบั สนนุ เพอื่ ใหเ ดก็ นักเรยี นพกิ ารเรยี นรวมไดรบั โอกาส
พัฒนาศกั ยภาพ ของสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปางเขต 1 มีกระบวนการ
ในการสง เสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศึกษาพเิ ศษสำหรบั เดก็ พกิ ารใหผ านการพัฒนาเปนรายบุคคล โดยปฏบิ ัติตาม
แนวนโยบายการดำเนนิ งาน ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ตามโครงการพฒั นาคณุ ภาพ การจดั การ
ศกึ ษาเรยี นรวม โดยสถานศกึ ษามสี วนในการสง เสริมสนบั สนุนการจดั การศกึ ษาสำหรบั บคุ คลซ่งึ มีความบกพรองตาม
ประเภท และหลักเกณฑของคนพิการทางการศกึ ษา ท้งั น้ใี นปจ จุบนั พบวา กลุมนักเรียนพิการ สว นมาก มีปญ หาในเรอ่ื ง
การอา นและการเขยี น ซึง่ ทำใหน กั เรยี นไมป ระสบผลสำเรจ็ ในการเรยี นรู ทกุ ๆวชิ า และไมสามารถศึกษาเลาเรียนจนจบ
ตามเกณฑก ารศึกษาภาคบงั คบั ได เพอ่ื ใหเดก็ พกิ ารทม่ี ีความตอ งการพเิ ศษเรียนรวม มีการพฒั นาศักยภาพการเรยี นรู
สามารถเรียนรใู นกลมุ สาระการเรียนร/ู วชิ าอืน่ ๆ ได โดยการสง เสริมการใหบ ริการและการสนบั สนนุ สำหรับเดก็ พิการทม่ี ี
ความตอ งการพเิ ศษ ใหเหมาะสมกบั ศกั ยภาพและความตองการจำเปนของผเู รียนแตล ะบคุ คลโดยมคี วามเช่ือมโยงระหวา ง
รูปแบบการเรียนรูในรูปแบบตา งๆ ท้งั ในรปู แบบปกติ รปู แบบเพ่อื ผูเรียนทม่ี คี วามตอ งการพเิ ศษ รปู แบบเพือ่ ความเปนเลศิ
ซึง่ ศกึ ษานเิ ทศกประจำเครอื ขาย และคณะกรรมการบริหารจัดการศูนยบ รกิ ารทางการศกึ ษาประจำอำเภอ จะเปน ผูมสี ว น
สนับสนุน ชว ยเหลือในการขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งาน กำกับ ตดิ ตามการดำเนนิ งาน ตลอดจนประเมินผลตามตัวชี้วัด
ความสำเรจ็ ตามยุทธศาสตร ใหเปน ไปตามนโยบายดังกลา ว เพื่อพฒั นาและเสริมสรา งศกั ยภาพในการจัดการศึกษาเรยี น
รวมสำหรบั คนพกิ าร ดงั นน้ั เพื่อให โรงเรยี นทีจ่ ดั การศึกษาเรยี นรวม ในสังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา
ลำปาง เขต 1 ทกุ โรงเรียนมกี ารจัดการศึกษาเรียนรวมที่มีคณุ ภาพ และมคี วามสอดคลอ งกบั ตามพระราชบญั ญัติการจัด
การศึกษาสำหรบั คนพิการ และสอดคลองกบั นโยบายการดำเนนิ งานตามโครงการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา

13

เรยี นรวม ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน โดยมีแนวนโยบายการดำเนนิ งานตามกจิ กรรมทสี่ ำคญั
5 กิจกรรมหลกั ดังน้ี

1. บริหารจดั การ ดานการจดั การศึกษาพเิ ศษเรียนรวมใหม คี ณุ ภาพ
2. พัฒนาครแู ละบคุ ลากร ทีป่ ฏบิ ัตหิ นาทสี่ นับสนุนงานการจดั การศกึ ษาพิเศษเรียนรวม
ในสถานศึกษา ใหม ีความรูความเขา ใจในการขับเคลอื่ นนโยบาย
3. สนับสนุนใหมีการวิจยั ทางการศกึ ษาพิเศษ เพื่อใหก ารสนบั สนุนการจดั การศึกษาพเิ ศษ
เรียนรวมใหมคี ณุ ภาพ
4. จัดระบบสนบั สนนุ และชวยเหลือนกั เรยี นในระดบั ศนู ยบ รกิ ารการศกึ ษาพิเศษประจำ
อำเภอ (SSS) เพ่ือใหก ารชวยเหลือโรงเรยี นลกู ขา ยในอำเภอ ทขี่ อรบั การชว ยเหลือ
5. นิเทศ กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนนิ งาน ทง้ั ในระดับสถานศึกษา ระดบั อำเภอ
และระดบั เขตพ้นื ที่การศกึ ษา
ทั้งนี้ เพ่ือใหการขบั เคลื่อนแนวนโยบายการดำเนนิ งานตามกิจกรรมทสี่ ำคัญหลกั ดงั กลา วใหมคี ณุ ภาพ
ตามบรบิ ทของสถานศึกษา สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลำปางเขต 1 จึงมีการสงเสรมิ สนบั สนุนการจัด
การศึกษาพเิ ศษสำหรบั เดก็ พิการ ในหลายลกั ษณะ ดังน้ี
1. รปู แบบ กระบวนการการจัดการศึกษาพเิ ศษ (Special Education) เรยี นรวม (Inclusive) โดยโรงเรยี น
เตรยี มวางแผนดำเนนิ การจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิงาน และการบรหิ ารจัดการของโรงเรียนทีม่ กี ารจดั การศกึ ษาเรียนรวม ทั้งระบบ
เพ่อื พฒั นานกั เรียนทมี่ คี วามบกพรองในประเภทตางๆ และเตรยี มวางแผนในการจดั การศกึ ษาเพ่ือคนพกิ ารใหส ามารถรบั
การศึกษาในระบบการจัดการเรยี นรวม เตรยี มเดก็ ทมี่ ีความตองการพเิ ศษใหพรอมทจ่ี ะเขาเรียนรวมได โดยการปรบั และ
เตรียมเด็กทมี่ ปี ญ หา ใหเดก็ มพี ฒั นาการเทาเทยี มกับเด็กปกติท่ัวไป เพ่ือใหไดรบั โอกาสใหเ ขา เรียนรวม (ทง้ั นีส้ ถานศกึ ษา
ตอ งจัดบรกิ ารสนบั สนนุ ชวยเหลอื เพม่ิ เติม ใหส ามารถเรยี นรเู พ่ือพฒั นาศกั ยภาพใหไ ดส งู ) เด็กพกิ าร จะไดรบั การพฒั นา
ศกั ยภาพเปนรายบคุ คล จะไดร บั การพฒั นาดว ยรปู แบบทมี่ คี วามหลากหลาย โดยมีการจดั การศึกษาเพอ่ื คนพิการให
สามารถรับการศกึ ษาในระบบ ในรปู แบบการจดั การศึกษาเรยี นรวมทจี่ ำแนกได ใน 3 รูปแบบ ดงั นี้

รูปแบบท่ี 1 ใหการศึกษาในระบบโดย เรยี นในชั้นเรียนปกติตามเวลาปกติ เปน การจดั การศึกษาทจี่ ดั ใหม กี าร
เรยี นรวมสำหรบั เดก็ มีความบกพรองหรอื ผดิ ปกตินอ ยมาก ซง่ึ เปนเดก็ นกั เรียนทีม่ คี วามบกพรองในประเภทท่ี 5 บกพรอ ง
ทางการเรยี นรู จะสามารถเขาเรยี นในชั้นเรยี นกับเดก็ ปกติ และปฏิบตั ิไดเ หมอื นเดก็ ปกตทิ กุ ประการ

รูปแบบท่ี 2 ใหการศึกษาในระบบโดย เรยี นรวม ใน 3 ลกั ษณะ ดังนี้
เรยี นรวมลกั ษณะท่ี 1 เปนการจดั การศึกษาเรยี นรวมในช้นั เรยี นปกตเิ ตม็ เวลา ประกอบดว ยเดก็ นกั เรยี น

ท่ีมีความบกพรอ งในประเภทท่ี 4 โดยมคี วามบกพรองทางรา งกาย การเคลอ่ื นไหว หรือดา นสขุ ภาพ ประเภทที่ 7 สำหรบั
เดก็ นักเรียนทมี่ คี วามบกพรอ งทางดานพฤติกรรม หรอื อารมณ

เรียนรวมลักษณะท่ี 2 เปนการจัดการศึกษาเรยี นรวมในช้นั เรยี นปกตมิ ีบรกิ ารใหคำแนะนำ
ปรกึ ษา เฉพาะความพกิ าร ประกอบดว ยเด็กนกั เรยี นทม่ี คี วามบกพรองในประเภทท่ี 2 บกพรองทางการไดย นิ และ
ประเภทที่ 9 พกิ ารซอ น

14

เรียนรวมลักษณะที่ 3 เปน การจดั การศกึ ษาเรยี นรวมในชั้นเรยี นปกตมิ ีบรกิ ารสอนเสรมิ ประกอบดว ย
เด็กนักเรียนทมี่ คี วามบกพรองในประเภทท่ี 1 บกพรองทางการเห็น และประเภทท่ี 6 บกพรองทางการพูด และภาษา

รูปแบบท่ี 3 ใหการศกึ ษาในระบบโดย เรยี นเฉพาะความพกิ าร โดยมกี ารเรียนการสอนในหอ งเรียนพเิ ศษ
ในโรงเรยี นปกติ ประกอบดว ยเดก็ นักเรียนทมี่ คี วามบกพรองในประเภทท่ี 3 บกพรอ งทางสตปิ ญญา และประเภทท่ี
8 ออทิสติก

การสงเสรมิ การจดั การศึกษาข้ันพ้นื ฐานโดยครอบครวั ( Home School )

สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 ดำเนนิ การสงเสริม สนบั สนุนการจัดการ
ศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานโดยครอบครวั ในรปู แบบทห่ี ลากหลาย สอดคลอ งกบั กลมุ เปาหมายและความแตกตา งระหวางบคุ คล
เปน ไปตามมาตรฐานหลกั สตู รแกนกลาง พทุ ธศกั ราช 2551 และเปน ไปตามกฎกระทรวงวา ดว ยสิทธิในการจัดการศึกษา
ข้ันพืน้ ฐานโดยครอบครัว พ.ศ. 2547 ในปก ารศึกษา 2561 มีครอบครวั ทจี่ ดั การศึกษาข้ันพื้นฐานโดยครอบครัว จำนวน
1 ครอบครัว นักเรียน 1 คน ดังนี้

