The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

02.2 รายงานประจำปี 2564 เนื่อหา OK

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pamem2565, 2022-03-22 00:10:46

เนื้อหา

02.2 รายงานประจำปี 2564 เนื่อหา OK

รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564

ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย 4,000 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 4,145 คน คิดเป็น
ร้อยละ 103.63 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 3,915 คน คิดเป็นร้อยละ 94.45 โดยผู้ผ่านการฝึกมี
งานทา ร้อยละ 99.45 มีรายได้เฉล่ีย 13,690 บาท/เดือน ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ท่ีมีงานทา
อย่แู ลว้ ท่ผี ่านการฝกึ /ทดสอบเพอ่ื ลดโอกาสในการถกู เลิกจา้ ง คิดเป็นมูลค่า 639.62 ล้านบาทตอ่ ปี

สถาบันพฒั นาฝีมอื แรงงาน 18 อดุ รธานี ฝกึ ยกระดับ
ฝมี ือ หลักสูตร พนกั งานควบคมุ เครือ่ งจกั รรถยก
ระดับ 1 จานวน 20 คน ณ บริษัท โฮมฮับ จากัด
อาเภอเมือง จ.อุดรธานี

 กิจกรรม : ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ เพ่ือส่งเสริมให้แรงงานท่ัวไปและ
กลุ่มนักศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษามีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับมาตรฐานฝีมือแรงงาน และพัฒนาฝีมือของ
ตนเองใหไ้ ด้มาตรฐาน มีศกั ยภาพพรอ้ มเขา้ สู่ตลาดแรงงานทั้งในและต่างประเทศ

ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย 33,750 คน ผู้เข้ารับการทดสอบ จานวน 35,746 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 105.91 ของเปา้ หมาย ผู้ผา่ นการทดสอบ จานวน 23,647 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.15

สถาบนั พฒั นาฝีมอื แรงงาน 2สพุ รรณบรุ ี ดาเนนิ การ
ทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานแหง่ ชาติ สาขาช่างไฟฟ้า
ภายในอาคาร ระดับ 1 จานวน 19 คน ณ สถาบัน
พัฒนาฝีมือแรงงาน 2สพุ รรณบรุ ี

51

รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

3.5 ผลผลิต พัฒนา/ขับเคลื่อนความร่วมมือเครือข่าย และส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประกอบดว้ ย

 กิจกรรม : ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการดาเนินการพัฒนาฝีมือ
แรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 และ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2557
กาหนดให้สถานประกอบกิจการท่ีมีพนักงานตั้งแต่ 100 คนข้ึนไป ต้องดาเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้กับ
พนักงานของตนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของจานวนพนักงานทั้งหมด โดยสถานประกอบกิจการ
ที่ดาเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้กับพนักงานจะได้รับสิทธิประโยชน์ตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 อาทิ การได้รับการลดหย่อนภาษีท่ีเป็นค่าใช้จ่ายในการพัฒนา
ฝมี อื แรงงานให้กับพนกั งานไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 100 เป็นตน้

ผลการดาเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการดาเนินการพัฒนา
ฝีมือแรงงาน โดยมีเป้าหมาย จานวน 4,000,000 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 2,769,784 คน คิดเป็น
ร้อยละ 62.24 ผู้ผา่ นการฝึกอบรม จานวน 2,769,784 คน คดิ เป็นร้อยละ 100

สานักงานพฒั นาฝีมอื แรงงานจันทบุรี เข้าตรวจเยย่ี ม
สถานประกอบกจิ การ ภายใต้ พ.ร.บ.สง่ เสริมการพัฒนา
ฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2545 จานวน 2 แห่ง ไดแ้ ก่
บรษิ ทั สนิ วารีพัฒนา จากัด สาขาจนั ทบรุ ี และ
บริษัท เทพมณี โคลดส์ ตอเรจ(จันทบรุ ี) จากดั

 กิจกรรม : พัฒนาช่างเคร่ืองช่วยคนพิการกับมูลนิธิขาเทียม เพื่อให้ช่างเครื่องช่วยคน
พิการมคี วามรู้ มที ักษะฝีมือทีไ่ ดม้ าตรฐานฝีมอื แรงงาน สามารถปฏบิ ัตงิ านในโรงงานขาเทยี มของโรงพยาบาล
ประจาจังหวัดและโรงพยาบาลประจาชุมชนได้ รวมถึงการยกระดับพัฒนาฝีมือช่างเคร่ืองช่วย
คนพิการให้มีมาตรฐานฝีมือแรงงานที่สูงข้ึน สามารถจัดทาขาเทียมให้แก่คนพิการขาขาดให้ได้รับขาเทียม
ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานอย่างทั่วถึงและรวดเร็ว และแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานด้านช่างเคร่ืองช่วย
คนพิการซงึ่ เปน็ สาขาวิชาชีพเฉพาะได้

ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 210 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 265 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 126.19 ผผู้ ่านการฝึกอบรม จานวน 265 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา
ร้อยละ 98.78 มีรายได้เฉล่ีย 17,230 บาท/เดือน ซึ่งสามารถสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ว่างงาน
ตลอดจนเปน็ การรักษารายได้เดิมของผ้ทู ม่ี งี านทาอยแู่ ลว้ ที่ผา่ นการฝึกอบรม เพื่อลดโอกาสในการถูกเลิกจ้าง คิด
เป็นมูลค่า 53.47 ล้านบาทต่อปี

52

รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564

สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 19 เชียงใหม่ ฝึกอบรม
หลักสตู ร “สาขาเทคนคิ การทาเบา้ และการแต่งหุ่น
ขาเทยี มระดับขอ้ เข่าตามหลกั ชีวกลศาสตร์” จานวน
25 คน ด้วยรปู แบบการฝกึ อบรมทางไกล ผา่ นวีดิทศั น์
ทางไกล Zoom Video Conferencing จาก
ห้องฝกึ อบรม มลู นิธิขาเทียม ในสมเด็จพระศรนี ครนิ
ทราบรมราชชนนี อาเภอแม่รมิ จงั หวัดเชียงใหม่

4. การดาเนินงานภายใตค้ วามสอดคลอ้ งยทุ ธศาสตรช์ าติท่ี 4 ด้านการสร้างความเสมอภาคทางสังคม

ยทุ ธศาสตรช์ าตทิ ่ี 4 ด้านการสร้างความเสมอภาคทางสังคม
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ ประเดน็ ท่ี 15 พลังทางสังคม

แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านความเทา่ เทียมและการเติบโตอยา่ งมีสว่ นรว่ ม
(ดา้ นเศรฐกจิ ) ระดับบุคคล (การพฒั นาฝมี ือแรงงานไรฝ้ ีมือ)
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสรา้ งและพฒั นาศกั ยภาพ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ ทนุ มนุษย์
สงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 สง่ เสริมการพัฒนาพ้นื ท่รี ะเบยี งเศรษฐกิจภาคใต้และ
การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
นโยบายรฐั บาล
เตรยี มความพร้อมเพื่อรองรบั สงั คมสงู วยั
แผนงานบรู ณาการ
การพฒั นาศกั ยภาพผู้ประกอบกิจการ
แผนปฏิบตั ิราชการกรม และแรงงานนอกระบบ

การพฒั นาฝมี ือแรงงาน

53

รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564

กรมพัฒนาฝีมือแรงงานดาเนินการพัฒนาพัฒนาต่อยอดทักษะแรงงานให้กับผู้สูงอายุ
เน้นพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับวัย สมรรถนะทางกาย ลักษณะงาน และส่งเสริมทักษะ
การเรยี นรู้ในการทางาน เปน็ การสรา้ งคุณคา่ ใหก้ ับผ้สู งู อายทุ งั้ ร่างกายและจิตใจ ทาให้รู้สึกภาคภูมิใจท่ีได้เป็น
ส่วนหน่ึงในการทาประโยชน์ให้กับครอบครัว สังคมและประเทศชาติ โดยดาเนินการภายใต้โครงการ
ฝึกอบรมแรงงานผสู้ งู อายเุ พือ่ เพ่มิ โอกาสในการประกอบอาชีพ

ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย 8,200 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 8,978 คน คิดเป็น
ร้อยละ 109.49 ของเป้าหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 8,826 คน คิดเป็นร้อยละ 98.31 ผู้ผ่านการฝึกอบรม
มีงานทา ร้อยละ 75.82 มีรายได้เฉล่ีย 5,202 บาท/เดือน ซ่ึงเป็นการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ว่างงาน
ผู้ประกอบอาชีพเสริม หรือผู้ประกอบอาชีพอิสระที่ผ่านการฝึกอบรม คดิ เปน็ มูลค่า 417.73 ล้านบาทต่อปี

สานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน จัดฝกึ อบรมหลกั สตู ร
การฝึกอาชพี เสรมิ “การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์จากผา้ ”
ณ ศาลาอเนกประสงคบ์ ้านธงใหมพ่ ัฒนา ตาบลด่ใู ต้
อาเภอเมือง จังหวดั นา่ น

54

รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

ผลการพัฒนาฝมี อื แรงงานเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟืน้ ฟเู ศรษฐกิจ
และสงั คมทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019

จากการระบาดของโควิด 19
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีส่งผลกระทบต่อระบบ
เศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ ทาให้ลูกจ้างบางส่วนถูกเลิกจ้าง ว่างงาน ถูกลดเงินเดือน รายได้ลดลง
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานให้ความสาคัญกับแรงงานท่ีได้รับผลกระทบทุกกลุ่ม โดยดาเนินการส่งเสริมและ
พัฒนาทักษะฝีมอื แรงงานใหก้ บั แรงงานในระบบและนอกระบบ กลุ่มแรงงานทั่วไป ผู้ถูกเลิกจ้างผู้ว่างงาน แรงงานคืน
ถ่นิ และผู้ไดร้ ับผลกระทบจากการระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั นี้
1) สง่ เสริมให้แรงงานมีทกั ษะในการประกอบอาชพี เพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชพี สามารถ
ปรับเปลีย่ นทักษะใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
2) สง่ เสรมิ การสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ และรายไดอ้ ยา่ งยั่งยืนซึง่ จะส่งผลตอ่ การฟ้ืนฟูระบบเศรษฐกิจและ
สังคมในอนาคตรวมถึงสามารถอยู่รอดได้ท่ามกลางสถาวะวิกฤตตา่ งๆ ทเี่ กิดข้ึน
ผลการดาเนินงาน

ผู้เข้ารับการฝึก จานวน 9,385 คน คิดเป็นร้อยละ 93.48 จากเป้าหมาย 10,040 คน
ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน 9,134 คน คิดเป็นร้อยละ 97.33 ทั้งนี้ ดาเนินการฝึกอบรมในหลักสูตร
ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและสถานประกอบกิจการและในบริบทของพ้ืนที่
โดยหลักสูตรยอดนิยมที่มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5 อันดับแรก ได้แก่ การใช้สมาร์ทโฟนเพื่อสร้างยอดขาย
กระตุ้นธุรกิจ การใช้เทคโนโลยีเพ่ือเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร การประกอบอาหารว่างและขนม
เพื่อประกอบอาชีพ ช่างติดต้ังและบารุงรักษาโซล่าเซลล์ การขับรถฟอร์คลิฟท์อย่างปลอดภัยและถูกวิธี
โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา ร้อยละ 78.49 มีรายได้เฉล่ีย 10,950 บาท/เดือน ซ่ึงเป็นการสร้างอาชีพและ
รายได้ให้กับผู้ว่างงาน ผู้ประกอบอาชีพเสริม หรือผู้ประกอบอาชีพอิสระและผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ตลอดจนเป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ท่ีมีงานทาอยู่แล้วท่ีผ่าน
การฝึกอบรม รวมทัง้ ลดโอกาสในการถูกเลกิ จ้าง ซงึ่ คิดเป็นมูลคา่ 728.35 ล้านบาทตอ่ ปี

ประโยชน์ท่ีประชาชนได้รับ แรงงานมีทักษะในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น มีทางเลือก
ในการประกอบอาชีพ สามารถปรับเปลี่ยนทักษะให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และ
สร้างรายได้อย่างยั่งยืนส่งผลต่อการฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจและสังคมในอนาคตรวมถึงสามารถอยู่รอดได้
ทา่ มกลางสถาวะวิกฤตตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขึน้

55

รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

ผลการขับเคลอ่ื นนโยบายกระทรวงแรงงาน

กระทรวงแรงงานไดด้ าเนินภารกจิ ดา้ นแรงงานท่ีมีความสาคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของแรงงานให้มีความเป็นอยู่ท่ีดีมีหลักประกันความม่ันคงในการดารงชีพ
โดยกระทรวงแรงานได้กาหนดนโยบายกระทรวงแรงงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบายรัฐบาล และนโยบาย “รวมไทยสร้างชาติ” เพ่ือเป็นกรอบในการปฏิบัติราชการของ

