รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
1
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
สว่ นที่ 1
บทสรุปผู้บรหิ าร
(Executive Summary)
2
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
บทสรุปผบู้ รหิ าร
(Executive Summary)
ภารกิจของกรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน
วสิ ัยทศั น์ (vision) 3. จัดทาและพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงานให้
พัฒนาศักยภาพคนทางานทุกระดับให้มีผลิต สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและความต้องการของ
ภาพแรงงานสูง สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดแรงงาน การจัดงานแข่งขันฝีมือแรงงานทั้งใน
ตลาดแรงงาน และก้าวทนั เทคโนโลยี 4.0 ประเทศและต่างประเทศ พัฒนาระบบการรับรอง
Develop the potential of all workers to ความรู้ความสามารถและพัฒนาระบบการบริหาร
enhance high productivity in line with demand จดั การกองทุนพัฒนาฝีมอื แรงงาน
in the labour market and technology 4.0
พนั ธกจิ (Mission) 4. ส่งเสริมและพัฒนาระบบและรูปแบบ
การพัฒนากาลังแรงงาน การพัฒนาศักยภาพแรงงาน
1. พัฒนาและยกระดับมาตรฐานฝีมือ และผู้ประกอบกิจการ การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน
แรงงานใหเ้ ป็นท่ยี อมรบั ในระดบั สากล การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และการออก
หนังสือรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานทั้งในประเทศ
2. พัฒนาระบบการพัฒนาฝีมือแรงงาน และต่างประเทศ
รองรับนวัตกรรมและเทคโนโลยที เี่ ปล่ยี นแปลง
5. ส่งเสริมและประสานความร่วมมือให้
3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม และสร้างเครือข่าย ภาครัฐและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการดาเนินการ
เพอื่ การพฒั นาฝีมอื แรงงาน เกี่ยวกับการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน มาตรฐานฝีมือ
แรงงาน การรับรองความรู้ความสามารถ และการ
4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กร ส่งเสริมเครือขา่ ยการพฒั นาฝมี อื แรงงาน
ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
6. ดาเนินการเกี่ยวกับการเป็นศูนย์ข้อมูล
อานาจหนา้ ท่ี สารสนเทศการพัฒนากาลังแรงงานของประเทศ
1. ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม
การพัฒนาฝีมือแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการจัดหางาน 7. ปฏิบตั ิการอืน่ ใดตามท่ีกฎหมายกาหนดให้
และคุม้ ครองคนหางาน เฉพาะในสว่ นที่เก่ียวกับสถาน เป็นอานาจหน้าท่ีของกรมหรือตามท่ีรัฐมนตรีหรือ
ทดสอบฝีมือแรงงานและการทดสอบฝีมือแรงงาน คณะรฐั มนตรีมอบหมาย
และกฎหมายอนื่ ที่เก่ียวข้อง
2. กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน และ
แนวทางในการพฒั นากาลงั แรงงานของประเทศ ตลอดจน
ประสานแผนการฝึกอาชีพของทุกหน่วยงานท้ังภาครัฐ
และภาคเอกชน
3
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
กรอบแนวทางการดาเนนิ งาน
ประเทศไทยขับเคล่ือนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม ประเดน็ ที่ 1 ความม่นั คง แผนยอ่ ย 2 การปอ้ งกนั
มุ่งเน้นการพัฒนาสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน และแกไ้ ขปญั หาทมี่ ีผลกระทบต่อความม่นั คง
ด้วยการสร้างความเข้มแข็งตามแนวคิดปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงผ่านกลไกประชารัฐ มุ่งมั่นที่จะ ประเดน็ ท่ี 2 การตา่ งประเทศ แผนย่อย 2
นาพาประชาชนสู่การปฏิรูปประเทศในรูปแบบใหม่ ความรว่ มมือเศรษฐกิจและความร่วมมือ เพื่อ
ในอีก 20 ปี ซ่ึงประเทศไทยจะต้องผลักดันให้เกิด การพฒั นาระหวา่ งประเทศ
การพัฒนากาลังแรงงานท่ีสามารถตอบสนองให้ประเทศ
มีความ “มั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน” ท้ังนี้ กรมพัฒนา ประเดน็ ท่ี 4 อุตสาหกรรมและบรกิ ารแหง่ อนาคต
ฝีมือแรงงานมีความตระหนักและให้ความสาคัญ แผนย่อย 6 การพัฒนาระบบนิเวศอุตสาหกรรมและ
ในการพฒั นากาลังแรงงานทง้ั ในเชิงปริมาณและคุณภาพ บริการแห่งอนาคต
เพ่ือเพิ่มศักยภาพกาลังแรงงานให้ได้มาตรฐานเป็น
ท่ียอมรับในระดับชาติและระดับสากลโดยมีกรอบ ประเด็นที่ 5 การทอ่ งเท่ียว แผนย่อย 6 การพัฒนา
แนวทางการดาเนนิ งานเพอื่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมาย ดงั น้ี ระบบนิเวศการท่องเที่ยว
1. ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี
ประเด็นท่ี 7 โครงสร้างพ้ืนฐานระบบโลจิสติกส์
(พ.ศ. 2561 – 2580) และดิจิทัล แผนย่อย 1 โครงสร้างพ้ืนฐานด้าน
การดาเนนิ งานตามยุทธศาสตร์ชาติ โดยยุทธศาสตร์ คมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
ซึ่งเก่ยี วขอ้ งโดยตรงกบั กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน ประเดน็ ท่ี 8 ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาด
จานวน 4 ยุทธศาสตร์ ดงั ตอ่ ไปนี้ กลางและขนาดย่อมยุคใหม่ แผนย่อย 1 การ
สร้างความเข้มแขง็ ผู้ประกอบการอจั ฉรยิ ะ
1.1 ด้านความมน่ั คง
1.2 ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ประเด็นที่ 9 เขตเศรษฐกิจพิเศษ แผนย่อย
1.3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ 1 การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและ
ทรัพยากรมนษุ ย์ แผนย่อย 3 การพัฒนาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดน
1.4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสังคม ประเด็นท่ี 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอด
ช่วงชีวิต แผนย่อย 4 การพัฒนาและยกระดับ
2. แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ศักยภาพวยั แรงงาน
(พ.ศ. 2561 – 2580)
เปน็ แผนทีม่ งุ่ บรรลเุ ป้าหมายของยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็นท่ี 15 พลังทางสังคม แผนย่อย 2
การรองรับสงั คมสงู วัยเชิงรกุ
มจี านวน 23 ประเดน็ โดยเกย่ี วกบั กรมพฒั นาฝมี อื 3. แผนการปฏริ ปู ประเทศ
แรงงานเกยี่ วขอ้ งโดยตรง จานวน 9 ประเดน็ ดังนี้
คณะกรรมการปฏิรูปประเทศได้จัดทาแผน
การปฏริ ปู ประเทศโดยใช้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 - 2580) ข้อเสนอแนะที่เก่ียวข้องกับ
การปฏิรูปประเทศของคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ สภานิตบิ ัญญตั แิ หง่ ชาติ สภาขบั เคลือ่ น
4
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
การปฏิรูปประเทศประกอบการจัดทาแผนการปฏิรูป ยุคท่ี 1 Productive Manpower (พ.ศ. 2560 -
ประเทศ โดยมีประเด็นที่เก่ียวข้องกับกรมพัฒนาฝีมือ 2564)เร่งรัดรับมือปัญหาการขาดแคลนแรงงาน
แรงงานในด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ หัวข้อที่ 2 : การปฏิรูป ส่งเสริมให้แรงงานไทยมีทักษะที่หลากหลาย
ด้านความเท่าเทียมและการเติบโตอย่างมีส่วนร่วม (Multi-skill) เตมิ ทกั ษะใหม่(Re-skilled) และเติม
เรื่องและประเด็นการปฏิรูปที่ 8 : การสร้างแรงงาน ทักษะด้าน STEM เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนผ่านในโลก
คุณภาพ (Super Worker) และเช่ือมโยงแรงงานสู่ ของการทางาน
ตลาดอยา่ งครบวงจร ยุคท่ี 2 Innovative Workforce (พ.ศ. 2565 -
4. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 2569)แรงงานสามารถนาเทคโนโลยีและ
(พ.ศ. 2560 – 2564) นวตั กรรมมาใช้ในการเพิ่มผลิตภาพไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
รัฐบาลได้จดั ทายุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี โดยใช้ ยุคท่ี 3 Creative Workforce (พ.ศ. 2570 -
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 เปน็ 2574)ทรัพยากรมนุษย์มีความคดิ สร้างสรรค์ในการ
กลไกขบั เคลื่อนเพอ่ื ใหป้ ระเทศมีความมนั่ คง มั่งค่งั ย่ังยนื สร้างมลู ค่าเพ่ิมให้แกก่ ารทางาน
โดยมีเป้าหมายและแนวทางสาคัญ จานวน 10 ยุทธศาสตร์ ยุคท่ี 4 Brainpower (พ.ศ. 2575 - 2579) ใช้
ซง่ึ กรมพัฒนาฝีมอื แรงงานเกย่ี วข้อง จานวน 5 ยุทธศาสตร์ สติปัญญาในการทางานที่มูลค่าสูงเพ่ือให้มีรายได้สูง
ดงั น้ี จนประเทศสามารถหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง
ด้วยทรพั ยากรมนษุ ยท์ ี่มีคุณค่าอยา่ งยั่งยนื
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพ 6. นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา)
ทนุ มนุษย์
นโยบายหลัก จานวน 12 ด้าน และนโยบาย
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การสร้างความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจ เร่งด่วน จานวน12 เร่ือง ซ่ึงเก่ียวข้องกับกรม
และแข่งขนั ได้อยา่ งยงั่ ยืน พัฒนาฝีมอื แรงงาน ดงั น้ี
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสรมิ สร้างความมั่นคงแห่งชาติ นโยบายหลกั ท่ี จานวน 7 ดา้ น ได้แก่
เพ่อื การพฒั นาประเทศส่คู วามม่งั คง่ั และย่งั ยืน ดา้ นท่ี 4 การสรา้ งบทบาทของไทยในเวทโี ลก
ดา้ นท่ี 5 การพฒั นาเศรษฐกจิ และ
ยุทธศาสตร์ท่ี 9 การพัฒนาภาคเมืองและพ้ืนที่
เศรษฐกิจ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของไทย
ดา้ นท่ี 6 การพัฒนาพน้ื ทเ่ี ศรษฐกจิ และ
ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพอ่ื
การพฒั นา การกระจายความเจรญิ สภู่ มู ภิ าค
5. แผนการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ระยะ 20 ปี ด้านท่ี 7 พัฒนาสรา้ งความเขม้ แขง็ จากฐานราก
ด้านท่ี 8 การปฏิรปู กระบวนการเรียนรแู้ ละ
(พ.ศ. 2560 - 2579) ของกระทรวงแรงงาน
การพัฒนาศกั ยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย
กาหนดวสิ ัยทัศน์ คอื “ทรัพยากรมนษุ ยม์ ีคุณค่าสงู ดา้ นท่ี 11 การปฏริ ปู การบรหิ ารจดั การภาครัฐ
สูค่ วามยง่ั ยนื ” กาหนดการดาเนินการเพ่ือบรรลุ ด้านท่ี 12 การป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต 5
วิสัยทศั นเ์ ปน็ 4 ยุค ดงั น้ี
รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
นโยบายเร่งดว่ น จานวน 4 เรื่อง ได้แก่ 1.2 แกป้ ัญหาอย่างยง่ั ยนื ใชง้ บประมาณ
เหมาะสมและตรงกลมุ่ เป้าหมาย
1. ยกระดับศักยภาพของแรงงาน โดยยกระดับ
1.3 สร้างแรงจงู ใจใหธ้ รุ กจิ จา้ งงานและใช้
รายได้ให้สอดคล้องกับสมรรถนะแรงงาน ควบคู่กับ วิกฤตพิ ฒั นาองคก์ รใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและแขง่ ขนั ได้
การพัฒนาทกั ษะฝมี ือแรงงาน 1.4 ให้มแี ผนการจ้างงานคนรนุ่ ใหม่ และ
ผไู้ มเ่ คยเข้าสตู่ ลาดแรงงานให้มีงานทา
2. การปรบั ปรงุ ระบบสวสั ดกิ ารและพฒั นา
2. นโยบายสาคัญ
คณุ ภาพชีวิตของประชาชน 2.1 ส่งเสริม คุ้มครอง พัฒนา และสร้าง
3. การแก้ไขปญั หายาเสพตดิ และสร้างความสงบสขุ หลกั ประกันทางสงั คมส่แู รงงานนอกระบบ
2.2 บริหารจัดการแรงงานในเขตพัฒนาพิเศษ
ในพื้นท่ีชายแดนภาคใต้
ภาคตะวันออกและเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษชายแดน
4. การพัฒนาระบบการให้บรกิ ารประชาชน 2.3 พฒั นาสทิ ธิประโยชนใ์ ห้สอดคล้องภาวะ
7. นโยบายรองนายกรฐั มนตรี เศรษฐกิจ
2.4 Safety & Healthy Thailand
(พลเอก ประวติ ร วงษส์ วุ รรณ)
มอบนโยบายการปฏิบัติราชการ เมื่อวันท่ี 16 9. แผนปฏบิ ัติราชการกรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน
พ.ศ. 2564
สิงหาคม 2563 ซง่ึ เกย่ี วขอ้ งกับกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ดงั น้ี
1) ให้กาหนดแผนงานท่ีชัดเจนในการพัฒนากาลัง กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจัดทาแผนปฏิบัติ
ราชการ พ.ศ. 2564 เพื่อให้มีทิศทางการดาเนินงาน
แรงงานเพ่ือรองรับอุตสาหกรรม 4.0 อุตสาหกรรม ท่ีชัดเจน สามารถขับเคลื่อนการดาเนินงานท้ังใน
เปา้ หมาย และเตรยี มความพร้อมรองรับสังคมสูงวยั ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเพื่อเป้าหมายสูงสุดของ
ประชาชนในการพัฒนาศักยภาพแรงงานให้มีความรู้
2) ผลิตกาลังแรงงานคุณภาพ รวมท้ังพัฒนาทักษะ มีทักษะฝีมือและทัศนคติท่ีดีในการทางาน โดย
อาชีพให้คนทกุ ชว่ งวยั กาหนดแผนปฏิบัติการ 5 เร่ือง ดงั นี้
3) สง่ เสริมการมีงานทาทีม่ ีคณุ ค่าใหค้ นทุกกลมุ่
4) สร้างกระบวนการทีไ่ ดร้ บั การยอมรับจากผมู้ สี ว่ นได้ 1. การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงาน
สว่ นเสยี ผา่ นกลไกคณะกรรมการไตรภาคี ใหไ้ ด้มาตรฐานสากล
5) ส่งเสริม คุ้มครอง และพัฒนาทักษะให้กับ
แรงงานท่ีประกอบอาชพี อสิ ระ ให้มีอาชพี มีรายได้ 2. การฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพ่ือรองรับความท้า
8. นโยบายกระทรวงแรงงาน พ.ศ. 2564 ทายในยุคไทยแลนด์ 4.0
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานได้มอบนโยบาย 3. การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการและ
แรงงานนอกระบบ
แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ใ ห้ แ ก่ เจ้ าหน้ าที่
4. สง่ เสรมิ และพัฒนาเครือขา่ ยการพัฒนาฝมี อื แรงงาน
กระทรวงแรงงาน เมือ่ วันท่ี 28 สิงหาคม 2563 ณ หอ้ งประชุม 5. การบริหารจัดการองค์การและระบบฐานข้อมูล
ใหท้ นั สมัยยดื หยนุ่
จอมพล ป. พิบูลสงคราม ช้ัน 5 อาคารกระทรวงแรงงาน
ดงั นี้
1. นโยบายเร่งดว่ น
1.1 เยียวยาความเจ็บปวดท่ีประเทศกาลัง
เผชิญอยู่ โดยเฉพาะ SMEs และประชาชนตกงาน
6
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
ผลการดาเนินงานการพฒั นาฝีมอื แรงงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้รับการจัดสรรเป้าหมาย ผลการดาเนินงานการพฒั นาฝีมอื
จานวน 4,129,910 คน ดาเนินการฝึกเอง จานวน แรงงานภายใต้ความสอดคล้องกบั
129,910 คน ส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการ
ดาเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน จานวน 4,000,000 คน แผน 3 ระดบั
โดยมผี ลการดาเนินงาน ดังนี้
1. การดาเนินงานภายใต้ความสอดคล้อง
1. กรณที กี่ รมเป็นผู้ดาเนนิ การเอง มผี ู้เขา้ รับการ ยทุ ธศาสตรช์ าติที่ 1 ดา้ นความมั่นคง
ฝึกอบรม จานวน 143,592 คน คิดเป็นร้อยละ 110.53 เป้าหมาย จานวน 1,800 คน ผู้เข้ารับ
จากเป้าหมาย จานวน 129,910 คน มผี ู้ผา่ นการฝึกอบรม
จานวน 121,848 คน คิดเป็นร้อยละ 84.86 โดย การฝกึ อบรม จานวน 1,895 คน คิดเป็นร้อยละ
