The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2022-07-10 04:52:46

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562-2565)

47

(12)จัดใหมีระบบการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาเชิง
บรู ณาการ

(13)สงเสริม สนับสนุนสถานศึกษาจัดทำ รวบรวม ผลิต พัฒนา และเผยแพร
สอ่ื นวตั กรรม งานวจิ ัยทางการศกึ ษา

(14)สำรวจสภาพอาคารสถานที่ และสิ่งแวดลอ มในสถานศึกษา จัดทำ ผัง
บรเิ วณ จัดทำแบบรปู และรายการสง่ิ กอสราง

(15)สงเสรมิ สนับสนุนใหมีแนวทางปฏบิ ัติ และมาตรการรักษาความปลอดภัย
ของสถานศกึ ษาอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ

(16)สง เสริม สนบั สนุนใหเครือขายสงเสริมประสิทธิภาพและกลุมสถานศึกษา
ขบั เคลื่อนการจัดการศกึ ษาใหม ีประสทิ ธิภาพ

(17)สงเสริม สนับสนุนสถานศึกษารวมมือกับผูปกครอง ชุมชน และองคกร
ปกครองในพื้นท่ี พัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนและระบบ
แนะแนวใหม ปี ระสิทธิภาพ

(18)สง เสริม สนับสนนุ การจัดสภาพแวดลอ มและแหลงเรียนรูใหเอ้ือตอ การจัด
การศึกษา

3.7 สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษา นำ Digital Technology มาใชในการจัดการเรียนรู
ใหแกผูเรียนเปนรายบุคคลตามสมรรถนะ ความตอ งการ และความถนัด สรางสังคม
ฐานความรู (Knowledge-Based Society) เพ่อื การเรียนรูอ ยางตอ เนื่องตลอดชีวิต
3.7.1 ตัวชวี้ ดั
(1) รอ ยละของผเู รียนท่เี รียนรผู าน Digital Platform
(2)รอ ยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรูเพอ่ื ใหพฒั นาตนเองผาน Digital
Platform
3.7.2 แนวทางการดำเนนิ การ
(1) พัฒนาระบบคลังขอ มลู องคความรู เพื่อใหบริการ Digital Textbook ตาม
เนื้อหาหลักสตู รที่กับหนด ส่ือ วิดีโอ และองคความรูประเภทตาง ๆ และ
ใหบริการแกผ เู รยี นใหก ารพัฒนาตนเองอยา งตอ เน่ืองตลอดชวี ติ
(2) พัฒนา Digital Platform เพื่อตอบสนองตอการพัฒนาการเรียนรูของ
ผเู รยี นเปน รายบุคคล
(3) สถานศึกษาสนับสนุน สงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเองผาน
Digital Platform

48

นโยบายที่ 3 พฒั นาผบู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา

1. บทนำ
การปรับเปลย่ี นระบบการผลติ และพัฒนาผบู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท

ตงั้ แตการจงู ใจ คัดสรร ผูมีความสามารถสงู ใหเ ขามาเปน ครคู ณุ ภาพ มรี ะบบการพฒั นาศกั ยภาพและสมรรถนะ
อยางตอ เนื่องครอบคลุมทั้งเงินเดือน เสนทางสายอาชพี ปรับเปลี่ยนบทบาทครูใหเปนครูยุคใหมท่ีมีคุณภาพ
และประสทิ ธิภาพตรงตามความตองการ เปน มืออาชีพ มีทกั ษะวชิ าชพี ข้ันสงู โดยปรับบทบาทจาก “ครูสอน”
เปน “โคช” หรอื “ผูอำนวยการการเรียนรู” สรางเครือขายพัฒนาครูใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรรู ะหวางกัน
รวมถงึ การพฒั นาครทู ่มี ีความเชี่ยวชาญดานการสอนมาเปน ผสู รางครรู นุ ใหมอ ยา งเปน ระบบ และวดั ผลงานจาก
การพฒั นาผูเรียนโดยตรง และมีการวางแผนระยะยาว 20 ป

2. เปาประสงค
ผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท เปนบุคลากรที่มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ
เปนมืออาชพี และมีทกั ษะวชิ าชีพขั้นสูง

3. ประเดน็ กลยุทธ
3.1 สรา งเครือขา ยความรว มมือกบั สถาบนั ทางการศกึ ษาทผี่ ลติ ครู ในการผลติ และพฒั นา
ครู ใหตรงกบั สาขาวิชา และสอดคลองกับการพฒั นาในศตวรรษท่ี 21
3.1.1 ตวั ชีว้ ดั
(1) สถานศกึ ษามแี ผนความตองการครูระยะ 20 ป
(2) สถานศึกษามีกรอบสมรรถนะครูที่สอดคลอ งกับการพัฒนาในศตวรรษท่ี
21 และสอดคลอ งกับบริบทของพน้ื ที่
(3) สถานศกึ ษาทกุ แหงมีจำนวนครอู ยา งเหมาะสม และพอเพียงตอ การพฒั นา
คุณภาพของผูเรยี น
3.1.2 แนวทางการดำเนินการ
(1) ประสานความรวมมอื กับสถาบันการศกึ ษาในการวิเคราะหความขาดแคลน
และความตองการครู
(2) ประสานความรวมมือกับสถาบันการศึกษาในการกำหนดสมรรถนะครู
ใหสอดคลอ งกับการพัฒนาในศตวรรษที่ 21
3.2 พัฒนาผบู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท ใหมสี มรรถนะตาม
มาตรฐานวิชาชพี มศี ักยภาพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม

49

3.2.1 ตัวช้ีวดั
(1) ผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท มีศักยภาพในการ
ปฏบิ ัตงิ านครบตามความจำเปน ในการจัดการเรยี นรอู ยางมีประสิทธภิ าพ
(2) ผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา การจัดการเรียนรู และการวัดประเมินผลอยางมีคุณภาพใน
รูปแบบท่หี ลากหลาย ตามศักยภาพของผเู รยี นแตล ะบุคคล

3.2.2 แนวทางการดำเนินการ
(1) ศึกษาวิเคราะห ความตองการจำเปนในการพัฒนาตนเอง (Need
Assessment) ของผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อวาง
แผนการพัฒนาอยางเปน ระบบและครบวงจร
(2) กำหนดกรอบและวิเคราะหหลักสูตรเพ่ือพัฒนาผูบริหาร ครู และบุคลากร
ทางการศกึ ษา ใหเ ชื่อมโยงกับความกาวหนา ในวิชาชพี (Career Path)
(3) ประสานกับสถาบันการศึกษา สถาบันคุรุพัฒนา หรือหนวยงานอื่น ๆ
จดั ทำหลกั สตู รทีม่ ีคุณภาพใหส อดคลองกบั กรอบหลกั สูตรทีก่ ำหนด
(4) สนับสนนุ ใหผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา วางแผนและเขารับการ
พัฒนาตามหลักสูตรท่ีกำหนดที่เชื่อมโยงความกาวหนาในวิชาชีพ (Career
Path)
(5) สงเสริมและพัฒนาบุคลากรในรูปแบบชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community: PLC)
(6) สงเสริมและพัฒนาครูใหออกแบบการเรียนรู การจัดการเรียนรู
ใหสอดคลองกับการวัดประเมินผลท่ีเนนทักษะการคิดขั้นสูง (Higher
Order Thinking) ผานกจิ กรรมการปฏิบตั จิ รงิ (Active Learning)
(7) สง เสริมและพัฒนาผบู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทุกประเภท ให
มีความรูทักษะดาน Digital Literacy, Digital Pedagogy ทักษะส่ือสาร
ภาษาองั กฤษ ทกั ษะส่อื สารภาษาที่ 3
(8) สง เสริมพัฒนาและยกระดับความรูภาษาอังกฤษของครูท่ีสอนภาษาองั กฤษ
โดยใชระดบั การพัฒนาทางดานภาษา (CEFR) ตามเกณฑท ่ีกำหนด
(9) สงเสริมและพัฒนาครูใหมีความรูและทักษะในการจัดการเรียนรูสำหรับ
ผูเรยี นทม่ี คี วามแตกตา ง (Differentiated Instruction)
(10) สง เสรมิ และพัฒนาครูใหมีความรูและทักษะในการสรางเคร่ืองมือการวัด
และประเมินผลการเรียนรูดานทักษะการคิดข้ันสูง (Higher Order
Thinking)

50

(11) สงเสริมและพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ใหมี
ความรูความสามารถจัดการเรียนรูเปนรายบุคคล และการสอนแบบ
คละช้นั

(12) สง เสรมิ และพัฒนาครูในการจดั การเรียนรูสำหรับผูเรยี นทม่ี ีความตองการ
จำเปนพิเศษ ตามศักยภาพของผูเรียนแตละบุคคล และตามสภาพและ
ประเภทของความพิการ

(13) สง เสริมสนับสนุนใหครูพัฒนาตนเองผานระบบ Online และแบบ Face-to-Face
Training

3.3 นำ Digital Technology มาใชในการพัฒนาผบู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
ทุกประเภทท้งั ระบบ
3.3.1 ตวั ชวี้ ดั
(1) สถานศกึ ษา และหนวยงานในสงั กัดทุกแหงมีระบบฐานขอมลู ผูบ รหิ าร ครู
และบุคลากรทางการศึกษา เพ่อื วางแผนการผลิตและพัฒนาครูทง้ั ระบบ
(2) รอยละของบุคลากรในสังกัดที่พั ฒ นาตนเองผานระบบ Digital
Technology
(3) รอยละของ Digital Content เก่ยี วกับองคค วามรใู นสาขาท่ขี าดแคลน
3.3.2 แนวทางการดำเนนิ การ
(1) พัฒนา Digital Platform เพื่อใชในการพัฒนาผูบริหาร ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาทุกประเภทท้งั ระบบ
(2) พัฒนา Digital Platform ระบบบริหารจดั การผูบริหาร ครู และบุคลากร
ทางการศกึ ษาทุกประเภททั้งระบบ
(3) พัฒนา Digital Content ในองคความรูการจัดการศึกษาในสาขาที่ขาด
แคลน เชน การพัฒนาทักษะการคดิ ข้ันสูง การจัดการศึกษาสำหรบั ผเู รยี น
ที่มคี วามตอ งการจำเปน พิเศษ และผูเรยี นท่มี คี วามแตกตาง เปน ตน
(4) สง เสรมิ สนบั สนุน ใหผบู รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท
พฒั นาตนเองอยา งตอ เนอ่ื งผา นระบบ Digital Technology

51

นโยบายท่ี 4 สรา งโอกาสในการเขาถงึ บริการการศึกษาทมี่ ีคุณภาพ มมี าตรฐาน และลดความ
เหลือ่ มลำ้ ทางการศกึ ษา