กระทรวงแรงงาน ท้งั นี้ มาตรการท่สี อดคล้องกับภารกิจกรมพัฒนาฝมี ือแรงงานดงั แผนภาพข้างล่างนี้

นโยบายกระทรวงแรงงาน “รวมไทยสร้างชาติ”

นโยบายเร่งด่วน นโยบายสาคัญ

1. เยียวยา ระบบบรหิ ารจดั การความเสี่ยงเพอ่ื นา
เยยี วยาความเจ็บปวดทปี่ ระเทศกาลัง นโยบายไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ

เผชญิ อยู่ โดยเฉพาะ SMEs และ  มาตรการบรหิ ารจดั การดา้ นแรงงาน
ประชาชนตกงาน ในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC)
- มาตรการชว่ ยเหลือผ้ปู ระกอบกิจการ และเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดน
ที่ก้ยู ืมเงนิ กองทนุ พฒั นาฝมี ือแรงงาน (SEZ)
มาตรการส่งเสริม คุ้มครอง พัฒนาและ
2. สร้างแรงจงู ใจในการจา้ งงาน สรา้ งหลักประกันทางสังคมสู่แรงงานนอก
ระบบ
สร้างแรงจูงใจใหธ้ รุ กิจต่างๆ ยังคง  มาตรการพัฒนาสิทธิประโยชน์ให้
จา้ งงานตอ่ และใชว้ กิ ฤตพัฒนาองค์กรให้มี สอดคล้องภาวะเศรษฐกจิ
ประสทิ ธภิ าพและแขง่ ขันได้ มาตรการ Safety Thailand
- มาตรการยกระดับทักษะฝีมอื แรงงาน
ให้เปน็ แรงงานคุณภาพ

กลไกการขับเคลื่อน

มาตรการให้บรกิ ารประชาชาชน
ทางอิเลก็ ทรอนิกส์

56

รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

ผลการดาเนนิ งาน
 นโยบายเร่งดว่ น

1. เยยี วยาความเจบ็ ปวดท่ีประเทศกาลงั เผชิญอยู่ โดยเฉพาะ SMEs และประชาขนตกงาน
 มาตรการชว่ ยเหลือผู้ประกอบกจิ การทีก่ ยู้ ืมเงนิ กองทนุ พัฒนาฝมี ือแรงงาน
1) การให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน สาหรับผู้ประกอบกิจการกู้ยืมเงินเพื่อ

เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการดาเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน หรือการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ในการ
พัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง วงเงินกู้ยืมไม่เกิน 1 ล้านบาทต่อครั้ง โดยมีดอกเบ้ียร้อยละ 0 ต่อปี / ปลอด
การชาระหนี้ 2 เดอื นแรก / ขยายระยะเวลาการชาระเงิน จาก 12 เดอื น เปน็ 18 เดือน

ผลการดาเนินงาน วงเงนิ ใหก้ ูย้ มื ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 30,000,000 บาท
- ไดร้ บั เงนิ กู้ จานวน 48 ราย วงเงินทอี่ นมุ ตั ิ 30,000,000 บาท
- ลกู จ้างไดป้ ระโยชน์ 8,777 คน จาแนกเป็น การฝกึ อบรม จานวน 8,577 คน และ
การทดสอบ จานวน 200 คน
2) ลดอัตราดอกเบี้ย กรณีท่ีผู้กู้ยืมเงินผิดนัดชาระหน้ี จากอัตรา “ร้อยละ 15 ต่อปี”
เปน็ “รอ้ ยละ 7.5 ตอ่ ปี” โดยต้งั แตว่ ันที่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึงวันที่ 31 สงิ หาคม 2564 มจี านวน 93 แหง่
เป็นเงนิ 16,212.71 บาท
3) ปลอดเวลาการชาระคืนงวดแรก จาก “ต้องชาระไม่เกินวันที่ 5 ของเดือนถัดไป
หลังจากทาสัญญาและไดร้ ับเช็คแล้ว”เป็น “ต้องชาระไม่เกินวันท่ี 20 ของทุกเดือน หลังจากทาสัญญาและ
ได้รับเช็คแล้ว 60 วัน” โดยตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึงวันท่ี 31 สิงหาคม 2564 จานวน 90 แห่ง
เปน็ เงินจานวน 57,425,000 บาท
4) ขยายระยะเวลาชาระหนค้ี นื จากภายในระยะเวลา “ไม่เกิน 12 เดือน” เป็น “ไม่เกิน
18 เดือน” โดยขยายระยะเวลาชาระหน้ีคืน ต้ังแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2564
จานวน 90 แห่ง เปน็ เงิน 57,425,000 บาท
5) เลื่อนกาหนดวันชาระหนี้ จาก “ไม่เกินวันท่ี 5 ของทุกเดือน”เป็น “ไม่เกินวันท่ี 20
ของทุกเดือน” ต้ังแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2564 จานวน 170 แห่ง เป็นเงิน
75,710,916 บาท
 การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน แก่ผู้ประกอบกิจการ
ทีเ่ กย่ี วกบั การสง่ เสรมิ การพฒั นาฝมี ือแรงงานตามหลักเกณฑท์ คี่ ณะกรรมการส่งเสรมิ การพฒั นาฝีมือแรงงาน
ประกาศกาหนด ดังน้ี

57

รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

1) ให้ช่วยเหลือหรืออุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่มีหน้าท่ีส่งเงินสมทบซ่ึงได้ส่ง
เงินสมทบเข้ากองทุนภายในเวลาที่กฎหมายกาหนด ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกาหนดในปีถัดจากปี
ที่มีหน้าท่ีส่งเงินสมทบ โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนในอัตราร้อยละยี่สิบห้าของเงินสมทบ
ท่ีนาส่ง

2) ให้ช่วยเหลือหรืออุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ดาเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ตามมาตรา 29 วรรคสอง ในส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 ของลูกจ้างท้ังหมดในปีที่ผ่านมาให้เงินช่วยเหลือหรือ
อดุ หนุน 200 บาทต่อคน

3) ให้ช่วยเหลือหรืออุดหนุนแก่ผู้ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน
ของตนตามมาตรา๒๖ ให้เงนิ ช่วยเหลอื หรืออดุ หนนุ ในแต่ละสาขา ระดบั ละ 10,000 บาท