ผู้ผ่านการฝึกมีงานทา ร้อยละ 83.50 มีรายได้เฉล่ีย 105.28 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม
12,116 บาท/เดือน 1,828 คน คิดเป็นร้อยละ 96.46 โดยผู้ผ่าน
การฝึกอบรมมีงานทา ร้อยละ 94.26 มีรายได้
2. กรณสี ง่ เสริมสถานประกอบกิจการดาเนนิ การ เฉล่ีย 11,686 บาท/เดอื น
พัฒนาฝีมือแรงงาน มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 2. การดาเนนิ งานภายใต้ความสอดคล้อง
2,769,784 คน คิดเป็นร้อยละ 69.24 จากเป้าหมาย
จานวน 4,000,000 คน ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน ยทุ ธศาสตร์ชาตทิ ่ี 2 ดา้ นการสร้าง
2,769,784 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
121,759 เป้าหมาย จานวน 41,890 คน ผู้เข้ารับ
การฝึกอบรม จานวน 46,681 คน คิดเป็นร้อยละ
111.44 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม
42,628 คน คิดเป็นร้อยละ 91.32 โดยผู้ผ่าน
การฝึกอบรมมีงานทา ร้อยละ 87.30 มีรายได้เฉลี่ย
14,752 บาท/เดอื น
3. การดาเนินงานภายใต้ความสอดคล้อง
ยุทธศาสตรช์ าตทิ ี่ 3 ดา้ นการพัฒนาและ
เสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ประเทศ
เป้าหมาย จานวน 78,020 คน ผู้เข้ารับ
การฝกึ อบรม จานวน 86,037 คน คิดเป็นร้อยละ
110.28 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม
68,566 คน คิดเป็นร้อยละ 79.69 โดยผู้ผ่าน
การฝึกอบรมมีงานทา ร้อยละ 80.06 มีรายได้เฉลี่ย
13,486 บาท/เดือน
7
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
4. การดาเนินงานภายใต้ความสอดคลอ้ ง การขบั เคลอื่ นนโยบายกระทรวงแรงงาน
ยทุ ธศาสตร์ชาตทิ ่ี 4 ดา้ นการสร้างความเสมอ
เป้าหมาย 8,200 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม กระทรวงแรงงานดาเนินภารกิจด้านแรงงานท่ีมี
ความสาคัญต่อการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ
จานวน 8,978 คน คิดเป็นร้อยละ 109.49 ของเป้าหมาย เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของแรงงานให้มีความ
ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 8,826 คน คิดเป็นร้อยละ เป็นอยู่ท่ีดีมีหลักประกันความมั่นคงในการดารงชีพ
98.31 ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีงานทา ร้อยละ 75.82 โดยกระทรวงแรงานได้กาหนดนโยบายกระทรวง
มีรายไดเ้ ฉลยี่ 5,202 บาท/เดือน แรงงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สอดคล้อง
กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบายรัฐบาล เพ่ือเป็น
การพฒั นาฝีมอื แรงงานเพอ่ื แก้ไขปัญหา กรอบในการปฏิบัติราชการ ท้ังน้ี มาตรการที่
เยยี วยา และฟ้ืนฟูเศรษฐกจิ
ส อ ดค ล้ อ งกั บภ าร กิ จ กร มพั ฒน าฝี มื อ แร งง าน ดั ง
และสังคมทีไ่ ดร้ บั ผลกระทบจากการระบาด แผนภาพ
ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
เพ่ือส่งเสริมให้แรงงานมีทักษะในการประกอบ มาตรการเรง่ ดว่ น
อาชีพ สามารถปรับเปลี่ยนทักษะให้สอดคล้องกับ 1. เยยี วยาความเจบ็ ปวดท่ีประเทศกาลงั เผชิญอยู่
ความต้องการของตลาดแรงงาน และสร้างรายได้ โดยเฉพาะ SMEs และประชาขนตกงาน
อย่างยั่งยืน ส่งผลต่อการฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจและ
สังคมในอนาคตรวมถึงสามารถอยู่รอดได้ท่ามกลาง มาตรการชว่ ยเหลือผปู้ ระกอบกิจการ
สถาวะวิกฤตตา่ งๆ ที่เกดิ ขึน้ ทกี่ ยู้ มื เงนิ กองทนุ พัฒนาฝีมอื แรงงาน
เป้าหมาย จานวน 10,040 คน ผู้เข้ารับการฝึก - วงเงนิ ใหก้ ้ยู มื ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
จานวน 9,385 คน คิดเป็นร้อยละ 93.48 จาก จานวน 30,000,000 บาท
เ ป้ า ห ม า ย
ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 9,134 คน คิดเป็น - ได้รับเงนิ กู้ จานวน 48 ราย วงเงนิ ท่ีอนมุ ัติ
รอ้ ยละ 97.33 โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา ร้อยละ 78.49 30,000,000 บาท ลูกจา้ งไดป้ ระโยชน์ 8,777 คน
มรี ายไดเ้ ฉลย่ี 10,950 บาท/เดือน จาแนกเปน็ การฝึกอบรม จานวน 8,577 คน และ
8
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
2. สร้างแรงจูงใจให้ธุรกิจต่างๆ ยังคงจ้างงานต่อ 3. มาตรการสนบั สนนุ ส่งเสรมิ แรงงานผสู้ ูงอายุ
และใช้วิกฤตพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพและ และแรงงานคนพกิ ารให้มงี านทา
แข่งขันได้
เพอื่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ท่ดี ีของผสู้ ูงอายุ
ยกระดับทักษะฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงาน ให้มีความรู้ ความสามารถ มีอาชพี มีรายได้ และ
คุณภาพ (Productive Labour) โดยมีเป้าหมาย เป็นการสรา้ งคณุ คา่ ให้กับผูส้ ูงอายุ โดยมีเป้าหมาย
จานวน 53,010 คน ผู้เขา้ รับการฝึก จานวน 60,032 คน จานวน 8,200 คน ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรม จานวน
คิดเป็นรอ้ ยละ 113.25 ผผู้ ่านการฝกึ จานวน 54,088 คน 8,978 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 109.49 ผู้ผา่ นการ
คิดเป็นร้อยละ 90.10 โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา ฝกึ อบรม จานวน 8,826 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 98.31
รอ้ ยละ 87.49 มรี ายได้เฉล่ยี 14,248 บาท/เดอื น โดยผู้ผา่ นการฝกึ มงี านทา รอ้ ยละ 75.82 มีรายได้
นโยบายสาคญั เฉลี่ย 5,202 บาท/เดือน
1. มาตรการบริหารจัดการด้านแรงงานในเขต 4. มาตรการ Safety Thailand
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และเขตพัฒนา
เศรษฐกจิ พิเศษชายแดน (SEZ) เปน็ การส่งเสรมิ ใหผ้ ปู้ ระกอบอาชีพมี
ความรู้ ความสามารถคมุ้ ครองความปลอดภยั
พัฒนาศักยภาพฝีมือแรงงานให้สอดคล้องกับ สาธารณะจากการทางาน ปจั จุบนั ประกาศกระทรวง
ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและเทคโนโลยรี องรับ แรงงานกาหนดให้สาขาชา่ งไฟฟา้ ภายในอาคาร
รองรับการลงทุนในอุตสาหกรรมและบริการท่ีใช้ ชา่ งเครอื่ งปรบั อากาศในบา้ นและการพาณชิ ย์
เทคโนโลยีชั้นสูง โดยมีเป้าหมาย จานวน 15,740 คน ขนาดเลก็ ชา่ งเชอ่ื มอารก์ โลหะด้วยมอื สาขา
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 16,948 คน คิดเป็น ชา่ งเชือ่ มแม็ก และสาขาชา่ งเช่อื มทกิ เปน็ สาขา
ร้อยละ 107.67 ผู้ผ่านการฝึกอบรม 15,189 คน อาชีพทีอ่ าจเปน็ อนั ตรายต่อสาธารณะ โดยมี
คิดเป็นร้อยละ 89.62 โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา เป้าหมาย จานวน 14,325 คน ผ้เู ขา้ รบั การประเมนิ
รอ้ ยละ 83.72 มีรายได้เฉลี่ย 15,206 บาท/เดอื น จานวน 15,259 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 106.52 ของ
เป้าหมาย ผผู้ ่านการประเมิน จานวน 15,122 คน
2. มาตรการส่งเสริม คุ้มครอง พัฒนาและสร้าง คดิ เป็นรอ้ ยละ 99.10
หลักประกันทางสังคมสู่แรงงานนอกระบบ
เพอื่ ลดความเหลอื่ มล้าดา้ นรายได้ของกลุ่มคนที่
มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกัน แก้ไข
ปัญหาความยากจนในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพอิสระ กลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน โดยมีเป้าหมาย 12,900 คน ผู้เข้ารับ
การฝึกจานวน 15,182 คน คิดเป็นร้อยละ 117.69
ผู้ผ่านการฝึก จานวน 14,040 คน คิดเป็นร้อยละ
92.48 โดยผูผ้ ่านการฝกึ มีงานทา ร้อยละ 50 รายได้เฉลี่ย
6,928 บาท/เดือน
9
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
การบรู ณาการกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย 4. ความร่วมมือโครงการพัฒนาทักษะดิจิทัล
เพ่ือการจา้ งงาน
การบรู ณาการกับภาคีเครอื ขา่ ยมคี วามสาคัญอย่าง
ยิ่งต่อพัฒนากาลังแรงงานของประเทศเพื่อให้แรงงานมี รว่ มกับบริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย)
ทักษะฝีมือและผลิตภาพสูงรองรับการเปล่ียนแปลงของ จากัด โดยบริษัทฯ สนบั สนนุ เนอ้ื หาและวดี โิ อการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมในอนาคต ทัง้ นี้ กรมพฒั นาฝีมือ ฝึกอบรมใหก้ รมพฒั นาฝีมือแรงงานนาไปเผยแพร่
แรงงานบูรณาการกบั ภาคีเครอื ขา่ ย ดงั น้ี ผา่ นช่องทางการฝึกอบรมออนไลนท์ เี่ วบ็ ไซต์
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน หวั ขอ้ : ฝกึ ทกั ษะออนไลน์
1. การพัฒนาฝีมือแรงงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล http://eit.dsd.go.th/dsdtraining.php จานวน
โดยลงนามความร่วมมือกับบริษัท หัวเว่ย 6 หลักสตู ร ไดแ้ ก่1) การใชง้ านโปรแกรม Microsoft
Word 2) การใชง้ านโปรแกรม Microsoft Excel
เทคโนโลยี (ประเทศไทย) เพ่ือพัฒนาบุคลากรให้มี 3) การใชง้ านโปรแกรม Microsoft PowerPoint
ความรู้ ความสามารถและทักษะฝีมือที่สูงขึ้นทันต่อ 4) การใชง้ านโปรแกรม Power BI 5) การใชง้ าน
การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี รวมท้ังแก้ไขปัญหา โปรแกรม Power Platform และ 6) การใชง้ าน
การขาดแคลนแรงงานดา้ นดิจิทลั รองรับการขยายตัว โปรแกรม Digital Literacy โดยมผี ู้สนใจเข้า
ของระบเศรษฐกิจในอนาคต มผี ผู้ ่านการฝึกอบรม 45 คน
เยยี่ มชมเนื้อหาหลกั สูตร จานวน 2,622 ครง้ั
2. การพัฒนาฝีมือแรงงานช่างติดต้ังกระจก
รถยนต์และฟิล์มกรองแสงรถยนต์ 5. การพฒั นาทกั ษะฝมี ือแรงงานร่วมกบั
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์
โดยลงนามความร่วมมือกับบริษัท อุดรกระจก
รถยนต์ จากดั เพ่อื พฒั นาศักยภาพแรงงานใหม้ ีความรู้ ร่วมกับสานักงานพัฒนาธุรกรร มทาง
ความสามารถและทักษะฝีมือสูงข้ึน ทันต่อการเปลี่ยนแปลง อิเล็กทรอนิกส์ (ETDA) เพ่ือสร้างแรงงานให้มีความรู้
ของเทคโนโลยี โดยฝึกอบรมหลักสูตรช่างติดตั้งกระจก ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) เป็น
รถยนต์ และช่างติดฟลิ ์มกรองแสงรถยนต์ การให้ความช่วยเหลือวิสาหกิจชุมชนผู้ประกอบการ
รายย่อย แรงงานนอกระบบ ผู้ถูกเลิกจ้าง
3. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน วา่ งงาน ท่ีมีความสนใจต้องการทาธุรกิจหรือขาย
ท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของ สินค้าผ่านระบบออนไลน์ ได้เข้าใจภาพรวมของ
โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 กระบวนการทา e-Commerce ตั้งแต่ต้นน้าถึง
ปลายน้า โดยฝึกอบรมให้กับกลุ่มมัคคุเทศก์ รุ่น
โดยลงนามความร่วมมือกับบรรษัทประกัน 40 คน
สินเช่อื อตุ สาหกรรมขนาดยอ่ ม (บสย.) เพ่ือสง่ เสรมิ ให้
ผู้ผ่านการฝึกอบรมสามารถประกอบอาชีพอิสระได้
และมีโอกาสเข้าถึงสินเชื่อโดยมี บสย. เป็นผู้ค้าประกัน
มีผผู้ ่านการฝกึ อบรม 58 คน
10
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
6. การสนับสนนุ เครอ่ื งปรับอากาศ เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องการเงินการลงทุน
บริษัท มาเวลคอร์ปอเรชั่น จากัด มอบ สาหรับกลุ่มแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานกลุ่ม
เปราะบาง ใหม้ ีความรู้ มีทักษะการบริหารจดั การเงิน
เคร่ืองปรบั อากาศให้กับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จานวน และต่อยอดสู่การลงทุนได้อย่างเหมาะสมและ
90 ชุด มูลค่า 1,216,300 บาท เพื่อใช้พัฒนาทักษะ มีประสิทธิภาพ
แรงงานและทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ 11. พัฒนาทักษะอาชีพช่างก่อสร้าง ช่างไฟฟ้า
สาขาช่างเครอ่ื งปรบั อากาศ
และพฒั นาแพลตฟอร์มคน้ หาช่างคณุ ภาพ
7. มอบโล่เกียรติคุณให้แก่เครือข่ายพัฒนาฝีมือ ผา่ นแอปพลเิ คชัน Zoom
แรงงาน
การมอบโล่เกียรติคุณให้แก่เครือข่ายพัฒนา โ ด ย ล ง น า ม ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ บ ริ ษั ท
เน็กซเตอร์ดิจิตอล จากัด เพื่อส่งเสริมการพัฒนา
ฝีมือแรงงาน จานวน 21 แห่ง ที่มีส่วนในการพัฒนา ทักษะอาชีพ และเพ่ิมช่องทางในการหารายได้
ทกั ษะฝีมอื แรงงาน ผลติ กาลงั แรงงานเขา้ สู่ตลาดแรงงาน สาหรับช่างคุณภาพที่ผ่านการอบรมจากกรม
ทง้ั ในเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมทงั้ เชื่อมโยงแพลตฟอร์ม “รวมช่าง” ให้เชื่อมโยง
กับแพลตฟอรม์ “ควิ ช่าง” เพื่อรองรับการให้บริการ
8. พัฒนาทักษะอาชีพด้านการเกษตรเพื่อ ชา่ งฝีมือ
ช่วยเหลอื แรงงานในสถานการณ์ COVID-19 12. การพัฒนาฝีมือแรงงานด้านเทคโนโลยี
กรมพัฒนาฝีมือแรงงนร่วมกับบริษัทคูโบต้า การผลติ อัตโนมัตแิ ละหุ่นยนต์
ปทุมธานี จากัด จัดทาโครงการพัฒนาทักษะอาชีพ โดยลงนามความร่วมมือกับ บริษัท แอโร
ดา้ นการเกษตร เปน็ การช่วยเหลือแรงงานในสถานการณ์ กรุ๊ป (1992) จากัด เพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานด้าน
COVID-19 ปีท่ี 2 (KUBOTA Agri e-Learning) โดยมี เทคโนโลยีการผลิตอัตโนมัติและหุ่นยนต์ เพ่ือให้
เป้าหมายผลิตนักขบั รถเพือ่ การเกษตร จานวน 3,000 คน แรงงานมีความรู้ ความสามารถ และทักษะฝีมือ
ป้อนอตุ สาหกรรมเกษตร สงู ขนึ้ รองรับการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
9. การพัฒนาฝีมือแรงงานด้านช่างไฟฟ้าโครงการ
1 ตาบล 1 ชา่ งไฟฟ้า ผ่านแอปพลเิ คชนั Zoom
โดยร่วมความร่วมมือระหว่าง 3 หน่วยงาน
ได้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพื่อสร้างอาชีพ
สร้างรายไดแ้ ก่ประชาชน และเศรษฐกจิ ของประเทศ
10. การส่งเสริมความรู้เร่ืองการเงินการลงทุน
สาหรบั แรงงานผา่ นแอปพลิเคชนั Zoom
โดยลงนามบันทึกความร่วมมือกับสานักงาน
คณะกรรมการกากบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลักทรัพย์
11
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
สว่ นท่ี 2
ภารกิจของกรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน
12
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
ภารกจิ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
วิสยั ทัศน์ (vision)
พัฒนาศักยภาพคนทางานทุกระดับให้มีผลิตภาพแรงงานสูง สอดคล้องกับความ
ต้องการของตลาดแรงงาน และกา้ วทนั เทคโนโลยี 4.0
Develop the potential of all workers to enhance high productivity in line with
demand in the labour market and technology 4.0
พนั ธกจิ (Mission)
1. พัฒนาและยกระดบั มาตรฐานฝีมอื แรงงานใหเ้ ปน็ ที่ยอมรบั ในระดบั สากล
2. พัฒนาระบบการพัฒนาฝีมอื แรงงานรองรับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทีเ่ ปลย่ี นแปลง
