The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by education kkn, 2021-01-06 21:30:56

แนวทางการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐทวัยในระดับพื้นที่

แนวทางการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

1

2

แนวทางการดาเนินงาน
โครงการขบั เคล่อื นการพฒั นา
การจดั การศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กลุม่ นิเทศการศกึ ษาและพัฒนานวัตกรรม
สานกั บรู ณาการกิจการการศึกษา
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

3

คานา

แนวทางการดาเนินงานโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนท่ี ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับน้ีจัดทาข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ประกอบในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “หลักสูตร
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564” เพื่อให้ผู้ท่ีรับผิดชอบโครงการของหน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
ใช้เป็นแนวทางในการขับเคล่ือน และหรือการกากับ ติดตามการดาเนินงานในพื้นที่ โดยคณะทางานได้วิเคราะห์
แนวทางและเครือ่ งมอื การดาเนินงานจากวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดเป้าหมายโครงการทีก่ าหนด แตท่ ้ังน้ีเอกสารนี้เป็น
เพียงแนวทางการดาเนินงานในภาพรวม ซ่ึงสานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ซึ่งเป็น
หน่วยงานท่ีปฏิบัติสามารถปรับ เพ่ิมหรือกาหนดแนวทางการดาเนินงานท่ีมีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพ
บรบิ ทและความต้องการของพน้ื ที่ได้ แต่ต้องสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายตวั ช้ีวดั ของโครงการทก่ี าหนด

เอกสารน้ีประกอบด้วยสาระ เนอื้ หาท่ีสาคัญโดยนาเสนอเปน็ 4 สว่ น ได้แก่ ส่วนที่ 1 บทนา ประกอบดว้ ย
ที่มา ความสาคัญของโครงการ วัตถุประสงค์ และตัวช้ีวัดเป้าหมายของโครงการ ส่วนที่ 2 เป็นแนวทางการ
ดาเนินงานขับเคลื่อนโครงการสู่การปฏิบัติ ส่วนที่ 3 เป็นส่วนของเคร่ืองมือในการดาเนินงาน เพื่อใช้ในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลตามแนวทางท่ีกาหนด และส่วนท่ี 4 เป็นการกากับ ติดตาม และรายงานผลการดาเนินงานของ
หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง

กลุ่มนิเทศการศึกษาและพัฒนานวัตกรรม สานักบูรณาการกิจการการศึกษา สานักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ขอขอบคุณคณะทางานทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือจัดทาเอกสารน้ีจนสาเร็จลุล่วงด้วยดี สานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หวังเป็นอยา่ งย่ิงว่าเอกสารนี้จะเป็นประโยชน์ในการขับเคลื่อนโครงการการพัฒนาการจัด
การศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดและส่งผลถึง
คณุ ภาพเดก็ ปฐมวยั ซงึ่ เป็นอนาคตของชาตติ อ่ ไป

กลุม่ นเิ ทศการศึกษาและพัฒนานวตั กรรม
สานกั บรู ณาการกิจการการศึกษา

สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
มกราคม 2564

4

สารบัญ

เร่อื ง หน้า

คานา 1
1
สารบญั 2
2
ส่วนที่ 1 บทนา 3
4
1. หลกั การและเหตผุ ล 5
2. วัตถุประสงคข์ องโครงการ 5

3. ขอบเขตของโครงการ 6

4. ตัวชว้ี ัดเปา้ หมายโครงการ 6

5. นิยามศพั ท์เฉพาะ 8
9
สว่ นที่ 2 แนวทางการดาเนินงาน 13
15
1. สง่ เสริม สนับสนนุ ให้เด็กปฐมวัยทุกคนไดร้ บั การดูแลและพัฒนาในการจดั ศึกษาปฐมวยั 17
อย่างท่ัวถึง และมีพัฒนาการสมวยั 19
19
2. ส่งเสรมิ สนับสนุน และพฒั นาสถานศกึ ษา/สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยใหม้ ีคณุ ภาพ 27
ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติ 34
34
3. สร้างความรู้ ความเข้าใจ การตระหนักถงึ ความสาคัญ ของการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย และ 39
การมสี ่วนร่วมในการส่งเสริม สนบั สนุนการดูแล พฒั นาและการจัดการศึกษาสาหรับ 39
เด็กปฐมวยั 42
43
สว่ นท่ี 3 เครอื่ งมือในการดาเนินงาน 44
60
1. ระดับสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั (ฉบับท่ี 1)
2. ระดบั หน่วยงานตน้ สังกัด (ฉบับท่ี 2)
3. ระดบั จงั หวดั (ศธจ.) (ฉบบั ท่ี 3)
4. ระดับภาค (ฉบบั ที่ 4)
5. ระดับ สป./ศธภ./ศธจ. (ฉบบั ที่ 5)

ด้านการบรหิ ารจัดการศกึ ษาระดับปฐมวยั (สาหรบั ผ้บู ริหาร)
ดา้ นการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ระดับปฐมวยั (สาหรับครูผูส้ อน)
สว่ นที่ 4 การกากบั ตดิ ตาม และรายงานผลการดาเนนิ งาน

1. การกากบั ติดตามการดาเนินงาน

2. การรายงานผลการดาเนินงาน
2.1 รายไตรมาส
2.2 เมอ่ื สิ้นสุดโครงการ

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ตวั อยา่ งเคร่ืองมือ
ภาคผนวก ข คณะทางาน



ส่วนที่ 1
บทนา

1.หลักการและเหตผุ ล

ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 54 รัฐต้องดาเนินการให้เด็ก
ทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ
โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง
เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดาเนินการ ท้ังน้ี ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
ซึ่ งอ ย่ างน้ อ ย ต้ อ งมี บ ท บั ญ ญั ติ เกี่ ย ว กั บ ก ารจั ด ท าแ ผ น ก ารศึ ก ษ าแ ห่ งช าติ แ ล ะก ารด าเนิ น ก าร
และตรวจสอบการดาเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย ในการดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับ
การดูแลและพัฒนา รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายใน การศึกษาตาม
ความถ นั ด ของต น ป ระกอ บ กั บ พ ระราช บั ญ ญั ติการพั ฒ น าเด็ก ป ฐมวัย พ .ศ. 2562 กาห น ดให้ มี
คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นคณะกรรมการระดับชาติ มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน มีอานาจ
ในการจัดทานโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ควา มเห็นชอบ
ประสานงาน กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย บูรณาการการ
ทางานร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรอ่ืนใดท่ีเก่ียวข้องในระดับชาติถึงระดับชุมชน เสนอหรือแก้ไข
กฎหมายที่เก่ียวข้อง จัดให้มีและพัฒนาฐานข้อมูลเด็กปฐมวัย เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับการจัดทา
งบประมาณแบบบูรณาการของหน่วยงานรฐั ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การพัฒนาเด็กปฐมวัย

นอกจากน้ัน นโยบายรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ท่ีแถลงต่อรัฐสภา เม่ือวันที่ 25
กรกฎาคม 2562 ได้กาหนดให้การส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นนโยบายหลกั ของนโยบายปฏิรูปกระบวนการ
เรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพคนไทยทุกช่วงวัย รวมถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายณัฏฐพล
ทีปสุวรรณ ได้มอบนโยบายให้ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการในโอกาสเข้ารับตาแหน่งอย่างเป็นทางการ
ได้กาหนดให้การศึกษาปฐมวยั เป็นนโยบายสาคัญด้วย ดงั นั้น เพ่ือให้การดาเนนิ งานของกระทรวงศึกษาธกิ าร มีกรอบ
ทศิ ทางและเป้าหมายการดาเนินงานในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกบั การขับเคล่ือนการพัฒนาเด็กปฐมวยั ด้านการจัดการศึกษา
ทช่ี ัดเจน เปน็ ไปตามข้อกาหนดของกฎหมาย สอดคลอ้ งกบั แนวนโยบายและเป้าหมายการพฒั นาของยทุ ธศาสตรช์ าติ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล นโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการ และแผนอ่ืนที่เก่ียวข้อง รวมท้ัง เพ่ือให้เกิดการรวมพลังในการผลักดันและขับเคลื่อนการ
พัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยร่วมกับหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องเพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยมีความพร้อม
สาหรับการเรียนรู้ในระดับท่ีสูงขึ้น เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ ตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ สานักงาน
ปลดั กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ประสานกบั ทกุ หน่วยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการที่เกยี่ วข้องกบั การจัดการศกึ ษา
ปฐมวยั ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการด้านการจัดการศึกษาปฐมวัยของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2563-2565
ข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) กาหนดกรอบทิศทางและเป้าหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยของ
กระทรวงศึกษาธิการ ในช่วงปี 2563-2565 และให้หน่วยงานในสังกัดท่ีเก่ียวข้องนาไปใช้เป็นกรอบแนวทางการ
ดาเนินงานของหน่วยงาน 2)ให้ผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการใช้เป็นเครื่องมือในการบรหิ ารงาน จัดสรรงบประมาณ
กากับ ติดตาม และประเมินผลความสาเร็จของการจัดการศึกษาปฐมวัยในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ และ
3)ใช้เป็นกรอบทิศทางและเป้าหมายการดาเนินงานสาหรับการบูรณาการการทางานร่วมกัน หรือส่งเสริมสนับสนุน
การดาเนินงานระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ขอบเขตของแผนตามกฎหมาย
กาหนดใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารมอี านาจหนา้ ท่เี กยี่ วกับการส่งเสรมิ และกากับดูแลการศึกษาทกุ ระดับ ทกุ ประเภท



ปัจจุบันการดาเนินงานการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย มีหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการท่ีเก่ียวข้อง
ไดแ้ ก่ สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้น
พน้ื ฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ซึ่งทุกหน่วยงานมีความคืบหน้าของการดาเนินงานตามภารกิจที่เก่ียวข้องมาเป็นลาดับ สาหรับในส่วนของสานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อการดาเนินงานเก่ียวกับการส่งเสริมและพัฒนาการจัด
การศึกษาเด็กปฐมวัยในระดับพื้นท่ีต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นต้นมา สานักงานศึกษาธิการภาคและ
สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ได้มีการดาเนินงานท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่ สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริหาร ครู ผู้ดูแลเด็ก
และผู้เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและเอกชน การจัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศเด็กปฐมวัย การจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา
ปฐมวัยเชิงบูรณาการระดับจังหวัด และการคัดเลือก รวบรวม และขยายผลผลงานวิจัย นวัตกรรม รูปแบบและ
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของการจัดการศึกษาปฐมวัย รวมทั้ง มีการนิเทศ กากับ ติดตามความคืบหน้า
ของการดาเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาในพ้ืนที่เป็นระยะอย่างต่อเน่ือง นอกจากนั้น ในการดาเนินงาน
ข้างต้น สานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัดได้มีการประสานงาน สร้างความร่วมมือและ
บูรณาการการทางานร่วมกับหน่วยงานของกระทรวงหลกั ท่ีเกี่ยวข้องในพื้นท่ีเป็นอย่างดี เช่น สานักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด สาธารณสุขจังหวัด ท้องถนิ่ จงั หวัด รวมถึง กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน
องคก์ รภาคเอกชนและมูลนธิ ิในพ้ืนที่ ดังน้ัน เพ่ือให้การดาเนนิ งานขับเคลอื่ นการส่งเสริม ดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวัย
ในส่วนของพ้ืนท่ีระดับภาคและจังหวัดเป็นไปอย่างต่อเน่ือง และมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับข้อกาหน ดของ
กฎหมาย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการจึงจัดทาโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยใน
ระดับพื้นท่ี โดยให้สานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัดเป็นหน่วยงานหลักในการบูรณาการ
ความรว่ มมือระหวา่ งหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องในพืน้ ทเ่ี ป็นสาคัญ

2.วตั ถุประสงคข์ องโครงการ

2.1 เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการดูแลและพัฒนาในการจัดศึกษาปฐมวัยอย่างทั่วถึง
และมีพฒั นาการสมวัย

2.2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาสถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ

2.3 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ การตระหนักถึงความสาคัญ ของการพัฒนาเด็กปฐมวัย และการมีส่วน
ร่วมในการสง่ เสริม สนบั สนนุ การดูแล พฒั นาและการจัดการศกึ ษาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

3. ขอบเขตของโครงการ

3.1 กล่มุ เป้าหมายโครงการ
3.1.1 เดก็ ปฐมวัย (อายุ 3-6 ปี)
3.1.2 สถานศึกษาและสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ทกุ สังกดั
3.1.3 ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ผูด้ ูแลเดก็ ผรู้ บั บรกิ าร และผ้มู ีส่วนเกี่ยวขอ้ งทกุ ภาคสว่ น
3.1.4 หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในพ้ืนที่ทุกสังกัดได้แก่ สานักงานพัฒนาสังคม

และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ท้องถ่ินจังหวัด สาธารณสุขจังหวัด สานักงานศึกษาธิการภาค สานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัด กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
เอกชน สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ องค์การภาคเอกชน มูลนธิ ิ ฯลฯ



3.2 ระยะเวลาดาเนนิ การ
โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการกาหนดกิจกรรมและระยะเวลาดาเนินการ ตามกรอบระยะเวลาการ
ดาเนินงาน ดังนี้

ภาพ กรอบระยะเวลาการดาเนินงานโครงการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นท่ี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

จากภาพกรอบระยะเวลาการดาเนินงานโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับ
พื้นท่ี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พบว่า สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีกิจกรรมและระยะเวลา
ดาเนินงาน ดงั น้ี

1. เดือนมกราคม 2564 อบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้รับผิดชอบโครงการของสานักงาน
ศกึ ษาธกิ ารภาคและสานกั งานศึกษาธิการจงั หวดั

2. ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม 2564 สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการลงพ้ืนที่ติดตาม
การดาเนนิ งานของสานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั

3. เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2564 จัดประชุมนาเสนอ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้และคัดเลือกวิธีปฏิบัติท่ีเป็น
เลิศ (Best Practice) ระดับปฐมวยั

4. เดือนสิงหาคม - กันยายน 2564 ประชมุ สรปุ ผลและจดั ทารายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ

4. ตวั ชว้ี ดั เป้าหมายโครงการ (Outputs) และตัวชีว้ ดั ผลลัพธ์ (Outcomes)

4.1 ตัวช้ีวดั เปา้ หมายโครงการ (Outputs)
4.1.1 เด็กปฐมวยั (อายุ 3-6 ปี) ทุกคน ได้รบั การดูแล พัฒนา จัดประสบการณ์เรียนรู้ และจัดการศึกษา

ให้มีพฒั นาการสมวยั ในทกุ ด้าน
4.1.2 ร้อยละ 80 ของสถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมีคุณภาพระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต้นตาม

มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ



4.1.3 ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกภาคส่วน ภาพรวม 77
จังหวัด จานวนไม่น้อยกว่า 38,500 คน ได้รับการส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจ
มคี วามตระหนักและเขา้ มามีสว่ นรว่ มในการดูแล พัฒนาและจัดการศกึ ษาให้เด็กปฐมวยั