4) ใหช้ ว่ ยเหลือหรืออดุ หนุนแกผ่ ปู้ ระกอบกจิ การทีส่ ่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและ
ผา่ นการทดสอบมาตรฐานฝีมอื แรงงานแหง่ ชาติ และจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 180 วัน
ก่อนวนั ยนื่ ขอรับเงินอุดหนนุ ใหเ้ งนิ ช่วยเหลอื หรืออดุ หนนุ 1,000 บาทต่อคน

5) ให้ช่วยเหลือหรืออุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือ
แรงงานเพื่อพฒั นาทักษะความรใู้ หแ้ ก่ลกู จ้างเพ่ือเปน็ การสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมหรอื นาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต
สินคา้ หรือบรกิ าร โดยมสี ทิ ธิขอรับเงนิ ช่วยเหลอื หรอื อดุ หนนุ เท่าทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่เกินปลี ะ ๑๐๐,๐๐๐ บาท

2. สรา้ งแรงจงู ใจให้ธุรกจิ ต่างๆ ยงั คงจ้างงานต่อและใช้วิกฤตพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพ
และแข่งขันได้

การยกระดับทักษะฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพ (Productive Labour)
เพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพใหแ้ รงงานยุคใหมจ่ ากแรงงานทักษะต่าเป็นแรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและทักษะสูง
ตลอดจนใช้ความคิดสร้างสรรค์เพ่ือขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยกรมพัฒนา
ฝีมือแรงงานได้ดาเนินการยกระดับทักษะฝีมือแรงงานให้เป็นแรงงานคุณภาพเพ่ือรองรับอุตสาหกรรมและ
บริการแห่งอนาคต ผ่านกระบวนการฝึกภายใต้การควบคุมคุณภาพการฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามเกณฑ์
การประกนั คุณภาพการพัฒนาฝีมอื แรงงาน กลมุ่ เป้าหมาย ได้แก่ แรงงานในสถานประกอบกิจการ แรงงานใหม่
นักศึกษา ผวู้ า่ งงาน และบคุ คลทัว่ ไป ผปู้ ระกอบกิจการ SMEs กลุ่ม OTOP และกลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชน

ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 53,010 คน ผู้เข้ารับการฝึก จานวน 60,032 คน
คิดเป็นร้อยละ 113.25 ผู้ผ่านการฝึก จานวน 54,088 คน คิดเป็นร้อยละ 90.10 โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา
รอ้ ยละ 87.49 มีรายไดเ้ ฉล่ีย 14,248 บาท/เดอื น ซึ่งเปน็ การสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ว่างงาน ตลอดจนเป็น
การรักษารายไดเ้ ดิมของผ้ทู มี่ งี านทาอยู่แลว้ ที่ผา่ นการฝึกอบรม เพ่ือลดโอกาสในการถูกเลกิ จ้าง คิดเป็นมูลค่า
8,090.81 ลา้ นบาทตอ่ ปี

58

รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564

 นโยบายสาคญั

1. มาตรการบริหารจดั การดา้ นแรงงานในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และ
เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดน (SEZ)

การพัฒนาศักยภาพฝีมือแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการของตล าดแรงงานและ
เทคโนโลยีรองรับรองรับการลงทุนในอุตสาหกรรมและบริการที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษภาคตะวันออกและสอดคล้องกับกิจการที่ BOI ส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ชายแดนเพื่อให้กาลังแรงงานมีงานทา มีรายไดท้ ี่เหมาะสม อันจะนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่
ประชาชนและลดความเหลื่อมล้าของคนไทย เพื่อตอบสนองการพัฒนาศักยภาพกาลังแรงงานในพื้นที่
ดังกล่าว กรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาทักษะกาลังแรงงานเขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออกและโครงการเพ่ิมทักษะกาลังแรงงานในพื้นท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เพ่ือดาเนินการ
ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน (Reskill และ Upskill) รองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายและอุตสาหกรรมแห่งอนาคต
รวมทั้งรองรับความต้องการการลงทุนของผู้ประกอบกิจการและ SMEs ในพื้นท่ีสู่การจ้างงาน กลุ่มเป้าหมาย
ได้แก่ แรงงานในสถานประกอบกิจการ แรงงานทั่วไป แรงงานนอกระบบ ผู้ถูกเลิกจ้าง ผู้ว่างงานทั่วไป และ
นกั ศึกษา

ผลการดาเนนิ งาน เป้าหมาย จานวน 15,740 คน ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรม จานวน 16,948 คน
คิดเป็นร้อยละ 107.67 ผู้ผ่านการฝึกอบรม 15,189 คน คิดเป็นร้อยละ 89.62 โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา
ร้อยละ 83.72 มีรายได้เฉล่ีย 15,206 บาท/เดือน ซ่ึงเป็นการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ว่างงาน
ตลอดจนเป็นการรักษารายไดเ้ ดมิ ของผ้ทู ่มี งี านทาอยู่แล้วทผี่ ่านการฝึกอบรม เพือ่ ลดโอกาสในการถูกเลิกจา้ ง
คดิ เปน็ มูลค่า 2,320 ลา้ นบาทต่อปี

2. มาตรการส่งเสริม คมุ้ ครอง พัฒนาและสร้างหลักประกันทางสงั คมสแู่ รงงานนอกระบบ
การส่งเสริม คุ้มครอง พัฒนาและสร้างหลักประกันทางสังคมสู่แรงงานนอกระบบ

เพ่ือลดความเหล่ือมล้าด้านรายได้ของกลุ่มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีแตกต่างกัน แก้ไขปัญหา
ความยากจนในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพอิสระ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และเป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพ้ืนฐาน
ทางสังคมของภาครัฐ กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจึงได้ดาเนินการพัฒนาศักยภาพแรงงานนอกระบบและ
กลุ่มเปราะบางเพ่ือฝึกอาชีพเพิ่มทักษะให้กับแรงงานให้มีความรู้ ความสามารถ และเตรียมความพร้อม
ทางด้านจรรยาบรรณในวิชาชีพเพ่ือเข้าสู่กระบวนการทางานเพ่ือสร้างความย่ังยืนในการประกอบอาชีพ และ
สังคมใหก้ ารยอมรับในศักยภาพการทางาน ทั้งนี้ การประกอบอาชีพอิสระเป็นกลไกสาคัญที่รองรับการเติบโต
ทางเศรษฐกิจ โดยกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ แรงงานนอกระบบ ผู้ผ่านการบาบัดยาเสพติด ผู้ต้องขัง/เยาวชน
สถานพินิจ คนพิการ/ผู้ดูแลคนพิการ ทหารเกณฑ์ก่อนปลดประจาการ แรงงานตามโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ นกั เรียนครอบครวั ยากจน เป็นตน้

