The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattanan.vannasuk, 2020-04-13 04:56:05

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี 2562 โรงเรียนโนนสุวรรณพิทยาคม 2562

SAR โนนสุวรรณพิทยาคม 2562



รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (บทสรปุ ผู้บริหาร)

ผู้จัดทำ : ชื่อ-สกุล ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา นายราเมศน์ โสมแสน โทร.๐๘๙-๒๘๐๒๙๖๘
ข้อมูลพืน้ ฐาน : โรงเรียนโนนสวุ รรณพิทยาคม ๑๘๓ หมู่ท่ี ๑ ตำบลโกรกแก้ว อำเภอโนนสวุ รรณ จังหวัดบุรีรมั ย์

โทร. ๐๔๔-๖๐๗๑๕๐ E-mail [email protected]
มจี ำนวนนักเรยี น ๗๔๖ คน ครู ๔๖ คน
จัดการศกึ ษาในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑-๖

----------------------------------

๑. ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ
โรงเรยี นโนนสุวรรณพทิ ยาคม จดั การเรียนการสอนระดบั มัธยมศึกษา มนี ักเรยี นระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษา

ปีท่ี ๑ ถงึ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ จำนวน ๗๔๖ คน ครูผู้สอน ๔๖ คน จดั ทำรายงานการประเมินคุณภาพของ
ตนเอง (SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ เสนอตอ่ หน่วยงานตน้ สังกัด และหน่วยงานอื่น ๆ ผลการประเมินตนเองใน
ภาพรวม อยใู่ นระดับ ดีเลิศ มผี ลการดำเนินงาน ดังต่อไปน้ี

โรงเรยี นกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาดา้ นคุณภาพผู้เรยี นจำนวน ๒ ดา้ น ไดแ้ ก่ ๑ ) ดา้ นผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นและ ๒) ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรียน ดา้ นผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนมุ่งเนน้ ใหน้ ักเรียน
มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสอ่ื สาร การคิดคำนวณ รวมท้งั การมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตาม
หลักสูตรสถานศกึ ษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ มีความสามารถในการสร้าง
นวตั กรรม การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ การสอ่ื สาร และการมคี วามรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน เจตคติท่ดี ีต่องานอาชพี
สำหรบั ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรยี นมุ่งเน้นให้ผู้เรยี นมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดตี ามท่ี
สถานศึกษากำหนด และมีสุขภาวะทางรา่ งกายและสงั คม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรบั
ที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย

ดา้ นคุณภาพผู้เรียน สถานศกึ ษามีการวิเคราะห์ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและได้กำหนดเป็นเปา้ หมาย
ทางการเรยี นโดยใช้ข้อมูลฐาน ๓ ปยี อ้ นหลงั เป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนใหพ้ ฒั นาสงู ขึ้น จัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนเน้นการปฏบิ ัติ เนน้ ทักษะในการอา่ น การเขียน และการคิดคำนวณ สง่ เสริมผ้เู รียนให้พัฒนาเต็ม
ศกั ยภาพ จัดแหลง่ เรียนร้ภู ายในให้เหมาะสม มสี ื่อด้านเทคโนโลยที ีท่ ันสมยั จดั กิจกรรมให้ผเู้ รียนมี สขุ ภาพกาย
สขุ ภาพจติ ดี มีความกลา้ แสดงออก และสามารถอยู่รว่ มกับผู้อนื่ อยา่ งมคี วามสุข เน้นทกั ษะการทางานร่วมกนั
ทำให้นกั เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คำนวณเป็นไปตามเกณฑ์ทโี่ รงเรียนกำหนด
ในแต่ระดับชน้ั จากการประเมินนักเรียนมีความรู้ ความสามารถในการอา่ นออก เขียนได้และคิดคำนวณเป็น
ตามวยั ความเหมาะสมของแต่ระดับชัน้ ส่งผลให้ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นอยู่ในระดับดีเลิศ ผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ เพมิ่ ขนึ้ ๒ วชิ า ดงั นี้



วิชาภาษาไทย เพ่ิมขึ้นร้อยละ ๓.๓๔ และวิชาภาษาอังกฤษ เพิม่ ขึ้นร้อยละ ๘.๘๔ และผลการทดสอบทาง
การศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ เพิ่มขึ้น ๔ วิชา ดังนี้
วชิ าภาษาไทย เพิ่มขนึ้ ร้อยละ ๒.๙๐ สงั คมศกึ ษา เพิ่มขนึ้ ร้อยละ ๘.๘๑ ภาษาองั กฤษ เพม่ิ ขึน้ ร้อยละ ๒.๒๓
และวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เพิ่มขน้ึ ร้อยละ ๐.๙๓ และผลการการแข่งขันงานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน ระดับชาติ
คร้งั ท่ี ๖๙ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ นักเรียนไดร้ ับเหรียญทอง ๖ รายการ เหรียญเงิน ๓ รายการ และเหรยี ญ
ทองแดง ๒ รายการ รวมถงึ การส่งเสรมิ สนับสนนุ ทักษะดา้ นกีฬา ดังนี้ ไดร้ บั รางวลั เหรียญทองแดง การ
แข่งขันมวยไทยสมัครเล่น ร่นุ นำ้ หนกั ไม่เกิน ๔๕ ก.ก. การแข่งขนั กีฬาเยาวชนแหง่ ชาติ รอบคัดเลือก ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนอื ได้รับรางวลั เหรียญเงิน การแข่งขนั กีฬานกั เรยี น-นกั ศึกษาแหง่ ชาติ จงั หวัดบรุ รี มั ย์ ได้รบั
รางวลั เหรียญทองแดง การแข่งขนั เปตองเดีย่ วหญงิ การแขง่ ขนั กีฬานักเรยี น-นักศึกษาแห่งชาติ ณ จงั หวดั
ชยั ภูมิ

ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ เพอ่ื ใหบ้ รรลุตามกระบวนการบริหารและการจดั การ
คุณภาพของสถานศึกษา โรงเรยี นโนนสุวรรณพิทยาคม การดำเนินการวิเคราะหส์ ภาพปัญหา ผลการจัด
การศึกษาท่ผี ่านมา โดยใชข้ อ้ มูลฐานในการกำหนดเปา้ หมายวิสยั ทศั นแ์ ละพนั ธกิจอย่างชดั เจน ในการ
ดำเนนิ การพฒั นาวชิ าการทีเ่ น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ น ตามหลักสูตรสถานศึกษาทกุ กลุ่มเป้าหมาย เชอ่ื มโยง
กับชีวติ จรงิ จดั ทำแผนพฒั นา คุณภาพการจดั การศกึ ษา ดำเนินงานพฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญ
ทางดา้ นวิชาชีพ ตามความตอ้ งการของครูและสถานศกึ ษา จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่เี อ้ือตอ่
การจัดการเรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสนบั สนุนการบริหารจดั การและการ
เรยี นรู้ทเี่ หมาะสมกับสภาพของโรงเรียนโนนสวุ รรณพิทยาคม โดยประเมนิ ภาพความสำเร็จ ดังน้ี โรงเรียนมี
เปา้ หมายวิสยั ทัศนแ์ ละพนั ธกิจท่โี รงเรียนกำหนดชดั เจน สอดคลอ้ งกบั บริบทของโรงเรยี น ความต้องการของ
ชุมชน ท้องถนิ่ วัตถุประสงคข์ องแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาลและของต้นสังกัด รวมทง้ั ทันต่อ
การเปลยี่ นแปลงของสงั คมมรี ะบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเปน็ ระบบ วางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั
การศกึ ษาโดยนำแผนไปปฏิบัติ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุง พฒั นางานอยา่ งต่อเนือ่ ง มีการ
บริหารอตั รากำลงั ทรัพยากรทางการศกึ ษา และระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน มีการนเิ ทศภายใน นำขอ้ มลู มา
ใชใ้ นการพฒั นาบุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ นในการวางแผน ปรบั ปรุง พัฒนาและรว่ มกันรบั ผิดชอบ
ต่อการจัดการศึกษา มีการบริหารจัดการเกยี่ วกับงานวิชาการ พัฒนาหลักสูตร กจิ กรรมเสริมหลกั สูตรท่เี นน้
คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้าน เชอื่ มโยงวถิ ชี วี ิตจรงิ และครอบคลมุ ทุกกลมุ่ เป้าหมาย รวมถงึ การจดั การเรียนการสอน
ของกลุม่ ท่เี รียนแบบควบรวมและกลุ่มเรียนรว่ มด้วย มีการส่งเสริมสนบั สนุนพฒั นาครูและบุคลากรตรงตาม
ความตอ้ งการและจัดใหม้ ีชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี มาใช้ในการพฒั นางานและการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น จัด
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรยี น และสภาพแวดลอ้ มทางสงั คมที่เอื้อต่อการจดั การ
เรียนรขู้ องผเู้ รยี นอย่างมีคณุ ภาพ มีความปลอดภยั จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ สนับสนนุ การบรหิ าร
จัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั สภาพของโรงเรียน จดั หา พฒั นาและบริการดา้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศ จัดใหม้ ีห้องปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอรเ์ พอ่ื ใชใ้ นการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรอู้ ย่าง
เหมาะสม



ด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ โดยการดำเนนิ งาน/โครงการ/
กิจกรรม อย่างหลากหลาย มุ่งสง่ เสริมใหค้ รูจัดการเรยี นการสอนเนน้ การปฏิบตั ิ (Active learning) ใหผ้ ู้เรยี น
ผ่านกระบวนการคดิ ปฏบิ ัตจิ รงิ เพอ่ื นำไปส่กู ารเรียนรู้ที่ลกึ ซึ้ง นกั เรียนสามารถสรา้ งองคค์ วามรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง
และคงทน ตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสตู รสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
พ.ศ.๒๕๕๑ (ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ให้นักเรยี นมีส่วนร่วม ครูรู้จักผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล ดำเนินการตรวจสอบ
และประเมนิ ผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และนำผลที่
ไดม้ าปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ ครมู ีแผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่สามารถนำไปใช้จดั กจิ กรรมไดจ้ รงิ ครใู ชส้ ื่อ และ
แหล่งเรียนรู้ มกี ารบรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชงิ บวก เพอ่ื ใหเ้ ดก็ รกั การเรยี นรแู้ ละเรยี นรู้รว่ มกนั อย่างมคี วามสขุ
ครูรว่ มแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละนำขอ้ มูลมาร่วมพัฒนาปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครผู ลิต
นวตั กรรม แผนการจัดการเรียนรู้ อกี ทง้ั ปรับโครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรยี นรู้ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้
สดั ส่วนคะแนนแตล่ ะหน่วย กำหนดคณุ ลักษณะอันพึงประสงคท์ ่ีสอดคลอ้ งกับหนว่ ยการเรียนรู้ สนับสนุนใหค้ รู
จดั การเรยี นการสอนทสี่ รา้ งโอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ จนสรุปความร้ไู ดด้ ้วยตนเอง
จัดการเรยี นการสอนท่เี น้นทักษะการคดิ เชน่ จัดการเรยี นรู้ดว้ ยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหนา้ ทใี่ หน้ ักเรียน
จัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานทต่ี ่าง ๆทง้ั ภายในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการ
สอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ มีการประเมนิ คุณภาพและประสิทธิภาพของส่อื การสอนท่ีใช้
ครทู กุ คนทำงานวิจยั ในชน้ั เรียน ภาคเรยี นละ ๑ เรอ่ื ง โดยมีประเดน็ ภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจดั การ
เรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ครูจัดการเรียนรู้ใหน้ ักเรียนผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ ให้
นักเรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวันได้ มีแผนการจัดการเรยี นรู้ และจดั กิจกรรมสำหรบั นักเรยี นที่
ตอ้ งการความชว่ ยเหลือเป็นพิเศษ ใหน้ ักเรียนได้ฝึกทักษะ ไดแ้ สดงความคิดเห็น ได้แสดงออก เป็นผสู้ ามารถ
สรปุ องค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้ ครใู ชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
แหลง่ เรียนรู้ รวมทง้ั นำภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ มาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ นักเรยี นไดแ้ สวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจาก
สอื่ ที่หลากหลาย ครมู ีการบริหารจัดการชนั้ เรยี นเชิงบวก เน้นการมีปฏสิ ัมพนั ธ์ ระหว่างเดก็ กบั ครู ครูกับเด็ก
เดก็ กบั เด็ก เด็กรักการเรยี นรู้ และสามารถอยู่ร่วมกนั ได้อย่างมคี วามสุข ดูแลนักเรยี นทกุ คนบนความแตกตา่ ง
ระหว่างบุคคลท้ังนกั เรยี นทเ่ี ก่ง ปานกลาง และอ่อน ตามแนวคิด No Child Left Behind “ไมม่ ีเด็กคนใด ถกู
ทอดทง้ิ ไวข้ ้างหลงั ” ครรู ว่ มกนั ออกแบบการวดั ผลประเมนิ ผลเพื่อตรวจสอบ และประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งมีข้ันตอน
ใช้เครอ่ื งมือ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลทเี่ หมาะสม พรอ้ มทัง้ นำผลไปใชพ้ ัฒนาการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ครูผู้สอน
รว่ มกันแลกเปล่ยี นความรู้และประสบการณ์ (PLC) เปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี และนำไปปรบั ปรุง /
พัฒนาการจดั การเรียนรู้ รวมถงึ ครูได้รับรางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) เหรียญทอง ระดับภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ คร้ังท่ี ๙ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ และเป็นตัวแทนเข้าประกวดในระดบั ชาติ จำนวน ๓
คน ไดแ้ ก่

๑) นางสาวกตัญชลี เอกวธุ รางวลั ชนะเลิศเหรียญทอง ครูผ้สู อนยอดเย่ยี ม สง่ เสริมการใช้นวตั กรรม
การจดั การเรียนรทู้ างไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื
การเรียนการสอน



๒) นางปทั มา ชนะสงคราม รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั ๑ เหรียญทอง ครูผสู้ อนยอดเยี่ยม ระดบั
มธั ยมศึกษาตอนปลาย บูรณาการ ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอื่ การเรียนการสอน

๓) วา่ ทีร่ ้อยตรณี ฐั ธนัน วรรณสุข รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ ๑ เหรียญทอง ครผู ้สู อนยอดเยีย่ ม
ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านบริหารจัดการ



คำนำ

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ฉบบั นี้ โรงเรียนโนนสุวรรณพทิ ยาคม ได้
จัดทำข้ึน ตามกฎกระทรวง วา่ ด้วยการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ ข้อ ๓ ทร่ี ะบุใหส้ ถานศึกษาแต่
ละแหง่ จดั ใหม้ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐาน การศกึ ษาของ
สถานศกึ ษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดบั และประเภทการศึกษา ท่ี รัฐมนตรีวา่ การ
กระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกำหนด พร้อมทงั้ จัดทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของ สถานศกึ ษาที่มงุ่
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ จัดใหม้ ีการประเมินผลและตรวจสอบ
คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ติดตามผลการดำเนนิ การเพ่ือพฒั นา สถานศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา และจดั ส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่หนว่ ยงานตน้ สงั กัดหรือหนว่ ยงานทกี่ ำกับ
ดูแลสถานศึกษาเปน็ ประจำทุกปี

เอกสารรายงานประจำปีของสถานศกึ ษาฉบบั นี้ ประกอบส่วนสำคัญ คอื บทสรุปของ ผบู้ ริหาร
สถานศกึ ษา สว่ นที่ ๑ ข้อมลู พ้ืนฐานของสถานศึกษา สว่ นที่ ๒ ผลการประเมินตามมาตรฐานการศกึ ษาของ
สถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ส่วนท่ี ๓ การปฏบิ ัติท่เี ปน็ เลิศ (Best Practices) และกจิ กรรม
ทีโ่ ดดเด่น ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก

