รายงานการวจิ ัย
เรื่อง การพฒั นาทกั ษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้ โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ
ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท2่ี
THE DEVELOPMENT OF POETRY READING AND SPELLING ABILITIES
BY USING A EXERCISE
โดย
นางสาวโยธชิ า คณุ บิดา รหัสนกั ศึกษา 62031280166
นางสาวชนดิ าภา สุขศรีทอง รหัสนกั ศกึ ษา 62031280170
นางสาวชนินาฏ สที อง รหัสนกั ศึกษา 62031280186
นางสาวณัฐพร จุมพศิ รหัสนกั ศกึ ษา 62031280188
กลุ่มเรียน 03
คณะครศุ าสตร์ สาขาการประถมศึกษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์
รายงานการวจิ ยั
เรอื่ ง การพัฒนาทกั ษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้ โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ
ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท2่ี
THE DEVELOPMENT OF POETRY READING AND SPELLING ABILITIES
BY USING A EXERCISE
โดย
นางสาวโยธชิ า คณุ บิดา รหัสนกั ศึกษา 62031280166
นางสาวชนดิ าภา สุขศรที อง รหัสนกั ศกึ ษา 62031280170
นางสาวชนนิ าฏ สีทอง รหัสนกั ศึกษา 62031280186
นางสาวณัฐพร จุมพศิ รหัสนกั ศกึ ษา 62031280188
กลมุ่ เรียน 03
คณะครศุ าสตร์ สาขาการประถมศึกษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์
ก
กิตตกิ รรมประกาศ
งานวิจัยฉบับนี้สำเร็จลงได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความกรุณาอย่างสูงจาก อาจารย์อิสระ ทับสีสดอาจารย์ท่ี
ปรกึ ษางานวจิ ัย ที่กรุณาใหค้ ำแนะนำปรึกษาตลอดจนปรับปรุงแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งต่าง ๆ ดว้ ยความเอา
ใจใส่อย่างดีย่ิง ผู้วิจัยตระหนักถึงความตั้งใจจริงและความทุ่มเทของอาจารย์และขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ไว้ ณ ท่นี ้ี
ขอขอบพระคุณ ครูกมลณทั พรมวังชวา ครอู มรรตั น์ ผิวรตั น์ และครูอนงค์ เพ็งป่าแต้ว ครชู ำนาญการ
พิเศษ โรงเรียนอนบุ าลอตุ รดติ ถ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถซ์ งึ่ เปน็ ผทู้ รงคณุ วุฒทิ ใ่ี ห้ความอนุเคราะห์ตรวจสอบ
คณุ ภาพเครอ่ื งมือ จนทำให้งานวจิ ยั นสี้ ำเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี
ผู้วจิ ัยหวังวา่ งานวจิ ยั ฉบับนี้จะมปี ระโยชนอ์ ยไู่ มน่ ้อย จงึ ขอมอบสว่ นดี ท้ังหมดนี้ให้แก่เหล่าครทู ่ีไดป้ ระ
สิทธปิ ระสาทวิชาจนทำให้ผลงานวิจัยเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้ท่ีเกี่ยวข้องและขอมอบความกตญั ญู กตเวทิตาคุณ แด่บดิ า
มารดา และผูม้ ีพระคุณทกุ ท่าน สำหรบั ข้อบกพรอ่ งตา่ ง ๆ ทอี่ าจจะเกดิ ข้นึ นน้ั ผูว้ ิจยั ขอน้อมรับผิดเพยี งผูเ้ ดียว และ
ยินดีที่จะรบั ฟงั คำแนะนำจากทกุ ทา่ นทไ่ี ด้เขา้ มาศึกษา เพือ่ เปน็ ประโยชน์ในการพฒั นางานวจิ ยั ตอ่ ไป
ข
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ
ของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2
ชื่อผูว้ จิ ัย : โยธชิ า คุณบิดา *นักศึกษา
ชนดิ าภา สุขศรที อง *นักศกึ ษา
*นักศกึ ษา
ชนินาฏ สที อง *นกั ศกึ ษา
ณฐั พร จุมพศิ
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา : อาจารยอ์ ิสระ ทับสสี ด
ปที ่ที ำการวิจยั : 2564
บทคัดยอ่
การวิจัยคร้ังนี้กระทำกับกลุ่มตัวอย่างเดียวที่ถูกคัดเลือกโดยวิธีการสุ่มตามหลักการความน่าจะเป็นอย่าง
ง่ายจากนกั เรียนระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้าน้ำอ่างสำนกั งานสลากกินแบง่ สงเคราะห์ท่ี 163
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำเร่ืองทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163 2) เพื่อ
เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำเร่ืองการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำระหว่างก่อน
และหลังการใช้แบบฝึกทักษะ 3) เพ่ือวัดระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ท่ีมีต่อการ
ทดลองใช้แบบฝึกทักษะจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องคำควบกล้ำ ระเบียบวิธีการวิจัยเป็นแบบก่ึงทดลอง เครื่องมือ
การวิจัยซึ่งผ่านการหาประสิทธิภาพแล้วประกอบด้วยแบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจ แบบสอบถามวัดความ
เหมาะสมของนวัตกรรม และแบบทดสอบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ Paired –
Sample t Test
ผลการวิจัยพบว่า แบบฝึกทักษะ สร้างขึ้นตามแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการของอารีย์ บัวคุ้มภัย (2540)
น้ัน ภายหลังทดลองใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำ เพื่อการพัฒนาทักษะด้านการอ่าน
สะกดคำ แล้วนำผลมาเปรียบเทียบกับทักษะด้านการอ่านสะกดคำ ที่อยู่เดิมด้วยแบบทดสอบ-หลังการใช้นวัตกรรม
ด้วยวิธีดังกล่าวทักษะด้านการอ่านสะกดคำของกลุ่มตัวอย่างที่มีอยู่เดิมอยู่ท่ีระดับดี เม่ือเทียบกับเกณฑ์ของ สพฐ.
และจากการทดลองใช้แบบฝึกทักษะ อยู่ที่ระดับดี เมื่อเทียบกับเกณฑ์เดียวกัน และเมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบด้วย
Paired – Sample t Test ทักษะด้านการอ่านสะกดคำควบกล้ำ สูงกว่าที่มีอยู่เดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี 0.05
หรือทร่ี ะดบั ความเชอ่ื มนั่ 95% มคี วามพงึ พอใจตอ่ เฉพาะการทดลองใชแ้ บบฝกึ ทักษะทร่ี ะดับมาก
*นักศึกษาวิชาเอกสาขาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ นางสาวโยธิชา คุณบิดา นางสาวชนิดาภา
สขุ ศรที อง นางสาวชนินาฏ สีทอง และนางสาวณัฐพร จุมพติ
ค
THE DEVELOPMENT OF POETRY READING AND SPELLING ABILITIES
BY USING A EXERCISE
AUTHOR Miss.Yoticha khunbida Miss.Chanidapa Suksrethong
DATE Miss.Chaninat Seethong Miss.Nattaporn Jumpit
2021
ABTRACT
This research was conducted on a single sample selected by a random method based
on simple probability principles from second graders, water-mad school basin, lottery office
163. This research aims 1) to develop a spelling reading skills training on the spelling reading
skills of second graders at Ban Nam Ang School, Lottery Office 163 2) to compare the results of
reading skills on the development of spelling reading skills during before and after the use of
the 3rd grade training to measure the satisfaction level of second graders towards the
experiment of rhythmic learning skills. The research methodology is semi-experimental. The
research tool, which has been evaluated for performance, consists of questionnaires measuring
satisfaction levels. The questionnaire measures the suitability of innovation and the test
analyzes the data with average, standard deviation, and paired – sample t test.
The results showed that the skills training exercises were built on concepts. Theory, the
principle. Ari Buakum's method After experimenting with learning activities on spelling reading to
improve spelling reading skills, compared the results to the spelling reading skills that were
originally addressed with the test-after-innovation. In that way, the spelling reading skills of the
existing sample are at a good level. Compared to the criteria of the NHS and from the trial of
the skills training, it is at a good level. And when compared with Paired – Sample t Test, the
reading skills were statistically significantly higher than existed at 0.05 or at a confidence level of
95%.
ง
สารบัญ
บทท่ี หน้า
กติ ติกรรมประกาศ………………………………………………………………………………………………………………………………ก
บทคดั ยอ่ ภาษาไทย…………..…………………………………………………………………………………………………………………ข
บทคัดย่อภาษาองั กฤษ…………..…………………………………………………………………………………………………………….ค
สารบัญ…………..………………………………………………………………………………………………………………………………….ง
สารบญั ตาราง…………..………………………………………………………………………………………………………………………...ฉ
สารบัญภาพประกอบ…………..………………………………………………………………………………………………………………ช
1 บทนำ…………………………………………………………………………………………………………………………………1
ทมี่ าและความสำคัญของปัญหา…………………………………………………………………………………………...3
คำถามวจิ ัย…………………………………………………………………………………………………………………..…….4
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ……………………………………………………………………………………………………..4
ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ…………………………………………………………………………………………………..4
ขอบเขตของการวจิ ัย…………………………………………………………………………………………………………..4
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ……………………………………………………………………………………………………………….5
2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง……………………………………………………………………………………………7
หลกั การใช้อักษรควบกล้ำ……………………………………………………………………………………………..……7
แนวคดิ เกยี่ วกบั การอ่าน……………………………………………………………………………………………..………8
แบบฝึกทักษะ……………………………………………………………………………………………..…………………….8
หลักการสร้างแบบฝกึ ทกั ษะ……………………………………………………………………………………………..…9
ประโยชน์ของแบบฝึกทกั ษะ……………………………………………………………………………………………….9
งานวจิ ยั ท่เี กีย่ วขอ้ ง……………………………………………………………………………………………..…………...11
3 วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ัย……………………………………………………………………………………………..……….…….13
ระเบียบวิธวี ิจยั ……………………………………………………………………………………………..…………………13
แหลง่ ข้อมลู การวจิ ัย……………………………………………………………………………………………..………….13
เคร่อื งมือการวิจัย……………………………………………………………………………………………..……………..13
การดำเนินการรวบรวมข้อมูล……………………………………………………………………………………………17
การวเิ คราะห์ข้อมลู ……………………………………………………………………………………………..…………..18
การนำเสนอการวเิ คราะห์ข้อมูล………………………………………………………………………………………..19
จ
บทที่ หน้า
4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล………………………………………………………………………….…………..…………………20
ผลการพฒั นาแบบฝึกทกั ษะการอา่ นสะกดคำ……………………………………….…………..…………………..20
การพฒั นาผลการเรียนร…ู้ ……………………………………………………………………….…………..………………21
ผลการเรียนร…ู้ ……………………………………………………………………….…………..……………………………..24
ระดบั ความพงึ พอใจ………………………………………………………………………….…………..……………………25
5 สรุปผลการวิจัย………………………………………………………………………….…………..………………………….28
อภิปรายผลการวจิ ยั ………………………………………………………………………….…………..……………………29
ขอ้ เสนอแนะผลการวจิ ัย………………………………………………………………………….…………..……………..31
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวิจยั
ภาคผนวก ข ค่าดัชนคี วามสอดคล้อง และคา่ อำนาจจำแนกของเครอื่ งมอื
ประย่อของผวู้ จิ ัย
ฉ
สารบัญตาราง
ตาราง หน้า
1 ผลการประเมินความเหมาะสมของแบบฝกึ ทักษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้ …………………………………………20
2 คะแนนผลการเรยี นรเู้ รอื่ ง การอ่านสะกดคำควบกลำ้ จากการจัดกจิ กรรมท่ีแตกตา่ งกับ…………………………22
2 นวตั กรรมกัน กลุ่มตัวอยา่ งเดียวกัน
3 ผลการเปรยี บเทียบผลการ ผลการเรียนรเู้ ร่ืองการอา่ นสะกดคำควบกลำ้ ระหว่างการจดั …………………………23
กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยทดลองใช้การสอนตามหนังสอื และโดยทดลองใชแ้ บบฝึกทักษะ
4 คะแนนผลการทดลองใชแ้ บบฝึกทักษะจัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู พือ่ พฒั นาการอา่ นสะกดคำ……………………..24
ของนกั เรยี นระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2
5 ระดบั ความพงึ พอใจของนกั เรียนระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน………………………26
23 คนทม่ี ตี อ่ การทดลองใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เรอ่ื งการอา่ นสะกดคำควบกลำ้
ช
สารบญั ภาพประกอบ
ภาพประกอบ หน้า
1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั …………………………………………………………………………………………………………………..6
1
บทที่ 1
บทนำ
ทีม่ าและความสำคัญของปญั หา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 บัญญัติความตามมาตรา 22 ว่า การจัดการศึกษาต้องยึด
หลักว่า นักเรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่านักเรียนทุกคนมีความสำคัญท่ีสุด
กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพความตาม
มาตรา 24 (1) บัญญัติว่า การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจัดเน้ือหาสาระและ
กิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของนักเรียนโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และความ
ตอนหน่ึง (5) ของมาตราเดียวกันบัญญัติว่า ให้ผู้สอนสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ และ
ความตามมาตรา 30 บัญญัติว่า ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริม
ให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละสถานศึกษา จากความตามมาตราดัง
กล่าวถึงตีความว่า ภายหลังที่ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ใดๆ ด้วยวิธีและเทคนิคการสอนวิธีการใด