3. สง่ เสริมการมีส่วนรว่ ม และสร้างเครือขา่ ยเพือ่ การพฒั นาฝมี ือแรงงาน
4. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การองค์กรใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
อานาจหนา้ ที่
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มีภารกิจเก่ียวกับการส่งเสริมและพัฒนาฝีมือแรงงานและศักยภาพของ กาลัง
แรงงานและผปู้ ระกอบกิจการ เพือ่ ให้กาลังแรงงานมีฝีมือได้มาตรฐานในระดับสากล มีความรู้ความสามารถใน
การประกอบอาชีพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ พัฒนา
ประสิทธภิ าพของผู้ประกอบกิจการใหส้ ามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นตลาดโลก และควบคมุ กากับ ดูแลการประกอบอาชีพ
ทีอ่ าจเป็นอันตรายตอ่ สาธารณะหรือต้องใช้ผู้มีความรูค้ วามสามารถ โดยใหม้ อี านาจหนา้ ที่ ดังต่อไปน้ี
1. ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กฎหมายว่าด้วย
การจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน เฉพาะในส่วนท่ีเกี่ยวกับสถานทดสอบฝีมือแรงงานและการทดสอบ
ฝมี อื แรงงาน และกฎหมายอ่นื ทเ่ี กี่ยวข้อง
2. กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน และแนวทางในการพัฒนากาลังแรงงานของประเทศ
ตลอดจนประสานแผนการฝกึ อาชพี ของทุกหนว่ ยงานท้งั ภาครัฐและภาคเอกชน
3. จัดทาและพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงานให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและความต้องการของ
ตลาดแรงงาน การจัดงานแขง่ ขนั ฝีมอื แรงงานทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ พฒั นาระบบการรับรองความรู้
ความสามารถ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การกองทุนพฒั นาฝีมือแรงงาน
13
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
4. ส่งเสริมและพัฒนาระบบและรูปแบบการพัฒนากาลังแรงงาน การพัฒนาศักยภาพแรงงาน
และผู้ประกอบกิจการ การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และการออกหนังสือ
รับรองมาตรฐานฝีมอื แรงงานทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ
5. ส่งเสริมและประสานความร่วมมือให้ภาครัฐและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการดาเนินการ
เกี่ยวกับการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน มาตรฐานฝีมือแรงงาน การรับรองความรู้ความสามารถ และการส่งเสริม
เครือข่ายการพัฒนาฝมี ือแรงงาน
6. ดาเนินการเกย่ี วกบั การเปน็ ศนู ยข์ อ้ มลู สารสนเทศการพฒั นากาลงั แรงงานของประเทศ
7. ปฏบิ ัตกิ ารอ่นื ใดตามที่กฎหมายกาหนดใหเ้ ป็นอานาจหนา้ ที่ของกรมหรอื ตามทร่ี ัฐมนตรีหรือ
คณะรฐั มนตรมี อบหมาย
กรมพฒั นาฝีมอื แรงงานมีการจัดโครงสร้างและกรอบอตั รากาลงั ดังน้ี
14
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
โดยกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มีหน่วยงานปฏิบัติในสังกัด ซ่ึงครอบคลุมท้ัง 77 จังหวัด
ท่วั ประเทศ ประกอบด้วย สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 25 แห่ง สานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน 52 แห่ง และ
หน่วยงานเฉพาะดา้ น 6 แหง่ ได้แก่ สถาบนั พฒั นาฝีมือแรงงานนานาชาตเิ ชียงแสน สถาบนั พฒั นาทรัพยากร
มนุษยส์ าหรับอุตสาหกรรมบริการสุขภาพ สถาบันพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่
ยานยนต์ สถาบันพัฒนาบุคลากรสาขาเทคโนโลยีการผลิตอัตโนมัติและหุ่นยนต์ สถาบันพัฒนาบุคลากรดิจิทัล
และสถาบันพัฒนาบุคลากรสาขาเทคโนโลยี อัตโนมัติและเมคคาทรอนิกส์ เพื่อดาเนินภารกิจ
ด้านการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ด้านมาตรฐานฝีมือแรงงาน ด้านการส่งเสริมและสร้างเครือข่ายการพัฒนา
ฝีมือแรงงาน รวมทง้ั ด้านการรับรองความรู้ความสามารถ
15
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
กลไกการขับเคลอ่ื นการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีบทบาทสาคัญในการขับเคล่ือนระบบเศรษฐกิจของประเทศ
ด้วยการพัฒนาทักษะฝีมือให้กับกาลังแรงงานของประเทศ โดยมีกลไกการขับเคล่ือนการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ในรปู แบบต่างๆ ดังนี้
1. กรมพัฒนาฝีมือแรงงานเป็นผู้ดาเนินการพัฒนาทักษะฝีมือให้กับกาลังแรงงานของประเทศ
โดยตรง
2. ส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการเป็นผู้ดาเนินการพัฒนาทักษะฝีมือให้แก่พนักงานของตน
โดยสถานประกอบกิจการจะได้รับสิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
พ.ศ.2545 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2557 ภายใต้การกากับ ดูแลของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยสิทธิประโยชน์
ทสี่ ถานประกอบกิจการจะไดร้ บั ประกอบด้วย
2.1 สิทธิได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้เป็นจานวนร้อยละร้อยของรายจ่ายท่ีได้จ่ายไปเป็น
ค่าใชจ้ า่ ยในการฝกึ อบรม
2.2 สิทธินาคนต่างด้าวซึ่งเป็นช่างฝีมือหรือผู้ชานาญการเพ่ือเป็นครูฝึกเข้ามาในราชอาณาจักร
พร้อมค่สู มรสและบุคคลซึ่งอยใู่ นอปุ การะ
2.3 สิทธิได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่มสาหรับเคร่ืองมือ เคร่ืองจักรและ
อปุ กรณ์ทีน่ าเข้ามาในราชอาณาจักรเพ่ือใช้ฝึกอบรมในศนู ยฝ์ ึกอบรมฝมี อื แรงงาน
2.4 สิทธิได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและกฎหมาย
วา่ ด้วยแรงงานสัมพันธ์
2.5 ได้รับคาปรึกษาแนะนาและความช่วยเหลือจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเก่ียวกับ
การฝึกอบรมในด้านตา่ งๆ
2.6 สถานประกอบกิจการสามารถกู้ยืมเงินจากกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน รวมท้ัง
การให้เงนิ ช่วยเหลือหรืออุดหนนุ เพอื่ การส่งเสรมิ การพฒั นาฝีมอื แรงงานดา้ นตา่ งๆ ตามทีก่ ฎหมายกาหนด
3. การบรู ณาการรว่ มกบั หนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ประกอบดว้ ย
3.1 ระดับชาติ เปน็ การขับเคลือ่ นภายใต้คณะกรรมการพฒั นาแรงงานและประสานงานการ
ฝึกอาชีพแห่งชาติ (กพร.ปช.) โดยมีรองนายกรัฐมนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธาน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เป็นรองประธาน อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นเลขานุการและมีหน่วยงาน
ภาครฐั และภาคเอกชน เปน็ กรรมการ โดยมีอานาจหน้าที่ในการกาหนดนโยบายและแนวทางการพัฒนาแรงงาน
และประสานงานการฝกึ อาชพี ของผูอ้ ยู่ในกาลังแรงงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติและนโยบายของรัฐบาล ประสานแผนการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ระหว่างระบบการศึกษา
กับระบบการพัฒนากาลังแรงงานให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องตามนโยบายแห่งรัฐ รวมทั้งแผนการพัฒนาฝีมือ
แรงงาน และแผนการฝกึ อาชีพของทุกหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเพ่ือความเป็นเอกภาพในการพัฒนา
16
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
แรงงานขจัดปญั หาความซ้าซอ้ นและส้นิ เปลอื ง ตลอดจนติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายและ
แผนงานในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพของหน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังเสนอแนวทาง
การแกไ้ ขปญั หาและอุปสรรคในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพ
3.2 ระดบั จังหวดั เป็นการขับเคลื่อนภายใต้คณะอนุกรรมการพฒั นาแรงงานและประสานงาน
การฝึกอาชีพจังหวัด (กพร.ปจ.) โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานอนุกรรมการ ผู้อานวยการสถาบัน/
สานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นเลขานุการอนุกรรมการ และหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
เปน็ อนุกรรมการ โดยมอี านาจหน้าท่ีในการรวบรวมข้อมลู ดา้ นกาลังแรงงานเพอ่ื วิเคราะห์ความตอ้ งการแรงงาน
ความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในภาพรวมของจังหวัดและประสานแผนการพัฒนาฝีมือแรงงานและ
การฝกึ อาชพี เข้ากบั แผนพัฒนาจังหวัด ตลอดจนขับเคลือ่ นแผน รวมทัง้ ส่งเสรมิ สถานประกอบกจิ การ องค์กร
ภาคเอกชนให้มีส่วนร่วมในการพฒั นากาลังแรงงานและติดตามผลการดาเนินงานตามแผนการพัฒนากาลัง
แรงงานระดบั จังหวดั
17
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
ส่วนที่ 3
กรอบแนวทางการดาเนินงานของ
กรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน
18
รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
กรอบแนวทางการดาเนินงานของกรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน
ประเทศไทยขับเคล่ือนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม มุ่งเน้นการพัฒนาสู่ความมั่นคง ม่ังคั่ง และ
ยงั่ ยนื ด้วยการสร้างความเข้มแข็งตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกลไกประชารัฐ มุ่งมั่นที่จะ
นาพาประชาชนสู่การปฏิรูปประเทศในรูปแบบใหม่ ในอีก 20 ปี ซึ่งประเทศไทยจะต้องผลักดันให้เกิด
การพฒั นากาลงั แรงงานท่สี ามารถตอบสนองให้ประเทศมีความ “มั่นคง มั่งค่ัง และย่ังยืน” ทั้งนี้ กรมพัฒนาฝีมือ
แรงงานมีความตระหนักและให้ความสาคัญในการพัฒนากาลังแรงงานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
เพ่ือเพิ่มศักยภาพกาลังแรงงานให้ได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับในระดับชาติและระดับสากลโดยมีกรอบ
แนวทางการดาเนินงานเพือ่ ให้บรรลุเปา้ หมาย ดังนี้
ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนแมบ่ ท แผนปฏริ ปู แผนพฒั นา
20 ปี ภายใต้ ประเทศ เศรษฐกิจและ
สังคมแหง่ ชาติ
(พ.ศ. 2561 - 2580) ยทุ ธศาสตร์ ฉบับท่ี 12
ชาติ
แผนปฏิบัติ นโบบาย นโยบาย แผนพัฒนาทรพั ยากร
กระทรวง รัฐบาล มนษุ ย์ของประเทศ
ราชการกรม แรงงาน
ระยะ 20 ปี
Goal พฒั นาฝมี ือ (พ.ศ. 2560 - 2579)
ของกระทรวงแรงงาน
แรงงาน
พ.ศ. 2564
ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
การกาหนดยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี มเี ปา้ หมายเพ่อื ใหป้ ระเทศไทยสามารถยกระดบั
การพฒั นาใหบ้ รรลตุ ามวิสยั ทศั น์ “ประเทศไทยมคี วามม่นั คง มงั่ คั่ง ยัง่ ยืน เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้
ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง” การบรรลุเปา้ หมายการพฒั นาประเทศจาเปน็ ตอ้ ง
กาหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศระยะยาวเพื่อใหป้ ระเทศมคี วามมั่นคงในเอกราชและอธปิ ไตย
มภี มู คิ ุ้มกนั ต่อการเปลยี่ นแปลงจากปจั จยั ภายในและภายนอกประเทศในทกุ มิติ ทกุ รูปแบบและทกุ ระดบั
โดยเฉพาะภาคเกษตรกรรม ภาคอตุ สาหกรรม และภาคบริการของประเทศ ตอ้ งได้รบั การพฒั นายกระดับ
ไปสู่การใช้เทคโนโลยีและนวตั กรรมในการสร้างมูลคา่ เพม่ิ โดยพฒั นากลไกสาคญั สาหรบั ขับเคล่อื น
เศรษฐกิจใหมท่ จ่ี ะสรา้ งและเพ่ิมศกั ยภาพในการแข่งขนั ของประเทศ รวมถงึ ยกระดบั ฐานรายไดข้ อง
ประชาชน
19
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
ในภาพรวมและกระจายผลประโยชนไ์ ปสทู่ ุกภาคสว่ นอยา่ งเหมาะสม การดาเนนิ งานตามยุทธศาสตร์ชาติ
จานวน 6 ยุทธศาสตร์ ซงึ่ เกย่ี วขอ้ งโดยตรงกับกรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน จานวน 4 ยทุ ธศาสตร์ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ด้านความมน่ั คง
เป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการ
สภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ความปลอดภัย เป็นเอกราช อธิปไตย และความสงบเรียบร้อย ใน
ทุกระดับ โดยใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบรู ณาการระหวา่ งส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กร
ที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศท่ัวโลก บนพ้ืนฐานของหลักธรรมาภิบาล ทั้งน้ี เพ่ือ
เอ้ืออานวยประโยชน์ต่อการดาเนินการของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่นให้สามารถขับเคลื่อนได้ตามทิศทางและ
เป้าหมายทีก่ าหนด
2. ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
เป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญ คือ มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ
บนพ้ืนฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปท่ีรากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์
รวมทั้งความไดเ้ ปรยี บเชงิ เปรียบเทียบของประเทศในดา้ นอน่ื ประยกุ ต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้
สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคตผ่าน
การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการ
อนาคต และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่
รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต
บนพื้นฐานของการตอ่ ยอดอดตี และปรบั ปัจจุบัน พร้อมท้ังการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ เพ่ือให้ประเทศ
ไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับ
การยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมจานวนคนช้ันกลาง และลดความเหล่ือมล้าของคนใน
ประเทศ
3. ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
เป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญ คือ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี คนเก่ง และมี
คุณภาพ มีความพร้อมท้ังกาย ใจ และสติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย
มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็น
พลเมืองดีของชาติ มีหลักคดิ ที่ถกู ต้อง มีทักษะทจี่ าเปน็ ในศตวรรษท่ี ๒๑ มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษา
ที่สามและอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ื องตลอดชีวิต
สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอ่ืน ๆ โดยมีสัมมาชีพ
ตามความถนดั ของตนเอง
20
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
4. ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
เป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญ คือ การพัฒนาผ่านพลังขับเคลื่อนของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน ประชาสงั คม ชุมชน และทอ้ งถน่ิ โดยสนบั สนุนการรวมตัวของประชาชนเพื่อรว่ มคิดร่วมทาเพื่อ
ส่วนรวม การกระจายอานาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น
การเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพรอ้ มของประชากรไทยทง้ั
ในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม ให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง และ
ทาประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานท่ีสุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและ
สวสั ดิการท่ีมคี ณุ ภาพอย่างเปน็ ธรรมและทัว่ ถงึ
แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 – 2580)
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) เป็นแผนที่มุ่งบรรลุเป้าหมายของ
ยุทธศาสตร์ชาติ มีจานวน 23 ประเด็น มีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐท่ีต้องดาเนินงานตามแผนแม่บท
ท่ีเก่ียวข้อง นอกจากน้ี การจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณต้องสอดคล้องกับแผนแม่บท
เพ่ือนาไปสู่การปฏิบัติท่ีจะทาให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน
เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ทั้งน้ี กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
เกย่ี วขอ้ งโดยตรงกับแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ จานวน 9 ประเด็น ดังตอ่ ไปนี้
ประเดน็ ที่ 1 ความม่นั คง แผนย่อย 2 การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาทมี่ ีผลกระทบตอ่ ความมน่ั คง
ประเดน็ ที่ 2 การต่างประเทศ แผนยอ่ ย 2 ความรว่ มมือเศรษฐกจิ และความรว่ มมือ เพื่อการพัฒนา
ระหว่างประเทศ
ประเดน็ ท่ี 4 อตุ สาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต แผนย่อย 6 การพัฒนาระบบนิเวศอุตสาหกรรมและ
บริการแหง่ อนาคต
ประเดน็ ที่ 5 การท่องเทย่ี ว แผนย่อย 6 การพฒั นาระบบนิเวศการท่องเท่ยี ว
ประเด็นท่ี 7 โครงสร้างพนื้ ฐานระบบโลจสิ ติกสแ์ ละดจิ ทิ ัล แผนย่อย 1 โครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคม
และระบบโลจิสตกิ ส์
ประเด็นที่ 8 ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ แผนย่อย 1 การสร้าง
ความเขม้ แข็งผปู้ ระกอบการอัจฉรยิ ะ
ประเด็นท่ี 9 เขตเศรษฐกิจพิเศษ แผนย่อย 1 การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและ
แผนย่อย 3 การพฒั นาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดน
ประเด็นท่ี 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต แผนย่อย 4 การพัฒนาและยกระดับศักยภาพ
วยั แรงงาน
ประเดน็ ท่ี 15 พลังทางสังคม แผนย่อย 2 การรองรบั สังคมสูงวัยเชิงรุก
21
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
แผนการปฏริ ูปประเทศ
คณะกรรมการปฏิรูปประเทศได้จัดทาแผนการปฏิรูปประเทศโดยใช้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 - 2580) ตามที่รัฐบาล พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา จัดทาข้นึ รวมทั้งรายงานผลการศกึ ษาและ
ข้อเสนอแนะท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิรูปประเทศของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
สภาปฏิรูปแห่งชาติ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบ
การปฏิรูปประเทศ ยทุ ธศาสตรช์ าติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง ประกอบการจดั ทาแผนการปฏิรูป
ประเทศ ทัง้ น้ี กรมพฒั นาฝีมือแรงงานเกยี่ วข้องกับประเดน็ ปฏิรูปประเทศในด้านเศรษฐกจิ ดังต่อไปน้ี
หัวขอ้ ท่ี 2 : การปฏริ ปู ดา้ นความเทา่ เทียมและการเติบโตอยา่ งมีส่วนร่วม
เร่ืองและประเด็นการปฏิรูปท่ี 8 : การสร้างแรงงานคุณภาพ (Super Worker) และ
เช่ือมโยงแรงงานสู่ตลาดอย่างครบวงจรเนื่องจากการพัฒนาประเทศในภาพรวมมุ่งเน้นการพัฒนาสู่ระบบ
เศรษฐกจิ ท่ีขับเคลอ่ื นดว้ ยระบบอตั โนมัตแิ ละเทคโนโลยดี จิ ิทัล แรงงานฝีมือจึงจาเปน็ สาหรบั ระบบเศรษฐกจิ
ดังกล่าว แต่แรงงานโดยท่ัวไปยังขาดทักษะฝีมือจาเป็น (Skills Gap) และต้องได้รับการพัฒนาฝีมือให้ตรง
กับความต้องการของตลาด นอกจากน้ี การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ทาให้แรงงานถูกแทนท่ีด้วยเคร่ืองจักร
โดยเฉพาะแรงงานฝีมือปานกลางท่ีอาจประสบปัญหาการลดลงของความต้องการแรงงาน (Labour-
market Polarisation) การพัฒนาฝีมือแรงงานท่ีมีฝีมือปานกลาง รวมถึงแรงงานไร้ฝีมือที่เส่ียงต่อการถูก
แทนท่ีด้วยเคร่ืองจักร ให้เป็นแรงงานที่มีฝีมือ (Super Worker) จึงสาคัญยิ่ง เพื่อเพ่ิมความยืดหยุ่นและ
โอกาสการปรับเปล่ยี นงานสู่งานทม่ี ีคุณภาพสูงขน้ึ จนสามารถปอ้ งกันการวา่ งงานและการทางานตา่ ระดบั ได้
ในท่ีสุด
การสร้างแรงงานคุณภาพจึงมีเป้าหมายเพ่ือเพิ่มอัตราส่วนของ แรงงานมีฝีมือต่อแรงงานไร้ฝีมือ
ในประเทศ นอกจากการพฒั นาฝีมอื ผ่านการฝึกอบรมแลว้ ยงั รวมถึงการพัฒนาระบบอาชวี ศึกษาให้เข้มแข็ง
การปรับปรุงหลักสูตรระดับอุดมศึกษาสายสามัญและสายอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการแรงงาน
ในตลาด โดยเฉพาะกลุม่ อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย รวมถงึ การเช่ือมโยงระบบการศึกษาและตลาดแรงงานอยา่ ง
ครบวงจร ทงั้ นตี้ ามข้อเสนอแนะขององค์การแรงงานระหวา่ งประเทศ
เป้าหมายหรอื ผลอนั พึงประสงค์และผลสมั ฤทธิ์ ได้แก่
1. แรงงานสามารถเพิม่ หรอื ปรบั ความร้แู ละทักษะไดต้ รงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
2. มีแรงงานทกั ษะในกล่มุ อตุ สาหกรรมเป้าหมายทร่ี องรับความตอ้ งการของตลาด
3. มีหลกั สตู รระดบั อดุ มศกึ ษาทส่ี ร้างแรงงานตรงตามความตอ้ งการของกลมุ่ อุตสาหกรรมเปา้ หมาย
4. มีศูนย์การฝึกอบรมแรงงานโดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในทุกอุตสาหกรรม
เป้าหมาย
5. มี Matching Platform เพ่ือสนับสนุนการจัดหาแรงงานและสร้างฐานข้อมูลในการวิเคราะห์
ความต้องการแรงงานในตลาด
22
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
รัฐบาลได้จัดทายุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี โดยใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ที่ 12 เปน็ กลไกขับเคลือ่ นเพือ่ ให้ประเทศมีความมน่ั คง ม่งั คง่ั ยงั่ ยนื โดยมวี ัตถุประสงค์ (1) เพ่อื วางรากฐานให้
คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีค่านิยมท่ีดี มีจิตสาธารณะ มีความสุข
มีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มีทักษะความรู้ความสามารถและพัฒนา
ตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชีวิต และ (2) เพื่อให้คนไทยมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสั งคม ได้รับ
ความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนา
ศักยภาพ รวมทั้งชุมชนมีความเข้มแข็งพ่ึงพาตนเองได้ โดยมีเป้าหมายและแนวทางสาคัญ จานวน
10 ยทุ ธศาสตร์ซงึ่ กรมพฒั นาฝีมอื แรงงานเก่ยี วข้อง จานวน 5 ยุทธศาสตร์ ดงั ต่อไปน้ี
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ แนวทางการพัฒนาที่ 2) พัฒนา
ศกั ยภาพคนให้มีทักษะความรู้และความสามารถในการดารงชวี ิตอยา่ งมคี ุณคา่
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างย่ังยืน แนวทาง
การพัฒนาท่ี 2) การเสริมสรา้ งและพฒั นาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลติ และบรกิ าร
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งค่ังและ
ย่ังยนื แนวทางการพฒั นาที่ 1) การรักษาความมั่นคงภายในเพื่อให้เกิดความสงบในสังคมและธารงไว้ซึ่งสถาบันหลัก
ของชาติ และแนวทางการพัฒนาท่ี 3) การส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศด้านความมั่นคง
เพื่อบูรณาการความร่วมมือกับมิตรประเทศเพ่ือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการป้องกัน
ภัยคุกคามข้ามชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาคเมืองและพ้ืนที่เศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนาที่ 3) การพัฒนาพื้นที่
เศรษฐกจิ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 10 ความรว่ มมือระหว่างประเทศเพอื่ การพัฒนา แนวทางการพัฒนาท่ี 3) พัฒนาและ
ส่งเสรมิ ให้ไทยเป็นฐานของการประกอบธุรกิจ การบริการ และการลงทนุ ทีโ่ ดดเด่นในภูมภิ าค
แผนการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ของกระทรวงแรงงาน
แผนการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ได้กาหนดวิสัยทัศน์ 20 ปี คือ
“ทรพั ยากรมนุษยม์ ีคณุ ค่าสูง สู่ความยัง่ ยนื ” กาหนดการดาเนนิ การเพอื่ บรรลุวสิ ัยทัศนเ์ ปน็ 4 ยคุ ดังตอ่ ไปนี้
ยุคท่ี 1 Productive Manpower (พ.ศ. 2560 - 2564) เป็นยุคของรากฐานด้านแรงงานที่
เป็นมาตรฐานสากล โดยการขจัดอุปสรรคด้านแรงงาน จัดระเบียบแรงงานต่างด้าว (Zoning) เร่งพัฒนา
มาตรฐานดา้ นแรงงานให้เปน็ สากล ให้แรงงานทกุ คนได้รับการคมุ้ ครองและมคี วามปลอดภยั เร่งรัด
23
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
การรับมือกับปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ส่งเสริมให้แรงงานไทยมีทักษะท่ีหลากหลาย (Multi-skill)
เติมทักษะใหม่(Re-skilled) และเติมทักษะด้าน STEM เพื่อให้เกิดการเปล่ียนผ่านในโลกของการทางาน
ที่ราบรนื่ รองรบั การพฒั นาแรงงานให้มีทักษะการเป็นแรงงานในยุค Thailand 4.0
ยุคที่ 2 Innovative Workforce (พ.ศ. 2565 - 2569) เป็นยุคของทรัพยากรมนุษย์ของ
ประเทศที่เป็นประชาชนของโลก (Global Citizen) แรงงานสามารถนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้
ในการเพ่ิมผลิตภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างระบบการจ้างงานท่ีเอื้อต่อแรงงานสูงวัยอย่างครบวงจร
พัฒนาแรงงานใหม้ คี วามพรอ้ มในการทางานภายใต้สงั คมพหวุ ฒั นธรรมและการจ้างงานขา้ มแดน
ยคุ ท่ี 3 Creative Workforce (พ.ศ. 2570 - 2574) เปน็ ยคุ ของทรัพยากรมนษุ ยท์ ีม่ ีความคดิ
สร้างสรรค์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่การทางาน เพ่ือให้บรรลุวาระการพัฒนาท่ียั่งยืนตามกรอบของ
สหประชาชาติ (SDGs) เป้าหมายข้อที่ 8 “ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง การจ้างงานที่เต็มท่ี
(Full Employment) และมีผลติ ภาพ (Productivity) และการมีงานทีม่ คี ุณค่า (Decent Work)”
ยุคที่ 4 Brainpower (พ.ศ. 2575 - 2579) เป็นยุคของสังคมการทางานแห่งปัญญา
ใช้สติปัญญาในการทางานทมี่ ูลคา่ สูงเพือ่ ใหม้ ีรายได้สงู จนประเทศสามารถหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง
(Middle Income Trap : MIT) ดว้ ยทรัพยากรมนุษยท์ ม่ี คี ณุ คา่ อยา่ งยง่ั ยนื
นโยบายรฐั บาล พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา
นโยบายรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ได้แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2562
ประกอบด้วยนโยบายหลัก จานวน 12 ด้าน และนโยบายเร่งด่วน จานวน12 เร่ือง ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ดงั ต่อไปน้ี
นโยบายหลกั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน จานวน 7 ดา้ น ไดแ้ ก่
ด้านที่ 4 การสรา้ งบทบาทของไทยในเวทีโลก
ด้านที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแขง่ ขนั ของไทย
ดา้ นที่ 6 การพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสูภ่ มู ภิ าค
ด้านที่ 7 การพฒั นาสรา้ งความเขม้ แข็งจากฐานราก
ดา้ นที่ 8 การปฏริ ปู กระบวนการเรียนร้แู ละการพฒั นาศักยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวัย
ดา้ นท่ี 11 การปฏริ ปู การบรหิ ารจดั การภาครฐั
ดา้ นที่ 12 การป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบและกระบวนการยุตธิ รรม
24
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
นโยบายเร่งดว่ น ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับกรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน จานวน 4 เรอ่ื ง ไดแ้ ก่
1. การยกระดับศักยภาพของแรงงาน โดยยกระดับรายได้ ค่าแรงแรกเข้าและกลไกการปรับ
อัตราค่าจ้างที่สอดคล้องกับสมรรถนะแรงงาน ควบคู่กับการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน จูงใจให้แรงงาน
พัฒนาตนเองเพ่อื ปรับเปลี่ยนทักษะและเปลีย่ นสายอาชพี ให้ตรงกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน อตุ สาหกรรม
2. การปรบั ปรุงระบบสวัสดกิ ารและพฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชน
3. การแก้ไขปญั หายาเสพตดิ และสร้างความสงบสุขในพืน้ ทช่ี ายแดนภาคใต้
4. การพัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชน
นโยบายรองนายกรฐั มนตรี (พลเอก ประวติ ร วงษ์สวุ รรณ)
รองนายกรฐั มนตรี (พลเอก ประวติ ร วงษ์สวุ รรณ) ได้มอบนโยบายการปฏิบัติราชการแก่ข้าราชการ
กระทรวงแรงงาน เมื่อวนั ท่ี 16 สงิ หาคม 2563 ณ หอ้ งประชุม ศ. นิคม จนั ทรวิทรุ ช้นั 5 กรมสวัสดกิ ารและ
คุ้มครองแรงงาน โดยยดึ นโยบายท่ีนายกรัฐมนตรไี ดแ้ ถลงตอ่ รฐั สภาและมอบนโยบายต่อผบู้ ริหารระดับสงู เป็น
หลัก ซึ่งกาหนดเป้าหมายที่จะพัฒนาประเทศไทยให้หลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง ให้คนไทย
ในทุกช่วงวัยเป็นกาลังคนคุณภาพที่จะผลักดันประเทศให้เติบโตอย่างย่ังยืน กระทรวงแรงงานเป็นหน่วยงาน
หลักในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ จึงกาหนดให้กระทรวงแรงงานขับเคล่ือนนโยบาย
ดา้ นแรงงาน ซง่ึ เกยี่ วข้องกบั กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ดังตอ่ ไปนี้
1) ให้กาหนดแผนงานท่ีชัดเจนในการพัฒนากาลังแรงงานเพ่ือรองรับอุตสาหกรรม 4.0
และอุตสาหกรรมเป้าหมายของรัฐบาล รวมทั้งเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างกาลังแรงงาน
และการเขา้ สสู่ ังคมผูส้ งู อายุ
2) ผลิตกาลังแรงงานคุณภาพ รวมท้ังพัฒนาทักษะอาชีพให้คนทุกช่วงวัย ให้ตอบโจทย์