59

รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564

ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย 12,900 คน ผู้เข้ารับการฝึกจานวน 15,182 คน คิดเป็น
ร้อยละ 117.69 ผู้ผ่านการฝึก จานวน 14,040 คน คิดเป็นร้อยละ 92.48 โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา
ร้อยละ 50 มีรายได้เฉล่ีย 6,928 บาท/เดือน ซ่ึงเป็นการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ว่างงาน ตลอดจน
เป็นการรักษารายได้เดิมของผู้ที่มีงานทาอยู่แล้วที่ผ่านการฝึกอบรม เพ่ือลดโอกาสในการถูกเลิกจ้าง คิดเป็น
มูลค่า 582.38 ล้านบาทต่อปี

3. มาตรการสนับสนุนส่งเสริมแรงงานผู้สงู อายุและแรงงานคนพกิ ารให้มงี านทา

รัฐบาลมีนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินเพ่ือพัฒนาประเทศให้ก้าวไปข้างหน้าด้วย
ความม่ันคง สังคมไทยมีความสงบสุข สามัคคี ให้คนไทยมีคุณภาพมีชีวิตดีขึ้นและมีความพร้อมท่ีจะ
ดาเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21 กระทรวงแรงงานมีนโยบายส่งเสริมการมีงานทาและยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดี
ของผู้สูงอายุ ลดความเหล่ือมล้า สร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม ทั้งนี้
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานดาเนินการพัฒนาศักยภาพแรงงานของผู้สูงอายุให้มีทักษะฝีมือ มีความรู้
ความสามารถ มีอาชีพ มีรายได้ เพ่ือเป็นการสร้างคุณค่าให้กับผู้สูงอายุท้ังร่างกายและจิตใจ โดยกลุ่มเป้าหมาย
เป็นผู้มีอายุตั้งแต่ 50 ปีข้ึนไป เพ่ือเตรียมความพร้อมให้กับประชากรก่อนเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
และจัดฝึกอบรมตามหลักสูตรที่สอดคล้องตามความต้องการของตลาดแรงงานในแต่ละพ้ืนท่ี (ท่ัวประเทศ)
โดยพิจารณาจากความเหมาะสมกับสมรรถภาพของแต่ละบุคคล ส่งเสริมการพัฒนาทักษะเทคโนโลยี
ดิจิทัล (Digital Literacy) ท้ังด้านโครงสร้างพ้ืนฐานและด้านเทคโนโลยีแพลตฟอร์ม เช่น Youtube
Facebook Line Lazada และ Shopee เป็นต้น รวมท้ังหลกั สูตรท่ีอนุรักษภ์ มู ิปญั ญาของผสู้ งู อายุ

ผลการดาเนินงาน เป้าหมายจานวน 8,200 คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 8,978 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 109.49 ผ้ผู ่านการฝกึ อบรม จานวน 8,826 คน คิดเป็นร้อยละ 98.31 โดยผู้ผ่านการฝึกมีงานทา
ร้อยละ 75.82 มีรายได้เฉลย่ี 5,202 บาท/เดือน ซง่ึ เปน็ การสร้างอาชีพและรายไดใ้ ห้กับผู้ว่างงาน ตลอดจน
เปน็ การรกั ษารายไดเ้ ดิมของผทู้ มี่ ีงานทาอยูแ่ ลว้ ท่ีผ่านการฝึกอบรม เพอื่ ลดโอกาสในการถูกเลิกจ้าง คิดเป็น
มลู คา่ 417.73 ล้านบาทต่อปี

4. มาตรการ Safety Thailand

มาตรการ Safety Thailand เป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพมีความรู้ ความสามารถ
ในการประกอบอาชีพ คุ้มครองความปลอดภัยสาธารณะจากการทางาน ปัจจุบันประกาศกระทรวงแรงงาน
กาหนดให้สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ช่างเคร่ืองปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ช่างเชื่อมอาร์ก
โลหะด้วยมือ สาขาช่างเชือ่ มแม็ก และสาขาชา่ งเชอ่ื มทกิ เป็นสาขาอาชีพท่ีอาจเปน็ อันตรายต่อสาธารณะ

ผลการดาเนินงาน เป้าหมาย จานวน 14,325 คน ผู้เข้ารับการประเมิน จานวน 15,259 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 106.52 ของเปา้ หมาย ผูผ้ ่านการประเมิน จานวน 15,122 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 99.10

60

รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

กลไกการขบั เคลอ่ื น : มาตรการใหบ้ รกิ ารประชาชาชนทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ระบบ e-Services สาหรับบริการประชาชนของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานส่งผลให้การเข้าถึง
บริการของกรมได้ง่ายและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เกิดการลดขั้นตอน เอกสาร และระยะเวลา ท้ังนี้ ผู้รับบริการ
ไม่ต้องเดนิ ทางมาใช้บริการท่หี น่วยงานและมรี ะบบรายงานผลการดาเนินการให้ผู้รับบริการทราบเป็นระยะ
ประกอบด้วย
1) ระบบสมัครฝึกอบรมฝมี อื แรงงาน
2) ระบบสมัครทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงาน
3) ระบบยน่ื ขอรับรองความรู้ความสามารถ
4) ระบบยืน่ ขอมีสมดุ ประจาตัว
5) ระบบยื่นขอขนึ้ ทะเบยี นเปน็ ผู้ประเมิน
6) ระบบยืน่ ขอรบั รองหลักสตู รและคา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรมฝมี อื แรงงาน
7) ระบบยน่ื ขอประเมนิ เงนิ สมทบกองทุนพฒั นาฝมี อื แรงงาน
8) การใชง้ านระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Sarabun)
9) แอปพลิเคชัน “รวมช่าง” เพื่อให้บริการประชาชนในการค้นหารายชื่อช่างท่ีมีฝีมือดี
มีมาตรฐานที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติหรือผ่านการประเมินและรับรองความรู้
ความสามารถ โดยให้บริการจานวน 3 ช่าง ได้แก่ ช่างไฟฟ้า ให้บริการเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร จานวน
3,644 คน ช่างเครื่องปรับอากาศ จานวน 1,562 คน และช่างประปาและสุขภัณฑ์ จานวน 140 คน โดยมี
การให้บรกิ ารตัง้ แต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง กนั ยายนน 2564 ดงั น้ี (1) ช่างไฟฟา้ (2) ช่างเคร่ืองปรับอากาศ
และช่างประปาและสุขภณั ฑ์
นอกจากนี้ กรมพัฒนาฝีมือแรงงานสามารถออกเอกสารหลักฐานทางราชการผ่านระบบ
อเิ ล็กทรอนิกส์ โดยใช้เทคโนโลยีลายเซ็นดิจิทัล (Digital Signature) สาหรับออกเอกสารตามภารกิจของกรม
ประกอบด้วย การออกหนังสือรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมของสถานประกอบกิจการ
การออกวุฒิบัตรการฝึกอบรม การออกหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ การยกระดับระบบ
e-Testing ให้ครอบคลุมมาตรฐานฝีมือแรงงานทุกสาขา การส่งเสริมการใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
รวมถึงให้คาปรึกษาและตอบปัญหาการใช้งานระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้การบริการ
ประชาชนมีความคล่องตัว ประชาชนสามารถใชบ้ รกิ ารของกรมไดท้ กุ สถานที่ ทุกเวลา นอกจากนี้ ผู้บริหารและ
เจ้าหน้าที่ของกรมสามารถสืบค้นข้อมูลประกอบการวางแผน การบริหารงาน การตรวจสอบและติดตามผล
การปฏบิ ตั งิ าน โดยคานึงถงึ การให้บริการประชาชนได้อยา่ งมีประสิทธผิ ลและก่อเกิดประโยชนส์ งู สดุ