4.2 ตวั ช้ีวดั ผลลพั ธ์ (Outcomes)
ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยท่ีจบการศึกษาระดบั ปฐมวัย มีพัฒนาการสมวยั ในทกุ ดา้ นอยู่ในระดบั ดี

5. นิยามศพั ท์เฉพาะ

สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง สถานท่ีรับดูแล พัฒนา จัดประสบการณ์เรียนรู้และการศึกษาสาหรับ
เด็กปฐมวัย

เด็กปฐมวัย หมายถงึ เด็กซง่ึ มอี ายุ 3 – 6 ปบี รบิ ูรณ์ หรือกอ่ นเข้าเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1
ผ่านเกณฑ์ขั้นต้น หมายถึง ผ่านการประเมินพัฒนาการสมวัยระดับ 1 ข้ึนไป ตามมาตรฐานสถานพัฒนา
เด็กปฐมวยั แห่งชาติ
การสร้างการรบั รู้ หมายถงึ รปู แบบ/ แนวทางการจัดกจิ กรรมท่สี ง่ เสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยใหผ้ มู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ ง
มีความรู้ความเข้าใจ เช่น พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562 มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
แห่งชาติ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่ผู้ปกครอง ด้วยวิธีการที่หลากหลาย อาทิ การ
อบรม การสัมมนา การใช้ระบบออนไลน์ ฯลฯ



ส่วนท่ี 2
แนวทางการดาเนนิ งาน

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาแนวทางการดาเนินงานโครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัด

การศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สาหรับสานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงาน

ศึกษาธิการจังหวัด ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ ทั้งนี้

สานักศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัดสามารถปรับหรือเพิ่มเติมวิธีการให้เหมาะสมตามสภาพและ

บรบิ ทของพนื้ ทีไ่ ด้ แต่ต้องให้เป็นไปตามวัตถุประสงคท์ ่ีกาหนด โดยได้เสนอแนวทางการดาเนินงาน ดังน้ี

1. ส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทกุ คนได้รับการดแู ลและพัฒนาในการจัดศึกษาปฐมวัยอย่างทั่วถึง และ

มีพัฒนาการสมวัย

แนวทางการดาเนนิ งาน ระยะเวลา

สานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั

๑. จดั ประชมุ ช้ีแจง/ทบทวนเรอื่ งมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ และการจัดเก็บ ม.ค. - ก.พ. 64

รวบรวมข้อมูลพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 ตามแบบบันทึกการ

ประเมินตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ให้แก่ ผู้รับผิดชอบ/ผู้แทน ทุกสังกัดที่

มสี ถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

2. รวบรวมและสรุปข้อมูลพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 พ.ค.-มิ.ย.๖๔

ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติเป็นภาพรวมในระดับจังหวดั

3. จดั ทาเอกสารรายงานข้อมูลสารสนเทศพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา พ.ค.-มิ.ย.64

2563 ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ ระดับจังหวัด

4. รายงานข้อมลู สารสนเทศพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั (เด็ก 3-6 ป)ี ปีการศกึ ษา 2563 ภายใน 15 ก.ค.๖๔

ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติระดับจังหวัด นาส่งสานักงานศึกษาธกิ ารภาค

5. เผยแพร่หน่วยงานการศกึ ษาทีเ่ กี่ยวข้อง ภายใน 15 ก.ค.๖๔

สานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค

๑. ประสานผู้รับผิดชอบของ ศธจ.เพ่ือรวบรวมและสรุปข้อมูลพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็ก ภายในก.ค. 64

3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ

๒. จัดทาเอกสารรายงานข้อมูลสารสนเทศพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา ภายในก.ค. ๖๔

2563 ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ ระดบั ภาค
๓. รายงานข้อมูลสารสนเทศพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 ส.ค.๖๔

ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติระดับภาค เพื่อนาส่งสานักงานปลัดกระทรวง

ศึกษาธิการ

๔. เผยแพรเ่ อกสารแก่หน่วยงานการศกึ ษาทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ส.ค. ๖๔



2. ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาสถานศกึ ษา/ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานสถาน

พฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ

แนวทางการดาเนนิ งาน ระยะเวลา

สานกั งานศึกษาธิการจังหวดั

การนเิ ทศ กากบั ติดตามการดาเนินงาน

1. แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ กากับ ติดตาม วางแผนการดาเนินงานและกาหนดกรอบ/ ม.ค. 64

แนวทางการดาเนินงาน จัดทาคู่มือการนิเทศ และ ปฏิทินการนิเทศ กากับ ติดตามผลการ

ดาเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

แหง่ ชาติ

2. ประสานหน่วยงานต้นสังกัดและดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตามผลการดาเนินงาน ก.พ.-มี.ค. 64

ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

3. รวบรวม วเิ คราะห์ และสรุปผลการนิเทศ ดงั น้ี พ.ค.-ม.ิ ย. 64

3.1 ผลการนิเทศ กากับ ติดตามผลการดาเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

ใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ จากหนว่ ยงานต้นสงั กัด

3.2 ผลการประเมินตนเองของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนา

เดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ

4. สรุปและจัดทารายงานผลการดาเนินงาน เพอื่ รายงานสานกั งานศึกษาธิการภาค ภายใน 15 ก.ค.64

สานักงานศึกษาธกิ ารภาค

การกากบั ตดิ ตามการดาเนนิ งาน

1. ประสานผู้รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด เพื่อรวบรวมและวิเคราะห์ผล ภายใน ก.ค.64

การดาเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับภาค ให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนา

เดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติ

2. จัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในภาพรวม ระดับภาค ภายใน 15

เพื่อนาเสนอสานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการและหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ส.ค.64

2.1 ผลการนิเทศ กากับ ติดตามผลการดาเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้

มคี ุณภาพตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ

2.2 ผลการประเมินตนเองของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนา

เดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ

3. สร้างความรู้ ความเข้าใจ การตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย และการมีส่วนร่วม
ในการส่งเสริม สนับสนนุ การดแู ล พฒั นาและการจัดการศึกษาสาหรบั เด็กปฐมวยั

แนวทางการดาเนนิ งาน ระยะเวลา
ม.ค.–มิ.ย.64
สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัด

1. การสร้างการรับรู้ มี 2 รูปแบบ ดังนี้
1.1 การสร้างการรับรู้ด้วยระบบออนไลน์ (สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารจัดทา)
1.๑.1 ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมาย(หน่วยงานทางการศึกษา สถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวยั และผู้สนใจ)ในพื้นทีร่ บั ผิดชอบได้รบั ทราบเพอ่ื เขา้ ระบบออนไลน์



แนวทางการดาเนนิ งาน ระยะเวลา

1.1.2 แจ้งหลกั เกณฑก์ ารรับวฒุ บิ ัตรจากการพฒั นาตนเองดว้ ยระบบออนไลนโ์ ดย

๑) กลุ่มเป้าหมายเข้ากรอกข้อมูลสว่ นตวั ศึกษาใบความรู้ และทาแบบทดสอบ

ออนไลน์

๒) กลุ่มเป้าหมายส่งคาตอบ ผู้ท่ีได้รับคะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป (ผ่านเกณฑ์)

จะได้รบั วุฒิบตั ร

1.1.3 ระยะเวลาในการเขา้ ศกึ ษาในระบบระหวา่ งเดือนมกราคม-มิถนุ ายน ๒๕๖๔

1.2 การสรา้ งการรับรู้การจัดการศกึ ษาปฐมวยั ตามบริบทและความต้องการของแต่ละพ้ืนที่ ม.ค.-ก.ค.64

2. การคดั เลอื กหรอื สรรหารูปแบบ/วิธีปฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practices) สง่ สานักงาน

2.๑ คัดเลือกหรือสรรหารูปแบบ/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ตามบริบทของแต่ ศกึ ษาธิการภาค

ละพ้ืนที่ จานวน 2 ช้ิน/ผลงาน ได้แก่ 1) ด้านการบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัย (สาหรับ ภายใน 15

ผู้บริหาร) และ 2) ดา้ นการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรรู้ ะดับปฐมวยั (สาหรบั ครูผู้สอน) ก.ค. ๖๔

2.2 สรุปผลการดาเนนิ งานการคดั เลือกหรือสรรหารูปแบบ/วิธีปฏบิ ัติทีเ่ ปน็ เลิศ (Best

Practices) ในการพฒั นาเด็กปฐมวัยระดับจงั หวัด นาเสนอผ้บู รหิ ารหน่วยงานทราบและจดั สง่

สานักงานศึกษาธิการภาค

สานกั งานศกึ ษาธิการภาค

1. การสรา้ งการรับรดู้ ้วยระบบออนไลน์ (สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารจดั ทา) ม.ค. – ม.ิ ย. 64

1.1 การสรา้ งการรับรดู้ ้วยระบบออนไลน์ (สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการจดั ทา)

1.๑.1 ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมาย(หน่วยงานทางการศึกษา สถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวยั และผู้สนใจ)ในพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบ ได้รับทราบเพ่ือเขา้ ระบบออนไลน์

1.1.2 แจ้งหลักเกณฑก์ ารรับวุฒบิ ัตรจากการพัฒนาตนเองด้วยระบบออนไลน์โดย

๑) กลุ่มเป้าหมาย เขา้ กรอกข้อมลู ส่วนตัว ศกึ ษาใบความรู้ และทาแบบทดสอบ

ออนไลน์

๒) กลุ่มเป้าหมายส่งคาตอบ ผู้ที่ได้รับคะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป (ผ่านเกณฑ์)

จะไดร้ ับวุฒบิ ตั ร

1.1.3 ระยะเวลาในการเข้าศกึ ษาในระบบ ระหวา่ งเดอื นมกราคม-มถิ นุ ายน ๒๕๖๔

2. การคดั เลอื กหรือสรรหารูปแบบ/วธิ ีปฏบิ ัติทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practices) ส่ง สป.ภายใน

2.1 คดั เลือกหรือสรรหารปู แบบ/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ตามบริบทของแต่ 30 ก.ค. ๖๔

ละพื้นที่ จานวน 2 ชิ้น/ผลงาน ได้แก่ 1) ด้านการบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัย (สาหรับ

ผบู้ ริหาร) และ 2) ดา้ นการจัดประสบการณ์การเรียนร้รู ะดบั ปฐมวัย (สาหรบั ครูผู้สอน) และนา

ผลการคดั เลือกฯ สง่ สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ



สว่ นที่ 3
เครอื่ งมือในการดาเนินงาน

การดาเนินงานโครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามโครงการ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาเคร่ืองมือเพ่ือใช้
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลตามแนวทางการดาเนินงานท่ีกาหนด รวมทั้งให้ได้ข้อมูลที่สะท้อนผลการดาเนินงานตาม
วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ ได้จัดทาเครื่องมอื ใหห้ นว่ ยงานที่เกี่ยวข้องใชเ้ พ่ือตอบตามวัตถปุ ระสงค์ ดังนี้

1. เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ระดบั สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
ฉบับที่ 1 แบบบันทกึ ผลการประเมินระดบั สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั

2. เครือ่ งมือทใี่ ช้ระดับหนว่ ยงานต้นสงั กัด
ฉบับท่ี 2 แบบบนั ทึกผลการประเมนิ /นเิ ทศระดับหนว่ ยงานต้นสังกัด

3. เครื่องมือทใ่ี ช้ระดบั จังหวดั (ศธจ.)
ฉบับท่ี 3 แบบบันทกึ ผลประเมิน/นิเทศระดับจังหวดั

4. เคร่อื งมอื ท่ีใช้ระดบั ภาค
ฉบับที่ 4 แบบบันทึกผลประเมิน/นิเทศระดับภาค

5 เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ระดบั สป./ภาค/จังหวดั (ศธจ.)
ฉบับที่ 5 เกณฑก์ ารคัดเลือกวิธปี ฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลิศ Best Practices



ฉบบั ที่ 1
แบบบนั ทกึ ผลประเมนิ
ระดบั สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

แบบบนั ทึกผลการประเมินสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ประจาปี ๒๕๖๓
ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ ระดับสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

คาชแี้ จง

1. สานักงานศึกษาธิการจังหวัดส่งแบบบันทึกผลฯ ให้หน่วยงานต้นสังกัดภายในเดือน มกราคม 2564
เพอ่ื สง่ ใหส้ ถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในสงั กดั บันทึกผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ตามแบบ

2. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยบันทึกข้อมูลตามและส่งข้อมูลให้หน่วยงานต้นสังกัด ภายในเดือน เมษายน
2564

ส่วนที่ ๑ ขอ้ มลู พ้ืนฐาน

๑. ช่ือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย........................................................................................................
อาเภอ..................................................................................... จงั หวัด .................................................

๒. สงั กดั ( ) ภาครัฐ โปรดระบุ……………................……………………………….......…………………………..............……….
( ) เอกชน โปรดระบุ…………………………….........………..( ) อ่นื ๆ...............................................................

3. หัวหนา้ สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
ชือ่ ..........................................................................................สกุล.............................................................
อเี มล์………...………...........................................................โทรศัพท์/มือถือ................................................
วฒุ ิการศึกษา ( ) ๑. สาขาปฐมวยั คือ.................................................................................................
( ) ๒. สาขาอื่น……………………….................................................................…………......