1. บทนำ
การสรา งโอกาสทางการศกึ ษา เพือ่ ใหประชากรในวัยเรียนทกุ คน และทกุ กลุมเปาหมาย ซง่ึ

หมายรวมถงึ กลุมผูเรียนทม่ี คี วามตองการจำเปน พเิ ศษ กลมุ ชาติพันธุ กลมุ ผูดอ ยโอกาส และกลมุ ที่อยูใ นพนื้ ท่ี
หา งไกลทุรกันดาร ไดเ ขาถงึ การบรกิ ารการศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพ และมมี าตรฐาน โดย 1) เนน การสรางความ
รวมมือกบั องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ ภาคเอกชน และหนว ยงานทเ่ี ก่ียวขอ งระดบั พ้ืนท่ี เพอื่ วางแผนการจดั
การศกึ ษาทง้ั ระบบตงั้ แตก ารสำมะโนประชากรวัยเรยี น การรบั เดก็ เขา เรียน การตรวจสอบตดิ ตามการเขา เรียน
การติดตามเดก็ นกั เรยี นออกกลางคัน ตลอดจนการพฒั นาหลกั สูตรใหส อดคลองกบั พนื้ ท่ี และการระดมทุนเพ่อื
พฒั นาการศกึ ษา 2) ปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศกึ ษาทุกแหง ใหม มี าตรฐานในดา นตาง ๆ สอดคลองกบั บรบิ ทเชิงพนื้ ที่
เชน มาตรฐานดานโครงสรางพนื้ ฐานและสง่ิ อำนวยความสะดวก ไดแก อาคารเรยี น อาคารประกอบ หอประชุม
สนามกฬี า หอ งเรยี น หอ งพเิ ศษ วสั ดุ ครุภัณฑ เปนตน มาตรฐานดา นครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา มาตรฐานดา น
การบรหิ ารจดั การ มาตรฐานดา นระบบงบประมาณ มาตรฐานดานความปลอดภยั และมาตรฐานดา น Digital
Technology เปน ตน 3) สรา งความเขม แขง็ ในการบริหารจดั การศกึ ษาสำหรบั ผเู รียนทม่ี ีความตองการจำเปน
พิเศษ 4) ปรบั เปลี่ยนกระบวนการงบประมาณตั้งแตก ารจัดสรรงบประมาณอดุ หนุนตรงไปยงั ผเู รียนและ
สถานศึกษาโดยตรง และมีความเหมาะสม เพยี งพอ และ 4) นำ Digital Technology มาเปน เครือ่ งมือในการ
ลดความเหลอ่ื มลำ้ และสรา งโอกาสในการเขาถงึ การบริการการเรยี นรทู ม่ี ีประสทิ ธิภาพ

2. เปาประสงค
สรา งโอกาสใหประชากรวยั เรียนทุกคนเขาถงึ การบริการการเรียนรูท่มี ีคุณภาพ มีมาตรฐานเสมอกัน และ
ลดความเหลือ่ มลำ้ ดานการศึกษา

3. ประเด็นกลยทุ ธ
3.1 รว มมอื กับองคกรปกครองระดับทอ งถน่ิ ภาคเอกชน หนว ยงานทีเ่ กีย่ วขอ งในการจัด
การศึกษาใหสอดคลอ งกบั บรบิ ทของพน้ื ที่
3.1.1 ตัวชว้ี ดั
(1) รอ ยละของเด็กวัยเรยี นทีเ่ ขา รบั การศกึ ษาในแตละระดบั การศกึ ษา
(2) รอ ยละของนักเรียนออกกลางคัน
(3) รอยละของสถานศกึ ษาที่มีระบบการดูแลชวยเหลอื และคมุ ครองนักเรียน
และการแนะแนวท่มี ีประสิทธภิ าพ

52

(4) รอยละของสถานศึกษาทม่ี ีระบบฐานขอมลู ประชากรวยั เรยี นและสามารถ
นำมาใชในการวางแผนจดั การเรยี นรใู หแกผูเรยี นไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ

3.1.2 แนวทางการดำเนินการ
(1) สถานศึกษารวมกับองคกรปกครองระดับพื้นที่ ภาคเอกชน และหนวยงาน
ทเี่ กยี่ วของ วางแผนการจดั การศึกษาใหสอดคลองเหมาะสมกบั บริบทของ
พนื้ ท่ี
(2) สถานศึกษารวมกับองคกรปกครองระดับพ้ืนที่ จัดทำสำมะโนประชากรวัย
เรียน (0-6 ป)
(3) สถานศึกษารวมมือกับองคกรปกครอง ชุมชน เอกชน และหนวยงานท่ี
เกยี่ วของระดับพ้ืนท่ี จัดทำแผนการรับนกั เรียนทกุ ระดับ
(4) สถานศึกษารว มกบั องคกรปกครองระดบั พ้ืนท่ี ติดตาม ตรวจสอบ เด็กวัย
เรยี นไดเขาถงึ การบริการการเรียนรูไดอยา งท่วั ถงึ ครบถว น
(5) สถานศึกษาจดั ทำฐานขอมูลประชากรวัยเรียน เพื่อเก็บรวบรวม เช่ือมโยง
ขอมลู ศึกษา วเิ คราะห เพ่ือวางแผนการจดั บริการการเรยี นรูใหแ กผเู รยี น

3.2 ยกระดบั สถานศึกษาในสังกดั ทกุ ระดบั และทุกประเภท ใหม ีมาตรฐานตามบรบิ ทของ
พ้ืนที่ เพื่อใหพ ฒั นาผูเรียน มคี ณุ ภาพ มมี าตรฐานเสมอกนั
3.2.1 ตวั ชว้ี ัด
(1) สถานศกึ ษามีมาตรฐานสถานศกึ ษา
(2) รอยละ 90 ของสถานศกึ ษาทผี่ า นการประเมนิ มาตรฐานสถานศึกษาตามที่
กำหนด

3.2.2 แนวทางการดำเนนิ การ
(1) จัดทำมาตรฐานสถานศึกษาโดยพิจารณาจากปจจัย หรอื องคป ระกอบขน้ั
พื้นฐาน เพือ่ สรางโอกาสใหผ เู รยี นเขา ถึงบรกิ ารการเรยี นรทู จี่ ะพัฒนา
คุณภาพผูเรยี นใหม มี าตรฐานเสมอกัน ตามบริบทเชงิ พนื้ ที่ เชน
1) เสนอของบประมาณเพื่อสราง ปรับปรงุ ชอมแซมโครงสรางพื้นฐานและ
ส่ิงอำนวยความสะดวก เชน ปจจัยดา นโครงสรา งพ้ืนฐานและสิ่งอำนวย
ความสะดวก เชน อาคารเรียน อาคารประกอบ หอประชุม สนามกีฬา
หอ งเรียน หอ งพเิ ศษ วสั ดุ ครภุ ณั ฑ เปน ตน
2) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามความตองการและ
เหมาะสมตามบริบท ใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู และสามารถ

53

ออกแบบกจิ กรรม สรา งนวตั กรรมการเรียนรเู พื่อพฒั นาผลสมั ฤทธแ์ิ ก
ผเู รียน และพฒั นาระบบบรหิ ารบคุ คลใหม ีประสิทธิภาพ
3) พัฒนาโครงสรางการบรหิ ารจดั การ ใหตอบสนองผูรบั บรกิ ารทุกระดบั
อยางมีประสิทธภิ าพ โดยมีขอมูลการดำเนนิ งานอยางครบถวน
4) ดานงบประมาณ เสนอคำของบประมาณใหแ กสถานศกึ ษาตามความ
ตองการตามสภาพความตองการของสถานศึกษา และบริหารจัดการ
งบประมาณ ใหเ ปน ไปตามแนวนโยบายแหงรฐั
5) พัฒนาระบบความปลอดภัยในสถานศกึ ษา ดานการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน การเดนิ ทางและการใชชวี ติ ในสังคมและชุมชน
6) พฒั นาระบบ เครอื ขาย Digital Technology ใหสามารถสนองตอบ
การดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
(2) ใชระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อ เปนแนวในการสนับสนุน ปรับปรุง
พฒั นา สถานศึกษาใหมีคณุ ภาพ
3.3 สรางความเขมแข็งในการบริหารจัดการศึกษาสำหรับผูเรียนท่ีมีความตองการจำเปน
พิเศษ
3.3.1 ตวั ชวี้ ัด
(1) สถานศึกษามีขอมูลสารสนเทศของการจัดการศึกษาพิเศษ ท่ีเชื่อมโยงกับ
หนว ยงานท่เี กี่ยวของทุกระดับ
(2) สถานศึกษามียุทธศาสตร แผนการดำเนินงาน และแผนปฏิบัติการที่
ตอบสนองสำหรับผูเรียนท่มี คี วามตองการจำเปน พิเศษ ตามศกั ยภาพของผเู รยี น
แตล ะบุคคล และตามสภาพและประเภทของความพิการ
(3) สถานศึกษาในสังกัดมีความพรอ มในการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
3.3.2 แนวทางการดำเนินการ
(1) จัดทำระบบขอมูลสารสนเทศของการจัดการศึกษาพิเศษ ที่เชื่อมโยงกับ
หนว ยงานทเ่ี กี่ยวของทุกระดบั และนำมาใชอยา งมปี ระสิทธภิ าพ
(2) สงเสริม สนับสนุน สถานศึกษาจัดทำยุทธศาสตร แผนการดำเนินงาน และ
แผนปฏิบัติเชิงรุก เนนการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ และการ
ทำงานแบบมสี วนรว ม
(3) สงเสริม สนับสนุนระบบการจัดการศึกษาพเิ ศษ ท่ผี เู รยี นสามารถเขาสูบรกิ าร
ชวงเช่อื มตอ (Transitional Services) หรอื การสงตอ (Referral) เขา สู
การศึกษาในระดับเดยี วกันและทส่ี งู ข้ึน หรือการอาชีพ หรอื การดำเนนิ ชีวิตใน
สังคมไดตามศักยภาพของแตล ะบุคคล

54

(4) สงเสริม สนับสนุน ใหทุกสถานศึกษาในสังกัดมีความพรอมท้ังระบบ เพ่ือ
สามารถการจดั การศึกษาแบบเรียนรวม

(5) จัดใหมีศึกษานิเทศกผูรับผิดชอบการจัดการศึกษาพิเศษ ในการติดตาม
ชวยเหลือ และสนบั สนุนใหส ถานศกึ ษาดำเนนิ การจัดการศกึ ษาพิเศษไดอยาง
มปี ระสิทธภิ าพ