ความต้องการของผ้ปู ระกอบการในทุกภาคสว่ น รวมถึงรองรบั การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก
3) ส่งเสริมการมีงานทาที่มีคุณค่าให้คนทุกกลุ่มและการสร้างสภาพแวดล้อมในการทางาน
ที่สมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว รวมทั้งคุ้มครองแรงงานทั้งในระบบและนอกระบบให้ได้รับรายได้
สวสั ดกิ าร และหลกั ประกันทางสงั คมท่ีเพยี งพอและเหมาะสมกบั การดารงชพี
4) สร้างกระบวนการท่ีได้รับการยอมรับจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียผ่านกลไกคณะกรรมการไตรภาคี
ในการกาหนดค่าจ้างข้ันต่าสาหรับแรงงานแรกเข้าและค่าจ้างตามมาตรฐา นฝีมือแรงงานท่ีเหมาะสมกับ
ทักษะและความเชย่ี วชาญ เพอื่ จูงใจใหก้ าลงั แรงงานพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง
5) ส่งเสริม คุ้มครอง และพัฒนาทักษะให้กับแรงงานที่ประกอบอาชีพอิสระ ให้มีอาชีพ
มีรายได้ และมีหลักประกันทางสังคม ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดการจ้างงานผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ผ่าน
การต้องขงั
นอกจากน้ี มีนโยบายท่รี ว่ มสนับสนนุ ดงั นี้
1) เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการให้สามารถแข่งขันได้ โดยการพัฒนา
ทกั ษะความเป็นผู้ประกอบกิจการและใชป้ ระโยชนจ์ ากความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยใี นการเพิม่ ผลติ ภาพ
25
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
2) พัฒนาคนตามความต้องการของพน้ื ทแ่ี ละชมุ ชน สรา้ งหลกั สูตรฝึกอบรมทกั ษะฝมี อื ระยะสนั้
โดยทางานร่วมกับสถานประกอบกิจการและภาคการศึกษา เพื่อให้สามารถนาทักษะมาเทียบเคียงเป็น
หน่วยกิตต่อยอดเปน็ ใบปริญญาชุมชน
นโยบายกระทรวงแรงงาน พ.ศ. 2564
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานได้มอบนโยบายและแนวทางการปฏิบัติราชการให้แก่
เจ้าหน้าท่กี ระทรวงแรงงาน เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2563 ณ ห้องประชุมจอมพล ป. พิบูลสงคราม ชั้น 5 อาคาร
กระทรวงแรงงาน ดงั ต่อไปนี้
1. นโยบายเรง่ ดว่ น ท่ตี ้องเรง่ ดาเนินการใหเ้ ห็นผลเปน็ รปู ธรรม
1.1 เยียวยาความเจ็บปวดท่ีประเทศกาลังเผชิญอยู่ โดยเฉพาะ SMEs และประชาชนตกงาน
อาทิ มาตรการชดเชยรายได้แก่ลูกจ้างของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคไวรัส
โคโรนา (COVID-19) ซ่ึงยังไม่ได้รับการช่วยเหลือเยียวยา มาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการท่ีกู้ยืมเงินกองทุน
พัฒนาฝีมือแรงงาน โดยปลอดดอกเบย้ี และมาตรการเชิงรกุ ใหล้ ูกจ้างที่ว่างงานได้รบั สทิ ธิประโยชน์โดยเร็ว
1.2 แก้ปัญหาอย่างยั่งยืน ใช้งบประมาณเหมาะสมและตรงกลุ่มเป้าหมาย อาทิ มาตรการ
สนับสนุนการจ้างงานเพื่อคนวา่ งงานในภาวะวิกฤตเิ ศรษฐกจิ โควิด–๑๙ มาตรการเร่งรดั การออกกฎหมายว่า
ด้วยการพัฒนาคุณชวี ติ แรงงานนอกระบบ และมาตรการสง่ เสรมิ แรงงานสัมพันธ์เชิงรกุ ในภาวะวกิ ฤติ
1.3 สร้างแรงจูงใจให้ธุรกิจจ้างงานต่อไปและใช้วิกฤติพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพ
และแข่งขันได้ อาทิ มาตรการยกระดับทักษะฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Super Worker)
ได้มาตรฐานสากล การเพิ่มผลิตภาพแรงงานในสถานประกอบกิจการ SMEs มาตรการสินเช่ือเพ่ือส่งเสริม
การจ้างงาน และมาตรการส่งเสริมการเข้าสู่ระบบมาตรฐานแรงงานไทยและมาตรฐานด้านความปลอดภัย
ในการทางาน
1.4 ให้มีแผนการจ้างงาน คนรุ่นใหม่ และผู้ไม่เคยเข้าสู่ตลาดแรงงานให้มีงานทา อาทิ
มาตรการสนับสนุนการจ้างงานผู้สาเร็จการศึกษาใหม่ การจัดงาน THAILAND JOB EXPO 2020 และ
แพลตฟอรม์ ไทยมีงานทา.com
2. นโยบายสาคญั เพื่อวางรากฐานดา้ นแรงงานใหเ้ ป็นมาตรฐานสากล
2.1 มาตรการการบรหิ ารจัดการการทางานของแรงงานต่างด้าว รวมถึงการถ่ายโอนภารกิจการ
ออกใบอนญุ าตทางานของแรงงานต่างด้าวให้ภาคเอกชนดาเนินการ
2.2 มาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน เพ่ือมุ่งสู่ Tier 1
ตามข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) และเป็นไปตาม
มาตรฐานสากลและองค์การระหวา่ งประเทศ
2.3 มาตรการถอดรายการสินคา้ ออกจากการถกู ข้นึ บญั ชกี ารใชแ้ รงงานเดก็ หรือแรงงานบังคบั
2.4 มาตรการส่งเสริม คุ้มครอง พัฒนา และสร้างหลักประกันทางสังคมสู่แรงงานนอกระบบ
โดยการสง่ เสรมิ พัฒนาอาชพี และรายได้ของแรงงานนอกระบบ
2.5 มาตรการส่งเสริมแรงงานไทยไปทางานต่างประเทศ ส่งเสริมการจ้างงานระยะส้ัน
และขยายตลาดแรงงานใหม่ในต่างประเทศ
26
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
2.6 มาตรการบริหารจัดการด้านแรงงานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษชายแดน เพ่ือให้มีการส่งเสริมการมีงานทา คุ้มครองแรงงาน พัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน
อานวยความสะดวกในตรวจลงตรา และอนญุ าตทางานใหแ้ ก่แรงงานตา่ งด้าว
2.7 Safety & Healthy Thailand ในการตรวจและกากับสถานประกอบกิจการและหน่วยงาน
รฐั วิสาหกจิ ใหป้ ฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัยอาชวี อนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
2.8 มาตรการพัฒนาสิทธิประโยชน์ให้สอดคล้องภาวะเศรษฐกิจ สังคมและรองรับสังคม
สงู อายุ โดยแกไ้ ขกฎหมายประกนั สงั คมและกฎกระทรวงท่ีเก่ียวข้อง โดยส่งเสริมการมีงานทาและฝึกอบรม
แรงงานผูส้ ูงอายุให้มีความรู้ ความสามารถ มที ักษะฝีมือ เพมิ่ โอกาสในการประกอบอาชีพ มีรายได้
3. กลไกการขบั เคลอื่ น
3.1 จัดตง้ั ศูนย์อานวยการแรงงานแหง่ ชาติ (ศอร.) เพ่ือเปน็ ศนู ย์กลางการกากบั ตดิ ตาม
สถานการณด์ า้ นแรงงาน รวมถงึ บรู ณาการการทางานเครือข่ายทุกภาคสว่ น
3.2 การให้บริการประชาชนทางอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ บริการได้หลากหลาย
ชอ่ งทาง สะดวก รวดเรว็ โปร่งใส และเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภิบาล
3.3 พัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านแรงงาน เพ่ือพัฒนากาลังแรงงานของ
ประเทศ โดยบรู ณาการฐานขอ้ มลู ที่เก่ยี วขอ้ ง
3.4 สร้างความรู้ความเข้าใจเชิงรุก (IO) เพื่อให้สามารถเข้าถึงแรงงานและประชาชนได้ฉับไว
และทันต่อสถานการณ์
แผนปฏบิ ัติราชการกรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้จัดทาแผนปฏิบัติราชการ พ.ศ. 2564 เพื่อให้มีทิศทางการดาเนินงาน
ที่ชัดเจน รวมท้ังสามารถขับเคล่ือนการดาเนินงานและการติดตามประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจ โดยได้กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมร่วม สมรรถนะหลักขององค์กร และ
เป้าหมาย/ตัวชี้วัด รวมทั้งได้จัดทาความเช่ือมโยงของแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565)
ให้สอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
(พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนปฏิรูปประเทศ (พ.ศ. 2562 - 2565)
นโยบายรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579)
ของกระทรวงแรงงาน แผนแม่บทพัฒนาแรงงานไทยในระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560 - 2564) และบริบท
ท่ีเกี่ยวข้องกับมิติของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยมุ่งเน้นการกาหนดทิศทางการดาเนินงานภาพรวมของ
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน มกี ลไกสาคญั ในการขับเคล่ือนงานท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพื่อเป้าหมายสูงสุด
ของประชาชนในการพัฒนาศักยภาพแรงงานให้มีความรู้ มีทักษะฝีมือและทัศนคติท่ีดีในการทางานต่อไป โดย
กาหนดแผนปฏิบตั กิ าร 5 เรื่อง ดงั น้ี
27
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
1. แผนปฏบิ ตั ริ าชการ เรอ่ื ง การพฒั นาและยกระดบั มาตรฐานฝมี อื แรงงานใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล
แนวทางดาเนินงานทส่ี าคัญ ไดแ้ ก่
1.1 พฒั นาระบบมาตรฐานและทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงานแหง่ ชาติ ให้ครอบคลมุ สาขา
อาชีพและอตุ สาหกรรมสาคญั
1.2 รับรองความรคู้ วามสามารถใหค้ รอบคลุมสาขาอาชพี ทอ่ี าจเป็นอันตรายตอ่ สาธารณะ
1.3 สง่ เสรมิ การจดั ทาและการใช้มาตรฐานในการพฒั นาฝีมอื แรงงานและการจ้างงาน
1.4 สง่ เสรมิ การแขง่ ขนั ฝมี ือแรงงานทุกระดบั
1.5 เช่ือมโยงมาตรฐานฝมี ือแรงงานกบั กรอบคุณวฒุ แิ หง่ ชาติ
2. แผนปฏิบตั ิราชการ เรื่อง การฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพ่อื รองรบั ความทา้ ทาย
ในยคุ ไทยแลนด์ 4.0
แนวทางดาเนนิ งานท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่
2.1 พัฒนาสมรรถนะแรงงานใหม่ให้สอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาดแรงงาน
2.2 สง่ เสริมการพฒั นาฝมี ือแรงงานในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาเศรษฐกิจ
2.3 ยกระดับฝมี ือแรงงานจาก 1.0 2.0 และ 3.0 สแู่ รงงาน 4.0
2.4 พฒั นาระบบรูปแบบการฝึกอบรมฝมี ือแรงงาน
3. แผนปฏบิ ตั ิราชการ เรอื่ ง การพัฒนาศกั ยภาพผู้ประกอบกิจการและแรงงานนอกระบบ
แนวทางดาเนินงานท่ีสาคญั ไดแ้ ก่
3.1 พฒั นาและสรา้ งนวตั กรรมการพัฒนาศักยภาพแรงงานและผปู้ ระกอบกจิ การจากระดับ
1.0 2.0 และ 3.0 สแู่ รงงาน 4.0
3.2 สง่ เสริมการประกอบอาชีพอสิ ระ สตรี เยาวชน คนพิการและผู้สงู อายุ
3.3 สนับสนนุ ผลิตภาพแรงงานและขีดความสามารถในการแข่งขนั ของสถานประกอบกจิ การ
3.4 สง่ เสริมจรรยาบรรณการประกอบอาชพี
4. แผนปฏบิ ัติราชการ เรอื่ ง การสง่ เสรมิ และพฒั นาเครอื ขา่ ยการพัฒนาฝมี ือแรงงาน
แนวทางดาเนินงานท่สี าคญั ไดแ้ ก่
4.1 ปรับปรงุ กฎหมายภายใต้พระราชบญั ญัตกิ ารส่งเสรมิ การพฒั นาฝมี ือแรงงาน พ.ศ. 2545
ให้ครอบคลุมและทวั่ ถงึ
4.2 บรหิ ารกองทนุ ใหม้ ีประสิทธภิ าพ
4.3 สนับสนนุ และสง่ เสริมใหส้ ถานประกอบกิจการจดั ฝกึ อบรม
4.4 พัฒนากลไกความร่วมมือภาครฐั และภาคเอกชน
4.5 สรา้ งความร่วมมือระหว่างประเทศ
4.6 ขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นากาลงั คนระดบั ชาติ
28
รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
5. แผนปฏิบัตริ าชการ เร่ือง ๕ การบรหิ ารจัดการองค์การและระบบฐานข้อมลู ให้ทนั สมยั ยืดหยนุ่
แนวทางดาเนนิ งานทส่ี าคญั ไดแ้ ก่
5.1 พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การองค์การตามเกณฑ์ PMQA
5.2 พัฒนาทรัพยากรบคุ คลตามสมรรถนะหลกั และสมรรถนะตามตาแหน่งงาน
5.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื รองรบั ระบบการบรกิ าร
5.4 พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
5.5 สร้างภาพลกั ษณท์ ดี่ ีและสร้างความเชือ่ มั่นตอ่ ประชาชน
5.6 พฒั นาระบบการวิจยั พัฒนาฝีมือแรงงาน
5.7 พัฒนาระบบการตดิ ตามประเมินผล
29
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
สว่ นท่ี 4
ผลการดาเนนิ งานพัฒนาฝมี ือแรงงาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
30
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
ผลการดาเนนิ งานของกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจัดทาแผนพัฒนาฝีมือแรงงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ในการขอรั บการจั ดสรรงบประมาณจากคณะรั ฐมนตรี เพ่ื อใช้ ในการพั ฒนาฝี มื อแรงงานของประเทศ
โดยคานึงถึงผลการดาเนินงานที่คล้องคล้องกับทิศทางท่ีกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 แผนปฏิรปู ประเทศ (พ.ศ. 2562 - 2565) นโยบายรฐั บาล แผนยุทธศาสตร์การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์
ของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ของกระทรวงแรงงาน แผนปฏิบัติราชการกรมพัฒนาฝีมือ
แรงงาน พ.ศ. 2564 และบรบิ ททเี่ ก่ียวขอ้ งกบั มิติของกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กรมพฒั นาฝีมอื แรงงานไดร้ บั การจดั สรรเปา้ หมาย จานวน 4,129,910 คน
ดาเนินการฝึกเอง จานวน 129,910 คน ส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการดาเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน
จานวน 4,000,000 คน โดยมีผลการดาเนินงาน ดังน้ี
1. กรณีที่กรมเป็นผู้ดาเนินการเอง มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 143,592 คน คิดเป็น
ร้อยละ 110.53 จากเป้าหมาย จานวน 129,910 คน มีผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 121,848 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 84.86 โดยผผู้ ่านการฝกึ มีงานทา รอ้ ยละ 83.50 มีรายไดเ้ ฉล่ีย 12,116 บาท/เดอื น
2. กรณีส่งเสริมสถานประกอบกิจการดาเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม
จานวน 2,769,784 คน คิดเป็นร้อยละ 69.24 จากเป้าหมาย จานวน 4,000,000 คน ผู้ผ่านการฝึกอบรม
จานวน 2,769,784 คน คิดเป็นร้อยละ 100
โดยดาเนินการฝึกอบรมภายใต้หลักสูตรของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เช่น การพัฒนาศักยภาพ
ผปู้ ระกอบกจิ การ เทคนิคการสรา้ งรา้ นค้าและขายสนิ คา้ ออนไลน์ การผลติ สอ่ื โฆษณาและหนังส้นั ด้วยสมารท์ โฟน
การเขียนโปรแกรมสาหรับงานประมวลผลภาพและเทคโนโลยีปัญญาประดษิ ฐ์ การพฒั นาหัวหนา้ งานในการผลติ
แบบ Monozukuri การควบคุมการเชื่อมช้ินส่วนยานยนต์ด้วยหุ่นยนต์ การบารุงรักษาเคร่ืองจักรในโรงงาน
และเครอ่ื งจักรท่ใี ชใ้ นระบบโลจสิ ตกิ ส์ การประยุกตใ์ ช้ PLC ในงานอตุ สาหกรรม เป็นตน้ เพ่ือเปน็ การสร้างอาชีพ
และรายได้ใหก้ ับแรงงานใหม่ ผู้ว่างงาน ผู้ประกอบอาชีพเสริม หรือผู้ประกอบอาชีพอิสระ ตลอดจนเป็นการรักษา
รายได้เดิมของผู้ท่ีมีงานทาอยู่แล้วที่ผ่านการฝึกอบรม รวมทั้งลดโอกาสในการถูกเลิกจ้าง ซึ่งคิดเป็นมูลค่า
14,792.63 ล้านบาทต่อปี
31
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
4,129,910 4,000,000
4,500,000 [VALUE]
4,000,000
3,500,000 2,891,543 2,769,784
3,000,000
2,500,000 2,769,784
2,000,000 129,910
1,500,000 143,592
1,000,000
121,759 ผผู้ ่านการฝึก
500,000 ผู้เขา้ รบั การฝึก
0 เป้าหมายรวม
ผลการดาเนินงานภาพรวม DSD ดาเนนิ การ
ส่งเสริมสถานประกอบกจิ การ
ภาพรวมการพฒั นาฝีมือแรงงาน
ผลการดาเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงาน จาแนกรายโครงการ