วิธีการหน่ึงแล้ว เมื่อทำการวัดและประเมินผลพบว่ามีผลอย่างใดอย่างหน่ึงคือ จำนวนนักเรียนท้ังชั้นเรียน จำนวน
นักเรียนส่วนมากของช้ันเรียนหรือนักเรียนจำนวนส่วนน้อยของช้ันเรียนมีผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำ
ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ผู้สอนกำหนดขึ้น ผลการประเมินดังกล่าวไม่สามารถลงข้อสรุปว่า ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ
การอ่านสะกดคำของนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ผู้สอนกำหนดและถูกตัดสินให้ “ตก” ในสาระการเรียนรู้นั้น
แต่ผู้สอนต้องพึงตระหนักเสมอว่าการท่ีนักเรียนมีผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
ที่กำหนดอาจเป็นเพราะว่า วิธีและเทคนิคการสอนตามท่ีผู้สอนนำมาใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้อาจนั้นไม่สอดคล้อง
กับความถนัดและความสนใจของนักเรียน ดังนั้น ผู้สอนจึงต้องค้นหาวิธีและเทคนิคการสอนวิธีใหม่ที่เหมาะสมกับ
ความถนัดและความสนใจของนักเรียน การทำวิจัยของผู้สอนจะใช้เป็นหลักฐานยืนยันว่า วิธีและเทคนิคการสอนวิธี
ใหม่ที่ผู้สอนนำมาใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้นั้นมีผลการพัฒนาผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำของนักเรียน
หรือไม่อย่างไร เมื่อเปรียบเทียบเปรียบเทียบกับวิธีและเทคนิคการสอนวิธีเดิม ด้วยเหตุดังกล่าวจึงตอบคำถามว่า
ทำไมผ้สู อนจึงตอ้ งทำวจิ ัย ทัง้ วิจัยเพอื่ พฒั นาและแก้ปัญหานักเรยี น
ท 4.1 ป.1/2 กำหนดข้อความเฉพาะตัวช้ีวัดว่า เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำควบกล้ำ คือ
พยัญชนะสองตัวที่เขียนเรียงกัน และใช้สระเดียวกัน อยู่ในตำแหน่งต้นพยางค์ เม่ืออ่านออกเสียง จะต้องอ่านควบ
เป็นพยางค์เดียวกัน โดยเสียงวรรณยุกต์ก็จะผันตามเสียงพยัญชนะตัวหน้า บุณฑริก ไกรวงษ์(2552) สาระการ
เรียนรู้ดังกล่าวกำหนดอยู่ในหนังสือรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้ช่ือว่า ภาษาพาทีช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 2 ” หนังสือดงั กลา่ วจดั ทำโดยสำนกั งานคณะกรรมการข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จากการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยให้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงาน
สลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163 ที่เคยเป็นมาพบว่า เฉพาะเร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำของกลุ่มสาระการเรียนรู้
2
ภาษาไทยจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การสอนตามหนังสือ ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้จะประเมิน 3 ด้าน
รวมกันคือ ด้านความรู้(K) ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) และด้านคุณลักษะอันพึงประสงค์(K) และกำหนดระดับผล
การเรียนรู้ที่ประเมินเป็น 4 ระดับตามเกณฑ์ประเมินของสำนักงานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานคือ ดีเย่ียม มีร้อยละของค่า
คะแนนเฉลี่ย 80-100 ดี ร้อยละ 65-79 พอใช้(ผ่าน) ร้อยละ 50-64 และต้องปรับปรุง(ไม่ผ่าน) ต่ำกว่าร้อยละ 50
สำหรับเกณฑ์การประเมินผ่านเฉพาะรายบุคคลนั้น นักเรียนแต่ละคนต้องมีผลการเรียนรู้ต้ังแต่ระดับ ดี ส่วนเกณฑ์
การประเมินผ่านท้ังห้องเรียนนั้น ต้องมีนักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 70 ของจำนวนทั้งหมด มีผลการเรียนรู้ตั้งแต่
ระดับดี
จากการวัดผลและประเมินผลรวมทั้งชั้นเรียนเร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำ ตามเกณฑ์การประเมินผ่าน
พบว่า นักเรียนท่ีมีผลการเรียนรู้ระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 58.98 ซ่ึงต่ำกว่าเกณฑ์ประเมินผ่านที่กำหนดคือร้อยละ
70 จากการสัมภาษณ์นักเรียนพบว่า สาเหตุที่ทำให้ผลการเรียนรู้ต่ำกว่าเกณฑ์การประเมินผ่านที่กำหนดเป็น
เพราะว่าการสอนน่าเบื่อ ไม่มีแรงจูงใจ ทำให้เกิดผลการเรียนรู้ท่ีต่ำกว่าเกณฑ์ เช่น คำให้การเด็กชายอนุวัฒน์ มี
เจริญ นักเรียนชั้นประถมศึกษาช้ันปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 ให้เหตุผลว่า “ หนูไม่เข้าใจคำว่า ทราบ ทำไมสะกดว่า
ซาบ ไม่ใช่ ทราบ หนูไม่เข้าใจทำไมถึงสะกดอย่างนั้น ” จากสาเหตุของปัญหาและความสำคัญของการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ ดังกล่าวก่อนหน้า ผู้วิจัยจึงต้องทำการวิจัยเพื่อพัฒนา/ปรับปรุงผลการ
เรียนรู้เร่ืองดังกล่าวของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์
ท่1ี 63 อำเภอ ตรอน จังหวดั อุตรดิตถ์
แบบฝึกทักษะ หมายถึง แบบฝึกหรือแบบฝึกหัดเป็นสื่อการเรียนการสอนประเภทหน่ึงท่ีให้นักเรียนได้ฝึก
ปฏิบัติเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจและทักษะเพ่ิมเติมขึ้น ส่วนใหญ่หนังสือเรียนจะมีแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนใน
บางวิชาแบบฝึกหัดจะมีลักษณะเป็นแบบฝึกปฏิบัติ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2537 สมศักดิ์
สินธุระเวช. 2540 สุพรรณี ไชยเทพ. 2544 อำนวย เลื่อมใส. 2546 ไพบูลย์ มูลดี. 2546 ถวัลย์ มาศจรัส. 2548)
ตัวอย่างงานวิจัย เช่น อรพรรณ ภูกันหา (2564) ทำการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา
ภาษาไทย เร่ือง คำควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะกับการเรียนแบบปกติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนวัดลานบุญ ผลวิจัยพบว่า 1)ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักทะวิชาภาษาไทย เรื่องคำควบกล้ำ ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนวัดลานบุญ มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 77.83/ 82.33 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์
ประสิทธิภาพ 80/80 ที่กำหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคำควบกล้ำ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2
โรงเรียนวัดลานบุญ มีผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทิพลัดดา นิล
ผาย (2560) ทำการวิจัยเร่ือง การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำภาษาไทยของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC ผลวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โดย
ใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC มีประสิทธิภาพ (E1/E2) 86.51/83.83 2) ดัชนีประสิทธิผลของการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ด้านการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้
กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC ค่าเท่ากับ 0.6881 หรือร้อยละ 68.81 3) นักเรียนท่ีเรียนด้วยการอ่านและ
3
การเขียนคำควบกล้ำภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC มี
คะแนนทักษะการอ่านและเขียนคำควบกล้ำหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้านการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำภาษาไทย โส
ภัทรา คงทวี (2556) ทำการวิจัยเร่ือง ผลการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ ร ล ว
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ผลวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยโดยใช้ สถิติทดสอบที
ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระ การเรียนรู้
ภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่สร้างข้ึนมีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.9 4/92.22 ซ่ึงสูง กว่าเกณฑ์
มาตรฐาน 80/80 ท่ีต้ังไว้ 2) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออก เสียงคำที่มี
พยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีทักษะการอ่านออกเสียงคำท่ีมีพยัญชนะ ควบกล้ำ ร ล
ว หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีเรียนโดยใช้
แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำท่ีมีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มี
ความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำท่ีมีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย อยใู่ นระดับดมี าก
ด้วยบทบาทหน้าท่ีของผู้สอน ตามพ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 มาตราท่ี 22 มาตราที่ 24 วงเล็บ
5 มาตราท่ี 30 และจากสภาพปัญหาและความสำคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ
ผู้สอนจึงมีแนวคิดท่ีจะทำวิจัยเพื่อพัฒนา/ปรับปรุงผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน
บ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่ 163 อำเภอ ตรอน จังหวัด อุตรดิตถ์ โดยใช้แบบฝึกทักษะ
ผลการวิจัยจะทำให้นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 มีผลการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ เพ่ิมขึ้นเมื่อ
เปรยี บเทียบกับนวัตกรรมเดิมทีค่ รูพีเ่ ลย้ี งใชจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ปกี ารศกึ ษาก่อนหน้าทำการวจิ ยั
คำถามการวิจัย
1. การพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำเรื่องการอ่านสะกดคำควบกล้ำของนักเรียนระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ทำ
อย่างไร
2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำเร่ืองคำควบกล้ำระหว่างก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะ
การอ่านสะกดคำเปน็ อย่างไร
3. ระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกิน
แบ่งสงเคราะห์ที่163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ มีต่อการทดลองใช้แบบฝึกทักษะจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง
การอ่านสะกดคำควบกลำ้ เปน็ อยา่ งไร
4
วัตถุประสงคก์ ารวิจัย
1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำเร่ืองคำควบกล้ำของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2
โรงเรียนบา้ นน้ำอ่างสำนกั งานสลากกินแบ่งสงเคราะหท์ ี่ 163 อำเภอตรอน จงั หวดั อตุ รดติ ถ์
2. เพ่ือเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำเร่ืองคำควบกล้ำระหว่างก่อนและหลังการใช้
แบบฝึกทกั ษะ
3. เพื่อวัดระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงาน
สลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่มีต่อการทดลองใช้แบบฝึกทักษะจัดกิจกรรมการ
เรียนรเู้ รื่องทักษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้
ผลและประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั
1. มีแบบฝึกทักษะ เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำให้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียน
บ้านน้ำอา่ งสำนกั งานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ท่ี 163 อำเภอตรอน จงั หวดั อตุ รดิตถ์
2. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทั้งห้องเรียนมีผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำเร่ืองคำ
ควบกลำ้ ระดบั ดี เมอ่ื ใชแ้ บบฝกึ ทักษะการอา่ นสะกดคำแทนวธิ แี ละเทคนิคการสอนเดิม
3. ความสำเร็จของงานวิจัยสามารถใช้เป็นแนวทางการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักเรียนกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้อ่ืนๆ
ขอบเขตการวจิ ัย
1.ขอบเขตด้านประชากร
นักเรียนชั้นระดับประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่
163 อำเภอตรอน จงั หวดั อุตรดติ ถ์
2.ขอบเขตดา้ นตัวแปร
2.1 ตัวแปรอิสระ
2.1.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ โดยใช้วิธีและเทคนิค
การสอนวิธีเดิมตามของโรงเรียนกับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่าง
สำนักงานสลากกนิ แบ่งสงเคราะหท์ ี่ 163
2.1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การอ่านสะกดคำควบกล้ำโดยใช้แบบฝึกทักษะกับ
นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี
163
5
2.2 ตัวแปรตาม ประกอบดว้ ย 3 ตวั แปรคือ
2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำเรื่อง คำควบกล้ำของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163 โดยใช้วิธีและ
เทคนิคการสอนวิธีเดิมตามของโรงเรยี น
2.2.2 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำเร่ือง คำควบกล้ำของนักเรียนระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่ 163 หลังจากจัด
กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ
2.2.3 ระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่าง
สำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่ 163 อำเภอ ตรอน จังหวัด อุตรดิตถ์ ที่มีต่อการจัดกิจกรรม
การเรยี นรเู้ รอ่ื ง การอ่านสะกดคำควบกล้ำโดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ
3.ขอบเขตด้านเน้อื หา
การจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ รอ่ื ง การอ่านสะกดคำควบกลำ้
4.ขอบเขตด้านระยะเวลาและสถานท่ี
ดำเนินการวิจัยระหว่างเดือน ถึง เดือน พ.ศ. ทำวิจัยท่ีโรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่ง
สงเคราะห์ที่ 163 อำเภอตรอน จงั หวัดอุตรดติ ถ์
คำนิยามศัพท์เฉพาะ
1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หมายถึง นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่าง
สำนักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ที่ 163 อำเภอตรอน จังหวดั อตุ รดติ ถ์
2. การอ่านสะกดคำพื้นฐาน หมายถึง การเขียนคําท่ีมีพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และการส่งสารด้วยการ
เขียน จะต้องเขียนสะกดคําให้ถูกต้องชัดเจน ซึ่งวัดผลได้จากการให้นักเรียนอ่านสะกดคำควบกล้ำช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 2
3. แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำ หมายถึง แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการ
เรยี นร้ภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ทผ่ี ูว้ จิ ัยสรา้ งขน้ึ เพือ่ ใช้ในการฝึกปฏิบัตดิ า้ นการอ่าน
4. ผลการเรียนรดู้ า้ นทักษะการอ่านสะกดคำ หมายถงึ
4.1 ค่าคะแนนเฉล่ียท้ังห้องเรียนของนักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่าง
สำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163 จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ
โดยใชว้ ธิ ีและเทคนิคการสอนวิธีเดิม
4.1 ค่าคะแนนเฉลี่ยท้ังห้องเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่าง
สำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เรอ่ื ง การอ่านสะกดคำควบกลำ้ โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ
6
5. การพัฒนาผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำ หมายถึง ค่าคะแนนเฉลี่ยท้ังห้องประถมศึกษาปี
ที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่ 163 ที่เพ่ิมข้ึนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ α = 0.05
เมื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้านทักษะเร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธี
และเทคนิคการสอนวธิ ีเดิม กับ การใชแ้ บบฝึกทักษะ
6. ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความพึงพอใจดา้ นเอกสาร กิจกรรม ตวั ครู บรรยากาศ และดา้ น
ความรู้ความเข้าใจเน้ือหาของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่ง
สงเคราะห์ท่ี 163 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรือ่ ง การอา่ นสะกดคำควบกลำ้ โดยใช้แบบฝึกทักษะ
7. ระดับความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2
โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่ 163 ที่มีต่อการทดลองใช้แบบฝึกทักษะจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้เรื่องการอ่านสะกดคำควบกล้ำโดยระดับความพึงพอใจแต่ละด้านดังกล่าวข้อ 7 จะอ้างอิงตามเกณฑ์ระดับ
คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ดังน้ี
คะแนนเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความพงึ พอใจทร่ี ะดับมากสดุ
คะแนนเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจทร่ี ะดับมาก
คะแนนเฉล่ีย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจทร่ี ะดบั ปานกลาง
คะแนนเฉลีย่ 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจทรี่ ะดับน้อย
คะแนนเฉลีย่ 1.00 – 1.50 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจที่ระดบั น้อยสุด
กรอบแนวคิดในการวิจยั
กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบฝกึ ทัก ษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้
การพฒั นาทกั ษะการอา่ นสะกดคำควบกล้ำ
7
บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยท่ีเกยี่ วขอ้ ง
ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ เพ่ือแก้ปัญหาใน
การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกิน
แบ่งสงเคราะห์ท่ี 163
โดยผวู้ จิ ยั ได้ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยท่เี กีย่ วข้อง และได้นำเสนอตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี
1. หลักการใช้อกั ษรควบกล้ำ
2. แนวคิดเกย่ี วกบั การอ่าน
3. แบบฝึกทกั ษะ
4. ประโยชนข์ องการฝกึ ทกั ษะ
5. หลกั การสรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะ
หลักการใช้อักษรควบกล้ำ
คำควบกล้ำ หมายถึง คำที่มีพยัญชนะสองตัวเขียนเรียงติดกันอยู่ต้นพยางค์ และใช้สระเดียวกัน เวลา
อ่านออกเสียงกล้ำเป็นพยางค์เดียวกัน เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์น้ันจะผันเป็นไปตามเสียงพยัญชนะตัวหน้า คำ
ควบกล้ำ มี 2 ชนิด คอื คำควบแท้ และ ควบไม่แท้
คำควบแท้ ได้แก่ พยัญชนะ ร ล ว ควบกับพยัญชนะตัวหน้า ประสมสระตัวเดียวกัน เวลาอ่านออกเสียง
พยัญชนะท้ังสองตัวพร้อมกัน เชน่
พยัญชนะต้นควบกับ ร ได้แก่ พร้อม เพราะ ใคร กรอง ครองแครง ขรุขระ พระ ตรง ครั้ง กราบ
โปรด ปรักปรำ ปรับปรุง คร้นื เครง เครง่ ครัด ครอบครัว โปรง่
พยัญชนะต้นควบกับ ล ได้แก่ กลบเกลื่อน กลมกลิ้ง เกลี้ยกล่อม เกลียวคลื่น เคล่ือนคล้อย ปลา
ปลวก ปลอ่ ย เปลยี่ นแปลง คลกุ คลาน เพลงิ เพลิดเพลิน คลอ่ งแคลว่
พยัญชนะต้นควบกับ ว ได้แก่ แกว่งไกว กวาด กว่า ขวาง ขว้างขวาน ขวิด แขวน ขวนขวาย
ควาย เคว้งคว้าง คว่ำ ควาญ ความ แควน้ ขวญั ควัน
คำควบไม่แท้ ได้แก่ พยัญชนะ ร ควบกับพยัญชนะตัวหน้าประสมสระตัวเดียวกัน เวลาอ่านไม่ออกเสียง ร
ออกเสยี งเฉพาะตวั หนา้ หรือมฉิ ะนัน้ ก็ออกเสยี ง เป็นเสียงอืน่ ไป
คำควบไม่แท้ที่ออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหน้า ได้แก่พยัญชนะ จ ซ ศ ส ควบกับ ร เช่น จริง ไซร้
เศร้าสรอ้ ย ศรี ศรัทธา เสริมสรา้ ง สระ สรง สร่าง
คำควบไม่แท้ ท ควบกับ ร แล้วออกเสียงกลายเป็น ซ ได้แก่ ทรง ทราบ ทราม ทราย แทรก ทรุด โทรม
มทั รี อนิ ทรี นนทรี พุทรา
8
แนวคดิ เก่ียวกับการอา่ น
การอ่านเป็นกระบวนการพัฒนาทักษะ การรับรู้ความหมายของคำ สัญลักษณ์ ความรู้ ความคิด ความรู้สึก
และจนิ ตนาการของผ้เู ขยี น โดยสงิ่ สำคญั คือความเขา้ ใจในการอา่ น
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 (2546: 1364) ให้ความหมายของคำว่า “อ่าน” ไว้
ว่า ว่าตามตัวหนังสือ ถ้าออกเสียงด้วยเรียกว่าอ่านออกเสียง ถ้าไม่ออกเสียงเรียกว่า อ่านในใจ สังเกตหรือพิจารณา
ดใู ห้เขา้ ใจ เชน่ อา่ นสหี นา้ อ่านรมิ ฝปี าก อา่ นใจ
ศิริพร ลิมตระการ (2543) ได้กล่าวว่าการอ่านคือ กระบวนการแห่งความคิด ในการรับสารเข้าในขณะท่ี
อ่านสมองของผู้อ่านจะต้องคิดตาม ผู้เขียนหรือตีความข้อความท่ีอ่าน ไปด้วยตลอดเวลา ผู้อ่านที่ดีนั้นจะต้องเข้าใจ
ขอ้ ความทีต่ นอ่านไดอ้ ย่างรวดเร็วและถกู ตอ้ ง
สุพรรณี วราทร (2545) ได้อธิบายความหมายของการอ่านโดยสังเขปเปรียบเทียบการอ่านกับกระบวนการ
ถอดรหัส เป็นปฏิกิริยาอันเป็นผลจากการเห็นสัญลักษณ์ หรือข้อความ การอ่านเป็นเรื่องเก่ียวกับทักษะทาง
ความคิด เป็นกระบวนการทางสมองท่ีซับซ้อน ประกอบด้วยการเห็นและรับรู้ข้อความ (word perception) การ
เขา้ ใจ (apprehention) และการแปลความหมาย (interpretation)
บรรพต ศิริชัย (2547) กล่าวว่า การอ่าน หมายถึง กระบวนการทางความคิดในการรับสาร ขณะท่ีอ่าน
สมองของผู้อ่านจะต้องแปลความหมาย ตีความข้อความหรือเร่ืองราวที่อ่านไปด้วยตลอดเวลา ในระหว่างท่ีผู้อ่าน
กำลังอ่านหนังสืออยู่นั้น จะต้องใช้กลวิธีหลาย ๆ อย่าง เพื่อช่วยให้เข้าใจ เรื่องราวได้เร็วขึ้นได้แก่ ความรู้เดิมใน
คำศัพท์ เพื่อใช้อธิบายความหมาย แปลความ ตีความ และขยายความจากเร่ืองท่ีอ่านได้ นอกจากน้ีผู้อ่านจะต้องมี
ความคิดเชิงวิจารณ์ และสร้างสรรค์ สามารถพิจารณาเหตุผลจากข้อความท่ีอ่าน เข้าใจความคิดหรือความมุ่งหมาย
ของผู้เขียน รวบรวมความคิดท่ีได้จากการอ่าน แล้วนำไปประสานกับประสบการณ์เดิมของตนเป็นความคิดใหม่
เพ่อื นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์แกต่ นเองและสงั คม
สรุปว่า การอ่านเป็นกระบวนการทางความคิดในการรับสาร เป็นพฤติกรรมทางการใช้ภาษาที่มีลักษณะ
เฉพาะตัว เป็นการแปลความหมาย ของตัวอักษร สัญลักษณ์ ภาพท่ีได้ดูออกมาเป็นถ้อยคำและความคิด ทำความ
เข้าใจสิง่ ท่อี า่ นแล้วนำไปใช้ประโยชน์เพอื่ พฒั นาตนเอง ทงั้ ด้านสตปิ ญั ญา สงั คมและอารมณ์
แบบฝึกทกั ษะ
จากการท่ีได้มีผู้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาไว้อย่างมากมาย และหลากหลาย
รูปแบบ มีนวัตกรรมทางการศึกษาประเภทหน่ึงที่ได้รับความนิยมใช้ในการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นกั เรยี น ก็คือ แบบฝกึ ทกั ษะ ซึ่งได้มนี กั การศึกษาหลายท่าน ได้ให้ ความหมายของแบบฝึกทกั ษะ ไว้ดังน้ี
ราชบัณฑิตยสถาน (2546, หน้า 12) กล่าวว่า “ แบบฝึกหัดหรือชุดการสอนท่ีเป็นแบบฝึกท่ี ใช้เป็น
ตัวอย่างปญั หา หรอื คําส่งั ทต่ี ง้ั ขึ้นเพือ่ ใหน้ กั เรยี นฝกึ ตอบ”
9
ศศิธร ธัญลักษณานันท์ (2542, หน้า 375) ได้ให้ความหมายแบบฝึกทักษะไว้ว่า หมายถึง แบบฝึกทักษะที่
ใช้ฝึกความเข้าใจ ฝึกทักษะต่าง ๆ และทดสอบความสามารถของนักเรียนตาม บทเรียน ท่ีครูสอนว่า นักเรียนเข้าใจ
และสามารถนําไปใชไ้ ด้มากน้อยเพียงใด
เตือนใจ ตรีเนตร (2544, หน้า 5) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า เป็นสื่อประกอบการ จัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติด้วยตนเองได้ฝึกทักษะ เพ่ิมเติมจากเน้ือหาจนปฏิบัติ
ไดอ้ ย่างชํานาญและให้ผเู้ รยี นสามารถนาํ ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ได้ โดยมคี รูเปน็ ผู้แนะนํา
ปฐมพร บุญลี (2545, หน้า 43) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง ส่ิงท่ีผู้สอน
มอบหมายให้ผู้เรียนกระทําเพื่อฝึกฝนเน้ือหาต่างๆท่ีได้เรียนไปแล้วให้เกิดความ ชํานาญมากข้ึน และ ให้ผู้เรียน
สามารถนาํ ไปใช้ในชวี ติ ประจําวนั ได้
พรพรหม อัตตวัฒนากุล (2547, หน้า 18) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า แบบฝึก คือ ส่ิงท่ีผู้สอนมอบ
ให้ผเู้ รยี นกระทาํ เพื่อฝกึ ฝนเนอ้ื หาตา่ งๆ เพอื่ ใหเ้ กิดความชาํ นาญและสามารถ นําไปแก้ปญั หาได้
สรุปได้ว่า แบบฝึก หมายถึง ส่ือการเรียนการสอนที่สร้างขึ้นเพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ ด้วยตนเองจนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจเพ่ิมข้ึน โดยที่กิจกรรมท่ีได้ปฏิบัติในแบบฝึกนั้นจะครอบคลุมเนื้อหาท่ีได้เรียนไปแล้ว จะทําให้
นกั เรยี นมีความรู้และมที กั ษะมากขึน้ เพราะมีรปู แบบหรอื ลกั ษณะ ทีห่ ลากหลาย
หลักการสรา้ งแบบฝกึ
ในการจัดทําแบบฝึกนั้น ครูต้องคํานึงถึงความแตกต่างของเด็กส่วนใหญ่แล้วจัดทําแบบฝึก ไว้ให้มากพอทั้ง
เด็กเก่งและเด็กอ่อน จะเลือกทําได้ตามความสามารถ แบบฝึกน้ันควรชัดเจน มี ความหมายต่อการนําไปใช้ใน
ชวี ิตประจาํ วัน การใช้หลักจติ วิทยาของเด็กและการเนน้ ถึงความ แตกต่างระหว่างบคุ คลในการสร้างแบบฝกึ
สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2537, หน้า 145-146) ได้กล่าวถึง ขั้นตอนการสร้าง
แบบฝึกทกั ษะการเขียนสะกดคํา ดังน้ี
1. ศึกษาปญั หาและความตอ้ งการ โดยศกึ ษาจากการผ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู้และผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี น หากเป็นไปไดค้ วรศกึ ษาความต่อเน่อื งของปญั หาในทกุ ระดับช้ัน
2. วเิ คราะหเ์ นือ้ หาหรือทกั ษะทเ่ี ปน็ ปัญหาออกเป็นเน้ือหาหรือทักษะยอ่ ยๆ เพ่อื ใช้ในการสร้าง
แบบทดสอบ
3. พิจารณาวตั ถุประสงค์ รปู แบบ และขน้ั ตอนการใชฝ้ กึ เชน่ จะนําแบบฝกึ ไปใช้อยา่ งไร ในแต่
ละชดุ จะประกอบด้วยอะไรบา้ ง
4. สร้างแบบทดสอบซ่งึ อาจมีแบบทดสอบเชิงสาํ รวจ แบบทดสอบเพอ่ื วนิ ิจฉัยข้อบกพรอ่ ง
แบบทดสอบความกา้ วหน้าเฉพาะเรอื่ ง เฉพาะตอน แบบทดสอบท่ีสร้างจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั เนือ้ หา
5. สร้างแบบฝกึ เพื่อใชพ้ ัฒนาทักษะย่อยแตล่ ะทักษะในแต่ละบตั รจะมีคําถามให้นกั เรียนตอบ
กาํ หนดรูปแบบ ขนาดของบัตรพจิ ารณาตามความเหมาะสม
10
6. สร้างบัตรอ้างอิง เพื่อใช้อธิบายคําตอบหรือแนวทางการตอบแต่ละเรื่อง การสร้างบัตรอ้างอิงนี้
อาจทําเพ่ิมเติมเมอ่ื ได้นําบตั รฝกึ หัดไปทดลองใช้แลว้
7. สร้างแบบบนั ทึกความกา้ วหน้าเป็นระยะๆ สอดคล้องกับแบบทดสอบความก้าวหนา้
8. นําแบบฝึกไปทดลองใช้ เพ่ือหาขอ้ บกพรอ่ งคณุ ภาพของแบบฝึกและคุณภาพของแบบทดสอบ
9. ปรับปรงุ แก้ไข
10. รวบรวมเป็นชุด
อารีย์ บัวคุ้มภัย (2540, หนา้ 21-22) ได้กลา่ วถึงการสร้างแบบฝึก ควรมีหลักในการสรา้ งดังนี้
1. ยึดหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ และพัฒนาการของนักเรียนในแต่ละวัย รวมถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
กับแรงจงู ใจท่จี ะช่วยใหน้ กั เรยี นสนใจแบบฝกึ หัด
2. ตอ้ งตั้งจุดประสงคท์ แ่ี น่นอนว่าจะฝกึ ทกั ษะด้านใด เพื่อจัดเนื้อหาใหต้ รงกบั จดุ ประสงค์
3. ต้องมีความยากง่ายเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของนักเรียนและเรียงลําดับจากง่ายไปหายาก
4. ต้องมคี าํ ช้แี จงทเ่ี ขา้ ใจง่าย และควรมตี วั อยา่ งเพ่อื ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจมากขน้ึ จนสามารถทาํ ได้
ด้วยตนเอง
5. ต้องมีรปู แบบทห่ี ลากหลายเพือ่ ใหเ้ กดิ การเรยี นรูท้ ก่ี ว้างขวาง ส่งเสริมความคดิ สร้างสรรค์และ
ไมท่ าํ ใหเ้ กดิ การเบอ่ื หนา่ ย
6. ตอ้ งมีความถกู ตอ้ งด้านเนือ้ หา ซงึ่ ทําไดโ้ ดยการตรวจสอบหรือทดลองใชก้ อ่ นนาํ ไปใช้จรงิ
7. ต้องใหน้ กั เรียนทราบความก้าวหนา้ ในการทําแบบฝกึ หดั ของตนเพอื่ เป็นการจูงใจใหเ้ กดิ การ
เรียนรูใ้ นโอกาสตอ่ ไป
