การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 DEVELOPMENT OF MATHEMATICAL ACHIEVEMENT USING STUDENT TEAMS ACHIEVEMENT DIVISION OF MATHAYOMSUKSA 2 STUDENTS ปิยะวัฒน์ ตาทิพย์ รายงานการวิจัยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2566
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 DEVELOPMENT OF MATHEMATICAL ACHIEVEMENT USING STUDENT TEAMS ACHIEVEMENT DIVISION OF MATHAYOMSUKSA 2 STUDENTS ปิยะวัฒน์ ตาทิพย์ รายงานการวิจัยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2566
หัวข้อวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เสนอโดย นายปิยะวัฒน์ ตาทิพย์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์เรวดี หมวดดารักษ์ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม คุณครูรัศมี สอนไชยา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ อนุมัติให้นับ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ………………………………………………….. ประธานสาขาวิชาคณิตศาสตร์ (อาจารย์เรวดี หมวดดารักษ์) วันที่ ................ เดือน ............................. พ.ศ. 2567 คณะกรรมการที่ปรึกษาร่วม ………………………………………………….. อาจารย์ที่ปรึกษา (อาจารย์เรวดี หมวดดารักษ์) ………………………………………………….. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (คุณครูรัศมี สอนไชยา)
ก ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัย นายปิยะวัฒน์ ตาทิพย์ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์เรวดี หมวดดารักษ์ ปริญญา ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2566 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ หลังการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ระหว่างก่อนและหลัง เรียนหลังการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ในการด าเนินการใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยกลุ่ม ตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 1 ห้องเรียน จ านวน 36 คน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566 โรงเรียนสว่างแดนดิน อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบ กลุ่ม จ านวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้จ านวน 8 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์จ านวน 20 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบทีแบบไม่อิสระ ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ที่เรียนด้วยการ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ได้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 12.58 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 50.33 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 19.36 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 77.44 ผลปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนไม่ต่ ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ที่เรียนด้วยการ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ผลปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
ข Thesis Title Development of mathematical achievement using student teams achievement division of Mathayomsuksa 2 students Author Mr. Piyawat Tathip Thesis Advisor Miss Rewadee Muaddarak Degree Bachelor of Education in Mathematics Academic Year 2023 ABSTRACT The purposes of this research ware to 1) compare the achievements of math education in statistics after the use of student teams achievement division STAD management among Mathayomsuksa 2 students with 70%, 2) to compare the achievements of math education in statistics before and after student teams achievement division STAD for Mathayomsuksa 2 students, The sample is one classroom of 36 students in Mathayom 2 for the second semester of the academic year 2023, SawangdaendinSchool, Sawangdaendin District, SakonnakhonProvince.The research tools are student teams achievement division STAD Management Plan and the Mathematical Achievement Test on Statistical used in data analysis are Mean percentage, Standard deviation, Single-group T-test, Independent Samples. The result of the research were as follows 1.The Mathematics achievement of the students learned through mathematics instructional activities based on student teams achievement division STAD process before learning was the mean score was 12.58 (50.33%) and after learning was the mean was 19.36 (77.44%), it was found that the student achievement after learning was 70 percent higher than the criterion. 2. The Mathematics achievement of the students learned through mathematics instructional activities based on student teams achievement division STAD process after learning higher than prior.
ค กิตติกรรมประกาศ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสว่างแดนดินอ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ของนักเรียนการท าวิจัยในครั้งนี้ส าเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสว่างแดนดิน อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ที่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลและ ร่วมกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เป็นอย่างดี จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณ อาจารย์เรวดี หมวดดารักษ์ ที่ให้ค าปรึกษาแนะน าเรื่องการท าวิจัยในชั้นเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลอ่านและตรวจแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ให้ข้อคิดที่เป็นประโยชน์และดูแลให้ก าลังใจ แก่ผู้วิจัยด้วยความเอาใจใส่อย่างดีเสมอมา ตลอดจนให้ค าชี้แนะเกี่ยวกับกระบวนการสร้างเครื่องมือ ในการวิจัย รู้สึกซาบซึ้งในความกรุณา และขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณ ท่านผู้อ านวยการโรงเรียนสว่างแดนดิน ดร.นงค์รักษ์ เคนไชยวงศ์ ครูพี่เลี้ยง นาง รัศมี สอนไชยา และคณะครูทุกท่าน ที่อ านวยความสะดวกและให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ท้ายนี้ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา รวมทั้งครอบครัว ญาติพี่น้องทุกท่านที่ได้ ประสิทธิ์ความช่วยเหลือ ชี้แนะ ให้ก าลังใจแก่ผู้วิจัยตลอดมา ขอขอบคุณคุณครูอาจารย์ทุกท่านที่ได้ ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้แก่ผู้วิจัยนับตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงปัจจุบัน ผู้วิจัยขอยกประโยชน์และคุณค่าทั้ง มวลที่เกิดจากงานวิจัยฉบับนี้ บูชาแด่บิดา มารดา ผู้มีพระคุณ และครูอาจารย์ทุกท่าน ปิยะวัฒน์ ตาทิพย์
ง สารบัญ หน้า บทคัดย่อ…………………………………………………………………………………………………..……………… ก ABSTRACT………………………………………………………………………………………..…………………….. ข กิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………………..…………………... ค สารบัญ……………………………………………………………………………………………..……………………… ง สารบัญตาราง......................................................................................................................... ช สารบัญภาพ............................................................................................................................ ซ บทที่ 1 บทน า………………………………………………………………………………………………..…….…… 1 ความเป็นมาและความส าคัญ...................………………………………………………………….. 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย........................................................................................... 2 สมมติฐานของการวิจัย…………………………………………………………………………………… 3 ขอบเขตของการวิจัย……………………………………………………………………………………… 3 นิยามศัพท์เฉพาะ………………………………………………………………………………………….. 4 ประโยชน์ที่จะได้รับ.................................................................................................... 8 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง............................................................................... 9 หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)…………………….. 10 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน…………………………………………………………………………………. 15 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์……………………………….……………………………………………… 16 การเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์............................................................................. 19 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง..................................................................................................... 25 กรอบแนวคิดการวิจัย............................................................................................. 27 บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย..................................................................................................... 29 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง......................................................................................... 29 แบบแผนการทดลอง.................................................................................................. 29 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย............................................................................................. 30 การเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................................................ 32 การวิเคราะห์ข้อมูล..................................................................................................... 32 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล................................................................................... 33
จ สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล…………………………………………………………………………………… 35 ตอนที่ 1 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ที่จัดการเรียนรู้แบบ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ................. 35 ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ที่เรียนโดย ใชการจัดการเรียนรูแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 ระหว่างหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ......................................... 37 ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทีบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่เรียนโดยการ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ....................................................................... 38 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ……………………………………………………………. 39 วัตถุประสงค์ของการวิจัย………………………………………………………………………………… 39 สมมติฐานของการวิจัย……………………………………………………………………………………. 39 วิธีด าเนินการวิจัย…………………………………………………………………………………………… 39 สรุปผลการวิจัย.......................................................................................................... 40 อภิปรายผลการวิจัย.................................................................................................... 41 ข้อเสนอแนะ............................................................................................................... 42 เอกสารอ้างอิง........................................................................................................................ 44 ภาคผนวก............................................................................................................................... 47 ภาคผนวก ก รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย............. 48 ภาคผนวก ข แบบตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญการหาค่าดัชนี ความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน/แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์(Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง สถิติ....... 50 ภาคผนวก ค ผลการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญการหาค่าดัชนี ความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน/แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์(Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง สถิติ....... 59