1 โครงการพฒั นาเศรษฐกิจและส่งเสรมิ ศักยภาพพ้ืนที่จงั หวัดชายแดนภาคใต้
เปา้ หมาย จานวน 800 คน ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม จานวน 800 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ของเปา้ หมาย
ผ้ผู ่านการฝึกอบรม จานวน 799 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 99.88 โดยผูผ้ ่านการฝึกมงี านทา ร้อยละ 92.18
มีรายไดเ้ ฉลีย่ 5,417 บาท/เดอื น
2 โครงการพฒั นาฝีมือแรงงานนานาชาติเพื่อการพฒั นาความร่วมมือทางเศรษฐกจิ
เปา้ หมาย จานวน 1,000 คน ผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรม จานวน 1,095 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 109.50 ของ
เปา้ หมาย ผผู้ ่านการฝกึ อบรม จานวน 1,029 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 93.97 โดยผู้ผ่านการฝึกมงี านทา รอ้ ยละ 98.16
มีรายไดเ้ ฉล่ีย 17,955 บาท/เดอื น
3 โครงการยกระดับผลิตภาพและพฒั นากาลังคนเพื่อสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน
ภาคอุตสาหกรรม
3.1 กิจกรรม ศูนยฝ์ กึ อบรมความเป็นเลศิ ดา้ นเทคโนโลยีช้ันสงู เปา้ หมาย จานวน 6,500 คน
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 7,665 คน คิดเป็นร้อยละ 117.92 ของเป้าหมาย ผ้ผู า่ นการฝกึ อบรม
จานวน 6,618 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 86.34 โดยผผู้ ่านการฝึกมงี านทา ร้อยละ 83.75 และมีรายไดเ้ ฉลี่ย
18,456 บาท/เดือน
32
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
3.2 กจิ กรรม พฒั นาศักยภาพชา่ งเชือ่ มไทยสู่ระดบั สากล เป้าหมาย จานวน 900 คน ผเู้ ข้ารับ
การฝกึ อบรม จานวน 937 คน คิดเป็นร้อยละ 104.11 ของเปา้ หมาย ผ้ผู า่ นการฝึกอบรม จานวน 903 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 96.37 โดยผูผ้ า่ นการฝึกมีงานทา ร้อยละ 93.66 และมรี ายได้เฉลีย่ 15,308 บาท/เดือน
3.3 กจิ กรรม ทดสอบช่างเชอ่ื มตามมาตรฐานสากล เปา้ หมาย จานวน 800 คน ผเู้ ข้ารบั การทดสอบ
จานวน 840 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 105 ของเปา้ หมาย ผู้ผา่ นการทดสอบ จานวน 452 คน คิดเป็นร้อยละ 53.81
4 โครงการพัฒนาทกั ษะแรงงานด้านทอ่ งเที่ยวและบริการ
เป้าหมาย จานวน 4,000 คน ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรม 4,801 คน คิดเปน็ ร้อยละ 120.03 ของเปา้ หมาย
ผผู้ า่ นการฝกึ อบรม จานวน 4,429 คน คดิ เป็นร้อยละ 92.25 โดยผู้ผ่านการฝกึ มงี านทา ร้อยละ 91.60
มรี ายได้เฉลี่ย 11,613 บาท/เดอื น
5 โครงการพฒั นาบคุ ลากรรองรบั อุตสาหกรรมโลจสิ ตกิ ส์
เป้าหมาย จานวน 3,000 คน ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม 3,581 คน คดิ เป็นร้อยละ 119.37 ของเป้าหมาย
ผ้ผู ่านการฝกึ อบรม จานวน 3,408 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 95.17 โดยผู้ผ่านการฝกึ มงี านทา รอ้ ยละ 75.84
มรี ายได้เฉลยี่ 13,908 บาท/เดอื น
6 โครงการพฒั นาบคุ ลากรดา้ นโลจสิ ติกส์รองรบั ธุรกิจขนสง่ และการคา้ ระหว่างประเทศ
เปา้ หมาย จานวน 300 คน ผู้เข้ารับการฝกึ อบรม 360 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 120 ของเปา้ หมาย ผู้ผ่าน
การฝึกอบรม จานวน 352 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 97.78 โดยผูผ้ ่านการฝกึ มีงานทา ร้อยละ 60.26 มีรายได้เฉล่ีย
16,743 บาท/เดอื น
7 โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพ/ผลิตภาพ
เป้าหมาย จานวน 9,750 คน ผู้เข้ารับการฝกึ อบรม 10,573 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 108.44 ของเปา้ หมาย
ผผู้ ่านการฝกึ อบรม จานวน 10,330 คน คิดเป็นร้อยละ 97.70 โดยผผู้ า่ นการฝึกมงี านทา รอ้ ยละ 100
มีรายไดเ้ ฉลี่ย 13,352 บาท/เดอื น
8 โครงการพฒั นาวิสาหกจิ ส่คู วามเป็นมืออาชพี
เปา้ หมาย จานวน 900 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 976 คน คิดเปน็ ร้อยละ 108.44 ของเปา้ หมาย ผู้ผ่าน
การฝกึ อบรม จานวน 947 คน คิดเป็นร้อยละ 97.03 โดยผู้ผ่านการฝึกมงี านทา รอ้ ยละ 90.33 มีรายได้เฉลีย่
13,849 บาท/เดอื น
9 โครงการพฒั นาทักษะแรงงานเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
เปา้ หมายจานวน 5,440 คน ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรม จานวน 5,970 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 109.74
ของเปา้ หมาย ผู้ผา่ นการฝกึ อบรม จานวน 4,813 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 80.62 โดยผู้ผ่านการฝึกมงี านทา
รอ้ ยละ 85.1 มีรายได้เฉลี่ย 20,213 บาท/เดอื น
33
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
10 โครงการเพ่ิมทักษะกาลังแรงงานในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ
เป้าหมาย จานวน 10,300 คน ผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรม จานวน 10,978 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 106.58
ของเปา้ หมาย ผู้ผา่ นการฝกึ อบรม จานวน 10,376 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 94.52 โดยผ้ผู า่ นการฝกึ มีงานทา
รอ้ ยละ 83.27 มีรายได้เฉลยี่ 10,198 บาท/เดอื น
11 ผลผลติ พฒั นา/ขบั เคลอ่ื นความร่วมมือเครอื ข่ายและสง่ เสริมการพฒั นาฝมี ือแรงงาน
11.1 กิจกรรม สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหส้ ถานประกอบกิจการดาเนินการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
เปา้ หมาย จานวน 4,000,000 คน ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรม จานวน 2,769,784 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 69.24
ผู้ผา่ นการฝึกอบรม จานวน 2,769,784 คน คดิ เป็นร้อยละ 100
11.2 พฒั นาช่างเครอื่ งช่วยคนพกิ ารกบั มูลนิธขิ าเทยี มในสมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี
เป้าหมาย จานวน 210 คน ผู้เข้ารับการฝกึ อบรม จานวน 265 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 126.19 ผผู้ า่ นการฝึก
อบรม จานวน 265 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 โดยผผู้ า่ นการฝกึ มงี านทา ร้อยละ 98.78 มีรายไดเ้ ฉล่ยี
17,230 บาท/เดอื น
12 โครงการยกระดับเพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพฝมี ือและสมรรถนะแรงงาน
เป้าหมายจานวน 21,600 คน ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม จานวน 24,101 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 111.58
ของเป้าหมาย ผผู้ า่ นการฝึกอบรม จานวน 20,930 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 86.84 โดยผผู้ ่านการฝกึ มงี านทา
ร้อยละ 87.71 มีรายได้เฉลย่ี 13,342 บาท/เดือน
13 โครงการยกระดบั แรงงานไทยให้ไดม้ าตรฐานฝีมอื แรงงานเพ่ือรองรบั การแขง่ ขัน
13.1 กิจกรรม พฒั นาศักยภาพแรงงานเพือ่ รองรบั การจา่ ยค่าจา้ งตามมาตรฐานฝมี อื
เปา้ หมาย จานวน 4,000 คน ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม/ทดสอบ จานวน 4,145 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 103.63
ของเปา้ หมาย ผา่ นการฝกึ อบรม/ทดสอบ จานวน 3,915 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 94.45 โดยผผู้ า่ นการฝึกอบรม/
ทดสอบมีงานทา ร้อยละ 99.45 มีรายได้เฉล่ยี 13,690 บาท/เดอื น
13.2 กิจกรรม ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแหง่ ชาติ เปา้ หมาย จานวน 33,750 คน ผ้เู ข้ารบั
การทดสอบ จานวน 35,746 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 105.91 ของเป้าหมาย ผ้ผู ่านการทดสอบ จานวน 23,647 คน
คดิ เป็นร้อยละ 66.15
14 โครงการฝกึ อบรมแรงงานกลุม่ เป้าหมายเฉพาะเพ่อื เพ่ิมโอกาสในการประกอบอาชีพ
14.1 กิจกรรม ฝึกอบรมแรงงานกลุ่มเป้าหมายเฉพาะเพอื่ เพิม่ โอกาสในการประกอบอาชพี
เป้าหมาย จานวน 9,100 คน ผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรม จานวน 12,253 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 134.65
ของเปา้ หมาย ผผู้ า่ นการฝกึ อบรม จานวน 11,849 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 96.70 โดยผู้ผา่ นการฝึกอบรมมงี านทา
ร้อยละ 64.71 มีรายได้เฉลยี่ 8,439 บาท/เดือน
34
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
14.2 กจิ กรรม เพิ่มทกั ษะดา้ นอาชพี แก่นกั เรยี นครอบครัวยากจนทไ่ี ม่ไดเ้ รยี นตอ่ หลังจบการศึกษา
ภาคบังคบั เปา้ หมาย จานวน 3,000 คน ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรม จานวน 2,130 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 71
ของเป้าหมาย ผูผ้ ่านการฝกึ อบรม จานวน 1,437 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 67.46 โดยผผู้ า่ นการฝกึ อบรมมีงานทา
รอ้ ยละ 11.43 มีรายไดเ้ ฉลยี่ 5,000 บาท/เดือน
15 โครงการเสริมสมรรถนะแรงงานดว้ ยเทคโนโลยรี องรบั การทางานในศตวรรษที่ 21
เปา้ หมาย จานวน 6,360 คน ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม จานวน 7,398 คน คิดเปน็ ร้อยละ 116.32 ของ
เปา้ หมาย ผู้ผา่ นการฝึกอบรม จานวน 6,523 คน คดิ เป็นร้อยละ 88.17 โดยผผู้ ่านการฝึกมงี านทา
คดิ เป็นร้อยละ 78.02 มีรายไดเ้ ฉล่ยี 14,157 บาท/เดือน
16 โครงการฝึกอบรมแรงงานผู้สูงอายุเพ่ือเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ
เปา้ หมาย จานวน 8,200 คน ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม จานวน 8,978 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 109.49
ของเป้าหมาย ผู้ผา่ นการฝึกอบรม จานวน 8,826 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 98.31 โดยผผู้ า่ นการฝกึ มงี านทา
ร้อยละ 75.82 มีรายไดเ้ ฉลี่ย 5,202 บาท/เดอื น
35
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
ผลการดาเนินงานการพัฒนาฝีมือแรงงานภายใต้ความสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานดาเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานภายใต้ความสอดคล้องท่ีกาหนดไว้
ในแผนระดับท่ี 1 : ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนระดับที่ 2 : แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
(พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 แผนปฏิรูปประเทศ
(พ.ศ. 2562 - 2565) นโยบายรัฐบาล และแผนระดับท่ี 3 : แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ของกระทรวงแรงงาน แผนปฏิบัติราชการกรมพัฒนาฝีมือ
แรงงาน พ.ศ. 2564 และบรบิ ทท่เี ก่ียวขอ้ งกับมติ ขิ องกรมพฒั นาฝีมือแรงงาน
1. การดาเนินงานภายใตค้ วามสอดคล้องยทุ ธศาสตรช์ าติท่ี 1 ดา้ นความมัน่ คง
ยทุ ธศาสตรช์ าติที่ 1 ดา้ นความมน่ั คง
แผ•นแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์
ประเด็นที่ 1 ความมนั่ คง และ 2 ด้านการตา่ งประเทศ
แผนการปฏริ ูปประเทศ
(ดา้ นเศรฐกจิ ) ด้านความเทา่ เทยี มและการเติบโตอย่างมสี ว่ นรว่ มระดบั
บุคคล (การพัฒนาฝมี อื แรงงานไรฝ้ ีมือ)
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
สังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การสรา้ งความมน่ั คงแหง่ ชาตแิ ละ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 10 ความร่วมมอื ระหว่างประเทศเพ่อื การพฒั นา
นโยบายรฐั บาล สง่ เสริมการพัฒนาพื้นทร่ี ะเบียงเศรษฐกิจภาคใต้และ
การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
แผนงานบูรณาการ
ขับเคลอื่ นการแกไ้ ขปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
แผนปฏิบัติราชการกรม แผนงานยทุ ธศาสตร์ สง่ เสริมความสมั พนั ธร์ ะหว่าง
ประเทศ
การพฒั นาศักยภาพผปู้ ระกอบกจิ การและ
แรงงานนอกระบบ และการสง่ เสริมและ
พัฒนาเครอื ข่าย
การพฒั นาฝีมอื แรงงาน
36
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานดาเนินการพัฒนาศักยภาพกาลังแรงงาน เพ่ือให้มีความรู้ ทักษะ
ความชานาญในการประกอบอาชีพ สามารถเล้ียงชีพตนเองและครอบครัวได้และใช้ชีวิตในสังคมได้
อย่างปกติสุข มีความม่ันคง ย่ังยืน ตลอดจนเพ่ิมโอกาสทางเลือกให้แก่แรงงานในการประกอบอาชีพทั้งใน
ระบบการจ้างงานและนอกระบบการจ้างงานในสายอาชพี ของภาคอุตสาหกรรม การบริการ และขนสง่ หรอื
อาชีพเกษตรอุตสาหกรรม โดยมีกลไกการขับเคลื่อนแบบบูรณาการระหว่างส่วนราชการ ภาคเอกชน
ประชาสังคมและองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้าน อันจะนาไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจให้เข้มแข็งและ
ยั่งยืน ทั้งน้ี มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และแผนต่างๆ อาทิ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
แผนปฏิรูปประเทศ แผนสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 นโยบายรัฐบาล โดยมีผล
การดาเนนิ งานดังน้ี
เป้าหมาย ผ้เู ข้ารบั การฝึก ผผู้ า่ นการฝึก การมีงานทา รายได้เฉลยี่
1,800 คน 1,895 คน 1,828 คน ร้อยละ 94.26 11,686 บาท/เดอื น
1.1 โครงการพัฒนาเศรษฐกิจและส่งเสริมศักยภาพพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้
เพื่อดาเนินการฝึกทักษะด้านอาชีพและพัฒนาฝีมือในสาขาอาชีพต่างๆ ให้แก่แรงงานกลุ่มที่มีความขัดแย้ง
กลุ่มท่ีมีอคติต่อภาครัฐ และกลุ่มแนวร่วมก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ แรงงานทั่วไป
ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลาเพ่ือให้แรงงานกลุ่มเป้าหมาย
มีฝีมือพร้อมในการทางานและเสริมสร้างอาชีพให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ เพ่ือให้สามารถประกอบอาชีพ
เลี้ยงตนเองและครอบครัว ตลอดจนส่งเสริมความมั่นคง ยั่งยืนในการทางาน และจัดหาเครื่องมือทามาหากิน
ใหแ้ ก่แรงงานกลมุ่ เป้าหมายที่สาเร็จการฝกึ อาชีพตามโครงการฯ
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 800 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 800 คน คิดเป็น
ร้อยละ 100 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม 799 คน คิดเป็นร้อยละ 99.88 โดยผู้ผ่านการฝึกอบรม