โรงเรยี นโนนสวุ รรณพิทยาคม ขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนนิ งานและผเู้ กย่ี วข้องทกุ ฝา่ ยทง้ั ภายใน
และภายนอกโรงเรียนทม่ี สี ่วนรว่ มในการจัดทำเอกสารรายงานฉบับนี้ และหวงั ว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี
จะเปน็ ประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษาในปถี ัดไป และเปน็ ฐานข้อมูลในการกำหนด
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา ตลอดจนเพ่ือ
ประโยชนใ์ นการรองรบั การประเมินคุณภาพภายนอก จากสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพ
การศึกษา(องค์การมหาซน) ต่อไป

โรงเรียนโนนสุวรรณพิทยาคม
๑๐ เมษายน ๒๕๖๓



สารบญั

เรอ่ื ง หน้า

บทสรุปสำหรบั ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ก
คำนำ จ
สารบัญ ฉ
ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลพน้ื ฐาน ๑

๑. ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา ๓
๒. ข้อมลู ด้านการบริหาร ๔
๓. แนวทางการจัดการศึกษา ๕
๔. ข้อมูลครแู ละบคุ ลากร ๑๑
๕. จำนวนนักเรยี น
๖. คา่ เฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผ้เู รียน ๑๔
๒๐
แต่ละระดับช้นั จำแนกตามรายวชิ า และผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรียน
๗. รางวัลท่โี รงเรียนได้รบั (โรงเรยี น ผูบ้ รหิ าร ครู นักเรยี น) ๒๓
๘. ข้อมลู แหลง่ เรยี นรูภ้ ายใน/นอกโรงเรยี น จำนวนการเข้าใชห้ อ้ งสมดุ ของผเู้ รยี น ๒๔
๒๗
เฉลย่ี ตอ่ ปีการศึกษา ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ /ปราชญช์ าวบา้ น ๒๘
๙. ขอ้ มูลดา้ นทรัพยากร ๓๒
๑๐. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในปีทผ่ี ่านมา ๓๒
๑๑. การดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาตามนโยบายจากหนว่ ยงานต้นสงั กัดหรือภาครัฐ ๓๘
สว่ นท่ี ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ๔๐
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผเู้ รยี น ๔๒
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๔๕
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั ๕๐
สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม ๗๒
สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการช่วยเหลอื ๗๒
สว่ นที่ ๓ การปฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลศิ (Best Practices) ๗๔
ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ประกาศมาตรฐานการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานของสถานศึกษา
ภาคผนวก ข ประกาศคา่ เป้าหมายมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐาน



สารบัญ (ตอ่ )

เรอ่ื ง หนา้

ภาคผนวก ค คำสัง่ คณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาการประกนั คุณภาพการศึกษา ๗๖
ของสถานศกึ ษา
๘๑
ภาคผนวก ง ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ๘๓
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒
๘๙
ภาคผนวก จ รายงานผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๙๒
ภาคผนวก ฉ ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ผลการประเมินการอา่ น ๙๗

คิดวเิ คราะห์ และเขียน ผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
และผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
ภาคผนวก ช เกยี รติบัตร
ภาคผนวก ซ ภาพกจิ กรรม

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) ๖๔
ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๖๕
ผลการประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์และเขยี น ๖๕
ผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๖๖
ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ๕ ดา้ น ๖๖
เกียรติบัตรรางวัลความภาคภูมใิ จ ๖๙
บรรณานกุ รม ๗๐
ประกาศโรงเรียนโนนสุวรรณพทิ ยาคม เรือ่ ง กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานของโรงเรียนโนนสุวรรณพทิ ยาคมเพ่ือประกนั คุณภาพ ๗๑
ภายในสถานศกึ ษา
คำส่ังโรงเรยี นโนนสุวรรณพิทยาคม ที่ ๔๒๘/๒๕๖๑ เรอ่ื ง แตง่ ต้งั คณะกรรมการ
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา



สว่ นท่ี ๑

ขอ้ มลู พืน้ ฐาน

๑. ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา

โรงเรยี นโนนสวุ รรณพทิ ยาคม ตง้ั อยู่เลขที่ ๑๘๓ หมู่ท่ี ๑ ตำบลโกรกแกว้ อำเภอโนนสวุ รรณ จงั หวัด

บุรีรมั ย์ เป็นโรงเรยี นขนาดกลาง เปดิ สอนในระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ี

การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๒ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ประกาศจดั ตั้ง

ตามประกาศของกรมสามัญศึกษาเมื่อวนั ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๓๓ เปิดทำการสอนครงั้ แรก ในระดับชน้ั มัธยมศึกษาปี

ท่ี ๑ เมือ่ วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยกรมสามัญศึกษาไดแ้ ต่งต้ัง นายไสว คงนันทะ ผอู้ ำนวยการ

โรงเรียนนางรอง มาปฏิบัติหน้าทผี่ ้บู รหิ ารอกี หน้าทหี่ น่งึ โรงเรยี นโนนสุวรรณพิทยาคม มเี น้ือทีท่ ้ังหมดจำนวน ๔๖

ไร่ โดยได้รบั บรจิ าคจากบุคคลตอ่ ไปนี้

๑. นายสมบูรณ์ บุญทฆี ์ จำนวน ๒๕ ไร่

๒. นายเทียน คำสอน จำนวน ๑๖ ไร่

๓. นายลอย คำพิมูล จำนวน ๓ ไร่ ๓ งาน

๔. นายเบ้า มาศทอง จำนวน ๓ งาน

๕. นางทุย โพธิคาเทพ จำนวน ๒ งาน

อาคารเรยี นไดร้ ับบรจิ าคจากประชาชนในอำเภอโนนสุวรรณกอ่ ตง้ั อาคารเรียนชวั่ คราวจำนวน ๒

ห้องเรียน ปัจจบุ ันโรงเรยี นโนนสุวรรณพิทยาคมมีอาคารเรยี นแบบเบ็ดเสร็จ ก , ข และ ค อาคารเรยี น

ชั่วคราวแบบถอดประกอบได้จำนวน ๓ หลงั ห้องน้ำ – หอ้ งส้วม จำนวน ๒ หลงั ถังเกบ็ น้ำ คสล.ฝ ๓๓

จำนวน ๓ ชุด อาคารเรียนแบบ ๒๑๖ ล. ( ปรับปรุง–๒๙ ) จำนวน ๑ หลงั หอประชมุ แบบ ๑๐๐ /๒๗

จำนวน ๑ หลัง สนามบาสเกตบอล จำนวน ๒ สนาม บา้ นพกั ครู จำนวน ๓ หลัง บ้านพกั นักการภารโรง

จำนวน ๒ หลัง ถนนคอนกรีต จำนวน ๕ สาย

ทำเนยี บผบู้ รหิ ารโรงเรียนโนนสุวรรณพิทยาคม

พ.ศ.๒๕๓๓ กรมสามญั ศึกษาไดแ้ ต่งตั้ง นายพรี ะพงศ์ เจรญิ พนั ธวุ งศ์ มาดำรงตำแหน่งครใู หญ่
โรงเรียนโนนสวุ รรณพทิ ยาคม

พ.ศ.๒๕๓๖ นายพรี ะพงศ์ เจรญิ พนั ธุวงศ์ ได้รบั แต่งตง้ั ให้ดำรงตำแหนง่ ครูใหญ่โรงเรยี นโนนสวุ รรณ
พทิ ยาคม จนถงึ ปี ๒๕๓๖ กรมสามัญศึกษาไดม้ ีคำสงั่ แต่งตั้งให้ นางสาวสพุ รรณี ศิลากุล มาดำรงตำแหน่ง
อาจารย์ใหญโ่ รงเรียนโนนสวุ รรณพิทยาคม



พ.ศ.๒๕๓๙ กรมสามญั ศกึ ษาไดแ้ ต่งต้งั ให้ นายพนมยงค์ สระแก้ว อาจารยใ์ หญ่โรงเรียนเมอื งโพธช์ิ ัย
พิทยาคม มารักษาการในตำแหนง่ อาจารยใ์ หญโ่ รงเรยี นโนนสวุ รรณพิทยาคม และดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการ
โรงเรียนโนนสวุ รรณพิทยาคม ตง้ั แต่วันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๓๙

พ.ศ.๒๕๔๓ กรมสามญั ศึกษาได้มีคำสง่ั แตง่ ต้ังให้ นายชูชยั นิลสันเทียะ ผู้ช่วยผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น
พญาเยน็ วทิ ยา มาดำรงตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนโนนสวุ รรณพทิ ยาคม

พ.ศ.๒๕๔๔ กรมสามัญศกึ ษาได้มีคำส่งั แตง่ ตั้งให้ นายสรุ ิยา เผือกพันธ์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นปรางคท์ อง
พทิ ยาคม อำเภอคง จังหวัดนครราชสมี า มาดำรงผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นโนนสุวรรณพิทยาคม

พ.ศ.๒๕๔๖ กรมสามญั ศกึ ษาอนมุ ัติได้มีคำสั่งแตง่ ต้งั ให้ นายสำราญ สขุ เกษม ผู้อำนวยการโรงเรยี น
บา้ นบุวทิ ยาสรรค์ อำเภอประโคนชัย จงั หวดั บรุ ีรัมย์ มาดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนโนนสวุ รรณ
พทิ ยาคม ตง้ั แต่วันท่ี ๒๘ เมษายน ๒๕๔๖

พ.ศ.๒๕๕๔ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๒ ไดม้ ีคำส่ังแต่งตั้งให้ นายสมชาย
พันธุว์ รรณ์ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนถนนหักพิทยาคม อำเภอนางรอง จงั หวดั บุรีรมั ย์ มาดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการ
โรงเรียนโนนสุวรรณพิทยาคม ตัง้ แต่วนั ท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๕๔ จนถึง ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๐

พ.ศ.๒๕๖๐ สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั บรุ ีรมั ย์ ไดม้ ีคำส่ังแตง่ ต้ังให้ นายราเมศน์ โสมแสน
ผู้อำนวยการโรงเรยี นเหลืองพนาวิทยาคม อำเภอนางรอง จังหวดั บุรรี ัมย์ มาดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี น
โนนสวุ รรณพทิ ยาคม ตง้ั แต่วันท่ี ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ จนถึงปัจจุบนั

แผนผังแสดงท่ตี ้ังตำแหนง่ โรงเรยี นโนนสุวรรณพทิ ยาคม



๒. ข้อมูลดา้ นการบรหิ าร
๑) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ชือ่ -สกุล นายราเมศน์ โสมแสน โทรศพั ท์ ๐๘๙-๒๘๐๒๙๖๘

วุฒิการศกึ ษาสงู สุด กศ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหนง่ ทีโ่ รงเรียนนี้ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๖๐ จนถงึ
ปจั จบุ นั

๒) ระบบโครงสร้างการบริหาร โรงเรียนแบง่ โครงสร้างการบรหิ ารโรงเรียนออกเป็น ๔ กลมุ่ คือ
๒.๑ ชื่อ-สกลุ นางพยอม สุดตาชาติ วุฒิการศึกษาสงู สดุ วท.ม. (วิทยาศาสตรศ์ ึกษา)
โทรศัพท์ ๐๘๖-๖๕๒๕๘๓๘ รับผิดชอบกลุม่ (ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา)
หวั หน้ากล่มุ บริหารวชิ าการ
๒.๒ ชอ่ื -สกลุ นายอาทติ ย์ พรมมณี วฒุ กิ ารศกึ ษาสงู สุด ค.บ.(ภาษาไทย)
โทรศพั ท์ ๐๘๗-๙๕๖๔๘๒๙ รบั ผดิ ชอบกลมุ่ (ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา)
หัวหนา้ กลมุ่ บริหารงานท่วั ไป
๒.๓ ช่อื -สกลุ นายรณกฤต สิทธิศาสตร์ วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสดุ ค.บ.(สงั คมศกึ ษา)
โทรศพั ท์ ๐๙๑-๘๓๑๔๙๖๗ รับผิดชอบกลมุ่ (ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา)
หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล
๒.๔ ช่อื -สกลุ นางสาวละมุล สวา่ งเพาะ วุฒกิ ารศึกษาสูงสดุ ศศ.บ. (การจัดการท่วั ไป)
โทรศพั ท์ ๐๘๙-๘๔๖๗๙๖๕ รบั ผดิ ชอบกลุ่ม (ตามโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา)
หวั หน้ากลุ่มบรหิ ารงบประมาณ



๓. แนวทางการจดั การศกึ ษา

ปรัชญาการศกึ ษา
“ ปญั ญฺ า โลกสมฺ ิ ปชโฺ ชโต – ปญั ญาเป็นแสงสวา่ งในโลก ”

วสิ ยั ทัศน์
โรงเรียนโนนสุวรรณพิทยาคม เป็นผู้ใหบ้ ริการทางการศึกษาทแี่ ทจ้ รงิ เพือ่ พฒั นาผ้เู รียน ประพฤติดี มี

ความรู้ อยู่อย่างปกติสขุ ร้เู ทา่ ทันเทคโนโลยี และมชี วี ติ ท่พี อเพียง ตลอดจนครูและบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับ
การพัฒนาให้มีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑

พนั ธกิจ
๑. จัดกระบวนการเรยี นการสอนใหผ้ ู้เรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานสู่การเป็นพลเมืองโลก
๒. สง่ เสริมสนบั สนุนให้ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั การพฒั นาให้มคี วามรู้ความสามารถ

และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
๓. เพ่ิมประสิทธิภาพในการบรหิ ารจดั การโดยยดึ หลักธรรมภิบาล
๔. พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อความพร้อมทนั

ตอ่ การเปลยี่ นแปลง
๕. สร้างภาคเี ครือข่ายเพอ่ื มีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา

ค่านิยม

ค่านยิ มโรงเรียนโนนสวุ รรณพิทยาคม MAT Core Values

M = Morality มีศลี ธรรม คณุ ธรรม

A = Activeness ยำ้ ขยนั ตั้งใจ ทำงานเชงิ รุก

T = Team บกุ ด้วยทมี

เปา้ ประสงค์หลัก
๑. ผู้เรยี นมคี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานสกู่ ารเป็นพลเมืองโลก
๒. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีความรู้ ความสามารถ และทักษะตามมาตรฐานวชิ าชพี
๓. สถานศึกษามีความเข้มแข็งและบรหิ ารจดั การได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
๔. สถานศกึ ษามสี ่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยที นั สมัยมาใช้ในการจดั การศึกษา
๕. สถานศึกษาไดร้ บั ความสนับสนุนทรพั ยากร และไดร้ บั ความเชือ่ ถอื จากชมุ ชน



๔. ข้อมูลครแู ละบคุ ลากร

๔.๑ จำนวนบุคลากร

ตารางที่ ๑ แสดงจำนวนบคุ ลากร โรงเรยี นโนนสุวรรณพิทยาคม ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

ปีการศกึ ษา ผบู้ รหิ าร ขา้ ราชการ พนกั งาน ครูอัตราจ้าง ลกู จ้างประจำ เจา้ หน้าท่ี
ครู ราชการ ธรุ การ

๒๕๖๒ ๑ ๔๑ ๔ ๑๒ ๑

รวม ๕๐

แผนภมู ิที่ ๑ แสดงจำนวนรอ้ ยละของบุคลากร ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒
แสดงจำนวนร้อยละของบุคลำกร

