The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2022-07-10 07:17:08

เล่มแผน ก.ต.ป.น. ปีงบประมาณ .ศ. 2565

แผนติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา
ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565

สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสาร ศน. สพป.ลป.1 ที่ 35 /2564



คานา

แผนตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษขาองสานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา
ลาปาง เขต 1 โดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
เล่มน้ี จดั ทาขน้ึ เพ่ือเปน็ เอกสารแนวทางการดาเนินงาน ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา
ตามขอบขา่ ยของกฎกระทรวงกาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา
พ.ศ. 2550 จานวน 4 ด้าน ได้แก่ ดา้ นวิชาการ ดา้ นงบประมาณด้านการบริหารงานบุคคลและด้านการบริหาร
ทว่ั ไป และงานตามนโยบายแห่งรัฐประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มเี ป้าหมายหลกั ในการส่งเสริม สนบั สนุน
ให้โรงเรียนเปน็ องค์กรท่มี ีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สามารถบรหิ ารและดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
อย่างตอ่ เนื่องสืบไป

แผนตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาฉบบั น้ปี ระกอบดว้ ย 5 สว่ น คือ สว่ นที่ 1
บทนา สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน ส่วนที่ 3 รูปแบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) และสว่ นท่ี 4
แผนการนเิ ทศกจิ กรรมการนเิ ทศ และปฏิทนิ การนิเทศ และสว่ นที่ 5 เครื่องมือตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
และนิเทศการศกึ ษา

กล่มุ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา
ลาปาง เขต1 ขอขอบคุณคณะทางานทกุ ท่าน ท่ีร่วมกนั จดั ทาเอกสารฉบับนีจ้ นเสร็จสมบรู ณหว์ งั เป็นอย่างย่ิงว่า
เอกสารฉบบั นี้ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา ของสานักงาน
เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา และผูม้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งในระดบั เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาไดม้ ีประสิทธผิ ลมากย่งิ ข้ึน

กลุม่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1



สารบญั

คานา บทนา หนา้
สารบญั - ความเป็นมาและความสาคญั ก
สารบญั ภาพ - วตั ถปุ ระสงค์ของการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา ข
สว่ นที่ 1 - ขอบเขตของการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา ง
- เป้าหมายของการนิเทศ 1
ส่วนท่ี 2 1
ขอ้ มูลพ้ืนฐาน 4
สว่ นท่ี 3 - จานวนสถานศกึ ษา 4
สว่ นที่ 4 - จานวนนักเรียนและจานวนห้องเรียน 4
ส่วนท่ี 5 - จานวนครูและจานวนโรงเรียนจาแนกตามอาเภอ 6
ภาคผนวก - คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา 6
ภาคผนวก ก ของสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 7
- ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา 7
ภาคผนวก ข ในรอบปีงบประมาณท่ผี ่านมา 8
ภาคผนวก ค
รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) 8
แผนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา กจิ กรรมการนเิ ทศ
และปฏทิ นิ การนเิ ทศ 12
เครื่องมอื ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา 16

- ขอบขา่ ย/ภารกิจการดาเนนิ การดา้ นการบรหิ ารจดั การศึกษาตามภาระงาน 19
ของโรงเรยี น 4 ด้านของโรงเรยี นในสังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา 20
ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 21

- แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการบริหารจดั การศกึ ษาตามภาระงานของโรงเรียน 46
4 ดา้ น
68
- แบบตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบรหิ ารจัดการศึกษาตามภาระ
งานของโรงเรยี น 4 ดา้ น



ภาคผนวก ง - แนวทางการขบั เคล่อื นจุดเน้นตามนโยบายการจัดการศกึ ษาของสานกั งาน หนา้
ภาคผนวก จ เขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปางเขต1 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 88
- แบบนิเทศ ตดิ ตามการขับเคล่ือนจุดเนน้ ตามนโยบายการจดั การศึกษาของ 91
คณะผจู้ ดั ทา สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาปางเขต1 ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 104

สารบัญภาพ ง

แผนภาพที่ 2 การนิเทศ เพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาโดยใช้รปู แบบนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี หน้า
(APICE Model) 12
13
แผนภาพที่ 3 กรอบแนวคดิ การนเิ ทศเพ่ือยกระดับคุณภาพการศกึ ษาโดยใช้รูปแบบนเิ ทศ
เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

1

สวนที่ 1
บทนํา

ความเปนมาและความสาํ คญั

พระราชบญั ญตั ิระเบยี บบริหารกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 วรรค 3 และวรรค 4
กําหนดวา ในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาใหมีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การศกึ ษาของเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา (ก.ต.ป.น.) มหี นาท่ีศึกษา วเิ คราะหวิจยั นิเทศติดตามและประเมินผลการ
บรหิ ารและการดาํ เนนิ การ โดยมุง เนน ผลสมั ฤทธขิ์ องหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
เพ่ือเตรยี มการรับการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลจากหนว ยงานภายนอก กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจึงไดอ อก
กฎกระทรวงกําหนดจํานวน หลักเกณฑ และวิธกี ารไดม าของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล
และนเิ ทศการศึกษาของเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา พ.ศ. 2548 ใหมีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศการศกึ ษาของเขตพ้นื ที่การศึกษา จํานวนเกาคน เพ่ือเปน การระดมทรัพยากรบุคคลท่ีทรงคุณคา
แหงภูมปิ ญ ญาทองถน่ิ ไดมีสวนรวมเปนเจาของในการบริหารและจัดการศึกษาของเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา โดยมี
ขอบขายการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ตามกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ
และวธิ กี ารกระจายอํานาจการบริหารและการจดั การศึกษา พ.ศ. 2550 จํานวน 4 ดา น ไดแ ก ดานวชิ าการ
ดานงบประมาณ ดา นการบรหิ ารงานบุคคล และดานการบริหารท่ัวไป

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 สว นท่ี 4 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ระดับเขต
พ้ืนที่การศกึ ษา ขอ 26 ใหค ณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนที่
การศึกษา ตามกฎกระทรวงวาดวยการกําหนดจํานวน หลักเกณฑและวิธีการไดมาของคณะกรรมการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพื้นทก่ี ารศึกษา มอี ํานาจหนาท่ี ดงั น้ี 1) สงเสริม
สนับสนุนให มีการนํามาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มากําหนดเปนแนวทางในการติดตาม ประเมินผล
และนิเทศการบริหารและการดําเนินการของหนวยงาน และสถานศึกษาในสังกัดเขตพ้ืนที่การศึกษา
2) กาํ หนดแนวทางการศกึ ษาวเิ คราะห วจิ ยั การบริหาร และการดําเนนิ การของหนว ยงาน และสถานศึกษา
ในสังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 3) พิจารณาแผนการติดตามตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา
โดยมงุ เนน ผลสัมฤทธ์ิ ของหนวยงาน และสถานศึกษาในสังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 4) ติดตามประเมินผล
และนิเทศการบริหาร และการดําเนินการตามแผนที่กําหนด 5) รับทราบผลการติดตาม ประเมินผล
และนิเทศการบริหาร และการดําเนินการตามแผน และใหขอเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุง และพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาอยางตอเน่อื ง 6) สง เสรมิ ใหมีการประสานการติดตามประเมินผล และนิเทศการศึกษา
กับคณะกรรมการ และหนว ยงานทเี่ ก่ยี วขอ ง 7) แตงต้ังคณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
การจัดการศกึ ษาตามความจําเปน และ 8) ปฏิบตั งิ านอนื่ ใดตามท่ีไดร ับมอบหมาย

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จัดทํามาตรฐานสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
เพ่ือเปนขอกําหนดและแนวทางในการบริหารและจัดการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ใหมี

2

ความชัดเจน ครอบคลุม สอดคลองกับภารกิจ นโยบาย และแนวทางการกระจายอํานาจ ในการบริหาร
และการจัดการศึกษาที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 แผนการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมท้ังสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง
ในการปฏริ ูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ โดยท่ีมาตรฐานสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มาตรฐาน
ท่ี 2 การบริหารและการจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ ตัวบงช้ีท่ี 5 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศการจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ ประเด็นการพิจารณา การจัดระบบติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผล และนิเทศการจดั การศึกษาภารกิจหลกั 4 ดา น และการนาํ นโยบายสูการปฏิบัติ สอดคลองกับ
คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษาของเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา (ก.ต.ป.น.)

ตามกฎกระทรวงซึ่งกําหนดหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารกระจายอํานาจการบรหิ ารและการจัดการศึกษา
พ.ศ. 2550 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 39 วรรคสองแหงพระราชบัญญัติการศึกษา
แหงชาติ พ.ศ. 2542 (ซ่ึงแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545)
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงโดยใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการหรือเลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐานพิจารณาดําเนินการกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษาใน
ดานวชิ าการ ดานงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล และดานการบริหารท่ัวไป ไปยังคณะกรรมการ
เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา หรือสถานศกึ ษาในอาํ นาจหนา ทข่ี องตน

อนึ่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดประกาศนโยบาย ประจําปงบประมาณ
พ.ศ. 2564 – 2565 มงุ ม่ันในการพัฒนาการศึกษาข้นั พื้นฐานใหเ ปน “การศึกษาข้นั พน้ื ฐานวถิ ีใหม วิถีคณุ ภาพ”
มุง เนน ความปลอดภัยในสถานศกึ ษา สงเสรมิ โอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอยา งเทา เทยี ม และบรหิ ารจดั
การศกึ ษาอยา งมปี ระสิทธิภาพ จํานวน 3 ดาน ไดแก ดานความปลอดภัย เนนพัฒนาระบบและกลไกใน
การดูแลความปลอดภยั ใหก ับผเู รียน ครู และบลุ ากรทางการศกึ ษา และสถานศึกษา จากภัยพิบตั ิและภัยคกุ คาม
ทกุ รูปแบบ รวมถงึ การจัดสภาพแวดลอ มท่เี ออ้ื ตอการมสี ขุ ภาวะทีด่ ีสามารถปรบั ตัวตอโรคอุบัตใิ หมและโรค
อุบตั ิซา้ํ ดา นโอกาส เนน สนับสนุนใหเด็กปฐมวัยไดเ ขาเรียนทุกคน มีพัฒนาการท่ีดี ท้ังทางรางกาย จิตใจ
วนิ ยั อารมณ สังคม และสติปญญาใหส มกบั วยั ดาํ เนนิ การใหเด็กและเยาวชนไดรบั การศึกษาจนจบการศึกษา
ข้นั พนื้ ฐาน อยางมีคุณภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ สามารถวิเคราะหตนเองเพ่ือ
การศึกษาตอ และประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งสงเสริมและพัฒนา
ผูเ รียนทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษสูความเปนเลิศ เพ่อื เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ พัฒนา
ระบบดูแลชวยเหลอื เดก็ และเยาวชนท่ีอยูในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่อื ปองกนั ไมใหอ อกจากระบบการศกึ ษา
รวมทงั้ ชว ยเหลอื เด็กตกหลนและเดก็ ออกกลางคันใหไ ดรบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานอยางเทา เทยี ม และสงเสริม
ใหเ ดก็ พกิ ารและผูดว ยโอกาส ใหไ ดรับโอกาสทางการศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพมีทักษะในการดําเนินชีวิต มีพื้นฐาน
ในการประกอบอาชพี พงึ่ ตนเองไดอ ยา งมีศกั ดศ์ิ รคี วามเปน มนุษยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และดา นคณุ ภาพ เนนสงเสริมการจัดการศึกษาใหผูเรียนมีความรู มีทักษะการเรียนรูท่ีจําเปนของโลกใน
ศตวรรษที่ 21 อยางครบถวน เปนคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติยึดมั่นการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยโดยอันมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ มีทัศนคตทิ ่ถี กู ตองตอ บานเมอื ง พัฒนาผูเรียน

3

ใหม สี มรรถนะและทกั ษะดา นการอาน คณิตศาสตร การคดิ ขั้นสงู นวตั กรรมวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยดี ิจทิ ลั
และภาษาตางประเทศ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขัน และการเลือกศึกษาตอเพื่อการมีงานทํา
ปรับหลักสูตรเปน หลกั สตู รฐานสมรรถนะ ทเ่ี นน การพัฒนาสมรรถนะหลักทจี่ ําเปน ในแตล ะระดับ จัดกระบวนการ
เรียนรแู บบลงมอื ปฏิบัตจิ ริง รวมทง้ั สง เสริมการจัดการเรียนรทู สี่ รา งสมดุลทกุ ดานสง เสรมิ การจัดการศึกษา
เพ่ือพัฒนาพหุปญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลผูเรียนทุกระดับ และพัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษาใหเปนครูยคุ ใหม มศี กั ยภาพในการจัดการเรียนการสอนตามหลกั สตู รฐานสมรรถนะ มีทกั ษะ
ในการปฏบิ ตั ิหนา ทไ่ี ดดี มีความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยีดิจิทัลมีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพ
อยางตอ เน่อื ง รวมทั้งมจี ติ วญิ ญาณความเปนครู ดา นประสิทธภิ าพ เนนพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการโดยใชพื้นท่ี
เปนฐาน มนี วัตกรรมเปน กลไกหลกั ในการขบั เคลอ่ื นบนฐานขอ มลู สารสนเทศที่ถกู ตอ ง ทนั สมัย และการมี
สวนรว มของทุกภาคสว น พัฒนาโรงเรียนมธั ยมดสี ีม่ ุมเมอื ง โรงเรียนคณุ ภาพชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก และ
โรงเรยี นที่สามารถดาํ รงอยไู ดอยา งมคี ณุ ภาพ (Stand Alone) ใหมคี ณุ ภาพอยางย่งั ยนื สอดคลองกับบริบท
ของพ้นื ท่ี บริหารจดั การโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา ท่ีมีจาํ นวนน้ันเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 1-3 นอ ยกวา
20 คน ใหไดร ับการศึกษาอยางมีคณุ ภาพ สอดคลองกับนโยบายโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน สงเสรมิ การจัด
การศึกษาท่ีมีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงคเฉพาะ และสถานศึกษาท่ีตั้งในพ้ืนท่ีลักษณะพิเศษ
สนับสนุนพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาใหเปนตนแบบการพัฒนานวัตกรรมการศกึ ษาและการเพมิ่ ความคลอ งตวั
ในการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเพิ่มประสิทธิภาพการนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.)

ของสํานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต1 ไดด ําเนินการวิเคราะหนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

และสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน นาํ มากาํ หนดเปนจุดเนนตามนโยบายสําคัญของสํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1 จํานวน 6 จุดเนน ไดแก 1) การสงเสริมความปลอดภัยใน

สถานศึกษา 2) การสงเสริมกระบวนการเรยี นรทู างประวัตศิ าสตร หนาท่พี ลเมืองและศีลธรรม 3) การสงเสริม

การจดั การเรยี นรทู ่เี นน Active Learning 4) การใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ การจัดการเรยี นรู 5) การยกระดบั

คุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนคุณภาพระดบั ประถมศกึ ษา 6) การพัฒนาการอานออก เขียนได นาํ สกู ารปฏบิ ตั ิ

ภายใตก ารมสี วนรว มกบั ทุกภาคสว น ทั้งในสวนของภาครฐั และเอกชน โดยใชก ารบรหิ ารจัดการแบบมีสวนรวม

5 ร คือ ขนั้ ตอนท่ี 1 รว มศึกษา ขั้นตอนที่ 2 รวมวางแผน ขั้นตอนท่ี 3 รวมปฏิบัติ ข้ันตอนที่ 4 รวมสรุป

และขน้ั ตอนที่ 5 รว มแลกเปล่ียนเรยี นรู

จากความเปน มาและความสําคัญ สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 จึงจัดทํา
แผนตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 เพอื่ เปนเอกสารแนวทาง
การดําเนินงานติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ตามกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ
และวิธีการกระจายอํานาจการบริหารและการจดั การศึกษา พ.ศ. 2550 จํานวน 4 ดาน ไดแก 1) ดานวิชาการ

4

2) ดานงบประมาณ 3) ดา นการบรหิ ารงานบุคคล 4) ดานการบรหิ ารท่ัวไป และติดตามนโยบายสาํ คญั แหง รฐั
เพ่อื ใหโ รงเรียนสามารถบริหารจดั การศึกษา จนเกดิ ประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล
และดาํ เนนิ งานตามนโยบายสาํ คญั แหง รัฐ กระทรวงศึกษาธกิ าร สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
และสาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาไดอ ยางมีคุณภาพ โดยมีวตั ถปุ ระสงคการนิเทศ และเปา หมายการนิเทศ ดงั นี้

วัตถปุ ระสงคข องการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา
เพื่อติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาดวยรูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี

( APICE Model ) ดังนี้
1. การบริหารจัดการโรงเรียนตามภาระงาน 4 ดาน ไดแก วิชาการ งบประมาณ บริหารงานบุคคล

และบรหิ ารงานท่วั ไป
2. จุดเนน ตามนโยบายการจัดการศึกษาของสาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

ปงบประมาณ พ.ศ. 2565

ขอบเขตของการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา
1. การบรหิ ารจดั การโรงเรียนตามภารกิจหลัก 4 ดาน ไดแก วิชาการ งบประมาณ บรหิ ารงานบคุ คล

และบริหารงานท่ัวไป
2. จดุ เนน ตามนโยบายการจดั การศึกษาของสาํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต 1

ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 จาํ นวน 6 จุดเนน ไดแก
1. การสงเสริมความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา
2. การสง เสริมกระบวนการเรียนรทู างประวัติศาสตร หนาทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม
3. การสง เสรมิ การจัดการเรยี นรทู เี่ นน Active Learning
4. การใชเ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอื่ การจดั การเรียนรู
5. การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นคุณภาพระดับประถมศึกษา
6. การพัฒนาการอานออก เขยี นได

เปา หมายของการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา
เชงิ ปริมาณ
สถานศกึ ษาในสงั กดั ไดรบั การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศ รอ ยละ 100
เชิงคุณภาพ
- สถานศึกษาในสงั กดั ไดร ับการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาอยางมี

ประสทิ ธิภาพ
- โรงเรียนมีระบบการบรหิ ารจดั การตามภาระงาน 4 ดา น ไดแก วชิ าการ บริหารงบประมาณ

บรหิ ารงานบุคคล และบรหิ ารงานทั่วไปทมี่ ีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล

5

- โรงเรียนดาํ เนินงานตามจุดเนนตามนโยบายการจัดการศกึ ษาของสาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา
ประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 ไดอ ยา งมคี ณุ ภาพ

6

สวนที่ 2
ขอ มูลพนื้ ฐาน

1. จาํ นวนสถานศึกษา

สถานศกึ ษาในสงั กัดสํานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต 1 มีจํานวน 114 โรงเรยี น

จดั การเรยี นการสอนจรงิ 84 โรงเรียน 3 สาขา จําแนกตามลกั ษณะของสถานศกึ ษา และจดุ เนน ตามนโยบาย

ของหนวยงานตนสังกัด ดงั นี้ (ขอ มลู ณ วันท่ี 25 เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 จาก http://lpg1.go.th/Bigdata)

1.1 ขนาดของสถานศกึ ษา

1.1.1 โรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน 88 โรงเรียน

1.1.2 โรงเรียนขนาดกลาง จาํ นวน 22 โรงเรียน

1.1.3 โรงเรียนขนาดใหญ จํานวน 2 โรงเรยี น

1.1.4 โรงเรียนขนาดใหญพ เิ ศษ จํานวน 2 โรงเรยี น

1.2 การจัดการศกึ ษา

1.2.1 จดั การศึกษา 2 ระดบั ประกอบดวยระดับกอนประถมศกึ ษาและระดบั ประถมศกึ ษาจาํ นวน

71 โรงเรียน

1.2.2 จดั การศึกษา 3 ระดับ ประกอบดว ยระดับกอนประถมศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา และระดบั

ประถมศึกษาตอนตน จาํ นวน 22 โรงเรียน

1.3 การจัดการศกึ ษาตามนโยบายของรัฐบาล

1.3.1 โรงเรยี นในโครงการโรงเรยี นประชารัฐ จาํ นวน 24 โรงเรียน

1.3.2 โรงเรยี นในโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจําตาํ บล จาํ นวน 38 โรงเรยี น

1.3.3 โรงเรียนในโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. จาํ นวน 93 โรงเรียน

1.3.4 โรงเรยี นในโครงการโรงเรียนสจุ ริต จาํ นวน 93 โรงเรยี น

1.3.5 โรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน จํานวน 1 โรงเรยี น

1.3.6 โรงเรยี นขนาดเลก็ ทสี่ ามารถดาํ รงอยูไดดว ยตนเอง (Stand Alone) จํานวน 1 โรงเรียน

7

2. จํานวนนกั เรยี นและจาํ นวนหอ งเรียน

ชั้นเรียน จาํ นวนนักเรียน รวม จาํ นวนหองเรยี น
ชาย หญงิ
อนบุ าล 1
อนบุ าล 2 321 284 605 29
อนุบาล 3
รวมระดับกอนประถมศกึ ษา 683 668 1,351 99
ประถมศกึ ษาปท่ี 1
ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 716 677 1,393 100
ประถมศกึ ษาปท่ี 3
ประถมศึกษาปท ่ี 4 1,720 1,629 3,349 228
ประถมศึกษาปท ่ี 5
ประถมศกึ ษาปที่ 6 922 991 1,913 113
รวมระดับประถมศกึ ษา
มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 972 938 1,910 117
มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2
มัธยมศึกษาปท ่ี 3 1,002 1,041 2,043 114
รวมมัธยมศกึ ษา
รวมทงั้ ส้นิ 1,043 970 2,013 111

1,036 952 1,988 114

962 964 1,926 114

5,937 5,856 11,793 683

190 162 352 23

197 174 371 24

195 143 338 24

582 479 1,061 71

8,239 7,964 16,203 982

3. จํานวนครูและจํานวนโรงเรียน จําแนกตามอําเภอ

ท่ี จําแนกตามอาํ เภอ จาํ นวน
โรงเรยี นในสังกดั (โรงเรยี น) ครูในสังกัด (คน)

1 อําเภอเมือง 48 765

2 อาํ เภอแมเมาะ 19 274

3 อําเภอหางฉัตร 20 183

4 อาํ เภองาว 27 281

รวม 114 1,520

8

4. คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) ของสาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1

1. นายสมเกียรติ ปงจันตา ผูอาํ นวยการสาํ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1

ประธานกรรมการ

2. นายศักด์ิ นามะเสน ผแู ทนผบู รหิ ารสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานของรัฐ

3. วา ท่ี ร.ต.ชพี สทิ ธ์ิ ฮน่ั เกียรติพงษ ผูแทนผบู รหิ ารสถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานของเอกชน

4. นายเรวัฒน สธุ รรม ผูทรงคณุ วุฒดิ า นวิจัย และประเมนิ ผล

5. นายสมคดิ ธรรมสิทธิ์ ผทู รงคุณวุฒดิ า นบรหิ ารการศึกษา

6. นายธรี ศกั ด์ิ สุวรรณปญญา ผูทรงคณุ วุฒิดา นศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม

7. นายสมพร นาคพิทักษ ผทู รงคุณวุฒดิ านการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

8. ดร.ศศิธร รณะบุตร ผทู รงคณุ วุฒิดานการศึกษาปฐมวยั

9. นายเอกฐสิทธ์ิ กอบกํา ผอู ํานวยการกลุม นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา

สาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

กรรมการและเลขานกุ าร

5. ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาในรอบปงบประมาณท่ผี า นมา
5.1 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นตามภาระงาน 4 ดา น

ปงบประมาณ 2564
5.1.1 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบรหิ ารจดั การศกึ ษาตามภาระงานของโรงเรียน

4 ดา น ครั้งท่ี 1
สํานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ดําเนนิ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล

และนิเทศการบริหารจัดการศกึ ษาตามภาระงานของสถานศึกษา 4 ดาน ครั้งท่ี 1 ประเมินผลโดยลงพ้ืนท่ี
โรงเรยี นเกบ็ รวบรวมขอ มูลผลการดําเนินงานของโรงเรียนในไตรมาสที่ 2 ใชเคร่อื งมือในการติดตาม ตรวจสอบ

และประเมนิ ผลฯ ไดแก เอกสารขอบขา ย/ภารกิจการดาํ เนินการดา นการบริหารจัดการศึกษาตามภาระงาน
ของโรงเรียน 4 ดาน ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 และ

แบบติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการบรหิ าร จัดการศกึ ษาตามภาระงานของโรงเรียน 4 ดาน แตง ตัง้
คณะอนกุ รรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ตามภาระงาน
ของสถานศกึ ษา 4 ดาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สาํ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

ประชุมชี้แจงแนวทางการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารจัดการศกึ ษาตามภาระงานของโรงเรยี น
4 ดาน แกค ณะอนุกรรมการฯ นเิ ทศใหค วามรแู กท กุ โรงเรียนในสังกัดโดยการประชุมสัญจรการขับเคลื่อน

9

จดุ เนนงานตามนโยบายสกู ารปฏบิ ตั ิ ชี้แจงขอบขายและแบบตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหาร

จดั การศกึ ษาตามภาระงานของสถานศกึ ษา 4 ดาน กําหนดปฏิทินการปฏิบัติงานของคณะอนุกรรมการฯ

ดําเนินการตามปฏิทินท่ีกําหนด และนําขอมูลมาวิเคราะหสรุปผลการติดตามโดยรวมโดยใชคารอยละ

สรุปผลการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการบรหิ ารจัดการศึกษาตามภาระงานของสถานศึกษา

4 ดา น ดังน้ี

ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาตามภาระงานของโรงเรียน
4 ดา น ครงั้ ที่ 1 ไดแ ก ดา นวชิ าการ ดานงบประมาณ ดา นการบริหารงานบุคคล และดานการบริหารทั่วไป
ผลการประเมินโดยรวม พบวาโรงเรยี นมีผลประเมินอยใู นระดับดีขนึ้ ไป จาํ นวน 83 โรงเรยี น คิดเปน รอยละ
97.65 เมื่อพิจารณาตามระดับคณุ ภาพ โรงเรยี นมีผลการประเมนิ ระดับดีมาก มากทสี่ ุดจาํ นวน 49 โรงเรยี น
คดิ เปน รอยละ 57.65 รองลงมาไดแ กร ะดับดี จํานวน 28 โรงเรยี น คิดเปน รอ ยละ 32.94 และระดับดเี ย่ียม
จํานวน 6 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 7.06 และมีผลการประเมินระดับพอใชนอยท่ีสุด จํานวน 2 โรงเรียน
คดิ เปน รอ ยละ 2.35

ดา นวชิ าการ พบวาโรงเรียนมผี ลประเมินอยใู นระดบั ดขี ึ้นไป จํานวน 82 โรงเรียน คดิ เปน รอยละ
96.47 เมือ่ พจิ ารณาตามระดับคณุ ภาพ โรงเรยี นมผี ลการประเมนิ ระดบั ดมี าก มากทส่ี ุดจาํ นวน 51 โรงเรียน
คดิ เปน รอ ยละ 60 รองลงมาไดแ กร ะดบั ดจี ํานวน 17 โรงเรียน คดิ เปน รอยละ 20 และระดับดีเยยี่ ม จํานวน
14 โรงเรียน คดิ เปนรอ ยละ 16.47 และมผี ลการประเมินระดับพอใชนอยที่สุด จํานวน 3 โรงเรียน คิดเปน
รอ ยละ 3.53

ดา นงบประมาณ พบวาโรงเรียนมีผลประเมินอยูในระดับดีขึ้นไป จํานวน 81 โรงเรียน คิดเปน
รอยละ 95.29 เม่อื พจิ ารณาตามระดบั คณุ ภาพ โรงเรียนมผี ลการประเมินระดบั ดี มากท่สี ดุ จํานวน 39 โรงเรยี น
คิดเปน รอยละ 45.88 รองลงมาไดแ กระดับดีมาก จํานวน 34 โรงเรยี น คิดเปน รอยละ 40 และระดับดเี ย่ยี ม
จํานวน 8 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 9.41 และมีผลการประเมินระดับพอใชนอยท่ีสุด จํานวน 4 โรงเรียน
คดิ เปน รอยละ 4.71

ดา นบรหิ ารงานบคุ คล พบวา โรงเรียนมผี ลประเมินอยูในระดับดีขึ้นไป จํานวน 83 โรงเรียน คิดเปน
รอยละ 97.65 เมื่อพิจารณาตามระดับคุณภาพ โรงเรียนมีผลการประเมินระดับดีมาก มากที่สุดจํานวน
45 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 52.94 รองลงมาไดแกระดับดี จํานวน 27 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 31.76
และระดบั ดีเยี่ยม จํานวน 11 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 12.94 และมีผลการประเมินระดับพอใชนอยท่ีสุด
จาํ นวน 2 โรงเรยี น คดิ เปนรอ ยละ 2.35

ดานบรหิ ารท่วั ไป พบวา โรงเรียนมีผลประเมินอยูในระดับดีข้ึนไป จํานวน 83 โรงเรียน คิดเปน
รอยละ 97.65 เม่ือพิจารณาตามระดับคุณภาพ โรงเรียนมีผลการประเมินระดับดีมาก มากท่ีสุดจํานวน
39 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 45.88 รองลงมาไดแกระดับดี จํานวน 31 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 36.47
และระดับดีเยย่ี ม จาํ นวน 13 โรงเรียน คดิ เปนรอ ยละ 15.29 และมีผลการประเมินระดับพอใช และปรบั ปรงุ
นอยท่สี ุด จํานวน 1 โรงเรียน คิดเปนรอ ยละ 1.18