พรพรหม อัตตวัฒนากุล (2547, หน้า 21) กล่าวถึงการสร้างแบบฝึก ว่า หลักในการสร้าง แบบฝึกควร
คํานึงตัวนักเรียนเป็นหลัก โดยมีจุดมุ่งหมายท่ีแน่นอนว่าจะฝึกเร่ืองอะไร จัดเน้ือหาได้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
เนื้อหาไม่ยากจนเกนิ ไปและมรี ปู แบบหลายแบบที่นา่ สนใจ
สรุปได้ว่า หลักในการสร้างแบบฝึก ควรคํานึงถึงหลักจิตวิทยาในการเรียนรู้ โดยต้องมี จุดมุ่งหมายในการ
ฝึก แบบฝึกควรเริ่มจากง่ายไปหายาก มีหลายแบบ มีตัวอย่างประกอบ มีภาพประกอบ และสามารถศึกษาได้ด้วย
ตนเอง
11
ประโยชนข์ องแบบฝึกทกั ษะ
ได้มนี กั วิชาการหลายทา่ นไดก้ ล่าวถึงประโยชนข์ องแบบฝกึ ไว้ดังน้ี
เนาวรัตน์ ชื่นมณี (2540, หน้า 33) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ สรุปได้ว่า แบบ ฝึกจําเป็นต่อ
การเรียนทักษะทางภาษา เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้ดีขึ้น สามารถจดจํา เนื้อหาในบทเรียนและ
คําศัพท์ต่างๆ ได้คงทน ทําให้เกิดความสนุกสนาน ในขณะเรียนทราบ ความก้าวหน้าของตนเองสามารถนําแบบฝึก
มาทบทวนเนื้อหาเดิมด้วยตนเองได้และนําไปปรับปรุง แก้ไขได้ทันท่วงที ซ่ึงจะมีผล ทําให้ครูประหยัดเวลา
ค่าใช้จ่ายและลดภาระได้มาก นอกจากน้ีแล้ว ยังทําให้นักเรียนสามารถนําภาษาไปใช้ส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดว้ ย
เตือนใจ ตรีเนตร (2544, หน้า 7)ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกไว้ว่า แบบฝึกจะช่วยให้ นักเรียนมี
พัฒนาการท่ดี มี ีความชํานาญและเกิดการเรยี นได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
สุนันทา สุนทรประเสรฐิ (2544 , หน้า 62 - 63) ไดก้ ล่าวถงึ ประโยชน์ของแบบฝึกทกั ษะ สรุปไดด้ งั น้ี
1. ทําให้นักเรียนได้ฝึกทักษะจากแบบฝกึ หัดท่คี รูสร้างขึ้นมา ซึ่งตรงกับเนอื้ หาที่ครู ทาํ การสอน
2. นักเรียนสามารถนําความรู้ท่ีได้รับจากการเรียนการสอนมาทดสอบการเรียนรู้ ของตนเองว่า
เกดิ จากการเรียนรู้
3. ใช้สําหรับประเมินผลการสอบเป็นรายบุคคล หลังจากได้ร่วมกิจกรรมการเรียน การสอนแล้ว
โดยผลงานจากแบบฝึกหดั ทท่ี าํ มาสง่ ครทู าํ ใหท้ ราบวา่ นกั เรยี นเข้าใจมากนอ้ ยเพียงใด
4. ใชแ้ บบฝึกหัดสําหรบั ทบทวนบทเรียนทเ่ี รียนมาแล้ว
จากประโยชน์ของแบบฝึกท่ีกล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า แบบฝึกช่วยในการฝึกหรือเสริม ทักษะทาง
ภาษา ทําให้จดจําเน้ือหาได้คงทนมีเจตคติท่ีดีต่อทักษะภาษาไทย ทําให้ผู้เรียนรู้คําศัพท์ ความหมายของศัพท์ได้
กว้างขวางมากข้ึน สามารถนํามาใช้แก้ปัญหาการอ่านการเขียนเป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่มได้ดี สามารถนําแบบ
ฝึกมาทบทวนเน้ือหาเดิมด้วยตนเองได้ ทําให้ผู้เรียน ทราบความก้าวหน้าของตนเองเป็นเครื่องมือที่ครูผู้สอนใช้
ประเมินผลการเรยี นรไู้ ด้เปน็ อย่างดวี ่า นกั เรียนเขา้ ใจมากนอ้ ยเพยี งใด
งานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง
อรพรรณ ภูกันหา (2564) ทำการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เร่ือง
คำควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะกับการเรียนแบบปกติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดลานบุญ ผล
วิจัยพบว่า 1)ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักทะวิชาภาษาไทย เร่ืองคำควบกล้ำ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2
โรงเรียนวัดลานบุญ มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 77.83/ 82.33 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 ที่กำหนด
ไว้ 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองคำควบกล้ำ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดลานบุญ มี
ผลสัมฤทธ์ิหลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรียน อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05
ทิพลัดดา นิลผาย (2560) ทำการวิจัยเร่ือง การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านและการเขียนคำควบ
กล้ำภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC ผลวิจัยพบว่า 1)
12
ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC มีประสิทธิภาพ (E1/E2) 86.51/83.83 2) ดัชนี
ประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC ค่าเท่ากับ 0.6881 หรือร้อยละ 68.81 3)
นักเรียนที่เรียนด้วยการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้
กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC มีคะแนนทักษะการอ่านและเขียนคำควบกล้ำหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้านการอ่านและ
การเขียนคำควบกลำ้ ภาษาไทย
โสภัทรา คงทวี (2556) ทำการวิจัยเร่ือง ผลการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบ
กล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาไทย สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ผลวิจัยพบว่า ค่าเฉล่ียโดยใช้ สถิติ
ทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระ การ
เรียนรู้ภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่สร้างข้ึนมีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.9 4/92.22 ซึ่งสูง กว่า
เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ตั้งไว้ 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออก เสียง
คำท่ีมีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีทักษะการอ่านออกเสียงคำท่ีมีพยัญชนะ ควบกล้ำ
ร ล ว หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียน
โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 4) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 มี
ความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำท่ีมีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย อยู่ในระดบั ดมี าก
13
บทท่ี 3
วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย
การวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะ ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยตาม
กรอบของหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ดังน้ี
ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย
ดำเนินการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experiment Research) ร่วมกับวิจัยเชิง
ปฏิบัติการ (Action Research) วิเคราะห์ข้อมูลจากข้อมูลเชิงปริมาณ (Qualitative Data) ร่วมกับข้อมูลเชิงคุณภาพ
(Quantitative Data)
แหล่งขอ้ มูลการวิจยั
1. ประชากร
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163
อำเภออุตรดติ ถ์ จังหวดั อุตรดติ ถ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 45 คน
2. กลุม่ ตวั อยา่ ง
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163
อำเภออุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 20 คน แบ่งเป็นห้องละ 10 คน โดย
วธิ ีการคดั เลือกกลุม่ ตวั อย่างใชว้ ิธกี ารสมุ่ แบบอาศัยความน่าจะเปน็ อย่างงา่ ย(Simple Random Sampling)
กล่มุ เป้าหมาย
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163 อำเภอ
อุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ห้อง ป.2/1 จำนวน 21 คน คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
แบบเจาะจง
เคร่ืองมือการวจิ ยั
1. นวัตกรรม
1.1 เครื่องมือท่ีเป็นนวัตกรรม นวัตกรรมท่ีสร้างหรือพัฒนาต่อยอดจากนวัตกรรมเดิมเพื่อทดลองใช้จัด
กิจกรรมการเรียนรู้สำหรับการพัฒนาทักษะด้านการอ่านสะกดคำควบกล้ำ สำหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปี
ที่ 2 คอื แบบฝึกทกั ษะ
1.2 วิธีการสร้างและหาประสิทธิภาพ ดำเนินการสร้างและหาประสิทธิภาพท้ังเชิงเหตุผล(Rational
Approach) และเชงิ ประจักษ์ (Empirical Approach) ตามแนวคดิ ของ เผชญิ กิจระการ (2544) ดังนี้
14
การสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพเชงิ เหตุผล ให้ดำเนินการตามลำดบั ขัน้
1. ทำการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องเพ่ือศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการที่
เก่ียวข้องกับการสร้างแบบฝึกทักษะ ซ่ึงการวิจัยนี้จะสร้างหรือพัฒนาโดยอ้างอิงตามแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการ
ของ ธนัญญา วิลยั วนั (2547)
2. สร้างฉบับร่างแบบฝึกทักษะ อ้างอิงจากผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องดังกล่าว
ขอ้ 1 ก่อนหนา้
3. สร้าง แบบประเมินความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะ เพื่อให้ผู้เชียวชาญประเมินประสิทธิภาพ
เชิงเหตผุ ลแบบประเมนิ ความเหมาะสมทสี่ รา้ งแสดงแลว้ ในภาคผนวกที่ ก
4. สร้างแบบประเมินค่าดรรชนีความสอดคล้อง (Index of Item –Objective
Congruence: IOC) ของแบบประเมนิ ความเหมาะสมเพ่อื ให้ผเู้ ชยี วชาญทำการประเมนิ คา่ ความเท่ียงตรง
เชงิ เน้ือหา (Content Validity) ของแต่ละขอ้ คำถาม(Item) ของแตล่ ะประเด็น แบบประเมินค่า IOC
กล่าวแล้วในภาคผนวกที่ ก
5. นำแบบประเมินค่า IOC ของแบบประเมินความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะ ให้ผู้เชี่ยวชาญ
ด้านภาษา ด้านเทคโนโลยีการศึกษา และด้านการวิจัยหรือการวัดประเมินผลด้านละ 1 คน ทำการประเมินความ
เท่ียงตรงเชิงเน้ือหาของแต่ละข้อคำถามของแต่ละประเด็น แต่ละข้อคำถามที่ประเมินต้องมีค่าเฉล่ียอย่างน้อย 0.5
หรอื ผูเ้ ช่ยี วชาญจำนวน 2 ใน 3 คน เหน็ วา่ มีความตรง จงึ จะตดั สินว่า ข้อคำถามนัน้ มคี วามเทย่ี งตรง
ผลการประเมนิ พบว่า แต่ละขอ้ คำถามของแบบประเมนิ ความเหมาะสมของนวัตกรรม
ผู้เช่ียวชาญจำนวน 2 ใน 3 คนเห็นว่ามีความตรง จึงลงข้อสรุปว่า แบบสอบถามเพ่ือวัดความเหมาะสมของ
นวัตกรรมมีความเที่ยงตรง ผลการประเมินความเท่ียงตรงของแต่ละข้อคำถามของแบบสอบถามวัดความเหมาะสม
ของนวตั กรรมแสดงแลว้ ดังภาคผนวกท่ี ก
6. นำแบบฝึกทักษะที่สร้างฉบับร่างแล้วไปให้ผู้เช่ียวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา ด้านภาษา และ
ด้านการวิจัยหรือการวัดประเมินผลด้านละ 1 คน รวมท้ังส้ินจำนวน 3 คน ทำการประเมินความเหมาะสมด้วยแบบ
ประเมิน แต่ละข้อคำถามของแต่ละประเด็นที่ประเมินต้องมีค่าเฉล่ียอย่างน้อย 3.50 จึงจะตัดสินว่า ข้อคำถามที่
ประเมิน มีความเหมาะสม
7. นำแบบฝึกทักษะ ท่ีผ่านการประเมินดังกล่าวข้อ 6 มาแก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของ
ผ้เู ชยี่ วชาญ
8. จัดทำรูปเล่มแบบฝึกทักษะทีผ่ า่ นการสรา้ งและหาคุณภาพเชิงเหตผุ ลแลว้
การสร้างและหาประสิทธิภาพเชงิ ประจักษ์ ดำเนนิ การต่อจากผลการหาประสิทธภิ าพเชิงเหตผุ ล
1. นำแบบฝึกทักษะท่ีจัดทำเป็นรูปเล่มแล้วมาทดลองใช้เพ่ือหาประสิทธิภาพเชิงประจักษ์กับ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่ 163 อำเภอตรอน
จังหวดั อตุ รดติ ถซ์ ึ่งเปน็ คนละกล่มุ กับกลมุ่ เปา้ หมายการวจิ ัย
การหาประสทิ ธภิ าพจะใช้วธิ ีการเทยี บกับเกณฑ์ประสทิ ธิภาพ E1/E2 = 70/70 เม่ือ
15
E1 หมายถึง ร้อยละของผลคะแนนรวมทั้งหมดจากการทำกิจกรรม และการทดสอบย่อยระหว่าง
การทดลองใช้แบบฝึกทักษะ ซงึ่ เกณฑ์ประเมินผ่านคอื ร้อยละ 70
E2 หมายถึง ร้อยละของคะแนนรวมท้ังหมดจากการทำแบบทดสอบภายหลังส้ินสุดการทดลองใช้
แบบฝกึ ทกั ษะ ซงึ่ เกณฑ์ประเมนิ ผ่านคอื รอ้ ยละ 70
การตัดสินประสิทธิภาพจากการทดลองใช้แบบฝึกทักษะ เม่ือเทียบกับเกณฑ์ประสิทธิภาพท่ี
กำหนดข้ึนว่า ถ้าค่าร้อยละของคะแนนท่ีคำนวณของ E1= 70 ±2.55 แสดงว่า ประสิทธิภาพของ E1 เป็นไปตามเกณฑ์
ร้อยละ 70 แต่ถ้ามากกว่า หรือน้อยกว่า 70 ±2.5 แสดงว่า ประสิทธิภาพของ E1 สูงกว่า หรือ น้อยกว่าเกณฑ์ที่ต้ัง
ต้องปรับนวัตกรรมให้เท่ากับเกณฑ์ที่ตั้งคือ 70 ส่วนการตัดสินประสิทธิภาพของ E2 ทำเช่นเดียวกับ E1 และถ้าร้อยละ
ของคะแนนระหว่าง E1และ E2 ต่างกันมากกว่าร้อยละ 5 แสดงว่าประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ มีประสิทธิภาพไม่
เปน็ ไปตามเกณฑ์ ตอ้ งทำการปรับปรุงใหม่
2. จัดทำรูปเล่มแบบฝึกทักษะ พร้อมสำหรับการนำไปทดลองใช้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
ปที ี่ 3 ซึ่งเป็นกลุม่ ทเี่ ป้าหมายการวจิ ัย
ข้อตกลง เน่ืองด้วยปัจจัยท่ีจำกัดบางประการคือ โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี
163 เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งสำหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 แล้วเปิดการเรียนการสอนเพียงชั้น
เรียนเดียวและมีนักเรียนจำนวนท้ังสิ้น 23 คน ดังน้ัน ด้วยปัจจัยจำกัดดังกล่าวจึงสร้างข้อตกลงว่า การทำวิจัยครั้งน้ี
ผู้วิจัยขอละเวน้ การหาประสิทธภิ าพเชงิ ประจกั ษข์ องแบบฝึกทักษะ
2. เคร่ืองมือรวบรวมขอ้ มูล
2.1 ชนิดของเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบประเมินความพึงพอใจ แบบ
ประเมินความเหมาะสมของนวตั กรรม
2.2 วิธีการสร้างและหาประสิทธิภาพ ดำเนินการสร้างและหาประสิทธิภาพท้ังเชิงเหตุผลและเชิง
ประจกั ษด์ งั น้ี
การสรา้ งและหาประสทิ ธภิ าพเชงิ เหตุผล ดำเนนิ การตามลำดับข้นั
1. ทำการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องเพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการที่
เกีย่ วข้องกบั การสรา้ งแบบประเมนิ ความพึงพอใจ แบบประเมินความเหมาะสมของนวตั กรรม