๕. สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แห่งน้ี รับเดก็ ต้ังแต่อายุ……............... ปี ถงึ ……..…….......ปี
๖. จานวนเด็กปฐมวยั ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

- ระดบั ชั้นอนุบาลปที ี่ ๑ จานวน........................คน
- ระดบั ชัน้ อนบุ าลปีท่ี ๒ จานวน........................คน
- ระดับชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๓ จานวน........................คน

รวมจานวนทั้งหมด ...................คน
7. จานวนเด็กอนุบาล 3 ท่ีจบการศกึ ษาระดบั ปฐมวัยปีการศึกษา 2563 (ขึ้นชน้ั ป.1) จานวน......................คน

สว่ นท่ี 2 ผลการประเมินสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

๑๐

ตารางที่ ๑ บันทึกสรุปผลการประเมนิ ตวั บ่งช้ี มาตรฐานดา้ นที่ ๑-3 คะแนนการประเมนิ
ตัวบ่งชี้มาตรฐาน

มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

ตัวบง่ ชี้ที่ ๑.๑ การบรหิ ารจัดการอย่างเป็นระบบ

ตัวบ่งช้ที ี่ ๑.๒ การบรหิ ารจดั การบุคลากรทุกประเภทตามหนว่ ยงานท่ีสงั กดั

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑.๓ การบริหารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพื่อความปลอดภัย

ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑.๔ การจดั การเพ่ือส่งเสริมสุขภาพและการเรยี นรู้

ตัวบง่ ชที้ ่ี ๑.๕ การส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของครอบครัวและชุมชน

มาตรฐานดา้ นที่ ๑ มีคะแนนรวม คิดเป็นร้อยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐

๗๘

มาตรฐานด้านที่ ๑ มีจานวนตัวบ่งช้ี ทตี่ ้องปรับปรุง ........................ข้อ

มาตรฐานดา้ นที่ ๒ ครู/ผู้ดูแลเดก็ ใหก้ ารดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการเลน่ เพื่อพัฒนาเด็ก

ปฐมวยั

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๒.๑ การดูแลและพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน
ตวั บง่ ชี้ที่ ๒.๒ การส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นร่างกายและดูแลสุขภาพ

ตัวบ่งชี้ท่ี ๒.๓ การส่งเสรมิ พฒั นาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสือ่ สาร ........................ขอ้
ตัวบง่ ช้ีที่ ๒.๔ การสง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ-สงั คมปลกู ฝังคุณธรรมและ

ความเป็นพลเมืองดี
ตวั บง่ ชี้ท่ี ๒.๕ การสง่ เสริมเด็กในระยะเปลีย่ นผา่ นให้ปรบั ตวั ส่กู ารเช่ือมต่อในข้นั ถัดไป

มาตรฐานด้านท่ี ๒ มคี ะแนนรวม คดิ เป็นร้อยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐

๖๐
มาตรฐานด้านที่ ๒ มีจานวนตวั บ่งชี้ ทีต่ ้องปรบั ปรุง

มาตรฐานด้านที่ ๓ คุณภาพของเดก็ ปฐมวัย สาหรบั เด็ก อายุ ๓ ปี - อายุ ๖ ปี (ก่อนเขา้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑)
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๓.๑ ข เด็กมีการเจริญเติบโตสมวยั และมีสขุ นสิ ัยที่เหมาะสม

ตวั บ่งชท้ี ่ี ๓.๒ ข เดก็ มพี ัฒนาการสมวัย

ตวั บ่งชท้ี ี่ ๓.๓ ข เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นการเคล่อื นไหว ........................ข้อ
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ ข เด็กมพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ
ตวั บ่งชที้ ี่ ๓.๕ ข เด็กมพี ัฒนาการด้านสตปิ ัญญา เรยี นรแู้ ละสร้างสรรค์
ตวั บง่ ช้ที ี่ ๓.๖ ข เด็กมีพัฒนาการดา้ นภาษาและการสื่อสาร
ตัวบ่งชีท้ ่ี ๓.๗ ข เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสงั คม คณุ ธรรม มวี นิ ัยและความเปน็ พลเมืองดี

มาตรฐานด้านท่ี 3 มีคะแนนรวม คดิ เป็นร้อยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐
66

มาตรฐานด้านท่ี 3 มีจานวนตัวบ่งช้ี ที่ต้องปรับปรงุ

๑๑

สรุปผลการประเมินในภาพรวม

ผลรวมของร้อยละของคะแนนเฉลี่ยรวมมาตรฐานทุกดา้ น ....................คะแนน

มาตรฐานทุกด้าน มจี านวนตัวบ่งชท้ี ่ตี ้องปรบั ปรุงรวม ...................ข้อ

ระดับคุณภาพ ❍ A ดีมาก

❍ B ดี

❍ C ผ่านเกณฑ์ขน้ั ตน้

❍ D ตอ้ งปรับปรุง

เกณฑก์ ารพิจารณา

ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารพจิ ารณา

A ดีมาก คะแนนเฉล่ีย จานวนข้อทีต่ ้องปรับปรุง
B ดี
รอ้ ยละ 80 ข้ึนไป ไม่มี
C ผา่ นเกณฑ์ข้นั ตน้
D ตอ้ งปรับปรุง ร้อยละ 60-79.99 1-7 ขอ้

รอ้ ยละ 40 -59.99 8-15 ขอ้

ตา่ กวา่ ร้อยละ 40 16 ขอ้ ขน้ึ ไป

หมายเหตุ โปรดศกึ ษาวธิ ีการคานวณคะแนนรวม และสรปุ ผลการประเมนิ เป็นระดบั คุณภาพ ในเอกสาร
มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ (เลม่ สีฟา้ ) หน้า 277-279

ตารางที่ 2 บันทึกผลการประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวัย มาตรฐานท่ี ๓ จาแนกรายช้ัน

ผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั รวมจานวนเดก็

ตวั บง่ ชีม้ าตรฐาน อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ อนุบาล ๓ ท่ีมพี ฒั นาการ

(ใสจ่ านวนคน) (ใสจ่ านวนคน) (ใสจ่ านวนคน) (คน)
สมวัย ไมส่ มวยั
๐๑๒๓๐๑๒๓๐๑๒๓ (คน) (คน)

ตวั บง่ ชที้ ่ี ๓.๑ ข เดก็ มี
การเจริญเติบโตสมวยั
และมสี ขุ นสิ ัยท่ีเหมาะสม
ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๓.๒ ข เดก็ มี
พัฒนาการสมวัย

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๓.๓ ข เดก็ มี
พฒั นาการด้านการ
เคลื่อนไหว
ตวั บ่งชที้ ่ี ๓.๔ ข เด็กมี
พัฒนาการด้านอารมณ์
จิตใจ

๑๒

ผลการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย รวมจานวนเด็ก

ตัวบง่ ช้มี าตรฐาน อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ อนุบาล ๓ ที่มีพฒั นาการ

(ใส่จานวนคน) (ใสจ่ านวนคน) (ใส่จานวนคน) (คน)
สมวยั ไมส่ มวยั
๐๑๒๓๐๑๒๓๐๑๒๓ (คน) (คน)

ตวั บ่งชที้ ่ี ๓.๕ ข เดก็ มี
พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา

เรยี นรูแ้ ละสรา้ งสรรค์
ตัวบ่งชท้ี ี่ ๓.๖ ข เด็กมี

พฒั นาการด้านภาษาและ
การสื่อสาร
ตัวบ่งชที้ ่ี ๓.๗ ข เดก็ มี

พฒั นาการดา้ นสงั คม
คณุ ธรรม มวี ินัยและความ
เป็นพลเมืองดี

รวม

หมายเหตุ สมวัย คือ ผ่านเกณฑ์ขนั้ ตน้ การประเมนิ พฒั นาการสมวยั ตั้งแต่ระดบั ๑ ข้นึ ไป ตามมาตรฐานสถาน
พัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ

๑๓

ฉบบั ที่ 2
แบบบันทกึ ผลการประเมนิ /นิเทศ

ระดับหน่วยงานต้นสงั กัด

แบบบันทกึ ผลการประเมนิ และการนิเทศ ตดิ ตามสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั
ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ ระดับหนว่ ยงานต้นสงั กดั

----------------------------------------------------
คาชแี้ จง 1. สานักงานศึกษาธกิ ารสง่ แบบบนั ทึกผลฯ ใหห้ น่วยงานตน้ สังกดั (พร้อม ฉบับท่ี 1) ภายในเดอื น

มกราคม 2564
2. หนว่ ยงานต้นสงั กดั สรุปผลการประเมินและผลการนิเทศ ติดตาม ตามมาตรฐานสถานพฒั นา

เดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ และสง่ แบบบันทึกให้ ศธจ.ภายในเดือน พฤษภาคม 2564

ชื่อหนว่ ยงานต้นสงั กัด..................................................มีสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ในสงั กดั จานวน................แห่ง

ตารางที่ 1 ผลประเมินสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยภาพรวม 3 มาตรฐาน ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
แหง่ ชาติ (นาข้อมลู จากเคร่อื งมอื ฉบับที่ 1 มาสรุปใส่)

ที่ ช่อื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั A ระดบั คุณภาพ D
ดมี าก ตอ้ งปรบั ปรุง
BC
ดี ผา่ นเกณฑ์ขน้ั ต้น

รวม

จานวนสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
ท่ผี า่ นเกณฑ์ข้ันต้น (A+B+C)

ตารางท่ี 2 สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 3 ของสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ แยกรายสถานศกึ ษา

จานวนเด็ก จานวนเด็กปฐมวัยท่ีมีพฒั นาการ (คน) จานวนเด็ก

ที่ ชือ่ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ปฐมวัย อนบุ าล ๑ อนุบาล ๒ อนุบาล ๓ อบ.3 ที่จบ
ระดับปฐมวยั
(อ.๑ - อ.๓) สมวัย ไม่ สมวยั ไม่ สมวัย ไม่ (คน)

สมวัย สมวยั สมวยั

รวม

๑๔

จานวนเด็ก จานวนเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการ (คน) จานวนเดก็

ท่ี ชอ่ื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ปฐมวัย อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ อนุบาล ๓ อบ.3 ทีจ่ บ
ระดบั ปฐมวยั
(อ.๑ - อ.๓) สมวัย ไม่ สมวัย ไม่ สมวยั ไม่ (คน)

สมวัย สมวัย สมวยั

สรปุ

ตารางท่ี 3 ภาพรวมผลการนิเทศ ติดตามสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

แหง่ ชาติ

มาตรฐาน ผลการดาเนินงาน ข้อเสนอแนะของผู้นเิ ทศ

มาตรฐานดา้ นท่ี 1 การบรหิ าร

จัดการสถานพฒั นาเดก็ ปฐม วัย

มาตรฐานด้านที่ 2 ครู/ผ้ดู แู ลเด็กให้
การดูแล และจดั ประสบการณก์ าร
เรยี นรู้และการเลน่ เพื่อพฒั นาเดก็
ปฐมวยั

มาตรฐานดา้ นที่ 3 คุณภาพของเด็ก
ปฐมวยั

หมายเหตุ จานวนสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ในสังกัดทไ่ี ด้รับการนเิ ทศฯ จานวน................แห่ง

๑๕

ฉบบั ที่ 3
แบบบนั ทกึ ผลประเมนิ /นเิ ทศ

ระดบั จงั หวัด (ศธจ.)

แบบบันทึกผลการประเมินและการนิเทศ ติดตามสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ ระดบั จังหวดั

คาชแี้ จง สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั บนั ทกึ สรุปผลการประเมินและการนิเทศ ตดิ ตาม ตามมาตรฐานสถาน
พฒั นาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ และส่งรายงานผลให้ ศธภ. ภายในเดือน กรกฎาคม 2564

สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ........................................มีสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ในจงั หวดั จานวน................แหง่
สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดมีการสร้างการรับรู้ให้แกผ่ ู้ใดบา้ ง/จานวนกีค่ น................................................................

ตารางที1่ สรุปผลการประเมินมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติ ปีการศึกษา 2563 จาแนกรายสงั กดั

จานวนสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามระดับคุณภาพ

จานวนสถาน (แหง่ )

สงั กัด พัฒนาเดก็ ฯ A B CD รวม
(แห่ง) ดีมาก ดี ผ่านเกณฑ์ ต้อง (แห่ง)

ขน้ั ต้น ปรบั ปรุง

รวม สพฐ.

- สพป.เขต ......

- สพป.เขต ......

ฯลฯ

รวม อปท.

- อบจ.

- อบต.

- เทศบาล

- กรุงเทพฯ

- เมอื งพัทยา

สช.

ตชด.

ฯลฯ

รวม

รวมจานวนสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยท่ผี า่ น
เกณฑ์ขน้ั ตน้ (A+B+C)

๑๖

ตารางท่ี 2 สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัย ของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ
จาแนกรายสังกัด

ชอ่ื หนว่ ยงาน/สังกัด จานวนสถาน จานวน รวมจานวนเดก็ ปฐมวยั จานวนเด็กอนบุ าล ๓
พัฒนาเด็ก เด็กปฐมวยั ทจ่ี บการศกึ ษาระดับ
รวม สพฐ. ปฐมวยั (แหง่ ) (อ.๑-อ.๓) อ ๑ - อ.๓ (คน)
- สพป.เขต ...... สมวยั ไมส่ มวัย ปฐมวัย (คน)
- สพป.เขต ......
ฯลฯ

รวม อปท.
- อบจ.
- อบต.
- เทศบาล
- กรงุ เทพฯ
- เมอื งพทั ยา

สช.
ตชด.

ฯลฯ
รวม

ตารางท่ี 3 ภาพรวมผลการนิเทศ ตดิ ตามสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ

มาตรฐาน ผลการดาเนินงาน ขอ้ เสนอแนะของผนู้ เิ ทศ

มาตรฐานดา้ นที่ 1 การบริหาร

จดั การสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย

มาตรฐานด้านท่ี 2 คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ให้
การดแู ล และจดั ประสบการณ์การ
เรยี นรู้และการเลน่ เพอ่ื พฒั นาเด็ก
ปฐมวัย

มาตรฐานด้านท่ี 3 คณุ ภาพของเด็ก
ปฐมวัย

หมายเหตุ รวมจานวนสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ในสงั กัดทไี่ ดร้ ับการนิเทศ จานวน................แหง่ (จาแนกแต่ละสังกัด)

๑๗

ฉบับท่ี 4
แบบบนั ทกึ ผลประเมนิ /นเิ ทศ

ระดบั ภาค

แบบบันทึกผลการประเมินและการนิเทศ ตดิ ตามสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ ระดบั ภาค

.....................................................

คาช้แี จง สานกั งานศกึ ษาธิการภาค สรุปผลการประเมินและการนเิ ทศ ติดตาม มาตรฐานสถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวยั แหง่ ชาติ และสง่ สรุปผลการดาเนนิ งานให้ สป.ภายใน เดือน สิงหาคม 2564

สานักงานศกึ ษาธิการภาค........................................มีจังหวดั ในภาค จานวน.............แหง่

มีสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ในระดับภาค จานวน................แหง่

สานกั งานศึกษาธิการภาค/จังหวดั มีการสร้างการรบั รู้ให้แก่ผูใ้ ดบ้าง/จานวนกีค่ น........................................

ตารางที่ 1 สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติในภาพรวม (ทัง้ 3 ด้าน) จาแนก

รายจังหวัดและสังกดั

จานวน จานวนสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตามระดับคุณภาพ (แหง่ ) จานวน รอ้ ยละ
สถาน สถานศกึ ษาที่ สถานศกึ ษา
จงั หวัด/สงั กดั พัฒนาเด็กฯ A B CD รวม ผ่านเกณฑ์
(แหง่ ) ดีมาก ดี ผ่านเกณฑ์ ต้อง (แหง่ ) ท่ีผา่ น
ข้ันต้น เกณฑ์
ขัน้ ต้น ปรบั ปรุง (A+B+C) ขนั้ ตน้

รวม จังหวดั .......

-สพฐ.

-สช.

-อปท.

-ตชด.

-อื่นๆ

รวม จังหวดั ....

-สพฐ.

-สช.

-อปท.

-ตชด.

-อื่นๆ

ฯลฯ

รวม ศธภ.

-สพฐ.

-สช.

-อปท.

-ตชด.

-อนื่ ๆ

รวม

๑๘

ตารางท่ี 2 สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพเดก็ ปฐมวัยของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

จาแนกรายจังหวัดและสงั กดั

จังหวัด/สังกดั จานวนสถาน จานวน รวมจานวนเดก็ ปฐมวยั อ.๑ - อ.๓ (คน) จานวนเด็กอนบุ าล
พฒั นาเด็ก เด็กปฐมวัย ๓ ท่จี บการศกึ ษา

ปฐมวัย (แหง่ ) (อ.๑-อ.๓) สมวยั ไม่สมวยั รวม ระดบั ปฐมวัย

รวมจังหวดั ....... (คน)

-สพฐ.
-สช.