ฉ สารบัญ (ต่อ) หน้า ภาคผนวก ง ค่าความยากง่าย (p) และค่าอ านาจจ าแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สถิติ/ผลการทดสอบค่าเฉลี่ยของสมมติฐานทางสถิติ (t-test for Dependent Sample)........................................................................... 63 ภาคผนวก จ ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD/แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ…………………………………………………………………………………………………….. 66 ประวัติผู้วิจัย.......................................................................................................................... 86
ช สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 แบบแผนการทดลองกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังการทดสอบ……………………. 29 2 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียน เป็นรายบุคคล และภาพรวม ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2………………………… 35 3 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์หลังเรียนกับ เกณฑ์ร้อยละ 70ด้วยการทดสอบทีแบบกลุ่มเดียว (t-test One-Sample)………… 37 4 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรียนด้วยการจัดการ เรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน................. 38
ซ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย………………………………………………………………………………. 27 2 ขั้นตอนการเรียนด้วยการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ด้วยเทคนิค STAD.……… 28
บทที่ 1 บทน า ความเป็นมาและความส าคัญ คณิตศาสตร์มีบทบาทส าคัญยิ่งต่อความส าเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจาก คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์คิดอยางมีเหตุผล เป็นระบบมีแบบแผน สามารถ วิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อยางรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์วางแผน ตัดสินใจแก ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสามารถน าไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่น ๆ อันเป็น รากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ ทัดเทียมกับนานาชาติการศึกษาคณิตศาสตร์จึงจ าเป็นต้องมีการพัฒนาอยางต่อเนื่องเพื่อให้ทันสมัย และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้า อย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัตน์ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2562, น.1) ในหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดสาระพื้นฐานที่จ าเป็นส าหรับผู้เรียนทุก คนไว้3 สาระ ได้แก่ จ านวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต และสถิติและความน่าจะเป็นซึ่งสถิติ จัดเป็นสาระหนึ่งที่ส าคัญโดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้สาระส าคัญ ตัวอยางเช่น การตั้งค าถามทางสถิติการ เก็บรวบรวมข้อมูล การค านวณค่าสถิติ การน าเสนอและแปลผลส าหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิง ปริมาณ หลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็นการแจกแจงของตัวแปรสุ่มการใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ และความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ และช่วยในการตัดสินใจ (สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2560, น.11) จากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของ โรงเรียนสว่างแดนดิน ปีการศึกษา 2562 – 2565 (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. 2566) ปรากฏว่าผลการทดสอบในสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 35, 38, 34 และ 39 ตามล าดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นสาระการเรียนรู้ที่โรงเรียนควรมุ่งเน้นและเร่งพัฒนา โดยเฉพาะการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สถิติเป็นเนื้อหาในสาระสถิติและความน่าจะ เป็น นอกจากสภาพการเรียนการสอนคณิตศาสตร์มีการใช้วิธีการสอนแบบอธิบาย ส่งผลให้นักเรียนไม่ เกิดกระบวนการเรียนรู้และไม่เกิดการคิด และเป็นวิธีการสอนที่ไม่ได้ให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางการ เรียนรู้ส่งผลให้เกิดความเบื่อหน่าย ขาดความสนใจและความกระตือรือร้นในการเรียน
2 ในการแก้ปัญหาที่กล่าวมานี้ จึงน าไปสู่การน าเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางคือ การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD (STAD : Student TeamsAchievement Divisions) เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดการเรียนรู้ที่จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความรู้ ความสามารถ แตกต่างกัน โดยที่แต่ละคนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการเรียนรู้และในความส าเร็จของกลุ่ม ทั้งโดย การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแบ่งปันทรัพยากรการเรียนรู้รวมทั้งการเป็นก าลังใจแก่กันและกัน คนที่เรียนเก่งจะช่วยเหลือคนที่อ่อนกว่า สมาชิกในกลุ่มไม่เพียงแต่รับผิดชอบต่อการเรียนของตนเอง เท่านั้น หากแต่จะต้องร่วมรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของเพื่อนสมาชิกทุกคนในกลุ่ม ความส าเร็จแต่ละ บุคคลคือความส าเร็จของกลุ่ม (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2542, น. 34) รวมถึงแนวทางของ Johnson and Johnson , (1987, pp. 45-50 อ้างถึงใน สุพัตรา ค าหงษา, มะลิวัลย์ ถุนาพงศ์และนงลักษณ์ วิริยะพงศ์, 2558, น. 372) ได้กล่าวถึงเหตุผลที่ท าให้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD ได้ผลดีเป็นวิธีการเรียนที่ท าให้นักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนสูงเข้าใจค าสอนของครูแล้ว สามารถน าไปอธิบายให้เพื่อนได้เข้าใจบทเรียนดีขึ้น นักเรียนได้รับการเอาใจใส่และได้รับความสนใจ มากขึ้น นักเรียนทุกคนให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการเรียนรู้ นักเรียนทุกคนมีโอกาสเรียนรู้ กระบวนการกลุ่ม และนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนสูงจะมีบทบาททางสังคมในชั้นเรียนมาก ขึ้น ซึ่งนับเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมนักเรียนให้ประสบความส าเร็จในการเรียนคณิตศาสตร์ ได้ จากที่กล่าวมาข้างต้น ท าให้สนใจที่จะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้การ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และหวังว่าการจัดการเรียนรู้ นี้ จะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการแก้ปัญหา และพัฒนากระบวนการสอนให้มี ประสิทธิภาพในอนาคต วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กับเกณฑ์ร้อยละ 70 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ระหว่างก่อนและหลังเรียนหลังการ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3 สมมติฐานของการวิจัย 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่เรียนหลังการจัดการ เรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติไม่ต่ ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่เรียนโดยการจัดการ เรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ขอบเขตของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ได้ก าหนดขอบเขตของการวิจัย ดังนี้ 1. ประชากร เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 675 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสว่างแดนดิน อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 1 จ านวน 36 คน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566 โรงเรียนสว่างแดนดิน อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบ กลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม 2. เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระที่ใช้การวิจัยครั้งนี้ คือ สถิติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เนื้อหาย่อยแบ่งเป็น 8 เรื่องดังนี้ 2.1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนภาพจุด 2.2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนภาพต้น - ใบ 2.3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนภาพต้น – ใบ 2 2.4 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ฮิสโทรแกรม 2.5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 ฮิสโทรแกรม 2 2.6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2.7 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 มัธยฐาน 2.8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ฐานนิยม 3. ตัวแปรในการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้มีตัวแปร ดังนี้ 3.1 ตัวแปรต้น คือ การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD 3.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ (K) 4. ระยะเวลาในการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้8 แผน แผน ละ 1 ชั่วโมง รวม 8 ชั่วโมง ใช้ในการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2 ชั่วโมง รวมใช้เวลาในการวิจัย ทั้งหมด 10 ชั่วโมง
4 นิยามศัพท์เฉพาะ ความหมายของการจัดการเรียนรูรูปแบบร่วมมือ เทคนิค STAD สลาวิน ( Slavin, 1995, p.287 ) ได้ใหความหมายวาการเรียนรูแบบร่วมมือเทคนิค STAD ( Student Team Achievement Division ) ผู้สอนนั้นจะตองอธิบายเนื้อหาและสอนนักเรียนก่อน หลังจากที่นักเรียนได้เรียนรูไปแล้วครูควรแบงกลุ่มใหนักเรียน โดยใหแต่ละกลุมมีสมาชิก 4 – 5 คน เพื่อที่จะใหนักเรียนลงมือปฏิบัติงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายจากครูผู้สอน อาจเป็นใบงานหรือสถานกา รณของปญหาที่ครูเป็นผู้สร้างขึ้นเมื่อนักเรียนแต่ละกลุมร่วมกันอภิปรายหาค าตอบในกลุมเสร็จแลว ครูใหนักเรียนท าแบบทดสอบเป็นรายบุคคลจากนั้นน าคะแนนรายบุคคลมาหาคะแนนเฉลี่ยของกลุม เพื่อหาคะแนนพัฒนาการ ใครมีคะแนน สูงที่สุด ครูผู้สอนจะตองใหรางวัลใหญ่รางวัลพิเศษแกนักเรียน และรางวัลส าหรับกลุมที่มีคะแนนสูงสุด เชน มอบใบ ประกาศ ติดป้ายประกาศในหองเรียนหรือรางวัล อื่น ๆ ทิศนา แขมมณี( 2563, หนา 266 -267) ได้กล่าวว่า การเรียนรูแบบร่วมมือเทคนิค STAD หมายถึง การจัดผู้เรียนเขากลุมโดยคละความสามารถ ( เกง ปานกลาง อ่อน ) กลุมละ 4 คน เพื่อ ศึกษาเนื้อหาสาระร่วมกัน เนื้อหาสาระอาจมีหลายตอน ซึ่งผู้เรียนอาจตองท าแบบทดสอบในแต่ละ ตอนและ เก็บคะแนนของตนไวและมีการทดสอบเป็นครั้งสุดท้าย ซึ่งเป็นคะแนนรวบยอดและน า คะแนนของตนไปหาคะแนนพัฒนาการ ( improvement score ) หลังจากนั้นน าคะแนนพัฒนาการ ของแต่ละคนในกลุมมารวมกันเป็นคะแนนกลุม กลุ่มไหนได้คะแนนสูงสุด กลุมนั้นได้รางวัล กิตติพัฒน ศรีช านิ( 2561, หนา 25 ) ได้กล่าววา การเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD หมายถึง กิจกรรมการจัดการเรียนรูที่เนนใหนักเรียนท างานด้วยกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ กลุมละ 4 – 6 คน โดยที่สมาชิกในกลุมมีความสามารถแตกต่างกันแบบคละความสามารถ เกง ปานกลางและอ่อน ได้ เรียนรูร่วมกันเกิดความร่วมมือ การช่วยเหลือกัน มีความรับผิดชอบร่วมกันทั้งในตนเองและสวนรวม เพื่อใหตนเองและกลุ่มประสบความส าเร็จตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว จากความหมายที่กล่าวมา สรุปได้วา การจัดการเรียนรูรูปแบบร่วมมือ เทคนิค STAD หมายถึง การเรียนแบบร่วมมือที่ก าหนดใหนักเรียนที่มีความสามารถต่างกันท างานรวมกลุมกันเป็นกลุ มเล็ก ๆ กลุ่มละ 4 คนซึ่งประกอบด้วย นักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนสูง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน ที่ท างานร่วมกัน โดยทุกคนมีสวนร่วมในการท าใหกลุ่มของตนเองประสบผลส าเร็จ องคประกอบของการจัดการเรียนรูรูปแบบร่วมมือ เทคนิค STAD สลาวิน ( Slavin, 1980, p.320 อางถึงใน กิตติพัฒน ศรีช านิ, 2561, หนา 25 ) ได้กลาวว่า องคประกอบที่ส าคัญของการจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค STAD มีองคประกอบที่ส าคัญ ดังนี้