เครือ่ งมอื รวบรวมข้อมลู แตล่ ะชนิดจะสร้างตามแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วธิ ีการตา่ ง ๆ ดังน้ี
1.1 แบบประเมินความพึงพอใจ สร้างตามแนวคิด ทฤษฎีของ หลักการ วิธีการทางการของ
สุพัตรา ทองเฟ่อื ง (2557)
1.2 แบบประเมินความเหมาะสมของนวัตกรรม สร้างตามแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการของ
ภเู บศ เลื่อมใส (2554)
16
2. สร้างฉบับร่างแบบประเมินความพึงพอใจ แบบประเมินความเหมาะสมของนวัตกรรม โดย
อา้ งอิงผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้องดงั กลา่ วข้อยอ่ ยข้อ 1 กอ่ นหน้า
3. สร้างแบบประเมินค่า IOC เพ่ือให้ผู้เชียวชาญทำการประเมินความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา แต่ละข้อ
คำถามของแต่ละประเด็นของเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิด แบบประเมินค่า IOC ของเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูล
แตล่ ะชนดิ กล่าวแลว้ ในภาคผนวกที่ ก
4. นำแบบประเมินค่า IOC ของเครื่องมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิดที่สร้างฉบับร่างไปให้
ผู้เช่ียวชาญด้านภาษา ด้านเทคโนโลยีการศึกษา และด้านการวิจัยหรือการวัดประเมินผลด้านละ 1 คน ทำการประเมิน
ความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาของแต่ละข้อคำถามของแต่ละประเด็นด้วยแบบประเมิน IOC แต่ละข้อคำถามของแต่ละ
ประเด็นท่ีประเมินต้องมีค่าเฉล่ียอย่างน้อย 0.5 หรือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 2 ใน 3 คน เห็นว่ามีความตรง จึงจะตัดสิน
ว่า ข้อคำถามนน้ั มีความเทยี่ งตรง ผลการประเมินพบวา่
4.1 แต่ละข้อคำถามของแบบทดสอบมีค่าดรรชนีความสอดคล้องผู้เช่ียวชาญจำนวน 2 ใน 3
คนเห็นว่ามีความตรง จึงลงข้อสรุปว่า แต่ละข้อของแบบทดสอบสอบมีความเที่ยงตรง ผลการประเมินความเที่ยงตรง
ของแต่ละขอ้ คำถามของแบบทดสอบแสดงแลว้ ดงั ภาคผนวกท่ี ก
4.2 แต่ละข้อคำถามของแบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจมีค่าดรรชนีความสอดคล้อง
ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 2 ใน 3 คนจึงลงข้อสรุปว่า แบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจมีความเที่ยงตรง ผลการ
ประเมนิ ความเที่ยงตรงของแต่ละขอ้ คำถามของแบบถามวดั ระดับความพึงพอใจแสดงแล้วดงั ภาคผนวกท่ี ก
5. นำเครื่องมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิดท่ีผ่านการประเมินดังกล่าวข้อ 4 มาแก้ไขปรับปรุงตาม
คำแนะนำของผ้เู ช่ียวชาญ
6. จดั ทำรปู เลม่ เครือ่ งมือรวบรวมขอ้ มลู แต่ละชนดิ ท่ีทำการแก้ไขแล้วตามคำแนะนำของผู้เชีย่ วชาญ
การสรา้ งและหาประสิทธิภาพเชงิ ประจักษ์ ดำเนนิ การตอ่ จากผลการหาประสิทธภิ าพเชิงเหตผุ ล
1. นำเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิดที่จัดทำเป็นรูปเล่มแล้วมาหาค่าความเช่ือม่ัน
(Reliability) โดยทดลองใช้กับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่ง
สงเคราะห์ท่ี 163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งเป็นคนละกลุ่มกับกลุ่มที่เป็นเป้าหมายการวิจัย การหาค่าความ
เช่ือมั่นใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) โดยมีเกณฑ์ประเมิน
ผา่ นทงั้ ฉบับที่ 0.7 ถา้ น้อยกวา่ ตอ้ งทำการปรับปรุงเครอ่ื งมือใหม่
2. ปรับปรุงเครอ่ื งมอื รวบรวมข้อมลู แตล่ ะชนดิ หากพบว่า คา่ สมั ประสทิ ธิแ์ อลฟาต่ำกว่า 0.7
3. ยกเว้นแบบทดสอบ จัดทำรูปเล่มเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิด พร้อมสำหรับการนำไป
ทดลองใช้กับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163
อำเภอตรอน จงั หวัดอุตรดติ ถ์ ซึ่งเปน็ กลมุ่ เปา้ หมายการวจิ ัย
สำหรับแบบทดสอบนั้น เม่ือทำการประเมินความเที่ยงตรงและความเชื่อม่ันแล้ว ก่อนนำไป
ทดลองใช้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ซึ่งเป็นกลุ่มที่เป้าหมายการวิจัย ต้องดำเนินการต่อจากข้อ 3
เพ่อื หาค่าความยากง่าย และค่าอำนาจ การจำแนกตอ่ ดงั น้ี
4. นำแบทดสอบแต่ละข้อมาวิเคราะห์ความยากง่ายด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ข้อคำถาม
ที่ดีของแบบทดสอบประเภท 4 ตัวเลือกจะมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.20 – 0.80 (สุมาลี จันทร์ชะลอ. 2542) ถ้า
17
เป็นประเภทแบบถูก-ผิด จะมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.60–0.95 (Nunnally.1967; อ้างถึงใน เยาวดี รางชัยกุล
วบิ ลู ยศ์ รี. 2552)
5. นำแบบทดสอบแตล่ ะขอ้ มาวเิ คราะหค์ า่ อำนาจการจำแนกโดยใช้ใช้โปรแกรมสำเร็จรปู
6. จดั ทำรปู เล่มของแบบทดสอบ พร้อมสำหรับการนำไปทดลองใช้กบั นักเรียนระดบั
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่ 163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์
ซ่ึงเปน็ กลมุ่ เปา้ หมายการวจิ ยั
ข้อตกลง เน่ืองด้วยปัจจัยจำกัดบางประการเช่นเดียวกับดังกล่าวแล้วในหัวข้อ “วิธีการสร้างและ
หาคุณภาพของนวัตกรรม” จึงสร้างข้อตกลงว่า การวิจัยคร้ังนี้จะละเว้นการหาประสิทธิภาพ เชิงประจักษ์ซึ่ง
ประกอบด้วย การหาค่าความเชื่อมั่นของเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลทุกชนิด การหาค่าความยากง่าย และค่าอำนาจ
การจำแนกซง่ึ เฉพาะสำหรบั แบบทดสอบ
การดำเนนิ การรวบรวมข้อมลู
1. ทำหนังสือถึงคณบดีคณะบดีคณะครุศาสตร์เพื่อร้องขอให้คณะครุศาสตร์ออกหนังสือราชการถึง
ผู้อำนวยการโรงเรียนโรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์
เพื่อขออนุญาตท่ีจะทดลองใช้แบบฝึกทักษะ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้เรื่องการอ่าน
สะกดคำควบกลำ้ ของนักเรียนระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 2
2. โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอาศัยความน่าจะเป็นอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ทำการสุ่ม
ตัวอย่างจากนักเรียนชั้นระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จากทุกห้องเรียน แต่ละห้องเรียนให้มีสัดส่วนจำนวนนักเรียน
ตามระเบียบวิธวี จิ ัย
3. โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างดังกล่าวข้อ 2 อีกคร้ัง แบ่งนักเรียนกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 กลุ่มเพื่อท่ีจะ จัดกิจกรรม
การเรียนรู้ผลการเรียนรู้เรื่องการอ่านสะกดคำควบกล้ำซ่ึงแต่ละนักเรียนกลุ่มตัวอย่างจะถูกทดลองโดยใช้นวัตกรรม
ทแ่ี ตกตา่ งกนั
4. ประชุม ช้ีแจง และสร้างข้อตกลงกับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 แต่ละกลุ่มตัวอย่างเก่ียวการ
ทดลองใช้แบบฝึกทักษะ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่องการอ่านสะกดคำ
ควบกล้ำ
5.จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลการเรียนรู้เร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำ กับนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 2 ซ่งึ เป็นกลมุ่ ตวั อย่างที่ 1 โดยทดลองใช้แบบฝึกทักษะ
6. ทำการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างท่ี 1
ภายหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลการเรียนรู้เร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำ โดยทดลองใช้แบบฝึก
ทักษะ
18
7. ให้นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ซ่ึงเป็นกลุ่มตัวอย่างท่ี 1 ตอบแบบสอบถามวัดระดับความพึง
พอใจจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้เร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำโดยทดลองใช้
แบบฝกึ ทกั ษะ
8. จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้เรื่องการอ่านสะกดคำควบกล้ำกับนักเรียนระดับชั้น
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 ซึ่งเปน็ กล่มุ ตวั อย่างท่ี 2 โดยทดลองใช้แบบฝึกทักษะ
9. ทำการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างที่ 2
โดยทดลองใช้ภายหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้เร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำ
โดยทดลองใชแ้ บบฝึกทกั ษะ
10. ให้นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ซ่ึงเป็นกลุ่มตัวอย่างที่ 2 ตอบแบบสอบถามวัดระดับความพึง
พอใจจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้เร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำโดยทดลองใช้
แบบฝึกทักษะ
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. การวิเคราะห์ข้อมูลเพอ่ื หาคณุ ภาพและประสิทธิภาพของเคร่อื งมือการวิจัย
1.1 ความเหมาะสมของนวัตกรรมท่ีสร้างหรือพัฒนาต่อยอด วิเคราะห์ด้วยค่าเฉล่ีย และ ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน วธิ ีการวเิ คราะหใ์ ชโ้ ปรแกรม SPSS
1.2 ประสิทธิภาพเชิงประจักษ์ของนวัตกรรมท่ีสร้างหรือพัฒนาต่อยอด วิเคราะห์ด้วยเกณฑ์
ประสทิ ธภิ าพ E1/E2 วธิ กี ารวเิ คราะห์ใชโ้ ปรแกรม SPSS
1.3 ความเท่ยี งตรงเชงิ เน้อื หาของเครอื่ งมอื รวบรวมข้อมูลแตล่ ะชนดิ วิเคราะหด์ ้วยค่าดรรชนี
ความสอดคล้องหรอื IOC วิธกี ารวเิ คราะห์ใชโ้ ปรแกรม SPSS
1.4 ความเช่ือม่ันของเครื่องมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิด วิเคราะห์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอ
นบาค วิธกี ารวิเคราะห์ใช้โปรแกรม SPSS
1.5 ความยากงา่ ยของแบบทดสอบแต่ละขอ้ วิธกี ารวเิ คราะห์ใชโ้ ปรแกรม SPSS
1.6 คา่ อำนาจการจำแนกของแบบทดสอบแตล่ ะขอ้ วิธีการวเิ คราะห์ใชโ้ ปรแกรม SPSS
2. การวิเคราะหข์ ้อมูลการวิจัย
2.1 ผลการเรยี นรู้ของนักเรยี น วิเคราะห์ดว้ ยคา่ คะแนนเฉลี่ย และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน
2.2 ระดับผลการเรียนรู้ของนักเรียน วิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบร้อยละของค่าคะแนนเฉล่ียกับ
ระดับผลการเรยี นรตู้ ามเกณฑข์ อง สพฐ.
2.3 ผลการทดลองใช้แบบฝึกทักษะ วิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติ t- Test ท่ีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่
α 0.05 หรอื ที่ระดบั ความเชือ่ มน่ั 95% วธิ กี ารวเิ คราะห์ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรส์ ำเร็จรูป
2.4 ระดับความพึงพอใจ วิเคราะห์ด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน วิธีการวิเคราะห์ใช้
โปรแกรม SPSS
2.5 เกณฑ์ประเมินระดับความพึงพอใจของนักเรียน วิเคราะห์ด้วยช่วงระดับค่าเฉล่ียตาม
เกณฑ์ของสำนกั งานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
19
การนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
นำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูลด้วยตาราง พรอ้ มท้ังบรรยายเปน็ ความเรียงประกอบ
20
บทท่ี 4
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
การวิจัยเร่ือง การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำโดยใช้แบบฝึกทักษะ ผู้วิจัยเสนอผลการวิเคราะห์
ขอ้ มลู ตามประเดน็ ของวัตถปุ ระสงค์การวิจัย ดงั น้ี
1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำเรื่องทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรียนบ้านนำ้ อ่างสำนักงานสลากกนิ แบ่งสงเคราะหท์ ่ี 163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดติ ถ์
2. เพ่ือเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านสะกดคำเรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำควบ
กล้ำระหวา่ งก่อนและหลงั การใช้แบบฝกึ ทกั ษะ
3. เพ่ือวัดระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงาน
สลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่ 163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ ท่ีมีต่อการทดลองใช้แบบฝึกทักษะจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้เรื่องทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ
ผลการพฒั นาแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ
นวตั กรรมท่ีสร้าง
แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ เป็นเทคนิคหรือวิธีสอนที่ต้องนำเสนอโดยแผนการจัดการเรียนรู้
มีแผนจำนวนท้ังส้ิน 1 แผน แต่ละแผนใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คำควบกล้ำ และใช้เวลา 1 ชั่วโมง
รายละเอยี ดของแบบฝึกทกั ษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้ แสดงแลว้ ดงั ภาคผนวกท่ี ก
2. การหาประสิทธิภาพของนวตั กรรม
2.1 การหาประสิทธิภาพเชิงเหตุผล (Rational Approach) เม่ือประเมินความเหมาะสมของแบบ
ฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ ด้วยแบบประเมินความเหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน ผลการ
ประเมินแสดงดงั ตารางที่ 1
ตารางที่ 1: แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำจากผู้เช่ียวชาญ
จำนวน 3 คน
รายการประเมนิ " .
1.แผนมีองคป์ ระกอบสำคัญครบถว้ นและสมั พนั ธ์กัน 50
2.จุดประสงค์การเรียนรู้ มคี วามชดั เจน ถกู ตอ้ งครอบคลมุ เนือ้ หาสาระ 5 0
3.เนอื้ หา/สาระการเรียนรูส้ อดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ 4.67 0.58
4.กจิ กรรมสอดคล้องกับเนอื้ หาและวัตถปุ ระสงค์ 50
21
ตารางท่ี 1: แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำจากผู้เช่ียวชาญ
จำนวน 3 คน (ต่อ)
รายการประเมิน " .