มีงานทา ร้อยละ 92.18 มีรายได้เฉลี่ย 5,417 บาท/เดือน เป็นการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ว่างงาน
ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ที่มีงานทาอยู่แล้วที่ผ่านการฝึกอบรม และลดโอกาสในการถูกเลิกจ้าง
คิดเปน็ มูลคา่ 47.88 ลา้ นบาทตอ่ ปี
37
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
สถาบันพฒั นาฝมี ือแรงงาน 23 ปัตตานี
จัดฝกึ อบรม หลกั สตู ร “การฝกึ อาชพี เสรมิ
สาขาชา่ งเชอื่ มไฟฟ้า” 60 ชว่ั โมง ณ อาคารมสั ยิด
จลาโก ม.6 ต.มะนงั ดาลา อ.สายบรุ ี จ.ปัตตานี
1.2 โครงการพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเพ่ือการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือการพัฒนาฝีมือแรงงานในทุกระดับช้ันทั้งหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ
สถาบันการศึกษา องค์กรระหวา่ งประเทศ ภาคเอกชน และกาลงั แรงงานในกลมุ่ ประเทศอนภุ ูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงให้มี
สมรรถนะและทักษะฝีมือตามมาตรฐานเทียบเท่าระดับสากลอันจะนาไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ
ในภมู ิภาคใหเ้ ขม้ แขง็ และยงั่ ยืน สร้างงาน สรา้ งอาชีพ สร้างรายไดใ้ หแ้ กป่ ระชาชนอยา่ งทัว่ ถึง โดยไมแ่ บง่ เชื้อ
ชาติซงึ่ จะเป็นรากฐานสาคญั ของการพฒั นาความรว่ มมอื ด้านความมัน่ คงตามแนวชายแดน
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 1,000 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 1,095 คน
คิดเป็นร้อยละ 109.50 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 1,029 คน คิดเป็นร้อยละ 93.97
โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา ร้อยละ 98.16 มีรายได้เฉล่ีย 17,955 บาท/เดือน ซ่ึงเป็นการสร้างอาชีพและ
รายได้ให้กับผู้ว่างงาน ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ที่มีงานทาอยู่แล้วที่ผ่านการฝึกอบรม ลดโอกาส
ในการถูกเลิกจา้ ง คดิ เป็นมูลคา่ 217.63 ลา้ นบาทต่อปี
สถาบันพฒั นาฝมี ือแรงงานนานาชาติ
จดั ฝึกอบรมหลกั สตู ร “การฝึกอบรม สาขา
เทคนคิ การขับรถลากจูง (ขนสง่ วัตถอุ นั ตราย)
รนุ่ ที่ 29 ณ สถาบันพฒั นาฝีมือแรงงาน
นานาชาติ
38
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
2. การดาเนินงานภายใตค้ วามสอดคลอ้ งยทุ ธศาสตรช์ าตทิ ่ี 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถ
ในการแข่งขนั ของประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาติที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์
ประเดน็ ที่ 4 อุตสาหกรรมและบรกิ ารแหง่ อนาคต
แผนการปฏิรปู ประเทศ ประเดน็ ที่ 5 การท่องเที่ยว
(ด้านเศรฐกิจ) ประเดน็ ที่ 7 โครงสร้างพนื้ ฐานระบบโลจสิ ตกิ สแ์ ละดจิ ิทลั
ประเดน็ ที่ 8 ผ้ปู ระกอบการและวสิ าหกจิ ขนาดกลางและ
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ
สังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 ขนาดยอ่ มยคุ ใหม่
ประเดน็ ที่ 9 เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ
นโยบายรัฐบาล ดา้ นการเพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขนั (การสร้างฐาน
แผนงานบรู ณาการ อตุ สาหกรรมใหมท่ ี่มีศักยภาพในการเติบโตในอนาคต (ยกระดบั
ศักยภาพแรงงานผปู้ ระกอบการ))
แผนปฏบิ ตั ริ าชการกรม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การสรา้ งความเขม้ แข็งทางเศรษฐกิจ
และแขง่ ขันไดอ้ ยา่ งย่งั ยนื
ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพฒั นาภาค เมือง และพ้ืนทเี่ ศรษฐกจิ
พฒั นาคณุ ภาพอาชพี และพัฒนาแรงงานรองรบั
อุตสาหกรรม 4.0
พฒั นาอุตสาหกรรมศกั ยภาพและบรกิ ารแหง่ อนาคต
สรา้ งรายได้จากการทอ่ งเท่ียว
พัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
พัฒนาผปู้ ระกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
พัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ
พฒั นาเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
การฝกึ อบรมฝีมือแรงงานเพอ่ื รองรบั ความทา้ ทาย
ในยุคไทยแลนด์ 4.0
การพฒั นาและยกระดับมาตรฐานฝมี อื แรงงานให้ได้
มาตรฐานสากล
การพฒั นาศกั ยภาพผปู้ ระกอบกจิ การและแรงงานนอกระบบ
39
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานดาเนินโครงการพัฒนาทักษะแรงงานรูปแบบใหม่ โดยฝึกอบรมฝีมือ
แรงงาน ได้แก่ Newskill, Reskill และ Upskill เพื่อพัฒนาศักยภาพแรงงานยุคใหม่จากแรงงานทักษะต่า
เป็นแรงงานท่ีมีความรู้ ความเชี่ยวชาญและทักษะสูง ตลอดจนใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อขับเคล่ือนระบบ
เศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้งยกระดับทักษะฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพเพ่ือ
รองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคตรองรับการเปล่ียนแปลงที่รวดเร็วของเทคโนโลยีและ
ให้แรงงานสามารถทางานร่วมกับเทคโนโลยีท่ีช่วยสนับสนุนการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ ซึ่งแรงงาน
ท่ีผ่านการยกระดับทักษะฝีมือให้เป็นแรงงานคุณภาพจะต้องผ่านกระบวนการฝึกอบรมภายใต้การควบคุม
คุณภาพการฝกึ อบรมฝมี อื แรงงานตามเกณฑก์ ารประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งน้ี มีความสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนงานต่างๆ อาทิ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ
แผนสภาพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายรฐั บาล โดยมีผลการดาเนนิ งาน ดังน้ี
เป้าหมาย ผู้เข้ารบั การฝกึ ผผู้ ่านการฝกึ การมีงานทา รายได้เฉล่ยี
41,890 คน 46,681 คน 42,628 คน ร้อยละ 87.30 14,752 บาท/เดอื น
2.1 โครงการยกระดบั ผลติ ภาพและพัฒนากาลังคนเพอ่ื สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
ภาคอตุ สาหกรรม ประกอบด้วย
2.1.1 กจิ กรรม : ศนู ย์ฝกึ อบรมความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยชี ั้นสูง เพื่อพัฒนากาลังแรงงาน
ให้มีความรู้และทักษะฝีมือสอดคล้องกับกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย สามารถใช้เทคโนโลยีมาพัฒนา
โครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือการต่อยอดดา้ นเทคโนโลยีและนวตั กรรม โดยมีการบูรณาการความร่วมมือกบั หนว่ ยงาน
ภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคการศึกษา
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 6,500 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 7,665
คน คิดเป็นร้อยละ 117.92 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 6,618 คน คิดเป็นร้อยละ 86.34
โดยผู้ผ่านการฝึกอบรมมีงานทา ร้อยละ 83.75 มีรายได้เฉลี่ย 18,456 บาท/เดือน ซึ่งเป็นการสร้างอาชีพ
และรายได้ให้กับผู้ว่างงาน ตลอดจน เป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ท่ีมีงานทาอยู่แล้วที่ผ่าน
การฝกึ อบรม เพือ่ ลดโอกาสในการถูกเลิกจ้าง คดิ เปน็ มูลค่า 1,227.53 ล้านบาทต่อปี
40
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
สถาบันพัฒนาฝมี ือแรงงาน 5 นครราชสีมา
จัดฝึกอบรมหลกั สตู ร “การสร้างแอพพลเิ คช่ัน
โมบายระบบแอนดรอยด์” และ “การเขียน
โปรแกรมสาหรบั งานประมวลผลภาพและ
เทคโนโลยปี ัญญาประดษิ ฐ์” ในรปู แบบการฝกึ
หอ้ งเรยี นออนไลนห์ ้องเรยี นออนไลน์
2.1.2 กิจกรรม : พัฒนาศักยภาพช่างเชื่อมไทยสู่ระดับสากล เพื่อพัฒนาช่างเช่ือมให้มี
ทกั ษะฝีมอื สอดคล้องความต้องการภาคอตุ สาหกรรมการผลิตและบริการทง้ั ปจั จุบนั และอนาคต
ผลการดาเนนิ งาน เปา้ หมาย จานวน 900 คน ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม จานวน 937 คน
คิดเป็นร้อยละ 104.11 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 903 คน คิดเป็นร้อยละ 96.37
โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา ร้อยละ 93.66 มีรายได้เฉล่ีย 15,308 บาท/เดือน ซ่ึงเป็นการสร้างอาชีพ
และรายได้ให้กับผู้ว่างงาน ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ที่มีงานทาอยู่แล้วท่ีผ่านการฝึกอบรม
เพ่อื ลดโอกาสในการถกู เลิกจ้าง คิดเป็นมูลค่า 155.36 ลา้ นบาทตอ่ ปี
ศูนย์ฝึกอบรมงานเชือ่ มมาตรฐานสากล จดั ฝกึ อบรม
ศักยภาพชา่ งเช่ือมไทยสู่ระดับสากล สาขา “การเช่ือมอารก์
โลหะด้วยมือชนิ้ งานต่อฟลิ เล็ทตามมาตรฐานสากล”
ระยะเวลา 18 ชม. ณ สถาบนั พฒั นาฝมี ือแรงงาน 1
สมุทรปราการ
41
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
2.1.3 กิจกรรม : ทดสอบช่างเช่ือมตามมาตรฐานสากล เพ่ือให้บริการช่างเชื่อมรองรับ
ความสามารถในการเชอ่ื มตามมาตรฐานสากล (ISO 9606-1) และรองรับการขยายตัวทางธรุ กจิ ของประเทศ
จากนักลงทุนในอตุ สาหกรรมการผลิตและบรกิ าร
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 800 คน ผู้เข้ารับการทดสอบ จานวน 840 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 105 ของเปา้ หมาย ผู้ผา่ นการทดสอบ จานวน 452 คน คิดเปน็ ร้อยละ 53.81
สถาบนั พฒั นาฝีมือแรงงาน 12 สงขลา จัดทดสอบ
ชา่ งเชอ่ื มตามมาตรฐานสากล สาขา “เชือ่ มอารก์ โลหะดว้ ยมอื
ชิน้ งานแผน่ ตอ่ ชนตามมาตรฐานสากล” จานวน 16 คน
2.2 โครงการพัฒนาทักษะแรงงานด้านท่องเที่ยวและบริการ เพื่อพัฒนาศักยภาพแรงงานให้มี
ทักษะองค์ความรู้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานด้านการท่องเท่ียว และเตรียมความพร้อม
รองรับการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยขี องภาคการท่องเท่ยี วและบรกิ าร
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 4,000 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 4,801 คน
คิดเป็นร้อยละ 120.03 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 4,429 คน คิดเป็นร้อยละ 92.25 โดยผู้ผ่าน
การฝึกมีงานทา ร้อยละ 91.60 และมีรายได้เฉล่ีย 11,613 บาท/เดือน ซึ่งเป็นการสร้างอาชีพและรายได้
ให้กับผู้ว่างงาน ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ที่มี งานทาอยู่แล้วที่ผ่านการฝึกอบรม
ลดโอกาสในการถูกเลกิ จา้ ง คดิ เป็นมูลคา่ 565.36 ลา้ นบาทตอ่ ปี
สานักงานพฒั นาฝมี อื แรงงานพงั งา ฝึกอบรม
ห2ลกั.3สตู ร “พนักงานบรกิ ารอาหารและเครื่องดื่ม”
จานวน 20 คน ณ ศูนย์ฝกึ อบรมอตุ สาหกรรม
ทอ่ งเท่ียว อนั ดามนั อาเภอตะกว่ั ปา่ จังหวดั พงั งา
42
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
2.3 โครงการพฒั นาบุคลากรรองรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ เพื่อเพิ่มทักษะบุคลากรด้านโลจิสติกส์
ในทุกสาขาอาชีพ ให้มีความรู้ความสามารถและจริยธรรมในการปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ มีความปลอดภัย
และสามารถแขง่ ขันได้
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 3,000 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 3,581 คน
คิดเป็นร้อยละ 119.37 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 3,408 คน คิดเป็นร้อยละ 95.17
โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา ร้อยละ 75.84 มีรายได้เฉลี่ย 13,908 บาท/เดือน ซ่ึงเป็นการสร้างอาชีพและ
รายได้ให้กับผู้ว่างงาน ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ท่ีมีงานทาอยู่แล้วที่ผ่านการฝึกอบรม
ลดโอกาสในการถกู เลกิ จ้าง คิดเป็นมูลคา่ 431.36 ลา้ นบาทต่อปี
สานกั งานพัฒนาฝีมอื แรงงานพะเยา ฝกึ ยกระดับ
ฝีมือ หลกั สูตร “เทคนิคการบงั คับปัน้ จ่ันชนิดเหนือ
ศรีษะ (ระดบั สูง)” จานวน 30 ช่ัวโมง ให้แก่ แรงงานใน
สถานประกอบกิจการ จานวน 20 คน ระหว่างวนั ที่ 12
– 16 กรกฎาคม 2564 ณ บรษิ ัท สยามโกลบอลเฮา้ ส์
จากัด (มหาชน) สาขาพะเยา
2.4 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์รองรับธุรกิจขนส่งและการค้าระหว่างประเทศ
เพื่อพฒั นาบคุ ลากรดา้ นโลจิสตกิ สร์ องรับธรุ กจิ ขนสง่ และการค้าระหว่างประเทศให้มีทักษะและสมรรถนะที่ตรงกับ
ความต้องการของผปู้ ระกอบกจิ การ รวมท้ังบรรเทาปญั หาการขาดแคลนบคุ ลากรในธรุ กิจรองรับการขนส่ง
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 300 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 360 คน คิดเป็นร้อยละ 120
ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 352 คน คิดเป็นร้อยละ 97.78 โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา ร้อยละ 60.26 มีรายได้เฉล่ีย
16,743 บาท/เดือน ซง่ึ เปน็ การสร้างอาชพี และรายได้ใหก้ ับผู้ว่างงาน ตลอดจนเป็นการรกั ษารายได้เดิมของ
ผทู้ ่ีมงี านทาอย่แู ล้วท่ีผา่ นการฝึกอบรม ลดโอกาสในการถกู เลิกจา้ ง คิดเปน็ มลู ค่า 42.62 ล้านบาทตอ่ ปี
43
รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
2.5 โครงการเพ่มิ ประสิทธิภาพ/ผลติ ภาพ เพ่อื เพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั ให้แกผ่ ้ปู ระกอบ
กิจการ SMEs หรือกลุ่ม OTOP หรือวิสาหกิจชุมชนผ่านกระบวนการเพ่ิมผลิตภาพแรงงาน ผลักดันให้เกิด
ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์เกิดนวัตกรรมใหม่ และการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เพื่อรองรับการ
พัฒนาสู่ SMEs 4.0 โดยภาครฐั ให้คาแนะนาเก่ยี วกบั การเพม่ิ ผลิตภาพแรงงานใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบกจิ การ SMEs
ท่เี ป็นวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรอื /กลมุ่ OTOP หรอื กลุม่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน ผู้ทีข่ น้ึ ทะเบียนรับการ
ชว่ ยเหลือจากภาครฐั แรงงานในระบบ แรงงานนอกระบบ และผู้เก่ียวข้อง ให้ได้รับบริการอย่างท่ัวถึง ผ่าน
กลไกการประสานความร่วมมือตามแนวทาง “ประชารัฐ” เพื่อสร้างความเช่ือม่ันในกระบวนการให้
คาปรึกษาการเพมิ่ ผลติ ภาพแรงงาน และขับเคลื่อนการพัฒนาผ้ปู ระกอบกจิ การ SMEs อยา่ งยงั่ ยืนต่อไป
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 9,750 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 10,573 คน คิดเป็น
ร้อยละ 108.44 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 10,330 คน คิดเป็นร้อยละ 97.70 โดยผู้ผ่านการฝึก