10

5.2 ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารจดั การศึกษาตามภาระงานของโรงเรียน 4 ดาน
ครัง้ ท่ี 2

สาํ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1 ดําเนนิ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
และนเิ ทศการบรหิ ารจดั การศกึ ษาตามภาระงานของสถานศึกษา 4 ดาน ครั้งท่ี 2 ในไตรมาสท่ี 4 ซึ่งอยูใน
สถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเช้ือโคโรนาไวรสั (COVID 19) มีความจาํ เปนตอ งปรับเปลยี่ นรปู แบบ
การประเมนิ คร้ังท่ี 2 จากการลงพ้นื ที่โรงเรยี นเก็บขอมลู เปน การประเมนิ โดยใชรูปแบบออนไลน ตามมาตรการ
การปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชือ้ โคโรนาไวรสั (COVID 19) ดาํ เนนิ การโดยปรับปรงุ เครอ่ื งมือติดตามฯ
แตง ตงั้ คณะกรรมการพัฒนาระบบการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล การบริหารจัดการศกึ ษาตามภาระงาน
ของสถานศึกษา 4 ดา น ครั้งท่ี 2 ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ผานระบบ Online พัฒนาระบบการติดตาม ฯ
ผา นระบบ Online ประชมุ ชีแ้ จงแนวทาง การดาํ เนนิ งาน แกคณะอนุกรรมการติดตามฯ และช้ีแจงแนวทาง
การดาํ เนินงานแกโรงเรียน โรงเรียนสงขอมูลการบริหารจัดการตามภาระงาน 4 ดานผานระบบ Online
คณะกรรมการตดิ ตามฯ ประเมินการบรหิ ารจดั การศึกษาตามภาระงานของสถานศึกษา 4 ดาน ผา นระบบ
Online และนําขอมลู มาวิเคราะห สรุปผลการตดิ ตามโดยรวมโดยใชคารอยละ ผลการติดตาม ตรวจสอบ
และประเมินผล การบรหิ ารจดั การศึกษาตามภาระงานของโรงเรียน 4 ดาน ดงั นี้

การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาตามภาระงานของโรงเรยี น 4 ดา น
ไดแ ก ดา นวชิ าการ ดา นงบประมาณ ดานการบรหิ ารงานบุคคล และดา นการบริหารทว่ั ไป ผลการประเมิน
โดยรวม พบวาโรงเรียนมีผลการประเมินระดับดีมาก มากที่สุด จํานวน 54 โรง คิดเปนรอยละ 64.29
รองลงมาไดแกระดับดีจํานวน 20 โรง คดิ เปนรอ ยละ 23.81 ระดับดีเยี่ยม จํานวน 7 โรง คิดเปนรอยละ 8.33
ตามลําดบั มีผลการประเมนิ ระดับพอใชนอยทีส่ ุด จํานวน 3 โรง คิดเปนรอยละ 3.57 และไมมีโรงเรียนใด
อยูใ นระดบั ปรับปรงุ

ดา นวิชาการ ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลฯ พบวาโรงเรียนมผี ลการประเมินระดับ
ดีมาก มากที่สุดจาํ นวน 42 โรง คิดเปนรอยละ 50 รองลงมา ไดแกระดับดีเยี่ยม จํานวน 17 โรง คิดเปน
รอ ยละ 20.24 และระดบั ดี จาํ นวน 15 โรง คิดเปนรอยละ 17.87 ตามลําดับ และมีผลการประเมินระดับ
ปรบั ปรุงนอ ยทสี่ ุด จาํ นวน 2 โรง คิดเปน รอ ยละ 2.38

ดานงบประมาณ ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลฯ พบวาโรงเรียนมีผลการประเมิน
ระดับดีมาก มากท่ีสุดจํานวน 44 โรง คิดเปนรอยละ 52.38 รองลงมาไดแ กระดบั ดี จํานวน 21 โรง คิดเปน
รอ ยละ 25 และระดับดีเยีย่ ม จาํ นวน 18 โรง คิดเปน รอยละ 21.43 ตามลําดบั มผี ลการประเมินระดับพอใช
นอ ยทีส่ ุด จํานวน 1 โรง คดิ เปนรอ ยละ 1.19 และไมม โี รงเรียนใดอยใู นระดับปรบั ปรุง

ดานบริหารงานบคุ คล ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลฯ พบวาโรงเรยี นมีผลการประเมิน
ระดบั ดมี าก มากท่ีสดุ จาํ นวน 38 โรง คดิ เปนรอ ยละ 45.24 รองลงมา ไดแก ระดับดีเยี่ยม จํานวน 29 โรง
คดิ เปน รอ ยละ 34.52 และระดับดี จาํ นวน 12 โรง คิดเปนรอยละ 14.29 ตามลาํ ดับ และมีผลการประเมิน
ระดบั ปรับปรุงนอ ยทส่ี ุด จํานวน 1 โรง คดิ เปน รอยละ 1.19

11

ดานบรหิ ารทัว่ ไป ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลฯ พบวาโรงเรียนมีผลการประเมิน
ระดับดีมาก มากท่ีสุดจํานวน 35 โรง คิดเปนรอยละ 41.67 รองลงมาไดแกระดับดีเย่ียม จํานวน 26 โรง
คิดเปน รอยละ 30.95 และระดับดี จาํ นวน 20 โรง คดิ เปน รอ ยละ 23.81 ตามลําดับ และมีผลการประเมิน
ระดับปรบั ปรงุ นอยทีส่ ุด จํานวน 1 โรง คิดเปน รอยละ 1.19

5.3 ผลการเปรียบเทียบผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาตามภาระ
งานของโรงเรยี น 4 ดาน

การเปรียบเทียบผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศกึ ษาตามภาระงาน
ของโรงเรียน 4 ดา น คร้งั ท่ี 1 และครง้ั ท่ี 2 พบวา ผลประเมินโดยรวม ระดับดีเยยี่ ม ระดบั ดมี าก และพอใช
ครั้งท่ี 2 มคี า รอ ยละมากกวา คร้ังที่ 1 ระดบั พอใช มคี ารอยละนอยกวา คร้งั ท่ี 1 และผลการประเมินท้ังสองคร้ัง
ไมมีโรงเรียนไดร ะดบั ปรบั ปรงุ

5.4 ผลการติดตามการดําเนินงานตามนโยบายการจดั การศึกษาของสํานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา
ประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1

สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ดําเนินการติดตามการดําเนินงานตาม
นโยบายการจดั การศกึ ษาของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1 จํานวน 11 นโยบาย
ไดแก 1) การนิเทศภายใน 2) การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 3) การจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
4) การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5) ความปลอดภยั 6) ระบบดแู ลชว ยเหลอื นกั เรยี น 7) การเปนมิตร
กับสิง่ แวดลอ ม 8) เศรษฐกิจพอเพียง 9) Coding 10) การจัดการเรียนรูคณิตศาสตร และ 11) การใชส่ือ
และเทคโนโลยี ในไตรมาสที่ 4 ซงึ่ อยใู นสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส (COVID 19)
ปรบั เปลี่ยนรูปแบบจากการลงพื้นที่โรงเรียนเปนการตอบแบบตดิ ตามนโยบายการจัดการศึกษาของสํานักงาน
เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1 ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตอบแบบติดตามนโยบายการจัด
การศกึ ษาทางลงิ ค หรือ QR Code และมอบหมายใหโ รงเรียนจดั ทํารายงานผลการดําเนินงานตามนโยบาย
การจัดการศึกษาของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
สงสาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1 มอบใหผรู บั ผดิ ชอบนโยบายสรปุ ผลการติดตาม
โดยใชค า ความถี่ คา รอ ยละ และการวเิ คราะหเ น้อื หา มรี ายละเอียดดังนี้

การติดตามการดาํ เนนิ งานตามนโยบายการจดั การศกึ ษาของสํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
ลาํ ปาง เขต 1 พบวา โรงเรยี นในสงั กัดจํานวน 84 โรงเรียน ดาํ เนนิ งานตามนโยบายครบทุกนโยบาย คิดเปน
รอ ยละ 100

12

สว นที่ 3
รูปแบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

การนเิ ทศการศกึ ษามีความสําคัญตอ การพัฒนา ปรบั ปรุง และเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการจัดการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา เพอื่ ใหผูบรหิ ารสถานศึกษา ครผู สู อน และบคุ ลากรทางการศึกษามีความรู ความเขาใจใน
หลักสตู ร สามารถจัดการเรยี นรูไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา
สํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต 1 ไดด ําเนนิ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษา การบรหิ ารจดั การโรงเรียนตามภาระงาน 4 ดา น ไดแก วชิ าการ งบประมาณ บริหารงานบุคคล
และบริหารงานทวั่ ไป การดาํ เนินงานตามนโยบายแหงรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน และสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยใชรูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE
Model) ดังแผนภาพที่ 1 และแผนภาพที่ 2 ดังน้ี
แผนภาพที่ 1 การนิเทศ เพือ่ ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาโดยใชรูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี

(APICE Model)

ศกึ ษาสภาพ และความตอ งการ
(Assessing Needs: A)

การวางแผนการนเิ ทศ
(Planning : P)

การใหความรกู อนการนเิ ทศ
(Informing: I)

การนิเทศแบบโคช
(Coaching: C)

การประเมนิ ผลการนิเทศ
(Evaluating: E)

13

แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคดิ การนิเทศเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาโดยใชรปู แบบการนิเทศ
เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

กรอบแนวคิดการนเิ ทศ เพื่อยกระดบั คุณภาพการศึกษา โดยใชรูแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

ศกึ ษาสภาพ และความตอ งการ ศกึ ษาสภาพปจจุบัน/ปญ หา และความตอ งการ
(Assessing Needs : A)
1. กําหนดตัวชวี้ ัดความสําเร็จ (KPI)
การวางแผนการนเิ ทศ 2. สรางสอื่ /นวตั กรรม คมู อื การนิเทศ แผนการนิเทศ และ เครื่องมอื การนิเทศ
(Planning : P) 3. กําหนดกิจกรรมและปฏทิ ินการนเิ ทศ

การใหค วามรกู อนการนเิ ทศ สงเสริม/พฒั นาความรทู ่ีเก่ยี วของงานนโยบายสําคญั ตา งๆ
(Informing : I)
การนิเทศแบบโคช ปฏบิ ตั ิการนิเทศ Coaching เพอื่ กระตนุ ใหผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน
(Coaching : C) และบุคลากรทางการศึกษาท่ีเก่ียวของ วิเคราะหปญหา/เลือกแนว/
กาํ หนดแนวทางการแกปญหา/ วางแผน/ ดําเนนิ การแกปญหา/ วิเคราะห
การประเมินผลการนเิ ทศ และสรปุ ผล/ แลกเปลี่ยนเรยี นรู /ชน่ื ชมความสาํ เรจ็
(Evaluating : E)
รวบรวม วเิ คราะห และสังเคราะหผลการนเิ ทศ

ตรวจสอบ และประเมินผล ไมมคี ุณภาพ
การนิเทศ
ปรบั ปรุง
มคี ณุ ภาพ /พัฒนา

สรุปและจดั ทาํ รายงานผลการนิเทศ

นําเสนอและเผยแพรผ ลการนิเทศ (จดั นทิ รรศการ
แลกเปล่ยี นเรยี นร/ู ยกยอ งเชิดชูเกียรต/ิ Website ฯลฯ)

14

ข้นั ตอนท่ี 1 ศึกษาสภาพ และความตอ งการ (Assessing Needs : A)
ทีมบรหิ าร ศึกษานิเทศก รวมกันศึกษาสภาพปจ จบุ นั /ปญหา การบริหารงานดานวิชาการ และ

การดาํ เนนิ งานตามจุดเนนงานนโยบายแหงรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน และสอบถามความตองการของบุคลากรทางการศึกษาระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาผูบริหาร
สถานศึกษา ครผู สู อน และบุคลากรทางการศกึ ษาระดับสถานศกึ ษา

ขนั้ ตอนท่ี 2 การวางแผนการนิเทศ (Planning : P)
ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และบุคลากรทางการศึกษาท่ี

เก่ียวของ นําขอมูลที่ไดจากการศึกษาสภาพและความตองการ มาวางแผนการทํางานใหสอดคลองกับ
ยทุ ธศาสตร จดุ เนน ตามนโยบายสาํ คัญแหงรฐั กระทรวงศกึ ษาธิการ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พน้ื ฐาน และมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน โดยคํานึงถึงความเหมาะสมกับบริบทของเขตพื้นท่ีการศึกษา
และสถานศกึ ษา ดําเนนิ การ ดังน้ี

2.1 กําหนดตวั ชว้ี ัดความสาํ เรจ็
2.2 จดั ทาํ เครอ่ื งมอื การนเิ ทศ คมู อื การนเิ ทศ แผนการนเิ ทศการดาํ เนนิ งานตามนโยบายสาํ คญั
2.3 กําหนดกจิ กรรมและปฏทิ นิ การนิเทศ

ขัน้ ตอนที่ 3 การใหความรกู อนการนิเทศ (Informing : I)
ทมี บริหาร ศึกษานิเทศก ประชุม เชงิ ปฏิบัตกิ ารใหความรู เก่ียวกับการดําเนินงานตามจุดเนน

นโยบายแหง รัฐ กระทรวงศกึ ษาธิการ และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การบริหารงาน
ดานวิชาการ แกบ คุ ลากรทางการศกึ ษาระดบั เขตพื้นท่กี ารศกึ ษา ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ครผู สู อน และบุคลากร
ทางการศึกษาระดบั สถานศึกษา

ขั้นตอนที่ 4 การนเิ ทศแบบโคช (Coaching : C)
ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก ดําเนินการนิเทศแบบโคช เพื่อกระตุนใหบุคลากรทางการศึกษา

ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และบุคลากรทางการศึกษาระดับสถานศึกษา
ดําเนินงานตามจุดเนนนโยบายแหงรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน และการบรหิ ารงานดานวชิ าการ ดงั น้ี

4.1 วเิ คราะหปญหา
4.2 เลอื กแนวทางในการแกป ญ หา
4.3 กาํ หนดเปา หมายความสาํ เร็จ
4.4 วางแผนการแกป ญ หา
4.5 ดาํ เนนิ การแกปญ หาตามแผนทว่ี างไว ในแตล ะกิจกรรมที่ไดก าํ หนดไว
4.6 วเิ คราะห และสรปุ ผลการดําเนินงาน
4.7 แลกเปลี่ยนเรยี นรู ชืน่ ชมความสาํ เร็จ และขอเสนอแนะในการดําเนนิ งาน