-อปท.

-ตชด

-อื่นๆ

รวมจังหวดั .......

-สพฐ.

-สช.

-อปท.

-ตชด

-อ่นื ๆ

ฯลฯ

รวม ศธภ.

-สพฐ.

-สช.

-อปท.

-ตชด

-อ่นื ๆ

รวม

ตารางท่ี 3 สรปุ ผลภาพรวมการนเิ ทศ ติดตามสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

แห่งชาติ ระดบั ภาค

มาตรฐาน ผลการดาเนนิ งาน ขอ้ เสนอแนะของผนู้ เิ ทศ

มาตรฐานด้านที่ 1 การบรหิ ารจดั การ

สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั

มาตรฐานด้านท่ี 2 คร/ู ผู้ดแู ลเดก็ ใหก้ าร

ดแู ล และจัดประสบการณ์การเรียนรู้และ

การเลน่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั

มาตรฐานด้านท่ี 3 คุณภาพของเดก็
ปฐมวัย

หมายเหตุ รวมจานวนสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยในสังกัดท่ีได้รับการนิเทศ จานวน................แห่ง (จาแนกแต่ละสงั กดั )

๑๙

ฉบับที่ 5
เกณฑ์การคดั เลือก Best Practices

คมู่ อื ดาเนนิ การคดั เลือกรปู แบบ/วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ีเ่ ป็นเลศิ (Best Practices)
สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดให้มีกิจกรรมการคัดเลือกรูปแบบ/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best
Practices) ระดับปฐมวัย ภายใต้โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนท่ี ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖4 มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสรมิ ให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ของหน่วยงานทางการศึกษาทุกสังกดั ในพื้นท่ี ได้
มีเวทีในการนาเสนอผลงานวิจัย นวัตกรรม หรือวิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ เกี่ยวกับการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย โดยมีการ
คัดเลือกผลงาน จานวน 2 ด้าน คือ 1) ด้านการบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัย (สาหรับผู้บรหิ าร) และ 2) ด้าน
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ระดบั ปฐมวยั (สาหรบั ครผู ้สู อน)

ทั้งนี้ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดดาเนินการคัดเลือกและส่งผลให้สานักงานศึกษาธิการภาค ภายในวันที่ 15
กรกฎาคม 2564 และสานักงานศึกษาธิการภาคคัดเลือกตัวแทนระดับภาคทั้ง 2 ด้าน ส่งสานักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ภายในวันที่ 30 กรกฎาคม 2564

มแี นวทางและเกณฑ์การประเมนิ การคดั เลือก ดงั ต่อไปน้ี

๑. ดา้ นการบรหิ ารจดั การศึกษาระดับปฐมวยั (สาหรบั ผูบ้ ริหาร)

หวั ข้อ/ประเด็นการนาเสนอวิธีปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practices) ประกอบด้วย

1. ชอ่ื ผลงาน : ..............................................................................................................................................
2. ช่ือผนู้ าเสนอผลงาน : นาย/นาง/นางสาว................................................................................................

ตาแหน่ง................................................ โรงเรยี น .................................................................................
สังกดั ................................................................ ตาบล............................ อาเภอ ................................
จังหวดั ...................................รหสั ไปรษณีย์..................................โทรศพั ท.์ ..........................................
E-mail : .................................................... เวบ็ ไซตโ์ รงเรยี น...............................................................
3. ความสาคัญของผลงาน นวัตกรรม หรอื แนวปฏิบัติที่นาเสนอ
............................................................................................................................. ......................................
4. จดุ ประสงค์ และเป้าหมายของการดาเนินงาน
............................................................................................................................. ......................................
5. กระบวนการผลติ ผลงาน หรอื ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
............................................................................................................................. ......................................
6. ผลการดาเนนิ การ ผลสัมฤทธิ์ และประโยชน์ท่ีได้รับ
............................................................................................................................. ......................................
7. ปจั จยั ความสาเร็จ
...................................................................................................................................................................
8. บทเรยี นที่ได้รบั
......................................................................................................... ..........................................................

๒๐

9. การเผยแพร่ และการไดร้ ับการยอมรับ (รางวลั ท่ไี ด้รบั )
............................................................................................................................. ......................................

10. การขยายผลตอ่ ยอด หรือประยุกตใ์ ช้ผลงาน นวัตกรรมหรอื แนวปฏบิ ตั ิ
............................................................................................................................. .................................................

รายละเอียดการนาเสนอผลงาน
ดา้ นการบริหารจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัย (สาหรับผูบ้ รหิ าร)

ประเดน็ การนาเสนอ รายละเอยี ดการนาเสนอ

1. ความสาคัญของผลงาน ระบุเหตุผลความจาเป็น ปัญหาหรอื ความต้องการ แนวคดิ หลักการสาคัญในการ

นวัตกรรม หรือวิธีปฏิบัติที่ ออกแบบผลงาน นวัตกรรมหรอื แนวปฏบิ ัติท่ีนาเสนอ

นาเสนอ

2. จุดประสงค์และเป้าหมาย ระบุจดุ ประสงค์และเป้าหมายของการดาเนนิ งานอยา่ งชัดเจน สอดคลอ้ งกับปญั หา

ของการดาเนนิ งาน ความต้องการจาเปน็

3. กระบวนการผลิตผลงาน ระบุกระบวนการหรือวธิ ีการในการผลิต การนาไปใช้ และการพฒั นาผลงาน

หรือข้ันตอนการดาเนนิ งาน นวตั กรรม หรอื แนวปฏิบตั ิ โดยมขี ้ันตอนต่อเนื่องสมั พันธก์ ัน และสอดคล้องกบั

วตั ถุประสงค์

4 . ผ ล ก า ร ด า เนิ น ก า ร ระบผุ ลสาเร็จของการดาเนนิ งานทเี่ กดิ จากการนาไปใช้ คุณค่าของผลงาน

ผลสัมฤทธิ์ และประโยชน์ท่ี นวตั กรรม หรือแนวปฏิบตั ทิ ีส่ ่งผลต่อการพฒั นาผู้เรียน และประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จาก

ได้รับ ผลงาน นวัตกรรม หรือแนวปฏบิ ัติ

5. ปัจจยั ความสาเร็จ ระบบุ คุ คล หนว่ ยงาน องค์กร หรือวิธกี ารท่ชี ว่ ยใหง้ านประสบผลสาเร็จตาม

จุดประสงค์ของการดาเนินงานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ส่งผลต่อคณุ ภาพของผลงาน

นวัตกรรม หรือแนวปฏิบตั ิ

6. บทเรยี นทไี่ ด้รับ ระบขุ ้อสรุป ข้อสังเกต ข้อเสนอ และข้อควรระวังทเ่ี ป็นแนวทางในการนาผลงาน

นวตั กรรม หรือแนวปฏบิ ตั ไิ ปประยุกต์ใช้ พัฒนาตอ่ หรือดาเนินการใหป้ ระสบ

ความสาเรจ็ มากย่ิงขนึ้ ต่อไป

7. การเผยแพร่ และการได้รับ ระบขุ ้อมูลท่ที าใหเ้ หน็ ร่องรอยหลักฐานการเผยแพรผ่ ลงาน นวตั กรรม หรือแนว

การยอมรับ(รางวัลท่ไี ด้รบั ) ปฏิบัติ รวมทง้ั การยกย่องชมเชย

8. การขยายผลต่อยอด หรือ ระบวุ ิธีการหรือรปู แบบการแลกเปล่ียนเรียนร้จู ากการถอดบทเรยี น รวมทั้งการ

ประยุกต์ใช้ผลงาน นวัตกรรม เรียนรเู้ พ่อื การต่อยอด หรือการขยายผล และการประยกุ ต์ใชผ้ ลงาน นวัตกรรม

หรือวิธีการปฏบิ ัติ รปู แบบ และแนวปฏบิ ตั ิด้านการบรหิ ารจัดการศึกษาและการพฒั นาเด็กปฐมวยั ใน

หน่วยงาน สถานศึกษา หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ในพ้ืนที่ระดบั ภาค

หมายเหตุ 1.ให้ผู้ท่ีเสนอผลงานจัดทาข้อมูลสรุปตามรายการประเด็นพิจารณาให้ครบท้ัง 8 รายการ โดยมี
ความยาวประมาณ 10-15 หน้ากระดาษ A4 (รวมภาคผนวกและภาพประกอบ) และพิมพ์ด้วย
ตัวอักษร Th Sarabun ขนาด 16 พอยต์

2. เปน็ ผลงานยอ้ นหลงั ไมเ่ กิน 3 ปกี ารศกึ ษา (ปีการศกึ ษา 2561 - 2563)

๒๑

เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกรปู แบบ/วธิ ีปฏิบตั ทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best Practice)
ด้านการบริหารจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย (สาหรับผู้บรหิ าร)

รายการพจิ ารณา นา้ หนัก ระดับคณุ ภาพ
คะแนน

1. ความสาคัญของผลงาน นวัตกรรมหรือวธิ ีปฏิบัติท่นี าเสนอ (9 คะแนน)

1.1 ความเป็นมาและ 2 ระดบั 3 ระบุสภาพปัญหาความต้องการหรอื เหตผุ ลความจาเปน็ ของสง่ิ ท่ี

สภาพปัญหา จะพัฒนาไดช้ ัดเจน มกี ารจดั ลาดับความสาคญั ของปญั หา และ

มีหลักฐานอา้ งอิง

ระดับ 2 ระบุสภาพปญั หาความตอ้ งการหรือเหตุผลความจาเปน็ ของสง่ิ ท่ี
จะพฒั นาไดช้ ดั เจนและมีการจดั ลาดบั ความสาคญั

ระดับ 1 ระบุสภาพปัญหาความตอ้ งการหรือเหตผุ ลความจาเปน็ ของสง่ิ ท่ี
จะพฒั นาได้ชัดเจน

1.2 แนวทางการ 1 ระดับ 3 เสนอแนวทางแกป้ ญั หาหรือการพัฒนาโดยใช้หลักการ
แกป้ ัญหาและพฒั นา ในการออกแบบผลงานทสี่ มั พันธก์ บั ปัญหาหรอื สิง่ ทจี่ ะพฒั นา
และสอดคล้องกบั ความต้องการของกลุม่ เป้าหมาย หน่วยงาน
สถานศกึ ษา และชมุ ชน

ระดับ 2 เสนอแนวทางแกป้ ัญหาหรือการพฒั นาโดยใช้หลักการ
ในการออกแบบผลงานท่สี ัมพันธ์กบั ปญั หาหรอื สง่ิ ท่ีจะพฒั นา
และสอดคล้องกบั ความต้องการของกลุม่ เป้าหมายและ
สถานศกึ ษา

ระดบั 1 เสนอแนวทางแกป้ ัญหาหรือการพัฒนาโดยใช้หลกั การ
ในการออกแบบผลงานที่สัมพันธ์กบั ปญั หาหรอื สงิ่ ทจี่ ะพฒั นา
และสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย

2. จุดประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนินงาน (3 คะแนน)

2.1 การกาหนด 1 ระดับ 3 กาหนดจดุ ประสงค์และเปา้ หมายของการดาเนนิ งานได้ชดั เจน
จุดประสงค์และเป้าหมาย เป็นรูปธรรมท้ังเชิงปริมาณและคณุ ภาพ สอดคลอ้ งกับสภาพ
ปัญหาและความตอ้ งการของสถานศกึ ษาและชมุ ชน รวมทั้ง
สง่ ผลในภาพกวา้ ง

ระดับ 2 กาหนดจุดประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดาเนนิ งานไดช้ ัดเจน
เป็นรปู ธรรมทง้ั เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ สอดคล้องกับสภาพ
ปญั หาและความต้องการของสถานศึกษาและชมุ ชน

ระดบั 1 กาหนดจุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงานไดช้ ดั เจน
เปน็ รูปธรรมทง้ั เชิงปรมิ าณและคุณภาพ สอดคล้องกบั สภาพ
ปัญหาและความต้องการของสถานศึกษา

๒๒

รายการพจิ ารณา นา้ หนัก ระดับคุณภาพ
คะแนน

3. กระบวนการผลติ ผลงานหรือข้ันตอนการดาเนนิ งาน (21 คะแนน)

3.1 การออกแบบผลงาน 2 ระดบั 3 ออกแบบผลงาน นวัตกรรม หรือแนวปฏบิ ตั ไิ ดส้ อดคล้องกบั

นวตั กรรมหรือแนวปฏิบัติ จดุ ประสงค์และเปา้ หมาย โดยมีแนวคิดสาคญั รองรับอยา่ งสม
เหตุ สมผล สามารถใชอ้ ้างอิงได้ นามาเป็นพน้ื ฐานในการ

ออกแบบกิจกรรมได้ และทุกกจิ กรรมมีความเชอื่ มโยง

สอดคลอ้ งกนั

ระดบั 2 ออกแบบผลงาน นวตั กรรม หรือแนวปฏบิ ัติได้สอดคลอ้ งกับ

จุดประสงค์และเปา้ หมาย โดยมแี นวคิดสาคญั รองรับอยา่ งสม

เหตุ สมผล นามาเป็นพ้นื ฐานในการออกแบบกิจกรรมได้ และ

ทกุ กจิ กรรมมีความเชือ่ มโยงสอดคล้องกนั

ระดับ 1 ออกแบบผลงาน นวตั กรรม หรือแนวปฏิบตั ไิ ดส้ อดคล้องกบั

จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมาย โดยมีแนวคดิ สาคญั รองรบั อยา่ งสม

เหตุ สมผล และนามาเป็นพ้ืนฐานในการออกแบบกจิ กรรมได้

3.2 การดาเนนิ งานตาม 2 ระดับ 3 ดาเนินการตามการตามกิจกรรมทอี่ อกแบบไวท้ ุกขั้นตอน

กิจกรรม รวมทง้ั มีการปรับปรงุ และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ระดบั 2 ดาเนนิ การตามการตามกิจกรรมท่อี อกแบบไว้ทุกขนั้ ตอน

รวมทัง้ มกี ารปรบั ปรุงและพฒั นา

ระดบั 1 ดาเนินการตามการตามกจิ กรรมทอี่ อกแบบไวค้ รบทกุ ขัน้ ตอน

3.3 ประสิทธิภาพของ การ 2 ระดบั 3 มกี จิ กรรมการปฏบิ ัตปิ รากฏชัดเจน เป็นลาดบั ขนั้ ตอน สามารถ

ดาเนินงาน นาไปปฏิบัตไิ ดจ้ ริง มีวธิ ีการหรอื องคค์ วามรใู้ หมท่ ีส่ ่งผลตอ่
เปา้ หมายและการพฒั นาอย่างมคี ุณภาพ

ระดบั 2 มกี ิจกรรมการปฏบิ ตั ิปรากฏชัดเจน เปน็ ลาดับขนั้ ตอน สามารถ

นาไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ สง่ ผลต่อเป้าหมายและการพัฒนาอยา่ งมี

คุณภาพ

ระดับ ๑ มีกจิ กรรมการปฏิบตั ปิ รากฏชัดเจน สามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้จริง