1. เด็กชายณธรรศธรรม ไวยอริยโพชฌงค เกดิ วนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2548 เลขประจำตัว
ประชาชน 1 5206 01139 4 2 2 เรียนอยชู ัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 6 ครอบครัวมุงเนน ดานกฬี าแบดมนิ ตนั
ผูจดั การศกึ ษาเรยี นการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานโดยครอบครวั ไดรับสทิ ธปิ ระโยชนทางการศกึ ษา ดังนี้

1. ไดร ับเงนิ อุดหนนุ จากรัฐสำหรบั การจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐานตามทกี่ ฎหมายกำหนด 5 รายการ
2. ไดรับบัตรประจำตวั ผเู รียนเพ่ือใชแสดงตนในการจัดการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานโดยครอบครวั
3. ไดรบั การสง เสริมใหเ ขารวมกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นและชว่ั โมงเรียนทสี่ นใจในโรงเรยี นปกติ
4. ไดรบั สทิ ธเิ ขา รว มการแขง ขนั ในกิจกรรมตา ง ๆ ของสำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา
ลำปาง เขต 1
5. ไดรบั การพฒั นาการศึกษาจากคณะกรรมการนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผลบา นเรยี นตาม
รปู แบบการศึกษา รูปแบบครอบครัวเด่ียวแบบกลมุ ประสบการณ ผสมผสานกบั การเรียนรจู ากแหลง เรียนรูแบบ
บูรณาการ 8 กลมุ สาระ และยงั คงระดบั คณุ ภาพตามมาตรฐานตามหลกั สตู รแกนกลาง พทุ ธศักราช 2551

15

อตั ราการออกกลางคัน

เปรยี บเทียบขอมูลนกั เรียนออกกลางคันลดลง ป 2549 - 2560

ป คิดเปน รอย
การศกึ ษา
นักเรียน ออกกลางคัน / คน ละ หมายเหตุ
2549
2550 38,310 198 0.52 เกณฑค ะแนนตัวช้ีวดั
2551
2552 36,844 89 0.24 ระดับ 5 ไมเ กนิ 0.20
2553
2554 34,354 84 0.15
2555
2556 32,020 52 0.16
2557
2558 14,935 12 0.08
2559
2560 14,265 2 0.01

13,889 6 0.04

13,721 3 0.02

13,524 0 0

13,280 2 0.01

13,226 1 0.01

13,100 0 0

จำนวนนกั เรยี นเปน จำนวนนกั เรยี นในระดบั ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 1 ถงึ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 จากขอ มูล
ตัง้ แตป ก ารศกึ ษา 2549 เปน ตน มา พบวามจี ำนวนนกั เรยี นออกกลางคนั ลดลงอยางตอเนอ่ื ง และในปก ารศึกษา
2560 อัตราการออกกลางคนั เปนศนู ย

16

5.2 ดานคณุ ภาพการศึกษา
ตารางที่ 1 ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู รียนระดับชาติ (National Test : NT) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 3

ปก ารศกึ ษา 2560 สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1(ระดบั เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา)

ความสามารถ จำนวนนักเรียนที่เขาสอบ คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ สวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
รวม 3 ดาน 1,839 49.51 15.83
ดานภาษา 1,839 57.11 5.96
ดานคำนวณ 1,839 42.91 6.52
ดานเหตุผล 1,839 48.51 5.79

จากตารางที่ 1 ผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผูเรียนระดับชาติ (National Test : NT) นั ก เรี ย น ชั้ น
ประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2560 พบวา นักเรียนมีคะแนนเฉล่ียรอยละสูงกวารอยละ 50 ข้ึนไป ไดแก
ความสามารถดานภาษา (57.11) และนักเรียนมีคะแนนเฉลยี่ รอยละต่ำกวา รอยละ 50 ไดแก ความสามารถดานคำนวณ
(42.91) และความสามารถดานเหตุผล (48.51) โดยนักเรียนท้ังเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามีคะแนนเฉล่ียรอยละในความสามารถ
ดา นภาษาสงู ท่สี ุด (57.11) และมีคะแนนเฉลย่ี ในความสามารถดา นคำนวณต่ำทีส่ ดุ (42.91)

กราฟ 1 แสดงคะแนนเฉลย่ี รอยละผลการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู รยี นระดับชาติ (National Test : NT)
ความสามารถดา นภาษา ดานคำนวณ ดานเหตุผล นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 3 ปการศกึ ษา 2560
สังกดั สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

60 ดานภาษา ดา นคำนวณ ดา นเหตผุ ล
50
40
30
20
10
0

รวม 3 ดาน

17

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทยี บผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู รียนระดับชาติ (National Test : NT)
ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 3 ระหวา งปการศกึ ษา 2559 กับ ปการศึกษา 2560
สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

ความสามารถ คะแนนเฉล่ยี รอ ยละ คะแนนเฉลีย่ รอ ยละ เพ่มิ ขนึ้ /ลดลง เพมิ่ ขน้ึ /ลดลง
ปการศึกษา 2559 ปก ารศึกษา 2560 (+/-) รอ ยละ

รวม 3 ดา น 52.55 49.51 -3.04 -5.78
ดานภาษา 55.51 57.11 +1.60 2.88
ดา นคำนวณ 42.18 42.91 +0.73 1.73
ดานเหตุผล 59.97 48.51 -11.46 -19.11

จากตารางท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเรียนระดับชาติ (National Test :
NT) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2560 พบวา คะแนนเฉลี่ยรอยละรวม 3 ดานของปการศึกษา 2560
ลดลงจากปการศึกษา 2559

และเมอ่ื พิจารณาเปนรายดาน พบวา คะแนนเฉลย่ี รอยละในทุกความสามารถ ไดแก ดา นภาษา และดา นคำนวณ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษาปการศึกษา 2560 เพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2559 ยกเวนความสามารถดานเหตุผล ระดับเขต
พ้ืนทก่ี ารศึกษาปการศึกษา 2560 ลดลงจากปการศึกษา 2559

กราฟ 2 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรอยละผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู รยี นระดบั ชาติ
(National Test : NT) ความสามารถดา นภาษา ดานคำนวณ ดานเหตผุ ล นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 3
ระหวางปก ารศึกษา 2559 กบั ปก ารศึกษา 2560
สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

18

70 ปีการศึกษา 2559
60 ปีการศึกษา 2560
50
40 ดา้ นภาษา ดา้ นคาํ นวณ ดา้ นเหตผุ ล
30
20
10
0

รวม 3 ดา้ น

ตารางท่ี 3 ผลการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู รียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 3 ปก ารศึกษา 2560 ระหวางระดบั เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา กับ ระดับจังหวดั
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

ความสามารถ คะแนนเฉลีย่ รอ ยละ คะแนนเฉล่ยี รอ ยละ สงู กวา/ตำ่ กวา
ระดบั เขตพน้ื ท่ีการศึกษา ระดบั จังหวดั (+/-)
รวม 3 ดา น (สพป.ลำปาง เขต 1)
ดา นภาษา 47.73 +1.78
ดานคำนวณ 49.51 55.04 +2.07
ดา นเหตุผล 57.11 41.10 +1.81
42.91 47.06 +1.45
48.51

จากตารางที่ 3 ผลการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเ รียนระดับชาติ (National Test : NT)
นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ปการศึกษา 2560 ระหวางระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา กับ ระดับจังหวัด พบวา คะแนน
เฉลี่ยรอ ยละรวม 3 ดา นของระดบั เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา สูงกวา ระดบั จงั หวดั

และเม่ือพิจารณาเปนรายดานยังพบวา คะแนนเฉล่ียรอยละในทุกความสามารถ ไดแก ดานภาษา ดานคำนวณ
และดานเหตผุ ล ระดบั เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาสงู กวาระดบั จงั หวัด

กราฟ 3 แสดงการเปรยี บเทียบคะแนนเฉลย่ี รอ ยละผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู รียนระดบั ชาติ
(National Test : NT) ความสามารถดา นภาษา ดานคำนวณ ดานเหตผุ ล นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 3
ปการศึกษา 2560 ระหวา งระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา กบั ระดบั จงั หวัด

สังกัดสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 19

60 ระดบั เขตพืนท(ี สพป.ลป.เขต 1)
ระดับจงั หวดั
50

40

30

20

10

0 ดา้ นภาษา ดา้ นคาํ นวณ ดา้ นเหตุผล
รวม 3 ดา้ น

ตารางท่ี 4 ผลการเปรียบเทยี บผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู รียนระดับชาติ (National Test : NT)
ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 3 ปก ารศึกษา 2560 ระหวา งระดับเขตพน้ื ที่การศกึ ษา กบั ระดบั ศึกษาธกิ ารภาค
สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

ความสามารถ คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ คะแนนเฉลยี่ รอ ยละ สูงกวา /ต่ำกวา
ระดับเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา ระดบั ศกึ ษาธกิ ารภาค (+/-)
รวม 3 ดาน (สพป.ลำปาง เขต 1)
ดา นภาษา 45.49 +4.02
ดา นคำนวณ 49.51 52.65 +4.46
ดานเหตุผล 57.11 38.93 +3.98
42.91 44.90 +3.61
48.51

จากตารางท่ี 4 ผลการเปรยี บเทียบผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเรียนระดับชาติ (National Test :
NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2559 ระหวางระดับเขตพื้นที่การศึกษา กับ ระดับศึกษาธิการภาค
พบวา คะแนนเฉลีย่ รอ ยละรวม 3 ดานของระดับเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา สงู กวา ระดบั ศึกษาธิการภาค

และเมื่อพิจารณาเปนรายดานยังพบวา คะแนนเฉล่ียรอ ยละในทุกความสามารถ ไดแก ดานภาษา ดานคำนวณ
และดา นเหตผุ ล ระดบั เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาสงู กวา ระดับศึกษาธกิ ารภาค

20

กราฟ 4 แสดงการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลีย่ รอยละผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเ รียนระดับชาติ
(National Test : NT) ความสามารถดานภาษา ดา นคำนวณ ดานเหตผุ ล นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปท ่ี 3
ปการศึกษา 2560 ระหวา งระดับเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา กับ ระดับศึกษาธกิ ารภาค
สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

60 ระดับเขตพืนท(ี สพป.ลป.เขต 1)
50 ระดบั ศึกษาธิการภาค
40
30 ดา้ นภาษา ดา้ นคาํ นวณ ดา้ นเหตุผล
20
10

0
รวม 3 ดา้ น

ตารางที่ 5 ผลการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผเู รียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ปก ารศึกษา 2560 ระหวางระดบั เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา กับ ระดับสังกัด สพฐ.
สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

ความสามารถ คะแนนเฉลี่ยรอยละ คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ สงู กวา/ต่ำกวา
ระดบั เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา ระดบั สงั กดั สพฐ. (+/-)
รวม 3 ดา น (สพป.ลำปาง เขต 1)
ดานภาษา 45.10 +4.41
ดา นคำนวณ 49.51 51.94 +5.17
ดา นเหตุผล 57.11 38.38 +4.53
42.91 44.98 +3.53
48.51

จากตารางท่ี 5 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผูเ รียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2560 ระหวางระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา กับ ระดับสังกัด สพฐ. พบวา
คะแนนเฉลีย่ รอยละรวม 3 ดานของระดบั เขตพื้นท่ีการศึกษา สูงกวาระดับสงั กดั สพฐ.