15

ข้นั ตอนที่ 5 การประเมนิ ผลการนิเทศ (Evaluating : E)
ทมี บริหาร ศึกษานิเทศก ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และบุคลากรทางการศึกษาระดับ

เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาและระดบั สถานศกึ ษา ดาํ เนินการรวบรวม วเิ คราะห ตรวจสอบ สรปุ ผลและประเมินผล
การนเิ ทศ ดงั น้ี

5.1 รวบรวม วิเคราะห สังเคราะหผ ลการนเิ ทศ
5.2 ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการนเิ ทศ
5.3 สรปุ และจดั ทํารายงานผลการนเิ ทศ
5.4 จดั กิจกรรมแลกเปลยี่ นรู และชน่ื ชมความสาํ เรจ็
5.5 ยกยองเชดิ ชเู กียรตแิ กส ถานศกึ ษา ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ครผู สู อน และบคุ ลากรทางการศึกษา
ทเ่ี กี่ยวของทีม่ ีการปฏบิ ัตงิ านที่ดี
5.6 เผยแพรผลงานการปฏิบตั งิ านที่ดี สสู าธารณชนผาน Website ระบบ ICT และสารสนเทศ
ของสํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต 1


แผนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษาของ

ขอบขายการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา
1. การบรหิ ารจดั การศึกษาตามภาระงานของโรงเรยี น 4 ดานของโร
2. การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาทส่ี อดคลองกบั ยทุ ธศาสตร จุดเนน ข

เขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1

กจิ กรรมการนิเทศ กลมุ เปา หม

A1 : ศึกษา วเิ คราะหขอบขา ยการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นตาม ศกึ ษานเิ ทศ
ภาระงาน 4 ดาน ไดแก วิชาการ งบประมาณ บรหิ ารงานบคุ คล กลมุ งานเลข
และบริหารงานท่ัวไป
A2 : ศกึ ษา วิเคราะห ยุทธศาสตร นโยบาย จดุ เนนของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
และสาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1
A3 : ศึกษาผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศ
การศกึ ษาของสํานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง
เขต 1

121680

สว นที่ 4
งสาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา กิจกรรมการนเิ ทศ และปฏทิ ินการนเิ ทศ

รงเรยี น ไดแก วิชาการ งบประมาณ บรหิ ารงานบุคคล และบริหารงานทวั่ ไป
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และสํานักงาน

มาย ส่อื /เคร่อื งมอื ที่ใช ระยะเวลา ผรู บั ผดิ ชอบ
ดําเนินการ

ศก - กฎกระทรวงกาํ หนดหลักเกณฑ พฤศจกิ ายน นางกนิษฐา สวยสด

ขาฯ และวิธกี ารกระจายอาํ นาจการบรหิ าร 2564 นางศรีจันทร ทรายใจ

และการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550

- ยทุ ธศาสตร นโยบาย จดุ เนน ของ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สาํ นกั งาน

คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

และสํานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา

ประถมศึกษาลําปาง เขต 1

- ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล

และนิเทศการศกึ ษาของสาํ นักงาน

เขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําปาง

เขต 1

กิจกรรมการนเิ ทศ กลมุ เปา หม

P1 : จดั ทาํ แผนติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา คณะกรรมก

P2 : จัดทาํ แนวทางการดาํ เนินการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล ก.ต.ป.น.

และนเิ ทศการศกึ ษา การบรหิ ารจัดการศึกษาตามภาระงาน 4 ดา น

และการดําเนินงานตามนโยบายการจัดการศกึ ษาของสาํ นกั งาน

เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1

I : สรางความเขา ใจแกผ ูท ีเ่ กีย่ วของ ไดแ ก คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. คณะกรรมการ

คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ผบู ริหารโรงเรยี น และบคุ ลากรท่ี ก.ต.ป.น และค

เกย่ี วของ อนุกรรมการ

ก.ต.ป.น.

ผบู รหิ ารโรงเร

และผทู ่ีเกีย่ วข

C : คณะอนกุ รรมการ ก.ต.ป.น. นิเทศ ติดตาม โรงเรยี นในสงั กดั ผบู รหิ ารโรงเร

ในการบรหิ ารจดั การศกึ ษาตามภาระงาน 4 ดา น ไดแ ก และคณะคร

1. ดานวชิ าการ 2. ดานงบประมาณ 3. ดา นการบรหิ ารงาน เกีย่ วของ

บุคคล 4. ดา นการบรหิ ารท่ัวไป รวมถึงการปฏบิ ัตงิ านตาม

ยุทธศาสตร นโยบาย จดุ เนน ของกระทรวงศึกษาธิการ สาํ นกั งาน

คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน และสาํ นักงานเขตพน้ื ที่

การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ภาคเรียนละ 1 ครัง้

122870

มาย ส่อื /เคร่ืองมือที่ใช ระยะเวลา ผูร บั ผิดชอบ
ดําเนินการ นางกนิษฐา สวยสด
การ - แผนตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล ธันวาคม นางศรจี นั ทร ทรายใจ
. และนิเทศการศกึ ษา
2564 นางกนษิ ฐา สวยสด
- แนวทางการดาํ เนนิ การติดตาม นางศรีจนั ทร ทรายใจ
ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศ มกราคม
การศึกษา 2565 นางกนิษฐา สวยสด
ร - แนวทางการดาํ เนนิ การตดิ ตาม นางศรจี ันทร ทรายใจ
คณะ ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศ มกราคม และคณะอนุกรรมการ
การศกึ ษา 2565 –
- ปฏิทนิ การนเิ ทศ สงิ หาคม ก.ต.ป.น.
รยี น 2565
ขอ ง
รยี น - แบบนเิ ทศ ติดตามการบรหิ ารจดั
รทู ่ี การศึกษาตามภาระงานของโรงเรยี น
ง 4 ดา น ปง บประมาณ พ.ศ. 2565
- แบบนิเทศ ติดตามการดําเนินงานตาม
ยุทธศาสตร นโยบาย และจุดเนนฯ

กจิ กรรมการนเิ ทศ กลมุ เปาหม

E1 : ประเมินผลการบรหิ ารจดั การศึกษางานตามภาระงาน 4 ดา น ศกึ ษานเิ ทศ
รวมถึงการปฏบิ ัติงานตามยุทธศาสตร นโยบาย จดุ เนน ของ กลุมงานเลข
กระทรวงศกึ ษาธิการ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
และสาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1
E2 : จัดกิจกรรมแลกเปลยี่ นรู และชื่นชมความสาํ เรจ็ ยกยอ ง
เชดิ ชูเกยี รติแกส ถานศกึ ษา ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ครูผสู อน
และบุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ งทมี่ กี ารปฏบิ ตั งิ านที่ดี
E3 : สรุปและจัดทํารายงานติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศการศกึ ษา

ผลที่คาดวาจะไดร บั
1. สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจดั การศึกษาตามภาระงาน 4 ดา น คอื ดา

เกิดประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธิผลโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล
2. สถานศกึ ษาสามารถดําเนินงานตามยุทธศาสตร นโยบาย จุดเนนของก

พนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต 1 ไดอ ยางมีคณุ ภาพ

12380

มาย สื่อ/เคร่อื งมือที่ใช ระยะเวลา ผรู ับผิดชอบ
ดาํ เนินการ

ศก - แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล มีนาคม นางกนษิ ฐา สวยสด

ขาฯ และนิเทศการบรหิ ารจัดการศึกษาตาม 2565 นางศรีจนั ทร ทรายใจ

ภาระงานของสถานศกึ ษา 4 ดา น และ

- แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล กันยายน

และนเิ ทศการดาํ เนินงานตามยุทธศาสตร 2565

นโยบาย และจุดเนนฯ

-รายงานสรปุ ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ

ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา

านวชิ าการ ดา นงบประมาณ ดา นการบรหิ ารงานบคุ คล และดา นการบรหิ ารงานทั่วไปจน
กระทรวงศึกษาธิการ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และสํานกั งานเขต

119

สว นที่ 5

เครอ่ื งมอื ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ของสํานักงานเขตเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ตามขอบเขตการติดตามดานการบริหารจัดการโรงเรียนตามภาระงานของ
สถานศกึ ษา 4 ดา น ไดแก 1) ดานวิชาการ 2) ดานงบประมาณ 3) ดานการบริหารงานบุคคล 4) ดานการบริหาร
ทั่วไป และจดุ เนน ตามนโยบายการจดั การศึกษาของสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1
จํานวน 6 จดุ เนน ไดแ ก 1) การสงเสริมความปลอดภัยในสถานศึกษา 2) การสงเสริมกระบวนการเรียนรูทาง
ประวัติศาสตร หนาที่พลเมืองและศีลธรรม 3) การสงเสริมการจัด การเรียนรูท่ีเนน Active Learning
4) การใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่อื การจัดการเรียนรู 5) การยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนคุณภาพระดับ
ประถมศึกษา 6) การพฒั นาการอานออก เขียนได ดงั นี้

- ขอบขา ย/ภารกิจการดําเนนิ การดา นการบรหิ ารจดั การศึกษาตามภาระงานของโรงเรยี น
4 ดานของโรงเรียนในสงั กดั สาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

- แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการบรหิ ารจัดการศึกษาตามภาระงานของโรงเรียน 4 ดาน
- แบบตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาตามภาระงาน

ของโรงเรียน 4 ดา น
- แนวทางการขบั เคลื่อนจดุ เนน ตามนโยบายของสํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

ประถมศกึ ษาลําปางเขต 1 ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565
- แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการขบั เคลื่อนจุดเนนตามนโยบายของสาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาลําปางเขต 1 ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565

20

ภาคผนวก

21

ภาคผนวก ก

ขอบข่าย/ภารกจิ การดําเนนิ การดา้ นการบริหารจดั การศกึ ษา
ตามภาระงานของโรงเรยี น 4 ด้าน

22

ขอบขา่ ย/ภารกิจการดําเนินการด้านการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
ตามภาระงานของโรงเรยี น 4 ด้าน ของโรงเรียน

ในสงั กัดสํานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1
.............................................................................................................................................................

ขอบข่าย/ภารกิจการดาํ เนนิ การดา้ นการบริหารวิชาการของโรงเรียน

1. การวางแผนงานด้านวชิ าการ
1.1 แตง่ ต้งั คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ และคณะทาํ งานฝา่ ยต่างๆ เพอื่ ขบั เคลื่อนงานด้านวิชาการ
1.2 ประชมุ คณะกรรมการฝา่ ยวชิ าการ และคณะทาํ งานฝา่ ยตา่ งๆ เพื่อวางแผนงานด้านวชิ าการใน

การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมินผล และการเทียบโอนผล
การเรยี น การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและใช้ส่อื และเทคโนโลยี
เพอื่ การศึกษา การพฒั นาและสง่ เสริมให้มแี หล่งเรยี นรู้ การวจิ ยั เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพ การศึกษา และการส่งเสริม
ชมุ ชนให้มีความเข้มแขง็ ทางวิชาการโดยการรวบรวมขอ้ มูล วิเคราะห์กาํ หนดเปา้ หมาย จดั ทํากรอบใน
การดําเนินงาน ตลอดจน ดูแล นิเทศ กาํ กบั และติดตาม

1.3 จัดทาํ โครงการ/กจิ กรรม เพื่อขบั เคลือ่ นงานดา้ นวชิ าการ
1.4 ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือช้แี จง สร้างความเข้าใจ ขอความเห็นชอบใน
การขับเคล่ือนงานด้านวิชาการ

2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในสถานศึกษา
2.1 ครูผสู้ อนศึกษาวเิ คราะห์ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล เพ่ือนาํ ข้อมลู มาใชใ้ นการวางแผนจดั การเรยี นรใู้ ห้

เหมาะสมกบั ผู้เรยี น
2.2 ครูผู้สอนจัดทําโครงสร้างรายวิชา หนว่ ยการเรยี นรู้ และแผนจัดการเรยี นรสู้ ําหรบั ใช้ในการจัด

การเรียนรู้เพ่ือนําผู้เรยี นไปสู่เป้าหมายการเรยี นรูต้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั ของหลกั สตู ร
2.3 จัดบรรยากาศที่เอ้ือตอ่ การเรียนรูแ้ ละดแู ลช่วยเหลือผ้เู รยี นใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
2.4 จดั เตรียมและเลือกใช้ส่ือการเรียนรูใ้ หเ้ หมาะสมกับกิจกรรม นาํ ภูมิปญั ญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีท่ี

เหมาะสมมาประยุกตใ์ ช้ในการจดั การเรียนรู้
2.5 ประเมนิ ความก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้ของผู้เรยี นดว้ ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติ

ของวิชาในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้ และระดบั พฒั นาการของผู้เรยี น
2.6 วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ เพ่อื นาํ ผลมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผเู้ รยี น รวมท้ังปรับปรุง

การจัดการเรยี นรู้ของตนเองด้วยกระบวนการวจิ ัย

23

3. การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา
3.1 แตง่ ตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงานวิชาการของสถานศกึ ษา / คณะทาํ งานเพอ่ื

ดําเนินงานพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
3.2 ศึกษา วิเคราะห์หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กรอบหลักสูตรระดับ

ทอ้ งถิน่ และเอกสารประกอบหลักสตู รตา่ ง ๆ รวมท้งั ข้อมลู สารสนเทศเกี่ยวกับปัญหา จุดเนน้ ความตอ้ งการ
ของสถานศกึ ษา ผู้เรยี น และชมุ ชน

3.3 จดั ทาํ หลกั สตู รสถานศึกษาซึง่ มอี งค์ประกอบสาํ คัญ ดังน้ี 1) ส่วนนํา 2) โครงสร้างหลกั สตู ร
สถานศกึ ษา 3) คําอธบิ ายรายวิชา 4) กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 5) เกณฑก์ ารจบการศึกษา พรอ้ มกันน้ีสถานศึกษา
จะต้องจัดทาํ เอกสารระเบียบการวดั และประเมินผลเพื่อใช้ควบคกู่ ับหลกั สตู รสถานศึกษา

3.4 ตรวจสอบองค์ประกอบของหลักสูตรสถานศกึ ษาโดยพิจารณาคณุ ภาพจาก ความถูกตอ้ ง ความ
สอดคลอ้ ง ของแต่ละองค์ประกอบ และความเหมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษา

3.5 นาํ เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ หากมีข้อเสนอแนะ
จากคณะกรรมการฯ ให้นาํ ข้อเสนอแนะไปพจิ ารณาปรบั ปรุงกอ่ นการอนุมตั ิใช้หลักสูตร

3.6 ประกาศให้ใชห้ ลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาและผบู้ ริหาร
สถานศึกษาเป็นผลู้ งนาม