3.4 จัดสรรงบประมาณสนบั สนนุ ผูเ รยี น และสถานศกึ ษาอยา งเหมาะสม เพยี งพอ
3.4.1 ตวั ชี้วัด
(1) มีรูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรรงบประมาณใหกับผูเรียน และ
สถานศึกษาโดยตรงอยางเหมาะสม
(2) ผูเรยี น และสถานศกึ ษาไดรับการเสนอขอรบั งบประมาณเพอ่ื สนับสนนุ การ
เรยี นรูอ ยา งเหมาะสมตอการพัฒนาการศึกษา
(3) มีโครงการ/ กิจกรรมที่ไดรับความรวมมือจากกองทุนความเสมอภาค
ทางการศึกษา
3.4.2 แนวทางการดำเนินงาน
(1) ศึกษา วิเคราะห วธิ ีการจัดสรรงบประมาณใหกับผูเรียน และสถานศึกษา
ทงั้ ดานความเหมาะสม เพียงพอ
(2) จัดสรรงบประมาณใหผ เู รียน และสถานศึกษาโดยตรง
(3) ประสานความรวมมือกับกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา เพ่ือลด
ความเหลอ่ื มลำ้ ทางการศกึ ษา เพอ่ื สนับสนุนงบประมาณเพือ่ สนับสนนุ การ
จดั การเรียนรใู หแ กผเู รยี น

3.5 สงเสริม สนับสนุน ใหสถานศึกษา หนวยงานทุกระดับนำ Digital Technology มา
ใชเปน เครื่องมอื ในการพฒั นาคุณภาพของผูเรยี น
3.5.1 ตวั ชวี้ ดั
(1) สถานศกึ ษาทกุ แหง มรี ะบบโครงขายส่ือสารโทรคมนาคมทสี่ ามารถเช่อื มตอ
กบั โครงขา ยอินเทอรเ น็ตไดอยา งมีประสิทธิภาพ และปลอดภยั
(2) สถานศึกษามี Digital Device เพ่ือใชเ ปน เครื่องมือในการเรยี นรขู องผเู รยี น
และเปนเครอื่ งมอื ในการจัดการเรยี นรไู ดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ
3.5.2 แนวทางการดำเนินงาน
(1) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษามีโครงขายส่ือสารโทรคมนาคมที่มี
ประสิทธภิ าพ และปลอดภัย
(2) สงเสริม สนับสนุน ใหสถานศึกษามีระบบคอมพิวเตอร และอุปกรณท่ีใช
เปน เคร่ืองมือในพัฒนาทักษะดาน Digital Literacy แกผเู รยี น

55

(3) สง เสริม สนบั สนนุ ใหสถานศึกษาปรบั ปรงุ พฒั นาหอ งเรยี นใหเ ปนหอ งเรยี น
Digital

(4) สง เสริม สนับสนนุ Digital Device สำหรับผูเรยี นทุกระดับอยา งเหมาะสม
เพื่อเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาการเรียนรูของตนเอง อยางตอเน่ือง
ตลอดชวี ติ

(5) สง เสริม สนบั สนุน Digital Device และพฒั นา Digital Pedagogy สำหรบั
ครอู ยางเหมาะสม เพื่อเปนเครอ่ื งมอื ในการจดั กระบวนการเรยี นรูเพอ่ื
พัฒนาผูเ รียนไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ

(6) โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผานเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Distance Learning Information Technology: DLIT)

(7) โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาดว ยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลผาน
ดาวเทยี ม

นโยบายท่ี 5 เพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ
1. บทนำ

การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 จะเนนการพัฒนา
หนวยงานในสังกัด ใหเปนหนวยงานที่มีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ สามารถใหบริการไดอยางมี
คุณภาพและประสิทธิภาพ แยกแยะบทบาทหนว ยงานแตล ะระดับอยางชดั เจน เชน ระดับปฏิบัติ ระดับท่ีทำ
หนาท่ีในการกำกับติดตาม เปนหนว ยงานท่ีมีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล และโปรง ใส เปนองคกรที่
ปราศจากการทุจริตคอรัปชั่น ปรับวัฒนธรรมการทำงานใหมุงผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชนสวนรวม มีความ
ทันสมัย และพรอมที่จะปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกอยูตลอดเวลา โดยเฉพาะอยางย่ิงการนำ
นวัตกรรม เทคโนโลยีขอมูลขนาดใหญ ระบบการทำงานท่ีเปน Digital เขามาประยุกตใชอยางคุมคา และ
ปฏบิ ตั งิ านเทียบไดก ับมาตรฐานสากล รวมท้งั มีลกั ษณะเปด กวา ง เชือ่ มโยงถงึ กันและเปดโอกาสใหทุกภาคสวน
เขามามสี ว นรวมเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนไดอ ยางสะดวก รวดเรว็ โดยมีประเด็นกลยุทธ ดงั น้ี
1) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาของ สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา 2) สราง
เครือขา ยความรว มมือและสงเสรมิ ใหท ุกภาคสว นของสงั คมเขามามีสว นรว มบรหิ ารจัดการศกึ ษา 3)สง เสริมการ
บริหารงานของสถานศกึ ษา ใหเปน ศูนยก ลางในการจดั การศึกษาตามบริบทของพื้นที่ 4) ปรับปรงุ วิธกี ารเสนอ
ของบประมาณเพ่อื สนบั สนุนผูเรียนและสถานศกึ ษา ไดอยางเหมาะสม 5) สงเสริม สนบั สนุน ใหสถานศึกษา
หนว ยงานทุกระดบั นำ Digital Technology มาใชใ นการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบริหารอยางเปนระบบ นำไปสู
การนำเทคโนโลยี Big Data เพ่ือเชื่อมโยงขอมูลดาน ตาง ๆ ต้ังแตขอมูลผเู รียน ขอมูลครู ขอมูลสถานศึกษา
ขอมูลงบประมาณ และขอมลู อน่ื ๆ ทจี่ ำเปน มาวิเคราะหเพอื่ ใหสถานศึกษา สามารถจัดการเรยี นรูเพือ่ พัฒนา
ผเู รียนเปนรายบคุ คลตามสมรรถนะ และความถนดั และสามารถวเิ คราะหเ ปนขอ มูลในการวางแผนการพฒั นา
ตอไป

56

2. เปา ประสงค
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางเขต 1 และสถานศึกษามีความคลอ งตัวใน

การบริหารจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นา เพ่ือพฒั นาผเู รียนใหม ีคณุ ภาพ มีมาตรฐานสอดคลอ งกบั บรบิ ทของพืน้ ที่

3. ประเด็นกลยุทธ
3.1 เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การศึกษาของ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา และ
สถานศกึ ษา
3.1.1 ตัวช้ีวดั
(1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีผลการดำเนินงานผาน
เกณฑการประเมินสวนราชการท่ีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ
ราชการกำหนด
(2) รอยละของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาผานเกณฑการประเมินคุณภาพ
มาตรฐานสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
(3) รอ ยละของสถานศึกษาทมี่ ผี ลการประเมนิ ภายนอกในระดับดขี นึ้ ไป
(4) รอยละของหนวยงานผานการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการ
ดำเนินงานของหนวยงานภาครัฐ (ITA: Integrity & Transparency
Assessment)
3.1.2 แนวทางการดำเนินการ
(1) กำกบั ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพอื่ การบรหิ ารจัดการทมี่ ี
ประสิทธิภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล
(2) สง เสรมิ ระบบประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาใหเขมแข็ง
(3) ยกยอ งเชดิ ชเู กยี รติ สถานศึกษา และองคคณะบุคคลท่มี ผี ลงานเชิงประจักษ
(4) กำหนดให สำนักงานเขตพื้นการศึกษา และสถานศึกษาทุกแหง ใชระบบ
การบริหารจัดการท่ีมุงเนนคุณธรรมและความโปรงใสในการทำงานตาม
หลักการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของ
หนว ยงานภาครัฐ (ITA: Integrity & Transparency Assessment)
3.2) สรา งเครอื ขายความรว มมือและสง เสริมใหทุกภาคสว นของสังคมเขา มามีสว นรว ม
บริหารจัดการศกึ ษา
3.2.1 ตัวชีว้ ัด
สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1.และสถานศึกษาทกุ แหง

มีการบรหิ ารจัดการแบบมสี วนรว ม

57

3.2.2 แนวทางการดำเนินงาน
(1) สนับสนุน สงเสริมการบรหิ ารจัดการเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาและสถานศึกษา โดย
ใชพ้ืนที่เปนฐาน (Area-based Management) รูปแบบการบริหารแบบ
กระจายอำนาจ“CLUSTERs”
(2) สง เสรมิ การมีสวนรวม จัดทำแผนบรู ณาการจดั การศกึ ษา ในทุกระดับ
(3) สรา งความเขม แข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือขา ย เชน
เครือขายสงเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ศูนยพัฒนากลุมสาระการ
เรียนรู กลมุ โรงเรียน ชมรมทางวชิ าการตา ง ๆ ของครู
(4) สง เสริมใหท ุกภาคสว นของสังคมมีสว นรวมในการจัดการศึกษาแบบบรู ณา
การท่ีตามความตองการของประชาชนในพื้นท่ี
(5) สง เสริม สนับสนุน ผูปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน ใหมีความรู
ความเขาใจ และ มีสวนรว มรับผิดชอบ (Accountability) ในการบรหิ าร
จัดการศึกษา
(6) สงเสริมใหทุกภาคสวนของสังคมเขามามีสวนรวมสนับสนุนทรัพยากรเพื่อ
การศึกษา

3.3) สง เสริมการบริหารงานของสถานศกึ ษา ใหเปนศนู ยกลางในการจดั การศกึ ษาตาม
บรบิ ทของพ้นื ท่ี
3.3.1 ตัวชี้วัด
(1) มรี ูปแบบและแนวทางในการบรหิ ารจัดการของโรงเรียนใหเ กดิ คุณภาพ
(2) มีขอเสนอเชิงนโยบายในการกระจายอำนาจท้งั ระบบ
(3) มีรูปแบบและแนวทางในการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กใหเกิด
คุณภาพ
(4) สถานศึกษาทุกแหงมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษา
ขั้นพ้นื ฐาน/ปฐมวัย พรอมท่จี ะพฒั นาสรู ะดับสากล
(5) จำนวนโรงเรยี นขนาดเลก็ ลดลง
(6) รอยละ 50 ของผเู รยี นทอี่ ยใู นโรงเรยี นขนาดเลก็ มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
สงู ขึ้น
3.3.2 แนวทางการดำเนนิ การ
(1) ศึกษา วิเคราะห ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ระบบการบริหารงานของ
หนว ยงาน บทบาทหนา ท่ที ้ังระดับปฏบิ ัติ และรับการกำกบั ติดตาม
(2) ศกึ ษา วิเคราะห ออกแบบ และพฒั นารปู แบบการกระจายอำนาจการจัด
การศกึ ษา 4 ดาน ใหสถานศกึ ษา โดยในปง บประมาณ 2562 ใหศกึ ษานำรอ ง
รูปแบบการกระจายอำนาจ เชน