21

และเม่ือพิจารณาเปนรายดานยังพบวา คะแนนเฉลี่ยรอยละในทุกความสามารถ ไดแก ดานภาษา ดานคำนวณ
และดา นเหตุผล ระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาสงู กวาระดับสังกัด สพฐ.

กราฟ 5 แสดงการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลย่ี รอ ยละผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเรยี นระดับชาติ
(National Test : NT) ความสามารถดานภาษา ดานคำนวณ ดานเหตุผล นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 3
ปการศึกษา 2560 ระหวา งระดบั เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา กบั ระดับสงั กัด สพฐ.
สังกดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

60

50

40

30 ระดบั เขตพืนท(ี สพป.ลป.เขต 1)
ระดบั สงั กัด สพฐ.

20

10

0 ดา้ นภาษา ดา้ นคาํ นวณ ดา้ นเหตผุ ล
รวม 3 ดา้ น

ตารางท่ี 6 การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู รียนระดับชาติ (National Test : NT)
ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 3 ปก ารศกึ ษา 2560 ระหวางระดบั เขตพื้นทกี่ ารศึกษา กบั ระดบั ประเทศ
สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

ความสามารถ คะแนนเฉลยี่ รอยละ คะแนนเฉลย่ี รอยละ สงู กวา /ต่ำกวา
ระดบั เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา ระดบั ประเทศ (+/-)
รวม 3 ดา น (สพป.ลำปาง เขต 1)
ดา นภาษา 45.25 +4.26
ดา นคำนวณ 49.51 52.67 +4.44
ดานเหตผุ ล 57.11 37.75 +5.16
42.91 45.31 +3.20
48.51

22

จากตารางที่ 6 ผลการเปรียบเทยี บผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู รียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2560 ระหวางระดับเขตพื้นที่การศึกษา กับ ระดับประเทศ พบวา คะแนน
เฉลย่ี รอยละรวม 3 ดา นของระดับเขตพื้นท่กี ารศึกษา สงู กวา ระดับประเทศ

และเม่ือพิจารณาเปนรายดานยังพบวา คะแนนเฉล่ียรอยละในทุกความสามารถ ไดแก ดานภาษา ดานคำนวณ
และดานเหตุผล ระดบั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาสงู กวาระดบั ประเทศ

กราฟ 6 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ยี รอยละผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเรียนระดับชาติ
(National Test : NT) ความสามารถดานภาษา ดา นคำนวณ ดานเหตุผล นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปท ี่ 3
ปการศึกษา 2560 ระหวางระดับเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา กบั ระดับประเทศ
สงั กดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

60

50

40

30 ระดับเขตพืนท(ี สพป.ลป.เขต 1)
ระดับประเทศ

20

10

0 ดา้ นภาษา ดา้ นคาํ นวณ ดา้ นเหตุผล
รวม 3 ดา้ น

23

การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET)
(Ordinary National Education Test)
ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ปก ารศึกษา 2560

สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

ป 2560 เปรยี บเทียบระดบั เขตพ้ืนท่ี

คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉล่ยี
ที่ รายวชิ า ระดับ ระดับสพฐ. ระดบั ประเทศ
เพม่ิ /ลด
เขตพื้นท่ี สพฐ. เพม่ิ /ลด ประเทศ เพิ่ม/ลด 2559 2560 เพิม่ /ลด รอยละ

1 ภาษาไทย 50.12 45.29 4.83 46.58 3.54 55.88 50.12 -5.76 -10.31

2 ภาษาอังกฤษ 40.29 32.73 7.56 36.34 3.95 35.89 40.29 4.40 12.26

3 คณติ ศาสตร 40.94 35.55 5.39 37.12 3.82 44.48 40.94 -3.54 -7.96

4 วิทยาศาสตร 41.69 38.13 3.56 39.12 2.57 43.91 41.69 -2.22 -5.06

รวมเฉล่ยี 43.26 37.93 5.33 39.79 3.47 45.04 43.26 -1.78 -3.95

จากตาราง คะแนนเฉลย่ี O-NET ปก ารศกึ ษา 2560 ระดับเขตพื้นที่การศกึ ษา พบวา รายวิชาทม่ี คี ะแนนเฉลีย่
มากที่สุดไปนอยทส่ี ดุ ตามลำดบั ดงั นี้ ภาษาไทย(50.12) วิทยาศาสตร( 41.61) คณติ ศาสตร( 40.94) และ ภาษาอังกฤษ
(40.29)

เมือ่ เปรียบเทียบกบั ระดบั สังกัด(สพฐ.) พบวา ทกุ รายวชิ ามคี ะแนนเฉล่ียสงู กวา ระดบั สงั กดั (สพฐ.) เรยี ง
ตามลำดับจากมากไปนอย ดังนี้ ภาษาอังกฤษ(7.56) คณติ ศาสตร( 5.39) ภาษาไทย(4.84) และวิทยาศาสตร( 3.56)

เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับระดับประเทศ พบวา ทกุ รายวชิ ามีคะแนนเฉลย่ี สงู กวาระดบั ประเทศ
เรียงตามลำดบั จากมากไปนอ ย ดังน้ี ภาษาองั กฤษ(3.95) คณิตศาสตร(3.82) ภาษาไทย(3.54) และวิทยาศาสตร( 2.57)

เม่อื เปรียบเทยี บคะแนนเฉลย่ี ปการศึกษา 2559 กบั ปก ารศกึ ษา 2560 พบวา รายวิชาทีม่ ีคะแนนเฉล่ียเพิม่ ข้นึ
จำนวน 1 รายวชิ า ไดแก ภาษาอังกฤษ(4.40) สว นรายวชิ าทมี่ คี ะแนนเฉลี่ยลดลง จำนวน 3 รายวิชา เรียงตามลำดบั
จากมากไปนอย ดงั น้ี ภาษาไทย(-5.76) คณิตศาสตร( -3.54) และวทิ ยาศาสตร (-2.22)

24

แสดงการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6
ปก ารศึกษา 2560 ระหวา ง ระดับเขตพนื้ ที่ กบั ระดับ สพฐ.

60.00

50.12
50.00 45.29
41.69
40.00 40.29 40.94 38.13
32.73 35.55

คะแนนเฉ ่ลีย 30.00 ระดับเขตพ้นื ที่

20.00 ระดบั สพฐ.

10.00

0.00
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร

รายวิชา

25

แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 6
ปการศึกษา 2560 ระหวาง ระดบั เขตพืน้ ท่ี กับ ระดับประเทศ

60.00

50.00 50.12
46.58

40.00 40.29 40.94 41.69
36.34 37.12 39.12

คะแนนเฉลีย 30.00 ระดับเขตพืนที
20.00 ระดบั ประเทศ

10.00

0.00 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภาษาไทย

รายวิชา

แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 6
ระดบั เขตพื้นที่ ระหวา ง ปก ารศึกษา 2559 กบั ปก ารศึกษา 2560

26

60.00 55.88
50.00 50.12

40.29 44.48 43.91
35.89 40.94 41.69

40.00

คะแนนเฉลีย 30.00 ปีการศกึ ษา 2559
ปีการศึกษา 2560

20.00

10.00

0.00 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภาษาไทย

รายวิชา

การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้ืนฐาน (O-NET)
(Ordinary National Education Test)
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2560

สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

ป 2560 เปรยี บเทยี บระดบั เขตพ้นื ที่

ท่ี รายวิชา ระดับ คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉล่ยี
ระดับสพฐ. ระดบั ประเทศ เพ่มิ /ลด
เขตพ้นื ที่ สพฐ. เพ่ิม/ลด ประเทศ เพ่มิ /ลด 2559 2560 เพิม่ /ลด รอยละ

1 ภาษาไทย 48.31 48.77 -0.46 48.29 0.02 45.53 48.31 2.78 6.11

2 ภาษาอังกฤษ 27.84 30.14 -2.30 30.45 -2.61 28.12 27.84 -0.28 -1.00

3 คณิตศาสตร 25.08 26.55 -1.47 26.30 -1.22 26.80 25.08 -1.72 -6.42

4 วิทยาศาสตร 32.14 32.47 -0.33 32.28 -0.14 34.08 32.14 -1.94 -5.69

รวมเฉลย่ี 33.34 34.48 5.33 34.33 -0.99 33.63 33.34 -0.29 -0.86

27

จากตาราง คะแนนเฉลี่ย O-NET ปก ารศึกษา 2560 ระดบั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา พบวา รายวิชาท่ีมีคะแนนเฉล่ีย
มากท่สี ุดไปนอ ยทส่ี ุดตามลำดับ ดังน้ี ภาษาไทย(48.31) วทิ ยาศาสตร(32.14) ภาษาองั กฤษ(27.84) และคณิตศาสตร
(25.08)

เมอ่ื เปรยี บเทียบกับระดับสงั กัด(สพฐ.) พบวา ทุกรายวิชามคี ะแนนเฉลี่ยตำ่ กวาระดบั สงั กดั (สพฐ.) เรียง
ตามลำดับจากมากไปนอ ย ดงั นี้ ภาษาอังกฤษ(-2.30) คณติ ศาสตร( -1.47) ภาษาไทย(-0.46) และวทิ ยาศาสตร(-0.33)

เมือ่ เปรียบเทียบกับระดบั ประเทศ พบวา รายวิชาท่มี คี ะแนนเฉล่ยี สูงกวา ระดับประเทศ มเี พียง 1 รายวิชาไดแ ก
ภาษาไทย(0.02) สว นรายวชิ าทม่ี คี ะแนนเฉลีย่ ต่ำกวา ระดบั ประเทศ จำนวน 3 วชิ า เรยี งตามลำดบั จากมากไปนอ ย
ดงั นี้ ภาษาองั กฤษ(-2.61) คณิตศาสตร(-1.22) และวิทยาศาสตร(-0.14)

เม่ือเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี ปก ารศกึ ษา 2559 กบั ปการศกึ ษา 2560 พบวา รายวิชาทม่ี คี ะแนนเฉลย่ี เพม่ิ ข้นึ
จำนวน 1 รายวชิ า ไดแ ก ภาษาไทย(2.78) สว นรายวิชาทม่ี คี ะแนนเฉลย่ี ลดลง จำนวน 3 รายวิชา เรียงตามลำดบั จาก
มากไปนอ ย ดงั น้ี วิทยาศาสตร(-1.94) คณติ ศาสตร( -1.72) และภาษาองั กฤษ (-0.28)

28

แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 3
ปการศกึ ษา 2560 ระหวา ง ระดับเขตพนื้ ท่ี กบั ระดบั สพฐ.