3.7 นาํ หลักสูตรสถานศึกษาสู่การปฏบิ ัติ โดยครผู สู้ อนจัดทําโครงสรา้ งรายวชิ า หนว่ ยการเรยี นรู้
และแผนจดั การเรยี นรู้ กําหนดสอื่ และแหลง่ การเรยี นรู้ และการวัดและประเมินผลเพ่ือพัฒนาผู้เรยี นให้มี
คณุ ภาพตามเป้าหมายของหลกั สตู ร

3.8 วิจัย/นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษาเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง เพ่ือนาํ ผล
มาใช้เป็นข้อมลู ในการพิจารณาปรบั ปรงุ หลักสตู รใหม้ ีคุณภาพและมคี วามเหมาะสมย่ิงขนึ้

4. การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้
4.1 จดั กิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้กระบวนการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย เชน่ กระบวนการเรยี นรู้ท่ีพัฒนา

ทกั ษะการคิด การเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active Learning) กระบวนการเรียนร้ทู ี่สง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ
4.2 นําแนวคดิ รูปแบบ วธิ ีการ กระบวนการเรียนรู้ หรอื นวัตกรรมใหม่ ๆ มาประยุกต์ใชใ้ นการจัด

กจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พ่ือแก้ปญั หาหรือพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน
4.3 ประสานความร่วมมือกบั ผปู้ กครอง ชุมชน และหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องในการพัฒนาการจดั

การเรยี นรแู้ ละกระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรียนเพือ่ ส่งเสรมิ ศักยภาพของผู้เรียนในดา้ นต่าง ๆ
4.4 ส่งเสริม สนับสนนุ ใหค้ รูศึกษา วิเคราะห์ และทําวิจยั ปฏบิ ตั ิการ (Action Research) เพอื่

พฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องครแู ละสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น
4.5 ใช้ข้อมูลจากการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ การวิจัยชน้ั เรียน การนิเทศภายใน และการตดิ ตาม

ผลการใช้หลักสตู รมาใช้เปน็ ข้อมูลในการวางแผนพฒั นาคุณภาพครแู ละคณุ ภาพนกั เรยี น

24

5. การวัดผล ประเมินผล และดําเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น
5.1 กําหนดระเบยี บว่าด้วยการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา
5.2 จัดทําระบบงานวดั และประเมินผลการเรียนครอบคลุมงาน 2 ส่วน ไดแ้ ก่ งานวัดผล

และงานทะเบยี น
5.3 จัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษาใหเ้ ป็นไปตามระเบียบการวดั และประเมินผลของสถานศึกษา

ได้แก่
1) เอกสารหลักฐานการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการกําหนด
2) เอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่สี ถานศึกษากําหนด

5.4 จดั ใหม้ กี ารวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ระหวา่ งเรียนควบคกู่ ับการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตาม
แผนทกี่ ําหนด พร้อมกับปรับปรงุ แกไ้ ขผูเ้ รยี นท่ีมีขอ้ บกพร่อง ประเมินตัดสินผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนใน
รายวชิ าทีส่ อน หรือกิจกรรม เม่ือส้ินสุดการเรียนรายปี/รายภาคและจดั ให้มีการสอนซอ่ มเสริม

5.5 จดั ให้มีการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรม
พัฒนาผู้เรยี น

5.6 พฒั นาเคร่ืองมือในการวดั และประเมินผลใหส้ อดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชว้ี ัดตามกล่มุ สาระการเรยี นรู้ทก่ี ําหนดในหลกั สูตรสถานศกึ ษา และการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์
และเขียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น

5.7 ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาอนมุ ัติการประเมินผลการเรยี น รายภาค/รายปี และตัดสนิ อนุมัตกิ ารเลื่อน
ช้นั เรียน การซ้าํ ช้ัน การจบการศึกษา

5.8 ครผู ้สู อนจัดทําหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการประเมินผลการเรยี นรูใ้ นรายวชิ า
หรอื กจิ กรรมทรี่ ับผิดชอบ จดั ทํา/สรา้ งเคร่ืองมือการวดั และประเมินผลทห่ี ลากหลาย มีการวัดและประเมินผล
ในช้ันเรียนระหว่างเรียนควบคู่กบั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนทีก่ ําหนดพร้อมกบั ปรับปรุงแก้ไขผเู้ รยี นท่ี
มีขอ้ บกพร่อง ตรวจสอบสมรรถนะของผู้เรียนและนําผลการประเมนิ ไปวิเคราะหเ์ พื่อพัฒนาการจัดการเรียน
การสอน

5.9 การเทียบโอนผลการเรยี นเปน็ อาํ นาจของสถานศกึ ษาที่จะแตง่ ตง้ั คณะกรรมการดาํ เนินการเพ่ือ
กําหนดหลักเกณฑ์และวธิ ีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษา ทัง้ ในระบบ นอกระบบ และตาม
อธั ยาศัย คณะกรรมการดําเนินการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและ
วชิ าการ พรอ้ มทัง้ ใหผ้ ้บู ริหารสถานศกึ ษาอนุมตั กิ ารเทยี บโอน

25

6. การวจิ ยั เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา
6.1 กําหนดนโยบายและแนวทางการนํากระบวนการวิจัยเปน็ สว่ นหน่งึ ของการจัดการศึกษาของ

สถานศกึ ษาและการพัฒนากระบวนการเรียนร้ขู องครู
6.2 รวบรวมและเผยแพร่ผลการวิจยั จากหน่วยงานตา่ งๆ เพื่อการเรียนรแู้ ละพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

รวมทัง้ สนบั สนนุ ใหค้ รนู ําผลการวิจยั มาใชเ้ พ่ือพฒั นาการเรยี นรแู้ ละพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา
6.3 พัฒนาครู เพ่ือเสรมิ สรา้ งความตระหนัก ความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแกป้ ญั หาการเรียนรู้

โดยใชก้ ระบวนการวจิ ัย
6.4 ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น แกป้ ัญหาการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน โดยใช้กระบวนการวิจัย
6.5 ครผู ู้สอนแก้ปัญหาการเรียนรขู้ องผู้เรียน โดยใชก้ ระบวนการวจิ ัยในช้ันเรียน
6.6 ผบู้ รหิ ารโรงเรียน รายงานผลการวิจัยในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี น
6.7 ครรู ายงานการแกป้ ัญหาการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น โดยใชก้ ระบวนการวิจยั ในชน้ั เรียน

7. การนเิ ทศการศกึ ษา
7.1 มีข้อมูลสารสนเทศของการนิเทศภายในโรงเรียนในภาคเรียนท่ีผ่านมา วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน/

ปัญหา จุดเด่น จุดด้อย อุปสรรค/ปัญหา เพื่อนํามาวางแผน/ออกแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาตามเกณฑ์
หอ้ งเรยี นคุณภาพ

7.2 กําหนดรูปแบบ/กระบวนการนิเทศ/วิธกี ารนเิ ทศภายในอยา่ งเปน็ ระบบ
7.3 จดั ทําโครงการ/กิจกรรมการนิเทศภายในของโรงเรยี น
7.4 จดั ทํา/จดั หาเคร่ืองมือ/สอื่ /นวัตกรรมการนิเทศภายในสถานศกึ ษา
7.5 กาํ หนดปฏทิ นิ การนเิ ทศ
7.6 แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ท้ังนี้จํานวนคณะกรรมการข้ึนอยู่กับ
ความเหมาะสมและสภาพบริบทของแตล่ ะโรงเรยี น
7.7 ประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการนิเทศภายในแก่คณะครูให้ทราบถึงความสําคัญของการนิเทศภายใน
เพื่อพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน โดยใช้เกณฑ์หอ้ งเรยี นคุณภาพเปน็ ฐาน
7.8 นเิ ทศติดตามงานดา้ นวิชาการตามปฏิทนิ การนเิ ทศ
7.9 สรุปผลการนเิ ทศ สะทอ้ นคดิ จากนเิ ทศหอ้ งเรยี นตามเกณฑห์ อ้ งเรียนคณุ ภาพ
7.10 รายงานผลการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษาตามเกณฑ์ห้องเรียนคุณภาพ

8. การแนะแนว
8.1 กําหนดนโยบายการจดั การศึกษาที่มีการแนะแนวเปน็ องคป์ ระกอบสาํ คัญ โดยใหท้ กุ คนใน

สถานศกึ ษาตะหนักถึงการมีส่วนรว่ มในกระบวนการแนะแนวและการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น

26

8.2 จัดระบบงานและโครงสร้างงานแนะแนวและระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนของสถานศึกษา
ใหช้ ัดเจน

8.3 ส่งเสริมให้ครูทกุ คนมบี ทบาท และเห็นคุณค่าของการแนะแนวและดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรียน
8.4 สง่ เสริมและพฒั นาใหค้ รูได้รบั ความรเู้ พิ่มเติมในเรอ่ื งจติ วิทยา และแนะแนวและดูแลชว่ ยเหลือ
ผูเ้ รียนเพอื่ ใหส้ ามารถบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ และเช่ือมโยงสกู่ ารดาํ รงชวี ติ ประจาํ วนั
8.5 คัดเลอื กบุคลากรท่มี คี วามรู้ ความสามารถ และบุคลิกภาพทีเ่ หมาะสมทาํ หน้าที่ครูแนะแนว
ครทู ่ปี รกึ ษา ครูประจําชัน้ และคณะอนกุ รรมการแนะแนว
8.6 ดแู ล นเิ ทศ กํากบั ตดิ ตาม และสนับสนนุ การดาํ เนนิ งานแนะแนวและดแู ลชว่ ยเหลอื ผ้เู รยี น
อยา่ งเปน็ ระบบ
8.7 ส่งเสรมิ ความรว่ มมือและความเข้าใจอนั ดีระหวา่ งครู ผู้ปกครอง และชมุ ชน
8.8 ประสานงานดา้ นการแนะแนวระหว่างสถานศึกษา องค์กรภาครฐั และเอกชน บ้านศาสนสถาน
ชมุ ชน ในลักษณะเครือขา่ ยการแนะแนว
8.9 เชื่อมโยงงานแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี นเพือ่ การพฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียน

9. การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายใน
1. กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
1.1 มกี ารศึกษาวิเคราะหม์ าตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย/ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ตามที่

กระทรวงประกาศใช้ และกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยการมสี ่วนรว่ มของทุกฝา่ ย
1.2 กําหนดค่าเปา้ หมายความสาํ เรจ็ ทุกมาตรฐานการศึกษา/ทกุ ประเดน็ การพิจารณา

มีความเหมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษา
1.3 จดั ทําประกาศให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษาและประกาศกําหนดคา่ เปา้ หมายความสําเร็จ

ตามมาตรฐานการศกึ ษา
1.4 ประชาสัมพนั ธ์ให้ ครู บุคลากร ผเู้ กย่ี วข้องและสาธารณชนได้รบั ทราบเก่ียวกบั

มาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสาํ เรจ็
1.5 มีการกาํ หนดผรู้ ับผดิ ชอบการดาํ เนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพจิ ารณา

2. การจัดทําแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา และแผนปฏิบตั กิ ารประจําปี
2.1 มกี ารศึกษาวเิ คราะห์สภาพปญั หาและความต้องการจาํ เปน็ ของสถานศึกษาอย่างเปน็

ระบบ โดยใช้ข้อมลู ตามสภาพจรงิ
2.2 กําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเปา้ หมายดา้ นต่าง ๆ โดยมุง่ เน้นท่คี ุณภาพผู้เรยี นที่

สะทอ้ นคุณภาพความสําเรจ็ อย่างชดั เจนและเปน็ รูปธรรม โดยทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม

27

2.3 กาํ หนดวธิ กี ารดําเนินงานกิจกรรม โครงการท่สี อดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา

2.4 การใชง้ บประมาณ และทรพั ยากรอย่างมีประสทิ ธภิ าพใหส้ อดคล้องกับกจิ กรรม
โครงการ

2.5 เสนอแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา
ขัน้ พืน้ ฐาน ใหค้ วามเห็นชอบ

2.6 จดั ทําแผนปฏบิ ัติการประจําปี ท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของ
สถานศกึ ษา

2.7 เสนอแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปตี อ่ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ให้ความเหน็ ชอบ
2.8 กําหนดปฏทิ ินการนาํ แผนปฏิบตั ิการประจําปสี ู่การปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจน
3. ดาํ เนินการตามแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา และแผนปฏิบัติการประจาํ ปี
3.1 นาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา และแผนปฏบิ ัติการประจาํ ปีสู่การปฏบิ ตั ิตามกรอบ
ระยะเวลาท่ีกําหนดไว้
3.2 ดําเนินงานกิจกรรม/โครงการตามระยะเวลาที่กําหนดไวใ้ นปฏิทินการปฏิบตั ิงานของ
สถานศึกษา โดยการมีสว่ นร่วมของทุกฝ่าย
3.3 ดาํ เนินงานกิจกรรม/โครงการได้ครบถ้วนตามท่กี าํ หนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจําปี
3.4 แต่งต้ังผูร้ บั ผิดชอบ คณะทาํ งาน/คณะกรรมการในการดําเนินกิจกรรม/โครงการ
3.5 เกบ็ รวบรวมหลกั ฐานการจัดกจิ กรรม/โครงการทดี่ าํ เนินการไว้เปน็ ระบบ สะดวกต่อ
การคน้ หาและใชป้ ระโยชน์
3.6 รายงานผลการดําเนนิ กจิ กรรม/โครงการ ต่อผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาทุกโครงการ
3.7 วเิ คราะหผ์ ลการดําเนนิ งานเปรียบเทยี บกบั เปา้ หมายและตวั ช้ีวดั ความสําเรจ็ ของ
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปี
3.8 ใชผ้ ลการประเมินโครงการเปน็ ขอ้ มลู ในการปรบั ปรุงแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปีต่อไป
4. ตดิ ตามผลการดาํ เนินการเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
4.1 การกําหนดผรู้ บั ผิดชอบในการตดิ ตามผลการดําเนนิ การเพ่อื พัฒนาคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
4.2 ดําเนนิ การประเมินและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ตามมาตรฐาน
การศกึ ษาโดยใช้วธิ ีการที่หลากหลายและเหมาะสม
4.3 วเิ คราะห์ผลการประเมินและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐาน
การศกึ ษา/ประเดน็ การพิจารณา บรรลุตามค่าเปา้ หมายท่ีกาํ หนด

28

4.4 วเิ คราะหจ์ ุดเด่น จุดควรพฒั นา รายมาตรฐานการศึกษา และการกําหนดแนวทางการ
พัฒนา/แผนพัฒนา เพ่ือใหไ้ ด้มาตรฐานทสี่ งู ข้นึ ผ่านกระบวนการ PLC