5 1. การน าเสนอสิ่งที่ตองเรียน ( class presentation) ครูเป็นผู้น าเสนอสิ่งที่นักเรียนตอง เรียน ไม่วาจะเป็นมโนทัศน ทักษะและ/หรือกระบวนการ การน าเสนอสิ่งที่ตองเรียนอาจใชการ บรรยาย การสาธิตประกอบการบรรยาย การใชวิดีทัศน หรือแม้แต่การใหนักเรียนลงมือปฏิบัติการ ทดลองตามหนังสือเรียน 2. การท างานเป็นกลุม(teams) ครูจะแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุม ๆ แต่ละกลุมจะประกอบ ด้วยนักเรียนประมาณ 4 – 5 คน ที่มีความสามารถแตกต่างกัน มีทั้งเพศหญิงและเพศชาย และมีหลาย เชื้อชาติครูตองชี้แจงใหนักเรียนในแต่ละกลุมทราบถึงหนาที่ของสมาชิกในกลุมว่านักเรียนตอง ช่วยเหลือกัน เรียนร่วมกันอภิปรายปญหาร่วมกัน ตรวจสอบค าตอบของงานที่ได้รับมอบหมายและแก ไขค าตอบร่วมกัน สมาชิกทุกคนในกลุ่มต้องท างานใหดีที่สุดเพื่อเกิดการเรียนรูใหก าลังใจและท างาน ร่วมกันได หลังจากครูจัดกลุ่มเสร็จเรียบร้อยแลว ควรใหนักเรียนแต่ละกลุมท างานร่วมกันจากใบงานที่ ครูเตรียมไว ครูอาจจัดเตรียมใบงานที่มีค าถามสอดคลองกับจุดประสงคของบทเรียน เพื่อใชเป็น บทเรียนของการเรียนแบบร่วมมือ ครูควรบอกนักเรียนวาใบงานออกแบบมาใหนักเรียน ช่วยกันตอบ ค าถามเพื่อเตรียมตัวส าหรับการทดสอบย่อย สมาชิกแต่ละคนในกลุมจะตองช่วยกันตอบค าถาม โดย แบงกันตอบค าถามเป็นคูๆ และเมื่อตอบค าถามเสร็จแลวก็จะเอาค าตอบมาแลกเปลี่ยนกัน โดย สมาชิกแต่ละคนจะตองมีความรับผิดชอบซึ่งกันและกันในการตอบค าถามแต่ละขอใหได้ในการกระ ตุนใหสมาชิกแต่ละคน มีความรับผิดชอบซึ่งกันและกันควรปฏิบัติ ดังตอไปนี้ 2.1 ตองแน่ใจวาสมาชิกแต่ละคนในกลุมสามารถตอบค าถามแต่ละข้อได้อย่าง ถูกตอง 2.2 ใหนักเรียนช่วยกันตอบค าถามทุกขอใหได้โดยไม่ตองขอความช่วยเหลือจาก เพื่อนนอกกลุ่มหรือขอความช่วยเหลือจากครูใหน้อยลง 2.3 ตองใหแน่ใจวาสมาชิกแต่ละคนสามารถอธิบายค าตอบแต่ละขอได้ถาค าถามแต่ ละข้อเป็นแบบเลือกตอบ 3. การทดสอบย่อย ( quizzes ) หลังจากที่นักเรียนแต่ละกลุมท างานเสร็จเรียบร้อยแลว ครูก็ ท าการทดสอบย่อยนักเรียน โดยนักเรียนต่างคนต่างท าเพื่อเป็นการประเมินความรูที่นักเรียนได้เรียน มา สิ่งนี้จะเป็นตัวกระตุนความรับผิดชอบของนักเรียน 4. คะแนนพัฒนาการของนักเรียนแต่ละคน (individual improvement score ) คะแนน พัฒนาการของนักเรียนจะเป็นตัวกระตุนใหนักเรียนท างานหนักขึ้นในการทดสอบแต่ละครั้งครูจะมี คะแนนพื้นฐาน ( base score ) ซึ่งเป็นคะแนนต่ าสุดของนักเรียนในการทดสอบย่อยแต่ละครั้ง ซึ่ง คะแนนพัฒนาการของนักเรียนแต่ละคนได้จากความแตกต่างระหว่างคะแนนพื้นฐาน ( คะแนนต่ าสุด
6 ในการทดสอบ )กับคะแนนที่นักเรียนสอบได้ในการทดสอบย่อยนั้น ๆ สวนคะแนนกลุม ( team score ) ได้จากคะแนนรวมพัฒนาการของนักเรียนทุกคนในกลุมเขาด้วยกัน 5. การรับรองผลงานของกลุ่ม ( team recognition ) โดยการประกาศคะแนนของแต่ละ กลุมใหทราบพรอมกับใหค าชมเชย ให้ประกาศนียบัตร หรือใหรางวัลกับกลุมที่มีคะแนนพัฒนาการ ของกลุ่มสูงสุดโปรดจ าไววาคะแนนพัฒนาการของนักเรียนแต่ละคนได้รับจากการทดสอบ การจัดการเรียนรูรูปแบบร่วมมือ เทคนิค STAD สลาวิน ( Slavin, 1980, p.320 อางถึงใน กิตติพัฒน ศรีช านิ, 2561, หนา 31 ) ได้เสนอ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD ทั้งหมด 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นสอน ครูด าเนินการสอนเนื้อหา ทักษะหรือวิธีการเกี่ยวกับบทเรียนนั้น ๆ อาจเป็น กิจกรรมที่ครูบรรยาย สาธิต ใชสื่อประกอบการสอน หรือใหนักเรียนท ากิจกรรมการทดลอง ขั้นที่ 2 ขั้นทบทวนความรูเป็นกลุม แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิก 4 – 5 คน ที่มี ความสามารถทางการเรียนต่างกัน สมาชิกในกลุ่มตองมีความเขาใจวาสมาชิกทุกคนจะตองท างาน ร่วมกันเพื่อช่วยเหลือกันและกันในการศึกษาเอกสารและทบทวนความรูเพื่อเตรียมความพรอมส าหรับ การสอบย่อยครูเนนใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ ก. ตองใหแน่ใจวา สมาชิกทุกคนในกลุมสามารถตอบค าถามได้ถูกตองทุกขอ ข. เมื่อมีขอสงสัยหรือปญหา ใหนักเรียนช่วยเหลือกันภายในกลุมก่อนที่จะถามครู หรือถามเพื่อนกลุ่มอื่น ค. ใหสมาชิกอธิบายเหตุผลของค าตอบของแต่ละค าถามใหได้โดยเฉพาะแบบฝกหัด ที่เป็นค าถามแบบปรนัยแบบใหเลือกตอบ ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบย่อย ครูจัดใหนักเรียนท าแบบทดสอบย่อย หลังจากนักเรียน เรียนและ ทบทวนเป็นกลุมเกี่ยวกับเรื่องที่ก าหนด นักเรียนท าแบบทดสอบคนเดียวไม่มีการช่วยเหลือกัน ขั้นที่ 4 ขั้นหาคะแนนพัฒนาการ คะแนนพัฒนาการเป็นคะแนนที่ได้จากการพิจารณาความ แตกต่างระหว่างคะแนนที่ต่ าสุด การทดสอบครั้งก่อน ๆ กับคะแนนที่ได้จากการทดสอบครั้งปจจุบัน เมื่อได้คะแนนพัฒนาการของนักเรียนแต่ละคนแลว จึงหาคะแนนพัฒนาการของกลุ่ม ซึ่งได้จากการน า คะแนนพัฒนาการของสมาชิกแต่ละคนมารวมกัน หรือหาคาเฉลี่ยของคะแนนพัฒนาการของสมาชิก ทุกคน ขั้นที่ 5 ขั้นใหรางวัลกลุม กลุมที่ได้คะแนนปรับปรุงตามเกณฑที่ก าหนดจะได้รับ ค าชมเชย หรือติดประกาศที่บอรดในหองเรียน
7 สุริยัน เขตบรรจง ( 2558, หนา 46 ) ได้สรุปวา ขั้นตอนในการจัดการเรียนรูแบบเทคนิค STAD 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นน าเสนอบทเรียนหรือเนื้อหาใหม่ โดยการทบทวนความรูพื้นฐานจากนั้นครูสอนเนื้อหา ใหม่กับนักเรียนทั้งชั้น ซึ่งอาจสอนโดยการอธิบาย สาธิต ใชค าถาม เป็นตน โดยใชสื่อการสอน ประกอบค าอธิบายของครู 2. ขั้นปฏิบัติการกลุ่ม โดยแบงกลุ่มนักเรียนประมาณ 4 – 5 คน ซึ่งมีความสามารถแตกต่าง กัน ทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเพศ ซึ่งหนาที่ส าคัญคือช่วยเหลือกัน เรียนร่วมกัน เพื่อเตรียม สมาชิกเพื่อการทดสอบหลังเรียน หลังจากครูน าเสนอเนื้อหาจบแลว นักเรียนเข้ากลุ่มและท าใบงาน อภิปรายปญหาร่วมกัน จนหาขอสรุปในเนื้อหานั้น 3. ขั้นทดสอบย่อย หลังจากเรียนไปได้2 – 3 ครั้ง ผู้เรียนจะตองท าการทดสอบในสาระที่ เรียน ซึ่งไม่อนุญาตใหช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 4. ขั้นคะแนนความก้าวหนา ในขั้นนี้มีการคิดคะแนนความก้าวหนา ของแต่ละคนและกลุม ย่อย โดยครูตรวจแบบทดสอบหลังเรียนและแจ้งผลการทดสอบ โดยคะแนนที่นักเรียนท าได้ในการ ทดสอบ คือ เป็นคะแนนรายบุคคล คะแนนของแต่ละคนจะน าไปเปรียบเทียบกับคะแนนฐาน เพื่อ เป็นคะแนนพัฒนา 5. ขั้นชมเชย บุคคลหรือกลุ่มที่มีคะแนนยอดเยี่ยม เป็นคะแนนที่นักเรียนท าคะแนนดีกว่าครั้ง ก่อนจะได้รับค าชมเชยเป็นรายบุคคลและกลุมใดท าคะแนนได้ดีกว่าครั้งก่อนจะได้รับค าชมเชยทั้งกลุม วัลลดา เกตุจันทร ( 2558, หนา 62 ) ได้สรุปแนวคิดของการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD วาการเรียนรูร่วมมือที่เป็นการร่วมมือระหว่างสมาชิกในกลุม 4 – 5 คนมีความรูความสามารถแตกต่าง กัน โดยทุกคนตองพัฒนาความรูของตนเอง ในเรื่องที่ผู้สอนก าหนด โดยมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อความส าเร็จของกลุ่มแต่การทดสอบความรูเป็นรายบุคคลแทนการแขงขัน รวมคะแนนเป็นกลุม จากการวิเคราะห์สังเคราะห์ขั้นตอนการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD จากสลาวิน ( Slavin,1980, p.320 อางถึงใน กิตติพัฒน ศรีช านิ, 2561, หนา 31 ), สุริยัน เขตบรรจง ( 2558, หนา 46 ) และวัลลดา เกตุจันทร ( 2558, หนา 62 ) จึงสรุปได้วา รูปแบบการเรียนรูแบบร่วมมือ เทคนิค STAD หมายถึงการเรียนแบบร่วมมือที่ก าหนดใหนักเรียนที่มีความสามารถต่างกันท างานร่วมกลุมกัน เป็นกลุมเล็ก ๆ กลุมละ4 คน ซึ่งประกอบด้วย นักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนสูง 1 คน ปาน กลาง 2 คน และอ่อน 1 คน ซึ่งมีขั้นตอนการสอน ดังนี้ 1) ขั้นน าเสนอเนื้อหา โดยเป็นการทบทวนพื้นฐานจากความรูเดิมจากนั้นจึงสอน เนื้อหาใหม่ กับนักเรียนทั้งชั้น
8 2) ขั้นปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม โดยนักเรียนในกลุม ร่วมกันศึกษากลุ่มย่อยนักเรียนเกง จะอธิบาย ใหนักเรียนอ่อนฟงและช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการท ากิจกรรม 3) ขั้นทดสอบย่อย นักเรียนแต่ละคนท าแบบทดสอบด้วยตนเอง โดยที่ไม่ช่วยเหลือกัน 4) ขั้นพัฒนาการ คิดคะแนนความก้าวหนาของแต่ละคนและกลุ่มย่อย โดยคะแนนทดสอบที่ นักเรียนท าได้เป็นคะแนนรายบุคคล แลวจึงแปลงคะแนนรายบุคคลเป็นคะแนนกลุม 5) ขั้นรับรองผลงาน ประกาศคะแนนของแต่ละกลุมใหทราบพรอมกล่าว ค าชมเชย หรือให รางวัลกับกลุมที่มีคะแนนพัฒนาการสูงสุด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ความรู้ด้านสติปัญญาของผู้เรียนที่เกิดขึ้นจากการใช้การเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ที่วัดโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประโยชน์ที่จะได้รับ ผู้วิจัยได้ระบุประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย ดังนี้ 1. เป็นแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และการจัดการเรียนรู้ แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2. เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ส าหรับครูคณิตศาสตร์ และ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดกิจกรรมการสอนในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติโดยใช้การเรียนรู้แบบ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด าเนินการค้นคว้า ศึกษาเอกสาร ต ารา บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและรวบรวมเอกสารตามล าดับ ดังนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1.1 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 1.2 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1.3 คุณภาพผู้เรียน 1.4 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.2 องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.1 ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.2 ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 3.3 ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 4. การเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ 4.1 ความหมายของการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ 4.2 หลักพื้นฐานของการเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD 4.3 ขั้นตอนการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์เทคนิค STAD 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5.1 งานวิจัยในประเทศ 5.2 งานวิจัยต่างประเทศ 6. กรอบแนวความคิดการวิจัย