61

รายงานประจาปีและสถติ กิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

การบรู ณาการกับภาคีเครอื ข่าย
การบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตามแนวทางประชารัฐเป็น
นโยบายหลักของรัฐบาลและรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน ซ่ึงกรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้นามาเป็นแนวทาง
ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง โดยตระหนักว่าภาคีเครือข่ายมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนากาลัง
แรงงานของประเทศให้เป็นแรงงานที่มีทักษะฝีมือและผลิตภาพสูงรองรับการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีและ
นวตั กรรมในอนาคต โดยจาแนกตามรายละเอยี ด ดงั นี้

1. การพัฒนาฝีมือแรงงานด้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
เม่ือวันที่ 22 ตุลาคม 2563 ศาสตราจารย์ นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง

แรงงาน เป็นประธานพิธีลงนามความร่วมมือว่าด้วยการพัฒนาฝีมือแรงงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ระหว่าง
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จากัด พร้อมท้ังมอบวุฒิบัตรแก่ผู้ผ่าน
การฝกึ อบรมหลกั สตู รการตดิ ตงั้ ระบบส่งสัญญาณโทรคมนาคมในระบบ 4G และ 5G ณ หอ้ งประชุม กรุงเทพฯและ
ภูเก็ต ช้ัน 39 อาคาร จีทาวเวอร์ ถนนพระราม 9 กรุงเทพมหานคร การลงนามความร่วมมือดังกล่าว เพื่อพัฒนา
บุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะฝีมือท่ีสูงขึ้น ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สอดคล้อง
กับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน รวมท้ังแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานที่มีความรู้ ความสามารถและทักษะ
ในการปฏิบัติงานท้ังด้านปริมาณและคุณภาพเข้าสู่ตลาดแรงงานด้านดิจิทัล รองรับการขยายตัวของระบเศรษฐกิจ
ในอนาคต และรองรับการเขา้ สูย่ คุ ไทยแลนด์ 4.0

ผลการดาเนินงาน : ดาเนนิ การฝึก
ให้แกแ่ รงงาน จานวน 45 คน
ณ บรษิ ัท หวั เว่ย เทคโนโลยี
(ประเทศไทย) จากดั

62

รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564

2. การพัฒนาฝีมือแรงงานช่างตดิ ตงั้ กระจกรถยนต์และฟลิ ม์ กรองแสงรถยนต์
เมือ่ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2563 กรมพฒั นาฝมี อื แรงงานลงนามความรว่ มมอื กบั บรษิ ทั อดุ ร

กระจกรถยนต์ จากัด เพ่ือพัฒนาศักยภาพแรงงานให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะฝีมือสูงข้ึน ทันต่อ
การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี รวมทั้งสนองต่อนโยบายรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงานทั้งด้าน
ปริมาณและคุณภาพ โดยเป็นการจัดฝึกอบรมในหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทางาน สาขาช่างติดตั้งกระจก
รถยนต์ และสาขาชา่ งตดิ ฟิลม์ กรองแสงรถยนต์ในพื้นทจี่ ังหวดั นนทบุรแี ละจังหวัดอุดรธานี

ผลการดาเนนิ งาน : จดั ทาหลกั สูตร
ฝึกอบรมและฝกึ อบรมพร้อมท้ังออก
วุฒิบตั รร่วม โดยนารอ่ งฝึกอบรม
หลักสตู รยกระดับฝมี ือ สาขาการตดิ
ฟลิ ์มกรองแสงรถยนต์ มผี ผู้ ่านการฝกึ
จานวน 20 คน

3. การส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตแรงงานท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาด
ของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019

เม่ือวันท่ี 2 ตุลาคม 2563 ศาสตราจารย์ นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงแรงงาน เปน็ ประธานในพธิ ีลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมือโครงการพัฒนาทักษะและส่งเสริม
การประกอบอาชีพ ระหวา่ งกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (กพร.) บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม
(บสย.) ณ ห้องแมจิค 3 ชัน้ 2 โรงแรมมริ าเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร เพ่ือส่งเสริมให้ผู้ผ่าน
การฝกึ อบรมสามารถประกอบอาชีพอสิ ระได้และมโี อกาสเขา้ ถงึ สนิ เชอ่ื โดยมี บสย. เปน็ ผู้คา้ ประกัน

ผลการดาเนินงาน : ฝกึ อบรมให้กับกาลัง
แรงงานและที่สนใจ จานวน 58 คน

63

รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

4. ความร่วมมอื โครงการพัฒนาทักษะดิจทิ ัลเพอ่ื การจา้ งงาน
เมื่อวนั ท่ี 15 ธันวาคม 2563 กรมพฒั นาฝีมอื แรงานร่วมกับบริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย)

จากัด แถลงข่าวและเสวนาความร่วมมือโครงการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพ่ือการจ้างงาน ณ อาคาร ซี.อาร์.ซี
ออลซีซันส์เพลส ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โดยบริษัทฯ สนับสนุนเนื้อหาและ
วีดิโอการฝึกอบรมให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงานนาไปเผยแพร่ผ่านช่องทางการฝึกอบรมออนไลน์ท่ีเว็บไซต์
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน หัวข้อ : ฝึกทักษะออนไลน์ท่ีอยู่ทางอินเตอร์เน็ตhttp://eit.dsd.go.th/dsdtraining.php
จานวน 6 หลักสูตร ได้แก่1) การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word 2) การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel
3) การใช้งานโปรแกรม Microsoft PowerPoint 4) การใช้งานโปรแกรม Power BI 5) การใช้งานโปรแกรม
Power Platformและ 6) การใชง้ านโปรแกรม Digital Literacy