ผูบ้ ริหาร ข้าราชการครู พนกั งานราชการ ครอู ตั ราจา้ ง ลูกจา้ งประจา เจา้ หนา้ ที่ธุรการ

4% 2% 2%
2%
8%

82%



๔.๒ จำนวนบคุ ลากร จำแนกตามเพศ

ตารางท่ี ๒ แสดงจำนวนบุคลากรจำแนกตามเพศ โรงเรียนโนนสวุ รรณพทิ ยาคม ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

บคุ ลากร เพศชาย เพศหญงิ รวม

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ๑ -๑

รองผู้อำนวยการโรงเรียน - -๐

ข้าราชการครู ๑๒ ๒๙ ๔๑

พนกั งานราชการ ๒ ๒๔

ลกู จ้างประจำ ๒ -๒

ครอู ัตราจา้ ง - ๑๑

เจ้าหนา้ ท่ธี ุรการ - ๑๑

รวม ๑๗ ๓๓ ๕๐

แผนภมู ิที่ ๒ แสดงจำนวนบคุ ลากรจำแนกตามเพศ โรงเรียนโนนสวุ รรณพิทยาคม ปีการศึกษา ๒๕๖๒

เพศชำย
34%

เพศหญิง
66%

๔.๓ จำนวนบุคลากร จำแนกวุฒิการศกึ ษา ๗

ตารางท่ี ๓ แสดงจำนวนวุฒิการศกึ ษาของบุคลากร ปีการศึกษา ๒๕๖๒ รอ้ ยละ
๒.๐๐
วุฒิการศกึ ษา จำนวน (คน) ๘๐.๐๐
๑๘.๐๐
ตำ่ กว่าปรญิ ญาตรี ๑

ปริญญาตรี ๔๐ ๑๐๐

ปรญิ ญาโท ๙

ปรญิ ญาเอก ๐

รวม ๕๐

แผนภมู ิท่ี ๓ แสดงจำนวนร้อยละวฒุ ิการศกึ ษาของบุคลากร ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ๐ ต่ากวา่ ปริญญาตรี,
๑๘.๐๐ ๒.๐๐

ปริญญาตรี,
๘๐.๐๐

ตา่ กวา่ ปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก



๔.๔ จำนวนบคุ ลากร จำแนกตามตำแหนง่ และวิทยฐานะ

ตารางที่ ๔ แสดงจำนวนบุคลากรจำแนกตามตำแหนง่ และวิทยฐานะ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

วุฒกิ ารศกึ ษา จำนวน (คน) รอ้ ยละ

ผอู้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ ๑ ๒.๐๐

ครชู ำนาญการพเิ ศษ ๙ ๑๘.๐๐

ครูชำนาญการ ๘ ๑๖.๐๐

ครู ๑๗ ๓๔.๐๐

ครูผ้ชู ว่ ย ๗ ๑๔.๐

พนักงานราชการ ๔ ๘.๐๐

ลูกจา้ งประจำ ๒ ๔.๐๐

ครอู ตั ราจา้ ง ๑ ๒.๐๐

เจา้ หนา้ ทธ่ี รุ การ ๑ ๒.๐๐

รวม ๕๐ ๑๐๐

แผนภูมิที่ ๔ แสดงจำนวนร้อยละบคุ ลากรจำแนกตามตำแหน่งและวิทยฐานะ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

๔๐.๐๐ ๓๔.๐๐

๓๕.๐๐

๓๐.๐๐

๒๕.๐๐ ๑๘.๐๐ ๑๖.๐๐ ๑๔.๐๐
๒๐.๐๐
๑๕.๐๐ ๘.๐๐
๔.๐๐ ๒.๐๐ ๒.๐๐
๑๐.๐๐

๕.๐๐ ๒.๐๐

๐.๐๐



๔.๕ จำนวนบคุ ลากร จำแนกตามกล่มุ สาระการเรยี นรู้

ตารางท่ี ๕ แสดงจำนวนบุคลากร จำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

กลุม่ สาระการเรยี นร/ู้ สาขาวิชาเอก จำนวน (คน) รอ้ ยละ

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ๔ ๘.๕๑

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๗ ๑๔.๘๙

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๐ ๒๑.๒๗

กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๗ ๑๔.๘๙

กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ๖.๓๘

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ๓ ๖.๓๘

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ๕ ๑๐.๖๓

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ๖ ๑๒.๗๖

แนะแนว ๑ ๒.๑๒

บรรณารักษ์ ๑ ๒.๑๒

รวม ๔๗ ๑๐๐

แผนภมู ิที่ ๕ แสดงจำนวนร้อยละของบุคลากร จำแนกตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

๒๕.๐๐ ๒๑.๒๗

๒๐.๐๐

๑๕.๐๐ ๑๔.๘๙ ๑๔.๘๙
๖.๓๘
๑๐.๐๐ ๘.๕๑ ๑๒.๗๖
๑๐.๖๓

๖.๓๘

๕.๐๐ ๒.๑๒ ๒.๑๒

๐.๐๐

๑๐

๔.๖ จำนวนชว่ั โมงในการสอนของครูเฉลี่ยต่อคนต่อสัปดาห์

ตารางที่ ๖ จำนวนชวั่ โมงในการสอนของครเู ฉลี่ยต่อคนต่อสัปดาห์ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒

สาขาวิชา จำนวนคน ภาระงานสอนเฉลยี่ ของครู ๑ คน
ในแตล่ ะสาขาวิชา (ชวั่ โมง/สัปดาห์)

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๔ ๒๓.๕๐

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๗ ๒๒.๗๑

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๐ ๒๒.๒๐

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘ ๒๐.๘๕

กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๓ ๒๒.๖๖

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ๓ ๒๑.๖๖

กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ๕ ๒๑.๘๐

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ๖ ๒๒.๐๐

แนะแนว ๑ ๒๓.๐๐

รวม/เฉลีย่ ๔๗ ๒๒.๒๖

แผนภมู ิท่ี ๖ จำนวนช่วั โมงในการสอนของครูเฉลยี่ ตอ่ คนต่อสปั ดาห์ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒

๒๔.๐๐ ๒๓.๕๐ ๒๒.๗๑ ๒๒.๖๖ ๒๓.๐๐
๒๓.๕๐

๒๓.๐๐ ๒๒.๒๖
๒๒.๕๐ ๒๒.๒๐
๒๑.๖๖ ๒๑.๘๐ ๒๒.๐๐
๒๒.๐๐

๒๑.๕๐ ๒๐.๘๕
๒๑.๐๐

๒๐.๕๐

๒๐.๐๐

๑๙.๕๐

๑๑

๕. จำนวนนกั เรยี น (ณ วนั ท่ี ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒)

๑) จำนวนนกั เรียนในโรงเรียนทง้ั ส้นิ ๗๔๖ คน จำแนกตามระดับช้ันทีเ่ ปดิ สอน

ตารางที่ ๗ จำนวนนักเรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒

ช้ันเรียน จำนวนหอ้ งเรยี น จำนวนนักเรียน รวม
ชาย หญงิ ๑๕๔
๑๖๒
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๔ ๘๖ ๖๘ ๑๗๑
๔๘๗
มธั ยมศึกษาทีท่ ่ี ๒ ๔ ๗๖ ๘๖ ๙๒
๙๓
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๔ ๗๓ ๙๘ ๗๔
๒๕๙
รวมมัธยมศึกษาตอนตน้ ๑๒ ๒๓๕ ๒๕๒ ๗๔๖

มัธยมศึกษาปที ี่ ๔ ๓ ๒๓ ๖๙

มัธยมศกึ ษาทท่ี ่ี ๕ ๓ ๓๖ ๕๗

มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ ๓ ๒๒ ๕๒

รวมมธั ยมศึกษาตอนปลาย ๙ ๘๑ ๑๗๘

รวมท้ังหมด ๒๑ ๓๑๖ ๔๓๐

แผนภูมทิ ี่ ๗ แสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๒

๑๘๐ ๑๗๑
๑๖๒

๑๖๐ ๑๕๔

๑๔๐

๑๒๐ ๘๖ ๙๘ ๙๒ ๙๓ ๗๔
๑๐๐ ๘๖ ๗๖ ๗๓ ๖๙ ๕๒
๘๐ ๖๘ ๕๗
๖๐ ๒๓ ๓๖ ๒๒
๔๐
๒๐


ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

ชาย หญิง รวม

๑๒

๒) จำนวนผู้เรยี นในแต่ละระดับชน้ั เรียนท่ีผ่าน/ไม่ผา่ น การประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ น
การเขยี น การคิดคำนวณ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ทักษะตามหลักสูตร มสี ุขภาพตามเกณฑ์

ตารางที่ ๘ แสดงจำนวน/ร้อยละของนักเรยี นในการประเมนิ ผลคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒

จำนวน จำนวน/ร้อยละของนกั เรยี นตามระดับคุณภาพ
นกั เรียน
ระดบั ชั้น ท้ังหมด ดเี ยยี่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน

มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๑๖๘ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ๑๔๐
มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ๑๑๑ ๑๐๔ ๖๑.๙๐ ๕๘ ๓๔.๕๒ ๒ ๑.๑๙ ๔ ๒.๓๘
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๗๙
มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ๘๓ ๗๔ ๕๒.๘๖ ๕๕ ๓๙.๒๙ ๓ ๒.๑๔ ๘ ๕.๗๑
มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ ๗๑
รวม/เฉลย่ี ร้อยละ ๖๕๒ ๙๙ ๘๙.๑๙ ๘ ๗.๒๑ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๓.๖๐

๗๓ ๙๒.๔๑ ๒ ๒.๕๓ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๕.๐๖

๘๒ ๙๘.๘๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑.๒๐

๗๐ ๙๘.๕๙ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑.๔๑ ๐ ๐.๐๐

๕๐๒ ๗๖.๙๙ ๑๒๓ ๑๘.๘๗ ๖ ๐.๙๒ ๒๑ ๓.๒๒

แผนภมู ิท่ี ๘ แสดงจำนวน/รอ้ ยละของนักเรยี นในการประเมนิ ผลคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนท่ีมีผลกำรประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
ม.๑ - ม.๖ จำแนกตำมระดบั คุณภำพ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒

120.00 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ีย
52.86 89.19 92.41 98.80 98.59 76.99
100.00 ๓๙.๒๙ ๗.๒๑ ๒.๕๓ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๘.๘๗
2.14 0.00 0.00 0.00 1.41 0.92
80.00 5.71 3.60 5.06 1.20 0.00 3.22

60.00

40.00

20.00

0.00 ม.1
ดีเยีย่ ม 61.90
ดี ๓๔.๕๒
ผ่าน 1.19
ไม่ผ่าน 2.38

๑๓

ตารางที่ ๙ แสดงจำนวน/รอ้ ยละของนกั เรียนในการประเมนิ ผลผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน

จำนวน จำนวน/รอ้ ยละของนักเรยี นตำมระดับคุณภำพ

ระดับช้นั นักเรยี น ดีเยี่ยม ดี ผ่ำน ไมผ่ ่ำน

มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ทง้ั หมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒
มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑๖๘ ๘๓ ๔๙.๔๐ ๘๐ ๔๗.๖๒ ๒ ๑.๑๙ ๓ ๑.๗๙
มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔
มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕ ๑๔๐ ๔๕ ๓๒.๑๔ ๘๔ ๖๐.๐๐ ๓ ๒.๑๔ ๘ ๕.๗๑
มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖
รวม/เฉลีย่ ร้อยละ ๑๑๑ ๙๐ ๘๑.๐๘ ๑๗ ๑๕.๓๒ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๓.๖๐

๗๙ ๕๑ ๖๔.๕๖ ๒๔ ๓๐.๓๘ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๕.๐๖

๘๓ ๗๑ ๘๕.๕๔ ๑๑ ๑๓.๒๕ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑.๒๐

๗๑ ๔๐ ๕๖.๓๔ ๓๑ ๔๓.๖๖ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐

๖๕๒ ๓๘๐ ๕๘.๒๘ ๒๔๗ ๓๗.๘๘ ๕ ๐.๗๗ ๒๐ ๓.๐๗

แผนภูมิที่ ๙ แสดงจำนวน/รอ้ ยละของนักเรยี นในการประเมนิ ผลผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขยี น

ร้อยละของจำนวนนกั เรียนทมี่ ผี ลกำรประเมินควำมสำมำรถในกำรอำ่ นคิด
วิเครำะห์ และเขียน ม.๑ - ม.๖ จำแนกตำมระดบั คุณภำพ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒

๙๐.๐๐
๘๐.๐๐
๗๐.๐๐
๖๐.๐๐
๕๐.๐๐
๔๐.๐๐
๓๐.๐๐
๒๐.๐๐
๑๐.๐๐

๐.๐๐ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ีย
ดเี ย่ยี ม ๔๙.๔๐ ๓๒.๑๔ ๘๑.๐๘ ๖๔.๕๖ ๘๕.๕๔ ๕๖.๓๔ ๕๘.๒๘
ดี ๔๗.๖๒ ๖๐.๐๐ ๑๕.๓๒ ๓๐.๓๘ ๑๓.๒๕ ๔๓.๖๖ ๓๗.๘๘
ผ่าน ๑.๑๙ ๒.๑๔ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๗๗
ไมผ่ ่าน ๑.๗๙ ๕.๗๑ ๓.๖๐ ๕.๐๖ ๑.๒๐ ๐.๐๐ ๓.๐๗

๑๔

๖. ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ของผู้เรยี นแต่ละระดับช้นั
จำแนกตามรายวิชา และผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี น

๖.๑ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๒
แผนภมู ิที่ ๑๐ แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓

๖๐.๐๐ ๕๔.๑๖ ๕๕.๒๕ ๕๕.๙๑ ๕๕.๑๔

๕๐.๐๐

๔๐.๐๐ ๒๙.๔๒ ๓๑.๖๙ ๓๒.๙๘ ๓๓.๒๕ ๒๙.๐๙ ๓๐.๑๒ ๓๐.๒๒ ๓๐.๐๗

๓๐.๐๐ ภาษาองั กฤษ ๒๓.๔๘ ๒๕.๙๑ ๒๖.๙๘ ๒๖.๗๓ วทิ ยาศาสตร์
๒๙.๔๒ ๒๙.๐๙
๒๐.๐๐ ๓๑.๖๙ คณิตศาสตร์ ๓๐.๑๒
๓๒.๙๘ ๒๓.๔๘ ๓๐.๒๒
๑๐.๐๐ ๓๓.๒๕ ๒๕.๙๑ ๓๐.๐๗
๒๖.๙๘
๐.๐๐ ภาษาไทย ๒๖.๗๓

ค่าเฉลย่ี ระดบั โรงเรยี น ๕๔.๑๖

คา่ เฉลยี่ ระดบั สพม.๓๒ ๕๕.๒๕

คา่ เฉลีย่ สังกัด สพฐ. ๕๕.๙๑

ค่าเฉล่ียระดบั ประเทศ ๕๕.๑๔

แผนภมู ิท่ี ๑๑ แสดงผลการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑–๒๕๖๒

๖๐.๐๐ ๕๒.๔๑ ๕๔.๑๖ ๒๕.๗๔ ๒๓.๔๘ ๓๕.๑๐ ๒๗.๐๓ ๒๙.๔๒
๕๐.๐๐ ๒๙.๐๙
๔๐.๐๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
๓๐.๐๐ ๕๒.๔๑ ๒๕.๗๔ วทิ ยาศาตร์ ๒๗.๐๓
๒๐.๐๐ ๕๔.๑๖ ๒๓.๔๘ ๓๕.๑๐ ๒๙.๔๒
๑๐.๐๐ ๒๙.๐๙
๐.๐๐