มีงานทา ร้อยละ 100 มีรายได้เฉลี่ย 13,352 บาท/เดือน ซึ่งเป็นการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ว่างงาน
ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ท่ีมีงานทาอยู่แล้วท่ีผ่านการฝึกอบรม ลดโอกาสในการถูกเลิกจ้าง
คิดเป็นมูลค่า 1,655.11 ล้านบาทต่อปี
สถาบันพัฒนาฝีมอื แรงงาน 16 นครปฐม
จดั ฝกึ อบรมหลกั สตู ร “การฝึกยกระดบั ฝมี ือ สาขา
เทคนคิ การเพิม่ ผลติ ภาพแรงงาน ณ บริษทั ซีนกิ ซ์
อเี ลค็ เท็ค จากดั ต.กระทมุ่ ลม้ อ.สามพราน จ.นครปฐม
สานักงานพฒั นาฝีมอื แรงงานจนั ทบรุ ี จดั ประชมุ
เชงิ ปฏบิ ัติการเพอ่ื สรุปผลการดาเนินการใหค้ าปรกึ ษา
รายสถานประกอบกจิ การ SME (ปิดโครงการ)
ณ หอ้ งประชุมโรงแรมเจา้ หลาวทอแสงบีช จ.จนั ทบุรี
จานวน 20 คน
44
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
2.6 โครงการพัฒนาวิสาหกิจสู่ความเป็นมืออาชีพ เพื่อพัฒนาและยกระดับทักษะแรงงานให้มี
ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ในการทาธุรกิจแนวใหม่และการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีนวัตกรรม
สามารถประกอบธุรกิจอย่างมอื อาชีพ
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 900 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 976 คน คิดเป็น
ร้อยละ 108.44 ของเปา้ หมาย ผผู้ า่ นการฝกึ อบรม จานวน 947 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 97.03 โดยผู้ผ่านการฝึก
มงี านทา ร้อยละ 90.33 มีรายไดเ้ ฉล่ีย 13,849 บาท/เดอื น ซึ่งเป็นการสร้างอาชพี และรายไดใ้ หก้ ับผวู้ ่างงาน
ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ที่มีงานทาอยู่แล้วท่ีผ่านการฝึกอบรม ลดโอกาสในการถูกเลิกจ้าง
คดิ เป็นมูลคา่ 142.16 ล้านบาทตอ่ ปี
สานักงานพฒั นาฝีมอื แรงงานน่าน จัดฝึกอบรมหลักสูตร
การฝกึ ยกระดับฝมี อื สาขา “พาณชิ ยอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์
สาหรบั ผูป้ ระกอบการชุมชน” ณ สานักงานพัฒนาฝมี อื
แรงงานนา่ น
2.7 โครงการพฒั นาทกั ษะแรงงานเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เพื่อยกระดับทักษะแรงงาน
ในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออกรองรบั การลงทุนในอตุ สาหกรรมและบรกิ ารท่ีใชเ้ ทคโนโลยขี ัน้ สงู
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 5,440 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 5,970 คน คิดเป็น
ร้อยละ 109.74 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 4,813 คน คิดเป็นร้อยละ 80.62 โดยผู้ผ่านการฝึก
มีงานทา รอ้ ยละ 85.10 มรี ายได้เฉลี่ย 20,213 บาท/เดอื น ซึ่งเปน็ การสร้างอาชพี และรายได้ให้กับผู้ว่างงาน
ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ที่มีงานทาอยู่แล้วท่ีผ่านการฝึกอบรม ลดโอกาสในการถูกเลิกจ้าง
คดิ เป็นมูลค่า 993.48 ล้านบาทตอ่ ปี
45
รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
สถาบันพัฒนาบคุ ลากรสถาบันพฒั นาบคุ ลากร สาขา
เทคโนโลยกี ารผลติ อตั โนมตั ิและหนุ่ ยนต์ เปิดฝกึ ระดับฝมี ือ
ออนไลน์ “การควบคมุ หนุ่ ยนต์” (KUKA) ระหว่างวนั ท่ี 9-13
ส.ค.64 จานวน 82 คน
สถาบนั พัฒนาฝมี ือแรงงาน 17 ระยอง จัดฝกึ อบรม
หลักสตู ร : การเชอ่ื มอาร์กโลหะดว้ ยมอื ระดับ 1
ณ บรษิ ัท ไทยเปเปอร์มลิ ล์ จากดั
2.8 โครงการเพ่ิมทักษะกาลังแรงงานในพ้ืนที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เพ่ือเตรียมความพร้อม
และยกระดับทักษะแรงงานในพื้นท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษรองรับการลงทุนของผู้ประกอบกิจการและ
SMEs ในพนื้ ที่สู่การจ้างงานตามกลุ่มอตุ สาหกรรมเป้าหมายของแตล่ ะจงั หวดั ในเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ
ผลการดาเนนิ งาน เป้าหมาย จานวน 10,300 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 10,978 คน
คิดเป็นร้อยละ 106.87 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 10,376 คน คิดเป็นร้อยละ 94.52
โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา ร้อยละ 83.27 มีรายได้เฉล่ีย 10,198 บาท/เดือน ซ่ึงเป็นการสร้างอาชีพและ
รายได้ให้กับผู้ว่างงาน ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ที่มีงานทาอยู่แล้วที่ผ่านการฝึกอบรม ลด
โอกาสในการถูกเลิกจา้ ง คดิ เป็นมลู ค่า 1,057.34 ลา้ นบาทตอ่ ปี
สถาบนั พัฒนาฝมี อื แรงงาน 25 นราธิวาส ฝึกอบรมผา่ น
ระบบออนไลน์ หลักสตู ร “การออกแบบอินโฟกราฟิกเพื่อ
การประชาสมั พันธ์” จานวน 15 คน ณ ห้องประชุมลาภู
สถาบันพฒั นาฝมี ือแรงงาน 25 นราธวิ าส
46
รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564
3. การดาเนินงานภายใต้ความสอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์ประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาตทิ ี่ 3 ดด้านา้ นกการาสรพร้าัฒงคนวาาแมลสะาเสมรามิรสถรในา้ งกศากัรแยขภง่าขพนั ทขรอัพงยปารกะรเมทนศษุ ย์
แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์
ประเดน็ ท่ี 11 การพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต
แผนการปฏริ ปู ประเทศ
(ด้านเศรฐกิจ) ด้านความเท่าเทยี มและการเติบโตอยา่ งมสี ่วนร่วม
(ระดับบุคคล (การพัฒนาฝีมือแรงงานไร้ฝีมือ))
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
สงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 ดา้ นการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน (การสรา้ งฐาน
อุตสาหกรรมใหม่ที่มศี กั ยภาพในการเติบโตในอนาคต
นโยบายรฐั บาล (ยกระดับศกั ยภาพแรงงานผูป้ ระกอบการ))
แผนงานบรู ณาการ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สรา้ งและพฒั นา
ศักยภาพ
แผนปฏิบัติราชการกรม
ขอ้ 8.3 พัฒนาคณุ ภาพอาชีพและพัฒนาแรงงาน
รองรับอุตสาหกรรม 4.0
ข้อ 8.6.4 พฒั นาทกั ษะอาชีพทุกช่วงวยั
ข้อ 8.7 จัดทาปริญญาชมุ ชนและการจดั อบรม
หลักสูตรระยะส้นั
แผนงานยุทธศาสตรพ์ ฒั นาคนตลอดช่วงชวี ิต
แผนงานพ้นื ฐานเพ่ือสนบั สนุนยุทธศาสตร์ดา้ น
การพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาและยกระดบั มาตรฐานฝมี อื แรงงาน
ใหไ้ ด้มาตรฐาน
การพฒั นาศักยภาพผู้ประกอบกิจการและ
แรงงานนอกระบบ
การสง่ เสริมและพัฒนาเครอื ข่ายการพฒั นาฝีมือ
แรงงาน
47
รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงานให้ความสาคญั ในการพฒั นาศกั ยภาพแรงงานของคนทุกกลุ่มใหม้ ีทกั ษะ
ฝมี ือ มคี วามรู้ ความสามารถ มอี าชีพ มรี ายได้ สร้างความย่งั ยนื ในการประกอบอาชีพ สามารถพ่ึงพาตนเอง
ไ ด้ แ ล ะ เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ด้ านจรรยาบรรณในวิ ชาชี พเพื่ อเข้ าสู่ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง า น ต ล อ ด จ น สั ง ค ม
ใหก้ ารยอมรับในศกั ยภาพการทางาน
นอกจากน้ี มีการดาเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ เพื่อพัฒนาศักยภาพ
แรงงานให้มีทักษะความรู้และเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่เกณฑ์ตามประกาศอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ
แรงงาน โดยส่งเสริมให้แรงงานท่ัวไปและกลุ่มนักศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั มาตรฐานฝมี อื แรงงาน พร้อมเขา้ สู่ตลาดแรงงานทงั้ ในและตา่ งประเทศ รวมท้งั
ส่งเสริมสถานประกอบกิจการพัฒนาฝีมือแรงงานลูกจ้างผ่านกลไกพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ
แรงงาน พ.ศ. 2545 และท่แี ก้ไขเพิ่มเติม โดยมผี ลการดาเนนิ งานดงั นี้
เปา้ หมาย ผู้เข้ารับการฝึก ผู้ผ่านการฝกึ การมีงานทา รายไดเ้ ฉล่ยี
78,020 คน 86,037 คน 68,566 คน รอ้ ยละ 80.26 13,486 บาท/เดือน
3.1 โครงการยกระดับเพื่อเพิ่มศักยภาพฝีมือและสมรรถนะแรงงาน เพ่ือ Up skill และ
Re skill แรงงานให้สามารถทางานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานรองรับการจ่ายค่าจ้าง
ที่จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขัน และเตรียมความพร้ อมรองรับ
การเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยีของภาคอตุ สาหกรรม/บริการและการปรับเปล่ียนอาชีพ
ผลการดาเนินงาน ผู้เป้าหมาย จานวน 21,600 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 24,101 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 111.58 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 20,930 คน คิดเป็นร้อยละ 86.84 โดยผู้ผ่าน
การฝึกมีงานทา ร้อยละ 87.71 มีรายได้เฉลย่ี 13,342 บาท/เดอื น ซึง่ เป็นการสร้างอาชพี และรายได้ให้กบั ผวู้ า่ งงาน
ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ที่มีงานทาอยู่แล้วที่ผ่านการฝึกอบรม ลดโอกาสในการถูกเลิกจ้าง คิดเป็น
มูลคา่ 2,939.14 ล้านบาทต่อปี
สานักงานพฒั นาฝมี อื แรงงานตรัง จัดฝกึ อบรมหลักสตู ร
“การบริหารจดั การตลาดออนไลน”์ จานวน 20 คน
ณ ห้องคอมพิวเตอร์ สานกั งานพฒั นาฝมี ือแรงงานตรงั
48
รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
3.2 โครงการฝึกอบรมแรงงานกลุ่มเป้าหมายเฉพาะเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ
ประกอบดว้ ย
3.2.1 กิจกรรม : ฝึกอบรมแรงงานกลุม่ เป้าหมายเฉพาะเพอื่ เพ่มิ โอกาสในการประกอบอาชีพ
เพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานให้กับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ ผู้ผ่านการบาบัดยาเสพติด ผู้ต้องขัง/เยาวชนสถาน
พนิ ิจ คนพกิ าร/ผ้ดู แู ลคนพิการ แรงงานนอกระบบ ทหารเกณฑ์ก่อนปลดประจาการ และแรงงานตามโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะฝีมือ มีอาชีพ สร้างรายได้เพ่ิมข้ึน มีคุณภาพ
ชีวิตท่ีดีสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน สามารถประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดแรงงาน มีศกั ยภาพในการทางานและเป็นทยี่ อมรับในสงั คม
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย 9,100 คน ผู้เข้ารับการฝึก จานวน 12,253 คน คิดเป็น
ร้อยละ 134.65 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 11,849 คน คิดเป็นร้อยละ 96.70 ผู้ผ่านการฝึก
มีงานทาร้อยละ 64.71 มีรายได้เฉลี่ย 8,439 บาท/เดือน ซ่ึงเป็นการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ว่างงาน
ผ้ปู ระกอบอาชีพเสรมิ หรือผ้ปู ระกอบอาชีพอสิ ระทีผ่ ่านการฝึกอบรม คดิ เปน็ มลู ค่า 776.47 ล้านบาทตอ่ ปี
สานักงานพัฒนาฝมี อื แรงงานชมุ พร จดั ฝกึ อบรม
หลกั สตู ร “ชา่ งซอ่ มอปุ กรณไ์ ฟฟ้า” จานวน 20 คน
ฝึกวันท่ี 23-26 ส.ค 64 ณ กองรอ้ ยมณฑลทหารบก
ท่ี 44 คา่ ยเขตอดุ มศักด์ิ จงั หวัดชมุ พร
3.2.2 กิจกรรม : เพ่ิมทักษะด้านอาชีพแก่นักเรียนครอบครัวยากจนท่ีไม่ได้เรียนต่อหลังจบ
การศกึ ษาภาคบงั คบั เพือ่ พฒั นาฝีมือแรงงานให้แกน่ ักเรียนจากครอบครัวยากจนและไมไ่ ดเ้ รียนต่อ
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย 3,000 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 2,130 คน คิดเป็นร้อยละ 71
ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม 1,437 คน คิดเป็นร้อยละ 67.46 ผ่านการฝึกมีงานทาร้อยละ 11.43 มีรายได้เฉลี่ย
5,000 บาท/เดือน ซึ่งเป็นการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ว่างงาน ผู้ประกอบอาชีพเสริม หรือผู้ประกอบ
อาชีพอสิ ระทีผ่ า่ นการฝึกอบรม คดิ เป็นมูลค่า 9.85 ล้านบาทตอ่ ปี
สถาบนั พัฒนาฝีมือแรงงาน 16 นครปฐม ให้การตอ้ นรบั
พัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวดั
ในการเขา้ เยี่ยมเด็กนกั เรียนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ เพื่อ
ประกอบการพิจารณาให้เงินสงเคราะหฯ์ แกผ่ ู้รับ
การฝกึ สาขา ช่างซอ่ มและบารุงรกั ษารถจักรยานยนต์
จานวน 10 คน ณ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 16 นครปฐม
49
รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564
3.3 โครงการเสริมสมรรถนะแรงงานด้านเทคโนโลยีรองรับการทางานในศตวรรษท่ี 21
เพื่อยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะของคนในช่วงวัยทางานให้มีคุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับ
ความสามารถเฉพาะบุคคลและความต้องการของตลาดแรงงาน รวมทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่ ส่งเสริมและ
สนับสนุนการพัฒนาทักษะแรงงานฝีมือด้วยเทคโนโลยี สาหรับเป็นฐานในการต่อยอดความรู้ไปสู่การ
สร้างสรรค์งานใหม่ๆ อันจะช่วยสร้างโอกาสและทางเลือกในการทางานให้มากข้ึน เพิ่มสัดส่วนกาลังแรงงาน
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศให้อยู่ในระดับที่จะสามารถเติมเต็มความต้องการของ
ผู้ประกอบการ และส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนอง
แนวนโยบายของรฐั บาลในการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนการพัฒนาศกั ยภาพของคนไทยทุกชว่ งวยั
ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย 6,360 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 7,398 คน คิดเป็น
ร้อยละ 116.32 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 6,523 คน คิดเป็นร้อยละ 88.17 ผู้ผ่าน
การฝกึ อบรมมงี านทารอ้ ยละ 78.02 มีรายได้เฉลย่ี 14,157 บาท/เดือน ซ่ึงเป็นการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับ
ผวู้ า่ งงาน ตลอดจนเปน็ การรักษารายไดเ้ ดมิ ของผู้ทมี่ ีงานทาอยู่แลว้ ทีผ่ ่านการฝึกอบรม ลดโอกาสในการถูกเลิก
จา้ ง คิดเป็นมลู ค่า 864.58 ลา้ นบาทต่อปี
สถาบันพฒั นาฝมี อื แรงงาน 5 นครราชสมี า
จดั ฝึกอบรมหลักสูตร “การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์
ดว้ ยคอมพิวเตอร์ (รปู แบบการฝกึ ห้องเรียนออนไลน์)
จานวน 25 คน ณ สถาบนั พฒั นาฝีมอื แรงงาน 5
นครราชสมี า
3.4 โครงการ ยกระดับแรงงานไทยให้ได้มาตรฐานฝมี อื แรงงานเพ่อื รองรบั การแข่งขนั ประกอบด้วย
กิจกรรม : กจิ กรรมพัฒนาศักยภาพแรงงานเพ่อื รองรับการจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ
แรงงาน เพ่ือพัฒนาศักยภาพแรงงานให้มีทักษะ ความรู้ เข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานฝีมือแรงงานตามประกาศ
อตั ราค่าจา้ งตามมาตรฐานฝมี ือ
50