10 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 จ านวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การ ด าเนินการของจ านวน ผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และน าไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ล าดับ และ อนุกรม และน าไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วย แก้ปัญหาที่ก าหนดให้ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ ต้องการวัด และน าไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเลขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และน าไปใช้ สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการ แก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และน าไปใช้ 2. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถที่จะน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในที่นี่เน้นที่ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จ าเป็น และต้องการพัฒนาให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ได้แก่ความสามารถต่อไปนี้ 1. การแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการท าความเข้าใจปัญหา คิดวิเคราะห์ วางแผน แก้ปัญหา และเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสม โดยค านึงถึงความสมเหตุสมผลของค าตอบ พร้อมทั้ง ตรวจสอบความถูกต้อง 2. การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใช้รูป ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และน าเสนอ ได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจน
11 3. การเชื่อมโยง เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือใน การเรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่าง ๆหรือศาสตร์อื่น ๆ และน าไปใช้ในชีวิตจริง 4. การให้เหตุผล เป็นความสามารถในการให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผลสนับสนุนหรือ โต้แย้งเพื่อน าไปสู่การสรุป โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ 5. การคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถในการขยายแนวคิดที่มีอยู่เดิม หรือสร้าง แนวคิดใหม่เพื่อปรับปรุง พัฒนาองค์ความรู้ 3. คุณภาพผู้เรียน ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเมื่อผ่านหลักสูตรจะมีคุณภาพดังนี้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจ านวนจริง ความสัมพันธ์ของจ านวนจริง สมบัติของ จ านวนจริง และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง 2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ และใช้ความรู้ความ เข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง 3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกก าลังที่มีเลขชี้ก าลังเป็นจ านวนเต็ม และใช้ ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง 4. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัว แปรและอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง 5. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพหนาม การแยกตัวประกอบของพนาม สมการก าลัง สองและใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ 6. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคู่อันดับ กราฟของความสัมพันธ์ และฟังก์ชันก าลังสอง และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง 7. มีความรู้ความเข้าใจทางเรขาคณิตและใช้เครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมทั้ง โปรแกรม The Geometer's Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนน าความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง 8. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติและใช้ ความรู้ความเข้าใจนี้ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติ 9. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวยและทรงกลม และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง 10. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนาน รูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุก ประการรูปสามเหลี่ยมคล้าย ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และน าความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ในการ แก้ปัญหาในชีวิตจริง
12 11. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการแปลงทางเรขาคณิต และน าความรู้ความเข้าใจนี้ไป ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง 12. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติ และน าความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ใน การแก้ปัญหาในชีวิตจริง 13. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องทฤษฎีบทเกี่ยวกับวงกลม และน าความรู้ความเข้าใจนี้ ไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ 14. มีความรู้ความเข้าใจทางสถิติในการน าเสนอข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแปล ความหมายข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ ฮิสโทแกรม ค่ากลางของข้อมูล และ แผนภาพกล่องและใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ รวมทั้งน าสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 15. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความน่าจะเป็นและใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการ แก้ปัญหา ในชีวิตจริง 4. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สาระที่ 1 จ านวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การ ด าเนินการของจ านวนผลที่เกิดจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และน าไปใช้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกก าลังที่มีเลขชี้ ก าลังเป็นจ านวนเต็มในการแก้ปัญหา คณิตศาสตร์และแก้ปัญหาในชีวิตจริง จ านวนตรรกยะ - เลขยกก าลังที่มีเลขชี้ก าลังเป็นจ านวนเต็ม - การน าความรู้เกี่ยวกับเลขยกก าลังไปใช้ในการ แก้ปัญหา 2. เข้าใจจ านวนจริงและความสัมพันธ์ของ จ านวนจริง และใช้สมบัติของจ านวนจริงในการ แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง จ ำนวนจริง - จ ำนวนอตรรกยะ - จ ำนวนจริง - รำกที่สองและรำกที่สำมของจ ำนวนตรรกยะ - กำรน ำควำมรู้เกี่ยวกับจ ำนวนจริงไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ล าดับและอนุกรม และ น าไปใช้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. เข้าใจหลักการด าเนินการของพหุนาม และใช้ พหุนามในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ พหุนำม - พหุนำม - กำรบวก กำรลบ และกำรคูณของพหุนำม
13 - กำรหำรพหุนำมด้วยเอกนำมที่มีผลหำรเป็น พหุนำม 2. เข้าใจและใช้การแยกตัวประกอบของพหุนาม ดีกรีสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม - กำรแยกตัวประกอบของพหุนำมดีกรีสองโดย ใช้ สมบัติกำรแจกแจง ก ำลังสองสมบูรณ์ ผลต่ำงของก ำลังสอง สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ วัด และน าไปใช้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ประยุกต์ใช้เรื่องพื้นที่ผิวของปริซึมและ ทรงกระบอกในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง พื้นที่ผิว - กำรหำพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก - กำรน ำควำมรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวของปริซึมและ ทรงกระบอกไปใช้ในกำรแก้ปัญหำ 2. ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องปริมาตรของปริซึม และทรงกระบอกในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และการแก้ปัญหาในชีวิตจริง ปริมำตร - กำรหำปริมำตรของปริซึมและทรงกระบอก - กำรน ำควำมรู้เกี่ยวกับปริมำตรของปริซึมและ ทรงกระบอกไปใช้ในกำรแก้ปัญหำ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และน าไปใช้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วง เวียนและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม The Geometer’s Skeychpad หรือ โปรแกรม เรขาคณิตพลวัตรอื่นๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนน าความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ไป ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง กำรสร้ำงทำงเรขำคณิต - กำรน ำควำมรู้เกี่ยวกับกำรสร้ำงทำงเรขำคณิต ไปใช้ในชีวิตจริง 2. น าความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและ รูปสามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ เส้นขนำน - สมบัติเกี่ยวกับเส้นขนำนและรูปสำมเหลี่ยม
14 3. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับการแปลงทาง เรขาคณิตในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ ปัญหาในชีวิตจริง กำรแปลงทำงเรขำคณิต - กำรเลื่อนขนำน - กำรสะท้อน - กำรหมุน - กำรน ำควำมรู้เกี่ยวกับกำรแปลงทำงเรขำคณิต ไปใช้ในกำรแก้ปัญหำ 4. เข้าใจและใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่ เท่ากันทุกประการในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และปัญหาในชีวิตจริง ควำมเท่ำกันทุกประกำร - ควำมเท่ำกันทุกประกำรของรูปสำมเหลี่ยม - กำรน ำควำมรู้เกี่ยวกับควำมเท่ำกันทุกประกำร ไปใช้ในกำรแก้ปัญหำ 5. เข้าใจและใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิต จริง ทฤษฎีบทพีทำโกรัส - ทฤษฎีบทพีทำโกรัสและบทกลับ - กำรน ำควำมรู้เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทำโกรัสและ บทกลับไปใช้ในชีวิตจริง สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการน าเสนอ ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภาพจุด แผนภาพต้น – ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลางของ ข้อมูล แปลความหมายผลลัพธ์ รวมทั้งน าสถิติไปใช้ใน ชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สถิติ - กำรน ำเสนอข้อมูลและกำรวิเครำะห์ข้อมูล แผนภำพจุด แผนภำพต้น-ใบ ฮิสโทแกรม ค่ำกลำงของข้อมูล - กำรแปลควำมหมำยผลลัพธ์ - กำรน ำสถิติไปใช้ในชีวิตจริง
15 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 1. ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชนิดา ทาระเนตร (2560) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลของความส าเร็จ ของผู้เรียนในด้านความรู้ทักษะและกระบวนการทางด้านความคิดซึ่งท าให้ผู้เรียนมีประสิทธิภาพจาก การเรียนรู้ หรือการหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งสามารถวัดได้ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รสริน พันธุ (2550 : 37) กล่าวว่า ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลของ การเรียนการสอนหรือความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการได้รับการฝึกฝน สั่งสอนในด้านความรู้ และทักษะที่ได้พัฒนาขึ้นตามลาดับขั้นในวิชาต่าง ๆ ศิริพร สะอาดล้วน (2551 : 28) กล่าวว่า ความหมาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นผลรวม ของมวลประสบการณ์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ ในด้านของทักษะ ความรู้ ความสามารถ ซึ่งผลการเรียนรู้ นั้นสามารถแสดงออกมาได้และสามารถที่จะวัดได้ สุพัตรา เกษมเรืองกิจ (2551 : 32) กล่าวว่า ความหมาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหาและทักษะทางวิชาการรวมทั้งสมรรถภาพทางสมอง ด้านต่าง ๆ ที่ได้จากการอบรมสั่งสอนและวัดได้โดยอาศัยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย สิริสรณ์ สิทธิรินทร์ (2554 : 18) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความส าเร็จ ทางการเรียนของบุคคลที่วัดได้จากระบวนการทดสอบหรือกระบวนการที่ไม่ต้องอาศัย การทดสอบ ด้วยวิธีการอย่างหลากหลาย เช่น การตรวจผลงานของผู้เรียน การสังเกตพฤติกรรม เป็นต้น จากการศึกษาความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ท าให้ผู้วิจัยได้แนวคิดว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หมายถึง ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ การฝึกและการปฏิบัติตามจุดประสงค์จนเกิดความ เข้าใจ โดยมีผลมาจากการจัดการเรียนการสอนจากสื่อที่สร้างขึ้น ซึ่งวัดได้จากแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ให้นักเรียนท าหลังเรียน 2. องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังการใช้แบบฝึกทักษะการน าแบบฝึกทักษะ เรื่องความ น่าจะเป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ส าหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อาจต้องศึกษาองค์ประกอบ อื่นที่มีอิทธิพลด้วย บลูม (Bloom. 1976 : 52 ; อ้างถึงใน ศรินยา คุณประทุม. 2544 : 56) กล่าวว่า องค์ประกอบ ที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในโรงเรียน ประกอบด้วย 1. พฤติกรรมด้านความรู้ ความคิด หมายถึง ความสามารถทั้งหลายของผู้เรียน ซึ่ง ประกอบด้วยความถนัดและพื้นฐานเดิมของผู้เรียน