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

๑๕

แผนภมู ิที่ ๑๒ แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖

50 ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
45 40.69 36.07 24.20 19.28 29.04
40 40.81 34.77 25.38 21.46 27.81
35 43.02 36.10 28.79 25.62 29.40
30 42.21 35.07 29.20 25.41 29.20
25
20
15
10
5
0

คา่ เฉลีย่ ระดับโรงเรยี น
คา่ เฉลย่ี ระดับ สพม.32
ค่าเฉล่ียสังกดั สพฐ.
คา่ ลย่ี ระดับประเทศ

แผนภูมิท่ี ๑๓ แสดงผลการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑–๒๕๖๒

๔๕.๐๐ ๓๙.๕๔ ๔๐.๖๙
๔๐.๐๐
๓๕.๐๐ ๓๖.๐๗
๓๐.๐๐ ๓๓.๓๔
๒๕.๐๐
๒๐.๐๐ ๒๘.๗๗ ๒๙.๐๔

๒๓.๖๗ ๒๔.๒๐ ๒๔.๐๓
๑๙.๒๘

๑๕.๐๐

๑๐.๐๐

๕.๐๐

๐.๐๐
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาตร์ สงั คมศึกษา ภาษาอังกฤษ

ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ๓๙.๕๔ ๓๓.๓๔ ๒๓.๖๗ ๒๔.๐๓ ๒๘.๗๗

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ๔๐.๖๙ ๓๖.๐๗ ๒๔.๒๐ ๑๙.๒๘ ๒๙.๐๔

ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒

๑๖

๖.๒ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี น

ตารางท่ี ๑๐ แสดงค่าเฉล่ียผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของทุกกล่มุ สาระฯ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒
ชัน้ ม.๑–ม.๖

ท่ี กลุ่มสาระ จำนวน จำนวนนักเรียนทีไ่ ดร้ ะดบั ผลการเรียนทุกกลมุ่ สาระ/ภาคเรียนที่ ๑ นร.ผา่ น
๑ ภาษาไทย ๗๕๙ ระดบั ๓

๐ ๑ ๑.๕๐ ๒ ๒.๕๐ ๓ ๓.๕๐ ๔ ร,มส รอ้ ยละ

๙๔ ๖๘ ๑๑๓ ๑๓๒ ๑๓๐ ๗๙ ๑๐๔ 35 ๒.๔๒ 44.27

๒ คณิตศาสตร์ ๙๔๖ ๓ ๑๑๖ ๑๓๘ ๑๙๙ ๑๔๘ ๑๒๒ ๖๓ ๑๑๑ ๔๖ ๒.๒๔ 33.73

๓ วทิ ยาศาสตรฯ์ ๑๔๘๒ ๓๘ ๑๑๘ ๑๖๖ ๒๔๒ ๒๓๙ ๒๒๖ ๑๔๐ ๒๕๗ ๕๖ ๒.๔๖ 43.65

๔ สงั คมศึกษาฯ ๒๐๕๖ ๑๒ ๓๐ ๕๒ ๑๗๓ ๒๑๐ ๓๕๗ ๓๐๗ ๗๙๒ ๑๒๓ ๓.๐๖ 74.22

๕ สุขศกึ ษาฯ ๑๓๙๙ ๔ ๒ ๕ ๑ ๑๗ ๗๒ ๒๖๖ ๙๙๘ ๓๔ ๓.๗๑ 98.34

๖ ศิลปะ ๗๓๔ ๑ ๐ ๐ ๓ ๔ ๓๓ ๑๑๒ ๕๔๐ ๔๑ ๓.๖๓ 98.83

๗ การงานอาชพี ๑๐๐๗ ๕ ๑๑ ๒๑ ๔๒ ๕๖ ๑๓๖ ๒๒๐ ๕๐๓ ๑๓ ๓.๔๓ 86.11

๘ ภาษาต่างประเทศ ๑๙๑๑ ๑๔ ๔๕ ๗๕ ๒๐๑ ๒๗๗ ๒๘๖ ๓๑๙ ๖๙๔ 0 3.14 68.69

รวมทัง้ หมด ๑๐๒๙๔ ๘๑ ๔๑๖ ๕๒๕ ๙๗๔ ๑๐๘๓ ๑๓๖๒ ๑๕๐๖ ๓๙๙๙ ๓๔๘ 3.01 68.48

แผนภมู ทิ ่ี ๑๔ แสดงคา่ เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของทุกกลุ่มสาระฯ ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

4.00 3.71 3.63
3.43
3.50 3.06 3.14 3.01

3.00

2.50 2.42 2.24 2.46

2.00

1.50

1.00

0.50

0.00

๑๗

ตารางท่ี ๑๑ แสดงคา่ ร้อยละของนักเรยี นทมี่ ีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิท์ างการเรียนแตล่ ะรายวชิ าในระดบั ๓ ข้นึ ไป

ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ช้ัน ม.๑ – ม.๖

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ คา่ เฉลย่ี
รวม

ภาษาไทย ๓๔.๒๓ ๔๓.๑๕ ๓๕.๑๑ ๓๙.๕๓ ๕๑.๖๗ ๖๑.๙๖ ๔๔.๒๘

คณิตศาสตร์ ๒๓.๖๘ ๑๙.๕๘ ๖๐.๐๐ ๒๕.๕๘ ๑๔.๘๔ ๕๘.๗๐ ๓๓.๗๓

วิทยาศาสตร์ฯ ๔๘.๓๔ ๔๒.๐๙ ๖๗.๓๒ ๔๓.๙๐ ๑๒.๔๓ ๔๗.๘๓ ๔๓.๖๕

สงั คมศึกษาฯ ๖๔.๙๑ ๙๓.๕๑ ๗๓.๔๒ ๓๘.๖๔ ๗๔.๘๓ ๑๐๐.๐๐ ๗๔.๒๒

สขุ ศึกษาฯ ๙๕.๐๗ ๙๗.๓๑ ๙๘.๒๑ ๑๐๐.๐๐ ๙๙.๔๓ ๑๐๐.๐๐ 98.34

ศลิ ปะ ๑๐๐.๐๐ ๙๙.๓๓ ๙๖.๒๔ ๙๗.๔๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ 98.83

การงานอาชีพ ๖๙.๗๔ ๘๗.๗๖ ๘๓.๑๔ ๙๙.๑๙ ๙๙.๑๑ ๗๗.๗๑ 86.11

ภาษาตา่ งประเทศ ๖๘.๘๕ ๕๙.๑๔ ๗๖.๔๑ ๖๙.๖๑ ๕๖.๕๒ ๘๑.๖๒ 68.69

เฉล่ีย 63.10 67.73 73.73 64.23 63.60 78.48 68.48

แผนภูมทิ ี่ ๑๕ แสดงค่าร้อยละของนกั เรยี นท่ีมเี กรดเฉล่ียผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนแต่ละรายวชิ าในระดบั ๓ ขน้ึ ไป
ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ชน้ั ม.๑ – ม.๖

๑๒๐.๐๐

๑๐๐.๐๐ 98.34 98.83
๘๐.๐๐
86.11

๗๔.๒๒ 68.69 68.48

๖๐.๐๐

๔๔.๒๘ ๔๓.๖๕

๔๐.๐๐ ๓๓.๗๓

๒๐.๐๐

๐.๐๐

๑๘

ตารางที่ ๑๒ คา่ เฉลยี่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของทุกกลมุ่ สาระฯ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ชัน้ ม.๑–ม.๖

จำนวนนกั เรียนทไ่ี ด้ระดบั ผลการเรยี นทกุ กลุ่มสาระ/ภาคเรียนที่ ๒ นร.ผา่ น

ที่ กลุม่ สาระ จำนวน ๐ ๑ ๑.๕๐ ๒ ๒.๕๐ ๓ ๓.๕๐ ๔ ร, มส ระดับ ๓
๑ ภาษาไทย รอ้ ยละ
๗๘๙
๑๔ ๗๑ ๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๖ ๑๓๙ ๘๖ ๑๐๐ ๔๐ ๒.๓๗ ๔๓.๐๖

๒ คณติ ศาสตร์ ๑๐๙๖ ๑๕ ๗๑ ๑๗๕ ๒๓๐ ๑๙๖ ๑๒๓ ๘๒ ๑๐๗ ๙๗ ๒.๑๖ ๓๒.๗๓

๓ วิทยาศาสตร์ฯ ๑๔๘๔ ๒๗ ๘๖ ๑๒๕ ๒๒๘ ๒๔๗ ๒๗๑ ๒๐๗ ๑๗๙ ๑๑๔ ๒.๔๓ ๔๙.๕๑

๔ สังคมศึกษาฯ ๑๗๔๐ ๒๓ ๗๕ ๖๗ ๑๓๓ ๑๖๘ ๒๕๑ ๒๒๒ ๗๒๕ ๗๖ ๓.๐๔ ๗๖.๙๘

๕ สุขศึกษาฯ ๑๓๔๗ ๐ ๐ ๐ ๒ ๓๙ ๑๔๘ ๒๕๒ ๘๔๖ ๖๐ ๓.๕๗ ๙๖.๙๑

๖ ศลิ ปะ ๗๕๕ ๒ ๓ ๑๒ ๘ ๑๕ ๘๕ ๑๖๘ ๓๘๓ ๗๙ ๓.๒๔ ๙๕.๑๕

๗ การงานอาชพี ๘๖๕ ๔ ๓๕ ๓๘ ๓๕ ๔๑ ๗๔ ๙๓ ๕๑๘ ๒๗ ๓.๓๓ ๘๑.๗๕

๘ ภาษาตา่ งประเทศ ๑๗๖๗ ๑๖ ๗๘ ๑๓๒ ๑๙๗ ๒๓๓ ๒๗๕ ๒๒๙ ๖๐๗ 0 3.00 ๖๖.๘๙

รวมท้งั หมด ๙๘๔๓ ๑๐๑ ๔๑๙ ๖๖๐ ๙๔๕ ๑๐๕๕ ๑๓๖๖ ๑๓๓๙ ๓๔๖๕ ๔๙๓ 2.89 67.87

แผนภมู ิท่ี ๑๖ ค่าเฉลยี่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของทกุ กลุ่มสาระฯ ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ชนั้ ม.๑–ม.๖

๑๒๐.๐๐

๑๐๐.๐๐ ๙๖.๙๑ ๙๕.๑๕
๘๐.๐๐
๗๖.๙๘ ๘๑.๗๕

๖๖.๘๙ 67.87

๖๐.๐๐ ๔๓.๐๖ ๔๙.๕๑
๔๐.๐๐
๓๒.๗๓

๒๐.๐๐

๐.๐๐

๑๙

ตารางท่ี ๑๓ แสดงคา่ รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีมเี กรดเฉล่ียผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นแต่ละรายวชิ าในระดับ ๓ ข้ึนไป

ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ชัน้ ม.๑ – ม.๖

กลมุ่ สำระ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ คำ่ เฉลี่ย
กำรเรียนรู้ รวม

ภาษาไทย ๔๒.๖๙ ๔๑.๑๘ ๕๑.๑๘ ๔๖.๔๙ ๔๓.๑๒ ๓๓.๗๐ ๔๓.๐๖

คณิตศาสตร์ ๓๕.๓๓ ๓๐.๒๓ ๖๘.๐๗ ๑๔.๖๓ ๒๓.๘๗ ๒๔.๒๖ ๓๒.๗๓

วทิ ยาศาสตร์ ฯ ๔๗.๖๐ ๔๔.๔๙ ๔๘.๐๓ ๕๗.๘๕ ๓๖.๗๙ ๖๒.๓๒ ๔๙.๕๑

สังคมศึกษา ฯ ๖๖.๕๒ ๗๑.๘๔ ๖๙.๒๓ ๖๙.๖๑ ๘๔.๖๖ ๑๐๐.๐๐ ๗๖.๙๘

สขุ ศกึ ษา ฯ ๙๙.๓๒ ๙๒.๕๓ ๙๘.๓๙ ๙๖.๓๖ ๙๖.๓๐ ๙๘.๕๕ ๙๖.๙๑

ศลิ ปะ ๙๓.๑๕ ๘๒.๐๑ ๙๖.๘๘ ๙๘.๘๕ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๙๕.๑๕

การงานอาชพี ๑๐๐.๐๐ ๗๐.๖๙ ๘๔.๑๓ ๙๖.๘๑ ๔๑.๑๘ ๙๗.๗๓ ๘๑.๗๕

ภาษาตา่ งประเทศ ๕๒.๑๔ ๕๖.๔๔ ๖๔.๑๒ ๗๓.๐๖ ๖๙.๒๙ ๘๖.๓๔ ๖๖.๘๙

รวม 67.09 61.18 72.50 69.21 61.90 75.36 67.87

แผนภมู ิที่ ๑๗ แสดงคา่ รอ้ ยละของนกั เรียนที่มเี กรดเฉล่ยี ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นแต่ละรายวิชาในระดบั ๓ ขึน้ ไป
ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ช้นั ม.๑ – ม.๖

๑๒๐.๐๐

๑๐๐.๐๐ ๙๖.๙๑ ๙๕.๑๕
๘๐.๐๐
๗๖.๙๘ ๘๑.๗๕
๖๖.๘๙ 67.87

๖๐.๐๐ ๔๓.๐๖ ๔๙.๕๑
๔๐.๐๐
๓๒.๗๓

๒๐.๐๐

๐.๐๐

๒๐

๗. รางวัลทโี่ รงเรียนไดร้ บั (โรงเรียน ผูบ้ รหิ าร ครู นักเรยี น)

ตารางท่ี ๑๔ แสดงผลงานและรางวลั ท่โี รงเรียนได้รบั (โรงเรยี น ผู้บรหิ าร ครู นกั เรยี น)

ประเภท/ชอ่ื – สกุล ระดบั รางวัล/ช่ือรางวลั ที่ไดร้ ับ หน่วยงานท่ีมอบให้

สถานศกึ ษา

โรงเรียนโนนสวุ รรณพิทยาคม - รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) เหรียญทอง ครงั้ ที่ ๙ สพฐ.

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดับภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

ประเภท สถานศึกษายอดเยี่ยม การจดั การเรียนรู้ทางไกลผ่าน

ดาวเทยี ม (DLTV) ระดบั มธั ยมศึกษา ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยี

เพอื่ การเรยี นการสอน

ผู้บรหิ าร

นายราเมศน์ โสมแสน - รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) เหรยี ญทอง ครงั้ ที่ ๙ สพฐ.

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

ประเภท ผ้อู ำนวยการสถานศึกษายอดเยีย่ ม การจัดการเรยี นรู้

ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ระดบั มัธยมศึกษา ดา้ นนวัตกรรม

และเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน

- รางวลั ผบู้ ริหารดีเด่น เนื่องในวันครู ปี ๒๕๖๓ สพป.บร.๓

ครู

นางสาวกตญั ชลี เอกวธุ - รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ชนะเลิศเหรยี ญทอง สพฐ.

ครั้งท่ี ๙ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดบั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

ประเภท ครผู สู้ อนยอดเย่ียม สง่ เสรมิ การใชน้ วัตกรรมการจัดการ

เรยี นรูท้ างไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน

นางปทั มา ชนะสงคราม - รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) รองชนะเลศิ สพฐ.

เหรียญทอง อันดบั ๑ คร้งั ท่ี ๙ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดบั ภาค

ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ประเภท ครูผ้สู อนยอดเย่ียม ระดบั

มัธยมศึกษาตอนปลาย บรู ณาการ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี

เพอ่ื การเรียนการสอน

ว่าที่ร้อยตรณี ัฐธนนั วรรณสุข - รางวลั ทรงคุณคา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) รองชนะเลศิ สพฐ.