60.00

50.00 48.3148.77

40.00 32.14 32.47

คะแนนเฉล่ีย 30.00 27.84 30.14 25.0826.55 ระดับเขตพ้นื ที่

20.00 ระดบั สพฐ.

10.00

0.00
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร

รายวิชา

29

แสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้ืนฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3
ปการศกึ ษา 2560 ระหวา ง ระดบั เขตพ้นื ที่ กบั ระดบั ประเทศ

60.00

50.00 48.31 48.29

40.00

คะแนนเฉ ่ลีย 27.8430.45 32.14 32.28

30.00 25.0826.30 ระดับเขตพนื้ ที่

20.00 ระดับประเทศ

10.00

0.00
ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร

รายวิชา

แสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3
ระดบั เขตพ้ืนที่ ระหวา ง ปก ารศกึ ษา 2559 กับ ปการศึกษา 2560

30

คะแนนเฉล่ีย 60.00 ปการศึกษา 2559
50.00 45.5348.31 ปก ารศกึ ษา 2560

40.00 34.0832.14
30.00 28.12 27.84 26.8025.08
20.00

10.00

0.00
ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร

รายวชิ า

ผลการประเมินสว นราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการ (มาตรา 44) ประจำป
งบประมาณ พ.ศ. 2560

สพป. ระดับ องคประกอบที่ 1 องคป ระกอบที่ 2 องคประกอบท่ี 2
สพป.ลำปาง ระดับมาตรฐาน เปนไปตามเปา หมาย สูงกวาเปาหมาย สูงกวาเปาหมาย

ผลการตดิ ตาม และประเมนิ ผลการบริหารและจดั การของสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ตามเกณฑมาตรฐานสำนกั งาน
เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา พ.ศ. 2557 ประจำปง บประมาณ 2559 ของสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง
เขต 1

มาตรฐาน/ตัวบง ชี้ คะแนนทไี่ ดรับ ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานที่ 1 การบรหิ ารจดั การองคการสคู วามเปน เลศิ (30%) 27.91 ดเี ยี่ยม

ตัวบง ชท้ี ่ี 1 การบริหารจดั การที่ดี 41.72 ดมี าก
ตวั บง ชท้ี ่ี 2 การพฒั นาสอู งคก ารแหง การเรียนรู 52.15 ดเี ย่ียม
ตัวบงชีท้ ี่ 3 การกระจายอำนาจและการสงเสริมการบรหิ ารจัดการอยางมสี วนรวม
ตัวบงช้ที ี่ 4 การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ --
45.70 ดีเยย่ี ม

31

มาตรฐานที่ 2 การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ (30%) 27.00 ดีเยี่ยม
ดเี ย่ียม
ตวั บง ชี้ท่ี 1 การบริหารงานดานวิชาการ 37.50 ดมี าก
ตวั บง ชท้ี ี่ 2 การบรหิ ารงานดา นงบประมาณ 30.00
ตวั บง ช้ที ี่ 3 การบรหิ ารงานดานบรหิ ารงานบคุ ล -
ตัวบง ชท้ี ่ี 4 การบริหารงานดา นการบริหารทั่วไป - ดีเยย่ี ม
ตวั บง ชี้ท่ี 5 การขับเคลื่อนนโยบายไปสูการปฏบิ ตั ิ 37.50 ดีมาก
30.00
มาตรฐานที่ 3 ผลการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาของสำนกั งานเขต ดีมาก
พน้ื ทก่ี ารศกึ ษา (40%) 29.00
ดเี ย่ยี ม
ตัวบง ชที้ ่ี 1 สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามผี ลงานทแ่ี สดงความสำเร็จและเปนแบบอยางได 25.00 ดีเย่ยี ม
25.00 ปรบั ปรงุ
ตวั บงชี้ท่ี 2 สถานศกึ ษามคี ุณภาพตามมาตรฐานการประกนั คุณภาพการศึกษา 5.00 ดมี าก
ตวั บง ชี้ที่ 3 ผเู รียนทกุ ระดบั การศกึ ษามคี ณุ ภาพตามหลกั สตู ร 20.00
ตัวบงชท้ี ี่ 4 ผเู รียนมีคณุ ภาพตามจดุ เนนและสมรรถนะสำคญั ตามหลกั สูตรแกนกลาง ดมี าก
การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 20.00
ตวั บงชท้ี ี่ 5 ผูเรียนมคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคต ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ัน ดีมาก
พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 20.00 ปรับปรงุ
ตวั บงชท้ี ี่ 6 ผูเ รยี นมสี ขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ ท่ีดี 5.00
ตวั บงชท้ี ่ี 7 ประชากรวัยเรียนไดร บั สิทธแิ ละโอกาสทางการศกึ ษาข้ันพื้นฐานเทาเทยี ม ดเี ย่ียม
กัน และสง เสรมิ การศกึ ษาตอ ในระดับทสี่ งู ข้นึ 25.00 ดเี ย่ียม
ตัวบงชท้ี ่ี 8 ความพึงพอใจของผรู ับบรกิ ารและผมู สี วนไดเ สยี
83.91
คดิ เปน รอ ยละ

ผลการบริหารงบประมาณ ประจำปงบประมาณ 2561

ท่ี รายการ งบประมาณ รวมเบกิ จา ย คิดเปนรอยละ
1 งบบคุ ลากร 643,633,838.55
2 งบดำเนินงาน 64,008,053 643,633,838.55 100
3 งบลงทุนป 33,522,040
4 งบเงนิ อดุ หนุน 72,586,917 62,313,206.67 100

29,608,563.12 88.33

72,574,417 99.98

32

สรปุ ผลการไดร ับการสนับสนนุ งบประมาณป 2561 จากองคกรปกครองสว นทองถิ่น/หนว ยงานอ่นื

สพป/อำเภอ จำนวน ร.ร.ที่ จำนวนโครงการ งบประมาณท่ี งบประมาณท่ี รอยละของการไดรบั
ขอรับการ ขอรบั การ
สพป.ลำปาง เขต 1 สนับสนุน 1 สนับสนุน ไดร ับการ การสนับสนุน
เมืองลำปาง 61 3,000,000
งาว - 19 2,025,070 สนับสนุน
หางฉตั ร 23 50 507,210
แมเมาะ 11 62 1,574,205 3,000,000 100%
13 15,583,796
รวมท้งั สนิ้ 15 192 1,671,070 83.76%
22,690,281
62 410,210 80.88%

1,000,205 63.54%

14,246,406 91.42%

20,327,891 89.59%

สว นผลสรุปดา นการบริหารจดั การในระดบั โรงเรยี นพบวาโรงเรียนระดบั เดียวกนั ประเภทเดียวกนั
ยังมีความแตกตา งทง้ั ในดานการบรหิ ารจดั การ ดานคณุ ภาพการศกึ ษา รวมถึงขาดแรงจูงใจและมาตรการในการสงเสริม
สนบั สนุนใหอ งคก ร ชมุ ชน บคุ คล สถาบนั วิชาชีพ หรอื ภาคสวนตาง ๆ ของสงั คมเขา มามสี ว นรวมในการจดั การศึกษายงั มี
นอยและไมไ ดน ำไปสกู ารปฏิบัติอยา งจรงิ จงั ดา นกระบวนการมสี วนรวมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พบวา
กระบวนการมสี วนรวมของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานอยใู นระดับคอนขา งนอ ย โดยเฉพาะบทบาททส่ี ำคัญคอื
บทบาทในการกำหนดนโยบายตามแผนพฒั นาการศึกษา บทบาทในการกำหนดหลักสตู ร กระบวนการจดั การเรียน
การสอน บทบาทในการบรหิ ารงบประมาณ บทบาทในการกำกับ ติดตาม ประเมนิ ผล ทั้งนสี้ าเหตุเนอ่ื งมาจาก
คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐานมีความเขา ใจวา บทบาทดังกลา วเปน หนา ท่ีของผบู รหิ ารโรงเรียนและครู ตรงกนั ขาม
กับโรงเรยี น บางแหงทผ่ี บู รหิ ารยงั ใหค วามสำคญั นอ ยในดา นกระบวนการมสี ว นรวม

ดงั นั้น กระบวนการมีสวนรว มระหวางโรงเรยี นกบั คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานจะ
ประสบผลสำเรจ็ มากนอยเพียงใดนน้ั ข้ึนอยกู ับภาวะผูนำ และเทคนคิ การบรหิ ารงานของผูบรหิ ารโรงเรยี น เชน เดียวกบั
ระดับเขตพื้นทีก่ ารศึกษา คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. มีบทบาทหนาทใี่ นการเขามามีสว นรวมในการบรหิ ารจัดการ และ
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ภายใตก ารประสานงานระหวา งองคคณะบคุ คล มีการเชือ่ มโยง บรู ณาการเปน ระบบตอเน่ือง
ท้ังดานนโยบาย การขบั เคล่ือนนโยบายไปสกู ารปฏิบตั ิ และการติดตามประเมนิ รายงานผลการดำเนนิ งานดวย

สว นท่ี 2
สถานภาพของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

จากการศกึ ษาสถานภาพผลการดำเนนิ งานในรอบปท ผี่ า นมา และจากการระดมความคดิ เห็น
การวเิ คราะหจ าก ทมี บริหารและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน ในสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง
เขต 1 สรปุ ผลการวิเคราะหส ภาพแวดลอม ทง้ั ภายในและภายนอกโดยเครอื่ งมอื /เทคนิค : SWOT Analysis โดย
ประเมินสภาพแวดลอ มภายใน ภายใต 4 M และ C-PEST ดังนี้