16 2. คุณลักษณะด้านจิตพิสัย หมายถึง สภาพการณ์หรือแรงจูงใจที่ท าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ใหม่ ได้แก่ ความสนใจ เจตคติที่มีต่อเนื้อหาที่เรียนในโรงเรียน ระบบการเรียน ความคิดเห็นเกี่ยวกับ ตนเอง และลักษณะบุคลิกภาพ 3. คุณภาพการสอน ได้แก่ การได้รับค าแนะน า การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การ เสริมแรงจากครู การแก้ไขข้อผิดพลาด และรู้ผลว่าตนเองกระท าได้ถูกต้องหรือไม่ จากองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดังกล่าว ท าให้ผู้วิจัยได้น ามาเป็น แนวคิดในการพิจารณาการจัดท าแบบทดสอบให้กับผู้เรียน แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1. ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์นี้ ผู้วิจัยต้องศึกษาคันคว้าเกี่ยวกับ แบบทดสอบที่เป็นเครื่องมือของการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ดังนี้ บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 53) กล่าวว่า แบบทดสอบวัคผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ความสามารถของบุคคลในด้านวิชาการ ซึ่งเป็นผลจากการเรียนรู้เนื้อหา สาระและตามจุดประสงค์ของวิชาหรือเนื้อหาที่สอนนั้น โดยทั่วไปจะวัดผลสัมฤทธิ์ในวิชาต่าง ๆ ที่ เรียน อาจจ าแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. แบบทดสอบอิงเกณฑ์ หมายถึง แบบทดสอบที่สร้างขึ้นตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มี คะแนนจุดตัดหรือคะแนนเกณฑ์ส าหรับใช้ตัดสินว่าผู้เรียนมีความรู้ตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้หรือไม่ การ วัดตรงตามจุดประสงค์เป็นหัวใจส าคัญของข้อสอบในแบบทดสอบประเภทนี้ 2. แบบทดสอบอิงกลุ่ม หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งสร้างเพื่อวัดให้ครอบคลุมหลักสูตรตาม ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ความสามารถในการจ าแนกผู้สอบคามความเก่ง อ่อนได้ดี เป็นหัวใจส าคัญ ของข้อสอบในแบบทดสอบประเกทนี้ การรายงานผลการสอบอาศัยคะแนนมาตรฐาน ซึ่งเป็นคะแนน ที่สามารถ ให้ความหมายแสดงถึง สถานภาพ ความสามารถของบุคคลนั้น เมื่อเปรียบเทียบกับบุคลอื่น ที่ใช้กลุ่มเปรียบเทียบ เยาวดี วิบูลย์ศรี (2554 : 16) กล่าวว่าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ แบบทดสอบที่สร้างขึ้นเพื่อใช้วัดผลของการเรียนการสอนหรือเป็นแบบทดสอบมาตรฐานที่ใช้ส าหรับ วัดทักษะ หรือความรู้ที่ได้เรียนรู้มา วนิดา เทียนเจษฎา (2556 : 96) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบ ที่น ามาใช้วัดปริมาณความรู้ ความสามารถ ทักษะเกี่ยวกับวิชาการที่นักเรียนได้เรียนรู้ มาจากการสั่ง สอนของครูว่าได้รับรู้มามากน้อยเพียงไร เป็นเครื่องมือของครูที่ใช้ส าหรับวัดความสามารถของ นักเรียนนั่นเอง
17 จากความหมายที่นักวิชาการให้ไว้ พอสรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบที่สร้างขึ้นเพื่อน ามาใช้วัดความรู้ความสามารถ ทักษะเกี่ยวกับวิชาการที่นักเรียน ได้ เรียนรู้ 2. ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเภท ต่าง ๆ ของแบบทดสอบเพื่อน ามาใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบโดยศึกษาจาก สมนึก ภัททิยธนี (2546 : 73-79) ที่กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์มีหลายรูปแบบ แต่ที่นิยมใช้ มี 6 รูปแบบ ดังนี้ 1. แบบอัตนัยหรือความเรียง (Subjective or Essay Test) เป็นข้อสอบที่มีเฉพาะค าถาม แล้วให้นักเรียนเขียนตอบอย่างเสรี เขียนบรรยายตามความรู้และข้อคิดของแต่ละคน 2. แบบกาถูก-ผิด (True - false Test) เป็นข้อสอบแบบกาถูก-ผิด คือ ข้อสอบแบบ เลือกตอบที่มี 2 ตัวเลือก แต่ละตัวเลือกดังกล่าวเป็นแบบคงที่และมีความหมายตรงกันข้าม เช่น ถูกผิด ใช่ - ไม่ใช่ จริง- ไม่จริง เหมือนกัน - ต่างกัน เป็นต้น 3. แบบเติมค า (Completion Test) เป็นข้อสอบที่ประกอบด้วยประโยคหรือข้อความที่ยัง ไม่สมบูรณ์แล้วให้ผู้ตอบเดิมค าหรือประโยคหรือข้อความลงในช่องว่างที่เว้นไว้นั้นเพื่อให้มีใจความและ ถูกต้อง 4. แบบตอบสั้น ๆ (Short Answer Test) เป็นข้อสอบที่คล้ายกับข้อสอบแบบเติมค าแต่ แตกต่างกันที่ข้อสอบแบบตอบสั้น ๆ เขียนเป็นประโยคค าถามสมบูรณ์แล้วให้ผู้ตอบเป็นคนเขียน ค าตอบ ค าถามที่ต้องการจะสั้นและกะทัดรัดได้ใจความสมบูรณ์ไม่ใช่เป็นการบรรยายแบบข้อสอบ อัตนัยหรือเรียงความ 5. แบบจับคู่ (Matching Test) เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบชนิดหนึ่ง โคยมีค าหรือข้อความ แยกออกจากกันเป็น 2 ชุด (ตัวเลือก) ซึ่งมีความสัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ผู้ออกข้อสอบ ก าหนด 6. แบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) เป็นข้อสอบที่มี 2 ตอน คือ ตอนน าหรือ ค าถาม (Stem) กับตอนเลือก (Choice) ก าหนดให้นักเรียนพิจารณาแล้วหาตัวเลือกที่ถูกต้องมากที่สุด เพียงตัวเลือกเดียว และค าถามแบบเลือกตอบที่ดี นิยมใช้ตัวเลือกที่ใกล้เคียงกันดูเผิน ๆ จะเห็นว่าทุก ตัวเลือกถูกหมดแต่ความจริงมีน้ าหนักถูกมากน้อยต่างกัน ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประเภทแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดยผ่านการวิเคราะห์และปรับปรุงให้มีคุณภาพดี เพื่อใช้เป็นเครื่องมือใน การทดลองหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD เรื่อง ตรรกศาสตร์ เบื้องต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกมาปีที่ 4
18 3. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ การเรียงล าดับขั้นตอนในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ช่วยให้ผู้วิจัยมีหลักการและ แนวทางที่ถูกต้อง โดยการศึกษาจาก พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2552 :51-53) กล่าวว่า การสร้าง แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์มีขั้นตอนการด าเนินการดังนี้ 1. วิเคราะห์หลักสูตรและสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร การสร้างแบบทดสอบควรเริ่มต้น ด้วยการวิเคราะห์หลักสูตร เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาสาระและพฤติกรรมที่ต้องการจะวัด ตารางวิเคราะห์ หลักสูตรจะเป็นกรอบในการออกข้อสอบ ซึ่งระบุจ านวนข้อสอบในแต่ละเรื่องและพฤติกรรมที่ต้องการ จะวัดไว้ 2. ก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมที่เป็นผลการเรียนรู้ ที่ผู้สอนมุ่งหวังจะให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ซึ่งผู้สอนจะก าหนดไว้ล่วงหน้าส าหรับเป็นแนวทางในการจัดการ เรียนการสอน และสร้างข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 3. ก าหนดชนิดของข้อสอบและวิธีการสร้าง โดยศึกษาตารางวิเคราะห์หลักสูตรและ จุดประสงค์การเรียนรู้ ผู้ออกข้อสอบต้องพิจารณาตัดสินใจเลือกชนิดของข้อสอบที่จะใช้วัดว่าจะเป็น แบบใด โดยเลือกให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการเรียนรู้และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน แล้วศึกษา วิธีการเขียนข้อสอบชนิดนั้นให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักและวิธีการเขียนข้อสอบ 4. เขียนข้อสอบ ผู้ออกข้อสอบลงมือเขียนข้อสอบตามรายละเอียดที่ก าหนดไว้ในตาราง วิเคราะห์หลักสูตร และให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 5. ตรวจทานข้อสอบ เพื่อให้ข้อสอบที่เขียนไว้แล้ว มีความถูกต้องตามหลักวิชา มีความ สมบูรณ์ครบถ้วนตามรายละเอียดที่ก าหนดไว้ในตารางวิเคราะห์หลักสูตร ผู้ออกข้อสอบ ต้องพิจารณา ทบทวนตรวจทานข้อสอบอีกครั้งก่อนที่จะจัดพิมพ์และน าไปใช้ต่อไป 6. จัดพิมพ์แบบทดสอบฉบับทดลอง เมื่อตรวจทานข้อสอบเสร็จแล้วให้พิมพ์ข้อสอบทั้งหมด จัดเป็นแบบทดสอบฉบับทดลอง โดยมีค าชี้แจงหรือค าอธิบายวิธีตอบแบบทดสอบ(Direction) และจัด วางรูปแบบการพิมพ์ให้เหมาะสม 7. ทดลองและวิเคราะห์ข้อสอบเป็นวิธีการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบก่อนน าไปใช้ จริง โดยน าแบบทดสอบไปทดลองสอบกับกลุ่มที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มที่ต้องการสอนจริง แล้ว น าผล การสอบมาวิเคราะห์และปรับปรุงข้อสอบให้มีคุณภาพ 8. จัดท าแบบทดสอบฉบับจริง จากผลการวิเคราะห์ข้อสอบ หากพบว่าข้อสอบข้อใดไม่มี คุณภาพหรือมีคุณภาพไม่ดีพอ อาจจะต้องตัดทิ้งหรือปรับปรุงแก้ไขข้อสอบให้มีคุณภาพดีขึ้น แล้วจึง จัดท าเป็นแบบทดสอบฉบับจริงที่จะน าไปทดสอบกับกลุ่มเป้าหมายต่อไป
19 จากขั้นตอนทั้งหมดของการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ท าให้เชื่อได้ว่าแบบทดสอบ วัด ผลสัมฤทธิ์ที่ได้สามารถน าไปใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้ เพราะเป็นแบบทดสอบที่มีคุณภาพสอดคล้องกับ ตัวชี้วัดและสามารถน าไปใช้วัดความรู้ ความสามารถและทักษะต่าง ๆ ของนักเรียนได้เป็นอย่างดี การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD 1. ความหมายของการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD การเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์เทคนิค STAD มีชื่อเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า (Student Team Achievement Division) มีนักศึกษาได้ให้ความหมายไว้ดังนี้ สุวคนธ์ สินธพานนท์ (2550 :89) ได้กล่าวถึง การเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD ว่า เป็นเทคนิคแบ่งปันความส าเร็จ ที่มีพัฒนาการมาจากรูปแบบการแบ่งทีมแข่งขัน (TGT) แต่จะเป็นการ ร่วมมือกันระหว่างสมาชิกในกลุ่มโดยทุกคนจะพัฒนาความรู้ของตนเองในเรื่องที่ผู้สอนก าหนดซึ่งจะมี การช่วยเหลือติวความรู้ให้แก่กันมีการทดสอบความรู้เป็น รายบุคคลแทนการแข่งขันและรวมคะแนน เป็นกลุ่มกลุ่มที่ได้คะแนนมากที่สุดจะเป็นฝ่ายชนะ สุวิทย์ มูลค า (2551 :170) สรุปไว้ว่า การเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD เป็นการ เรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมืออีกแบบหนึ่ง ที่แบ่งผู้เรียนที่มีความสามารถแตกต่างกันออกเป็น กลุ่มเพื่อ ท างานร่วมกันกลุ่มละประมาณ 4–5 คน โดยก าหนดให้สมาชิกของกลุ่มได้เรียนรู้ใน เนื้อหาสาระที่ ผู้สอนจัดเตรียมไว้ สมาชิกกลุ่มจะต้องมีการก าหนดเป้าหมายร่วมกันช่วยเหลือซึ่ง กันและกันเพื่อ ความส าเร็จของกลุ่ม แล้วท าการทดสอบความรู้ คะแนนที่ได้จากการทดสอบ ของสมาชิกแต่ละคน น ามาเป็นคะแนนรวมของทีม ผู้สอนจะต้องใช้เทคนิคการเสริมแรง เช่น การให้รางวัลค าชมเชยเป็นต้น ทิศนา แขมมณี (2553 :266–267) สรุปไว้ว่า การเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD หมายถึง การจัดผู้เรียนเข้ากลุ่ม โดยคละความสามารถ (เก่ง ปานกลาง อ่อน) กลุ่มละ 4 คน เพื่อ ศึกษาเนื้อหาสาระร่วมกัน เนื้อหาสาระนั้นอาจมีหลายตอน ซึ่งผู้เรียนอาจต้องท า แบบทดสอบในแต่ ละตอน และเก็บคะแนนของตนไว้ และมีการทดสอบครั้งสุดท้าย ซึ่งเป็น การทดสอบรวบยอดและน า คะแนนของตนไปหาคะแนนพัฒนาการ (Improvement Score) หลังจากนั้นน าคะแนนพัฒนาของ แต่ละคนในกลุ่มมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มใดได้คะแนนพัฒนาการของกลุ่มสูงสุดกลุ่มนั้นได้ รางวัล วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2553 : 26) สรุปไว้ว่า การเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD เป็น กิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนที่มีระดับสติปัญญาและความสามารถแตกต่างกันมาท างาน ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประมาณ 4–5 คน โดยครูเป็นผู้ก าหนดบทเรียน และงานของกลุ่มครูเป็นผู้ เสนอบทเรียนให้กับนักเรียนทั้งชั้น แล้วให้กลุ่มท างานตามที่ครูก าหนด นักเรียนช่วยเหลือซึ่งกันและ