4.5 นําผลการติดตามไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ การปฏิบตั ิงาน
4.6 นําผลการตดิ ตามใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการจัดทาํ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(SAR)
5. ประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
5.1 การกาํ หนดผรู้ บั ผิดชอบในการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา
5.2 การกําหนดแนวทาง/กระบวนการประเมินและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษาท่ีชัดเจน
5.3 กําหนดเคร่ืองมือตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา ตามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม
ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปี
5.4 ดําเนินการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา ตามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม
ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปี
5.5 กําหนดเครื่องมือประเมนิ และตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษาทีค่ รอบคลุม
มาตรฐานการศึกษาทุกระดบั การศกึ ษาทุกมาตรฐาน และทุกประเดน็ การพจิ ารณาท่ีหลากหลาย
5.6 ดําเนนิ การประเมนิ และตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา โดยใช้วิธกี ารท่ี
หลากหลายและเหมาะสม
5.7 รายงานสรปุ ผลการประเมนิ และตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา
5.8 นําผลการประเมนิ และตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นข้อมลู ในการจดั ทาํ
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR)
6. จดั ทํารายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR)
6.1 มคี ําสง่ั แตง่ ต้ังคณะกรรมการจัดทํารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
6.2 จดั ทาํ รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ท่สี ะท้อน
คณุ ภาพผเู้ รยี นและผลสาํ เรจ็ ของการบริหารจัดการศึกษาอย่างชดั เจน ครอบคลุมตามมาตรฐานการศกึ ษาของ
สถานศึกษาทุกระดับการศึกษา โดยการมสี ว่ นร่วมของทุกฝ่าย
6.3 จัดทาํ บทสรปุ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา สะท้อนผลคณุ ภาพการดาํ เนนิ งานของ
สถานศึกษา ทีต่ อบคาํ ถาม 3 ขอ้ คือ

1) มาตรฐานของสถานศึกษาอยู่ในระดบั คณุ ภาพใด
2) มขี ้อมลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์อะไรบา้ งทสี่ นบั สนุน
3) มแี ผนการพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษาใหส้ ูงขนึ้ ต่อไปอย่างไร

29

6.4 นําเสนอรายงานผลการประเมนิ ตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐานใหค้ วาม
เห็นชอบ

6.5 จดั ส่งรายงานผลการประเมินตนเองต่อสาํ นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาเป็นประจําทุกปี
6.6 เผยแพร่รายงานผลการประเมินตนเองต่อสาธารณชน หน่วยงานต้นสังกดั และหนว่ ยงาน
ที่เก่ยี วข้อง
7. พัฒนาสถานศึกษาใหม้ คี ุณภาพอย่างตอ่ เนือ่ ง
7.1 มกี ารดาํ เนินงานตามระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาอยา่ ง
ตอ่ เนอ่ื งทุกปี
7.2 มกี ารนาํ แผนการพัฒนาคุณภาพให้ไดร้ ะดบั คณุ ภาพที่สูงขน้ึ จากการรายงานผลการ
ประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) บรรจุไวใ้ นแผนปฏิบัติการประจําปี 2564
7.3 สถานศึกษาไดน้ ําระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาไปดาํ เนนิ การ
เป็นส่วนหน่งึ ในการบรหิ ารงาน
7.4 มีการพัฒนาบคุ ลากรในถานศกึ ษาให้มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับระบบการประกนั
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา
7.5 มีการศึกษารูปแบบ/เทคนิค/วธิ ีการ การขบั เคลื่อนระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศกึ ษาอย่างต่อเน่ือง เช่น กระบวนการ PDCA พัฒนานวตั กรรม งานวจิ ัยและมีการเผยแพร่
ผลงานผา่ นชอ่ งทางทหี่ ลากหลาย

10. การพัฒนาและใช้สื่อและเทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษา
10.1 จดั ใหม้ กี ารร่วมกันกําหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจัดหาและพฒั นาสอื่ การเรียนรู้

และเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาของสถานศกึ ษา
10.2 พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาในเรอื่ งเกย่ี วกับการพฒั นาและใช้สอื่ การเรยี นรู้และเทคโนโลยี

เพอื่ การศึกษา พรอ้ มทัง้ ให้มกี ารจดั ตง้ั เพ่ือสรา้ งเครือข่ายทางวิชาการ ชมรมวิชาการ เพอื่ เป็นแหลง่ เรยี นรู้
ของสถานศึกษา

10.4 พัฒนาหอ้ งสมุดของสถานศึกษาให้เป็นห้องสมุดมีชวี ติ เพ่อื เป็นแหล่งสืบคน้ /เรียนรู้
10.5 นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรในการจดั หาผลติ ใช้ และพฒั นาสื่อ
และเทคโนโลยที างการศึกษา

30

11. การพัฒนาหรอื การดาํ เนนิ การเกยี่ วกบั การพฒั นาสาระทอ้ งถิน่ ตามกรอบหลักสูตรระดับทอ้ งถ่นิ
11.1 วเิ คราะหก์ รอบหลกั สูตรระดบั ท้องถนิ่ ท่สี าํ นกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

จัดทําไว้ พร้อมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชมุ ชนเพื่อกาํ หนดเปน็ สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ
ทีเ่ ปน็ จดุ เนน้ หรือประเด็นที่สถานศกึ ษาให้ความสาํ คัญ

11.2 กําหนดวิสัยทศั นข์ องหลกั สูตรสถานศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกับวสิ ัยทัศน์ อตั ลกั ษณ์ เอกลักษณ์
เปา้ หมายและจุดเนน้ ในการพัฒนาผ้เู รียนตามกรอบหลักสูตรระดับท้องถน่ิ และสาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ินทีเ่ ป็น
จุดเน้นหรอื ประเดน็ ท่ีสถานศึกษาให้ความสาํ คญั

11.3 นาํ กรอบหลักสตู รระดบั ทอ้ งถ่นิ และสาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ ทเ่ี ปน็ จดุ เน้นหรือประเด็นที่
สถานศึกษาใหค้ วามสําคญั สู่การจัดทําหลกั สตู รสถานศึกษา ซ่ึงสามารถดาํ เนนิ การได้หลายลักษณะ เชน่

11.3.1 สอดแทรกในรายวชิ าพ้นื ฐาน ท่มี ีตวั ช้วี ดั ท่บี ง่ บอกถงึ ความเป็นท้องถน่ิ และอาจปรบั
กจิ กรรมการเรียนการสอน ปรับเนอื้ หา ปรับ/เลือกใช้สอื่ การเรียนรู้ หรอื บูรณาการเน้ือหาในรายวชิ าตา่ ง ๆ

11.3.2 จดั ทาํ เป็นรายวิชาเพ่ิมเตมิ โดยสถานศึกษาอาจจัดทํารายวชิ าทเ่ี ปน็ สาระการเรียนรู้
เพมิ่ เติม ตัวอย่างเชน่ รายวชิ าเพ่ิมเติมในกลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ เชน่ การทอผ้าฝา้ ย การจกั สาน
การทํากระดาษสา การทํากรอบรปู ไม้สักแกะสลัก เปน็ ตน้ รายวชิ าเพิม่ เติมในกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม เช่น ประวตั ศิ าสตร์นครลาํ ปาง สถานทีท่ ่องเทีย่ วในจังหวดั ลาํ ปาง บคุ คลสําคัญของ
จงั หวัดลําปาง เป็นตน้

11.3.3 จดั กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน/กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ โดยมงุ่ พัฒนาให้ผ้เู รยี น
พัฒนาเตม็ ตามศักยภาพและส่งเสรมิ ความสามารถของผู้เรยี นตามเปา้ หมายหรือจุดเนน้ ในการพัฒนาผเู้ รยี น
ตามกรอบหลักสูตรระดับท้องถ่นิ

11.3.4 จดั กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร/กจิ กรรมนอกชัน้ เรียน ซงึ่ เปน็ กจิ กรรมนอกเหนอื จากการ
เรียนการสอนในช้ันเรียนทสี่ ถานศกึ ษาจดั ขึ้นเพ่อื สร้างโอกาสในการเรยี นร้ใู หแ้ ก่ผูเ้ รียน โดยมุง่ เนน้ ใหก้ ิจกรรม
ดงั กลา่ วเป็นส่วนเสริมสรา้ งทักษะ ประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ผ่านการทํากจิ กรรมต่างๆ ที่ครอบคลุม
การพัฒนาด้านวชิ าการและวิชาชีพ การบําเพ็ญประโยชน์ การรกั ษา ส่ิงแวดลอ้ ม ศิลปวัฒนธรรม คุณธรรม
จริยธรรม ตลอดจนกฬี าและนันทนาการ เพื่อส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นคนเก่ง คนดี
และมคี วามสขุ เช่น กจิ กรรมทศั นศึกษา กจิ กรรมวนั สาํ คญั ทางศาสนาหรือประเพณี ฯลฯ

11.3.5 จัดบรรยากาศทสี่ ง่ เสริมจุดเน้น โดยการจัดสภาพแวดลอ้ ม บรรยากาศทางกายภาพ
ของสถานศกึ ษาท่ีส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นไดพ้ ัฒนาตามจดุ เน้นในการพฒั นาผู้เรยี นตามกรอบหลักสตู รระดบั ท้องถน่ิ

11.3.6 กําหนดการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ระดับสถานศึกษาและระดับช้นั เรยี นให้
สอดคลอ้ งกับแนวทางการประเมนิ คุณภาพผ้เู รียนระดบั ท้องถน่ิ

12. การพัฒนาและส่งเสรมิ ให้มแี หล่งเรียนรู้
12.1 สง่ เสรมิ แหล่งเรียนรอู้ ย่างหลากหลายท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษาเพียงพอเพื่อสนับสนุน

การแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองกับการจัดกระบวนการเรยี นรู้

31

12.2.จัดระบบแหล่งเรียนร้ภู ายในการศึกษาให้เอื้อตอ่ การจัดการเรยี นรแู้ ละการพฒั นาศักยภาพเฉพาะ
ดา้ นของผ้เู รยี น เช่น พัฒนาห้องสมุดใหเ้ ปน็ ห้องสมุด IT ห้องสมุดกลางและหอ้ งสมุด กลุ่มสาระการเรียนรตู้ ่างๆ
ห้องสมุดเคลื่อนท่ี มุมหนังสอื ในหอ้ งเรียน หอ้ งพิพธิ ภัณฑ์ ห้องมลั ติมีเดีย ห้องคอมพวิ เตอร์ ศูนยว์ ชิ าการ
สวนสุขภาพ สวนวรรณคดี สวนธรรมะ เปน็ ตน้

12.3 จัดระบบข้อมลู แหล่งเรียนรู้ในท้องถ่นิ /ภายนอกอ่ืนๆให้เออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ของผเู้ รยี นของ
สถานศกึ ษาของตนเอง เชน่ จดั เสน้ ทาง/แผนทแ่ี ละระบบการเชือ่ มโยงเครือข่ายห้องสมดุ ประชาชน หอ้ งสมุด
สถาบนั การศึกษาพิพธิ ภัณฑ์ ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ฯลฯ

12.4 ส่งเสริมใหค้ รูและผูเ้ รียนไดใ้ ชแ้ หลง่ เรยี นรู้ท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนา
การเรยี นร้แู ละนเิ ทศติด กํากับ ติดตาม ประเมินและปรับปรงุ อย่างต่อเนื่อง

12.5 สง่ เสริมใหค้ รูและผเู้ รียนใชแ้ หล่งเรยี นรใู้ นตา่ งประเทศ

13. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศกึ ษา และองค์กรอนื่
13.1 ประสานความรว่ มมอื วิทยากรภายนอกและภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รยี น

ทุกด้าน รวมทงั้ สบื สานจารตี ประเพณีศลิ ปวัฒนธรรมของท้องถ่ิน
13.2 เสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสถานศึกษากับชมุ ชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กร ภาครัฐ

และเอกชน เพ่ือใหส้ ถานศึกษาเปน็ แหล่งวทิ ยาการของชุมชน และมสี ว่ นในการพัฒนาชมุ ชนและทอ้ งถิ่น
13.3 จดั กิจกรรมร่วมกบั ชมุ ชน เพ่ือส่งเสรมิ การพัฒนาทางวิชาการและวฒั นธรรม การสรา้ ง

ความสัมพันธ์อนั ดกี บั ศษิ ยเ์ กา่ การประชุมผูป้ กครองผเู้ รียน การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกับชมุ ชน การร่วมกิจกรรม
กับ สถาบันการศึกษาอื่น ๆ เป็นตน้

14. การคัดเลอื กหนังสือ แบบเรยี นเพือ่ ใช้ในสถานศึกษา
14.1 ศกึ ษาวเิ คราะห์ คัดเลอื กหนังสือเรยี น กลุม่ สาระการเรียนรูต้ า่ งๆ ทม่ี ีคุณภาพสอดคลอ้ งกบั

หลักสตู รการศึกษา เพื่อเป็นหนงั สือ แบบเรยี นเพ่อื ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน
14.2 จัดทําหนังสือเรียน หนงั สอื เสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบแบบฝกึ หดั ใบงาน

และใบความรู้ เพื่อใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน
14.3 คัดเลอื กหนงั สือเรยี น แบบเรียน หนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ หนังสอื อา่ นประกอบแบบฝึกหัด

ใบงาน และใบความรู้ เพ่ือใช้ประกอบการเรยี นการสอน

32

ขอบขา่ ย/ภารกิจการดาํ เนนิ การดา้ นการบริหารงบประมาณของโรงเรียน

1. การจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปขี องสถานศกึ ษา
1.1 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการการจัดทาํ แผนฯ
1.2 จดั ประชุมคณะกรรมการจัดทาํ แผนฯ
1.3 จัดทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปีตามปีงบประมาณ

2. การรายงานผลการเบกิ จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัตกิ าร
2.1 จัดทาํ สรุปผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ รอบ 6 เดือน/ รอบ 12 เดือน
2.2 จดั ทํารายงานโครงการ
2.3 จัดทํารายงานแผนปฏิบัติการประจําปี

3. การระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพ่ือการศกึ ษาจากภาครฐั เอกชน องค์การปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
หรอื หนว่ ยงานอน่ื ๆ

3.1 จดั ทําแผนการระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพอื่ การศึกษา
3.2 จดั ทาํ โครงการในการระดมทรพั ยากรฯ
3.3 ออกใบเสรจ็ รบั เงิน

4. การบริหารจดั การทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา
4.1 กาํ หนดแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรเพือ่ การศึกษา
4.2 วิธีดาํ เนินการบรหิ ารจดั การ
4.3 การนําไปใช้ประโยชน์
4.4 รายงานผลการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรเพื่อการศึกษา