วเิ คราะหสภาพแวดลอ มภายใน(Internal Environment)

จุดแข็ง (Strengths) จุดออ น (Weaknesses)
1.อาคารสถานที่ในการปฏิบตั งิ านมคี วามพรอ มและ 1.บคุ ลากรเฉพาะทาง ICT/Computer ไมเพยี งพอ 0.42
เพียงพอ 0.4 2.บคุ ลากรทางการศึกษาไมครบตามกรอบอัตรากำลงั 0.39
2.สภาพแวดลอมเออื้ ตอ การปฏิบัตงิ าน 0.4 3.การนำความรูและทกั ษะทไ่ี ดจากการพฒั นา ไปใช
3.การบรหิ ารงบประมาณมปี ระสทิ ธภิ าพ 0.4 ในการปฏิบตั งิ าน 0.39
4.มีโครงสรา งระบบการบรหิ ารทีช่ ดั เจน 0.4 4.ทกั ษะการทำงานเปนทีมและการประสานงานระหวา งกลมุ 0.36
5.องคค ณะบุคคลมสี ว นรว มในการบริหารจดั การเขตพ้ืนที่ 5.การบรู ณาการในการใชขอ มลู รว มกนั 0.36
การศึกษา(กตปน.) 0.4 6.ความสามารถดา นการสื่อสารภาษาตา งประเทศของ
6.บุคลากรมจี ิตบริการ 0.4 บคุ ลากร 0.36
7.การมสี ว นรว มในการปฏิบัตงิ าน 0.4 7.สารสนเทศเพ่ือใชใ นการบรหิ ารจดั การไมครอบคลุม
8.บคุ ลากรทุกฝา ยมคี วามรู ตามมาตรฐานวิชาชพี ในการ ครบถวน 0.24
ปฏบิ ตั งิ าน 0.4 8.ระบบอินเตอรเ น็ตไมร องรบั การใชง านจำนวนมากในเขต
9.บคุ ลากรไดรับการพฒั นาอยางตอ เนอื่ ง 0.32 พน้ื ที่ 0.24
10.มีโปรแกรมสำเรจ็ รปู ท่คี รอบคลมุ การปฏิบตั ิงานทุกดา น
0.28 คา เฉลยี่ = 2.76
11.มีงบประมาณในการบรหิ ารจัดการในเขตพ้นื ที่เพยี งพอ
0.28
12.การบรหิ ารจัดการเปน ระบบตาม หลักธรรมาภิบาลและ
มาตรฐานเขตพื้นท่ี 0.28
13.มรี ะบบควบคุมภายใน 0.28
คา เฉลยี่ = 4.64

34

สภาพแวดลอมภายนอก (External Environment)

โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)

1.มยี ุทธศาสตรช าติ 20 ป และแผนพฒั นาการศึกษา 1.การปรับโครงสรา งของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทำใหเพมิ่

ชาติ 20 ป เปนกรอบแนวทางในการพฒั นา ขน้ั ตอนในการปฎบิ ัตงิ าน 0.27

การศึกษา 0.65 2.นโยบายการลดอัตรากำลงั คนภาครฐั ทำใหบ ุคลากรไม

2.รัฐบาลใหค วามสำคัญและกำหนดนโยบายที่ เพยี งพอ 0.27

สนบั สนุนการจัดการศึกษา 0.65 3.การสง่ั การของหนวยงานตน สงั กัดเรง ดวน 0.27

3.มีหนวยงานและสถาบันทจี่ ดั การศกึ ษาอยา ง 4.โครงสรางประชากรวัยเรียนลดลง ผูสงู อายุเพม่ิ ขึ้น 0.27

หลากหลายทัง้ ภาครัฐและเอกชน 0.52 5.สภาพเศรษฐกิจของผปู กครองสง ผลกระทบตอ การศึกษา

4.มีแหลง เรียนรู ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่นิ ทห่ี ลากหลาย 0.52 0.27

5.สงั คมและชมุ ชน เหน็ คุณคาและความสำคญั ของ 6.ระเบียบ/แนวปฏบิ ัติดานงบประมาณ ทำใหม ีขอจำกดั

การจดั การศกึ ษา 0.52 การใชจายงบประมาณ 0.24

6.ความเจรญิ กา วหนาทางเทคโนโลยที ่ที นั สมัย 0.48 7.การโอนงบประมาณลา ชา 0.24

7.เครือขา ยองคกรและบุคคลภายนอกเขา มามีสวนรวมในการ 8.หนว ยงานตนสงั กดั มกี ารดำเนินงานนโยบายทีซ่ ้าํ ซอ น

พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 0.48 0.24
9.สภาพการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมมผี ลตอพฤตกิ รรม
8.ไดรับการสนบั สนนุ งบประมาณจากภาครฐั เอกชน ผเู รียน 0.24
องคก รปกครองสวนทองถ่นิ และหนว ยงานอืน่ 0.44 10.การเรงรัดการใชจ ายงบประมาณไมสอดคลอ งกับการ

คาเฉล่ีย = 4.26

ปฏิบัตงิ าน 0.24

11.กรอบวงเงินงบประมาณไมชัดเจน 0.24

12.การบรู ณาการในการใชขอ มูลรว มกัน ระหวา ง

หนวยงานตา งสงั กดั 0.21

คา เฉล่ยี = 3.00

ผลการวิเคราะหส ถานภาพองคกรของสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1
พบวาอยดู านโอกาสและจดุ แข็ง (Stars) แสดงใหเ ห็นวา สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต1
มสี ภาพปจ จัยภายนอกเอ้อื และแข็ง คอื ภายนอกใหการสนบั สนุน ภายในองคกรดีมปี ระสิทธภิ าพในการรวมมอื และ
ทำงานรวมกนั สง ผลให สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 เปน องคกรทีม่ ีคณุ ภาพประสบผลสำเรจ็
แตอยา งไรก็ตามมีขอ สงั เกตวา หนว ยงานยังมไิ ดมีความสมบรู ณ สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1
ยงั คงมีปจ จยั บางอยางทเี่ ปนอปุ สรรค และจุดออนอยู แตก เ็ ปนสวนนอ ย สวนใหญจ ะดี ดงั นนั้ เมอื่ วเิ คราะหเ ปน
Stars แลว สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 ยงั ตอ งรกั ษาสถานภาพของตนเองไวอ ยา ใหตกตำ่
และมกี ารพฒั นาตอ ยอดรวมถงึ สถานการณใ นการพลกิ วกิ ฤตใหเปน โอกาสกำจัดจดุ ออ นทย่ี งั คงอยูใหลดนอยหรอื หมดไป

ตามบริบท

สวนท่ี 3
กรอบนโยบายและทิศทางพัฒนาการศกึ ษา

จากบทสรปุ สภาพการจัดการศกึ ษา ผลการวเิ คราะหส ภาพแวดลอมภายในและภายนอก
ผลจากการศกึ ษาวิเคราะห พระราโชบายดา นการศกึ ษา ในสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวมหาวชิราลงกรณ
บดนิ ทรเทพยวรางกรู ยทุ ธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ยทุ ธศาสตรข องรฐั บาล แผนการศกึ ษาแหงชาติ
พ.ศ. 2560-2579 นโยบายและยุทธศาสตรข องสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ป 2562 ทไ่ี ด
กำหนดกรอบแนวคดิ วาการศึกษาตองเปน ไปเพ่ือการพฒั นาทยี่ ง่ั ยืน สรา งและพฒั นาใหค นไทยรจู กั ศกั ยภาพ
ของตนเอง ศักยภาพของผูอนื่ เปน บุคคลทีม่ ีความรู ความสามารถดา นวิชาการ วชิ าชพี มที กั ษะในการประกอบ
อาชพี สอดคลองกบั การพฒั นาศกั ยภาพประเทศ พ้ืนทห่ี รอื ทองถิ่น กา วสปู ระชาคมอาเซยี นและประชาคมโลก
และศตวรรษท่ี 21

ดงั นั้น เพ่ือใหก ารบรหิ ารจัดการและการพัฒนาการศกึ ษาเปน ไปอยา งมีคณุ ภาพประสทิ ธภิ าพ
รองรับยุทธศาสตรการจดั การศึกษาเพอ่ื การพฒั นาทย่ี งั่ ยนื พระราโชบายดานการศึกษา ในสมเดจ็ พระเจาอยหู ัว
มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ยุทธศาสตรช าติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตรของรฐั บาลตาม
นโยบายรัฐบาลกระทรวงศึกษาธกิ าร และสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน สำนกั งานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 จงึ ไดก ำหนดกรอบนโยบายและทิศทางการพัฒนาการศึกษา และ
แนวทางขับเคลอ่ื นนโยบายสกู ารปฏิบัติ ปง บประมาณ พ.ศ.2562 ดงั น้ี

วิสยั ทัศน

สรา งคนใหเ ปน พลเมอื งดี มีคุณภาพ พรอมสำหรับวิถีชวี ิตในอนาคต

คานิยม

ยึดม่ันหลกั ธรรมาภบิ าล ปฏิบัตงิ านมุงผลสัมฤทธ์ิ

อตั ลกั ษณ

บริการดี มีมนษุ ยสัมพันธ

เอกลกั ษณ

องคก ารดีมคี ุณภาพ

พันธกจิ

1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางความม่นั คงของสถาบนั หลักของชาตแิ ละการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

36

2. พัฒนาศักยภาพผูเรียนเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแขง ขันโดยพฒั นาคุณภาพผูเรยี นใหมี
ความรู ทกั ษะวชิ าการ ทักษะชีวิต ทกั ษะวิชาชพี คณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี 21

3. สงเสรมิ การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหเ ปน มืออาชีพ
4. สรา งโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลื่อมล้ำ ใหผูเรียนทุกคนไดรับบริการทางการศึกษา

อยา งท่ัวถงึ และเทาเทียม
5. สง เสรมิ การจัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ติ ทเี่ ปน มติ รกบั สงิ่ แวดลอ ม ยึดหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง และเปาหมายโลกเพื่อการพัฒนาทย่ี ่ังยืน (SDGs)
6. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัด

การศกึ ษา

เปาหมาย

1. ผูเรียน เปนบุคคลแหงการเรียนรู คิดริเริ่มและสรางสรรคนวัตกรรม มีความรู มีทักษะและ
คณุ ลักษณะของผเู รียนในศตวรรษที่ 21 มีสขุ ภาวะทีเ่ หมาะสมตามวยั มีความสามารถในการ
พงึ่ พาตนเอง และปรบั ตวั ตอ เปนพลเมืองและพลโลกทดี่ ี