5 0
5.กิจกรรมหลากหลายเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับความสามารถผ้เู รยี น
5 0
6.กจิ กรรมเนน้ ทกั ษะกระบวนการอา่ น 4.67 0.58
7.กจิ กรรมมคี วามยากง่ายเหมาะสมกับระดับช้ัน
5 0
8.สื่อ/แหล่งเรียนรสู้ อดคล้องกบั กิจกรรมและจุดประสงค์
4.67 0.58
9.สอ่ื หลากหลายสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ วยั และความสามารถผ้เู รียน 5 0
10.วธิ ีการวดั ผลและเครื่องมอื สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์และกจิ กรรม
จากตารางท่ี 1 พบว่า แต่ละรายการท่ีประเมินของแต่ละประเด็นมีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3-5 ซึ่งผ่านเกณฑ์
ประเมินข้นั ต่ำคอื 3.50 ดงั น้นั จงึ สรุปวา่ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้ มคี วามเหมาะสม
2.2 การหาประสิทธิภาพเชิงประจักษ์ (Empirical Approach) วิธีการหาประสิทธิภาพเชิง
ประจักษ์ของแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ จะใช้วิธีการเทียบกับเกณฑ์ ประสิทธิภาพ E1/E2 = 70/70
โดยนำแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ ที่หาประสิทธิภาพเชิงเหตุผลแล้วไปทดลองกับกลุ่มนักเรียนที่เป็นคน
ละกลุ่มกับเป้าหมายการวิจัย แต่ตามข้อตกลงดังระบุในบทท่ี 3 ว่า เนื่องด้วยปัจจัยจำกัดบางประการคือโรงเรียน
บ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี163เป็นโรงเรียนขนาดกลาง ซ่ึงสำหรับนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 2 เปิดการเรียนการสอนเพียงชั้นเรียนเดียวและมีนักเรียนจำนวนท้ังส้ิน 23 คน การทำวิจัยครั้งนี้
ผู้วิจัยขอละเว้นการหาประสิทธิภาพเชิงประจักษ์ของแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ ดังข้อตกลงแล้วใน
บทที่ 3
การพัฒนาผลการเรยี นรู้
1. คะแนนผลการเรียนรู้
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ ด้วยนวัตกรรมที่แตกต่างกัน 2
นวัตกรรมกับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่163
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 23 คน ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง คร้ังแรกโดยการทดลองใช้ การสอนตาม
หนังสือ ส่วนคร้ังท่ีสอง โดยทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ คะแนนผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของ
กลมุ่ ตัวอยา่ งจากวิธีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยนวตั กรรมทแี่ ตกตา่ งกันทง้ั 2 นวัตกรรม แสดงดังตารางที่ 2
22
ตารางที่ 2: แสดงคะแนนผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ จากการจัดกิจกรรมที่แตกต่าง
กัน 2 นวัตกรรมกับกลุ่มตัวอย่างเดียวกัน นวัตกรรมแรกโดยทดลองใช้ การสอนตามหนังสือ และแบบฝึกทักษะการ
อา่ นสะกดคำควบกล้ำ
ที่ คะแนนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คะแนนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จาก
จากการทดลองใชก้ ารสอนตามหนังสอื การทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสะกด
คำควบกล้ำ
1 23 22
2 19 24
3 18 23
4 21 22
5 24 23
6 18 20
7 17 19
8 20 23
9 19 21
10 19 18
11 23 27
12 18 23
13 17 19
14 24 25
15 23 28
16 19 22
17 20 19
18 17 18
19 16 18
20 20 23
21 16 17
22 18 19
23 21 22
รวม รวมคะแนน 450 รวมคะแนน 495
23 " 19.57 2.48 " 21.52 2.92
คน
จากตารางท่ี 2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ กับนักเรียนโรงเรียนบ้านน้ำ
อ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่163 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 23 คน พบว่า โดยทดลองใช้ การสอนตาม
หนังสือ นักเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ยผลการเรียนรู้ 19.57 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.48 และการจัดกิจกรรมการ
23
เรียนรู้โดยทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำ นักเรียนมีระดับค่าเฉล่ียผลการเรียนรู้ 21.52 ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน 2.92
2. การเปรยี บเทยี บผลการเรียนรู้
เม่ือใช้วิธีการทางสถิติ Pair - Sample t-Test วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้เรื่อง การ
อ่านสะกดคำควบกล้ำ ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยครั้งแรกทดลองใช้ การสอนตามหนังสือและครั้งหลัง
ทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ ผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของกลุ่มตัวอย่างจากการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรูด้ ้วย 2 นวัตกรรมท่แี ตกตา่ งกันดังกลา่ วแสดงดังตารางที่ 3
ตารางท่ี 3: แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ ระหว่างการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยทดลองใช้ การสอนตามหนังสือ และโดยทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ
เม่อื α = 0.05 หรอื ทรี่ ะดบั ความเชอ่ื มั่น 95 %
Pair - Sample t Test
ส่ ว น เกณฑ์ระดับผลการเรียนรู้ของ
นวตั กรรม จำนวน คะแนน ค่ า ค ะ แ น น เ บ่ี ย ง เ บ น สพฐ. ทีกำหนดและระดับผล
(คน) เต็ม เฉลย่ี (" ) มาตรฐาน การเรยี นรูท้ เ่ี ทยี บ
( )
การสอน เกณฑ์ สพฐ. ดี (65-79 %)
ต า ม 23 30 19.57 2.483 ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้
หนงั สือ ดี (65.23%)
แ บ บ ฝึ ก เกณฑ์ สพฐ. ดี (65-79 %)
ทั ก ษ ะ 23 30 21.52 2.921 ผลการเรียนรู้ ดี (71.73%)
ก ารอ่ าน
สะกดคำ
Pair –Sample Statistics
Pair Sample Sig. t df Sig.
Correlation (2- Confidence Level (%)
tailed
Pair…A - B .000 - 22
4.775 .000 95
24
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ โดยครั้งแรกทดลองใช้ การสอนตามหนังสือ
และครั้งที่สองโดยทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ พบว่า มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของกลุ่ม
ตัวอยา่ ง ไมแ่ ตกต่างกนั อย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิท่ี α 0.05 หรือที่ระดับความเชือ่ มนั่ 95%
2. เม่ือวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉล่ียพบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบ
กล้ำ โดยทดลองใช้ การสอนตามหนังสือ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 19.57 ส่วนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองเดียวกันโดย
ทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 21.52 ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ทดลองใช้ การสอนตามหนังสือ มีผลต่อผลการเรียนรู้ของกลุ่มตัวอย่าง ต่ำกว่า การทดลองใช้แบบฝึกทักษะการ
อา่ นสะกดคำควบกลำ้ อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติท่ี α 0.05 หรือที่ระดบั ความเชอื่ ม่นั 95%
3. พบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ โดยทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน
สะกดคำควบกล้ำ กลุ่มตัวอย่าง มีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 71.73 ซ่ึงเม่ือเทียบกับเกณฑ์ของ สพฐ. พบว่า มีผลการ
เรียนรู้ที่ระดับ ดี ดังน้ัน จึงสรุปว่า ท่ีระดับมีนัยสำคัญทางสถิติที่ α 0.05 หรือที่ระดับความเชื่อมั่น 95% การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ โดยทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ มีผลต่อ
การพัฒนาผลการเรียนรู้ด้านทักษะเร่ืองดังกล่าวของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่าง
สำนกั งานสลากกนิ แบ่งสงเคราะห์ท1่ี 63 อำเภอตรอน จังหวดั อุตรดิตถ์
ผลการเรยี นรู้
1. คะแนนจากการทดลองใช้แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน
23 คนซงึ่ เปน็ กลุ่มตวั อยา่ งโดยทดลองใช้แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้
เพื่อพัฒนาการอ่านสะกดคำควบกล้ำ คะแนนจากผลการทดลองใช้นวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าว
แสดงดงั ตารางท่ี 2
ตารางท่ี 2: แสดงคะแนนผลจากการทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ จัดกิจกรรมการเรียนรู้
เพื่อพัฒนา การอ่านสะกดคำควบกล้ำ ของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 23 คน
ซึง่ เป็นกลุ่มตวั อย่าง
ท่ี คะแนนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คะแนนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จาก
จากการทดลองใช้การสอนตามหนงั สอื
การทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสะกด
คำควบกล้ำ
1 23 22
2 19 24
3 18 23
4 21 22
5 24 23
6 18 20
7 17 19
8 20 23
25
9 19 21
18
10 19 27
11 23 23
19
12 18 25
28
13 17
22
14 24 19
18
15 23
18
16 19 23
17
17 20
19
18 17 22
รวมคะแนน 495
19 16
" 21.52 2.92
20 20
21 16
22 18
23 21
รวม รวมคะแนน 450
23 " 19.57 2.48
คน
จากตารางท่ี 2 พบว่า ภายหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบ
กล้ำ นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง เพื่อพัฒนาค่าคะแนนเฉล่ียของผลการเรียนรู้เท่ากับ
21.52 คะแนน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 2.92 คา่ คะแนนเฉลยี่ ดงั กลา่ วคิดเปน็ รอ้ ยละ 71.73
2. การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธกิ์ ารเรยี นรู้
เมื่อใช้วิธีการทางสถิติ One Sample t-Test วิเคราะห์เปรียบเทียบระดับผลการพัฒนาด้านทักษะการ
อ่านสะกดคำควบกล้ำของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่ง
สงเคราะห์ท่ี163 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 23 คน ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง ระหว่างการทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการ
อ่านสะกดคำควบกล้ำ กับระดับผลการเรียนรู้อย่างน้อยท่ีระดับ ดี ตามเกณฑ์ สพฐ. (คะแนนร้อยละ 65 – 100)
ผลการเปรยี บเทียบแสดงดงั ตารางท่ี 3
ระดับความพึงพอใจ
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ โดยทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกด
คำควบกล้ำ กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 23 คน เม่ือ
วิเคราะห์ระดบั ความพงึ พอใจ ผลการวิเคราะห์แสดงดงั ตารางท่ี 4
26
ตารางที่ 4: แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 23 คน
ทมี่ ีต่อการทดลองใช้ แบบฝึกทกั ษะการอา่ นสะกดคำ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เร่อื ง การอา่ นสะกดคำควบกลำ้
ประเด็นและรายการท่ีประเมนิ " . ร ะ ดั บ ค ว า ม พึ ง
พอใจ
ด้านลกั ษะณะรูปเล่ม
1. ออกแบบปกสวยงามดึงดดู ความสนใจ 4.70 0.56 มากที่สดุ
2. ขนาดตัวหนังสือเหมาะสมกับผู้อ่าน 4.87 0.34 มากที่สดุ
3. จัดคำเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย 4.74 0.54 มากที่สดุ
รวม 4.77 0.48 มากทส่ี ดุ
ด้านคำชีแ้ จง
1. การใชภ้ าษาทถ่ี ูกต้อง 4.57 0.66 มากทส่ี ดุ
2. คำชแ้ี จงในแบบฝกึ ทักษะมคี วามชดั เจน 4.83 0.39 มากทส่ี ดุ
รวม 4.70 0.53 มากทส่ี ุด
ตารางท่ี 4: (ต่อ) แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
จำนวน 23 คนท่ีมีต่อการทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง การอ่านสะกดคำ
ควบกล้ำ
ประเดน็ และรายการทีป่ ระเมิน " . ร ะ ดั บ ค ว า ม พึ ง
พอใจ
ด้านการจัดภาพ
1. ภาพสอดคล้องกับเน้ือเรื่อง 4.83 0.39 มากท่ีสุด
2. รปู ภาพเร้าความสนใจของผ้เู รียน 4.78 0.52 มากที่สุด
3. การจัดเรียงรปู ภาพมีความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย 4.78 0.42 มากท่สี ุด
4. การใช้สขี องรูปภาพและตวั อกั ษรเหมาะสม 4.78 0.52 มากที่สดุ
รวม 4.79 0.46 มากทส่ี ดุ
ดา้ นเนือ้ หา
1. แบบฝึกทักษะมีความสอดคลอ้ งกับเน้อื หา 4.87 0.34 มากที่สดุ
2. แบบฝึกทักษะมอี งค์ประกอบสำคัญท่คี รบถว้ น 4.87 0.34 มากที่สุด
รวม 4.87 0.34 มากที่สดุ
ดา้ นการวดั และการประเมนิ ผล
1. การวัดและการประเมินผลมีความสอดคล้องกบั เนอ้ื หา 4.91 0.29 มากที่สดุ
2. เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลมีความชัดเจน 4.70 0.64 มากทส่ี ุด
3. ใช้เครอ่ื งมอื การวดั ผลไดอ้ ย่างเหมาะสม 4.74 0.45 มากทส่ี ดุ
รวม 4.78 0.46 มากที่สดุ
รวมทง้ั หมด 4.78 0.46 มากทีส่ ุด
27
จากตารางท่ี 4 พบว่า เม่ือวิเคราะห์โดยภาพรวม นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านน้ำ
อ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี163 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 23 คน มีความพึงพอใช้ต่อ
การทดลองใช้ แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ
ระดับมากท่ีสุด ( " =4.78 . = 0.46) แต่เมื่อวิเคราะห์เป็นรายด้านโดยเรียงลำดับระดับค่าเฉลี่ยจากระดับมากสุด
ไปหาน้อยสุด 3 ลำดับ พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อด้านเนื้อหา ( " = 4.87 =0.34) สูงสุด มีความพึง
พอใจระดับมากท่ีสุด รองลงมาคือด้านการจัดภาพ (" = 4.79 = 0.46) มีความพึงพอใจระดับ
มากทส่ี ุด และลำดับสดุ ท้ายคือดา้ นคำชี้แจง ( " = 4.70 = 0.46) มีความพงึ พอใจระดบั มากท่สี ุด
28
บทท่ี 5
สรปุ อภิปราย และข้อเสนอแนะผลการวิจยั
สรุปผลการวจิ ยั
เป้าหมายของการวิจัยเพื่อต้องการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ ของนักเรียนระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ที่ 163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์
ทั้งน้ีเพราะว่าจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำด้วยแบบฝึกทักษะ พบว่าทักษะด้านการ
อ่านสะกดคำควบกล้ำ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 อยู่ที่ระดับพอใช้ เมื่อเทียบกับเกณฑ์ของ สพฐ. ซ่ึงต่ำกว่า
ระดับ ดี ซ่ึงเป็นเกณฑ์ประเมินผ่าน ด้วยสาเหตุดังกล่าว ผู้วิจัยในฐานะผู้สอนจึงต้องการทำการวิจัยเพ่ือพัฒนาทักษะ
ด้านการอ่านสะกดคำควบกล้ำ
โดยอาศัยแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการของกาญจนา ชลเกริกเกียรติ (2561) ซ่ึงเป็นผลจากการทบบทวน
เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องนักวิจัยจึงสร้างแบบฝึกทักษะ พร้อมท้ังกำหนดสมมติฐานการวิจัยว่า การทดลองใช้
แบบฝึกทักษะ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำ จะมีผลต่อการพัฒนาทักษะด้านการอ่านสะกดคำ
ควบกล้ำ และระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกิน
แบ่งสงเคราะหท์ ่1ี 63 อำเภอตรอน จงั หวดั อุตรดติ ถ์
เมื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการอ่านสะกดคำควบกล้ำกับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ปี
การศึกษา2564 จำนวน 23 คน ทเ่ี ป็นกลุ่มตวั อย่างโดยทดลองใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ ผลการวจิ ัยพบว่า
1. กลุ่มตัวอย่างมีผลการพัฒนาทักษะด้านการอ่านสะกดคำควบกล้ำท่ีระดับดี เม่ือเทียบกับต้ังแต่ระดับ ดี
ตามเกณฑข์ อง สพฐ.