5. การจดั หาพสั ดุตามระเบยี บทเี่ กี่ยวข้อง
5.1 แต่งต้ังเจา้ หน้าท่ีพสั ดุ/หวั หน้าเจา้ หน้าท่ีพสั ดุ/หัวหน้าหนว่ ยพัสดุ
5.2 จัดทาํ แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
5.3 จัดทาํ หลักฐานการจัดซ้ือจัดจา้ งทุกครง้ั ที่มีการซ้ือหรอื จา้ ง
5.4 รายงานการจัดหาพัสดรุ ายไตรมาส(ทุก 3 เดือน)
5.5 จดั ทาํ ทะเบียนคมุ หลักฐานการจัดซ้อื จดั จ้างในระบบ e-GP และ กรณีที่วงเงนิ ต่ํากวา่ 5,000 บาท

33

6. การควบคมุ ดแู ลบาํ รุงรักษาและจาํ หนา่ ยพสั ดุ
6.1 จดั ทําทะเบยี นคุมวัสดุ
6.2 จัดทาํ ทะเบียนคุมครุภณั ฑ์
6.3 ใบเบกิ พัสดุ
6.4 แผนการบาํ รงุ รักษาพสั ดุ
6.5 การจําหนา่ ยพสั ดุ (ถ้ามี)

7. การตรวจสอบพัสดุประจําปี
7.1 แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบพสั ดุประจําปี
7.2 รายงานผลการตรวจสอบต่อหวั หนา้ หนว่ ยงาน
7.3 จดั สง่ สาํ เนารายงานผลการตรวจสอบให้ตน้ สังกดั และ สตง.
7.4 แต่งต้งั กรรมการสอบข้อเท็จจรงิ (ถา้ มี)
7.5 รายงานผลการสอบข้อเท็จจรงิ (ถา้ มี)

8. การรบั เงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการจ่ายเงนิ
8.1 แต่งตง้ั เจา้ หน้าท่ีการเงิน
8.2 แตง่ ต้งั กรรมการเก็บรักษาเงิน
8.3 การออกใบเสร็จรับเงนิ
8.4 จดั ทาํ รายงานเงนิ คงเหลือประจําวันทุกวนั หรอื ท่มี ีความเคลื่อนไหว
8.5 จดั ทําทะเบยี นคุมการรับและนําส่งเงนิ รายไดแ้ ผ่นดิน
8.6 การขออนมุ ัตินาํ สง่ เงนิ
8.7 ใบนาํ ฝากเงนิ
8.8 ใบเบกิ เงินฝาก
8.9 จดั ทํารายงานการใช้ใบเสร็จรบั เงนิ
8.10 การขออนุมตั จิ า่ ยเงนิ

34

9. การจดั ทาํ บญั ชีการเงนิ ตามระบบควบคมุ เงินของหนว่ ยงานย่อย พ.ศ. 2544 จัดทาํ บญั ชตี ามระบบ
ควบคมุ การเงินของหน่วยงานยอ่ ย พ.ศ. 2544 ถูกต้อง เปน็ ปจั จบุ ัน

9.1 จดั ทําทะเบยี นคมุ หลักฐานขอเบิก
9.2 จดั ทําทะเบยี นคุมเงนิ งบประมาณ
9.3 จัดทาํ ทะเบียนคุมเงนิ นอกงบประมาณ
9.4 จดั ทําทะเบยี นคมุ ลูกหนเ้ี งินยืมราชการ

10. การจัดทํารายงานทางการเงินและการรายงานบัญชีด้านการจดั การศกึ ษาเป็นปจั จุบนั และทันตาม
ระยะเวลาตามกําหนด e-budget

- ดาํ เนนิ การรายงานการเงินและรายงานบัญชดี ้านการจดั การศึกษาในระบบ e-budget

11. การรายงานค่าสาธารณปู โภคในระบบ e-budget เปน็ ปัจจุบนั
- ดําเนนิ การรายงานในระบบ e-budget

12. การสนับสนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษาตั้งแตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565
12.1 ประชมุ คณะกรรมการภาคี 4 ผา่ ย , คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน , คณะครู

และผเู้ กี่ยวข้อง
12.2 ดําเนินการคู่มอื การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาต้งั แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษา

ขนั้ พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
12.3 ดาํ เนินการถูกต้องตามระเบยี บ แนวปฏิบตั แิ ละให้เสร็จสน้ิ ก่อนเปดิ ภาคเรยี น

35

ขอบข่าย/ภารกิจการดาํ เนนิ การด้านการบรหิ ารงานบุคคลของโรงเรยี น

1. งานการวางแผนอัตรากําลังในสถานศึกษา
สถานศกึ ษาได้มีการดําเนนิ การวางแผนฯ ตามขนั้ ตอน/กระบวนการ ประกอบด้วย
1. มกี ารจดั ทําข้อมูลสารสนเทศ ที่ใชใ้ นการจัดทําแผน เช่นข้อมลู นักเรยี นและการจัดขนั้ เรียน

(10 มิ.ย.), ขอ้ มลู การเกษียณอายรุ าชการและแนวโน้มการสูญเสยี อตั รากาํ ลงั ของข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา (รวมครูช่วยราชการ/พนกั งานราชการ/อัตราจา้ ง), ขอ้ มูลวุฒิการศกึ ษา/สาขาวชิ าเอก/
ความสามารถพิเศษ), ข้อมูลการจดั การเรยี นรู้ตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา, ข้อมูลความตอ้ งการครเู พิ่ม
ตามกลุ่มสาระ (เท่าจาํ นวนครทู ี่ขาดตามเกณฑ์ ก.ค.ศ.), ข้อมลู พนักงานราชการ/ลูกจา้ งช่ัวคราวท่ีจา้ งดว้ ยเงนิ
งบประมาณและรายได้สถานศกึ ษา เป็นต้น เพื่อใชใ้ นการวางแผนฯ

2. มีการวเิ คราะห์ข้อมูลข้าราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทั้งดา้ นปริมาณและความสามารถ
ตามเกณฑ์ ก.ค.ศ. โดยการศึกษาแนวโน้มการเพมิ่ ขึ้นหรือลดลงของบุคลากร และประชากรวัยเรียน รวมถึง
วเิ คราะห์หลกั สตู รและแผนการจดั การเรยี นรู้ของสถานศึกษาเพื่อใชว้ างแผนฯ

3. มีการจดั ทาํ แผนอตั รากําลงั ระยะ 1 ปี 3 ปี และ/หรือ 5 ปี โดยมีรายละเอียดแสดงความตอ้ งการ
ครูสาขาวิชาท่ีขาดทั้งนตี้ ้องเป็นไปตามมาตรฐานวิชาเอกท่ีควรมีในสถานศึกษา/ ความสามารถของบุคลากร
และวธิ ีการดําเนินงาน

4. มีการเสนอแผนให้คณะกรรมการสถานศึกษาพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบแผนอตั รากาํ ลัง
5. มกี ารใช้แผนเป็นเคร่ืองมือในการวางแผนอตั รากําลังคนในสถานศกึ ษา และดําเนินการปฏิบตั ิตาม
แผนอตั รากําลังคน โดย จดั หาอตั รากําลังตามอํานาจหนา้ ท่ีของสถานศกึ ษา เชน่ ใชง้ บประมาณของ
สถานศึกษา หรือประสานขอความรว่ มมอื อปท. สนับสนนุ งบประมาณจ้างบุคลากร และเสนอแผนอตั รากําลงั
ของสถานศึกษาต่อ สพท.

2. งานบําเหนจ็ ความชอบ
การดาํ เนนิ การเกีย่ วกบั การเล่ือนเงินเดือนของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสังกดั มี

ความโปรง่ ใส บรสิ ทุ ธิ์ ยุตธิ รรมเป็นไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล ตามระเบียบ/กฎหมาย และเปน็ ไปตามข้นั ตอน/
หลกั เกณฑ์/วิธีการท่กี าํ หนด สามารถตรวจสอบได้

1. มีการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามแบบทก่ี ําหนดในรอบ 6 เดอื น ก่อนมกี ารพิจารณา
2. มีการประกาศใช้หลักเกณฑ์/กระบวนการ/ขัน้ ตอน/วิธีการ ในการพิจารณาเลือ่ นเงนิ เดอื นและหรือ
การเลอื่ นข้นั (กรณีลูกจ้างประจาํ ) ให้ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ได้รับทราบโดยทว่ั กนั
(หลกั เกณฑ์ของ สพฐ./สพป.ลป.1 หรือของสถานศึกษา)
3. มกี ารแตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการของขา้ ราชการครูและบุคลากรทาง
การศึกษา ตามที่ สพฐ. / สพท. กําหนด

36

4. มีการเสนอผลการพิจารณาการเล่อื นเงนิ เดือน/เลื่อนขนั้ ใหค้ ณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้
ความเหน็ ชอบ

5. มกี ารแจ้งผลการพิจารณาเลื่อนเงนิ เดือน/เล่อื นขัน้ ให้ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ในสังกดั รับทราบเปน็ รายบุคคล และ/หรอื มีการประกาศรายชื่อขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีผล
การปฏบิ ัตงิ านดีเด่น

3. งานการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
สถานศกึ ษาได้มกี ารดําเนนิ งานเกี่ยวกบั การพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด

ครอบคลุมครบทุกคน มีกจิ กรรม/ขัน้ ตอนถูกต้อง ชดั เจน ประกอบด้วย
1. จดั ทําแผนงาน/โครงการ หรอื จัดกิจกรรมเกยี่ วกับการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากร

ทางการศกึ ษาประจําปี
2. ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา (ครูสายผู้สอน) มีแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan)

ครบทุกคน
3. ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (ครูสายผสู้ อน) มีแผนพฒั นาตนเอง (ID Plan)

ไมค่ รบทุกคน
4. มกี ารเสนอแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมให้คณะกรรมการสถานศกึ ษาพิจารณาให้ความเหน็ ชอบ
5. มกี ารรายงานรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/ ID Plan เปน็ ระยะ

อย่างสมาํ่ เสมอ (ตามไตรมาสหรอื ตามทีส่ ถานศึกษากาํ หนด)

4. งานทะเบียนประวัติ
สถานศกึ ษา ได้มีการดําเนนิ การจัดทําทะเบียนคุมข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในสงั กัด

ครบทกุ คน ทง้ั น้ีใหร้ วมถึงพนักงานราชการ ลูกจา้ งประจาํ และลูกจา้ งชั่วคราวทุกอัตรา (จากงบประมาณ/
จากรายได้ของสถานศึกษา) โดยให้ระบรุ ายละเอยี ดเป็นรายบุคคล ท้ังนี้อาจสาํ เนาสมดุ ประวตั ิ ก.พ. 7
หรือ ก.ค.ศ. 16 มาประกอบด้วยได้ (กรณีเปน็ ขา้ ราชการครู/ลกู จ้างประจาํ )

5. การลาของข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
สถานศกึ ษาได้มีการดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการลาของ

ขา้ ราชการ พ.ศ. 2555 และหนงั สือสํานกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7/42 ลงวนั ที่ 22 ก.พ. 55 และได้มี
การดาํ เนินงาน ดังนี้

1. มกี ารจัดทําทะเบยี นควบคุมการลาของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสังกดั
ถูกต้อง เป็นปจั จุบัน

37

2. มีการสรุปวนั ลาของข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในสังกัดประจําเดอื น
รายงานผู้บังคบั บัญชาทราบ

3. มีการสรุปวันลาของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษารอบ 6 เดือน รายงานผ้บู งั คับบญั ชา
เพอื่ ใช้ประกอบการพิจารณาเลอ่ื นเงนิ เดอื น

4. มีการสรปุ วนั ลาของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาประจาํ ปีงบประมาณ รายงาน
ผูบ้ ังคบั บญั ชาตามลําดบั ช้นั เพอ่ื ให้เจ้าหนา้ ที่ สพท. ใช้เปน็ ขอ้ มูลลงสมุดประวตั ิ ก.พ. 7 หรือ ก.ค.ศ.16

5. มรี ะเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555 และหนังสือ
สาํ นกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7/42 ลงวนั ท่ี 22 ก.พ. 55 เป็นคู่มอื ใชใ้ นการดาํ เนินงาน

6. การไปราชการและการขออนญุ าตออกนอกสถานท่ีราชการ
สถานศึกษามีการควบคุม ดแู ล กํากบั การขออนุญาตไปราชการ และ การขออนญุ าตออกนอก

สถานศกึ ษาเป็นการชั่วคราว ของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บ/
กฎหมาย หรอื แนวทางปฏบิ ตั หิ รอื ไม่ เช่น

1. มีระเบยี บ/กฎหมาย หรือแนวทางปฏิบัตเิ พื่อให้ผรู้ บั ผิดชอบใช้เปน็ คู่มือในการดาํ เนินงาน
2. จัดทําสมดุ ทะเบียนคุมการขออนุญาตไปราชการ ของข้าราชการครแู ละบุคลากรทาง
การศกึ ษาในสงั กัด ตามแบบที่ทางราชการกําหนด
3. จัดทาํ สมุดทะเบียนคุมการขออนุญาตออกนอกสถานศกึ ษาของข้าราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศกึ ษาในสังกัด
4. กรณผี ู้อํานวยการสถานศึกษา ขออนุญาตไปราชการทีน่ อกเหนืออํานาจหน้าที่ของตนเอง
ทีจ่ ะอนุญาตได้ ตอ้ งมหี ลักฐานการขออนญุ าตไปราชการการและไดร้ บั การอนุญาตจากผู้มอี ํานาจ
อนุญาตเป็นหลกั ฐาน ซึ่งสถานศกึ ษาอาจจดั ทําสมดุ /แฟ้ม แยกตา่ งหากจากของขา้ ราชการครู
และบคุ ลากรทางการศึกษาในสงั กดั ดว้ ยกไ็ ด้

7. งานการสรรหา บรรจุและแต่งตงั้ ลกู จา้ งช่ัวคราว
สถานศกึ ษาไมไ่ ด้มกี ารสรรหา บรรจุและแตง่ ตง้ั ลูกจ้างช่วั คราว (ไม่มลี ูกจ้างช่วั คราวในสังกดั ไมต่ อ้ ง

ดาํ เนินการตอบหวั ข้อถดั ไป)
สถานศึกษาท่ีมีลกู จา้ งช่ัวคราวในสงั กดั ใหด้ ําเนนิ การกรอกข้อมูลจาํ นวนอตั รากําลงั ลูกจา้ ง

ช่ัวคราวในสังกัด ประกอบดว้ ย ลูกจ้างชว่ั คราวตาํ แหนง่ ครูผสู้ อน จาํ นวน................คน ตาํ แหน่ง
อ่ืน ๆ (ระบุ)...................................จํานวน.........คน รวมทง้ั ส้นิ จาํ นวน.........................คน