2. ผเู รียนที่มีความตองการจำเปนพิเศษ กลุมชาตพิ ันธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลุมท่ีอยใู นพื้นที่
หางไกลทุรกันดารไดรับการศึกษาอยา งทั่วถึง เทา เทยี ม และมคี ณุ ภาพ พรอ มกา วสสู ากล ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3. ครู เปนผูเรียนรู มีจิตวิญญาณความเปนครู มีความแมนยำทางวิชาการ และมีทักษะการ
จดั การเรียนรูทหี่ ลากหลายตอบสนองผูเรียนเปนรายบุคคล เปนผูสรางสรรคนวตั กรรม และ
ทกั ษะในการใชเ ทคโนโลยี

4. ผบู ริหารสถานศกึ ษา มีความเปนเลิศสว นบุคคล คิดเชิงกลยทุ ธแ ละนวตั กรรม มีภาวะผูน ำทาง
วิชาการ มีสำนึกความรบั ผดิ ชอบ (Accountability) และการบรหิ ารแบบรว มมอื

5. สถานศึกษา มคี วามเปน อสิ ระในการบรหิ ารงานและจัดการเรยี นรู รว มมอื กบั ชุมชน
ภาคเอกชน และผเู กี่ยวขอ งในการจัดการศกึ ษาระดบั พืน้ ท่ี จดั สภาพแวดลอ มในโรงเรยี นเพอ่ื
การเรียนรูในทกุ มิติ เปนโรงเรียนนวัตกรรม

6. สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มีการบริหารงานเชิงบูรณาการ เปนสำนักงานแหงนวัตกรรม
ยุคใหม ใชข อมูลสารสนเทศและการวิจยั และพัฒนาในการขับเคลื่อนคุณภาพ กำกับ ติดตาม
ประเมนิ และรายงานผลอยา งเปน ระบบ

นโยบาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

นโยบายท่ี 1 จดั การศึกษาเพือ่ ความมน่ั คง
นโยบายที่ 2 พฒั นาคณุ ภาพผเู รียน
นโยบายที่ 3 พัฒนาผบู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา

37

นโยบายท่ี 4 สรางโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความ
เหลื่อมลำ้ ทางการศกึ ษา

นโยบายที่ 5 เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การ

กลยทุ ธเชงิ นโยบาย

นโยบายที่ 1 จัดการศกึ ษาเพ่ือความมัน่ คง

1. บทนำ
การจดั การศกึ ษาเพ่อื ความม่นั คง จะเนน การจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพผูเรียน

ในเขตพ้ืนท่ีพเิ ศษ ท่ีมีความยากลำบากในการบริหารจดั การ เชน การจัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สรางคุณภาพของ
ประชากร วัยเรียนกลมุ ชาตพิ ันธุ กลุมท่ีดอ ยโอกาส และกลุม ท่ีอยใู นพืน้ ท่หี างไกลทรุ กันดาร พ้ืนท่สี ูง เพอ่ื สรา ง
ความมง่ั คงใน ระยะยาว

2. เปาประสงค
เสรมิ สรางคุณภาพประชากรวยั เรยี นกลุมชาติพันธุ กลุมทีด่ อยโอกาส และกลุมที่อยใู นพน้ื ท่ี

หา งไกลในถิน่ ทรุ กันดาร พ้ืนท่ีสูง เพอ่ื สรา งความมั่งคงในระยะยาว
3. ประเดน็ กลยทุ ธ
3.1 สงเสริมและสนับสนุนใหผูเรียนในเขตพื้นท่ีเฉพาะ กลุมชาติพันธุ กลุมที่ดอยโอกาส
และกลมุ ทอี่ ยูใ นพืน้ ทหี่ างไกลทุรกันดาร พ้ืนที่สูง ไดร ับการบริการดานการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน ที่มคี ณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความตอ งการ

3.1.1 ตวั ชีว้ ัด
(1) จำนวนผูเรียนบานไกลไดรับโอกาสทางการศึกษาจากการไดเขาพัก
ในโรงเรียนที่มีหอพักนอน หรือการสนับสนุนการเดินทางจากบานถึง
โรงเรยี นอยา งปลอดภัย
(2) จำนวนโรงเรียนไดรับการสนับสนุนงบประมาณเพ่ือใชในการประกอบ
อาหาร การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสภาพหอพักนอนใหมี
คณุ ภาพทีด่ ี อยางเหมาะสม
(3) จำนวนผูเรียนไดรับการพัฒนาคุณภาพทั้งดานทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต
และทักษะอาชีพ ทเ่ี หมาะสมกับบริบท
(4) จำนวนผูเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมที่ดอยโอกาส และกลุมท่ีอยูในพ้ืนท่ี
หางไกลทุรกันดาร ไดรับการสงเสริมการเรียนรูที่มีคุณภาพ และเกิด
จิตสำนกึ รักในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 

38

(5) การบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนที่มีผูเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมที่ดอย
โอกาส และกลุมท่ีอยใู นพ้ืนท่ีหางไกลทุรกันดาร ไดร ับการปรับปรงุ และมี
รูปแบบที่มีประสิทธิภาพ

(6) ผูเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมท่ีดอยโอกาส และกลุมท่ีอยูในพ้ืนท่ีหางไกล
ทุรกันดาร มีผลสมั ฤทธิส์ งู ข้นึ

3.1.2 แนวทางการดำเนินการ
(1) สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใน
พืน้ ทส่ี งู ในถิน่ ทุรกันดาร ตามความจำเปน และ เหมาะสมกบั บรบิ ท
(2) พัฒนาการจัดการศกึ ษาที่เหมาะสมกบั สภาพบรบิ ทของพืน้ ทส่ี งู ใน ถนิ่ ทุรกันดาร
(3) พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู สื่อการเรียนรู และการวัดและ
ประเมินผลท่ีเหมาะสมสำหรับการพัฒนาศักยภาพสูงสดุ ผูเรียนกลุมชาติ
พนั ธุ กลุมทีด่ อ ยโอกาส และกลมุ ท่ีอยูในพนื้ ทีห่ า งไกลทุรกันดาร
(4) สง เสรมิ การจดั การเรยี นรโู ดยใชชมุ ชนเปน ฐาน ในการพฒั นาทักษะวิชาการ
ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และภาษาที่ 3 ท่ีสอดคลองและเหมาะสมกับ
สังคมพหวุ ฒั นธรรม

นโยบายที่ 2 พฒั นาคณุ ภาพผเู รียน

1. บทนำ
การพัฒนาคุณภาพผูเรยี น มุงเนนพัฒนาประชากรวัยเรียนทุกคนและทุกกลุมเปาหมาย ซ่ึง

หมายรวมถึง กลุมผูเ รียนที่มีความตองการจำเปนพเิ ศษ กลุมชาติพนั ธุ กลุมผูดอ ยโอกาส และกลุม ท่ีอยใู นพน้ื ท่ี
หางไกลทุรกันดาร ในทุกมิติ โดยมีเปาหมาย เพื่อใหผูเรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ มีทัศนคตทิ ่ีถูกตอ งตอบานเมอื งเปนพลเมอื ง
ดขี องชาตแิ ละเปน พลโลกที่ดี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีทกั ษะที่จำเปน ในศตวรรษท่ี 21 มคี วามเปน เลิศทางวชิ าการ มี
ทักษะวิชาชีพ และมีทักษะชีวิตที่เหมาะสมสอดคลองกับสังคมปจจุบัน โดยการพัฒนาระบบการเรียนรูท่ี
ตอบสนองตอ การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยมปี ระเด็นกลยทุ ธ ดงั น้ี 1) ปรบั ปรุงและพฒั นาหลกั สตู รทกุ
ระดับการศกึ ษาใหเออื้ ตอการพัฒนาสมรรถนะผูเรยี นเปนรายบุคคล มีทกั ษะทจี่ ำเปนในศตวรรษที่ 21 นำไปสู
การจัดการศึกษาเพื่อการมงี านทำ (Career Education) 2) พัฒนาผูเรียนทุกคนใหมีความรักในสถาบนั หลัก
ของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีทัศนคติท่ีดีตอ
บานเมือง มหี ลกั คดิ ทีถ่ ูกตอง เปนพลเมืองดขี องชาติและเปนพลเมอื งโลกที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม 3) พฒั นา
คุณภาพของผูเรียน ใหมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 มีความเปนเลิศดานวิชาการ นำไปสูการสรางขีด

39

ความสามารถในการแขง ขัน 4) พฒั นาผูเรยี นใหมีทักษะอาชพี และทักษะชีวติ มสี ขุ ภาวะทีด่ สี ามารถดำรงชีวิต
อยูในสังคมไดอยางมีความสุข 5) การจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเปาหมายโลกเพ่ือการพัฒนาอยางย่ังยืน
(SDGs) เพอ่ื สรางเสรมิ คณุ ภาพชีวิตที่เปนมติ รกบั สง่ิ แวดลอ ม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 6) พัฒนา
คณุ ภาพผูเรียนท่ีมีความตองการจำเปน พเิ ศษ และ 7) นำ Digital Technology มาใชในการจดั การเรียนรูใหแก
ผูเรียนเปนรายบุคคลตามสมรรถนะ ความตองการ และความถนัด สรา งสังคมแหงการเรียนรูอยางตอเน่ือง
ตลอดชีวติ