2. เมื่อเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉล่ียของการทำแบบทดสอบก่อน-หลังการทดลองใช้แบบฝึกทักษะ ด้วย
Paired – Sample t Test พบว่า ค่าคะแนนเฉล่ียของแบบทดสอบก่อนการทดลองใช้แบบฝึกทักษะ สูงกว่า หลังการ
ทดลองใช้อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิท่ี 0.05 หรือที่ระดบั ความเช่ือม่ัน 95%
3. เม่ือทำการประเมินระดับความพึงพอใจซึ่งกำหนดเป็น 5 ด้าน ประกอบด้วยด้านลักษณะรูปเล่ม ด้านคำ
ชี้แจง ด้านเนื้อหา ด้านการจัดภาพ ด้านเนื้อหา ด้านการวัดและประเมินผล พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยภาพรวมทุกด้านที่ระดับดีมาก และมีความพึงพอใช้เฉพาะต่อการใช้แบบฝึกทักษะที่
ระดบั ดีมาก
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวข้อ 1 -3 สรุปว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการอ่านสะกดคำควบ
กล้ำ โดยทดลองใช้แบบฝึกทักษะมีผลต่อการพัฒนาทักษะด้านการอ่านสะกดคำควบกล้ำของนักเรียนระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์ท่ี 163 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ มี
ความพงึ พอใจโดยภาพรวมทกุ ด้านทรี่ ะดับมาก และมีความพงึ พอใจเฉพาะต่อการใชแ้ บบฝึกทักษะที่ระดับมาก
29
อภิปรายผลการวิจยั
1.ผลการพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกิน
แบ่งสงเคราะห์ที่ 163 จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลในบทที่ 4 พบว่า ผลการเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ทดลองใช้แบบฝกึ ทักษะท่สี ร้างหรอื พฒั นาสงู กว่าการจัดการเรียนรู้โดยสอนตามหนงั สอื มนี ัยสำคัญทางสถติ ิ
2.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีได้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกทักษะ พบว่าภายหลังการสอน
นักเรียนมีคะแนนสูงข้ึนกว่าก่อนการสอนโดยใช้การจัดการเรียนรู้โดยสอนตามหนังสือ น่ันหมายความว่าการใช้แบบ
ฝกึ ทักษะในการจัดการเรียนร้ทู ำให้นกั เรยี นมีผลการเรียนรเู้ พมิ่ สูงข้ึน
3.การที่ผลการศึกษาเป็นเช่นนี้อาจเน่ืองมาจากการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ ตามทฤษฎีของอรพรรณ ภู
กันหา (2564) เป็นสื่อการสอนรูปแบบหนึ่งท่ีผู้เรียนให้ความสนใจ เป็นวิธีการสอนท่ีช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
ในการเรียนรู้สูง ข้อดีของแบบฝึกทักษะ ทำให้จดจำเนื้อหาได้คงทน สามารถนำมาแก้ปัญหาเป็นรายบุคคลได้ดี
ผู้เรียนสามารถทบทวนเน้ือหาได้ด้วยตนเอง ทำให้ผู้เรียนทราบความก้าวหน้าของตน เป็นเครื่องมือที่ครูผู้สอนใช้
ประเมินผลการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดีว่านักเรียนเข้าใจมากน้อยเพียงใด นอกจากน้ันการใช้ประกอบการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ ทำใหป้ ระสิทธภิ าพในการจัดกจิ กรรมการเรียนรูด้ ขี น้ึ
4.ผลการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกินแบ่ง
สงเคราะห์ท่ี 163 จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลในบทท่ี 4 พบว่า ผลการเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ทดลองใช้แบบฝึกทักษะท่ีสร้างหรือพัฒนาข้ึน ซ่ึงสอดคล้องกับผลการศึกษาของโสภัทรา คงทวี (2556) ทำการวิจัย
เรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ผลวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยโดยใช้ สถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบฝึก
ทักษะการอ่านออกเสียงคำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างข้ึนมีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.9 4/92.22 ซ่ึงสูง กว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ท่ีต้ังไว้ 2)
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออก เสียงคำท่ีมีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีทักษะการอ่านออกเสียงคำท่ีมีพยัญชนะ ควบกล้ำ ร ล ว หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 3) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออก
เสียงคำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 มีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้
แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำท่ีมีพยัญชนะควบกลำ้ ร ล ว กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย อยู่ในระดบั ดมี าก
5.การที่ผลการศึกษาเป็นเช่นนี้อาจเน่ืองมาจากการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ ซ่ึงเป็นส่ือการสอนรูปแบบ
หน่ึงที่ผู้เรียนให้ความสนใจ เป็นวิธีการสอนท่ีช่วยให้นักเรียนเข้าใจเน้ือหาบทเรียนมากยิ่งข้ึน ทำให้เกิดความ
สนุกสนานขณะเรียน สามารถช่วยพัฒนาการเรียนการสอนและเพิ่มผลการเรียนให้นักเรียน นอกจากน้ียังช่วยสร้าง
ให้นกั เรียนเพ่ิมกระบวนการเรียนรู้มากกวา่ การเรียนรทู้ ่ีสอนแบบปกตคิ ือสอนโดยการบรรยาย
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวในบทที่ 4 ประเด็นท่ีจะหยิบยกข้ึนมาสู่การอภิปรายผลการวิจัย
ประกอบด้วยผลการพัฒนาด้านทักษะการเรียนรู้ของนักเรียน และระดับความพึงพอใจของนักเรียน แต่ละประเด็น
ดงั กลา่ ว นำมาอภิปราย ดังน้ี
30
1. ผลการพัฒนาดา้ นทกั ษะการเรยี นรขู้ องนักเรียน
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลในบทท่ี 4 พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อการทดลองใช้แบบฝึกทักษะใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การอ่านสะกดคำควบกล้ำ อยู่ที่ระดับดี เม่ือเทียบกับเกณฑ์ สพฐ. ทั้งนี้เป็น
เพราะว่าแบบฝึกทักษะเป็นส่ือการสอนรูปแบบหน่ึงท่ีทำให้ผู้เรียนมีความสนใจ เป็นวิธีการสอนท่ีช่วยกระตุ้นให้
ผู้เรียนมีส่วนร่วม สนุกสนานขณะเรียน ข้อดีของแบบฝึกทักษะ คือ แบบฝึกทักษะเป็นสื่อการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้และยังช่วยแบ่งเบาภาระครูผู้สอน ซึ่งประโยชน์ของแบฝึกทักษะทำให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้มาก
ขึ้น มีความเช่ือม่ัน ฝึกทำงานด้วยตนเอง ทำให้มีความรับผิดชอบ และทำให้ครูทราบปัญหาและข้อบกพร่องของ
นักเรียนในเร่ืองท่ีเรียน ทำให้สามารถแก้ปัญหาได้ทันที นอกจากนี้แบบฝึกทักษะยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนฝึกทักษะ
อย่างเต็มท่ี ท้ังยังช่วยให้คงอยู่ได้นาน และเป็นเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจบบทเรียนแต่ละครั้งอีก
ด้วย ซ่ึงผลดังกล่าวสอดคล้องกับแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการของอรพรรณ ภูกันหา (2564) ทำการวิจัยเรื่อง
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เร่ือง คำควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกทักษะกับการเรียนแบบ
ปกติ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนวัดลานบุญ ผลวิจัยพบว่า 1)ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักทะวิชา
ภาษาไทย เรื่องคำควบกล้ำ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนวัดลานบุญ มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ
77.83/ 82.33 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 ท่ีกำหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองคำควบกล้ำ
ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนวัดลานบุญ มีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติท่ีระดับ .05 และงานวิจัยของทิพลัดดา นิลผาย (2560) ทำการวิจัยเร่ือง การพัฒนาความสามารถด้าน
การอ่านและการเขียนคำควบกล้ำภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือ
เทคนิค CIRC ผลวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำ
ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC มีประสิทธิภาพ
(E1/E2) 86.51/83.83 2) ดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำ
ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC ค่าเท่ากับ 0.6881
หรือร้อยละ 68.81 3) นักเรียนท่ีเรียนด้วยการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC มีคะแนนทักษะการอ่านและเขียนคำควบกล้ำ
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 มีความพึงพอใจต่อ
การเรียนด้านการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำภาษาไทย นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของโสภัทรา คงทวี
(2556) ทำการวิจัยเร่ือง ผลการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผลวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยโดยใช้ สถิติทดสอบที ผลการวิจัย
พบว่า 1) แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำท่ีมีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทยสำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.9 4/92.22 ซ่ึงสูง กว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
ที่ตั้งไว้ 2) นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ทีเ่ รยี นโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออก เสยี งคำที่มีพยญั ชนะควบกล้ำ ร
ล ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีทักษะการอ่านออกเสียงคำที่มีพยัญชนะ ควบกล้ำ ร ล ว หลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการ
อ่านออกเสียงคำที่มพี ยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนสงู
กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 มีความพึงพอใจต่อการเรียน
31
โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ ร ล ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อยู่ในระดับ
ดมี าก
จากการอภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวข้างต้น จึงลงข้อสรุปว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง
การอ่านสะกดคำควบกล้ำ โดยการทดลองใช้แบบฝึกทักษะ มีผลต่อการพัฒนาการด้านทักษะการเรียนรู้ของ
นักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยท่ีกำหนดข้ึนคือสมมติฐานการวิจัยท่ี 1 จากผลการทบทวนเอกสารและ
งานวิจัยที่เก่ียวข้องพบว่า โดยภาพรวมแล้วการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการอ่านสะกดคำควบกล้ำกับนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 2 โดยใช้เกณฑ์กำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้ของสำนักงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คือ ดีเยี่ยม
มีร้อยละของค่าคะแนนเฉล่ีย 80-100 ดี มีร้อยละของค่าคะแนนเฉล่ีย 65-79 พอใช้(ผ่าน) มีร้อยละของค่าคะแนน
เฉลี่ย 50-64 และต้องปรับปรุง(ไม่ผ่าน) ต่ำกว่าร้อยละ 50 นักเรียนมีผลการเรียนรู้ท่ีระดับคะแนนเฉล่ีย 71.73
หรือทรี่ ะดบั ดี ซง่ึ สงู กว่าเกณฑก์ ารประเมินผ่านคอื ต้องผา่ นอย่างน้อยระดบั พอใช้
2. ระดบั ความพึงพอใจของนักเรียน
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการอ่านสะกดคำควบกล้ำ โดยทดลองใช้แบบฝึกทักษะกับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 23 คน เม่ือวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจผลการ
วิเคราะห์ เมื่อวิเคราะห์โดยภาพรวมนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านน้ำอ่างสำนักงานสลากกิน
แบ่งสงเคราะห์ท่ี 163 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 มีความพึงพอใจต่อการทดลองใช้แบบฝึกทักษะ จัด
กิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองการอ่านสะกดคำควบกล้ำ ระดับมาก แต่เม่ือวิเคราะห์เป็นรายด้านโดยเรียงลำดับระดับ
ค่าเฉล่ียจากระดับมากสุดไปหาน้อยสุด พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อด้านคำชี้แจง ด้านเน้ือหา ด้านการวัดและ
ประเมินผล มคี วามพึงพอใจระดับมาก รองลงมาคอื ดา้ นการจดั ภาพ ด้านลกั ษณะรูปเลม่ มคี วามพึงพอใจระดบั มาก
ขอ้ เสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะการใชป้ ระโยชน์ผลการวจิ ัย
1.1 การเลอื กเน้ือหาท่ีนำมาจดั กิจกรรมการเรียนรู้เปน็ สง่ิ สำคญั ควรคำนึงถงึ ความเหมาะสมของเพศ
วยั และระดับความสามารถในการเรยี นของนกั เรยี น ท้ังนี้เพราะหากเน้ือหาใดทน่ี กั เรยี นสนใจ นักเรยี นจะเกดิ
ความกระตือรือรน้ การเรียนรเู้ พม่ิ มากข้นึ
1.2 ในระหว่างการดำเนินการจัดกิจกรรม ครูควรสังเกตพฤติกรรมนักเรียนท่ีมีความสามารถในการ
เรียนต่ำ อาจจะไม่เข้าใจหรือเกิดการเรียนรู้ช้า หรือต้องการความช่วยเหลือ ท้ังนี้ครูควรใช้เทคนิคเสริมแรงกระตุ้น
ให้นกั เรยี นสนใจ หรอื อธบิ ายให้เขา้ ใจชดั เจนอีกคร้งั
2. ขอ้ เสนอแนะการศกึ ษาเพิม่ เตมิ หรือทำวิจยั ตอ่ ยอด
2.1 ควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ เนื้อหาท่ีเข้าใจยากหรือ
เนื้อหาท่ีเป็นปัญหาต่อการเรียนการสอนในกลุ่มสาระภาษาไทยในแต่ละดับช้ัน ท้ังนี้เพราะเพื่อนำไปทดลองหา
ประสิทธภิ าพ
2.2 ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการอ่านสะกดคำควบกล้ำร่วมกับครูผู้สอนท่านอื่น ในรายวิชาท่ี
เกี่ยวข้อง ท้ังน้ีเพ่ือลดภาระงานของเด็ก และทำให้กิจกรรมการอ่านสะกดคำควบกล้ำมีความน่าสนใจมากยิ่งข้ึน
บรรณานุกรม
กอบกาญจน์ วเิ ศษรัมย.์ (2562). การพัฒนาแบบฝกึ ทกั ษะการเขียนสะกดคำควบกล้ำ สำหรบั นกั เรยี นช้ัน
ประถมศึกษาปที ี่ 6. สบื คน้ เมือ่ 2 มีนาคม 2565, จาก : https://so02.tci-
thaijo.org/index.php/JGNRU/article/view/190868
วไิ ล พลอาสา. (2559). การพฒั นาแบบฝกึ ทกั ษะเรอื่ ง การอ่านและการเขยี นสะกดคำควบกล้ำ โดยใชก้ ิจกรรมการ
เรียนร้ทู ่เี น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ สำหรบั นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3. สืบคน้ เม่อื 2 มีนาคม 2565, จาก :
http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2954
กาญจนา ชลเกรกิ เกยี รต.ิ (2561). การพัฒนาทักษะการอ่านและเขยี นคำพืน้ ฐานภาษาไทย โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ
สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561. สืบค้นเม่ือ 2 มนี าคม 2565, จาก
: http://www.ska2.go.th/reis/data/research/25640702_203438_5726.pdf
ฮสุ นา เฮง. (2563). การพฒั นาทักษะการอา่ นออกเสยี งคำควบกล้ำแทโ้ ดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ. สบื ค้นเมื่อ 3 มนี าคม
2565, จาก : https://anyflip.com/hhasu/cikr/basic
ทรรศยา เทพสิงห.์ (2557). การใช้คำควบกลำ้ ร ล ว. สบื ค้นเมื่อ 4 มนี าคม 2565, จาก :
https://www.gotoknow.org/posts/132917
นิตยา กจิ โร. (2553). หลกั การสรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะ. สืบค้นเมอ่ื 4 มีนาคม 2565, จาก :
https://boonnum.files.wordpress.com/2013/11/07_chapter_02_boonnum_05.pdf
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั
แบบประเมนิ ความเท่ียงตรง (Content Validity)
คำช้แี จง
1. แบบประเมินท่ีสร้างขึ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประเมินความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาของของแบบประเมิน
ความเหมาะสมของนกั เรียนท่ีมีต่อการใช้แบบฝึกทกั ษะการอ่านสะกดคำควบกล้ำ
2. วิธกี ารประเมนิ จะประเมินดว้ ยคา่ ดรรชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective
Congruence: IOC)
3. ผลการประเมนิ ของแตล่ ะข้อคำถาม (Item) ของแต่ละดา้ นมคี ะแนน 3 ระดบั โดย
3.1 ขอ้ คำถามใดที่ทา่ นเหน็ ว่าสอดคลอ้ งกบั ดา้ นที่ตอ้ งการประเมนิ มีระดับคะแนน +1
3.2 ขอ้ คำถามใดทที่ า่ นไมแ่ น่ใจว่าสอดคลอ้ งกับด้านท่ีต้องการประเมนิ มีระดบั คะแนน 0
3.3 ขอ้ คำถามใดที่ทา่ นเหน็ วา่ ไมส่ อดคลอ้ งกบั ด้านที่ต้องการประเมิน มีระดับคะแนน -1
4. ใหท้ ่านทำเครอ่ื งหมาย üลงในช่องแตล่ ะรายการประเมินของแต่ละด้านตามความเห็นของท่าน
5. ขณะทที่ ่านทำการประเมินหากพบรายการใดท่ีเหน็ ว่าสมควรปรบั ปรุงแกไ้ ข ขอความอนเุ คราะห์
โปรดให้ขอ้ เสนอแนะหรอื ทำการแก้ไขจกั กราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างยิง่
3. หากมีข้อเสนอแนะใด ๆ ในการประเมินขอความอนเุ คราะห์โปรดแกไ้ ข
ตาราง : แสดงการประเมนิ ความเทยี่ งตรงเชิงเน้อื หา (Content Validity) ของแบบประเมินความ
เหมาะสม ของแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้ โดยการใช้คา่ ดัชนีความสอดคลอ้ ง (IOC)
รายการทปี่ ระเมิน ผลการประเมนิ ขอ้ เสนอแนะ
+1 0 -1
ลักษณะรปู เล่ม
ออกแบบปกสวยงาม ดึงดูดความสนใจ
ขนาดตวั หนังสือเหมาะสมกบั ผ้อู า่ น
จดั คำเปน็ ระเบียบเรียบร้อย
ดา้ นคำชแี้ จง
การใชภ้ าษาทถี่ ูกต้อง
คำชแ้ี จงในแบบฝึกทกั ษะมคี วามชดั เจน
ด้านการจัดภาพ
ภาพสอดคล้องเหมาะสมกบั เนอ้ื เร่ือง
รูปภาพเรา้ ความสนใจของผเู้ รียน
การจดั เรียงรปู ภาพมีความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย
การใช้สีของรูปภาพและตัวอักษรเหมาะสม
ด้านเนอ้ื หา
แบบฝกึ ทกั ษะมคี วามสอดคลอ้ งกบั เนื้อหา
แบบฝึกทักษะมอี งคป์ ระกอบสำคญั ท่ีครบถว้ น
รายการที่ประเมิน ผลการประเมิน ขอ้ เสนอแนะ
+1 0 -1
ด้านการวดั และการประเมินผล
การวดั และประเมนิ ผลมคี วามสอดคล้องกบั เนอ้ื หา
เกณฑก์ ารวดั และการประเมินผลมีความชดั เจน
ใช้เครอ่ื งมือการวัดผลไดอ้ ย่างเหมาะสม
ขอ้ เสนอแนะ (ถ้าม)ี
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลงช่ือผ้ปู ระเมิน............................................................