58

1) เขตพน้ื ทน่ี วัตกรรมการศกึ ษา
(3) ศึ กษา วิเคราะห ออกแบบโครงสรางของสถานศึ กษา (Enterprise

Architecture) ในฐานหนวยงานระดับปฏิบัติ และหนวยงานระดับกำกับ
ติดตามใหเหมาะกบั บรบิ ทการเปล่ยี นแปลงของโลกปจ จุบนั
(4) ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ พัฒนา Digital Technology ใชในการจัด
การศึกษาท้งั ระบบ (Digital Transformation)
(5) สนับสนุน สงเสริมใหสถานศึกษาจัดหาเจาหนาท่ีเพ่ือปฏิบัติหนาท่ี
สนบั สนุนการจดั การเรยี นรู เพ่ือใหค รูสายผูสอนปฏบิ ัตหิ นาท่ีเฉพาะดานที่
เกีย่ วขอ งกับการจัดการเรยี นรูใหแ กผเู รยี นเทาน้นั
(6) ยกระดับสถานศกึ ษาใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต เปนศูนยกลางในการ
พฒั นาทกั ษะ และคุณภาพชวี ิตของชมุ ชน
(7) สรางความเขมแข็ง และยกระดับคณุ ภาพสถานศึกษาตามบริบทของพนื้ ที่
เชน โรงเรยี นมาตรฐานสากล โรงเรยี นนวัตกรรม โรงเรยี นรวมพัฒนา โรงเรียน
ประชารัฐ โรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนหองเรยี นกฬี า ฯลฯ
(8) นำผลการประกนั คุณภาพการศึกษามาใชใ นการวางแผนการปฏิบตั ิการตรวจสอบ
ติดตามเพื่อการปรับปรุงพัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพและเปนไปตาม
มาตรฐานการศึกษา
(9) สรางมาตรฐาน และกำหนดแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการโรงเรียนขนาดเล็ก
(10) สง เสรมิ สนับสนุน ใหโ รงเรียนขนาดเล็กมรี ะบบการบรหิ ารจัดการทีห่ ลากหลาย
เชน การบรหิ ารจัดการแบบกลมุ โรงเรยี น การสอนแบบคละชัน้
(11) พจิ ารณาแตง ตั้งผูบ รหิ ารที่มศี ักยภาพในโรงเรยี นขนาดเลก็ พจิ ารณาคาตอบแทน
พิเศษและสวัสดกิ ารอ่ืน ๆ สำหรับผูป ฏิบัตงิ านในโรงเรียนขนาดเล็ก
(12) ปรบั ปรุงกฎหมายระเบยี บขอ ปฏิบตั ิใหส อดคลอ งกับการกระจายอำนาจ
(13) สถานศกึ ษามอี ิสระในการบรหิ ารงาน และจดั การเรียนรู เพอ่ื พฒั นาผเู รียน
ใหไดตามมาตรฐานคณุ ภาพผเู รียน สอดคลองกบั ความตอ งการทองถนิ่
นำไปสกู ารพัฒนาทกั ษะชวี ิต ทักษะอาชพี ของผเู รียนไดอยางมี
ประสทิ ธภิ าพ
3.4 ปรับเปล่ียนระบบงบประมาณเพื่อสนับสนุนผูเรียนและสถานศึกษาอยางเหมาะสม
เพียงพอ
3.4.1 ตวั ช้วี ดั
(1) มีรูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรรงบประมาณใหกับผูเรียน และ
สถานศึกษาโดยตรงอยา งเหมาะสม

59

(2) ผูเรียนทุกคนและสถานศึกษาไดรับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการ
เรียนรูอยางเหมาะสมและเพยี งพอตอการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

(3) จำนวนโครงการ/กจิ กรรมท่ีไดร ับความรวมมือจากกองทนุ ความเสมอภาค
ทางการศึกษา

3.4.2 แนวทางการดำเนนิ งาน
(1) ศึกษา วิเคราะห วธิ ีการจัดสรรงบประมาณใหกับผูเรียน และสถานศึกษา
ทงั้ ดานความเหมาะสม เพียงพอ
(2) จดั สรรงบประมาณใหผูเรียน และสถานศกึ ษาโดยตรง
(3) ประสานความรวมมือกับกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา เพ่ือลด
ความเหล่อื มล้ำทางการศกึ ษา เพือ่ สนับสนนุ งบประมาณเพอ่ื สนบั สนุนการ
จัดการเรียนรูใหแกผ เู รียน

3.5 สง เสรมิ สนบั สนุน ใหส ถานศึกษา หนวยงานทุกระดับนำ Digital Technology มาใช
ในการเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารอยา งเปน ระบบ นำไปสกู ารนำเทคโนโลยี
Big Data เพอ่ื เชอื่ มโยงขอ มลู ดา นตา ง ๆ ตง้ั แตขอมูลผูเรียน ขอ มลู ครู ขอ มลู
สถานศึกษา ขอมูลงบประมาณ และขอ มลู อนื่ ๆ ท่จี ำเปนมาวิเคราะหเพื่อให
สถานศกึ ษา สามารถจัดการเรยี นรเู พ่ือพฒั นาผเู รยี นเปนรายบคุ คลตามสมรรถนะ และ
ความถนดั และสามารถวิเคราะหเปนขอมลู ในการวางแผนการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย
ของประเทศตอไป

3.5.1 ตัวชีว้ ดั
(1) สถานศึกษาทุกแหงมีระบบขอมูลสารสนเทศท่ีสามารถใชในการวาง
แผนการจดั การศกึ ษาไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ
(2) สถานศกึ ษาทุกแหงมีขอมูลผูเรียนรายบุคคลท่ีสามารถเชื่อมโยงกับขอมูล
ตาง ๆ นำไปสูการวิเคราะหเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนไดอยางมี
ประสทิ ธิภาพ

3.5.2 แนวทางการดำเนินงาน
(1) พฒั นาระบบฐานขอมลู ทรัพยากรมนษุ ยดา นการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ที่สามารถ
เชือ่ มโยง และบูรณาการขอมลู ดานการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยร ะหวาง
กระทรวง หนวยงานทเี่ ก่ยี วขอ ง โดยการเชือ่ มโยงขอ มลู รายบคุ คลทเี่ ก่ียวกับ
การศกึ ษา การพัฒนาตนเอง สุขภาพและการพฒั นาอาชพี ในตลอดชวงชีวิต
เปนฐานขอ มลู การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยของประเทศไทยทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
และประสทิ ธิผล สามารถประเมนิ จดุ ออน จดุ แขง็ และศกั ยภาพบคุ คลของ
ประเทศ นำไปสกู ารตดั สนิ ใจระดบั นโยบายและปฏบิ ัติ

60

(2) พัฒนา Digital Platform ดานการเรียนรูผูเรียน และบุคลากรทางการ
ศึกษา เพ่ือใหส ถานศึกษา และหนวยงานในสงั กัดใชใ นการปฏิบัตงิ านตาม
ภารกิจ

(3) พฒั นา Digital Platform ดานการบริหารงาน เพ่ือสนองตอบตอการปฏบิ ัติงาน
ของบุคลากรตามภารกิจทร่ี ับผดิ ชอบ นำไปสูก ารพฒั นาฐานขอ มูลบคุ ลากร
ท่ีเช่ือมโยงกันท้ังระบบตั้งแตการคัดสรร บรรจุแตงต้ัง ตลอดจนเช่ือมโยง
ถึงการพฒั นาครู เพื่อใหสอดคลองกับความกาวหนาในอาชพี

(4) พัฒนา Digital Platform ระบบขอมูลสารสนเทศของผูเรียนเปน
รายบุคคลต้ังแตระดับปฐมวัย จนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่สามารถ
เช่ือมโยงกับหนวยงานที่เกี่ยวของ นำไปสูการพัฒนาฐานขอมูลประชากร
ดา นการศึกษาของประเทศ

(5) พฒั นา Big Data เพ่ือเช่ือมโยง วิเคราะหขอมูลทุกมิติ นำไปสูก ารวางแผน
การจดั การเรยี นรใู หแ กผเู รยี นเปน รายบุคคล

ตัวช้ีวดั ความสำเร็จและคา เปา หมาย (แผนการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579)
ที่ ตวั ช้วี ัดความสำเรจ็

1 สัดสว นนักเรยี นปฐมวยั (3-5ป)ตอ ประชากรกลุมอายุ3-5ปเ พมิ่ ขึน้
2 ประชากรอายุ 6-11 ป ไดเ ขา เรยี นระดบั ประถมศึกษาทุกคน
3 ประชากรอายุ 12-14 ป ไดเ ขาเรยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนตนหรอื เทียบเทาทุกคน
4 รอ ยละของผูเรยี นพกิ ารไดรับการพฒั นาสมรรถภาพหรอื บรกิ ารทางการศึกษาทเี่ หม
5 สถานศกึ ษาทุกแหง มอี นิ เตอรเ นต็ ความเร็วสงู และมคี ุณภาพ
6 ผเู รยี นระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานทกุ คนไดร บั การสนับสนนุ คา ใชจ า ยในการจดั การศ

อนบุ าลจนจบการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
7 รอยละของนักเรียนท่มี ีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน(O

แตละวชิ าผานเกณฑค ะแนนรอ ยละ 50 ขนึ้ ไปเพม่ิ ข้นึ
8 ระดับความสามารถดา นการใชภ าษาองั กฤษเฉล่ยี ของผสู ำเรจ็ การศกึ ษาในแตละระ

มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษ(CEFR) สงู ขน้ึ (ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน
(เพม่ิ ขนึ้ จากปฐ าน)
9 รอ ยละของผเู รียนทกุ ระดบั การศึกษา มีพฤตกิ รรมที่แสดงออกถึงความตระหนักในค
ดำรงชวี ิตท่ีเปนมติ รกบั ส่งิ แวดลอ ม ความมีคุณธรรม จริยธรรม และการประยกุ ตใช
เศรษฐกจิ พอเพียงในการดำเนนิ ชีวติ เพม่ิ ขึ้น
-รอยละของจำนวนนกั เรยี นท่เี ขา รวมกจิ กรรม/โครงการทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั การสรางเส
มิตรกบั สง่ิ แวดลอ มเพ่ิมขนึ้
-รอยละของจำนวนโรงเรยี นทใ่ี ชกระบวนการเรียนรูเพอื่ สรา งเสริมคุณธรรม จริยธร
-รอ ยละของจำนวนนักเรียนทเ่ี ขา รว มกจิ กรรมตามโครงการนอ มนำแนวคดิ ตามหล
เศรษฐกจิ พอเพียงสกู ารปฏบิ ตั ิเพมิ่ ข้ึน
10 รอ ยละของสถานศึกษาท่มี ีคณุ ภาพตามเกณฑป ระกันคณุ ภาพการศกึ ษาเพม่ิ ขนึ้ จาก