3.4 การใช้ทรพั ยากร 1 ระดบั 3 ประยกุ ตใ์ ช้ทรัพยากรท่มี ีอยู่อยา่ งเหมาะสม คมุ้ คา่ สอดคล้อง
กับบริบทของหน่วยงานหรือสถานศึกษา

ระดับ 2 ใชท้ รพั ยากรท่มี ีอย่อู ยา่ งเหมาะสม คมุ้ ค่า สอดคลอ้ งกบั บริบท
ของหนว่ ยงานหรือสถานศึกษา

ระดบั 1 ใชท้ รัพยากรท่มี ีอยู่อยา่ งเหมาะสม สอดคล้องกบั บริบทของ
หน่วยงานหรือสถานศึกษา

๒๓

รายการพจิ ารณา น้าหนกั ระดบั คณุ ภาพ
คะแนน

4. ผลการดาเนินการ ผลสัมฤทธิ์ และประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ (21 คะแนน)

4.1 ผลที่เกดิ ตาม 2 ระดบั 3 ผลการปฏิบตั ติ ามกิจกรรมที่ออกแบบ ครอบคลมุ และเป็นไป

จดุ ประสงค์ ตามจดุ ประสงค์ทุกจุดประสงค์ โดยมหี ลักฐานหรอื ข้อมูล

ประกอบ

ระดับ 2 ผลการปฏิบัตติ ามกจิ กรรมที่ออกแบบ ครอบคลมุ และเปน็ ไป

ตามจดุ ประสงคใ์ นบางจุดประสงค์ โดยมีหลกั ฐานหรือข้อมูล

ประกอบ

ระดับ 1 ผลการปฏิบตั ติ ามกิจกรรมที่ออกแบบ ครอบคลุม และเปน็ ไป

ตามจดุ ประสงคใ์ นบางจุดประสงค์ โดยไมมหี ลักฐานหรือข้อมลู

ประกอบ

4.2 ผลสมั ฤทธ์ขิ องงาน 3 ระดบั 3 แก้ปัญหาและพฒั นาผู้เรียน หรือพฒั นาคุณภาพการศึกษาได้

ตรงตามจุดประสงคแ์ ละเปา้ หมายอยา่ งครบถว้ น โดยมขี ้อมูล

ทุกส่วนแสดงใหเ้ ห็นการเปล่ียนแปลงในทางทด่ี ขี ึน้

4.3 ประโยชนทไี่ ดรบั 2 ระดบั 2 แก้ปญั หาและพฒั นาผู้เรียน หรอื พฒั นาคุณภาพการศึกษาได
ตรงตามจุดประสงค์และเป้าหมายอย่างครบถว้ น โดยมขี ้อมูล
5. ปัจจยั ความสาเร็จ (6 คะแนน) เพียงบางส่วนแสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงในทางท่ดี ีขนึ้

5.1 สิง่ ท่ีช่วยใหง้ าน 2 ระดบั 1 แกปญั หาและพัฒนาผเู้ รียน หรือพฒั นาคุณภาพการศึกษาได้
ตรงตามจดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมายเพยี งบางสว่ น โดยมขี อ้ มูลท่ี
ประสบความสาเร็จ แสดงใหเ้ หน็ การเปลย่ี นแปลง

ระดับ 3 กระบวนการพฒั นาผลงาน นวตั กรรม หรอื แนวปฏิบัติก่อให้เกดิ
ประสบการณ์การเรียนรรู้ ่วมกันทงั้ โรงเรยี น

ระดบั 2 กระบวนการพฒั นาผลงาน นวัตกรรม หรือแนวปฏิบัติก่อใหเ้ กดิ
ประสบการณ์การเรยี นรู้ร่วมกันเฉพาะกลมุ่

ระดับ ๑ กระบวนการพัฒนาผลงาน นวัตกรรม หรือแนวปฏบิ ตั ิก่อให้เกดิ
ประสบการณ์การเรียนร้รู ว่ มกันเฉพาะบุคคล

ระดับ 3 ปจั จัยความสาเร็จทนี่ าเสนอสอดคลองกบั ระบบและ/หรอื
วธิ กี ารปฏบิ ัติงานทเ่ี ปน็ ผลมาจากการมีสว่ นร่วมของผเู้ กี่ยวขอ้ ง
กับการปฏบิ ตั ิงาน โดยมีการพัฒนาผลงานอย่างต่อเน่อื งและ
ยง่ั ยืน

ระดับ 2 ปัจจยั ความสาเรจ็ ท่ีนาเสนอสอดคลองกบั ระบบและ/หรอื
วธิ ีการปฏบิ ัตงิ านทเี่ ป็นผลมาจากการมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้อง
กับการปฏบิ ัตงิ าน

ระดับ 1 ปจั จยั ความสาเรจ็ ท่ีนาเสนอสอดคลองกบั ระบบและ/หรอื
วิธีการปฏบิ ัติงาน

๒๔

รายการพจิ ารณา นา้ หนกั ระดับคุณภาพ
คะแนน
มีข้อสรปุ ที่เป็นหลักการ สอดคลองกับผลงานทน่ี าเสนอ มกี าร
6. บทเรียนท่ีไดรับ (9 คะแนน) แสดงขอ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะ และข้อควรระวงั ในการนาผลงาน
ไปประยุกต์ใช้ รวมท้งั แนวทางการพฒั นาเพิม่ เตมิ ใหป้ ระสบ
6.1 การระบุขอ้ มูลท่ีได้รับ 3 ระดับ 3 ผลสาเร็จมากยิ่งขึน้
ระดับ 2 มีขอ้ สรปุ ที่เปน็ หลักการ สอดคลองกับผลงานทีน่ าเสนอ มีการ
จากการผลติ และการนา ระดบั 1 แสดงข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ และข้อควรระวังในการนาผลงาน
ไปประยุกตใ์ ช้
ผลงานไปใช้ มีขอ้ สรุปที่เป็นหลกั การ สอดคลองกับผลงานทนี่ าเสนอ มีการ
แสดงขอ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะในการนาผลงานไปประยุกต์ใช้

7. การเผยแพร และการไดรับการยอมรบั (รางวัลทไี่ ดรับ) (9 คะแนน)

7.1 การเผยแพร่ 2 ระดบั 3 มีรอ่ งรอยหลักฐานการเผยแพร มกี ารนาไปใช้ ทัง้ ภายในและ

นอกสถานศึกษา

ระดบั 2 มีรอ่ งรอยหลักฐานการเผยแพร มกี ารนาไปใช้ภายใน

สถานศกึ ษา

ระดับ 1 มีรอ่ งรอยหลกั ฐานการเผยแพร มีการนาไปใช้เฉพาะกลุ่ม

7.2 การไดรบั การยอมรบั 1 ระดบั 3 ผลงานได้รับการยอมรับในระดบั ประเทศ หรอื ระดับภาค
(รางวัลท่ไี ดร้ บั )
ระดบั 2 ผลงานได้รับการยอมรับในระดับจังหวัด หรอื ระดับเขตพน้ื ท่ี
การศึกษา

ระดับ 1 ผลงานไดร้ ับการยอมรับในระดับกลมุ่ โรงเรียน หรือระดบั
โรงเรียน

๒๕

รายการ นา้ หนัก ระดบั คณุ ภาพ
พจิ ารณา คะแนน

8. การขยายผล ต่อยอด หรือประยกุ ต์ใชผ้ ลงาน นวตั กรรม หรือวธิ กี ารปฏิบัติ (18 คะแนน)

8.1 การ 2 ระดับ มีการสงั เคราะห์หรอื ถอดบทเรยี น (ในระดับ 1) ทาความเข้าใจตอ่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ

แลกเปลย่ี น 3 ความสาเร็จหรอื อุปสรรคของผลงาน (ในระดบั 2) และมวี ธิ กี ารขยายขอบเขต

เรยี นรู้ จาก ความสามารถในการพยายามสืบเสาะ แสวงหา และการสงั เคราะห์ข้อมูลจากแหลง่

การถอด ต่าง ๆ ภายนอกเพ่มิ เติมเข้าด้วยกัน เพอ่ื ประโยชน์ในการขยายผล ตอ่ ยอด หรือ

บทเรียน สรา้ งสรรค์สิ่งใหมไ่ ด้อย่างสอดคลอ้ ง ตรงตามความต้องการ โดยนาไปสู่การ

แก้ปัญหาทชี่ ัดเจน สามารถนาไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้จรงิ และประสบผลสาเร็จ

ระดบั มกี ารสงั เคราะหห์ รอื ถอดบทเรียน (ในระดับ 1) รวมทัง้ มีการทาความเข้าใจต่อ

2 ปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ ความสาเรจ็ หรืออปุ สรรคของผลงาน นวัตกรรม หรือวธิ ีการปฏิบัติ

ทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) อย่างชดั เจน ครอบคลุม และครบถ้วน โดยนามา

จดั รูปแบบความสมั พันธเ์ ชื่อมโยงอย่างสมเหตุสมผลจนกลายเป็นสง่ิ ใหม่ที่

เหมาะสมกับการขยายผล ตอ่ ยอด หรือประยกุ ต์ใชใ้ นหนว่ ยงาน สถานศึกษา หรือ

สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ในพืน้ ทรี่ ะดับภาค

ระดับ มีการสังเคราะหห์ รอื ถอดบทเรยี นปจั จัยทสี่ ง่ ผลต่อความสาเรจ็ และอุปสรรคของ

1 ผลงาน นวัตกรรม หรือวิธกี ารปฏิบัตทิ ีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) จนเป็นองค์

ความรใู้ หม่ที่เปน็ ประโยชนใ์ นการคิด ต่อยอด ขยายผล หรอื ประยุกตใ์ ช้ภายใน

หนว่ ยงาน สถานศกึ ษา หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในพน้ื ที่ระดบั ภาค

8.2 4 ระดบั มกี ารเรยี นรรู้ ว่ มกัน (ในระดับ 1) และมกี ารสร้างความรูย้ กระดบั (ในระดับ 2)

การเรยี นรู้ 3 รวมท้ังมีการนาไปประยุกต์ ใช้ (Apply & Utilize) ด้วยการนาผลงาน นวัตกรรม

เพอื่ การต่อ หรือวธิ ีการปฏิบัตงิ านแนวใหมท่ ไ่ี ด้ไปปรบั ใช้ใหด้ ียิ่งขึน้ ทัง้ ในและสถานศึกษา โดย

ยอดและ ประยุกตใ์ ห้สอดคล้องกับบริบทในการดาเนินงานของตนเอง

การขยาย ระดบั มีการเรียนรรู้ ่วมกนั (ในระดับ 1) และมีการสร้างความรยู้ กระดับ (Create &

ผล 2 Leverage) ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ว่ มกนั รวมท้ังสามารถยกระดับความรู้ โดย

การสร้างผลงาน นวตั กรรม หรือวธิ กี ารปฏบิ ตั ิแนวใหม่ไดภ้ ายในตัวเอง

ระดับ มกี ารเรยี นรู้ร่วมกนั (Capture & Learn) ด้วยการถอดบทเรียนจากการดาเนนิ งาน

1 โครงการทั้งท่ีเป็นความสาเรจ็ และความผิดพลาด หรือการถอดบทเรยี นจากวิธีการ

ปฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลิศ (Best Practice)

๒๖

รายการพจิ ารณา นา้ หนกั ระดับคุณภาพ
คะแนน
ระดับ 4 มกี ารนาเสนอเปน็ ข้นั ตอนได้อย่างชัดเจน ครอบคลุมทกุ
9. การนาเสนอผลงาน (4 คะแนน) ประเดน็ และตอบคาถามได้ถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ มีเอกสาร/
หลักฐานประกอบการนาเสนอทีส่ อดคลองสัมพันธ์กนั
9.1 การนาเสนอ 1
ระดับ 3 มกี ารนาเสนอเปน็ ขัน้ ตอนได้อย่างชดั เจน ครอบคลุมในบาง
ประเด็น และตอบคาถามได้ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ มเี อกสาร/
หลักฐานประกอบการนาเสนอทส่ี อดคลองสัมพนั ธก์ นั

ระดับ 2 มีการนาเสนอเปน็ ขั้นตอน ตอบคาถามได้ถกู ต้องในบางคาถาม
และมเี อกสาร/หลกั ฐานประกอบการนาเสนอทส่ี อดคลอง
สมั พันธก์ นั

ระดับ 1 มีการนาเสนอแตไ่ ม่เป็นขน้ั ตอน ตอบคาถามได้ถูกต้องในบาง
คาถาม มีเอกสาร/หลักฐานประกอบการนาเสนอแตไ่ มส่ มบรู ณ์

๒๗

2. ดา้ นการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ระดบั ปฐมวัย

(สาหรับครผู ูส้ อน)

หัวข้อ/ประเด็นการนาเสนอวิธปี ฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practices) ประกอบด้วย
1. ชอื่ ผลงาน : ...........................................................................................................................................................
2. ชอ่ื ผนู้ าเสนอผลงาน : นาย/นาง/นางสา..............................................................................................................

ตาแหนง่ ................................................ โรงเรียน...............................................................................................
สังกัด ................................................................ ตาบล............................ อาเภอ...............................................
จงั หวัด...................................รหัสไปรษณีย.์ .................................โทรศพั ท์........................................................
E-mail : .................................................... เวบ็ ไซตโ์ รงเรยี น............................................................................
3. ความสาคญั ของผลงานนวัตกรรม หรอื วิธีปฏบิ ัติทนี่ าเสนอ
............................................................................................................................. .................................................
4. จุดประสงค์ และเป้าหมายของการดาเนนิ งาน
............................................................................................................................. .................................................
5. กระบวนการผลติ ผลงาน หรอื ขน้ั ตอนการดาเนินงาน
............................................................................................................................. .................................................
6. ผลการดาเนินการ ผลสัมฤทธิ์ และประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ
............................................................................................................................. .................................................
7. ปจั จยั ความสาเรจ็
......................................................................................................................................... .....................................
8. บทเรียนท่ไี ดร้ บั
..............................................................................................................................................................................
9. การเผยแพร่ และการไดร้ ับการยอมรบั (รางวลั ท่ไี ดร้ ับ)
..............................................................................................................................................................................
10. การขยายผลตอ่ ยอด หรือประยุกตใ์ ชผ้ ลงาน นวัตกรรมหรอื วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ
..............................................................................................................................................................................