เหรยี ญทอง อนั ดับ ๑ ครัง้ ที่ ๙ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดบั ภาค

ตะวันออกเฉียงเหนอื ประเภท ครผู ้สู อนยอดเย่ียม ระดบั

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ดา้ นบริหาร

จดั การ

๒๑

ประเภท/ชือ่ – สกุล ระดับรางวลั /ชื่อรางวลั ทีไ่ ด้รับ หน่วยงานท่มี อบให้

นางพยอม สุดตาชาติ - รางวลั ครูผูส้ อนดเี ด่น เน่อื งในวนั ครู ปี ๒๕๖๓ สพป.บร.๓

นางปัทมา ชนะสงคราม

นางณัฐธยาน์ สังวรณ์กิจ

นางณชั ศรัญยฉ์ ฐั สขุ วิเศษ

นางสาวดวงสมร ชว่ งชยั

รางวลั ครูผ้ฝู ึกสอนนกั เรียน งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ ๖๙ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ณ จงั หวัดศรีสะเกษ

นางสาวรววี รรณ พาชยั - ไดร้ ับรางวลั ครผู ฝู้ ึกสอนนกั เรยี น รางวัลเหรียญทองแดง สพฐ.

นายอดศิ ร สายวัน การแข่งขันตอบปัญหาสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ม.๑-ม.๓

นางณฏั ฐพชิ า โคตรดก - ไดร้ บั รางวัลครผู ฝู้ ึกสอนนักเรยี น รางวัลเหรียญทอง การแข่งขนั สพฐ.

ขับร้องเพลงสากล ประเภทชาย ม.๑-ม.๓

นางสาวฐิตนิ นั ท์ เตชะนันท์ - ไดร้ ับรางวลั ครผู ฝู้ ึกสอนนักเรยี น รางวัลเหรียญทอง การแข่งขัน สพฐ.

นางสาวประภาวัลย์ แอบกลาง พดู ภาษาจนี ม.๑-ม.๓

นางสาวพวรรณตรี ชินวรรณ - ไดร้ ับรางวลั ครผู ฝู้ กึ สอนนกั เรียน รางวัลเหรียญทอง การประกวด สพฐ.

นายอนุวฒั น์ ออ่ นนำ้ คำ ยวุ บรรณารักษส์ ง่ เสรมิ การอา่ น ม.๔-ม.๖

นายทวีศักด์ิ ไกรสุข - ไดร้ บั รางวลั ครูผู้ฝึกสอนนักเรยี น รางวลั เหรยี ญเงนิ การประกวด สพฐ.

นางสาวกตัญชลี เอกวุธ โครงงานคอมพวิ เตอรป์ ระเภทซอฟตแ์ วร์ ม.๔-ม.๖

- ได้รับรางวลั ครูผ้ฝู กึ สอนนกั เรยี น รางวัลเหรยี ญทอง การแขง่ ขัน

การวาดภาพดว้ ยโปรแกรม Paint ประเภทบกพร่องทางการเรียนรู้

ไม่กำหนดชว่ งชนั้

นางสาวอัจฉรา ทวนไธสง - ได้รับรางวัลครผู ู้ฝึกสอนนกั เรยี น รางวลั เหรยี ญทอง การแข่งขนั สพฐ.

นายนันทวฒั น์ เนยี มหัตถี ทำอาหาร นำ้ พริก ผักสด เครื่องเคียง ม.๑-ม.๓

นางสาวสุชาดา ชำนาญสบื - ไดร้ บั รางวัลครูผฝู้ ึกสอนนกั เรียน รางวลั เหรียญเงิน การแข่งขนั สพฐ.

การวาดภาพระบายสี ประเภทบกพร่องทางการเรยี นรู้ ม.๑-ม.๓

- ได้รบั รางวลั ครูผฝู้ กึ สอนนักเรยี น รางวลั เหรยี ญทองแดง การ

แข่งขนั การเล่านิทาน ประเภทบกพร่องทางการเรียนรู้ ม.๑-ม.๓

นางสาวปัทมา ชาตมิ าลากร - ได้รบั รางวัลครูผ้ฝู ึกสอนนักเรียน รางวัลเหรียญเงนิ การประกวด สพฐ.

การขับร้องเพลงไทยลูกทงุ่ ประเภทบกพร่องทางการเรียนรู้

ม.๑-ม.๓

ว่าที่ร้อยตรณี ฐั ธนนั วรรณสขุ - ไดร้ บั รางวัลครูผฝู้ ึกสอนนักเรียน รางวลั เหรยี ญทอง การประกวด สพฐ.

การขบั ร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้

ม.๔-ม.๖

๒๒

ประเภท/ชอ่ื – สกุล ระดับรางวัล/ชื่อรางวลั ท่ีได้รับ หนว่ ยงานท่มี อบให้

งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ระดับชาติ คร้งั ที่ ๖๙ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ณ จังหวดั ศรีสะเกษ

นักเรยี น

เดก็ หญงิ ณธิดา พรแสน - ได้รับรางวลั เหรียญทองแดง การแข่งขันตอบปญั หาสุขศึกษาและ สพฐ.

เด็กชายรพีภัทร วิเศษพันธุ์ พลศึกษา ม.๑-ม.๓

เด็กชายณฐั พร เพ็งประโคน - ได้รบั รางวัลเหรียญทอง การแข่งขนั ขบั รอ้ งเพลงสากล ประเภท สพฐ.

ชาย ม.๑-ม.๓

นางสาวเบญจมาภรณ์ คอนกรีต - ได้รบั รางวัลเหรียญทอง การแข่งขันพูดภาษาจีน ม.๑-ม.๓ สพฐ.

เดก็ หญิงเมทราวดี กองพนั ธ์

นางสาววิรยิ า โพธนอก - ได้รับรางวัลเหรยี ญทอง การประกวดยุวบรรณารักษ์ส่งเสริม สพฐ.

นางสาวเกวลี ศรีสบื เชื้อ การอ่าน ม.๔-ม.๖

นายเดชนรนิ ทร์ สาดนอก

นางสาวบณั ฑติ า เหลอื งเดชานรุ ักษ์ - ได้รบั รางวัลเหรยี ญเงิน การประกวดโครงงานคอมพวิ เตอร์ สพฐ.

นายวัชรพล บุญแจ้ง ประเภทซอฟตแ์ วร์ ม.๔-ม.๖

นางสาวสุธาทพิ ย์ พุม่ พวง

เด็กหญิงญาดาวดี มหิงศาเดช - ไดร้ ับรางวลั เหรยี ญทอง การแขง่ ขนั ทำอาหาร น้ำพรกิ ผักสด สพฐ.

เด็กชายอิสระ เมืองสนั เทียะ เครื่องเคียง ม.๑-ม.๓

เดก็ หญงิ เพ็ญนภา ปักกะตา

เด็กหญงิ ธัญพิชชา พงศ์เพชรอมร - ไดร้ บั รางวลั เหรียญทองแดง การแขง่ ขนั การเลา่ นิทาน ประเภท สพฐ.

บกพร่องทางการเรยี นรู้ ม.๑-ม.๓

เดก็ หญงิ จฑุ ามาศ ไชยอินทร์ - ไดร้ ับรางวัลเหรยี ญเงนิ การแข่งขนั การวาดภาพระบายสี สพฐ.

ประเภทบกพร่องทางการเรียนรู้ ม.๑-ม.๓

เด็กหญงิ ปณิดา คำเรือง - ได้รับรางวลั เหรียญเงนิ การประกวดการขบั ร้องเพลงไทยลูกท่งุ สพฐ.

ประเภทบกพร่องทางการเรียนรู้ ม.๑-ม.๓

นางสาวขวญั ข้าว วรรณสงิ ห์ - ได้รับรางวลั เหรียญทอง การประกวดการขบั ร้องเพลงไทยลกู ท่งุ สพฐ.

ประเภทบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ ม.๔-ม.๖

เดก็ ชายยูจิโร ไซโต - ได้รบั รางวัลเหรยี ญทอง การแขง่ ขนั การวาดภาพดว้ ยโปรแกรม สพฐ.

เดก็ ชายศรณั ยภ์ ัทร มีแสวง Paint ประเภทบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ ไมก่ ำหนดช่วงชั้น

๒๓

๘. ข้อมูลแหลง่ เรียนรูภ้ ายใน/นอกโรงเรียน จำนวนการเขา้ ใชห้ ้องสมุดของผเู้ รียนเฉลี่ยตอ่ ปีการศึกษา
ภูมิปญั ญาท้องถิน่ /ปราชญ์ชาวบ้าน

๘.๑ แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศกึ ษา
๑) หอ้ งสมุด มีขนาด ๒๔๐ ตารางเมตร จำนวนหนังสือในห้องสมดุ ๔,๕๐๐ เลม่
- จำนวนนกั เรียนท่ีใชห้ ้องสมุดในปกี ารศึกษาทีร่ ายงาน เฉลี่ย ๑,๐๔๙.๒๕ ครงั้ ตอ่ เดอื น

คิดเปน็ ร้อยละ ๑๒.๕๐

ตารางท่ี ๑๕ สถติ ิการใชห้ อ้ งสมดุ โรงเรียนโนนสุวรรณพิทยาคม ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

ลำดบั ท่ี เดือน/ปี จำนวน(ครงั้ ) รอ้ ยละ หมายเหตุ

๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ๗๓๕ ๘.๙๗

๒ มิถุนายน ๒๕๖๒ ๑,๔๙๕ ๑๗.๘๑

๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ๑,๗๒๑ ๒๐.๒๕

๔ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ๙๔๑ ๑๑.๒๑

๕ กนั ยายน ๒๕๖๒ - ๐ ปรบั ปรุงระบบ

๖ ตุลาคม ๒๕๖๒ - ๐ ปรบั ปรงุ ระบบ

๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ๕๙๘ ๗.๑๒

๘ ธนั วาคม ๒๕๖๒ ๖๓๕ ๗.๗๖

๙ มกราคม ๒๕๖๓ ๙๖๔ ๑๑.๔๘

๑๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ๑,๒๗๓ ๑๕.๑๗

รวมท้ังส้ิน ๘,๓๙๔ ๑๐๐

หมายเหตุ : นับตามจำนวนครง้ั ท่ีเขา้ ใช้บรกิ าร ณ วนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓

แผนภมู ิที่ ๑๘ แสดงจำนวนรอ้ ยละของนักเรยี นที่ใชบ้ รกิ ารห้องสมดุ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

รอ้ ยละของนกั เรยี นทใ่ี ช้บริกำรหอ้ งสมดุ โรงเรียนโนนสวุ รรณพทิ ยำคม
ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ (พฤษภำคม ๒๕๖๒- กมุ ภำพันธ์ ๒๕๖๓)

๑๐๐.๐๐ ๘๒.๔๒ ๘๓.๒๘ ๗๑.๐๐ ๗๑.๔๒ ๘๕.๖๘ ๗๓.๐๐ ๗๒.๐๐
๘๐.๐๐
๖๐.๐๐ ๖๑.๑๔
๔๐.๐๐
๔๑.๒๘

๒๐.๐๐ ๙.๕๗

๐.๐๐

๒๔

๘.๒ แหล่งเรยี นร้ภู ายนอกสถานศกึ ษา
๑) ศนู ย์การเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี ง บา้ นน้อยอบุ ล จงั หวัดบรุ รี ัมย์
๒) ศูนย์การเรยี นรู้ ICT ชมุ ชนตำบลโกรกแกว้ อำเภอโนนสวุ รรณ จังหวดั บุรีรมั ย์
๓) อทุ ยานประวตั ิศาสตร์พระนครศรอี ยธุ ยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๔) ศูนย์วทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรมเพือ่ การศึกษาร้อยเอด็ จงั หวัดร้อยเอด็
๕) พพิ ธิ ภัณฑ์แสดงสตั วน์ ้ำจงั หวัดรอ้ ยเอ็ด

๙. ขอ้ มูลดา้ นทรัพยากร

๙.๑ ข้อมลู ด้านอาคารสถานที่

ตารางท่ี ๑๖ แสดงข้อมลู ดา้ นอาคารสถานท่ี ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

รายการ จำนวน จำนวน ขาด/เกนิ หมายเหตุ
ที่มี ที่ควรมี (เกณฑก์ ารวิเคราะหค์ วามขาด)

อาคารเรียน (หลงั ) ๔๔ -

 ห้องเรยี น (ห้อง) ๓๓ ๔๐ ๗

อาคารประกอบ

 ห้องสว้ ม (หลงั ) ๔๔ -

 บา้ นพกั ครู (หลัง) ๓๔๑

 อาคารฝกึ งาน (หลงั ) ๑๑ -

 อาคารอเนกประสงค์ (หลัง) - ๑ ๑

 หอประชุม (หลัง) ๑๑ -

 โรงอาหาร (หลงั ) ๑๑ -

ครภุ ณั ฑ์พ้ืนฐาน

 โทรศัพท์ (เลขหมาย) ๓๓ -

 คอมพวิ เตอร์ (เคร่อื ง) ๑๙๕ ๑๙๕ - ทใี่ ช้งานได้มจี ำนวน ๑๗๔

เครอื่ ง นอกน้นั รอการ

ดำเนินการซอ่ มแซมแก้ไข

๙.๒ ขอ้ มลู ดา้ นงบประมาณ ปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ๒๕

ตารางที่ ๑๗ แสดงรายการงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ งบปะมาณ
(บาท)
ลำดับที่ รายการ
๕๒๑,๖๗๔
๑ เงนิ งบประมาณเหลอื คา้ งจ่ายปีเกา่ -
- เงนิ รายไดส้ ถานศึกษา -
- เงินอดุ หนุน -
- เงินปัจจัยพน้ื ฐาน -
- คา่ เครื่องแบบนักเรียน -
- อุปกรณ์การเรยี น
- คา่ หนังสอื ๔๗,๗๔๐
- กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ๕๖๙,๔๑๔
รวมเหลือจา่ ยคา้ งปีเก่า
852,250
๒ งบประมาณค่าจดั การเรียนการสอน (อุดหนุนรายหัว) 492,100
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒
- มธั ยมศึกษาตอนต้น นกั เรยี น ๔๘๗ คนๆ ละ ๑,๗๕๐ บาท 810,250
- มธั ยมศึกษาตอนปลาย นักเรียน ๒๕๙ คนๆ ละ ๑,๙๐๐ บาท 507,300
ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ 2,661,900
- มัธยมศึกษาตอนตน้ นกั เรยี น ๔๓๖ คนๆ ละ ๑,๗๕๐ บาท
- มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั เรยี น ๒๖๗ คนๆ ละ ๑,๙๐๐ บาท 214,280
รวมงบประมาณอดุ หนุนรายหวั 123,025

๓ เงนิ งบประมาณตามโครงการสนบั สนุนค่าใช้จ่ายในการจดั 203,720
การศึกษาแต่ละระดับช้ันอนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 126,825
(คา่ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น) 667,850
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑
- มธั ยมศกึ ษาตอนต้น นกั เรียน ๔๘๗ คนๆ ละ ๔๔๐ บาท
- มัธยมศึกษาตอนปลาย นกั เรยี น ๒๕๙ คนๆ ละ ๔๗๕ บาท
ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒
- มัธยมศกึ ษาตอนตน้ นกั เรยี น ๔๓๖ คนๆ ละ ๔๔๐ บาท
- มธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั เรยี น ๒๖๗ คนๆ ละ ๔๗๕ บาท
รวมงบประมาณสนบั สนนุ