) หนวย คา เปา หมาย คาเปา หมาย คาเปาหมาย คา เปา หมาย
นบั ป พ.ศ.2562 ป พ.ศ.2563 ป พ.ศ.2564 ป พ.ศ.2565
มาะสม
ศึกษาตง้ั แตร ะดบั รอ ยละ 100 100 100 100

รอ ยละ 100 100 100 100

รอ ยละ 100 100 100 100

รอยละ 100 100 100 100

รอ ยละ 90 95 100 100

รอยละ 100 100 100 100

O-NET) รอ ยละ 3 3 3 3

ะดบั เม่อื ทดสอบตาม รอ ยละ 3 3 3 3
น)

ความสำคัญของการ รอ ยละ 90 95 95 95
ชหลกั ปรัชญา

สรมิ คณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปน รอยละ 90 90 90 90

ธรรมเพม่ิ ขนึ้ รอยละ 90 90 90 90

ลักปรัชญาของ รอ ยละ 90 90 90 90

กปฐ าน รอยละ 10 10 10 10

61

ท่ี ตัวช้ีวดั ความสำเรจ็

11 รอยละของสถานศกึ ษาที่มีการจดั การเรียนการสอน/กิจกรรมเพื่อเสรมิ สรางความเป
Education) เพมิ่ ขึ้น

12 มรี ะบบการบริหารงานบุคคลของครู อาจารยแ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทม่ี ปี ระสทิ
ตามเกณฑม าตรฐาน

13 มรี ะบบประกันคุณภาพการศกึ ษาท่ีเหมาะสม สอดคลอ งกบั บรบิ ทและความตองกา
สถานศกึ ษา

14 จำนวนฐานขอ มูลรายบุคคลดานการศึกษาของประเทศทเี่ ปน ปจจุบนั สามารถเชอ่ื ม
ระหวางหนว ยงานไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพเพม่ิ ข้ึน

15 มีฐานขอมลู ดานการศึกษาเพอ่ื ใชประโยชนในการวางแผน การบรหิ ารจดั การศกึ ษา
ประเมนิ ผล

16 มีระบบเครือขา ยเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอ่ื การศกึ ษาท่ที นั สมัย สนองตอบความตอ งการ
มปี ระสทิ ธิภาพ

17 รอยละของสถานศึกษาขนาดเลก็ ทไี่ มผ า นเกณฑก ารประเมินคุณภาพภายนอกลดลง
18 อัตราการออกกลางคนั ของผเู รยี นระดับการศึกษาขึ้นพ้ืนฐานลดลงจากปฐาน
19 รอ ยละของสถานศกึ ษาท่ีปลอดยาเสพตดิ เพม่ิ ขึน้
20 รอยละของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทุกระดบั ทีไ่ ดร บั การพัฒนาตามมาตรฐาน

ปฏบิ ตั ิงานไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพเพม่ิ ขึน้
21 จำนวนหนว ยงาน องคกรภาครัฐ/เอกชน ทีม่ สี วนรวมจดั การศึกษาแบบประชารัฐเพ

ปน พลเมอื ง(Civic หนว ย คา เปา หมาย คา เปาหมาย คาเปาหมาย คา เปาหมาย
นบั ป พ.ศ.2562 ป พ.ศ.2563 ป พ.ศ.2564 ป พ.ศ.2565

รอยละ 80 85 90 95

ทธิภาพและเปน ไป มี มี มี มี มี

ารจำเปนของ มี มี มี มี มี

มโยงและใชขอมูล รอ ยละ 90 90 90 90

า การติดตาม มี มี มี มี มี

รของผูใชบรกิ ารอยาง มี มี มี มี มี

ลง รอยละ 20 20 20 20
รอ ยละ 0.10 0.10 0.01 0.01
รอ ยละ 100 100 100 100

นวชิ าชีพและสามารถ รอ ยละ 5 5 5 5

พ่มิ ขน้ึ แหง 3 3 3 3

62

สว นท่ี 4 63

บัญชจี ดั สรรงบประมาณตามความจำเปน พ้นื ฐาน งบประมาณป
65
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

แผนงาน : พ้นื ฐานดา นการพฒั นาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพคน

องคป ระกอบท่ี 1 งบบริหารสำนกั งาน(งบประจำ)

ที่ รายการ งบประมาณป งบประมาณป งบประมาณป
62 63 64

1 คาเบยี้ เลี้ยง ที่พกั และพาหนะ 650,000 650,000 650,000 650,000

2 คาซอมแซมครภุ ณั ฑสำนกั งาน 400,000 400,000 400,000 400,000

3 คา วัสดุสำนักงาน 763,000 763,000 763,000 763,000

4 คา วัสดเุ ชือ้ เพลิงและหลอลื่น 250,000 250,000 250,000 250,000
คา เชาเคร่อื งถา ยเอกสาร/คา หมกึ ถา ย 200,000 200,000 200,000 200,000

5 เอกสาร

6 คา สาธารณูปโภค 900,000 900,000 900,000 900,000

7 คา ตอบแทน ใชส อย 450,000 450,000 450,000 450,000

8 คา จา งเหมาอตั ราจางชัว่ คราว 3 อตั รา 387,000 387,000 387,000 387,000

รวม 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000
4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000
องคประกอบท่ี 2 : งบภาระงาน
ท่ี รายการ

โครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ าร
1 จดั การ

พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

รวมท้งั สิน้ 8,000,000 8,000,000 8,000,000 8,000,000

64

กรอบงบประมาณรายจา ยลว งหนา (MPEF) ระยะปานกลาง 4 ป ( พ.ศ.2562 - 2565)

งบประมาณป งบประมาณป งบประมาณป งบประมาณป

ที่ รายการ 2562 2563 2564 2565

1 งบบคุ ลากร 710,529,793 721,187,740 732,005,556 742,985,640

2 งบดำเนนิ งาน 78,852,312 80,035,097 81,235,623 82,454,158

3 งบลงทนุ 39,893,195 40,491,593 41,098,966 41,715,451

4 งบเงินอุดหนุน 4,002,537 4,062,575 4,123,513 4,185,366

5 งบประมาณเบกิ แทนกนั 818,649 830,929 843,393 856,044
งบลงทุน(กระตนุ การ 18,551,828 18,830,105 19,112,557 19,399,245

6 ลงทุน)

7 เงินนอกงบประมาณ 500,000 500,000 500,000 500,000

รวมทง้ั สิ้น 853,148,314 865,938,039 878,919,609 892,095,903

สวนท่ี 5

การขบั เคล่อื นแผนพฒั นาการคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐานสกู ารปฏิบัติ

การขบั เคลื่อนแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) ไปสูก ารปฏบิ ตั ิ
ภายใตการมีสว นรวมของทุกภาคสว น ปจ จยั สนบั สนนุ สอดคลองกบั นโยบายทกุ ระดับ จงึ กำหนดแนวทางการดำเนินงาน
ดังน้ี

แนวทางการขบั เคล่ือนแผนแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565)
1. สรางความตระหนกั ใหผบู รหิ ารการศกึ ษา ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
และดำเนนิ การชแ้ี จงประชาสัมพันธ ใหรบั รแู ละเขา ใจ สาระสำคญั และแนวการปฏิบัติ อยา งชัดเจน
2. ผูบริหารหนวยงานทางการศึกษาทกุ ระดับ สถานศกึ ษาใหความสำคญั และใชแ ผนพฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) เปนคมู อื ในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
3. สรางเครอื ขายความรว มมอื ของหนวยงานทางการศกึ ษา สถาบันทางการศึกษา และสถานศกึ ษา
รวมกันขบั เคล่อื นนโยบายสกู ารปฏิบตั ิอยางเปนรูปธรรม ทจี่ ะนำไปสผู ลสำเร็จตามเปาหมายอยา งชดั เจน รวมท้งั กำหนด
ความรับผิดชอบตอ การบรรลุเปา หมายหลัก
4. ตอ งพัฒนาศักยภาพของบุคลากรใหมคี วามรู ความสามารถในการปฏิบัตงิ านดว ยเทคนิควธิ กี าร
ใหม ๆ อยางตอเน่ือง รวมท้งั สรา งขวญั กำลงั ใจดว ยการยกยอ งชมเชยใหร างวลั เมอ่ื สามารถดำเนินการไดประสบ
ผลสำเร็จ
5. ประสานงานใหหนว ยงานในสวนกลางและจังหวดั สนบั สนนุ ทรพั ยากรอยา งพอเพียงตอ การปฏิบัติ
ตามแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัตกิ ารของหนว ยปฏบิ ัติการในพ้ืนท่ี

แนวทางการประสานระดมทรัพยากรและการมีสว นรว มทางการศกึ ษา
1. แหลง งบประมาณ
- งบประมาณจากสวนราชการตนสังกัดของหนว ยงานทางการศกึ ษา
- งบประมาณตามแผนพฒั นาจงั หวัดลำปาง/แผนพฒั นาการศึกษาจงั หวัดลำปา
- งบประมาณจากองคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน ชุมชนและภาคเอกชน
- งบประมาณจากหนวยงานอืน่ เชน สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง เปน ตน
2. แนวทางการประสานระดมทรพั ยากรและการมีสว นรว มทางการศกึ ษา
- จัดทำขอ มูลเพื่อการประสานงานระหวางหนว ยงานทางการศกึ ษา หนวยงานดา นสงั คม

องคกรปกครองสวนทองถิ่นและภาคสว นอืน่ รวมทง้ั แหลงเรียนรู ภมู ปิ ญญาทองถิน่ และปราชญช าวบาน
เพอ่ื อำนวยความสะดวกในการติดตอประสานงานขอความรว มมือในการบริหารจัดการศึกษา

66

- การประสานความรวมมือ หรอื จัดทำขอ ตกลงความรวมมอื (MOU)กับหนว ยงาน
ทีม่ ภี ารกจิ เกยี่ วขอ งหรอื ทุกภาคสวนที่มแี นวทางใหความรวมมือในการบริหารจดั การศกึ ษา

- การแตงตัง้ หวั หนา หนว ยงานหรอื ผแู ทนจากหนวยงานท่ีเกย่ี วขอ งรว มเปนคณะกรรมการ
คณะทำงานในการบรหิ ารจัดการศึกษา “รว มคดิ รวมดำเนนิ การ รวมติดตามประเมนิ ผลและรว มรับผิดชอบผลงาน”