38

อนงึ่ เพื่อให้การดาํ เนินการสรรหา บรรจุและแต่งตงั้ ลูกจา้ งชัว่ คราวของสถานศึกษา เปน็ ไปด้วย
ความถกู ต้อง โปรง่ ใส รวดเรว็ และยุตธิ รรม ตามหลักธรรมาภิบาล และเป็นไปตามหลกั เกณฑ์/แนวทางที่
กาํ หนด ต้องปฏิบตั ิงานตามขั้นตอน ดงั นี้

1. สถานศกึ ษาตอ้ งกําหนดรายละเอยี ดขอ้ มูลตําแหน่งว่าง เขน่ จํานวนอัตรากาํ ลัง ความขาดแคลน/
ความต้องการจาํ เป็น (ถา้ เป็นครูใหร้ ะบุวิชาเอก คุณสมบตั เิ ฉพาะตําแหนง่ ครู และต้องมีใบประกอบวิชาชีพทยี่ งั
ไม่หมดอายุ)

2. กาํ หนดเกณฑก์ ารตัดสิน การข้นึ บัญชี และการยกเลกิ บัญชี
3. เสนอขอความเห็นชอบการจ้างตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน และหากเป็น
การจ้างลูกจ้างชั่วคราวตาํ แหนง่ ครผู ู้สอนตอ้ งทําหนงั สือขอความเห็นชอบต่อ สพท. ก่อนดาํ เนนิ การ
4. ดําเนินการประกาศรับสมัคร รบั สมคั ร ตรวจสอบคณุ สมบัติ ประกาศรายชอื่ ผู้มีสิทธิ์สอบ
ดําเนินการสอบคดั เลือก และประกาศผลฯ
5. การเรยี กรายงานตวั การทําสญั ญาจา้ งโดยผู้อํานวยการสถานศึกษา และสง่ สญั ญาจ้าง
ให้ สพท. เพ่อื ดําเนนิ การในสว่ นทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

หมายเหตุ สถานศึกษาใดไม่มีลูกจา้ งช่ัวคราวจะไมน่ ําประเด็นข้อนม้ี าคิดระดบั คุณภาพ

39

ขอบข่าย/ภารกิจการดําเนินการดา้ นการบริหารงานทวั่ ไปของโรงเรียน

1. การพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ
1.1 ศกึ ษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา และบริหารจัดการระบบเครือข่าย
1.2 จัดระบบรักษาความปลอดภัยของเครือข่าย
1.3 จดั ทาํ ขอ้ มลู สารสนเทศเชื่อมโยงกับสถานศึกษาอนื่ เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ สพฐ.
1.4 จัดทําระบบฐานข้อมูลของสถานศกึ ษา ให้สอดคล้องกบั ระบบข้อมูลของ สพฐ.
1.5 มที ะเบียนข้อมลู สารสนเทศ
1.6 นาํ เสนอและเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการบรหิ าร การบรกิ าร การประชาสมั พนั ธ์
1.7 บริหารจัดการ การเชือ่ มโยงเครือขา่ ย สอ่ื สัญญาณเพ่ือการส่อื สารภายในและอินเทอร์เนต็

2. การวางแผนการบริหารงานการศกึ ษา
2.1 กําหนดมาตรฐานการปฏิบัตงิ านตามโครงสรา้ งและตัวชีว้ ดั ความสาํ เรจ็
2.2 วดั และประเมินผลการปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน บรรลุตวั ช้วี ดั ความสาํ เรจ็
2.3 วิเคราะห์ จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส และ อปุ สรรครายมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน เพ่ือจดั ทาํ เปน็

ขอ้ เสนอการจดั ทําแผนพฒั นา
2.4 กาํ หนดประเด็นตัวชี้วดั เกณฑ์ความสาํ เร็จการกาํ กบั ติดตามให้สอดคล้องกบั แผนปฏิบัตกิ าร

ประจําปี และ ประเดน็ ประเมินผลตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2.5 จัดทาํ รายงาน และรายงานสาธารณชน เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อใชเ้ ปน็ การกําหนด

นโยบายของสถานศึกษา และพฒั นาการปฏิบตั งิ าน
2.6 ดําเนินงานด้านธรุ การโรงเรียนในการจัดประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
2.7 จัดทํารายงานการประชุมและแจ้งมตทิ ปี่ ระชมุ ให้ผู้ท่เี ก่ียวข้องเพ่ือรบั ทราบดําเนนิ การ
2.8 ประสานการดําเนินงานตามมติการประชุมในเรื่องการอนมุ ตั ิ อนุญาต สง่ั การ เร่งรดั

การดําเนินการ และรายงานผลการดําเนินการให้คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐานทราบ

3. การจดั ระบบการบริหารและพัฒนาองคก์ ร
3.1 ศกึ ษาสภาพปจั จบุ นั ปัญหาตามภารกิจงานที่เปน็ พนั ธกิจทง้ั 4 ด้านของสถานศึกษา
3.2 วางแผนการออกแบบจัดระบบการบรหิ ารงานบคุ คล โครงสรา้ งการแบ่งสว่ นราชการ
3.3 ประกาศ ประชาสมั พันธ์การแบง่ สว่ นงานใหห้ นว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง ตลอดจนสาธารณชนทราบ
3.4 ดาํ เนนิ การบรหิ ารจัดการให้เป็นไปตามมาตรฐานงาน
3.5 จัดทาํ ข้อมลู สารสนเทศสมรรถนะครู และบุคลากรทางการศกึ ษาเป็นรายบุคคล

40

3.6 พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา โดยใชข้ ้อมลู สารสนเทศรายบุคคลให้เป็นไปตาม
มาตรฐานสายงาน

3.7 จดั บรรยากาศและวฒั นธรรมการทาํ งานของสถานศึกษาให้เปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้
3.8 จัดสวสั ดิการเพ่อื เป็นแรงจงู ใจให้การปฏิบัตงิ านบรรลุผลตามมาตรฐานสายงานของสถานศกึ ษา

4. งานเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา
4.1 วางแผนและดําเนนิ การนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษามาใช้พัฒนาการศึกษา
4.2 ระดมจัดหาเทคโนโลยี เพอื่ พัฒนาการศกึ ษาในงานด้านตา่ ง ๆ ของสถานศึกษา
4.3 สนบั สนนุ และพฒั นาใหบ้ ุคลากรสามารถนาํ เทคโนโลยเี พื่อการศึกษามาใชใ้ นการพฒั นาการศึกษา
4.4 ส่งเสริมให้มีการพฒั นานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา รวมทง้ั เผยแพร่แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ระหว่างสถานศึกษา
4.5 ตดิ ตาม ประเมินผลการใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่ือความคมุ้ คา่ และเหมาะสมกับกระบวนการ

พัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
4.6 รายงานผลการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษา

5. การดาํ เนนิ งานธรุ การ
5.1 ศกึ ษาวเิ คราะหส์ ภาพระบบงานธรุ การ ระเบียบและกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง
5.2 วางแผนการออกแบบระบบงานธุรการ โดยนาํ เทคโนโลยีมาช่วยเพ่อื ลดขน้ั ตอนและรองรับการ

ปฏบิ ัติงานธรุ การ
5.3 จดั บุคลากรรับผิดชอบงานธรุ การโดยเฉพาะ และพัฒนาให้มคี วามรู้ความสามารถในการ

ปฏิบตั งิ านธุรการ
5.4 ดําเนินงานธรุ การตามระบบทก่ี ําหนดไวโ้ ดยยึดหลกั ความถูกต้อง รวดเรว็ ประหยดั และคมุ้ คา่
5.5 ติดตาม ประเมินผล และปรบั ปรุงระบบธุรการให้มีประสทิ ธิภาพ

6. การดูแลอาคารสถานที่ความปลอดภัย และสภาพแวดลอ้ ม
6.1 วางแผนการบริหารจัดการอาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อม
6.2 บํารงุ ดแู ล และพัฒนาอาคารสถานทแี่ ละสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อมใช้

มั่นคง ปลอดภัย และสวยงาม
6.3 มคี ําส่งั ปฏิบัติงาน มีครรู ับผดิ ชอบประจาํ อาคารแบง่ เขตความรับผดิ ชอบให้นักเรยี นดูแล
6.4 ดาํ เนนิ งานตามคูม่ ือการปฏบิ ตั ิงานอาคารสถานท่ี ระเบียบแนวปฏิบัติการใชอ้ าคารสถานที่
6.5 จัดทําสถิติ การขอใช้อาคารสถานท่ี

41

6.6 จดั ทาํ สถติ กิ ารซ่อมบาํ รุง

7. การจดั ทําสํามะโนประชากรวัยเรยี น
7.1 แตง่ ตง้ั บคุ ลากรรบั ผดิ ชอบการตดิ ตามขอ้ มลู เดก็ ในเขตบริการของโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2564
7.2 สาํ รวจรายชือ่ เด็กในเขตบรกิ ารของโรงเรยี น
7.3 สรุป/รายงานข้อมลู รายชือ่ เด็กในเขตบรกิ ารของโรงเรียน
7.4 ดาํ เนนิ การตดิ ตามนักเรียนเปน็ รายบคุ คลตาม ทร.14
7.5 รายงานข้อมูลตดิ ตามนักเรยี นเปน็ รายบคุ คลตาม ทร.14

8. การรับนกั เรียน
8.1 ประกาศรบั นกั เรียน ปีการศกึ ษา 2564
8.2 จัดทาํ ตารางแสดงเขตพนื้ ท่บี ริการของโรงเรยี น
8.3 จดั ทําแผน-ผลการรับนักเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2564
8.4 แต่งตงั้ คณะกรรมการรับนักเรยี นระดับโรงเรยี น
8.5 แตง่ ตั้งคณะกรรมการสาํ รวจข้อมูลประชากรวยั เรยี น
8.6 ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา
8.7 ประชาสมั พันธ์ใหผ้ ้ปู กครองทราบเรื่องการรับนักเรยี น
8.8 รายงานการรับนกั เรยี นในระบบการรับนักเรียน

9. งานกจิ การนักเรียน สภานกั เรยี น

9.1 แต่งตั้งสภานกั เรียนระดบั โรงเรยี น
9.2 จดั ทาํ แผนการพัฒนาสภานักเรยี น
9.3 จดั ทาํ ธรรมนญู /ระเบียบสภานักเรียน
9.4 จดั ทําคมู่ ือสภานักเรียน
9.5 จัดทําโครงสร้างสภานักเรียน
9.6 รายงานการประชุมสภานักเรียน
9.7 รายงานผลการเลอื กตง้ั สภานกั เรียน
9.8 รายงานผลการดําเนินงานสภานักเรียน

10. งานกจิ การนักเรียน อาหารกลางวนั

10.1 แตง่ ตั้งคณะกรรมการบรหิ ารโครงการอาหารกลางวนั
10.2 จัดทาํ รายการอาหารตามโปรแกรม Thai school lunch
10.3 ดาํ เนนิ การจดั หาอาหารกลางวัน และจดั ซือ้ จัดจ้างตามกรณีทกี่ าํ หนด

42

กรณที ่ี 1 การจดั ซือ้ วัตถุดบิ เพอ่ื ใช้ ในการประกอบอาหาร
กรณที ่ี 2 การจา้ งบคุ คลเพื่อประกอบอาหาร
กรณีท่ี 3 การจา้ งเหมาประกอบอาหาร(ปรุงสาํ เร็จ)
10.4 จัดทําหลักฐานการตรวจรับอาหาร
10.5 จดั ทาํ หลักฐานการตรวจสถานทป่ี ระกอบอาหาร

11. งานกจิ การนักเรียนลกู เสือ
11.1 กําหนดนโยบาย แนวทางในการจดั กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและผู้บาํ เพ็ญประโยชน์
11.2 ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สร้างความตระหนกั ในการจัดกิจกรรมลกู เสอื แตง่ เครื่องแบบลูกเสือเป็น

แบบอยา่ งแกล่ กู เสือในสถานศึกษา
11.3 สถานศกึ ษาต้องจัดทาํ โครงสรา้ งการบริหารงานลกู เสือในสถานศกึ ษา
11.4 สถานศึกษาต้องจดั ทําข้อมลู สารสนเทศทางการลกู เสือ ให้เปน็ ปัจจุบนั อย่างถกู ต้องและทนั สมัย
11.5 สถานศึกษาต้องจดั ตงั้ กล่มุ กองลูกเสือ ใหถ้ ูกต้องและเปน็ ปจั จบุ ัน และจดั ให้มหี ้อง/มุม/แหล่ง

เรยี นรทู้ างการลกู เสอื ในสถานศึกษา
11.6 ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และรองผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาทุกคน ผา่ นการฝึกอบรมบุคลากรทางการ

ลกู เสือ ขน้ั ความรชู้ ้ันสูงและไดร้ บั เครื่องหมายวูดแบดจ์ และไดร้ ับการแตง่ ตงั้ ให้มตี ําแหน่งเปน็ ผู้อาํ นวยการ
ลกู เสอื โรงเรยี นและรองผ้อู าํ นวยการลกู เสือโรงเรยี น

11.7 ครูและบุคลากรทางการศึกษาผา่ นการฝึกอบรม มวี ฒุ ิทางลูกเสือและได้รับการแตง่ ตง้ั เปน็
ผ้บู งั คับบัญชาลูกเสือตามข้อบังคบั คณะกรรมการบริหารลูกเสอื แห่งชาติ วา่ ดว้ ยการแต่งต้ังผบู้ งั คบั บญั ชา
ลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๓ และข้อบังคบั คณะกรรมการบริหารลูกเสอื แหง่ ชาติ ว่าด้วยการแตง่ ตั้งผู้บงั คับบัญชา
ลกู เสือ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓

11.8 สถานศกึ ษาต้องจดั ทําแผนงาน/โครงการ ในการดําเนินงานทางลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด
และผบู้ าํ เพ็ญประโยชน์ และจัดสรรงบประมาณในการดําเนินงานใหเ้ หมาะสม

11.9 สถานศกึ ษาต้องจดั ให้มเี อกสาร หลกั สูตร คูม่ ือการปฏิบัติงาน กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คบั ที่
ครบถ้วนและเปน็ ปจั จุบัน

11.10 สถานศึกษาจดั กิจกรรมเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ กจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชน์และจติ สาธารณะ
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความเปน็ พลเมอื ง ตามคาํ ปฏญิ าณและกฎลูกเสือ และกิจกรรมโครงการเพื่อเสริมสรา้ ง
คา่ นิยมหลักของ คนไทย ๑๒ ประการ ปีละไม่น้อยกวา่ ๖ กิจกรรม

11.11 สถานศึกษาดําเนินการจัดกจิ กรรมเดินทางไกล และอย่คู า่ ยพกั แรม ลกู เสือ เนตรนารี ยุว
กาชาดและ ผู้บาํ เพญ็ ประโยชน์ ในสถานศกึ ษา หรอื ค่ายลกู เสือตามหลักสตู ร ของลูกเสือแตล่ ะประเภท โดยใช้


Click to View FlipBook Version