๒๘

รายละเอียดการนาเสนอผลงาน
ดา้ นการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ระดบั ปฐมวยั (สาหรับครผู ู้สอน)

ประเด็นการนาเสนอ รายละเอียดการนาเสนอ

1. ความสาคัญของผลงาน ระบุเหตผุ ลความจาเปน็ ปัญหาหรอื ความต้องการ แนวคดิ หลักการสาคัญในการ
นวัตกรรม ห รือวิธีป ฏิ บั ติที่ ออกแบบผลงาน นวัตกรรมหรอื แนวปฏบิ ตั ิที่นาเสนอ

นาเสนอ

2. จุดประสงค์และเป้าหมาย ระบจุ ดุ ประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงานอย่างชดั เจน สอดคลอ้ งกบั

ของการดาเนนิ งาน ปญั หาความต้องการจาเป็น

3. กระบวนการผลิตผลงานหรือ ระบุกระบวนการหรอื วธิ กี ารในการผลิต การนาไปใช้ และการพัฒนาผลงาน

ขน้ั ตอนการดาเนินงาน นวตั กรรม หรอื แนวปฏบิ ัติ โดยมขี ้นั ตอนตอ่ เนื่องสัมพันธก์ ัน และสอดคล้องกบั

วัตถปุ ระสงค์

4 . ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ระบุผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานที่เกิดจากการนาไปใช้ คุณค่าของผลงาน
ผลสัมฤทธ์ิ และ ประโยชน์ท่ี นวัตกรรม หรือแนวปฏิบตั ทิ ีส่ ่งผลต่อการพฒั นาผ้เู รียน และประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจาก

ได้รับ ผลงาน นวตั กรรม หรอื แนวปฏิบตั ิ

5. ปจั จัยความสาเร็จ ระบบุ ุคคล หน่วยงาน องค์กร หรือวธิ กี ารทช่ี ว่ ยใหง้ านประสบผลสาเร็จตาม

จุดประสงคข์ องการดาเนินงานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ สง่ ผลต่อคุณภาพของผลงาน

นวตั กรรม หรือแนวปฏิบตั ิ

6. บทเรยี นทไ่ี ดร้ ับ ระบุข้อสรุป ข้อสังเกต ข้อเสนอ และข้อควรระวังทีเ่ ป็นแนวทางในการนาผลงาน

นวัตกรรม หรอื แนวปฏบิ ตั ิไปประยุกต์ใช้ พัฒนาต่อ หรือดาเนนิ การใหป้ ระสบ

ความสาเรจ็ มากย่ิงขนึ้ ต่อไป

7. การเผยแพร่ และการได้รับ ระบขุ ้อมูลท่ีทาให้เหน็ ร่องรอยหลักฐานการเผยแพร่ผลงาน นวัตกรรม หรือแนว

การยอมรับ(รางวลั ท่ไี ดร้ ับ) ปฏิบัติ รวมทั้งการยกย่องชมเชย

8. การขยายผลต่อยอด หรือ ระบุวิธีการหรือรูปแบบการแลกเปล่ียนเรียนรู้จากการถอดบทเรียน รวมทง้ั การ

ประยุกต์ใช้ผลงาน/ นวัตกรรม เรยี นรู้เพือ่ การตอ่ ยอด หรือการขยายผล และการประยกุ ต์ใช้ผลงาน นวัตกรรม

หรอื แนวปฏบิ ัติ รูปแบบ และแนวปฏิบัตดิ า้ นการบริหารจัดการศึกษาและการพฒั นาเด็กปฐมวัย

ในหนว่ ยงาน สถานศึกษา หรือสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยในพื้นท่ีระดบั ภาค

หมายเหตุ 1.ให้ผู้ท่ีเสนอผลงานจัดทาข้อมูลสรุปตามรายการประเด็นพิจารณาให้ครบทั้ง 8 รายการ โดยมี
ความยาวประมาณ 10-15 หน้ากระดาษ A4 (รวมภาคผนวกและภาพประกอบ) และพิมพ์ด้วย
ตวั อกั ษร Th Sarabun ขนาด 16 พอยต์

2. เปน็ ผลงานย้อนหลังไมเ่ กิน 3 ปีการศกึ ษา (ปกี ารศกึ ษา 2561 และปกี ารศึกษา 2563)

๒๙

เกณฑก์ ารพจิ ารณาคดั เลอื กรูปแบบ/วธิ ีปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice)
ด้านการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ระดับปฐมวยั (สาหรับครูผสู้ อน)

รายการพจิ ารณา นา้ หนกั ระดับคณุ ภาพ
คะแนน

1. ความสาคญั ของผลงาน นวตั กรรม หรือวิธีปฏิบตั ิทีน่ าเสนอ (9 คะแนน)

1.1 ความเป็นมาและ 2 ระดบั 3 ระบุสภาพปัญหาความต้องการหรือเหตผุ ลความจาเป็นของสงิ่ ที่

สภาพปญั หา จะพัฒนาได้ชัดเจน มกี ารจัดลาดบั ความสาคัญของปัญหา และ

มีหลกั ฐานอา้ งอิง

ระดับ 2 ระบสุ ภาพปญั หาความตอ้ งการหรอื เหตผุ ลความจาเปน็ ของสง่ิ ท่ี

จะพฒั นาได้ชดั เจนและมีการจัดลาดับความสาคัญ

ระดับ 1 ระบุสภาพปัญหาความตอ้ งการหรือเหตุผลความจาเป็นของสิง่ ท่ี

จะพัฒนาไดช้ ดั เจน

1.2 แนวทางการ 1 ระดับ 3 เสนอแนวทางแก้ปัญหาหรือการพฒั นาโดยใชห้ ลักการ

แก้ปญั หาและพฒั นา ในการออกแบบผลงานที่สมั พันธก์ ับปญั หาหรือสิ่งท่จี ะพัฒนา

และสอดคล้องกบั ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย หน่วยงาน

สถานศกึ ษา และชุมชน

ระดบั 2 เสนอแนวทางแกป้ ัญหาหรือการพฒั นาโดยใช้หลักการ

ในการออกแบบผลงานทส่ี ัมพันธก์ บั ปัญหาหรือสงิ่ ทีจ่ ะพัฒนา

และสอดคล้องกบั ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายและ

สถานศกึ ษา

ระดบั 1 เสนอแนวทางแก้ปญั หาหรือการพฒั นาโดยใชห้ ลกั การ

ในการออกแบบผลงานที่สัมพันธ์กับปญั หาหรือสิ่งที่จะพฒั นา

และสอดคลอ้ งกับความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย

2. จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนนิ งาน (3 คะแนน)

2.1 การกาหนด 1 ระดบั 3 กาหนดจดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดาเนินงานไดช้ ดั เจน

จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมาย เปน็ รูปธรรมทง้ั เชิงปริมาณและคณุ ภาพ สอดคล้องกับสภาพ

ปญั หาและความต้องการของสถานศกึ ษาและชุมชน รวมท้ัง

ส่งผลในภาพกวา้ ง

ระดบั 2 กาหนดจุดประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนินงานไดช้ ัดเจน

เปน็ รปู ธรรมทัง้ เชงิ ปริมาณและคุณภาพ สอดคลอ้ งกบั สภาพ

ปัญหาและความต้องการของสถานศึกษาและชมุ ชน

ระดับ 1 กาหนดจุดประสงค์และเปา้ หมายของการดาเนินงานไดช้ ัดเจน

เปน็ รูปธรรมทั้งเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ สอดคล้องกับสภาพ

ปญั หาและความต้องการของสถานศกึ ษา

๓๐

รายการพิจารณา นา้ หนกั ระดับคณุ ภาพ
คะแนน

3. กระบวนการผลติ ผลงาน หรอื ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน (21 คะแนน)

3.1 การออกแบบผลงาน 2 ระดับ 3 ออกแบบผลงาน นวัตกรรม หรอื แนวปฏิบัตไิ ด้สอดคลอ้ งกับ

นวัตกรรม หรอื จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมาย โดยมีแนวคิดสาคัญรองรบั อยา่ งสม

แนวปฏิบัติ เหตุ สมผล สามารถใช้อ้างอิงได้ นามาเปน็ พน้ื ฐานในการ

ออกแบบกจิ กรรมได้ และทกุ กจิ กรรมมีความเชื่อมโยง

สอดคล้องกนั

ระดบั 2 ออกแบบผลงาน นวัตกรรม หรือแนวปฏิบัตไิ ด้สอดคล้องกบั
จุดประสงคแ์ ละเป้าหมาย โดยมีแนวคิดสาคัญรองรับอยา่ งสม
เหตุ สมผล นามาเป็นพื้นฐานในการออกแบบกิจกรรมได้ และ
ทุกกจิ กรรมมีความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน

ระดับ 1 ออกแบบผลงาน นวัตกรรม หรือแนวปฏิบตั ิได้สอดคล้องกับ
จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมาย โดยมแี นวคิดสาคัญรองรับอยา่ งสม
เหตุ สมผล และนามาเป็นพื้นฐานในการออกแบบกิจกรรมได้

3.2 การดาเนินงานตาม 2 ระดบั 3 ดาเนินการตามการตามกิจกรรมที่ออกแบบไวท้ ุกข้ันตอน
กิจกรรม รวมทั้งมกี ารปรบั ปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง

3.3 ประสทิ ธภิ าพของ ระดับ 2 ดาเนนิ การตามการตามกิจกรรมที่ออกแบบไว้ทุกขน้ั ตอน
การดาเนินงาน รวมทั้งมกี ารปรบั ปรุงและพฒั นา

3.4 การใช้ทรพั ยากร ระดบั 1 ดาเนินการตามการตามกิจกรรมที่ออกแบบไว้ครบทกุ ขัน้ ตอน

2 ระดับ 3 มกี ิจกรรมการปฏิบัติปรากฏชดั เจน เป็นลาดับขนั้ ตอน สามารถ
นาไปปฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ มวี ิธกี ารหรอื องค์ความรูใหม่ท่ีสง่ ผลตอ่
เป้าหมายและการพฒั นาอย่างมคี ุณภาพ

ระดับ 2 มีกิจกรรมการปฏิบัติปรากฏชดั เจน เป็นลาดบั ขัน้ ตอน สามารถ
นาไปปฏิบัตไิ ด้จรงิ สง่ ผลต่อเป้าหมายและการพัฒนาอย่างมี
คุณภาพ

ระดบั ๑ มกี จิ กรรมการปฏบิ ัติปรากฏชัดเจน สามารถนาไปปฏบิ ตั ิได้จรงิ

1 ระดับ 3 ประยกุ ต์ใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อยา่ งเหมาะสม คุ้มค่า สอดคลอง
กบั บรบิ ทของหน่วยงานหรือสถานศกึ ษา

ระดบั 2 ใชท้ รัพยากรที่มีอยอู่ ย่างเหมาะสม คมุ้ คา่ สอดคลองกับบริบท
ของหนว่ ยงานหรือสถานศึกษา

ระดบั 1 ใชท้ รพั ยากรที่มีอยู่อยา่ งเหมาะสม สอดคลองกบั บริบทของ
หนว่ ยงานหรอื สถานศึกษา

๓๑

รายการพจิ ารณา น้าหนัก ระดบั คณุ ภาพ
คะแนน

4. ผลการดาเนินการ ผลสัมฤทธิ์ และประโยชนท์ ่ไี ด้รับ (21 คะแนน)

4.1 ผลทเี่ กิดตาม 2 ระดับ 3 ผลการปฏิบัติตามกิจกรรมที่ออกแบบ ครอบคลุม และเป็นไป

จุดประสงค์ ตามจุดประสงค์ทุกจดุ ประสงค์ โดยมหี ลกั ฐานหรือข้อมลู

ประกอบ

ระดับ 2 ผลการปฏิบัติตามกจิ กรรมที่ออกแบบ ครอบคลมุ และเปน็ ไป

ตามจดุ ประสงคใ์ นบางจุดประสงค์ โดยมหี ลักฐานหรอื ข้อมลู

ประกอบ

ระดบั 1 ผลการปฏิบัตติ ามกิจกรรมท่ีออกแบบ ครอบคลมุ และเป็นไป

ตามจดุ ประสงคใ์ นบางจดุ ประสงค์ โดยไมมหี ลักฐานหรือข้อมูล

ประกอบ

4.2 ผลสมั ฤทธข์ิ องงาน 3 ระดบั 3 แกป้ ัญหาและพัฒนาผเู้ รียน หรอื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาได้

ตรงตามจุดประสงค์และเปา้ หมายอย่างครบถว้ น โดยมขี ้อมูล

ทุกสว่ นแสดงใหเ้ หน็ การเปล่ยี นแปลงในทางทีด่ ขี น้ึ

ระดับ 2 แก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน หรือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาได

ตรงตามจุดประสงค์และเปา้ หมายอย่างครบถ้วน โดยมีข้อมูล

เพยี งบางสว่ นแสดงใหเ้ หน็ การเปล่ยี นแปลงในทางทีด่ ีขน้ึ

ระดับ 1 แกปัญหาและพฒั นาผเู้ รยี น หรอื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาได้

ตรงตามจดุ ประสงค์และเปา้ หมายเพียงบางส่วน โดยมีขอ้ มูลท่ี

แสดงใหเ้ หน็ การเปลี่ยนแปลง

4.3 ประโยชนท่ไี ดรบั 2 ระดับ 3 กระบวนการพัฒนาผลงาน นวตั กรรม หรือแนวปฏบิ ตั ิก่อใหเ้ กิด

ประสบการณ์การเรียนรรู้ ่วมกันท้ังโรงเรยี น

ระดบั 2 กระบวนการพัฒนาผลงาน นวัตกรรม หรอื แนวปฏบิ ตั ิก่อให้เกดิ

ประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันเฉพาะกลมุ่

ระดบั ๑ กระบวนการพฒั นาผลงาน นวัตกรรม หรือแนวปฏิบัติก่อให้เกดิ

ประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันเฉพาะบุคคล

5. ปจั จยั ความสาเร็จ (6 คะแนน)

5.1 ส่ิงทีช่ ่วยใหง้ านประสบ 2 ระดับ 3 ปัจจัยความสาเรจ็ ท่ีนาเสนอสอดคลองกับระบบและ/หรอื

ความสาเร็จ วธิ ีการปฏบิ ัติงานทเ่ี ปน็ ผลมาจากการมสี ่วนรว่ มของผู้เกี่ยวขอ้ ง

กับการปฏบิ ัตงิ าน โดยมีการพัฒนาผลงานอยา่ งต่อเนอ่ื งและ

ยัง่ ยนื

ระดบั 2 ปัจจัยความสาเร็จทีน่ าเสนอสอดคลองกับระบบและ/หรอื

วธิ ีการปฏบิ ัตงิ านท่ีเป็นผลมาจากการมีสว่ นร่วมของผูเ้ กย่ี วขอ้ ง

กบั การปฏบิ ตั ิงาน

ระดบั 1 ปจั จยั ความสาเร็จทีน่ าเสนอสอดคลองกบั ระบบและ/หรือ

วิธีการปฏิบัติงาน

๓๒

รายการพจิ ารณา นา้ หนกั ระดบั คุณภาพ
คะแนน

6. บทเรยี นทไ่ี ดรบั (9 คะแนน)

6.1 การระบขุ อ้ มลู ทไ่ี ดรบั 3 ระดับ 3 มขี อ้ สรุปท่ีเปน็ หลกั การ สอดคลองกับผลงานทน่ี าเสนอ มีการ

จากการผลิตและการนา แสดงขอ้ สังเกต ข้อเสนอแนะ และข้อควรระวงั ในการนาผลงาน

ผลงานไปใช้ ไปประยุกต์ใช้ รวมทัง้ แนวทางการพฒั นาเพ่ิมเติมใหป้ ระสบ

ผลสาเร็จมากยงิ่ ขน้ึ

ระดบั 2 มขี อ้ สรุปท่ีเป็นหลักการ สอดคลองกับผลงานท่ีนาเสนอ มกี าร

แสดงข้อสงั เกต ข้อเสนอแนะ และข้อควรระวงั ในการนาผลงาน

ไปประยุกตใ์ ช้

ระดับ 1 มขี ้อสรุปท่ีเป็นหลักการ สอดคลองกับผลงานที่นาเสนอ มกี าร

แสดงขอ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะในการนาผลงานไปประยุกต์ใช้