๒๖

ลำดับที่ รายการ งบปะมาณ
(บาท)
๔ เงนิ นอกงบประมาณ
๔.๑ เงินสนบั สนุนจากหนว่ ยงานอ่นื 396,000
๔.๒ เงนิ รายไดส้ ถานศึกษา 264,000
- ค่าบำรงุ คอมพวิ เตอร์ นกั เรยี น ๖๙๗ คน คนละ ๕๐๐ บาท
- ค่าจ้างครูสอนภาษาต่างประเทศ นกั เรียน ๖๙๗ คน 40,000
คนละ ๕๐๐ บาท
- เงนิ ค่าบำรุงโรงอาหาร รา้ นค้า ๘ ร้านๆ ละ ๒,๕๐๐ บาท -
ต่อภาคเรยี น 700,000
๔.๓ เงนิ บรจิ าค 4,599,164
รวมเงินนอกงบประมาณ
รวมท้ังสน้ิ

ตารางท่ี ๑๘ แสดงรายละเอียดการจดั สรรงบประมาณ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

รายการจดั สรร งบประมาณทจ่ี ดั สรร หมายเหตุ

๑. งบสำรองจา่ ย (๑๐% ของเงนิ อุดหนนุ รายหวั ) 247,688

๒. งบกลาง 450,000
- คา่ สาธารณปู โภค ตอบแทน, ใช้สอย, วสั ดุ, คา่ ไฟ, ๐

ค่าน้ำมันเชอื้ เพลงิ , ค่าอนิ เทอรเ์ นต็ , คา่ โทรศพั ท์

๓. งบดำเนินการ

- งบวชิ าการ ๖๐ % 2,589,498

- งบบรหิ าร ๓๐ % 1,311,978
รวมทั้งส้นิ 4,599,164

๒๗

๑๐. ผลการประเมินคณุ ภาพภายในปีที่ผา่ นมา

ตารางที่ ๑๙ แสดงผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา ค่าเป้าหมาย
สถานศึกษา

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน ดเี ลิศ

๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรยี น ดเี ลิศ

๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สาร และการคิดคำนวณ ดเี ลิศ

๒) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี น ดีเลิศ

ความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา

๓) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ดเี ลศิ

๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ยอดเยยี่ ม

๕) มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา ดีเลศิ

๖) มีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคติทด่ี ีต่องานอาชพี ยอดเยี่ยม

๑.๒ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผู้เรยี น ยอดเย่ยี ม

๑) การมคี ุณลักษณะและคา่ นิยมท่ดี ีตามที่สถานศึกษากำหนด ยอดเยี่ยม

๒) ความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย ยอดเย่ยี ม

๓) การยอมรับท่ีจะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ดีเลิศ

๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดีเลศิ

๒.๑ มีเปา้ หมายวิสัยทศั น์และพันธกิจทีส่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน ยอดเยย่ี ม

๒.๒ มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม

๒.๓ ดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษา ดีเลิศ

และทุกกลมุ่ เป้าหมาย

๒.๔ พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี ดีเลศิ

๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเี่ ออื้ ต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ ดีเลศิ

๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู้ ดีเลศิ

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ ดเี ลศิ

๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้ ดเี ลิศ

๓.๒ ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ ดเี ลศิ

๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนเชิงบวก ดเี ลศิ

๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผ้เู รียน ดเี ลิศ

๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพ่อื พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้ ดเี ลิศ

๒๘

๑๑. การดำเนนิ งานของสถานศึกษาตามนโยบายจากหน่วยงานตน้ สงั กดั หรอื ภาครัฐ

โรงเรยี นโนนสวุ รรณพิทยาคม ไดด้ ำเนินการตามนโยบาย No Child Left Behind (ไม่มีเด็กคนใด
ถกู ทอดท้งิ ไวข้ า้ งหลัง) ระยะ ๓ Walk in classroom ดงั นี้

๑. การมอบงานและให้การบ้านนักเรียน

วิธีดำเนินการ ผลการดำเนนิ งาน ปญั หา/อุปสรรค
๑. หลกั สตู รบางกลุ่มสาระการ
๑. ผอู้ ำนวยการโรงเรียนโนน ๑. คณะครูโรงเรียนโนนสุวรรณ เรยี นรูไ้ มส่ ามารถวดั ผล
ประเมนิ ผลภาระงาน/การบ้าน
สุวรรณพิทยาคม โดยนายรา พทิ ยาคม ตระหนักถงึ การปฏิบตั ิ ของนักเรียนรว่ มกับกลุ่มสาระอน่ื
ได้
เมศน์ โสมแสน ไดแ้ จง้ นโยบาย ตามนโยบาย โดยรว่ มกนั

การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ออกแบบภาระงาน/การบ้านของ

แนวคิด No Child Left Behind นกั เรยี นให้สามารถวัดผล

“ไม่มเี ดก็ คนใด ถูกทอดทิ้งไว้ขา้ ง ประเมนิ ผลร่วมกนั ในต่างกลุ่ม

หลงั ” ตามประกาศสำนักงานเขต สาระได้

พน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๒. นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการ

๓๒ ให้ครูและบุคลากรทางการ เรยี นสูงข้ึน

ศึกษาโรงเรียนโนนสวุ รรณพิทยา

คมทุกคนทราบ ในคราวประชมุ

ประจำเดอื นวันที่ ๒๘ มนี าคม

๒๕๖๑ และปรึกษาหารือถึงแนว

ทางการจดั กจิ กรรมการเรียนการ

สอนและการมอบหมายงาน/

การบ้านใหก้ ับนักเรียนให้

สอดคล้องกบั แนวนโยบาย โดยให้

ครูแตล่ ะกลุ่มสาระทีส่ อนในระดบั

เดียวกันปรึกษาหารือถึงแนว

ทางการมอบหมายงาน/การบ้าน

ให้สามารถบรู ณาการวัดผล

ประเมนิ ผลร่วมกนั ได้ เพื่อลด

ภาระของนกั เรยี นลง

๒. กำชบั ให้ฝ่ายบรหิ าร กำกับ

ตดิ ตามการดำเนนิ กิจกรรมการ

วิธดี ำเนนิ การ ผลการดำเนนิ งาน ๒๙
เรียนการสอนของครใู ห้เปน็ ไปตาม ปัญหา/อุปสรรค
แนวนโยบาย
๓. กำกับติดตามในระดับกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้
๔. กลุม่ สาระการเรียนรู้ ฝา่ ย
วชิ าการ รายงานผลการ
ดำเนินงานตอ่ ผู้อำนวยการ
โรงเรียน
๕. ชี้แจงผลการดำเนนิ งาน
ปญั หา/อปุ สรรค ข้อจำกดั ต่อที่
ประชุม เพอ่ื ร่วมกันหาแนว
ทางแก้ไข

๒. การสอนซ่อมเสรมิ

วิธีดำเนนิ การ ผลการดำเนนิ งาน ปัญหา/อุปสรรค

๑. ประชุมหวั หน้ากล่มุ สาระการ ๑. ครมู ีการจัดการเรียนการสอน ๑. นักเรยี นมคี วามสนใจและ

เรียนรู้ เพ่อื รว่ มกันวิเคราะห์ผล ซอ่ มให้แกน่ ักเรยี นทม่ี ีผลการ รับผดิ ชอบน้อย

การเรียนของนักเรยี นในปี เรียนต่ำหรือกลมุ่ อ่อน และจดั การ ๒. ครูมีภาระและงานอน่ื ๆ มาก

การศึกษาทผ่ี า่ น อภิปรายถงึ เรยี นการสอนเสรมิ ให้แก่นักเรียน ๓. การจัดการเรียนการสอนมี

สาเหตุทส่ี ่งผลให้ผลสมั ฤทธิ์ ทีม่ ผี ลการเรียนดี เวลาน้อย เพียง ๑ ชม./สัปดาห์

ทางการเรียนของนักเรยี นตำ่ และ ๒. นักเรียนท่มี คี วามสนใจหรือ

ร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหา ถนัดในกิจกรรมตา่ งๆ ไดม้ โี อกาส

๒. ประชุมครทู ุกคน ชี้แจง และ ทำกิจกรรมและพัฒนาตนเอง

ร่วมกันอภปิ รายถึงสาเหตทุ ส่ี ง่ ผล เช่น ค่ายตา่ งๆ ICT งาน

ให้ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของ ประดิษฐ์ นาฏศลิ ป์

นักเรียนต่ำ และร่วมกันหาแนว

ทางแก้ไขปัญหา

๓. ออกแนวปฏบิ ัติในการจัด

กิจกรรมการเรยี นการสอน และ

วดั ผลประเมินผลผเู้ รียนให้มี

ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสูงขน้ึ

๒. จัดกจิ กรรมสอนซ่อมเสรมิ

วิธีดำเนนิ การ ผลการดำเนนิ งาน ๓๐
๓. การจดั การเรียนการสอนซ่อม ปัญหา/อุปสรรค
เสรมิ
๔. ฝา่ ยบรหิ าร หวั หน้ากลุ่มสาระ
การเรียนรู้นิเทศและตดิ ตามการ
จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
และวดั ผลประเมนิ ผลผเู้ รยี นของ
ครใู หเ้ ป็นไปตามแนวปฏบิ ัติ
๕. สรปุ และประเมนิ ผล

๓. การบรหิ ารจัดการชัน้ เรียน ผลการดำเนินงาน ปญั หา/อุปสรรค
วธิ ดี ำเนินการ
คณะครแู ละบุคลากรโรงเรียนโนน โรงเรียนยงั ขาดงบประมาณ ใน
๑. ประกาศ นโยบาย/ปณธิ าน
การกา้ วเดินของเราชาว น.ว.พ. สุวรรณพิทยาคมตระหนักถงึ การ การพัฒนาส่ือใหน้ า่ สนใจและ
สะอาด ปลอดภยั ใสใ่ จบริการ
โดยประชุมแจง้ แนวทางบริหาร บริหารจัดการช้ันเรยี น โดยจดั ทันสมยั
จัดการดา้ นต่างๆ รวมทัง้ การ
บริหารจัดการช้นั เรียนซึง่ เปน็ การ ชั้นเรียนใหส้ ะอาด น่าอยู่ นา่
จัดสภาพแวดล้อมในชัน้ เรียนให้
สะอาดเรียบร้อย น่าอยู่ นา่ เรียน เรียน ปลอดภัย มสี อื่ ที่น่าสนใจ
เพือ่ อำนวยความสะดวกในการ
เรยี นรู้และการเรยี นการสอนของ
ผู้สอน เพ่อื ส่งเสรมิ วนิ ยั ในตนอง
และวนิ ัยในสงั คมให้ผู้เรยี น ให้
ผู้เรยี นเกดิ พัฒนาการทุกดา้ น
๒. ประชุมครู ชแ้ี จงนโยบาย
และนำเสนอโครงการ/กิจกรรมที่
ส่งเสรมิ นโยบาย
๓. จัดกจิ กรรมประกวดห้องเรียน
คณุ ภาพ เพื่อกระตุ้นให้ครูผสู้ อน
จดั การบรหิ ารช้ันเรียนใหม้ ี
คณุ ภาพ

วิธดี ำเนนิ การ ผลการดำเนินงาน ๓๑
๔. กำกบั ตดิ ตาม การ ปัญหา/อุปสรรค
ดำเนินงานครู
๕. ประกาศผลการประกวด
ห้องเรียนคุณภาพ และมอบ
เกียรติบัตรให้กบั ครทู ีจ่ ัดการ
บรหิ ารชั้นเรียนได้อย่างมีคุณภาพ
ผา่ นเกณฑ์การประเมิน

๔. การพัฒนาหลักสตู รทางเลอื กของสถานศึกษา

วิธีดำเนินการ ผลการดำเนินงาน ปญั หา/อุปสรรค

๑. พฒั นาหลกั สตู รในรายวิชา ๑. นักเรียนไดเ้ รยี นรใู้ นเรอื่ งท่ี รายวิชาท่ีนักเรยี นสนใจบางวชิ า
โรงเรยี นไม่มีบคุ ลากร จึงไม่
เพิม่ เติมใหส้ อดคล้องกบั บริบท นกั เรียนสนใจและสามารถต่อ สามารถจัดกิจกรรมการเรยี นการ
สอนให้กบั นักเรยี นได้
ของชมุ ชนอำเภอโนนสวุ รรณ ยอดสร้างรายไดห้ รืออาชพี ให้กบั

และสอดคลอ้ งกับความสนใจของ นักเรยี นได้

นักเรียน เชน่ วิชาท่ีเกยี่ วขอ้ งกับ ๒. นักเรยี นท่ขี าดโอกาสหรืออก

การเกษตร คหกรรม กีฬา กลางคนั มีโอกาสได้เรียนรูแ้ ละ

ภาษา เปน็ ตน้ จบการศกึ ษาได้

๒. นักเรยี นสามารถเลือกเรยี น

รายวชิ าเพิ่มเติมที่นักเรยี นสนใจได้

ในทกุ ภาคเรยี น

๓. เพิม่ โอกาสใหน้ ักเรียนทีป่ ระสบ

ปญั หาออกกลางคนั หรือไม่

สามารถมาเรียนได้ตามปกติ ได้มี

โอกาสเรียนรู้และจบการศึกษา

จากโรงเรยี นโนนสุวรรณพิทยาคม

ได้ โดยจัดทำโครงการโรงเรยี น

ทางเลือก

๓๒

สว่ นที่ ๒
ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน คา่ เป้าหมาย
สถานศึกษา
๑. ระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ
ดีเลิศ
มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา ดีเลิศ
ดีเลศิ
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ดีเลศิ
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรยี น
๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคำนวณ ดเี ลิศ
๒) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี น ยอดเยี่ยม
ความคิดเหน็ และแก้ปัญหา
๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม ดีเลิศ
๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ยอดเยย่ี ม
๕) มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา ยอดเยยี่ ม
๖) มคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติท่ีดตี ่องานอาชพี ยอดเยยี่ ม
๑.๒ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องผ้เู รียน ยอดเยี่ยม
๑) การมีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทดี่ ีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
๒) ความภูมิใจในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย ดเี ลิศ
๓) การยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเยี่ยม
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม

๒. วธิ ีการพัฒนา/ผลท่ีเกดิ จากการพฒั นา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ีสนบั สนุนผลการ
ประเมินตนเอง

๒.๑ วธิ กี ารพฒั นา/ผลทเี่ กิดจากการพฒั นา
โรงเรียนโนนสวุ รรณพทิ ยาคม ส่งเสริมให้ครูจดั กระบวนการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ โดย
การดำเนินงาน/กจิ กรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลกั สูตรมกี ารประชมุ ปฏบิ ตั ิการ ปรบั ปรงุ หลักสูตร
สถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชวี้ ัดฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๕๙) เพื่อให้ครูใชเ้ ป็นกรอบในการ
จัดการเรียนการสอน การพฒั นาผู้เรียน สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ผเู้ รยี นบรรลตุ ามเป้าหมายท่ีว่า “การจัดการ

๓๓

ศึกษาต้องเป็นไปเพอื่ พฒั นาคนไทยให้เป็นมนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ทั้งรา่ งกาย จิตใจ สติปญั ญา ความรู้ และคุณธรรม
จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอย่รู ่วมกับผอู้ ่ืนได้อย่างมีความสุข ซ่ึงสอดรบั กับจดุ ม่งุ หมาย
ของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ท่ีได้มุ่งพฒั นาใหผ้ ู้เรียนเป็นคนดี มีปญั ญา มี
ความสุข ดังน้นั โรงเรียนโนนสวุ รรณพทิ ยาคม จึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคณุ ภาพผู้เรียนจำนวน ๒ ดา้ น
ได้แก่ ๑) ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นและ ๒) ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรยี น ดา้ นผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนมุง่ เน้นให้นักเรยี นมีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมท้ังการมี
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ มี
ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสอื่ สาร และการมีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน
เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สาหรับดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ลักษณะและ
คา่ นิยมทดี่ ตี ามทสี่ ถานศึกษากำหนด และมีสุขภาวะทางร่างกายและสงั คม ความภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ และความ
เป็นไทยการยอมรบั ทีจ่ ะอย่รู ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