(.....................................................................)
ตำแหน่ง.....................................................................
วันท.ี่ ..........เดือน.......................พ.ศ. ........................
แบบประเมนิ ผ่านการพจิ ารณาเบื้องตน้ จากอาจารย์ประจำรายวิชาแลว้
ลงช่อื ...............................................
(อิสระ ทบั สีสด)
อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบรายวิชา
แบบประเมนิ ความเทย่ี งตรงเชงิ เนอื้ หา (Content Validity)
คำชี้แจง
1. แบบประเมินท่ีสร้างข้ึนมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประเมินความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาของแบบวัดระดับความพึง
พอใจของนักเรียนท่ีมีตอ่ การใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะการอา่ นสะกดคำควบกล้ำ
2. วธิ กี ารประเมินจะประเมนิ ด้วยคา่ ดรรชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective
Congruence: IOC)
3. ผลการประเมินของแตล่ ะขอ้ คำถาม (Item) ของแต่ละด้านมคี ะแนน 3 ระดบั โดย
3.1 ขอ้ คำถามใดทีท่ า่ นเหน็ ว่าสอดคลอ้ งกบั ด้านท่ีตอ้ งการประเมิน มรี ะดบั คะแนน +1
3.2 ข้อคำถามใดทที่ า่ นไม่แน่ใจว่าสอดคล้องกบั ด้านที่ตอ้ งการประเมิน มรี ะดบั คะแนน 0
3.3 ข้อคำถามใดทท่ี ่านเห็นว่าไม่สอดคล้องกับดา้ นที่ต้องการประเมนิ มีระดับคะแนน -1
4. ให้ทา่ นทำเครือ่ งหมาย üลงในชอ่ งแตล่ ะรายการประเมนิ ของแต่ละดา้ นตามความเห็นของท่าน
5. ขณะทีท่ า่ นทำการประเมินหากพบรายการใดที่เหน็ ว่าสมควรปรบั ปรงุ แก้ไข ขอความอนุเคราะห์
โปรดใหข้ อ้ สนอแนะหรอื ทำการแก้ไขจักกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างย่ิง
ตาราง : แสดงการประเมนิ ความเท่ียงตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) ของแบบวัดระดับความพึงพอใจของ
นกั เรียนทีม่ ตี ่อการใช้แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้
รายการทป่ี ระเมิน ผลการประเมนิ ขอ้ เสนอแนะ
+1 0 -1
ด้านคำชี้แจง
แบบฝึกทักษะมคี าํ ชแ้ี จงในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมท่ชี ัดเจน
ด้านเนื้อหา
เนอื้ เร่อื งเรียงลำดบั จากงา่ ยไปหายาก
แบบฝึกทกั ษะมขี นาดตวั อกั ษรเหมาะสม
ดา้ นการจัดภาพ
แบบฝกึ ทกั ษะมรี ูปภาพประกอบทีเ่ หมาะสมและนา่ สนใจ
ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
กระบวนการเรยี นดว้ ยแบบฝึกทักษะช่วยใหน้ ักเรยี นเกิด
ความสนุกสนานในการเรยี นรู้
กระบวนการในแบบฝึกทักษะส่งเสริมให้นักเรียนไดท้ ำ
กจิ กรรม อย่างหลากหลาย
แบบฝกึ ทกั ษะท่ใี ช้ในกจิ กรรมช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น ชว่ ยใน
การเรยี นรู้ไดด้ ี
ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มคี วามเหมาะสม
การเรียนด้วยแบบฝกึ ทักษะทำให้นกั เรยี นเขา้ ใจการอา่ น
คาํ ควบกลำ้ ร ล ว มากยิง่ ข้ึน
รายการท่ีประเมิน ผลการประเมนิ ข้อเสนอแนะ
+1 0 -1
การเรียนด้วยแบบฝกึ ทักษะทำใหน้ ักเรียนชอบเรียนวชิ า
ภาษาไทย
ข้อเสนอแนะ (ถา้ มี)
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ผูป้ ระเมนิ ............................................................
(.....................................................................)
ตำแหนง่ .....................................................................
วันที.่ ..........เดือน.......................พ.ศ. ........................
แบบประเมนิ ผา่ นการพจิ ารณาเบ้ืองตน้ จากอาจารยป์ ระจำรายวชิ าแล้ว
ลงชอ่ื ...............................................
(อสิ ระ ทับสีสด)
อาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบรายวิชา
แบบประเมนิ ความเที่ยงตรง (Content Validity)
คำชีแ้ จง
1.แบบประเมินท่ีสร้างข้ึนมีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบสังเกตพฤติกรรมใฝ่
เรียนร้จู ากการจัดกจิ กรรมเรียนรขู้ องนักเรยี นทีม่ ีตอ่ การใชแ้ บบฝกึ ทักษะการอ่านสะกดคำ
ควบกล้ำ
2. วธิ กี ารประเมนิ จะประเมนิ ด้วยคา่ ดรรชนีความสอดคลอ้ ง (Index of Item-Objective
Congruence: IOC)
3. ผลการประเมนิ ของแต่ละขอ้ คำถาม (Item) ของแต่ละดา้ นมคี ะแนน 3 ระดบั โดย
3.1 ขอ้ คำถามใดทีท่ ่านเหน็ ว่าสอดคลอ้ งกบั ด้านทตี่ อ้ งการประเมนิ มรี ะดบั คะแนน +1
3.2 ขอ้ คำถามใดทท่ี า่ นไมแ่ นใ่ จวา่ สอดคลอ้ งกบั ดา้ นท่ตี ้องการประเมนิ มรี ะดับคะแนน 0
3.3 ขอ้ คำถามใดท่ที า่ นเห็นว่าไมส่ อดคล้องกบั ด้านที่ตอ้ งการประเมิน มรี ะดบั คะแนน -1
4. ใหท้ ่านทำเครือ่ งหมาย üลงในช่องแตล่ ะรายการประเมินของแต่ละด้านตามความเหน็ ของทา่ น
5. ขณะทท่ี า่ นทำการประเมินหากพบรายการใดทเี่ ห็นว่าสมควรปรบั ปรุงแกไ้ ข ขอความอนเุ คราะห์
โปรดให้ข้อเสนอแนะหรือทำการแกไ้ ขจกั กราบขอบพระคณุ เป็นอย่างยิง่
ตาราง : แสดงการประเมนิ ความเทีย่ งตรงเชงิ เน้อื หา (Content Validity) ของแบบสังเกตพฤติกรรมใฝ่
เรียน จากการจดั กิจกรรมเรยี นรทู้ ่มี ตี อ่ แบบฝึกทักษะการอา่ นสะกดคำควบกลำ้
รายการทป่ี ระเมนิ ผลการประเมนิ ขอ้ เสนอแนะ
+1 0 -1
1. ความตัง้ ใจในการทำงาน
2. ความร่วมมือในการทำกจิ กรรม
3. รบั ผดิ ชอบงานที่ไดร้ บั มอบหมาย
4. มคี วามกล้าแสดงออก ซักถามครูผ้สู อน
5. สง่ งานตรงตามเวลาท่กี ำหนด
ขอ้ เสนอแนะ (ถา้ ม)ี
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ผปู้ ระเมนิ ............................................................
(.....................................................................)
ตำแหน่ง.....................................................................
วันท่.ี ..........เดือน.......................พ.ศ. ........................
แบบประเมนิ ผ่านการพจิ ารณาเบอ้ื งต้นจากอาจารยป์ ระจำรายวชิ าแล้ว
ลงชื่อ...............................................
(อสิ ระ ทบั สสี ด)
อาจารย์ผ้รู ับผิดชอบรายวิชา
แบบประเมนิ ความเทีย่ งตรง (Content Validity)
คำช้แี จง
1. แบบประเมินที่สร้างขึ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบเพื่อวัด
และประเมินผลทใ่ี ช้แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นสะกดคำควบกล้ำ
2. วิธีการประเมนิ จะประเมนิ ด้วยคา่ ดรรชนีความสอดคลอ้ ง (Index of Item-Objective
Congruence: IOC)
3. ผลการประเมินของแต่ละขอ้ คำถาม (Item) ของแตล่ ะดา้ นมคี ะแนน 3 ระดับ โดย
3.1 ข้อคำถามใดทท่ี ่านเห็นว่าสอดคล้องกบั ด้านท่ีต้องการประเมิน มรี ะดบั คะแนน +1
3.2 ขอ้ คำถามใดท่ีท่านไม่แนใ่ จว่าสอดคล้องกับด้านทตี่ ้องการประเมิน มีระดบั คะแนน 0
3.3 ขอ้ คำถามใดทีท่ ่านเหน็ วา่ ไม่สอดคลอ้ งกับดา้ นทต่ี ้องการประเมนิ มีระดบั คะแนน -1
4. ใหท้ า่ นทำเครื่องหมาย üลงในชอ่ งแตล่ ะรายการประเมนิ ของแตล่ ะดา้ นตามความเห็นของทา่ น
5. ขณะทที่ า่ นทำการประเมนิ หากพบรายการใดท่ีเหน็ วา่ สมควรปรับปรงุ แก้ไข ขอความอนเุ คราะห์
โปรดใหข้ อ้ สนอแนะหรือทำการแก้ไขจกั กราบขอบพระคณุ เป็นอยา่ งยิ่ง
ตาราง : แสดงการประเมินความเทีย่ งตรงเชิงเน้อื หา (Content Validity) ของแบบทดสอบเพื่อวัดและ
ประเมนิ ผลที่ใช้แบบฝึกทกั ษะการอ่านสะกดคำควบกลำ้
รายการทปี่ ระเมนิ ผลการประเมนิ ข้อเสนอแนะ
+1 0 -1
1. แบบทดสอบเหมาะสมกบั ชว่ งชนั้
2. แบบทดสอบสามารถวดั การอา่ นคำควบกล้ำได้
3. เน้ือหาในแบบทดสอบสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์
การเรยี นรู้
4. เวลาในการทำแบบทดสอบมคี วามเหมาะสม
5. คาํ ช้แี จงและคำสัง่ ในแบบทดสอบมคี วามชดั เจน
เขา้ ใจงา่ ย
6. แบบทดสอบสง่ เสรมิ ความสามารถในการอา่ นคำ
ควบกล้ำ
7. การใชภ้ าษาในการตงั้ คำถาม ชัดเจน เหมาะสม
8. เกณฑ์การประเมินผล ครอบคลมุ ทัง้ ความรู้ ทกั ษะ
และเจตคติ
9. แบบทดสอบมีความนา่ สนใจ