7. การเผยแพร และการไดรับการยอมรบั (รางวัลที่ไดรบั ) (9 คะแนน)

7.1 การเผยแพร่ 2 ระดบั 3 มรี ่องรอยหลกั ฐานการเผยแพร มีการนาไปใช้ ทัง้ ภายในและ

นอกสถานศกึ ษา

ระดบั 2 มีรอ่ งรอยหลักฐานการเผยแพร มกี ารนาไปใช้ภายใน

สถานศกึ ษา

ระดับ 1 มีร่องรอยหลักฐานการเผยแพร มีการนาไปใชเ้ ฉพาะกลุ่ม

7.2 การไดรบั การยอมรับ 1 ระดับ 3 ผลงานไดร้ ับการยอมรับในระดบั ประเทศ หรอื ระดับภาค

รางวัลทไ่ี ดรบั ระดับ 2 ผลงานไดร้ ับการยอมรับในระดับจังหวัด หรอื ระดบั เขตพนื้ ที่

การศกึ ษา

ระดบั 1 ผลงานไดร้ ับการยอมรบั ในระดับกลุม่ โรงเรยี น หรือระดบั

โรงเรยี น

8. การขยายผล ต่อยอด หรือประยุกต์ใชผ้ ลงาน นวัตกรรม หรอื แนวปฏิบัติ (18 คะแนน)

8.1 การแลกเปล่ยี น 2 ระดับ 3 มีการสงั เคราะหห์ รอื ถอดบทเรียน (ในระดับ 1) ทาความเข้าใจ

เรียนร้จู ากการถอดบทเรียน ต่อปัจจัยทสี่ ง่ ผลตอ่ ความสาเร็จหรืออุปสรรคของผลงาน (ใน

ระดับ 2) และมีวธิ ีการขยายขอบเขตความสามารถในการ

พยายามสืบเสาะ แสวงหา และการสงั เคราะห์ขอ้ มูลจากแหลง่

ต่าง ๆ ภายนอกเพม่ิ เติมเขา้ ด้วยกัน เพื่อประโยชนใ์ นการขยาย

ผล ตอ่ ยอด หรือสร้างสรรคส์ ง่ิ ใหม่ได้อยา่ งสอดคล้อง ตรงตาม

ความต้องการ โดยนาไปสู่การแกป้ ญั หาท่ชี ัดเจน สามารถนาไป

ประยุกตใ์ ช้ได้จรงิ และประสบผลสาเร็จ

ระดับ 2 มีการสังเคราะห์หรอื ถอดบทเรียน (ในระดับ 1) รวมท้งั มีการทา

ความเข้าใจต่อปจั จยั ที่ส่งผลต่อความสาเร็จหรืออุปสรรคของ

ผลงาน นวัตกรรม หรอื วิธีการปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice)

อยา่ งชดั เจน ครอบคลุม และครบถ้วน โดยนามาจัดรูปแบบ

ความสัมพันธเ์ ช่ือมโยงอยา่ งสมเหตุสมผลจนกลายเปน็ สงิ่ ใหมท่ ่ี

เหมาะสมกบั การขยายผล ต่อยอด หรอื ประยุกต์ใชใ้ นหน่วยงาน

สถานศึกษา หรือสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยในพน้ื ทร่ี ะดบั ภาค

๓๓

รายการพิจารณา นา้ หนกั ระดับคุณภาพ
คะแนน
ระดับ 1 มกี ารสงั เคราะห์หรือถอดบทเรยี นปัจจยั ทส่ี ่งผลตอ่ ความสาเรจ็
8.2 การเรียนรู้เพื่อ 4 และอุปสรรคของผลงาน นวตั กรรม หรือวธิ ีการปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ เลิศ
การต่อยอด และการขยาย (Best Practice) จนเป็นองค์ความรใู้ หมท่ ีเ่ ปน็ ประโยชน์ในการ
ผล คิด ต่อยอด ขยายผล หรอื ประยกุ ตใ์ ช้ภายในหน่วยงาน
สถานศกึ ษา หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ในพ้ืนท่ีระดบั ภาค
9. การนาเสนอผลงาน (4 คะแนน)
ระดับ 3 มีการเรียนรู้ร่วมกนั (ในระดับ 1) และมกี ารสร้างความรู้
9.1 การนาเสนอ 1 ยกระดบั (ในระดบั 2) รวมท้ังมีการนาไปประยุกต์ ใช้ (Apply
& Utilize) ดว้ ยการนาผลงาน นวตั กรรม หรอื วธิ กี ารปฏิบตั ิงาน
แนวใหม่ทไี่ ด้ไปปรับใชใ้ ห้ดยี ิ่งข้ึนท้งั ในและสถานศกึ ษา โดย
ประยกุ ตใ์ หส้ อดคล้องกับบรบิ ทในการดาเนนิ งานของตนเอง

ระดับ 2 มีการเรยี นรูร้ ่วมกัน (ในระดับ 1) และมกี ารสร้างความรู้
ยกระดบั (Create & Leverage) ดว้ ยการแลกเปลย่ี นเรียนรู้
ร่วมกัน รวมท้ังสามารถยกระดับความรู้ โดยการสรา้ งผลงาน
นวัตกรรม หรอื วธิ ีการปฏิบัติแนวใหม่ได้ภายในตวั เอง

ระดับ 1 มกี ารเรยี นรรู้ ว่ มกนั (Capture & Learn) ดว้ ยการถอดบทเรียน
จากการดาเนนิ งานโครงการทั้งที่เป็นความสาเร็จและความ
ผดิ พลาด หรอื การถอดบทเรยี นจากวิธกี ารปฏบิ ัติท่เี ป็นเลศิ
(Best Practice)

ระดบั 4 มีการนาเสนอเปน็ ขั้นตอนได้อย่างชัดเจน ครอบคลุม
ทุกประเด็น และตอบคาถามไดถ้ ูกต้องตามหลักวิชาการ มี
เอกสาร/หลักฐานประกอบการนาเสนอที่สอดคลองสัมพนั ธ์กนั

ระดบั 3 มกี ารนาเสนอเป็นขนั้ ตอนได้อย่างชัดเจน ครอบคลุมใน
บางประเด็น และตอบคาถามได้ถูกต้องตามหลกั วิชาการ มี
เอกสาร/หลกั ฐานประกอบการนาเสนอที่สอดคลองสัมพันธ์กัน

ระดบั 2 มีการนาเสนอเปน็ ขน้ั ตอน ตอบคาถามได้ถูกต้องในบางคาถาม
และมีเอกสาร/หลักฐานประกอบการนาเสนอทีส่ อดคลอง
สมั พนั ธ์กนั

ระดับ 1 มีการนาเสนอแตไ่ ม่เปน็ ข้นั ตอน ตอบคาถามไดถ้ ูกตอ้ งในบาง
คาถาม มีเอกสาร/หลกั ฐานประกอบการนาเสนอ
แตไ่ มส่ มบูรณ์

๓๔

สว่ นท่ี 4
การกากบั ตดิ ตาม และรายงานผลการดาเนนิ งาน

1. การกากับ ติดตามการดาเนนิ งาน

การกากับติดตามเป็นขั้นตอนท่ีมบี ทบาทสาคัญต่อการดาเนนิ โครงการ เพื่อปรบั ปรงุ และตรวจสอบผลสาเร็จ
ของโครงการว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม โดยที่หน่วยงานทุกระดับทั้งสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
สานักงานศึกษาธิการภาค และสานักงานศึกษาธิการจังหวัดจะมีการลงพ้ืนที่ เพ่อื รับทราบความก้าวหน้า และปัญหา
อุปสรรคของการดาเนินงาน และให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาการดาเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ
โครงการอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล โดยใชเ้ ครอื่ งมือในการกากับ ตดิ ตามการดาเนินงาน ดงั นี้

ฉบับที่ 6
เคร่ืองมอื นเิ ทศฯ ของ สป.,ศธภ.
นิเทศฯ การดาเนินงาน ศธจ.

แบบนิเทศ ตดิ ตาม กากับการดาเนินงาน
โครงการขับเคลื่อนการพฒั นาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดับพนื้ ท่ี

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

...............................................................................
คาชแี้ จง แบบนิเทศฯ ฉบบั นี้ เปน็ เครื่องมอื สาหรบั ผ้นู เิ ทศระดับสานกั งานสานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

และสานกั งานศกึ ษาธิการภาค ใช้ในการนิเทศ ตดิ ตาม กากับการดาเนนิ งานของสานักงานศกึ ษาธิการ
จงั หวัด ตามโครงการขบั เคลื่อนการพฒั นาการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในระดับพ้นื ที่
โปรดทาเคร่ืองหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับการปฏิบัติงานตามโครงการที่หน่วยงานได้ดาเนินการ พร้อมท้ังระบุ
รายการ “ขอ้ คน้ พบ/ข้อเสนอแนะ”

ตอนท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐาน
ช่ือหน่วยงาน.................................................................................................................................................................
จงั หวดั /ภาค.................................................................................วนั ทต่ี ดิ ตาม.................../................/……........ .......

ตอนที่ 2 การดาเนนิ งานขบั เคลอ่ื นการจดั การศึกษาปฐมวยั

ขอ้ ที่ ประเดน็ การประเมิน/ตัวบ่งช้ี การปฏิบัติ หมายเหตุ
มี ไม่มี

1 . เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการดูแลและพัฒนาในการจัดศึกษาปฐมวัยอย่าง

ทั่วถงึ และมพี ัฒนาการสมวัย

๑.1 จัดประชุมชี้แจง/ทบทวนเร่ืองมาตรฐานสถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวัยแห่งชาติ และการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลพัฒนาการ

เด็กปฐมวัย (เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 ตามแบบ

๓๕

ขอ้ ที่ ประเดน็ การประเมิน/ตัวบ่งช้ี การปฏิบตั ิ หมายเหตุ
มี ไมม่ ี
บันทึกการประเมินตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
แห่งชาติ ให้แก่ ผู้รับผิดชอบ/ผู้แทน ทุกสังกัดที่มีสถาน
พฒั นาเดก็ ปฐมวยั
1.2 รวบรวมและสรุปข้อมูลพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็ก 3-6
ปี) ปีการศึกษา 2563 ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั แห่งชาตเิ ปน็ ภาพรวมในระดับจงั หวดั
1.3 จัดทาเอกสารรายงานข้อมูลสารสนเทศพฒั นาการเด็กปฐมวัย
(เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 ตามมาตรฐานสถาน
พฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ ระดับจงั หวดั
1.4 รายงานขอ้ มลู สารสนเทศพฒั นาการเดก็ ปฐมวัย (เด็ก 3-6
ปี) ปีการศึกษา 2563ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
แห่งชาติระดับจงั หวัด นาสง่ สานักงานศึกษาธิการภาค
1.5 เผยแพรห่ นว่ ยงานการศกึ ษาท่เี กยี่ วข้อง

2. ส่งเสรมิ สนบั สนุนและพัฒนาสถานศกึ ษา/ สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยให้มคี ุณภาพตามมาตรฐาน
สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ

2.1 แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ กากับ ติดตาม วางแผนการ
ดาเนินงานและกาหนดกรอบ/แนวทางการดาเนนิ งาน จัดทา
คมู่ ือการนิเทศ และ ปฏิทนิ การนิเทศ กากบั ติดตามผลการ
ดาเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

2.2 ประสานหนว่ ยงานต้นสังกดั และดาเนินการนเิ ทศ กากบั
ติดตามผลการดาเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

2.3 รวบรวม วิเคราะห์ และสรปุ ผลการประเมนิ ตนเองของสถาน
พัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั
แหง่ ชาติ และผลการนเิ ทศฯ

2.4 สรปุ และจัดทารายงานผลการดาเนินงาน เพื่อรายงาน
สานักงานศึกษาธกิ ารภาค

3. สร้างความรู้ ความเข้าใจ การตระหนักถงึ ความสาคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัย และการมีส่วนร่วมในการ
ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การดแู ล พฒั นาและการจดั การศึกษาสาหรับเดก็ ปฐมวัย

3.1 การสร้างการรับรดู้ ว้ ยระบบออนไลน์

3.2 การสรา้ งการรบั รู้การจัดการศึกษาปฐมวยั ตามบรบิ ทและ
ความตอ้ งการของพ้ืนท่ี

3.3 การคดั เลือกหรือสรรหารปู แบบ/วธิ ีปฏบิ ัตทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best
Practices)

๓๖

ขอ้ คน้ พบ
รูปแบบ/แนวทางการดาเนนิ งานของ ศธภ./ศธจ.
.......................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................... ............................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................. .........
จุดเดน่ ทพ่ี บ
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
ปัญหาอุปสรรค
............................................................................................................................................... ........................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................. .....
ขอ้ เสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................ .......................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

๓๗

ฉบับที่ 7
เครอื่ งมอื นิเทศฯ ของ สป.
นิเทศฯ การดาเนนิ งานของ ศธภ.

แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม กากับการดาเนนิ งาน
โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจดั การศกึ ษาปฐมวัยในระดบั พนื้ ที่

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

...............................................................................
คาชีแ้ จง แบบนิเทศฯ ฉบบั นี้ เป็นเคร่ืองมือสาหรับผนู้ เิ ทศระดบั สานักงานสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

ใชใ้ นการนเิ ทศ ตดิ ตาม กากบั การดาเนินงานของสานกั งานศึกษาธิการภาค ตามโครงการขับเคลือ่ น
การพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวยั ในระดับพืน้ ท่ี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โปรดทาเคร่ืองหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับการปฏิบัติงานตามโครงการท่ีหน่วยงานได้ดาเนินการ พร้อมท้ังระบุ
รายการ “ขอ้ ค้นพบ ข้อเสนอแนะ”

ตอนท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐาน
ชือ่ หน่วยงาน.................................................................................................................................................................
จังหวดั /ภาค.................................................................................วนั ทต่ี ดิ ตาม.................../................/……........ .......