- ประกาศเกยี รติคุณยกยองเชดิ ชเู กียรติผูทำคุณประโยชนต อ การจดั การศกึ ษา

การตดิ ตามประเมนิ ผล
การตดิ ตามประเมนิ ผลการนำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-

2565) ไปสกู ารปฏบิ ตั ิ มแี นวทางและกระบวนการสำคญั ดังนี้
1. ใหค วามสำคัญกับการตดิ ตามความกาวหนา การประเมินผลสำเร็จและผลกระทบของ

การดำเนินงานอยางตอเนอ่ื งและผลการพฒั นาการศกึ ษาในภาพรวม
2. พัฒนาระบบนเิ ทศ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและรายงานใหมีประสิทธภิ าพ รวดเรว็

เพอื่ ใหไดขอ มลู สารสนเทศเพือ่ การทบทวน ปรับปรงุ การดำเนนิ งานใหบ รรลุเปาหมายไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ
ทันเหตุการณ

3. เสรมิ สรา งกลไกการตรวจสอบขององคคณะ ก.ต.ป.น.ใหเขมแข็ง โดยสนับสนนุ ใหท ุกภาคสว น
มสี วนรวมติดตามความกาวหนา ตรวจสอบความโปรงใสและความสำเร็จของโครงการตางๆ ท่ีพัฒนาศักยภาพใหมี
ทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการตรวจสอบโครงการตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพและจัดทำขอมูล
ท่ีนำมาใชป ระกอบการตรวจสอบไดอยา งถกู ตอ งชัดเจน

4. สรางการเชอ่ื มโยงโครงขายขอมูลระหวา งสถานศกึ ษา เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาและหนวยงานการศกึ ษา
อืน่ ทีเ่ กย่ี วของ ใหเ ปน ระบบทเี่ ขาใจไดง า ยและใชป ระโยชนไ ดสะดวก เพอ่ื ใหท กุ ฝายมีขอมลู ที่ถกู ตอ งแมนยำ เปน
ประโยชนตอการวางแผนและติดตามประเมินผลตอ ไป

ปจจยั แหง เง่อื นไขความสำเร็จ (Key Success Factors)
การดำเนินการตามวตั ถปุ ระสงค เปาหมายของแตล ะยุทธศาสตรตามที่กำหนดไวใ นแผนพฒั นาคณุ ภาพ

การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) จะประสบผลสำเร็จตามทีร่ ะบุไวในแตละยทุ ธศาสตร และแนวทาง
การพัฒนาไดห นวยงานทงั้ ระดบั เขตพนื้ ท่กี ารศึกษา และสถานศึกษาตองยดึ ถือเปนแนวทางในการดำเนนิ งาน และมกี าร
ทบทวนปรับปรงุ มาตรการ เปาหมายความสำเรจ็ ใหทันตอการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กดิ ข้นึ ในแตล ะพน้ื ทีต่ ามบรบิ ท เพอื่ การ
พัฒนาศกั ยภาพผเู รียนทกุ คน ซึง่ ตอ งดำเนินการ ดงั น้ี

1. การสรา งการรบั รู ความเขาใจ การยอมรบั จากผมู ีสว นไดส วนเสยี และประชาสังคมในการสง เสรมิ

67

สนบั สนุนการพฒั นาการศึกษาในลกั ษณะตาง ๆ อยา งกวางขวาง มุงเนน ทก่ี ารจัดระบบการศึกษาทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ
โปรง ใส ตรวจสอบได และมุงเนน การพฒั นาคุณภาพของผเู รยี นในทกุ ระดบั

2. การสรางความเขาใจในเปาหมายและยทุ ธศาสตรก ารดำเนนิ งานแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) เพ่ือใหก ารขับเคลือ่ นไปสกู ารปฏิบตั ิ มกี ารจัดการและการเชื่อมโยง
ยทุ ธศาสตรแ ละแนวทางการพฒั นาใหบรรลเุ ปา หมายและวสิ ยั ทัศน

3. การปรบั เปล่ยี นกระบวนทศั นข องการจดั การศกึ ษา จากการเปน ผจู ัดการศึกษาโดยรัฐ มาเปนการ
จดั การศกึ ษาโดยทกุ ภาคสวนของสังคม มุง สกู ารจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความเทา เทียมและทว่ั ถึง (Inclusive Education)
ตลอดจนการสง เสริมการเรยี นรูตลอดชวี ิตสำหรบั ทกุ คน ซง่ึ สอดคลอ งกบั เปา หมายการพฒั นาทีย่ ั่งยืน

4. การใหแ ผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) เปนเสมอื นแผน
งบประมาณดานการจัดการศกึ ษา ระบบการจดั สรรงบประมาณประจำปใ หย ดึ แผนงาน โครงการ และเปา หมายการ
พฒั นาท่กี ำหนดไวในยุทธศาสตรแ ละแนวทางการพัฒนา เพอ่ื ใหการดำเนินงานพฒั นาการศกึ ษาเปน ไปในทศิ ทางและ
เปาหมายการพัฒนาผูเ รยี น บรรลุผลตามยุทธศาสตร ตวั ชี้วัดในชว งเวลาทีก่ ำหนด

5. พัฒนาระบบฐานขอมลู ระบบขอมลู และสารสนเทศท่บี รู ณาการและเช่อื มโยงกบั ระบบประกนั
คุณภาพภายในและการประเมินคณุ ภาพภายนอกผา นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ การรับรายงานผูมีสว นไดสว นเสยี
ซึง่ จะเปนกลไกในการสรางการรบั รขู องสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 และสถานศึกษา
เพ่อื การปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการ และความรบั ผิดชอบตอผูเรยี น ผานระบบการกำกบั ตรวจสอบ
ติดตามและประเมินผล

การขับเคลือ่ นแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) ใหประสบ
ผลสำเร็จจึงตองอาศัยปจ จยั ดงั กลา วขา งตน เปนสำคญั หากสาธารณชน ทกุ ภาคสวนเขามารวมสนบั สนุนการ
ดำเนนิ การ และผปู ฏบิ ตั งิ าน และผูม สี ว นไดเสยี ทกุ ฝา ยเขาใจบทบาทของตนและรวมพลงั ดำเนนิ งานตามยุทธศาสตร
เปา หมายและแนวทางการพัฒนาทก่ี ำหนด ยอมสง ผลใหการพฒั นาการศึกษาบรรลผุ ลสำเร็จตามวสิ ัยทัศนและเปา หมาย
ในการพัฒนาผูเรียนพฒั นาสงั คม และพฒั นาประเทศชาติ ตามความมุงหวังตอ ไป

ภาคผนวก



ตารางวิเคราะหส ภานภาพของสภาพแวดลอมภายใน (Internal Environment)

จดุ แข็ง (Strengths)

ลำดับ จดุ แขง็ /รายการปจ จยั คาเฉลีย่ น้ำหนกั คะแนน สรปุ ผล

ท่ี เรยี งลำดับ เฉล่ยี 0.4
1 อาคารสถานทใี่ นการปฏบิ ตั งิ านมีความพรอ มและเพยี งพอ 9.13 0.08 5 0.4
2 สภาพแวดลอ มเอ้ือตอการปฏบิ ตั งิ าน 9.08 0.08 5 0.4
3 การบริหารงบประมาณมปี ระสทิ ธภิ าพ 9.04 0.08 5 0.4
4 มีโครงสรา งระบบการบรหิ ารท่ีชัดเจน 8.89 0.08 5
องคคณะบคุ คลมสี ว นรวมในการบริหารจดั การเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา(กต 8.78 0.4
5 ปน.) 0.08 5 0.4
6 บคุ ลากรมจี ติ บรกิ าร 8.63 0.08 5 0.4
7 การมสี วนรวมในการปฏิบตั ิงาน 8.63 0.08 5 0.4
8 บคุ ลากรทกุ ฝายมคี วามรู ตามมาตรฐานวิชาชีพในการปฏบิ ตั งิ าน 8.62 0.08 5 0.32
9 บคุ ลากรไดรับการพฒั นาอยางตอเนื่อง 8.47 0.08 4 0.28
10 มโี ปรแกรมสำเรจ็ รปู ท่คี รอบคลมุ การปฏบิ ัติงานทุกดาน 8.43 0.07 4 0.28
11 มงี บประมาณในการบรหิ ารจัดการในเขตพน้ื ทเ่ี พยี งพอ 8.43 0.07 4
การบริหารจดั การเปน ระบบตาม หลักธรรมาภิบาลและมาตรฐานเขต 8.33 0.28
12 พื้นท่ี 0.07 4 0.28
13 มรี ะบบควบคมุ ภายใน 8.23 0.07 4

สรปุ ปจจัยภายใน จุดแขง็ 112.69 1 4.64



จดุ ออ น (Weaknesses) คาเฉล่ยี น้ำหนกั คะแนน สรปุ ผล

ลำดับ จดุ ออน/รายการปจจัย เรียงลำดบั เฉลีย่ 0.42
5.26 0.14 3 0.39
ท่ี 5.08 0.13 3 0.39
1 บคุ ลากรเฉพาะทาง ICT/Computer ไมเพยี งพอ 4.81 0.13 3 0.36
2 บคุ ลากรทางการศกึ ษาไมค รบตามกรอบอัตรากำลงั 4.62 0.12 3 0.36
3 การนำความรูแ ละทกั ษะท่ีไดจากการพฒั นา ไปใชในการปฏบิ ตั งิ าน 4.56 0.12 3 0.36
4 ทกั ษะการทำงานเปนทมี และการประสานงานระหวางกลมุ 4.55 0.12 3 0.24
5 การบรู ณาการในการใชข อมลู รวมกนั 4.46 0.12 2 0.24
6 ความสามารถดา นการสื่อสารภาษาตางประเทศของบุคลากร 4.43 0.12 2
7 สารสนเทศเพ่อื ใชในการบรหิ ารจดั การไมค รอบคลมุ ครบถวน
8 ระบบอนิ เตอรเ น็ตไมรองรบั การใชงานจำนวนมากในเขตพ้นื ที่ 37.77 1 2.76

สรุปปจจัยภายใน จดุ ออ น

คาเฉลยี่ คะแนน(จุดตดั ) = (4.64 - 2.76)/2
= 0.94



ตารางวิเคราะหส ภานภาพของสภาพแวดลอ มภายนอก (External Environment)

โอกาส (Opportunities)

ลำดบั โอกาส/รายการปจ จยั คา เฉลย่ี น้ำหนกั คะแนน สรปุ ผล

ที่ เรียงลำดบั เฉลี่ย
มียุทธศาสตรช าติ 20 ป และแผนพฒั นาการศึกษาชาติ 20 ป เปน
8.69 0.13 5 0.65
1 กรอบแนวทางในการพฒั นาการศึกษา
แนวทางในการพฒั นาการศึกษา