20 กันคนที่เรียนเก่งช่วยเหลือเพื่อน ๆ เวลาสอบทุกคนต่างท าข้อสอบ ของตนแล้วครูน าคะแนนของ สมาชิกทุกคนภายในกลุ่มมาคิดเป็นคะแนนของกลุ่มและจัดล าดับ ของคะแนนทุกกลุ่ม แล้วปิด ประกาศให้ทุกคนทราบ 2. หลักพื้นฐานของการเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD การเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD นั้นสมาชิกในกลุ่มทุก คน ต้องปฏิบัติตามหลักการพื้นฐาน 5 ประการ ดังนี้ (ทิศนา แขมมณี. 2553 :269-270) 2.1 การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวก (Positive Interdependent) นักเรียนจะรู้สึกว่า ตนจ าเป็นต้องอาศัยผู้อื่นในการที่จะท างานกลุ่มให้ส าเร็จกล่าวคือ “ร่วมเป็นร่วมตาย” วิธีการที่จะท า ให้เกิดความรู้สึกแบบนี้ อาจจะท าได้โดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันเช่น ถ้านักเรียนท า คะแนนกลุ่มได้สูงแต่ ละคนจะได้รับรางวัลร่วมกันประเด็นที่ส าคัญ คือ สมาชิกทุกคนในกลุ่มจะต้องท างานกลุ่มให้เป็น ผลส าเร็จ ซึ่งความส าเร็จนี้จะขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วมใจของสมาชิกทุกคน จะไม่มีการยอมรับ ความส าคัญหรือความสามารถของบุคคลเพียงคนเดียว 2.2 การติดต่อสัมพันธ์โดยตรง (Face to Face Primitives Interaction) เนื่องจากการพึ่งพา อาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวก มิใช่จะท าให้เกิดผลโดยปาฏิหาริย์ แต่ผลที่เกิดขึ้นจากการพึ่งพาอาศัยซึ่ง กันและกันนั้น จะต้องมีการพูดคุย และเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันโดยเปิด โอกาสให้สมาชิกได้ น าเสนอแนวคิดใหม่ ๆ เพื่อเลือกสิ่งที่ดี สิ่งที่ถูกต้องและเหมาะสม 2.3 การรับผิดชอบงานของกลุ่ม (Individual Accountability at Group Work) โดยใช้ กิจกรรมแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์เทคนิค STAD จะถือว่าไม่ส าเร็จจนกว่าสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะได้ เรียนรู้เรื่องในบทเรียนได้ทุกคนเพราะฉะนั้นจึงจ าเป็นต้องวัดผลการเรียนของแต่ละคน เพื่อให้สมาชิก ในกลุ่มได้ช่วยเหลือเพื่อนที่เรียนไม่เก่ง บางทีครูอาจจะใช้วิธีสอบสมาชิกในกลุ่มเป็นรายบุคคลหรือสุ่ม เรียกบุคคลใดบุคลหนึ่งในกลุ่มเป็นผู้ตอบซึ่งกลุ่มจะต้องช่วยกันเรียนรู้ และช่วยกันท างาน มีความ รับผิดชอบงานของตนเป็นพื้นฐาน ซึ่งทุกคนต้องเข้าใจ และรู้แจ้งในงานที่ตนรับผิดชอบอันก่อให้เกิด ผลส าเร็จตามมา 2.4 ทักษะในความสัมพันธ์กับกลุ่มเล็กและผู้อื่น (Social Skills) นักเรียนทุกคน ไม่ได้มา โรงเรียนพร้อมกับทักษะในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น เพราะฉะนั้นจึงเป็นหน้าที่ของครูที่จะช่วย นักเรียนในการสื่อสารการเป็นผู้น า การไว้ใจผู้อื่นการตัดสินใจ การแก้ปัญหาความ ขัดแย้ง ครูควรแจ้ง สถานการณ์ที่จะส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้ทักษะมนุษยสัมพันธ์เพื่อให้สามารถท างานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากนั้นครูควรสอนทักษะ และมีการประเมินการท างานของกลุ่มนักเรียนด้วย การ ที่จัดนักเรียนที่ขาดทักษะในการท างานกลุ่มมาท างานร่วมกัน จะท าให้งานนั้นไม่ประสบผลส าเร็จ
21 เพราะกิจกรรมการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์เทคนิค STAD ไม่ได้หมายถึงแต่เพียงการที่จัด นักเรียนมานั่งท างานเป็นกลุ่มเท่านั้น ซึ่งจุดนี้เป็นหลักการหนึ่งที่ท าให้นักเรียนที่เรียนโดยการใช้ กิจกรรมการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์เทคนิค STAD แตกต่างจากการเรียนเป็นกลุ่มแบบเดิมที่เคย ใช้กันมานาน 2.5 กระบวนการกลุ่ม (Group Processing) กระบวนการกลุ่ม หมายถึง การให้นักเรียนมี เวลาและใช้กระบวนการในการวิเคราะห์ว่ากลุ่มท างานได้เพียงใด และสามารถใช้ทักษะสังคม และ มนุษยสัมพันธ์ได้อย่างเหมาะสมกับกระบวนการกลุ่มนี้ ช่วยให้สมาชิกในกลุ่ม ท างานได้ผลสามารถจัด กระบวนการกลุ่ม และสามารถแก้ปัญหาด้วยตัวของพวกเขาเอง ทั้งนี้ข้อมูลย้อนกลับ จากครูหรือ เพื่อนนักเรียนที่เป็นผู้สังเกตจะช่วยให้กลุ่มด าเนินการได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้น สรุปได้ว่า หลักพื้นฐานของการเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบ STAD ประกอบด้วย การ พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวกการติดต่อสัมพันธ์โดยตรง การรับผิดชอบงานของกลุ่มทักษะใน ความสัมพันธ์กับกลุ่มเล็กและผู้อื่นและกระบวนการกลุ่ม 3. ขั้นตอนการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์เทคนิค STAD สุลัดดา ลอยฟ้า และคณะ (2545 :19) ได้กล่าวถึง ขั้นตอนการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ เทคนิค STAD ประกอบด้วยขั้นตอนการสอน 5 ขั้น ดังนี้ ขั้นที่ 1 การน าเสนอบทเรียนต่อทั้งชั้น (Class Presentation) ครูจะท าการสอน เนื้อหา ของบทเรียนแก่นักเรียนพร้อมกันทั้งชั้น ซึ่งครูอาจใช้เทคนิควิธีการสอนรูปแบบใดนั้น ขึ้นอยู่กับ ลักษณะของเนื้อหาบทเรียนและการตัดสินใจของครูเป็นส าคัญที่จะเลือกวิธีที่ เหมาะสมพร้อมทั้ง ประกอบการอธิบาย การเสนอบทเรียนจะเหมือนกับการสอนกติกาของครูแต่ต่างกันที่จะต้องสัมพันธ์ และเน้นหน่วยการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจะต้องทาเป็นกลุ่มในขั้นต่อไป ด้วย ผู้เรียนจะต้องสนใจและตั้งใจ เรียนในขณะที่ครูสอนเนื้อหา เพราะจะมีผลในการท า แบบทดสอบย่อย ซึ่งผลการทดสอบจะเป็น ตัวก าหนดคะแนนของกลุ่ม ขั้นที่ 2 การเรียนกลุ่มย่อย (Team Study) กลุ่มประกอบด้วยนักเรียนประมาณ 4- 5 คน ซึ่ง มีความแตกต่างกันทั้งในแง่ของผลลัพธ์ทางการเรียนและเพศ หน้าที่ที่ส าคัญของกลุ่ม คือ การ เตรียมสมาชิกของกลุ่มให้สามารถท าแบบทดสอบได้ดี หลังจากการเสนอเนื้อหาของครูต่อนักเรียนทั้ง ชั้นแล้ว นักเรียนจะแยกท างานเป็นกลุ่มเพื่อศึกษาตามบัตรงานหรือกิจกรรมกลุ่ม ที่ครูก าหนดให้ โดย ส่วนมากแล้วกิจกรรมจะอยู่ในรูปแบบของการอภิปรายและการแก้ปัญหาร่วมกัน การเปรียบเทียบ ค าตอบและการแก้ความเข้าใจผิดของเพื่อนร่วมกลุ่ม ลักษณะที่ส าคัญที่สุดคือสมาชิกในกลุ่มจะต้อง สอนเพื่อนร่วมกลุ่ม ให้เข้าใจเนื้อหาที่จะเรียนการท างานของกลุ่ม ลักษณะนี้จะเน้นความสัมพันธ์
22 ของสมาชิกในกลุ่ม การนับถือตนเอง (Self-Esteem) และการยอมรับเพื่อนนักเรียนที่เรียนอ่อนสิ่งที่ นักเรียนควรค านึงในการท างานกลุ่มย่อยมีดังนี้ 1. นักเรียนจะต้องช่วยเหลือเพื่อนในทีมให้ได้เรียนรู้เนื้อหาที่เรียนอย่างถ่องแท้ 2. ไม่มีใครที่จะเรียนหรือศึกษาเนื้อหาจบเพียงคนเดียว โดยที่เพื่อนในกลุ่ม ยังไม่ เข้าใจเนื้อหา 3. ถ้าไม่เข้าใจให้ปรึกษาเพื่อนในกลุ่มก่อนจึงปรึกษาอาจารย์ 4. เพื่อนร่วมกลุ่มต้องปรึกษาหารือกันเบา ๆ ไม่ให้รบกวนผู้อื่นการจัดการเรียน การสอนกลุ่มย่อย ครูควรสนับสนุนในสิ่งต่อไปนี้ 4.1 ให้โอกาสผู้เรียนในการตั้งชื่อกลุ่ม 4.2 นักเรียนสามารถเคลื่อนย้ายโต๊ะ เก้าอี้ภายในกลุ่มหรือย้ายที่ท างานของกลุ่ม ภายในชั้นเรียนได้ 4.3 แนะนาให้ผู้เรียนร่วมมือกันท างานเป็นคู่หรือ 3 คนก็ได้ โดยการตรวจ ผลงานของกันและกัน เมื่อมีการผิดพลาดเพื่อนในกลุ่มต้องช่วยอธิบายให้เข้าใจ 4.4 ไม่ควรจบการศึกษาเนื้อหาง่าย ๆ จนกว่าจะแน่ใจว่าเพื่อนในกลุ่มทุกคน พร้อมที่จะท าข้อสอบได้ 100 % 4.5 ให้มีการอธิบายค าตอบซึ่งกันและกัน แล้วจึงนาไปตรวจกับบัตรเฉลยค าตอบ 4.6 เมื่อมีปัญหาให้ปรึกษาเพื่อนในกลุ่มก่อนจึงปรึกษาครู 4.7 ระหว่างที่ผู้เรียนท ากิจกรรม ครูควรเดินไปรอบ ๆ ห้องเพื่อให้นักเรียนได้มี โอกาสปรึกษาหารือได้สะดวก และเป็นการเสริมกาลังใจให้แก่ผู้เรียนด้วย ขั้นที่ 3 การทดสอบย่อย (Test) หลังจากการเรียนได้ประมาณ 1-2 คาบเรียน นักเรียนจะต้อง ได้รับการทดสอบในระหว่างการท าการทดสอบ ไม่อนุญาตให้นักเรียนในกลุ่มช่วยเหลือกัน ทุกคนท า ข้อสอบตามความสามารถของตนเอง ขั้นที่ 4 คะแนนความก้าวหน้าของแต่ละคน (Individual Improvement Scores) ความคิด ที่อยู่เบื้องหลังของคะแนนในการพัฒนาตนเองของผู้เรียน คือ การให้นักเรียนแต่ละคน มีเป้าหมาย เกี่ยวกับผลการเรียนของตนเองที่จะต้องท าให้ได้ตามเป้าหมายนั้น ซึ่งนักเรียนจะท าได้หรือไม่ ขึ้นอยู่ กับการท างานหนักเพิ่มมากขึ้นกว่าที่ท ามาแล้วในบทเรียนก่อน นักเรียนทุกคนมีโอกาสได้คะแนน สูงสุดเพื่อช่วยกลุ่ม ซึ่งจะท าไม่ได้เลยถ้าคะแนนในการสอบต่ ากว่าคะแนนที่ได้ในครั้งก่อน นักเรียน แต่ละคนมีคะแนนที่เป็น “ฐาน” ซึ่งได้จาการเฉลี่ยคะแนนในการสอบ ครั้งก่อนหรือคะแนนเฉลี่ยจาก
23 แบบทดสอบที่คล้ายคลึงกัน คะแนนของนักเรียนส าหรับกลุ่มขึ้นอยู่กับว่าคะแนนของเขาห่างจาก คะแนน “ฐาน” มากน้อยเพียงใด ขั้นที่ 5 กลุ่มได้รับการยกย่อง (Team Recognition) กลุ่มจะได้รับรางวัล เมื่อคะแนน เฉลี่ยของกลุ่มถึงเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ในการจัดการเรียนการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์กันเรียนรู้นั้น Slavin (1980 : 13) ผู้พัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD ขึ้นซึ่งเป็น วิธีการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ที่ง่ายที่สุดและเหมาะส าหรับครูที่จะน าไปจัดการเรียน การสอนรูปแบบการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD มี 5 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 การน าเสนอบทเรียน (Class Presentation) เป็นการแนะน าบทเรียนเบื้องต้น โดย ครูเป็นผู้น าเสนอสิ่งที่นักเรียนต้องการเรียนด้วยวิธีแบบต่าง ๆ ได้แก่ การบรรยาย สาธิตอธิบายและ แสวงหาเหตุผล ใช้ถาม ทดลอง อุปนัย เป็นต้น และใช้สื่อการเรียนการสอนที่ กระตุ้นให้เด็กอยากที่จะ เรียนรู้ ซึ่งนักเรียนแต่ละคนจะต้องตั้งใจเรียนในระหว่างที่ครูน าเสนอ เพราะว่าจะเป็นการช่วยให้ นักเรียนสามารถท าแบบทดสอบประจ าเนื้อหาย่อยได้ดีและส่งผลต่อคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มด้วย ขั้นที่ 2 การท างานเป็นทีม (Teams) ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มจะประกอบด้วย นักเรียนประมาณ 4–5 คน ที่มีความสามารถทางวิชาการแตกต่างกัน มีเพศต่างกัน โดยหลังจากที่ครู น าเสนอบทเรียนแล้ว แต่ละกลุ่มจะได้รับมอบหมายให้ท ากิจกรรมหรือได้เรียนรู้ จากสื่อต่าง ๆ สมาชิก ภายในกลุ่มต้องช่วยกันอภิปราย ปรึกษาหาหรือเกี่ยวกับปัญหาต่างๆ ในการท ากิจกรรมมีการ เปรียบเทียบและตรวจทานค าตอบร่วมกัน และเมื่อแน่ใจว่าทุกกลุ่มมีความเข้าใจในบทเรียนแล้วก็จะ ได้รับการทดสอบประจ าเนื้อหาย่อย โดยนักเรียนแต่ละคนต่างคนต่างท าไม่อนุญาตให้ปรึกษาหรือ ซักถามกัน ขั้นที่ 3 การทดสอบย่อย (Quizzes) หลังจากที่นักเรียนในแต่ละกลุ่มท างานเสร็จเรียบร้อย แล้ว ครูก็ให้นักเรียนท าแบบทดสอบย่อย โดยให้นักเรียนต่างคนต่างท าแบบทดสอบเพื่อเป็นการ ประเมินความรู้ที่นักเรียนได้เรียนมา วิธีการนี้จะช่วยกระตุ่นให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ขั้นที่ 4 คะแนนพัฒนาการของนักเรียนแต่ละคน (Individual Improvement Score) คะแนนพัฒนาการของนักเรียน จะเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนท างานหนักมากขึ้นในการ ทดสอบแต่ละ ครั้งครูจะมีคะแนนฐาน (Bas Score) และคะแนนพัฒนาการของนักเรียนแต่ละคน หาได้จากความ แตกต่างระหว่างคะแนนฐาน (คะแนนเฉลี่ยในการทดสอบย่อยที่ผ่านมาก่อนมา ใช้ STAD) กับคะแนน ที่นักเรียนสอบได้จากการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ส่วนคะแนนของ กลุ่ม (Team Score) หาได้จากคะแนนเฉลี่ยโดยการรวมคะแนนพัฒนาการของนักเรียนทุกคนในกลุ่ม แล้วหารด้วย จ านวนสมาชิกในกลุ่มแต่ละคน