ตอนที่ 2 การดาเนนิ งานขบั เคลือ่ นการจัดการศึกษาปฐมวัย

ข้อท่ี ประเด็นการประเมนิ /ตัวบ่งชี้ การปฏบิ ัติ หมายเหตุ
มี ไม่มี

1 . เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการดูแลและพัฒนาในการจัดศึกษาปฐมวัยอย่างทั่วถึง

และมีพฒั นาการสมวัย

๑.1 รวบรวมและสรุปข้อมูลพัฒ นาการเด็กปฐมวัย

(เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 ตามมาตรฐาน

สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ

1.2 จัดทาเอกสารรายงานข้อมูลสารสนเทศพัฒนาการเด็ก

ปฐมวัย (เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 ตาม

มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ ระดบั ภาค

1.3 รายงานข้อมูลสารสนเทศพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็ก

3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 ตามมาตรฐานสถาน

พัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติระดับภาค เพ่ือนาส่ง

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

1.4 เผยแพรเ่ อกสารแก่หนว่ ยงานการศกึ ษาท่ีเกีย่ วข้อง

2. ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาสถานศึกษา/ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ

๓๘

ขอ้ ที่ ประเด็นการประเมิน/ตัวบ่งช้ี การปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ
มี ไม่มี

2.1 ประสานผูร้ บั ผิดชอบของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั

เพ่ือรวบรวมและวิเคราะห์ผลการดาเนินงานของสถาน

พัฒนาเด็กปฐมวัยระดับภาค

2.2 จดั ทารายงานสรุปผลการดาเนินงานของสถานพัฒนา

เด็กปฐมวัยในภาพรวม (ระดับภาค) เพ่ือนาเสนอ

สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการและหนว่ ยงานที่

เก่ยี วขอ้ ง (ผลการนิเทศ และผลการประเมนิ ตนเองของ

สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย)

3. สร้างความรู้ ความเข้าใจ การตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัย และการมี

ส่วนรว่ มในการส่งเสรมิ สนบั สนุนการดแู ล พัฒนาและการจัดการศึกษาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

3.1 การสรา้ งการรบั รูด้ ว้ ยระบบออนไลน์

3.2 การคัดเลือกหรือสรรหารูปแบบ/วิธีปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลิศ
(Best Practices)

ขอ้ ค้นพบ
รูปแบบ/แนวทางการดาเนินงานของ ศธภ.
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. ..........................
.......................................................................................................................................................................................
จดุ เดน่ ทีพ่ บ
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................. .....
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
ปญั หาอุปสรรค
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ...................................
.......................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

๓๙

2. การรายงานผลการดาเนินงาน

การรายงานผลการดาเนินงานเป็นกิจกรรมท่ีสาคัญเพื่อให้ทราบถึงผลการดาเนินงานของหน่วยงานที่
เก่ยี วขอ้ ง โดยสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดก้ าหนดการรายงานผลโครงการ ดงั นี้

2.1 การรายงานผลรายไตรมาส

สานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัด จัดทารายงานผลการดาเนินและผลการใช้
จ่ายงบประมาณ โดยจัดส่งให้สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นรายไตรมาส (ภายใน 15 วันหลังจากวันส้ิน
เดือนของแต่ละไตรมาส (เดือนมนี าคม มิถุนายน และกนั ยายน 2564) เพื่อรวบรวมข้อมูลผลการดาเนินงาน ปัญหา
อุปสรรคและการใช้จ่ายงบประมาณภาพรวมของโครงการ นาเสนอผู้บริหารทราบ และพิจารณาให้คาแนะนาในการ
แก้ไขปัญหา รวมทั้งจัดสง่ สานักงบประมาณทราบ โดยใช้แบบรายงานดงั น้ี

ฉบบั ท่ี 8

แบบรายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ัติราชการ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ของสานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1. ชื่อหนว่ ยงาน

2. ช่อื โครงการ

3. หว้ งเวลารายงาน

 ไตรมาสท่ี 1 : เดอื น ต.ค. 63 - ธ.ค. 63  ไตรมาสท่ี 2 : เดอื น ม.ค. 64 - มี.ค. 64

 ไตรมาสที่ 3 : เดือน เม.ย. 64 - ม.ิ ย. 64  ไตรมาสท่ี 4 : เดอื น ก.ค. 64 - ก.ย. 64

สถานะโครงการ  ยงั ไม่สน้ิ สุดโครงการ  ส้ินสดุ โครงการแล้ว

4. ความสอดคล้องกับแผนระดบั ตา่ ง ๆ

(โปรดระบุขอ้ ความ และทาเครอื่ งหมาย √ ในชอ่ ง  ท่ีมคี วามสอดคล้องกับโครงการ)

4.1 ยุทธศาสตร์ชาติ

4.2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ

4.3 แผนปฏิรูปประเทศ

4.4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2565)

4.5 แผนความมนั่ คง (โปรดระบุ.................................................................................................................)

4.6 นโยบายรัฐบาล

4.6.1 นโยบายหลัก

4.6.2 นโยบายเร่งด่วน

4.7 ยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ

 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ การจัดการศกึ ษาเพ่ือความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ

 ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลติ และพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวตั กรรม เพอื่ สร้างขีดความสามารถ

ในการแข่งขันของประเทศ

๔๐

 ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวยั และการสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้
 ยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ การสรา้ งโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษา
 ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจดั การศึกษา
4.8 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ พฒั นาการจัดการศึกษาเพื่อความมนั่ คง
 ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ พฒั นากาลงั คน การวิจัย เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษยใ์ หม้ ีคณุ ภาพ
 ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการให้มีประสทิ ธภิ าพ
๔.8.1  แผนงานพนื้ ฐาน
๔.8.2  แผนงานยทุ ธศาสตร์

 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล
 แผนงานยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
 แผนงานยุทธศาสตรพ์ ัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งวยั
 แผนงานยุทธศาสตร์เพ่ือสนบั สนนุ ด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
 แผนงานยทุ ธศาสตร์สรา้ งความเสมอภาคทางการศกึ ษา
๔.8.3  แผนงานบรู ณาการ
5. หลกั การและเหตผุ ล
6. วัตถปุ ระสงค์
7. ตัวชี้วดั ของโครงการ
7.1 ตวั ช้วี ัดเชงิ ปรมิ าณ
7.2 ตัวชี้วดั เชิงคุณภาพ
8. กลมุ่ เปา้ หมายโครงการ
9. ระยะเวลาดาเนินการ
10. สถานทด่ี าเนินการ
11. กจิ กรรมที่ดาเนินการ
12. ผลการดาเนนิ งานของกิจกรรม
13. ผลการดาเนินงานตามตวั ชี้วดั (จากข้อ 7)
13.1 เชิงปรมิ าณ
13.2 เชงิ คุณภาพ
๑4. ภาพกจิ กรรมที่เกิดขนึ้ ภายในโครงการ / กิจกรรม (ท่ีสือ่ ถึงการดาเนินการสู่ความสาเรจ็ จานวน 5 ภาพ
ขนาด file เทา่ กบั หรอื มากกวา่ 2 MB)

๔๑

15. งบประมาณ ผลการใชจ้ า่ ย ผลการใชจ้ ่าย ผลการใชจ้ า่ ย ผลการใชจ้ ่าย ผลการใชจ้ า่ ย
งบประมาณรวม งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ
งบประมาณ ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4
ทไ่ี ด้รบั ท้ังหมด (สะสม) (ต.ค.-ธ.ค.) (ม.ค.-ม.ี ค.) (เม.ย.-ม.ิ ย.) (ก.ค.-ก.ย.)

แหล่งงบประมาณ

16. ปญั หา อุปสรรค และแนวทางแกไ้ ข

16.1 ปญั หา อุปสรรค

16.2 แนวทางแก้ไข

17. แผนท่จี ะดาเนินการตอ่ ไป

18. ประโยชนท์ ี่สาธารณชนไดร้ บั

๑9. ผ้รู ายงาน ตาแหนง่

โทรศัพท์ โทรสาร E–mail :

20. วนั ท่ีรายงาน ณ วันที่ เดือน พ.ศ.

......................................................................................

๔๒

2.2 การรายงานผลเม่ือส้ินสดุ โครงการ

เมื่อส้ินสุดการดาเนินงานตามโครงการฯ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสรุปรายงานผล
การดาเนินงานตามรูปแบบที่กาหนด แล้วส่งให้สานักงานศึกษาธิการภาค และสานักงานศึกษาธิการภาครวบรวม
สรุปผลระดับภาค ส่งสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการภายในเดือน สิงหาคม 2564 เพ่อื สานักงานปลดั กระทรวง
ศกึ ษาธิการจะไดส้ รุป สงั เคราะห์รายงานใหเ้ ป็นภาพรวมของประเทศ โดยใชแ้ บบรายงาน ดังนี้

ฉบบั ที่ 9
เค้าโครงเอกสารรายงานผลการดาเนนิ งาน
โครงการขับเคลอื่ นการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวยั ในระดับพน้ื ที่

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสานักงานศึกษาธิการภาค...................../สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด............................

บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
คานา
สารบัญ
สว่ นที่ 1 บทนา

-หลกั การและเหตุผล
-วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
-ขอบเขตของโครงการ (กลุ่มเปา้ หมาย ระยะเวลาดาเนนิ การ)
-ตวั ช้วี ัดเป้าหมายโครงการ
-นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
ส่วนที่ 2 การดาเนินงาน
-แนวทางการดาเนินงานโครงการฯ
-แผน/ปฏิทินการดาเนินงาน
ส่วนท่ี 3 ผลการดาเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ
-วตั ถุประสงค์และตัวชี้วัดเป้าหมายโครงการ ขอ้ ท่ี 1 และการใชจ้ า่ ยงบประมาณ
-วตั ถุประสงคแ์ ละตัวชวี้ ดั เป้าหมายโครงการ ข้อที่ 2 และการใช้จ่ายงบประมาณ
-วัตถปุ ระสงคแ์ ละตวั ชี้วัดเป้าหมายโครงการ ข้อที่ 3 และการใช้จา่ ยงบประมาณ
สว่ นที่ 4 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน

ภาคผนวก
-เครอ่ื งมือเกบ็ รวบรวมข้อมลู คาสั่ง ภาพกิจกรรม
-คณะทางาน

๔๓

ภาคผนวก

๔๔

ภาคผนวก ก
ตัวอยา่ งเคร่อื งมือ

๔๕

แบบประเมนิ ตนเองของสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย
ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ

สว่ นที่ 1 ข้อมูลพน้ื ฐาน
๑. ช่อื สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย..................................................................................................................................

อาเภอ..................................................................................... จงั หวัด ...................................................................

๒. สงั กดั ( ) ภาครฐั โปรดระบุ……………................……………………………….......…………………………..............……….

( ) เอกชน โปรดระบุ…………………………….........………..( ) อน่ื ๆ...............................................................

3. หัวหนา้ สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

ชื่อ..........................................................................................สกุล.............................................................

อีเมล์………...………...........................................................โทรศัพท/์ มือถือ................................................

วฒุ กิ ารศึกษา ( ) ๑. สาขาปฐมวัย คอื .................................................................................................

( ) ๒. สาขาอ่ืน……………………….................................................................…………......

๕. รับเดก็ ตั้งแต่อายุ……............... เดือน/ปี ถงึ ……..…….......ปี

จานวนเดก็ ทงั้ หมด...............คน เป็นเด็กที่มีความตอ้ งการพิเศษ/ท่ีสงสยั มีพัฒนาการล่าชา้ ...............คน

นกั เรยี นระดบั ชั้นอนุบาล ๑ จานวน.............คน
นักเรยี นระดบั ช้ันอนบุ าล ๒ จานวน.............คน
นกั เรยี นระดบั ชั้นอนุบาล ๓ จานวน.............คน
รวมจานวนนกั เรยี น.................คน

ส่วนที่ 2 การประเมินตนเอง

คาช้ีแจง ให้ครู/ผ้รู บั ผิดชอบเดก็ ปฐมวัย บันทึกผลการประเมนิ มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ
แตล่ ะตัวบง่ ช้ีและข้อยอ่ ยลงในแบบบนั ทกึ การประเมนิ มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ
โดยทาเครื่องหมาย / ลงในชอ่ งผลการประเมินและรวมคะแนนแตล่ ะตวั บ่งช้ี ตามตวั อย่างดา้ นล่างนี้

ตวั บ่งชมี้ าตรฐาน คะแนนการประเมิน
ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑.๑ การบริหารจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ ๐ ๑ ๒ ๓ รวม

๑.๑.๑ บริหารจดั การสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั อยา่ งเป็นระบบ /
๑.๑.๒บรหิ ารหลักสตู รสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย /๕
๑.๑.๓ บริหารจดั การขอ้ มูลอย่างเปน็ ระบบ /

๔๖

มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ การบริหารจดั การสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั

ตวั บง่ ช้มี าตรฐาน ผลการประเมิน

ตวั บ่งช้ีที่ ๑.๑ การบรหิ ารจัดการอย่างเปน็ ระบบ 0 1 2 3 รวม

๑.๑.๑ บริหารจดั การสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอยา่ งเปน็ ระบบ

๑.๑.๒ บรหิ ารหลกั สตู รสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั

๑.๑.๓ บรหิ ารจดั การข้อมูลอยา่ งเปน็ ระบบ

ตวั บ่งชี้ท่ี ๑.๒ การบริหารจดั การบคุ ลากรทกุ ประเภทตามหนว่ ยงานท่ีสงั กัด 0 1 2 3 รวม

๑.๒.๑ บรหิ ารจดั การบคุ ลากรอย่างเปน็ ระบบ

๑.๒.๒ ผู้บรหิ ารสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั /หัวหน้าระดบั ปฐมวยั /ผู้ดาเนนิ กิจการ มี

คุณวุฒ/ิ คุณสมบัติเหมาะสมและบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ

๑.๒.๓ คร/ู ผดู้ แู ลเด็กทที่ าหนา้ ทหี่ ลักในการดูแลและพัฒนาเดก็ ปฐมวยั มีวุฒิ

การศึกษา/คณุ สมบัตเิ หมาะสม

๑.๒.๔ บรหิ ารบุคลากรจัดอตั ราสว่ นของคร/ู ผดู้ ูแลเด็กอย่างเหมาะสมพอเพียงต่อ

จานวนเด็กในแตล่ ะกลมุ่ อายุ

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑.๓ การบรหิ ารจัดการสภาพแวดล้อมเพ่ือความปลอดภยั 0 1 2 3 รวม

๑.๓.๑ บรหิ ารจัดการดา้ นสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยอยา่ งเปน็ ระบบ

๑.๓.๒ โครงสร้างและตวั อาคารมั่นคง ต้งั อยใู่ นบริเวณและสภาพแวดล้อมที่

ปลอดภัย

๑.๓.๓ จัดการความปลอดภัยของพื้นท่ีเลน่ /สนามเดก็ เลน่ และสภาพแวดล้อม

ภายนอกอาคาร

๑.๓.๔ จัดการสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครภุ ัณฑ์ อปุ กรณ์เคร่ืองใช้ใหป้ ลอดภัย

เหมาะสมกับการใชง้ านและเพียงพอ

๑.๓.๕ จัดใหม้ ขี องเลน่ ทีป่ ลอดภยั ไดม้ าตรฐาน มจี านวนเพียงพอสะอาด เหมาะสม

กับระดับพฒั นาการของเด็ก

๑.๓.๖ ส่งเสรมิ ให้เด็กปฐมวยั เดนิ ทางอย่างปลอดภยั

๑.๓.๗ จัดใหม้ ีระบบป้องกันภยั จากบุคคลท้งั ภายในและภายนอกสถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวัย

๑.๓.๘ จัดใหม้ ีระบบรับเหตุฉุกเฉนิ ป้องกนั อคั คภี ยั /ภยั พิบัติตามความเสยี่ งของ

พื้นท่ี


Click to View FlipBook Version