2 รฐั บาลใหความสำคญั และกำหนดนโยบายทส่ี นบั สนนุ การจดั การศึกษา 8.52 0.13 5 0.65
มีหนวยงานและสถาบันทจ่ี ดั การศกึ ษาอยา งหลากหลายทง้ั ภาครัฐและ 8.44
0.52
3 เอกชน 0.13 4 0.52
4 มีแหลง เรียนรู ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ทห่ี ลากหลาย 8.40 0.13 4 0.52
5 สังคมและชุมชน เหน็ คณุ คา และความสำคญั ของการจดั การศึกษา 8.39 0.13 4 0.48
6 ความเจรญิ กาวหนาทางเทคโนโลยที ่ีทนั สมัย 8.04 0.12 4
7.88 0.48
เครือขายองคกรและบคุ คลภายนอกเขามามสี ว นรว มในการพฒั นา
7 คณุ ภาพการศกึ ษา 0.12 4

การศึกษา 7.63 0.11 4 0.44
ไดร บั การสนบั สนนุ งบประมาณจากภาครัฐเอกชน องคกรปกครองสวน
8 ทองถ่ินและหนว ยงานอืน่

และหนว ยงานอนื่ 65.99 1 4.26
สรุปปจจยั ภายนอก โอกาส



อปุ สรรค (Threats) คาเฉลย่ี น้ำหนกั คะแนน สรปุ ผล

ลำดับ อปุ สรรค/รายการปจจยั เรียงลำดับ เฉลี่ย

ที่ 6.11 0.09 3 0.27

1 การปรบั โครงสรางของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทำใหเ พม่ิ ขนั้ ตอนในการ 6.08 0.09 3 0.27
5.91 0.09 3 0.27
ปฎบิ ตั ิงาน 5.91 0.09 3 0.27
2 นโยบายการลดอัตรากำลงั คนภาครฐั ทำใหบ ุคลากรไมเ พยี งพอ 5.89 0.09 3 0.27
3 การสงั่ การของหนวยงานตน สังกัดเรงดวน 5.73
4 โครงสรางประชากรวัยเรียนลดลง ผสู งู อายเุ พม่ิ ขน้ึ 0.24
5 สภาพเศรษฐกจิ ของผปู กครองสง ผลกระทบตอ การศกึ ษา 0.08 3 0.24
5.62 0.08 3 0.24
ระเบยี บ/แนวปฏิบัติดานงบประมาณ ทำใหมขี อ จำกัดการใชจ าย 5.60 0.08 3 0.24
6 งบประมาณ 5.57 0.08 3 0.24
7 การโอนงบประมาณลา ชา 5.31 0.08 3 0.24
8 หนวยงานตนสงั กดั มีการดำเนินงานนโยบายทซ่ี ํา้ ซอ น 5.28 0.08 3 0.21
9 สภาพการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมมผี ลตอ พฤตกิ รรมผูเรยี น 4.97 0.07 3 3.00
10 การเรง รัดการใชจ ายงบประมาณไมส อดคลองกบั การปฏบิ ัตงิ าน
11 กรอบวงเงินงบประมาณไมช ัดเจน 67.98 1
12 การบรู ณาการในการใชข อมลู รว มกนั ระหวางหนวยงานตางสงั กดั

สรปุ ปจ จยั ภายนอก อปุ สรรค

คา เฉลย่ี คะแนน(จดุ ตัด) = (4.26 - 3.00)/2
= 0.63

SWOT GRAPH

โอกาส (Opportunities)

stars 4.26 2.76

จดุ แขง็ (Strengths) 4.6 0.63 จุดออ่ น (Weaknesses)
0

0.94

อปุ สรรค (Threats)

ผลการวเิ คราะหสถานภาพองคกรของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1
พบวาอยดู า นโอกาสและจดุ แขง็ (Stars) แสดงใหเ หน็ วา สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง
เขต 1มีสภาพปจ จยั ภายนอกเอื้อและแขง็ คอื ภายนอกใหก ารสนบั สนนุ ภายในองคก รดีมปี ระสทิ ธิภาพ
ในการรว มมือและทำงานรวมกันสง ผลให สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1
เปน องคก รทมี่ ีคุณภาพประสบผลสำเรจ็ แตอยางไรก็ตามมขี อ สังเกตวา หนว ยงานยงั มไิ ดมีความสมบรู ณ
โดยสงั เกตจากรปู ไขย ังมีสวนลำ้ ไปในสวนของQuestion Marks Cash Cows และ Dogs สำนกั งาน
เขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1ยงั คงมปี จ จยั บางอยา งท่เี ปนอุปสรรค และจุดออนอยู
แตก ็เปนสว นนอ ย สวนใหญจ ะดี ดังนั้นเมอื่ วิเคราะหเปน Stars แลว สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถม-
ศึกษาลำปาง เขต 1 ยังตองรักษาสถานภาพของตนเองไวอ ยาใหต กตำ่ และมกี ารพฒั นาตอ ยอดรวมถึง
สถานการณใ นการพลกิ วิกฤตใหเปนโอกาสกำจัดจุดออ นท่ยี งั คงอยูใหล ดนอ ยหรือหมดไปตามบรบิ ท

ความเชอ่ื มโยงระหวางยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธกิ า

ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป ยุทธศาสตรกระทรวง นโยบายสาํ นักงานคณะกรรมการ
(พ.ศ.2561-2580) ศึกษาธิการ การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน/สพป.ลป.1

1.ดานความมั่นคง 1.ดานความมนั่ คง 1.การจดั การศึกษาเพ่อื ความมัน่ คง

2.ดานการสรางความ 2.ดานการผลติ พฒั นากําลงั คน การจดั การศึกษาเพอ่ื เพอื่ ความสามารถ
สามารถในการแขงขนั และเสริมสรางความสามารถ
ในการแขงขนั ในการแขงขัน

3.ดานการพฒั นาและ 3.ดานการพฒั นาและ การพฒั นาและเสริมสรางศักยภาพ
และเสรมิ สรางศักยภาพ เสริมสรางศกั ยภาพคน ทรัพยากรมนุษย
ทรัพยากรมนุษย

าร นโยบายและเปาหมายสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

เปาหมายสาํ นักงานคณะกรรมการ เปาหมายสาํ นกั งานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน การศึกษาประถมศกึ ษา
ลาํ ปาง เขต 1

ผูเรียนมคี วามรักในสถาบนั หลกั ของชาติและ ผูเรียนมีความรกั ในสถาบนั หลักของชาติและ
ยึดมน่ั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยมี ยดึ มน่ั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยมี
หลกั คิดที่ถกู ตอง เปนพลเมอื งดขี องชาติ มี หลกั คิดท่ถี กู ตอง เปนพลเมอื งดขี องชาติ มี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีจิตสาธารณะ คุณธรรม จรยิ ธรรม มจี ติ สาธารณะ
มคี านิยมที่พึงประสงค รับผิดชอบตอสังคม มีคานยิ มที่พึงประสงค รบั ผิดชอบตอสงั คม
และผอู น่ื และผูอน่ื

ผเู รยี นเปนบุคคลแหงการเรยี นรู สรางสรรค ผูเรยี นเปนบุคคลแหงการเรยี นรู สรางสรรค
นวตั กรรม มสี มรรถนะตามหลักสูตร และ นวัตกรรม มสี มรรถนะตามหลกั สตู ร และ
คณุ ลักษณะของผเู รยี นในศตวรรษที่ 21 คณุ ลกั ษณะของผูเรยี นในศตวรรษที่ 21
พงึ พาตนเอง เปนพลเมือง พลโลกทีด่ ีพรอม พงึ พาตนเอง เปนพลเมอื ง พลโลกที่ดีพรอม
กาวสูสากล นาํ ไปสกู ารสรางความสามารถใน กาวสูสากล นําไปสกู ารสรางความสามารถใน
การแขงขนั ของประเทศ การแขงขนั ของประเทศ

-ผูเรียนมคี วามสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตร ผเู รียนมคี วามสามารถพเิ ศษดานวทิ ยาศาสตร

คณิตศาสตร ศิลปะ ดนตรี กฬี า ภาษา และ คณติ ศาสตร ศิลปะ ดนตรี กฬี า ภาษา และ
ไดรับการพฒั นาอยางเตม็ ตามศกั ยภาพ ไดรบั การพัฒนาอยางเตม็ ตามศักยภาพ
-ผูบรหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาเปน -ผบู รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเปน
บุคคลแหงการเรยี นรู ตามมาตรฐานวิชาชพี บคุ คลแหงการเรยี นรู ตามมาตรฐานวิชาชพี

4.ดานการสรางโอกาส 4.ดานการสรางโอกาสความ 4.สรางโอกาสในการเขาถงึ บริการ
และความเสมอภาพทาง เสมอภาคและการลดความ การศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพ มีมาตรฐาน
สังคม เหล่ือมลาํ้ ทางการศึกษา และลดความเหล่อื มลํา้ ทางการศกึ ษา

ยุทธศาสตรชาติ 20 ป ยุทธศาสตรกระทรวง นโยบายสาํ นักงานคณะกรรมการ
(พ.ศ.2561-2580) ศึกษาธกิ าร การศึกษาข้นั พื้นฐาน/สพป.ลป.1

5.ดานการสรางการ 5.ดานการเสรมิ สรางคณุ ภาพ ดานการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพ
เติบโตบนคณุ ภาพ ชีวติ ประชาชนท่เี ปนมติ ร
ชีวิตที่เปนมิตร กบั สิ่งแวดลอม ชีวติ ท่เี ปนมติ รกับสง่ิ แวดลอม
กับส่ิงแวดลอม

6.ดานการปรับสมดลุ 6.ดานการพัฒนาระบบและ ดานการปรับสมดลุ และพัฒนา
และพัฒนาระบบการ การบริหารจัดการ ระบบการบริหารจัดการศึกษา
บริหารจดั การภาครัฐ

ผูเรียนทม่ี ีความตองการจําเปนพเิ ศษ ผูเรยี นทีม่ ีความตองการจาํ เปนพเิ ศษ
กลุมชาตพิ ันธุ กลุมผูดอยโอกาส กลมุ ท่ีอยใู น กลุมชาติพนั ธุ กลุมผูดอยโอกาส กลมุ ที่อยใู น
พ้ืนท่หี างไกลทุรกนั ดาร ไดรบั การศึกษาอยาง พ้ืนทห่ี างไกลทรุ กันดาร ไดรบั การศึกษาอยาง
ทั่วถึง เทาเทยี ม และมคี ณุ ภาพ ทัว่ ถึง เทาเทียม และมคี ณุ ภาพ