โรงเรียนโนนสวุ รรณพิทยาคม มีกระบวนการพฒั นาผู้เรยี นด้วยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย ครูจดั การเรยี นรู้
ให้เปน็ ไปตามศักยภาพของผเู้ รียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตวั ชี้วัดของหลักสตู รมกี ารออกแบบการจัดการ
เรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับผเู้ รยี นโดยมกี ารจดั การเรียนเรยี นรู้ทง้ั รูปแบบการระดมสมอง แบบลงมอื ปฏิบัติจริง แบบ
รว่ มมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการใชป้ ัญหาเป็นหลักและเนน้ เรื่องการอา่ นออกของผูเ้ รียน
เป็นเรอ่ื งสำคญั ทสี่ ุดโดยมุ่งพัฒนาใหผ้ ูเ้ รยี นทกุ คนอ่านออกและเขียนได้ พัฒนาครทู กุ คนใหม้ คี วามสามารถใน
การนาเทคนิควิธสี อนใหต้ รงตามศักยภาพผูเ้ รียน ใชส้ อ่ื เทคโนโลยใี นการจัดการเรียนการสอน มแี หล่งเรยี นรู้
และแหล่งสืบค้นข้อมลู ได้แก่ ห้องสมุด ครจู ดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ
ครูเนน้ การใชค้ าถามเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของผเู้ รียน นอกจากน้ี สถานศึกษาได้มกี ารดำเนนิ การเพื่อพัฒนา
ทักษะชีวติ ของผู้เรียน เพอื่ ให้อยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข เน้นการพัฒนาดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมท่ีเหมาะสม
กับวัยของผู้เรยี น และตามนโยบายของผบู้ ริหาร การจดั คา่ ยคณุ ธรรมกบั นักเรียน จดั กจิ กรรมการพัฒนาให้
เหมาะสมกบั วัย พฒั นาคุณธรรมผู้เรียนตามหลกั สตู ร เน้นให้ผูเ้ รียนมวี นิ ยั ซอื่ สัตย์ รับผดิ ชอบและมจี ติ
สาธารณะ มรี ะบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นและการดูแลสุขภาวะจิต การเขา้ ไปศึกษากบั ภูมิปญั ญาในชมุ ชน
รอบๆ สถานศึกษา จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องพิษภยั จากยาเสพตดิ สง่ เสริมการออกกาลงั กาย และเพิม่ เวลารู้
เรือ่ งอาชพี เช่น การทำขนมเบเกอร่ี การเพาะเห็ด การเลีย้ งจิ้งหรีด การปลูกพชื ผักสวนครัว เปน็ ต้น

โรงเรียนโนนสวุ รรณพิทยาคม มผี ลท่ีเกิดจากการพฒั นาในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทาวชิ าการ
ผูเ้ รยี น สามารถอา่ นออกและอา่ นคล่องตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละระดับช้ันสามารถเขียนสือ่ สารได้ดี ร้จู ัก
การวางแผน สามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นไดด้ ตี ามหลักประชาธปิ ไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเหน็
หรือวิพากษไ์ ด้อยา่ งสรา้ งสรรค์ สืบคน้ ข้อมลู หรือแสวงหาความรจู้ ากสอ่ื เทคโนโลยีได้ดว้ ยตนเอง รวมท้ัง
สามารถวเิ คราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าสง่ิ ไหนดี สำคญั จำเปน็ รวมทัง้ รเู้ ท่าทันส่ือและสังคมทเ่ี ปลย่ี นแปลง
อย่างรวดเรว็ ผู้เรยี นรูแ้ ละตระหนักถงึ โทษและพษิ ภัยของสิ่งเสพตดิ ต่าง ๆ เลอื กรบั ประทานอาหารท่ีสะอาด
และมีประโยชน์ รักการออกกำลงั กาย นกั เรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อยา่ งน้อยคนละประเภท ยอมรับใน

๓๔

กฎ กติกาของกลุ่ม ของสถานศึกษา ของสังคม มีทศั นคตทิ ี่ดีตอ่ อาชพี สจุ ริต รวมถงึ มีความเข้าใจเรื่องความ
แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลและระหว่างวัยท้งั น้ี มีผลการดำเนนิ งานเชงิ ประจกั ษ์จากการประเมินในดา้ นต่าง ๆ ดังนี้

รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนท่มี ีผลกำรประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
ม.๑ - ม.๖ จำแนกตำมระดับคณุ ภำพ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒

120.00

100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ีย
ดีเยย่ี ม 61.90 52.86 89.19 92.41 98.80 98.59 76.99
ดี ๓๔.๕๒ ๓๙.๒๙ ๗.๒๑ ๒.๕๓ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๘.๘๗
ผา่ น 1.19 2.14 0.00 0.00 0.00 1.41 0.92
ไมผ่ า่ น 2.38 5.71 3.60 5.06 1.20 0.00 3.22

รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมผี ลกำรประเมินควำมสำมำรถในกำรอำ่ นคิด
วิเครำะห์ และเขียน ม.๑ - ม.๖ จำแนกตำมระดับคณุ ภำพ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒

๙๐.๐๐
๘๐.๐๐
๗๐.๐๐
๖๐.๐๐
๕๐.๐๐
๔๐.๐๐
๓๐.๐๐
๒๐.๐๐
๑๐.๐๐

๐.๐๐ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ยี
ดเี ยยี่ ม ๔๙.๔๐ ๓๒.๑๔ ๘๑.๐๘ ๖๔.๕๖ ๘๕.๕๔ ๕๖.๓๔ ๕๘.๒๘
ดี ๔๗.๖๒ ๖๐.๐๐ ๑๕.๓๒ ๓๐.๓๘ ๑๓.๒๕ ๔๓.๖๖ ๓๗.๘๘
ผา่ น ๑.๑๙ ๒.๑๔ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๗๗
ไมผ่ า่ น ๑.๗๙ ๕.๗๑ ๓.๖๐ ๕.๐๖ ๑.๒๐ ๐.๐๐ ๓.๐๗

๓๕

ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติข้ันพื้นฐำน(O-NET) ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒
ระดับชน้ั มธั ยมศึกษำปที ่ี ๓ จำแนกตำมระดบั คุณภำพ

๘๐.๐๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
๖๗๕๐๐๐...๐๐๐๐๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
๔๐.๐๐ ๐.๐๐ ๕.๗๓ ๑๔.๘๗ ๙.๙๑
๒๑๓๐๐๐...๐๐๐๐๐๐ ๑๙.๖๗ ๖๒.๒๙ ๖๖.๘๔ ๖๗.๗๖
๐.๐๐ ๒๙.๕๑ ๓๒.๗๘ ๒๑.๔๘ ๒๓.๙๖
๒๙.๕๐ ๒.๔๕ ๑.๖๕ ๐.๘๒
ควรปรบั ปรงุ อย่างยงิ่ ๑๘.๘๕ ๐.๘๑ ๐.๐๐ ๐.๘๒
ควรปรับปรุง ๗.๓๘ ๐.๘๑ ๐.๐๐ ๐.๘๒
พอใช้ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
ปานกลาง
คอ่ นขา้ งดี
ดี
ดมี าก
ดเี ยี่ยม

ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำตขิ น้ั พ้นื ฐำน(O-NET) ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒
ระดับช้นั ธยมศึกษำปีที่ ๖ แยกตำมระดบั คุณภำพ

๑๗๒๙๖๘๑๓๕๔๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐...........๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ภาษาองั กฤษ
๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
ควรปรับปรงุ อย่างยง่ิ ๑๗.๖๔ ๔.๓๔ ๒.๘๙ ๒.๙๐ ๔.๔๑
ควรปรับปรงุ ๒๗.๙๔ ๔๙.๒๗ ๘๖.๙๕ ๗๒.๔๖ ๖๑.๗๖
พอใช้ ๒๕.๐๐ ๓๔.๗๘ ๘.๖๙ ๒๑.๗๓ ๓๐.๘๘
ปานกลาง ๒๗.๙๔ ๑๑.๕๙ ๑.๔๔ ๒.๘๙ ๒.๙๔
คอ่ นข้างดี ๑.๔๗ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
ดี ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
ดีมาก ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
ดีเยีย่ ม

๓๖

๒.๒ ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคณุ ภาพผู้เรยี นทส่ี นบั สนุนผลการประเมินตนเอง ไดแ้ ก่ ๑)

โครงการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ๘ กล่มุ สาระ (กิจกรรมเรียนพิเศษ กจิ กรรมการสอนซ่อมเสรมิ กิจกรรม
วางทุกงานอา่ นทุกคน กิจกรรมการสอนตามหลักสตู ร) ๒) โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธก์ิ ารทดสอบระดับชาติขัน้
พ้ืนฐาน (O-NET) (กิจกรรมการแขง่ ขันทกั ษะทางวชิ าการ กจิ กรรมการสอนซ่อมเสริมกิจกรรมการเรียนการสอน
กจิ กรรมการตวิ ขอ้ สอบ) ๓) โครงการส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศเฉพาะด้านของผเู้ รียน (กจิ กรรมการแข่งขนั งาน
ศลิ ปหตั ถกรรมของนักเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ในระดบั เขตพนื้ ที่การศึกษาฯ และระดบั ชาติ กจิ กรรมการใช้
เทคโนโลย)ี ๔) โครงการสง่ เสริมการอ่าน (กจิ กรรมห้องสมุด กจิ กรรมยอดนกั อ่าน กิจกรรมยอดนกั เลา่ นิทาน
กจิ กรรมประกวดเรยี งความ กิจกรรมอ่านคลอ่ งเขยี นคล่อง ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผเู้ รียนที่
สนับสนนุ ผลการประเมินตนเองดงั กล่าวน้ี ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นอา่ นหนงั สอื ออกและอ่านคล่อง รวมทง้ั สามารถเขียน
เพ่อื การสอ่ื สารไดท้ ุกคน สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง สง่ ผลใหผ้ ลสมั ฤทธิท์ างการ
เรียนของนักเรียนอยู่ในระดับดเี นอ่ื งจากมผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓
มีคะแนนเฉล่ียเพิ่มข้นึ ๒ วชิ า ไดแ้ ก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ มีคะแนนเฉลีย่ เพ่ิมขึน้ ๔
วชิ า ไดแ้ ก่ ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ นักเรียนไดร้ บั เหรยี ญทอง ๖ รายการ เหรยี ญเงนิ
๓ รายการ และเหรยี ญทองแดง ๒ รายการ จากการแขง่ ขนั งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น ระดับชาติ ครงั้ ที่ ๖๙
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั ศรสี ะเกษ (ภูมภิ าคภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ) กิจกรรมนอกจากนีผ้ เู้ รียนมีสุขภาพ
รา่ งกายแขง็ แรง มีสมรรถภาพทางกายและน้าหนักสว่ นสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวนิ ยั จนเป็นเอกลกั ษณ์ของ
สถานศกึ ษาเปน็ ทยี่ อมรบั ของชมุ ชนโดยรอบในเรื่องความมีวนิ ัย เคารพกฎกติกามารยาทของสงั คม จนนักเรยี น
ได้รบั รางวัลจากการเขา้ ร่วมการแข่งขนั กีฬา-กรฑี าในระดบั ศูนยเ์ ครอื ขา่ ยโรงเรยี นและระดบั เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา
หลายรายการ ดงั น้ี ไดร้ ับรางวัลเหรยี ญทองแดง การแข่งขันมวยไทยสมคั รเล่น รนุ่ นำ้ หนักไมเ่ กิน ๔๕ ก.ก. การ
แข่งขันกฬี าเยาวชนแหง่ ชาติ รอบคดั เลือก ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ไดร้ ับรางวลั เหรยี ญเงนิ การแข่งขนั กฬี า
นักเรียน-นกั ศึกษาแห่งชาติ จงั หวัดบรุ รี ัมย์ ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง การแขง่ ขันเปตองเดีย่ วหญงิ การแขง่ ขนั
กฬี านักเรียน-นกั ศึกษาแห่งชาติ ณ จังหวดั ชยั ภมู ิ

๓. จดุ เด่น จดุ ทคี่ วรพฒั นา แผนพฒั นาคุณภาพเพอื่ ยกระดบั ใหส้ ูงข้ึน

จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา
สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิ การจดั กจิ กรรมที่มุ่งเน้นยกระดับ
ทางการเรยี นและไดก้ ำหนดเป็นเปา้ หมายทางการ ผลสัมฤทธิ์ ยังขาดการปฏิบตั ิท่ตี อ่ เน่ือง จริงจงั การ
เรียนโดยใชข้ อ้ มลู ฐาน ๓ ปยี อ้ นหลังเป็นเป้าหมาย ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์แตล่ ะกล่มุ สาระประสบผลสำเร็จ
คณุ ภาพนักเรยี นให้พัฒนาสูงขนึ้ จัดกิจกรรมการ ในระดับหนง่ึ นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการ
เรยี นการสอนเน้นการปฏบิ ัติ เน้นทกั ษะในการอา่ น พัฒนาตอ่ ไป ผลสมั ฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนมี
การเขียน และการคิดคำนวณ สง่ เสรมิ ผูเ้ รยี นให้ แนวโนม้ เปลีย่ นแปลงพัฒนาขึ้นโดยรวม แตไ่ มผ่ ่าน

๓๗

พัฒนาเต็มศกั ยภาพ มกี ารจดั แหล่งเรียนรภู้ ายในได้ เกณฑ์ในบางกลมุ่ สาระการเรียนรู้ จึงตอ้ งมุง่ เนน้

อยา่ งเหมาะสม มสี ่ือด้านเทคโนโลยีท่ที ันสมัย ผเู้ รียน พฒั นาต่อไป

มี สุขภาพกาย สุขภาพจติ ดี กล้าแสดงออก และ จดั กจิ กรรมดา้ นการอ่าน การเขยี น คำนวณให้กับ

สามารถอยรู่ ว่ มกับผูอ้ นื่ อย่างมีความสขุ นักเรียนเรยี นร่วม เปรยี บเทยี บความกา้ วหนา้ และ

การพฒั นาของนักเรยี นเป็นรายบุคคล ผ้เู รยี น ยงั

ตอ้ งเร่งพัฒนาด้านการนำเสนอ การอภิปรายและ

แลกเปลย่ี นเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และตอ้ งพัฒนา

ทักษะการแกป้ ัญหาตามสถานการณไ์ ด้อยา่ ง

เหมาะสม ผู้เรียนยงั ต้องไดร้ บั การส่งเสรมิ ในดา้ น

ทศั นคติทด่ี ีตอ่ ความเปน็ ไทย ไม่หลงใหลกับค่านิยม

ตา่ งชาตจิ นเกิดการลอกเลยี นแบบ ทำใหล้ มื

วัฒนธรรมอันดีงามของไทย

แผนพัฒนาคณุ ภาพเพ่ือยกระดับใหส้ ูงขน้ึ
๑) พัฒนาให้นกั เรยี นมที ักษะในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคำนวณเป็นไปตามเกณฑ์ท่ี

โรงเรียนกำหนดในแตร่ ะดบั ช้ัน
๒) พัฒนาให้นักเรยี นมีความสามารถในการคดิ จำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตรต่ รอง พิจารณาอยา่ ง

รอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสนิ ใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแก้ปญั หาอย่างมี
เหตผุ ล

๓) พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทงั้ ด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีม
เช่อื มโยงองค์ความรู้ และประสบการณม์ าใชใ้ นการสร้างสรรคส์ ง่ิ ใหม่ ๆ

๔) พฒั นาให้นกั เรียน มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพฒั นาตนเอง
และสังคมในดา้ นการเรยี นรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม

๕) พัฒนาใหน้ กั เรียน มีความกา้ วหน้าในการเรยี นร้ตู ามหลกั สตู รสถานศึกษาจากพ้นื ฐานเดิมในด้าน
ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ กระบวนการต่าง ๆ

๖) พัฒนาให้นกั เรียนมีความก้าวหนา้ ในผลการทดสอบระดับชาติ มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐานในการ
จัดการเจตคติทด่ี พี ร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับช้นั ท่ีสูงข้นึ มีพฤติกรรมเป็นผทู้ มี่ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎ
กตกิ า

๗) พัฒนาใหน้ ักเรียนมคี ่านิยมและจติ สำนกึ ตามท่ีสถานศึกษามีความภูมิใจในทอ้ งถ่นิ เหน็ คุณค่าของ
ความเปน็ ไทย มีส่วนรว่ มในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทง้ั ภมู ปิ ัญญาไทย

๘) พฒั นาใหน้ กั เรียน มกี ารรักษาสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ อารมณ์ และสังคม แสดงออกอยา่ ง
เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวัย

๓๘

โดยมแี ผนงาน/โครงการท่โี รงเรยี นดำเนนิ งานมดี งั น้ี
๑) โครงการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ๘ กลุม่ สาระ
๒) โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์กิ ารทดสอบระดับชาติ (O-net)
๓) โครงการโรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพ
๔) โครงการสง่ เสริมการอ่าน
๕) โครงการโรงเรียนสะอาด ส่ิงแวดลอ้ มดี ชีวีมสี ขุ
๖) โครงการพฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น
๗) โครงการโรงเรียนสุจรติ
๘) โครงการสถานศึกษาสีขาว
๙) โครงการโรงเรยี นวถิ ีพุทธ
๑๐) โครงการคุณธรรม
๑๑) โครงการโรงเรียนวิถีลกู เสอื
๑๒) โครงการส่งเสริมสถานศึกษาพอเพยี งตามแนวพระราชดาริ
๑๓) โครงการสหกรณ์โรงเรยี น

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ

๑. ระดบั คุณภาพ ดีเยีย่ ม คา่ เปา้ หมาย
สถานศกึ ษา
มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา ยอดเย่ียม
ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ยอดเยี่ยม
๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ยอดเย่ียม
๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษา ยอดเย่ยี ม
และทุกกลุ่มเป้าหมาย ยอดเยี่ยม
๒.๔ พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี ยอดเยย่ี ม
๒.๕ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรยี นรู้

๒. วธิ กี ารพัฒนา/ผลทเี่ กิดจากการพัฒนา ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่ีสนับสนุนผลการประเมินตนเอง
๒.๑ วธิ ีการพฒั นา/ผลทเ่ี กิดจากการพฒั นาเพ่ือให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจดั การ

คุณภาพของสถานศึกษา ในโรงเรยี นโนนสุวรรณพิทยาคม การดำเนินการวิเคราะหส์ ภาพปญั หา ผลการจดั
การศกึ ษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมลู ฐานในการกำหนดเปา้ หมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอยา่ งชัดเจน ในดำเนนิ การ

๓๙

พัฒนาวชิ าการท่เี นน้ คณุ ภาพผ้เู รยี นรอบด้าน ตามหลักสตู รสถานศึกษาทุกกล่มุ เป้าหมาย เชือ่ มโยงกบั ชีวิตจริง
จัดทำแผนพัฒนา คณุ ภาพจดั การศกึ ษา ดำเนินงานพัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเช่ยี วชาญ ทางดา้ นวชิ าชพี
ตามความต้องการของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อตอ่ การจัดการเรียนรู้
อยา่ งมีคุณภาพ และจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนนุ การบริหารจัดการและการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม
กับสภาพของโรงเรียนโนนสวุ รรณพทิ ยาคม

๒.๒ ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทีส่ นบั สนุนผลการประเมินตนเอง
ประเดน็ ภาพความสำเรจ็ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการได้แก่ โรงเรียนมีเป้าหมาย

วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกิจทโ่ี รงเรียนกำหนดชดั เจน สอดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน มี
ระบบการบริหารจดั การคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาโดยนำแผนไปปฏิบัติ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุง พฒั นางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอตั รากำลัง ทรัพยากร
ทางการศกึ ษา และระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน มกี ารนิเทศภายใน นำข้อมูลมาใช้ในการพฒั นาบุคลากร และ
ผ้เู กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นในการวางแผน ปรับปรงุ พัฒนาและรว่ มกนั รบั ผิดชอบต่อการจดั การศกึ ษา มีการ
บรหิ ารจัดการเกีย่ วกับงานวชิ าการ รวมถึงการจัดการเรยี นการสอนของกลุ่มเรียนรว่ มด้วย มกี ารสง่ เสรมิ
สนับสนุนพัฒนาครแู ละบุคลากรตรงตามความต้องการและจัดให้มีชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี มาใช้ในการ
พัฒนางานและการเรยี นรู้ของผู้เรียน จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรยี น และ
สภาพแวดล้อมทางสงั คมทเ่ี อื้อต่อการจดั การเรยี นรูข้ องผเู้ รียนที่มีคณุ ภาพ มีความปลอดภัย จดั ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การ และการจัดการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกับสภาพของโรงเรยี น
พฒั นาบริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ มีห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์เพือ่ ใช้ในการบรหิ ารจดั การและการ
จดั การเรียนรู้อย่างเหมาะสม

๓. จุดเดน่ จุดท่คี วรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพ่อื ยกระดบั ให้สูงข้ึน

จุดเด่น จุดท่คี วรพฒั นา

โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ ท่ี โรงเรียนควรจดั ใหม้ อี าคารและ

กำหนดไวช้ ดั เจน สอดคล้องกับบรบิ ทของโรงเรียน ห้องปฏบิ ัติการทเ่ี พียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการ

ตามความต้องการของชุมชน วตั ถุประสงค์ของ เรียนรมู้ กี ารนิเทศ ติดตาม ทชี่ ัดเจน

แผนการจัดการศึกษาของชาติ นโยบายของรัฐบาล

และตน้ สังกัด ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงของสังคม

พัฒนางานวิชาการเน้นคณุ ภาพผ้เู รียนรอบด้าน ตาม

หลกั สตู รสถานศึกษา และส่งเสริมสนับสนนุ พัฒนา

ครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชีย่ วชาญตรงตามความ

ต้องการ ให้เปน็ ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ มาใช้ใน

การพฒั นางาน

๔๐

แผนพัฒนาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดับให้สูงข้นึ
๑) โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาและหลกั สูตรท้องถิ่น
๒) โครงการนเิ ทศภายใน
๓) โครงการส่งเสริมระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา
๔) โครงการจัดซ้ือวสั ดุ – ครุภณั ฑ์
๕ โครงการรับ-จ่ายเงนิ งบประมาณ
๖) โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการทาวจิ ัยในชั้นเรยี น
๗) โครงการอบรมและศกึ ษาดูงาน
๘) โครงการพฒั นาศักยภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาเพอ่ื การมีส่วนร่วมในการบริหารจดั การศกึ ษา
๙) โครงการศาสตร์พระราชาส่กู ารพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื
๑๐) โครงการส่งเสริมสถานศึกษาพอเพยี งตามแนวพระราชดาริ
๑๑) โครงการพฒั นาระบบบริหารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน
๑๒) โครงการสง่ เสริมความสัมพนั ธก์ ับชมุ ชน

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ

๑. ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ คา่ เป้าหมาย
สถานศกึ ษา
มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา
ดีเลศิ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ดีเลศิ
๓.๑ จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตได้ ดเี ลิศ
๓.๒ ใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทเ่ี อื้อตอ่ การเรียนรู้ ดีเลิศ
๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี นเชงิ บวก ดเี ลิศ
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผ้เู รียน ดเี ลศิ
๓.๕ มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพื่อพฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้

๒. วิธกี ารพฒั นา/ผลทเี่ กิดจากการพฒั นา ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่ีสนบั สนนุ ผลการ
ประเมนิ ตนเอง

๒.๑ วธิ ีการพฒั นา/ผลท่ีเกิดจากการพัฒนา
โรงเรยี นโนนสวุ รรณพิทยาคม สง่ เสรมิ ใหค้ รจู ัดกระบวนการเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั โดย
การดำเนนิ งาน/กจิ กรรมอย่างหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลกั สูตรมกี ารประชมุ ปฏิบัตกิ าร ปรบั ปรุงหลักสูตร
สถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชวี้ ดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๕๙) สง่ เสริมให้ครจู ัดการเรียนการ

๔๑

สอนเนน้ การปฏบิ ตั ิ (Active learning) ใหผ้ เู้ รยี นผ่านกระบวนการคดิ ปฏิบตั จิ ริง เพ่ือนำไปสู่การเรยี นรู้ทีล่ ึกซึ้ง
และคงทน ตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลกั สูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผูเ้ รยี นเป็น
รายบคุ คล ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผ้เู รียน รวมทงั้ ร่วมกัน
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ และนำผลทีไ่ ด้มาปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้ ครมู ีแผนการจดั การเรยี นรู้ทสี่ ามารถนำไปใชจ้ ัด
กจิ กรรมไดจ้ รงิ ครใู ช้สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ มกี ารบริหารจดั การชัน้ เรียนเชิงบวก เพ่ือใหเ้ ดก็ รักการเรียนรแู้ ละ
เรยี นรูร้ ว่ มกันอยา่ งมคี วามสุข ครรู ่วมแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละนำข้อมลู มาร่วมพฒั นาปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้
และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม แผนการจดั การเรยี นรู้ อีกท้งั ปรับโครงสร้างรายวชิ า หนว่ ยการเรยี นรู้ลด
เวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ สดั ส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ทสี่ อดคลอ้ งกับหนว่ ยการ
เรยี นรู้ สนบั สนุนใหค้ รูจัดการเรียนการสอนทส่ี ร้างโอกาสให้นักเรยี นทกุ คนมีสว่ นร่วม ได้ลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ จน
สรุปความร้ไู ด้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ทักษะการคิด เชน่ จดั การเรียนรดู้ ้วยโครงงาน ครมู กี าร
มอบหมายหนา้ ทีใ่ ห้นักเรยี นจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ตา่ ง ๆ ทั้งภายในห้องเรียนและนอก
หอ้ งเรยี น ครใู ช้ส่ือการเรียนการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ มีการประเมินคุณภาพและ
ประสิทธิภาพของส่อื การสอนทใ่ี ช้ครทู กุ คนทำงานวิจัยในชนั้ เรยี น ปกี ารศกึ ษาละ ๑ เรือ่ ง

๒.๒ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่สี นบั สนุนผลการประเมินตนเอง
ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ที่สนับสนุนผล
การประเมนิ ตนเอง ได้แก่ หลักสตู รสถานศึกษา หลักสูตรรายวิชาเพมิ่ เติม กิจกรรมชมุ นุม ใหน้ กั เรียนเลือกตาม
ความถนดั และความสนใจผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ การบนั ทึกการใชส้ อื่ เทคโนโลยีและแหลง่ เรียนรู้
เอกสารการตรวจสอบและประเมินผูเ้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรยี นมีการบรหิ ารจดั การช้ัน
เรียนเชงิ บวกโดยครมู วี ิจัยชนั้ เรียนและนาผลไปแกไ้ ขปัญหาจริง ครมู ีการแลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมลู
สะทอ้ นกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรียนรโู้ ดยจัดกจิ กรรม Open house ให้นกั เรียนนำเสนอ
ผลงานหนงึ่ โรงเรยี นหนึง่ ผลติ ภณั ฑ์ และครูไดร้ ับรางวลั ทรงคุณคา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) เหรยี ญทอง
ระดบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คร้ังท่ี ๙ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ และเป็นตัวแทนเขา้ การประกวด
ระดบั ชาติ จำนวน ๓ คน ไดแ้ ก่ ๑) นางสาวกตัญชลี เอกวธุ รางวลั ชนะเลิศเหรยี ญทอง ครูผ้สู อนยอดเยย่ี ม
สง่ เสริมการใชน้ วัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ดา้ น
นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นการสอน ๒) นางปัทมา ชนะสงคราม รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ ๑
เหรยี ญทอง ครูผสู้ อนยอดเยีย่ ม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย บูรณาการ ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการ
เรียนการสอน และ ๓) ว่าท่รี ้อยตรีณัฐธนนั วรรณสขุ รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดบั ๑ เหรียญทอง ครผู ู้สอนยอด
เยยี่ ม ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านบริหารจดั การ

๔๒

๓. จดุ เดน่ จดุ ท่คี วรพัฒนา แผนพฒั นาคณุ ภาพเพื่อยกระดับใหส้ ูงขึ้น

จุดเดน่ จุดท่ีควรพัฒนา

ครูมคี วามตง้ั ใจ ม่งุ ม่ันในการพฒั นาการสอน ควรนำภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ใหเ้ ขา้ มามีสว่ นร่วม

โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรยี นรู้ ทเี่ น้นทกั ษะ ในการจดั กจิ กรรมใหน้ ักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ และการให้

กระบวนการคดิ ได้ปฏิบตั จิ ริง มีการใหว้ ิธกี ารและ ขอ้ มลู ย้อนกลับแก่นักเรยี นทนั ทีเพ่ือนกั เรียนนำไปใช้

แหลง่ เรยี นรู้ที่หลากหลาย ให้นกั เรียนแสวงหา พัฒนาตนเอง

ความรู้ จากสอ่ื เทคโนโลยีดว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ือง

นกั เรียนมีส่วนร่วมในการจดั บรรยากาศ

สภาพแวดลอ้ มที่เอื้อต่อการเรียนรู้

แผนพฒั นาคุณภาพเพอื่ ยกระดบั ใหส้ ูงข้ึน
๑) โครงการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ๘ กลมุ่ สาระ
๒) โครงการศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยงั่ ยืน
๓) โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิก์ ารทดสอบระดับชาติ (O-net)
๒) โครงการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาและหลักสตู รท้องถ่ิน
๓) โครงการสถานศึกษาสีขาว
๔) โครงการโรงเรียนวิถีพทุ ธ
๕) โครงการคุณธรรม
๖) โครงการโรงเรยี นวิถีลกู เสือ
๗) โครงการส่งเสรมิ สถานศึกษาพอเพียงตามแนวพระราชดาริ
๘) โครงการสหกรณโ์ รงเรยี น
๙) โครงการพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น
๑๐) โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการทาวิจยั ในช้นั เรียน

สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม

๑. ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ
๒. วิธกี ารพฒั นา/ผลทเี่ กดิ จากการพฒั นา ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการ
ประเมนิ ตนเอง

๒.๑ วิธีการพฒั นา/ผลที่เกดิ จากการพัฒนา
จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกจิ กรรมต่าง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพฒั นาคณุ ภาพ

การศกึ ษาประสบผลสำเร็จตามที่ตัง้ เปา้ หมายไวใ้ นแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมนิ สรุปว่าได้ระดบั ดี ทั้งน้ี


Click to View FlipBook Version