2. เปา ประสงค
1. ผูเรียนทุกคนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีทัศนคติท่ีถูกตองตอบานเมือง มี
หลกั คิดทถ่ี ูกตอ ง และเปน พลเมอื งดขี องชาติ และการพลเมอื งโลกทดี่ ี (Global Citizen)
2. ผูเรียนทุกคนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคานิยมท่ีพึงประสงค มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบ
ตอ สงั คมและผอู ่ืน มธั ยัสถ อดออม โอบออ มอารี มวี นิ ัย รักษาศีลธรรม
3. ผูเรียนทุกคนไดรบั การพัฒนาและสรางเสริมศกั ยภาพในแตละชวงวัยอยางมีคณุ ภาพมีทกั ษะ
ทจ่ี ำเปน ในศตวรรษท่ี 21 มีความเปนเลิศทางดานวิชาการ มีทักษะส่อื สารภาษาอังกฤษ
และภาษาท่ี 3 มนี ิสัยรกั การเรยี นรแู ละการพัฒนาตนเองอยา งตอ เนื่องตลอดชวี ิต และมี
ทักษะอาชีพตามความตอ งการและความถนดั
4. ผเู รียนที่มคี วามตองการจำเปน พิเศษ มีพฒั นาการตามศกั ยภาพของแตล ะบุคคล ทั้งในดา น
ที่มีพัฒนาการปกติและดานที่มีความบกพรองหรือความแตกตางทางการเรียนรู หรือ
ความสามารถพิเศษ ตามที่ระบุไวในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คลหรอื แผนการใหบริการ
ชว ยเหลือเฉพาะครอบครัว ซ่ึงจดั ทำขึน้ บนพนื้ ฐานความตอ งการจำเปน เฉพาะของผเู รียน
5. ผูเรียนที่มีความตองการจำเปนพิเศษ มีความพรอมสามารถเขาสูบริการชวงเช่ือมตอ
(Transitional Services) หรือการสง ตอ )Referral) เขาสูการศึกษาในระดบั เดียวกันและท่ี
สงู ข้ึน หรอื การอาชีพหรอื การดำเนนิ ชีวิตในสงั คมไดต ามศกั ยภาพของแตละบคุ คล
6. ผูเรียนทุกคนมีทักษะชีวิต มีสุขภาวะท่ีเหมาะสมตามวัย มีความเขมแข็ง อดทน และ
สามารถพ่ึงตนเองไดในสังคมอนาคตท่ีซับซอนและการปองกันตนเองจากภัยคุกคาม
รูปแบบใหม สามารถปองกนั ตนเองจากปญหายาเสพติดได

3. ประเดน็ กลยุทธ
3.1 ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษา ใหเอื้อตอการพัฒนาสมรรถนะ
ผเู รียนเปนรายบุคคล มีทักษะที่จำเปน ในศตวรรษที่ 21 นำไปสูการจดั การศกึ ษาเพ่อื การ
มีงานทำ (Career Education)

40

3.1.1 ตวั ชีว้ ดั
(1) รอ ยละของสถานศกึ ษาพัฒนาหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ใหสอดคลอ ง
กับทักษะการเรยี นรูในศตวรรษที่ 21 โดยเนนการพฒั นาสมรรถนะผเู รียน
เปน รายบคุ คล เพอ่ื สงเสริมใหผเู รียนมหี ลักคิดทถี่ ูกตอง รักในสถาบนั หลัก
ของชาติ และ ยึ ดม่ั นก ารปก ครองระ บอบ ประ ชาธิป ไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข เปน พลเมอื งดีของชาติ และพลเมืองโลกท่ี
ดี มีความเปนเลิศทางดา นวชิ าการ มีทกั ษะชีวติ และทักษะอาชพี ตามความ
ตองการ และมีทกั ษะในการปองกนั ตนเองจากภัยคกุ คามรูปแบบใหม
(2) รอยละของสถานศึกษาที่มีการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาใหส อดคลองกบั
ความตองการของผูเรียนและพน้ื ที่

3.1.2 แนวทางการดำเนนิ การ
(1) พัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ใหสอดคลองกับทักษะการ
เรียนรูในศตวรรษที่ 21 โดยเนนการพัฒนาสมรรถนะผูเรียนเปนรายบุคคล
เพ่ือสงเสริมใหผเู รียนมีหลักคิดท่ีถูกตอง รักในสถาบันหลักของชาติ และยึด
มั่นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
และเปนพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกทีดี มีความเปนเลิศทางดาน
วชิ าการ มีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพตามความตองการได และมีทักษะ
ชวี ิตในการปอ งกนั ตนเองจากภัยคกุ คามรปู แบบใหม
(2) ปรับปรงุ หลกั สตู รปฐมวยั เพอ่ื ใหเ ดก็ ไดรบั การพฒั นา ทงั้ 4 ดา น สอดคลอ ง
กบั ทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21
(3) สงเสริม สนับสนุนใหส ถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและปรับเปล่ียน
การจัดการเรียนรูใหตอบสนองตอความตองการของผูเรียนและบริบทของ
พื้นที่
(4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศกึ ษา จัดทำแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคลหรือ
แผนการใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัว ซ่ึงจัดทำขึ้นบนพ้ืนฐานความ
ตองการจำเปนเฉพาะของผูเรียนที่มีความตองการจำเปนพิเศษ หรือ
ความสามารถพิเศษ

3.2 พฒั นาผเู รยี นทกุ คนใหม คี วามรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมน่ั การปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ มที ศั นคตทิ ่ีดตี อ บานเมอื ง
มหี ลักคิดที่ถูกตอง เปน พลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกท่ีดี มีคณุ ธรรม จริยธรรม
3.2.1 ตวั ชีว้ ดั

41

(1) รอ ยละของผเู รียนทมี่ พี ฤตกิ รรมทแี่ สดงออกถงึ ความรักในสถาบนั หลักของ
ชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
เปน ประมขุ

(2) รอ ยละของผูเรียนท่ีมพี ฤติกรรมท่แี สดงออกถงึ การมที ัศนคตทิ ่ดี ตี อ
บานเมือง มหี ลักคดิ ที่ถกู ตอง เปน พลเมืองดีของชาติ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม

(3) รอ ยละของสถานศกึ ษาทป่ี รบั ปรงุ หลักสูตร จดั บรรยากาศสงิ่ แวดลอม และ
จดั กิจกรรมการเรยี นรูใหผ ูเรียนแสดงออกถงึ ความรักในสถาบันหลกั ของ
ชาติ ยดึ ม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรง
เปน ประมขุ มที ัศนคตทิ ีด่ ีตอ บา นเมอื ง มหี ลกั คิดทถ่ี กู ตอง เปน พลเมอื งดีของ
ชาติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม

(4) รอยละของสถานศึกษาท่ีนอมนำพระบรมราโชบายดานการศึกษาของใน
หลวงรัชกาลที่ 10 และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปพัฒนาผเู รยี น
ใหมีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต ามที่กำหนดไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ

3.2.2 แนวทางการดำเนินการ
(1) สง เสรมิ และสนับสนุนใหสถานศึกษาปรับปรุงหลักสตู รปรับปรุงหลักสูตร
จดั บรรยากาศสิ่งแวดลอ ม และจดั กจิ กรรมการเรียนรใู หผ ูเรยี นแสดงออกถึง
ความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข มที ัศนคตทิ ดี่ ตี อ บานเมือง มหี ลักคดิ ที่
ถกู ตอง เปนพลเมอื งดขี องชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีคณุ ธรรม จริยธรรม
(2) สง เสรมิ สนบั สนุนให สถานศึกษานอ มนำพระบรมราโชบายดา นการศกึ ษา
ของในหลวงรชั กาลท่ี 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไป
บูรณาการ จดั กจิ กรรมการเรียนรเู พือ่ พฒั นาผูเรียนมีคุณลกั ษณะอนั พงึ
ประสงคต ามท่กี ำหนด

3.3 พัฒนาคุณภาพของผูเรียน ใหมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 มีความเปนเลิศ
ดา นวชิ าการ นำไปสูการสรา งขดี ความสามารถในการแขงขัน
3.3.1 ตวั ช้วี ดั
(1) ดานผูเรียน
1) รอ ยละของผูเรยี นระดบั ปฐมวัย ไดรับการพัฒนารางกาย จิตใจ วินัย
อารมณ สังคม และสติปญ ญา และมีความพรอ มท่จี ะเขา รับการศึกษา
ในระดับท่ีสูงขึน้
2) รอยละของผเู รียนระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานไดรับการพัฒนารา งกาย
จิตใจ วนิ ยั อารมณ สงั คม และสตปิ ญญา มีพัฒนาการทด่ี ีรอบดา น

42

3) รอยละของผูเรียนท่ีอานออกเขียนได คิดเลขเปน และมีนิสัย
รักการอา น

4) รอยละของผูเ รยี นที่มีทักษะการคิด วิเคราะห
5) รอยละของผเู รยี นทผี่ า นการประเมินสมรรถนะท่ีจำเปน ดา นการรเู รอ่ื ง

การอา น (Reading Literacy)
6) รอ ยละของผูเรียนทผ่ี า นการประเมินสมรรถนะทจ่ี ำเปน ดา นการรเู รอื่ ง

คณิตศาสตร (Mathematical Literacy)
7) รอ ยละของผเู รียนทผ่ี า นการประเมินสมรรถนะทจี่ ำเปน ดานการรเู รื่อง

วิทยาศาสตร (Scientific Literacy)
8) รอยละของผูเรียนที่มีทักษะสอื่ สารองั กฤษ และส่ือสารภาษาท่ี 3 ได

อยา งมปี ระสิทธภิ าพ
9) รอยละของผูเรียนท่ีมีทักษะดาน Digital Literacy ในการเรียนรูได

อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
10) รอ ยละของผูเ รียนทม่ี ีความรู และทกั ษะในการปองกันตนเองจาก ภยั

คุกคามรูปแบบใหม
11) รอยละของผูเรียนท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ

ขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) มากกวารอยละ 50 ในแตละวิชาเพ่ิมข้ึนจาก
ปก ารศกึ ษาท่ผี า นมา
12) รอยละ 60 ของผูเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนมีสมรรถนะการ
เรียนรูเร่ืองการอานตั้งแตระดับข้ันพ้ืนฐานข้ึนไป (ระดับ 2) ตาม
แนวทางการประเมิน PISA
13) รอยละ 80 ของผูเรียนทั้งหมดไดรับการประเมินทักษะการคิด
แกปญ หาตามแนวทางการประเมนิ PISA

(2) ดา นสถานศกึ ษา
1) รอยละของสถานศึกษาจัดการเรยี นรทู ่ใี หผเู รยี นไดเ รียนรผู านกิจกรรม
การปฏิบตั ิจริง (Active Learning)
2) รอ ยละของสถานศึกษาทม่ี ีการจดั การเรียนรใู หผเู รียนในลักษณะของ
STEM ศึกษา
3) รอยละของสถานศึกษาที่การจัดการเรียนรูตามกระบวนการ 5
ข้นั ตอน หรอื บนั ได 5 ขนั้ (IS: Independent Study)

43

4) รอ ยละของสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนรู และบรรยากาศส่ิงแวดลอม
ทีส่ ง เสริมสนับสนนุ ใหผูเ รยี นไดเรียนรแู ละฝกทกั ษะดานภาษาองั กฤษ
และภาษาที่ 3 ไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ

3.3.2 แนวทางการดำเนนิ การ
(1) พัฒนาผูเรียนระดับปฐมวัยมีความพรอมดานรางกาย อารมณ สังคม
สตปิ ญญา เพื่อที่จะเขา รบั การพัฒนาการเรยี นรใู นระดบั ที่สงู ขึ้น
(2) สง เสริม สนับสนุนใหส ถานศึกษาจัดสภาพแวดลอมทั้งในและนอกหอ งเรียน
ใหเออื้ ตอ การพัฒนาการเรยี นรูข องเด็กปฐมวยั
(3) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดการเรียนรูระดับปฐมวัยในรูปแบบท่ี
หลากหลาย
(4) สงเสริมการสรา งความรคู วามเขา ใจแกพอ แมผูปกครองเก่ยี วกบั การเลีย้ งดู
เด็กปฐมวัยทีถ่ กู ตอ งตามหลกั จติ วทิ ยาพฒั นาการ
(5) จัดใหมีโรงเรียนตนแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย ใหสามารถพัฒนาเด็ก
กอนประถมใหมีพัฒนาการความพรอม เพื่อเตรียมตัวไปสูการเรียนรูใน
ศตวรรษท่ี 21
(6) พัฒนาผูเรียนสูความเปนเลิศทางวิชาการ โดยเนนการพัฒนาสมรรถนะท่ี
จำเปน 3 ดาน
1) การรเู รือ่ งการอา น (Reading Literacy)
2) การรเู รือ่ งคณติ ศาสตร (Mathematical Literacy)
3) การรเู รื่องวิทยาศาสตร (Scientific Literacy)
(7) พัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะดานดิจิทัล (Digital Competence) และ
สมรรถนะดานการสือ่ สารภาษาองั กฤษ และภาษาที่ 3
(8) มคี วามรู และทักษะในการปอ งกนั ตนเองจากภัยคุกคามรปู แบบใหม
(9) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดการเรียนรูที่ใหผูเรียนไดเรียนรูผาน
กจิ กรรมการปฏบิ ตั จิ รงิ (Active Learning)
(10) สงเสริม สนับสนุนสถานศึกษาท่ีมีการจัดการเรียนรูใหผูเรียนในลักษณะ
ของ STEM ศกึ ษา
(11) สงเสริม สนับสนนุ ใหส ถานศึกษาจดั การเรยี นรตู ามกระบวนการ 5 ขนั้ ตอน
หรอื บันได 5 ขัน้ (IS: Independent Study)
(12) สงเสริมใหสถานศึกษาจัดการเรียนรูอยางเปนระบบมุงเนนการใช
ฐานความรูแ ละระบบความคดิ ในลักษณะสหวทิ ยาการ เชน
1) ความรทู างวทิ ยาศาสตรและการต้งั คำถาม
2) ความเขาใจและความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

44

3) ความรูท างวศิ วกรรม และการคดิ เพือ่ หาทางแกปญหา
4) ความรแู ละทกั ษะในดา นศิลปะ
5) ความรูดานคณิตศาสตร และระบบคิดของเหตุผลและการหา

ความสมั พันธ
(13) สงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษาประเมินสมรรถนะตามแนวทางการ

ประเมิน PISA ดวยระบบการสอบ แบบ Online ใหก ับผูเรยี นทกุ คนตัง้ แต
ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาตอนปลาย จนถึงมัธยมศึกษาตอนตน
(14) สงเสริมสรางความรคู วามเขา ใจในทางการประเมินทกั ษะการคดิ แกปญหา
ตามแนวทางการประเมิน PISA ใหแกศ ึกษานเิ ทศกและครูผูสอน
(15) ใหบริการเคร่ืองมือการวัดและประเมินอิงสมรรถนะตามแนวทางการ
ประเมินผลผเู รยี นรวมกบั นานาชาติ (PISA) ดว ยระบบ Online Testing
(16) สงเสริมใหส ถานศกึ ษาจดั หลักสูตรและแผนการเรียนนำไปสคู วามเปนเลิศ
ในแตละดาน
(17) สงเสริมผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ดานศิลปะดนตรีและกีฬาจัดเปน
หอ งเรียนเฉพาะดาน
(18) พัฒนาศักยภาพของผูเรียนตามความถนัด และเปนนวัตกร ผูสราง
นวัตกรรม
3.4 พัฒนาผูเรียนใหม ที ักษะอาชพี และทกั ษะชวี ิต มสี ขุ ภาวะทด่ี สี ามารถดำรงชีวิตอยูใน
สงั คมไดอยางมคี วามสขุ
3.4.1 ตัวชี้วัด
(1) รอ ยละของผเู รียน มี ID plan และ Portfolio เพ่ือการศึกษาตอและการ
ประกอบอาชีพ
(2) รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนรู และบรรยากาศส่ิงแวดลอมท่ีเอื้อ
ตอการพัฒนาทกั ษะอาชพี ตามความถนัด
(3) รอ ยละของผเู รยี นทมี่ ีสขุ ภาวะทดี่ ีทุกชวงวัย
(4) รอยละของสถานศกึ ษาทมี่ ีระบบปองกันและแกไ ขปญหาในสถานศกึ ษา
3.4.2 แนวทางการดำเนินการ
(1) สรา งกลไกของระบบแนะแนวทางการศกึ ษาเพือ่ สงเสรมิ กระบวนการ
เรยี นรู องิ สมรรถนะและเตรียมความพรอ มสูก ารประกอบสมั มาอาชพี
(2) พัฒนารายวิชาทส่ี งเสริมการศกึ ษาตอและการประกอบอาชีพ
(3) สงเสริมใหสถานศึกษาจัดหลักสูตรทักษะอาชีพควบคูกับวิชาสามัญ เชน
ทวิศึกษาหลกั สตู รระยะส้นั

45

(4) สงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษาจัดการเรียนรูแกผูเรียนตามความสนใจ
ในทกั ษะอาชพี ทตี่ นเองถนัด เพอื่ เตรียมความพรอมกอ นเขา สตู ลาดแรงงาน
และการพัฒนาประเทศ

(5) สง เสรมิ ใหนักเรียนทุกคนไดรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และ
เปนไปตามเกณฑม าตรฐานของอนามยั

(6) และสง เสรมิ การเรียนรูพ ฒั นาดา นอารมณแ ละสงั คม (Social and
Emotional Learning : SEL) ในทุกชวงวยั

(7) สถานศกึ ษามีระบบการปองกันและแกไขปญ หาในสถานศึกษา
3.5 การจดั การศึกษาเพอ่ื การบรรลเุ ปา หมายโลกเพอ่ื การพฒั นาอยางยัง่ ยนื (SDGs) เพอ่ื

สรางเสรมิ คุณภาพชวี ติ ทีเ่ ปนมิตรกบั สงิ่ แวดลอม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
3.5.1 ตัวช้ีวดั

(1) รอ ยละของผเู รียนที่มีพฤติกรรมแสดงออกถึงการดำเนินชีวิตท่ีเปนมิตรกับ
สิง่ แวดลอ ม และการประยุกตใ ชปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

(2) รอยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดสภาพแวดลอมที่สอดคลองกับมาตรฐาน
สิ่งแวดลอม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Environmental
Education Sustainable Development: EESD)

(3) ทุกสถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อใหบรรลุเปาหมายโลก เพ่ือการพัฒนา
อยา งยัง่ ยืน (Global Goals for Sustainable Development)

3.5.2 แนวทางการดำเนินการ
(1) สง เสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดการเรียนรูเพ่อื พัฒนาผูเรียนตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(2) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาการจัดการศึกษาเปาหมายโลกเพื่อ
การพัฒนาอยา งยั่งยืน (Global Goals for Sustainable Development)
(3) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาและหนวยงานทุกสังกัดจัดสิ่งแวดลอม
สังคม และเศรษฐกิจใหสอดคลองกับหลัก Zero waste และมาตรฐาน
สิง่ แวดลอมเพ่ือการพัฒนาทีย่ ่ังยืน(Environmental Education Sustainable
Development: EESD)
(4) สง เสริม สนบั สนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมการอนรุ ักษสง่ิ แวดลอ ม และ
การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางตอเนอื่ ง

46

3.6 พัฒนาคุณภาพผเู รียนทีม่ ีความตองการจำเปนพเิ ศษ (เดก็ พิการเรยี นรว ม)
3.6.1 ตวั ชว้ี ดั
(1) รอ ยละของผูเรียนท่ีมคี วามตองการจำเปนพเิ ศษ มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาขน้ั พื้นฐานของแตล ะระดบั
(2) รอ ยละของผูเรยี นท่ีมคี วามตองการจำเปนพเิ ศษ ไดร ับการพฒั นาดา น
ทกั ษะอาชีพ ทกั ษะการดำรงชวี ิต มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมี
จติ สาธารณะ
(3) รอ ยละของผเู รยี นทม่ี คี วามตอ งการจำเปน พเิ ศษ ไดรับการสง เสรมิ ใหมี
ความสามารถพิเศษดา นตาง ๆ อาทิ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี
เปนตน
3.6.2 แนวทางการดำเนินการ
(1) สงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการจัดการศึกษาสำหรับผูเรียนที่มีความ
ตอ งการจำเปนพเิ ศษ ดว ยระบบและรูปแบบท่ีหลากหลาย
(2) สงเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาในโรงเรยี นเรียนรวม
(3) ปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
(4) สงเสริม สนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมเพอื่ พฒั นาทกั ษะการอาน การเขยี น
การส่อื สาร การคิดคำนวณ การคิดวิเคราะห และการคิดอยางมีวิจารณญาณ
(5) สง เสริม สนับสนนุ การจัดการเรียนการสอนเพอ่ื พัฒนาทักษะอาชพี ทกั ษะ
การดำรงชวี ิต ปลกู ฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม จิตสาธารณะและการดำรงชีวิตที่
เปน มติ รกบั สิ่งแวดลอ มตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
(6) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริฯ
(7) สงเสริม สนบั สนนุ ใหผเู รียนมที ศั นคติทถ่ี กู ตอ งตอ การปกครองตามระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ
(8) สงเสริม สนับสนุน การใชส่ือเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารอยาง
ถกู ตอ ง เหมาะสม และสรา งสรรค
(9) สงเสริม สนับสนุน เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก ส่ือ บริการ และ
ความชว ยเหลืออน่ื ใดทางการศกึ ษา
(10)สงเสริมและพัฒนาผเู รียนที่มีความตองการจำเปนพิเศษ ท่มี ีความสามารถ
พเิ ศษในดานวชิ าการ ดนตรี กฬี า ศิลปะ และอ่ืนๆ เพื่อยกระดับสคู วามเปน
เลศิ พรอ มกาวสสู ากล
(11)สงเสริม สนับสนุนการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการจัดการ
เรียนการสอน


Click to View FlipBook Version