เปาหมายสาํ นักงานคณะกรรมการ เปาหมายสาํ นักงานเขตพืน้ ท่ี
การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน การศึกษาประถมศกึ ษา
ลาํ ปาง เขต 1
สถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาเพ่ือการบรรลุ
เปาหมายการพัฒนาอยางยัง่ ยนื และเสริมสราง สถานศึกษาจดั การศกึ ษาเพื่อการบรรลุ
คณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปนมติ รกบั ส่งิ แวดลอม
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปาหมายการพฒั นาอยางยง่ั ยนื และเสริมสราง

คณุ ภาพชีวติ ท่ีเปนมติ รกับสง่ิ แวดลอม
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

สํานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา สถานศึกษา สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา สถานศกึ ษา
มสี มดุลในการบริหารจดั การเชงิ บูรณาการ มีสมดลุ ในการบรหิ ารจดั การเชิงบูรณาการ
มกี ารกํากบั ติดตาม ประเมินผล มรี ะบบขอมลู
สารสนเทศทีม่ ปี ระสิทธิภาพ การรายงานผล มีการกาํ กบั ติดตาม ประเมินผล มีระบบขอมลู
อยางเปนระบบ ใชงานวิจยั เทคโนโลยีและ
นวตั กรรมในการขบั เคลือ่ นคุณภาพการศึกษา สารสนเทศทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ การรายงานผล
อยางเปนระบบ ใชงานวจิ ยั เทคโนโลยแี ละ
นวตั กรรมในการขับเคล่ือนคุณภาพการศกึ ษา

คำสงั่ สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1
ท่ี 298 / 2561

เรื่อง แตง ตงั้ คณะกรรมการทบทวน/ปรบั แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ.2562-2565)
และจัดทำแผนปฏบิ ัติการประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2562
………………………………….

สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 จะทบทวน/ปรับแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ.2562-2565) และจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2562 เพอ่ื ใชเ ปนกรอบ
และทิศทางการดำเนินงาน ขับเคล่ือนการบริหารจดั การและพฒั นาคุณภาพการศึกษา รวมทงั้ ยงั เปนกรอบแนวทางในการ
ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนินงานของสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

ดังนัน้ เพอ่ื ใหก ารทบทวน/ปรบั แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ.2562-2565)
และจดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2562 เปนไปดว ยความถกู ตอง มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสูงสดุ
จึงแตง ตั้งคณะกรรมการ ดงั นี้

1. คณะกรรมการอำนวยการ

มหี นาท่ใี หค ำแนะนำ ปรกึ ษา กำกบั ตดิ ตาม ตรวจสอบการดำเนนิ งาน เพื่อใหการดำเนนิ งานเปนไปดวย

ความถกู ตอ ง เรยี บรอ ย ประกอบดวย

1. ผอู ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 ประธานกรรมการ

2. นางวรางคณา ไชยเรือน รองผอู ำนวยการ.สพป.ลำปาง เขต 1 รองประธานกรรมการ

3. รองผูอ ำนวยการ สพป.ลำปาง เขต 1 ทกุ คน กรรมการ

4. ผอู ำนวยการกลมุ ทกุ กลุม และผอู ำนวยการหนวยตรวจสอบภายใน กรรมการ

5. นางชีวพร สุรยิ ศ ผูอำนวยการกลมุ นโยบายและแผน กรรมการและเลขานกุ าร

6. นางพวงสรอ ย ณรงคธ วุ พันธ นักวเิ คราะหน โยบายและแผนชำนาญการ ผูช วยเลขานุการ

2. คณะกรรมการทบทวน/ปรับแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ.2562-2565) และจัดทำ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2562

มีหนาที่ศกึ ษา วิเคราะห สงั เคราะห เอกสารประกอบการจดั ทำแผนฯ ศึกษาผลการดำเนนิ งานในรอบ

ปทีผ่ านมา สภาพปจ จบุ นั ความตอ งการพฒั นา ปรับปรงุ ของเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 และ

สถานศกึ ษาในสังกัด พจิ ารณารายละเอียดแผนงาน/โครงการกจิ กรรม และงบประมาณท่ีจะดำเนินการทบทวน/ปรบั

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ระยะ 4 ป (พ.ศ.2562-2565) และจดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงบประมาณ

พ.ศ. 2562 ประกอบดว ย

-2-

1. นายอภริ กั ษ อิ่มจิตอนุสรณ ผูอำนวยการ สพป.ลำปาง เขต 1 ประธานกรรมการ

2. นางวรางคณา ไชยเรอื น รองผอู ำนวยการ สพป.ลำปาง เขต 1 รองประธานกรรมการ

3. รองผอู ำนวยการ สพป.ลำปาง เขต 1 ทกุ คน กรรมการ

4. ผอู ำนวยการกลมุ ทกุ กลมุ และผอู ำนวยการหนว ยตรวจสอบภายใน กรรมการ
5. ศึกษานเิ ทศกท ุกคน กรรมการ
6. นางสมศรี ตนโนนเชยี ง นักวิเคราะหน โยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

7. นางพิมพพ ร สิทธิวงศ นกั ทรัพยากรบคุ คลชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

8. นางอารวี รรณ ประสาน นกั วิชาการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

9. นางสาวจารภุ า ไชยวิเศษ นกั วิชาการศึกษาชำนาญการ กรรมการ

10. นางลำดวน เปลงแสงทอง นกั ทรพั ยากรบคุ คลชำนาญการ กรรมการ

11. นางกุลชรี ปญจวิวัฒนก ลุ นกั จัดการงานท่วั ไปชำนาญการ กรรมการ

12. นางศิริเพ็ญ แกว ใน นักวิชาการตรวจสอบภายในชำนาญการ กรรมการ

13. นางผุสดี ยอดเรือน นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการ กรรมการ

14. นางสาวปรญิ ญา ไชยวรรณ นกั วชิ าการพสั ดชุ ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

15. นางรงุ นภา เครือคำหลอ นกั วิชาการพัสดชุ ำนาญการ กรรมการ

16. นางชีวพร สุริยศ ผูอ ำนวยการกลมุ นโยบายและแผน กรรมการและเลขานกุ าร

17.นางพวงสรอย ณรงคธ ุวพันธ นักวิเคราะหน โยบายและแผนชำนาญการ กรรมการและผชู วยเลขานุการ

3. คณะกรรมการฝายการเงนิ และบญั ชี

มีหนา ทีด่ ำเนนิ การในเร่ืองการจัดซอ้ื จดั จาง การเบกิ จายงบประมาณ ประกอบดว ย

\ 1. นายสมคดิ ธรรมสิทธ์ิ รองผูอ ำนวยการ สพป.ลำปาง เขต 1 ประธานกรรมการ

2. นางอรพณิ กองคำบตุ ร ผอู ำนวยการกลมุ บริหารการเงนิ และสนิ ทรัพย รองประธานกรรมการ

3. นางสาวปริญญา ไชยวรรณ นักวิชาการพสั ดชุ ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

4. นางปนดั ดา โปชยั คปุ ต เจา พนักงานการเงินและบญั ชชี ำนาญงาน กรรมการ

5. นางสาววไิ ลพร พจิ อมบตุ ร นกั วชิ าการเงินและบญั ชปี ฏบิ ตั ิการ กรรมการ

6. นางดวงจันทร คำเครือ นกั วชิ าการเงนิ และบญั ชชี ำนาญการ กรรมการ

7. นางขวัญใจ ตุย นักวิชาการเงินและบญั ชปี ฏบิ ตั กิ าร กรรมการ

8. นางรุงนภา เครือคำหลอ นกั วชิ าการพสั ดชุ ำนาญการ กรรมการและเลขานกุ าร

9. นางอาทติ ยา กิมาคม นักวิชาการเงนิ และบญั ชชี ำนาญการ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

4. คณะกรรมการประสานงานและสนับสนนุ การดำเนนิ งาน

มีหนา ทปี่ ระสานงาน อำนวยความสะดวก บริการ และชวยจัดทำเอกสารประกอบการประชมุ เอกสาร

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาข้นั พ้ืนฐานระยะ 4 ป (พ.ศ.2562-2565) และแผนปฏบิ ตั ิการประจำปงบประมาณ พ.ศ.
2562 และงานบรกิ ารอนื่ ๆ ตอ คณะกรรมการ ประกอบดวย

1. นางชวี พร สรุ ิยศ ผอู ำนวยการกลุมนโยบายและแผน ประธานกรรมการ

2. นางสมศรี ตน โนนเชียง นกั วเิ คราะหนโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ

-3- กรรมการ
3. นายธนพฒั น ชุนณวงษ นักวิชาการคอมพิวเตอรป ฏบิ ัตกิ าร กรรมการ
4. นายสมชาย ครธุ นาค เจาหนา ทีบ่ นั ทกึ ขอมลู กรรมการ
5. นางพวงสรอย ณรงคธวุ พันธ นกั วิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการ กรรมการและเลขานุการ
6. นางจรรยา คำโพธ์ิ เจา พนกั งานธุรการชำนาญงาน ผชู ว ยเลขานกุ าร
7. นางสาวธารณิ ี ทาทะรักษ อัตราจา งช่ัวคราว

ทั้งน้ี ตงั้ แตบัดนี้เปนตน ไป

ส่งั ณ วนั ท่ี 10 ตลุ าคม พ.ศ. 2561

คณะทำงาน

ทปี่ รกึ ษา

นายอภริ ักษ อ่มิ จิตอนสุ รณ ผูอำนวยการสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

นายสมเกยี รติ ปงจนั ตา รองผอู ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

นางวรางคณา ไชยเรือน รองผูอำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

นายสมคดิ ธรรมสิทธิ์ รองผอู ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

ผสู นบั สนุนขอมลู

ผอู ำนวยการกลุม ทกุ กลมุ /หนว ยตรวจสอบภายใน

ศกึ ษานเิ ทศกทกุ คน

บคุ ลากรสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 ทกุ คน

คณะจดั ทำเอกสาร

นางชีวพร สุริยศ ผอู ำนวยการกลมุ นโยบายและแผน

นางสมศรี ตน โนนเชียง นกั วิเคราะหน โยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ

นางพวงสรอย ณรงคธวุ พันธ นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชำนาญการ

นายธนพัฒน ชุนณวงษ นักวิชาการคอมพิวเตอรช ำนาญการ

นางจรรยา คำโพธ์ิ เจาพนกั งานธรุ การชำนาญงาน

นางสภุ าณี ฟง อารมณ พนกั งานบนั ทึกขอมลู

นายสมชาย ครุธนาค เจา หนา ที่บนั ทกึ ขอมลู

นางสาวธาริณี ทาทะรกั ษ อตั ราจาง


Click to View FlipBook Version