ผลการดาเนินงาน : มผี ู้สนใจเข้าเย่ียมชม
เนื้อหาหลักสูตร จานวน 2,622 ครั้ง

5. การพฒั นาทกั ษะฝมี อื แรงงานรว่ มกบั สานักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (ETDA)
กรมพฒั นาฝีมอื แรงงานแถลงข่าวความรว่ มมือกบั สานกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์

(สพธอ. หรือ ETDA) เมื่อวันท่ี 19 พฤศจิกายน 2563 เพื่อสร้างแรงงานให้มีความรู้ด้านพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Commerce เป็นการให้ความช่วยเหลือวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการรายย่อย
แรงงานนอกระบบ ผ้ถู กู เลิกจา้ ง วา่ งงาน ที่มคี วามสนใจต้องการทาธุรกิจหรือขายสินค้าผ่านระบบออนไลน์
ไดเ้ ข้าใจภาพรวมของกระบวนการทาอีคอมเมิร์ชตั้งแตต่ ้นนา้ ถึงปลายน้า

ผลการดาเนนิ งาน : ฝึกอบรมให้กับ
กล่มุ มัคคเุ ทศก์ รนุ่ 40 คน
ณ สานกั งานพฒั นาสานักงานพัฒนา
ธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (ETDA)

64

รายงานประจาปแี ละสถติ กิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

6. การพัฒนาทกั ษะแรงงานและทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงานสาขาชา่ งเครอื่ งปรับอากาศ
ตามท่ีได้รับการสนบั สนนุ เครอื่ งปรบั อากาศจากบริษทั มาเวล คอร์ปอเรชน่ั จากัด
เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2563 บริษัท มาเวลคอร์ปอเรช่ัน จากัด มอบเครื่องปรับอากาศให้กับ

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จานวน 90 ชุด มูลค่า 1,216,300 บาท เพื่อใช้พัฒนาทักษะแรงงานและทดสอบ
มาตรฐานฝมี อื แรงงานแหง่ ชาติ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศ โดยส่งมอบให้จังหวัด 9 จังหวัด ได้แก่ กระบ่ี
มกุ ดาหาร อุตรดิตถ์ พัทลุง สรุ าษฎร์ธานี ลพบรุ ี นครพนม แพร่ และปทมุ ธานี

7. พิธมี อบโลเ่ กยี รติคณุ ให้แก่เครอื ขา่ ยพฒั นาฝีมอื แรงงาน
เมื่อวันท่ี 15 มีนาคม 2564 นายธวัช เบญจาทิกุล อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็น

ประธานมอบโล่เกียรติคุณให้แก่เครือข่ายพัฒนาฝีมือแรงงาน จานวน 21 แห่ง ท่ีมีส่วนในการพัฒนาทักษะ
ฝีมือแรงงาน ผลิตกาลังแรงงานเข้าสู่ตลาดแรงงานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ณ ห้องประชุมปกรณ์
อังศสุ งิ ห์ ชนั้ 10 อาคารกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน

65

รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564

8. พฒั นาทกั ษะอาชีพด้านการเกษตรเพอื่ ช่วยเหลอื แรงงานในสถานการณ์ COVID-19
เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2564 นายธวัช เบญจาทิกุล
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ร่วมเป็นประธานเปิด
โครงการพัฒนาทักษะอาชีพด้านการเกษตร เพ่ือช่วยเหลือ
แรงงานในสถานการณ์ COVID-19 ปีที่ 2 (KUBOTA Agri
e-Learning) ตั้งเป้าผลิตนักขับรถเพ่ือการเกษตร จานวน
3,000 คน ป้อนอุตสาหกรรมเกษตร ณ ห้องประชุม 111
ทุเรียน อาคาร 1 บริษัทสยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จากัด
(สานักงานใหญ่) นิคมอุตสาหกรรมนวนคร อาเภอคลอง
หลวง จงั หวัดปทมุ ธานี

9. ความร่วมมือการพัฒนาฝีมอื แรงงานด้านช่างไฟฟ้าโครงการ 1 ตาบล 1 ช่างไฟฟา้
ผา่ นแอปพลิเคชนั Zoom Meeting

เม่ือวันท่ี 3 สิงหาคม 2564 นายธวัช เบญจาทิกุล
อธิบดีกรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน ร่วมลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลง
ความรว่ มมอื วา่ ดว้ ยการพัฒนาฝมี ือแรงงานด้านชา่ งไฟฟา้
โครงการ 1 ตาบล 1 ช่างไฟฟ้า ผ่านแอปพลิเคชัน
Zoom Meeting ระหวา่ ง 3 หน่วยงาน ได้แก่ การไฟฟ้า
ส่วนภูมิภาค กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และกรมส่งเสริม
การปกครองท้องถิ่น เพ่ือสร้างอาชีพ สร้างรายได้แก่
ประชาชน และเศรษฐกิจของประเทศ ณ ห้องประชุม
สมชาติ เลขาลาวัณย์ ชั้น 10 กรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน

66

รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

10. การส่งเสริมความรูเ้ รอื่ งการเงนิ การลงทุนสาหรบั แรงงานผ่านแอปพลเิ คชัน Zoom Meeting
เมื่อวันท่ี 2 กันยายน 2564 กรมพัฒนาฝีมือ

แรงงานร่วมกับสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรพั ย์ (ก.ล.ต.) ลงนามบนั ทกึ ความร่วมมอื
เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องการเงินการลงทุนสาหรับกลุ่ม
แรงงาน โดยเฉพาะแรงงานกล่มุ เปราะบาง ใหม้ ีความรู้ มี
ทักษะการบริหารจัดการเงิน และต่อยอดสู่การลงทุนได้
อยา่ งเหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพ

11. พฒั นาทกั ษะอาชีพช่างก่อสร้าง ชา่ งไฟฟ้า และพฒั นาแพลตฟอร์มคน้ หาชา่ งคณุ ภาพ
ผ่านแอปพลิเคชัน Zoom Meeting
เมอ่ื วันท่ี 15 กนั ยายน 2564 กรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน
ร่วมกับบริษัท เน็กซเตอร์ดิจิตอล จากัด ลงนามผ่าน
ระบบประชุมทางไกลบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
โครงการพฒั นาทักษะอาชีพช่างก่อสร้าง ช่างไฟฟ้า และ
พัฒนาแพลตฟอร์มค้นหาช่างคุณภาพ เพื่อส่งเสริม
การพัฒนาทักษะอาชีพ และเพมิ่ ชอ่ งทางในการหารายได้
สาหรับช่างคุณภาพท่ีผ่านการอบรมจากกรมพัฒนาฝีมือ
แรงงาน รวมทั้งเชือ่ มโยงแพลตฟอรม์ “รวมชา่ ง” ใหเ้ ชื่อมโยง
กับแพลตฟอร์ม “คิวช่าง” เพื่อรองรับการให้บริการ
ช่างฝีมือ ณ ห้องสตูดิโอ ชั้น 3 อาคารกรมพัฒนาฝีมือ
แรงงาน

67

รายงานประจาปแี ละสถิตกิ ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

12. การพัฒนาฝีมอื แรงงานด้านเทคโนโลยีการผลติ อตั โนมตั ิและห่นุ ยนต์
เมอื่ วนั ท่ี 22 กนั ยายน 2564 กรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน
ร่วมกับ บริษัท แอโร กรุ๊ป (1992) จากัด ลงนามบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานด้าน
เทคโนโลยีการผลิตอัตโนมัติและหุ่นยนต์ เพ่ือให้แรงงาน
มีความรู้ ความสามารถ และทักษะฝีมือสูงขึ้น รองรับ
การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และความต้องการของ
ตลาดแรงงาน รวมทงั้ แกไ้ ขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน
ณ ห้องประชุมปกรณ์ อังศุสิงห์ ช้ัน 10 กรมพัฒนาฝีมือ
แรงงาน

ประโยชนจ์ ากการบูรณาการร่วมกับเครอื ข่ายพฒั นาฝมี ือแรงงาน

1. ประโยชน์ตอ่ กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
1.1 การจดั ทาหลกั สูตรหรอื พฒั นาหลักสตู ร ใหท้ นั ต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
1.2 การพัฒนาวิทยากรของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานให้มีความรู้ ความสามารถให้ทันต่อการ

เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี เพ่อื นาความรไู้ ปขยายผลในการจดั ฝึกอบรม
1.3 การจัดทามาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
1.4 มีผลผลิตการฝึกเพ่ิมขึ้น และลดงบประมาณในการจัดฝึกอบรม โดยการสนับสนุนวัสดุ

อุปกรณ์ และงบประมาณการฝกึ จากหนว่ ยงานท่ลี งนาม และประชาสมั พันธ์ภารกิจของหน่วยงาน
1.5 สนบั สนนุ การดาเนินงานตามภารกจิ ของกรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน เช่น ร่วมสมทบเงินรางวัลใหแ้ ก่

ผู้ชนะการแข่งขันฝีมือแรงงานท้ังระดับชาติและนานาชาติ สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ เพ่ือซ่อมแซมบ้านเรือน
ของประชาชนทีป่ ระสบภยั ธรรมชาติ และการดาเนนิ งานตามนโยบายของกระทรวงแรงงาน

1.6 สร้างความเชอ่ื มนั่ และเอ้ือประโยชน์ต่อชุมชนในการจัดฝกึ อบรมเพอื่ สรา้ งสาธารณประโยชน์

68

รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2564

2. ประโยชนต์ อ่ หนว่ ยงานทีเ่ ปน็ เครอื ข่ายพัฒนาฝมี ือแรงงาน
2.1 มีการประชาสมั พนั ธภ์ ารกจิ หรอื ผลติ ภัณฑ์สินค้า และเทคโนโลยสี มัยใหม่
2.2 มีช่างในตลาดแรงงาน มีทักษะฝีมือแรงงานท่ีสูงขึ้น และเพียงพอ สาหรับการติดต้ัง

ผลติ ภณั ฑส์ มัยใหม่ โดยมีการจัดทาทาเนยี บผผู้ า่ นการฝกึ อบรม เพือ่ แกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนแรงงาน
2.3 ลดงบประมาณในการจัดฝึกอบรมโดยบูรณาการภารกิจร่วมกัน และใช้ทรัพยากร

ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยขอใช้สถานท่ีหน่วยงานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพ่ือใช้ในการจัดฝึกอบรม
ซึง่ ชว่ ยให้ประหยัดค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปฝกึ อบรมในสว่ นกลาง

2.4 ร่วมเป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติและเป็นศูนย์ฝึกอบรมตาม พ.ร.บ.
สง่ เสริมการพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2545

2.5 ส่งเสริมสถานประกอบกิจการจัดฝึกอบรมและได้รับสิทธิประโยชน์ตาม พ.ร.บ.บัญญัติ
สง่ เสริมการพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2545

2.6 เป็นทร่ี ู้จักของประชาชนในการสนับสนนุ ผลติ ภัณฑ์เพ่ือจัดฝึกอบรมเพ่ือสร้างสาธารณประโยชน์
ให้แก่ชุมชน เชน่ ทาสีวดั สรา้ งถังเก็บนา้ และซอ่ มแซมบ้านเรอื นของประชาชนท่ปี ระสบภยั ธรรมชาติ

3. ประโยชน์ต่อกาลงั แรงงานหรือประชาชน
3.1 ได้รับข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับความต้องการของตลาดแรงงานและแนวโน้มการจ้างงานของ

ภาคอตุ สาหกรรม
3.2 ได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือให้สูงข้ึน สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และ

ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
3.3 ได้รบั การสนบั สนนุ เบย้ี เลี้ยง
3.4 สรา้ งความเชื่อมน่ั หรอื แนะนาชอ่ งทางในการขอรบั สนิ เช่ือจากสถาบนั การเงนิ เพอื่ ประกอบอาชีพ
3.5 เพม่ิ โอกาสในการประกอบอาชีพ ได้รับคา่ จา้ งตามทกั ษะฝมี อื และมรี ายได้ทส่ี ูงขน้ึ
3.6 อาคารสถานที่ของชุมชนได้รับการบูรณะและสร้างส่ิงปลูกสร้างสาธารณประโยชน์ของชุมชน

หรือบ้านเรือนของประชาชนท่ปี ระสบภยั ธรรมชาติได้รับการซอ่ มแซม

69

รายงานประจาปีและสถิตกิ ารพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2564

ภาคผนวก

70


Click to View FlipBook Version