24 ขั้นที่ 5 การรับรองผลงานของกลุ่ม (Team Recognition) เป็นการประกาศ คะแนนกลุ่มให้ แต่ละกลุ่มทราบ พร้อมกับให้ค าชมเชย หรือให้ประกาศนียบัตรหรือให้รางวัล กับกลุ่มที่มีคะแนน พัฒนาการของกลุ่มสูงสุดและครูควรชี้แจงกับนักเรียนว่า คะแนนพัฒนาการ ของนักเรียนแต่ละคนมี ความส าคัญ เท่าเทียบกับคะแนนที่นักเรียนแต่ละคนได้รับจากการ ทดสอบส าหรับเกณฑ์คะแนน เฉลี่ยของกลุ่ม ทิศนา แขมมณี (2553: 266) สรุปไว้ว่า การเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD มีขั้นตอน ดังนี้ 1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ (เก่ง - กลาง - อ่อน) กลุ่มละ 4 คนและ เรียกกลุ่มนี้ ว่า กลุ่มบ้านของเรา (Home Group) 2. สมาชิกในกลุ่มได้รับเนื้อหาสาระและศึกษาเนื้อหาสาระนั้นร่วมกันเนื้อหา สาระนั้นอาจมี หลายตอน ซึ่งผู้เรียนอาจต้องท าแบบทดสอบในแต่ละตอนและเก็บคะแนนของตนไว้ 3. ผู้เรียนทุกคนท าแบบทดสอบครั้งสุดท้ายซึ่งเป็นการทดสอบรวบยอดและน าคะแนนของตน ไปหาคะแนนพัฒนาการ (Improvement Score) ซึ่งหาได้ดังนี้ คะแนนพื้นฐาน : ได้จากค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบย่อยหลาย ๆ ครั้ง ที่ผู้เรียนแต่ละคนท า ได้ คะแนนที่ได้ : ได้จากการน าคะแนนทดสอบครั้งสุดท้ายลบคะแนนพื้นฐาน คะแนนพัฒนาการ : ถ้าคะแนนที่ได้ คือ -11 ขึ้นไป คะแนนพัฒนาการ = 0 -1 ถึง -10 คะแนนพัฒนาการ = 10 +1 ถึง 10 คะแนนพัฒนาการ = 20 +11 ขึ้นไป คะแนนพัฒนาการ = 30 4. สมาชิกในกลุ่มน าคะแนนพัฒนาการของแต่ละคนในกลุ่มมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มใดได้คะแนนพัฒนาการกลุ่มสูงสุดกลุ่มนั้นได้รางวัล 5. การเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนการสอนแบบนี้ท าได้ดังนี้ 5.1 การจัดกลุ่มผู้เรียนกลุ่มละ 4 ให้มีความเก่ง 1 คน คนอ่อน 1 คน อีกสองคน มีความสามารถปานกลาง 5.2 จะต้องเลือกและก าหนดงานให้เหมาะสมกับการท างานกลุ่มมีแบบฝึกทักษะ ที่ เสริมให้เกิดการเรียนรู้มากพอ 5.3 ช่วยให้ทุกคนเข้าใจและตระหนักว่า ผลงานของตนเป็นส่วนหนึ่งของผลงานของ กลุ่มการท างานของตนเพื่อบรรลุเป้าหมายของกลุ่ม
25 5.4 นอกจากจะชมเชยผู้ที่ได้คะแนนดีขึ้น หรือกลุ่มที่ได้คะแนนเพิ่มขึ้นควร ชมเชยบุคคลหรือกลุ่มที่ที่ให้ได้บรรลุผลในระดับสูง เช่น ได้คะแนนระหว่าง 80% ถึงเต็ม 100% สรุปได้ว่า ขั้นตอนการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์เทคนิคSTADประกอบด้วย 5 ขั้น คือ ขั้น การน าเสนอบทเรียน ขั้นการท างานเป็นทีม ขั้นการทดสอบย่อย ขั้นคะแนนพัฒนาการของนักเรียนแต่ ละคนและขั้นการรับรองผลงานของกลุ่ม ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ยึดขั้นตอน การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD ของสลาวินมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยในประเทศ วัลยา บุณอากาศ (2556) ได้ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สูง กว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยยะส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ทักษะการ คิดวิเคราะห์ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่านักเรียนที่รับ การจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยยะส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สุภาภรณ์ พรรัตนกิจกุล (2557) ได้พัฒนาชุดการเรียนประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิคแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ เรื่องโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 พบว่า 1) ชุดการเรียนที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 70/70 โดยมีประสิทธิภาพ 72.65/72.23 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนที่พัฒนาขึ้นมีผลสัมฤทธิ์ทาง การ เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) นักเรียนที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรม ที่พัฒนาขึ้นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยยะ ส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) พฤติกรรมการท างานกลุ่มของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุด การเรียนดังกล่าวมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ลียานา ประทีปวัฒนพันธ์ (2558) ได้การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนห้องเรียน สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักร การเรียนรู้ 7E ร่วมกับการเรียนแบบ STAD พบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E ร่วมกับการเรียนแบบ STAD ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 82.87/77.58 2) เมื่อเปรียบเทียบ
26 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยกับเกณฑ์ร้อยละ 75 นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 77.58 ซึ่งไม่ สูงกว่าเกณฑ์ ที่ก าหนดไว้ อย่างมีนัยยะส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 พรรณภา อร่ามรุณ, โกมินทร์ บุญชู และ สวาท โชติ (2560) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ STAD พบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส หลังใช้การจัดการเรียนรู้แบบ STAD สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส หลังใช้การจัดการเรียนรู้แบบ STAD สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีทักษะการท างานกลุ่ม หลังการจัดการเรียนการสอนแบบ STAD โดยรวมอยู่ในระดับดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายแผน พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ย สูงสุด รองลงมาคือแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 และแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ตามล าดับ 4) นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีเจตคติทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส หลังใช้การ จัดการเรียนรู้แบบ STAD โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณา พบว่า ข้อ 3 ข้าพเจ้าจะเลิกท า แบบฝึกหัดทันทีเมื่อคิดหรือแก้ปัญหาทฤษฎีบทปีทาโกรัส ไม่ได้มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ข้อ 8 ความสุขกับการเรียนทฤษฎีบท ปีทาโกรัส และ ข้อ 11 หลีกเลี่ยงที่จะตอบค าถามเกี่ยวกับทฤษฎีบท ปีทาโกรัส ตามล าดับ ชยุตม์ ม้าเมือง และ ธนวัฒน์ ศรีศิริวัฒน์ (2563) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การ สร้างทางเรขาคณิตโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) ในพระราชูปถัมภ์ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง การสร้างทางเรขาคณิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD สูงกว่าก่อนเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STADอย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ งานวิจัยต่างประเทศ Armstrong (1998) ได้ศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ในการจัด กลุ่มนักเรียน โดยยึดหลักเกณฑ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นทีม (STAD) โดยศึกษากับนักเรียนที่เรียน อยู่ในเกรด 12 จ านวน 47 คน ที่ได้รับการสอนแบบปกติกับการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ พบว่า การ จัดการเรียนรู้ทั้ง 2 แบบนั้นนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ต่างกัน แต่จากการสอบถามครูผู้สอน
27 พบว่า การเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ และสนุกสนานกับการเรียนมากจึงควร น าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน Adkinson (2008) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการเรียนแบบให้ความร่วมมือ (Cooperative Learning) ว่ามีผลกระทบต่อการเรียนและทัศนคติของเด็กผู้หญิงและเด็กผู้ชายที่มีต่อทักษะการเปลี่ยนแปลงด้าน คณิตศาสตร์ ในห้องเรียนเพศเดียวและห้องเรียนรวมเพศหรือไม่ ความมุ่งหมายในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิธีการสอน โดยใช้กลุ่มร่วมมือแบบ STAD กับการเรียนรู้เป็น รายบุคคลตามปกติ กลุ่ม ตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับเกรด 4 และเกรด 5 ผลการวิจัยในครั้งนี้ พบว่า การสอนด้วยกลุ่มร่วมมือ แบบ STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าการสอนเป็นรายบุคคลตามปกติและมีทัศนคติ ตลอดจนปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อครูผู้สอนและกิจกรรมการเรียนรู้ในวิชาที่ได้เรียน Tarim & Akdeniz (2008) ได้ศึกษาผลการเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน ซึ่งเน้น การเรียนแบบกลุ่มร่วมมือในรายวิชาคณิตศาสตร์ พบว่า จากการสุ่มตัวอย่างนักเรียนในห้องมา ประมาณ 7 คน ได้ท าการทดลองแบบกลุ่มร่วมมือระหว่างแบบ TAI กับ แบบ STAD ปรากฏว่ามี นัยส าคัญทางสถิติที่ 1.003 และ .04 ตามล าดับ ซึ่งจากการทดลองการเรียน แบบกลุ่มร่วมมือพบว่า นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ที่คงทนถาวร กรอบแนวคิดการวิจัย จากการที่ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยมีตัวแปรต้นและตัวแปรตาม ดังนี้ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย การเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์เทคนิค STAD ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ
28 ขั้นตอนการเรียนด้วยการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ด้วยเทคนิค STAD ภาพที่ 2 ขั้นตอนการเรียนด้วยการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ด้วยเทคนิค STAD น าเสนอบทเรียน (Class Presentation) จัดกลุ่มการเรียนรู้ (Teams) การเรียนเป็นกลุ่ม (Study in groups) ตระหนักถึงความส าเร็จของกลุ่ม (Team Recognition) การทดสอบ (Quiz) ครูเป็นผู้น าเสนอสิ่งที่นักเรียนต้องเรียน ไม่ว่าจะเป็นมโนทัศน์ ทักษะและ /หรือกระบวนการ ครูจะแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ แต่กลุ่มจะ ประกอบด้วยนักเรียนแตกต่างกัน มีทั้งเพศ หญิงและเพศชายและคละความสามารถ ครูให้นักเรียนแต่ละคนท าใบกิจกรรมการ เรียนรู้เพื่อหาคะแนนของแต่ละคนและน าไป คิดคะแนนกลุ่ม นักเรียนร่วมกันศึกษา เรียนรู้ภายในกลุ่มโดย ปรึกษาหารือภายในกลุ่ม ประกาศคะแนนของกลุ่มแต่ละกลุ่มให้ทราบ พร้อมกับให้ค าชมเชย หรือให้ ประกาศนียบัตร หรือให้รางวัลกับกลุ่ม ที่มีคะแนนพัฒนาการของกลุ่มสูงสุด
บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์โดย ใช้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยด าเนินการ ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. แบบแผนการทดลอง 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล 6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 675 คน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566 โรงเรียนสว่างแดนดิน อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 1 จ านวน 36 คน ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสว่างแดนดิน อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ซึ่งได้มาจาก การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) แบบแผนการทดลอง การศึกษาครั้งนี้มีแบบแผนการทดลอง (Experimental Design) กลุ่มเดียวทดสอบก่อนเรียน และหลังการทดลอง One Group Pretest – Posttest Design (พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2540 : 60-61) ตารางที่1 แบบแผนการทดลองกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังการทดสอบ กลุ่ม สอบก่อน ทดลอง สอบหลัง E T1 X T2 สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบแผนการทดลอง
30 E แทน กลุ่มทดลอง (Experimental Group) T1 แทน การทดสอบก่อนเรียน (Pretest) X แทน การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์(STAD) T2 แทน การทดสอบหลังเรียน (Posttest) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ใช้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์เรื่อง สถิติ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 8 แผน 1.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ขอ 2. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ผู้วิจัยได้ก าหนดรายละเอียดของการสร้างและหาประสิทธิภาพของเครื่องมือฯ ดังนี้ 2.1 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใชในการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์STAD เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยได้ด าเนินการสร้างและพัฒนา ดังนี้ 2.1.1 ศึกษาและวิเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี และการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์STAD 2.1.2 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คู่มือครู หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่จัดท าโดยกระทรวงศึกษาธิการ 2.1.3 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนสว่างแดนดิน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2.1.4 สร้างตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหา บทที่ 1 เรื่อง สถิติ 2.1.5 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD)เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 8 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง รวม 8 ชั่วโมง ใช้ในการ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2 ชั่วโมง รวม 10 ชั่วโมง 2.1.6 น าแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจ านวน 3 ท่าน เป็น ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนคณิตศาสตร์ ด้านหลักสูตรและการสอน การวิจัย และการวัดผล ประเมินผล ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม ความสอดคล้องและความเป็นไปได้ระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้
31 เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนรู้และการวัดประเมินผล โดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบ ให้ คะแนนดังนี้ - ให้คะแนนเป็น +1 เมื่อแน่ใจว่าองค์ประกอบนั้นเหมาะสมและสอดคล้อง - ให้คะแนนเป็น 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าองค์ประกอบนั้นเหมาะสมและสอดคล้อง - ให้คะแนนเป็น -1 เมื่อแน่ใจว่าองค์ประกอบนั้นไม่เหมาะสมและสอดคล้อง แ ล้ วน าค ะ แนนที่ได้ม าห าค่ าดั ชนี ค ว าม สอ ดคล้ อง ( Index of Item – Objective Congruence : IOC) ระหว่างองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งค่าดัชนีความสอดคล้องของ ทุกองค์ประกอบเท่ากับ 1.00 2.1.7 ปรับปรุง และแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้ตามข้อเสนอ 2.1.8 น าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วเสนอผู้เชี่ยวชาญอีกครั้งหนึ่งเพื่อ ตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขเป็นฉบับสมบูรณ์ที่ใช้ในการทดลองภาคสนาม 2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบมี 4 ตัวเลือก มีขั้นตอนในการสร้างและหา ประสิทธิภาพดังนี้ 2.2.1 ศึกษาทฤษฎี วิธีสร้าง เทคนิคการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ คู่มือการจัดการ เรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สถิติ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาชั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) 2.2.2 สร้างตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหา 2.2.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ แบบปรนัยชนิด เลือกตอบมี 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ ให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระและผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2.2.4 น าแบบทดสอบที่สร้างขึ้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ด้านการสอน การวิจัย และด้านการวัดผลและประเมินผลเพื่อตรวจสอบ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา ตรวจสอบ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ - ให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดได้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง - ให้คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดได้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง - ให้คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดไม่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
32 2.2.5 น าผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อ ค าถามของแบบทดสอบกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยหาค่า IOC ซึ่งได้ค่าตั้งแต่ 0.67 ขึ้นไปทุกข้อ 2.2.6 น าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไปทดลองกับนักเรียนที่ก าลังเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสว่างแดนดิน ที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์ผ่านมาแล้วและไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างของ การวิจัย แล้วน าคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย(p) และหาค่าอ านาจจ าแนก(r) เป็นราย ข้อ ซึ่งมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.47 - 0.77 มีค่าอ านาจจ าแนกตั้งแต่ 0.30 ขึ้นไป 2.2.7 น าข้อสอบที่คัดเลือกแล้วไปทดสอบเพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้ง ฉบับ โดยใช้สูตรของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน KR-20 ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับตั้งแต่ 0.70 ขึ้นไป 2.2.8 น าแบบทดสอบที่ได้ไปวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสว่างแดนดิน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการทดลองภาคสนามต่อไป การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้รายงานได้ด าเนินการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างตามล าดับดังนี้ 1. ก่อนการทดลองให้นักเรียนท าแบบทดลองวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สถิติ 2. ผู้วิจัยด าเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น จ านวน 8 แผน โดยให้นักเรียน เรียนและปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD 3. เมื่อสิ้นสุดการทดลองสอนแล้วน าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดิมไป ทดสอบอีกครั้ง จากนั้นน าผลที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยด าเนินการโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทาง สถิติส าหรับข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ตามขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการ ค านวณหาคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและร้อยละ 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการทดสอบทีแบบไม่อิสระ (t – test for Dependent Sample)
33 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างคะแนนหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ด้วยการทดสอบทีแบบกลุ่มเดียว (t - test for One Sample) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยเลือกสถิติ ดังนี้ 1. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือ 1.1 การหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (สมนึก ภัททิยธนี, 2546) ค านวณได้จากสูตร IOC = ∑ R N เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้อง ∑ R แทน ผลรวมของความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ N แทน จ านวนของผู้เชี่ยวชาญ 1.2 การหาความเชื่อมั่น (Measure) ของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (สมนึก ภัททิยธนี, 2546) ค านวณได้จากสูตร KR-20 = [ k k-1 ][1- ∑ pi qi st 2 ] เมื่อ KR-20 แทน สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของคูเลอร์ – ริชาร์ดสัน 20 pi แทน สัดส่วนของผู้ตอบถูกในข้อ i qi แทน สัดส่วนของผู้ตอบผิดในข้อ i = 1 – p st 2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวม k แทน จ านวนข้อสอบ 1.3 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป Test Analysis Programs (TAP) 1.3.1 ค่าความยากง่ายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.3.2 ค่าอ านาจจ าแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. สถิติพื้นฐาน ที่ใช้อธิบายลักษณะของข้อมูลพื้นฐานเป็นกลุ่ม/รายบุคคล 2.1 ค่าเฉลี่ย (x̅) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ค านวณได้จากสูตร
34 x̅ = ∑ x N เมื่อ x̅ แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง ∑ x แทน ผลรวมของคะแนนในกลุ่มตัวอย่าง N แทน จ านวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง 2.2 ค่าร้อยละ (Percentage) (บุญชม ศรีสะอาด, 2543 : 101) ค านวณได้จากสูตร P = f N x 100 เมื่อ p แทน ค่าร้อยละ f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จ านวนความถี่ทั้งหมด 2.3 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ค านวณได้จากสูตร S.D. = √ N ∑ x 2 - ( ∑ x) 2 N(N-1) เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละคน ∑ x 2 แทน ผลรวมคะแนนแต่ละคนยกก าลังสอง ( ∑ x) 2 แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกก าลังสอง N แทน จ านวนข้อมูลทั้งหมด ซึ่งในการค านวณหาค่าค่าเฉลี่ย (x̅) ร้อยละ (Percentage) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค านวณผลโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติส าหรับวิเคราะห์ข้อมูลทางสังคมศาสตร์ (SPSS for Windows) 3. สถิติที่ใช้ทดสอบสมมุติฐาน โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติส าหรับข้อมูลทาง สังคมศาสตร์(SPSS for Windows) 3.1 สถิติที่ใช้ทดสอบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียนคือ การทดสอบทีแบบไม่อิสระ 3.2 สถิติที่ใช้ทดสอบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 คือ การทดสอบทีแบบกลุ่มเดียว
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากการด าเนินการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร์ระหว่างก่อนและหลังเรียนหลังการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งผู้วิจัยขอน าเสนอผลการวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ของ การวิจัย และผลการศึกษาดังรายละเอียดต่อไปนี้ ตอนที่ 1 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ที่จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์STAD เรื่อง สถิติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลคะแนนของนักเรียนที่ได้จากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดย ใช้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็น รายบุคคลและภาพรวม ดังแสดงผลการวิเคราะห์ในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 คะแนนที่ได้ร้อยละ คะแนนเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนเป็นรายบุคคล คนที่ ก่อนเรียน หลังเรียน คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ 1 9 36 17 68 2 15 60 18 72 3 10 40 21 84 4 12 48 10 40 5 7 28 12 48 6 10 40 19 76 7 10 40 15 60 8 12 48 19 76 9 7 28 14 56
36 ตารางที่ 2 คะแนนที่ได้ร้อยละ คะแนนเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนเป็นรายบุคคล(ต่อ) คนที่ ก่อนเรียน หลังเรียน คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ 10 12 48 12 48 11 11 44 10 40 12 14 56 19 76 13 12 48 21 84 14 13 52 21 84 15 14 56 22 88 16 12 48 19 76 17 16 64 23 92 18 15 60 19 76 19 16 64 23 92 20 14 56 25 100 21 16 64 21 84 22 14 56 20 80 23 11 44 16 64 24 15 60 23 92 25 17 68 22 88 26 13 52 23 92 27 16 64 24 96 28 13 52 20 80 29 16 64 25 100 30 9 36 23 92 31 17 68 21 84 32 7 28 23 92 33 16 64 20 80
37 ตารางที่ 2 คะแนนที่ได้ร้อยละ คะแนนเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนเป็นรายบุคคล(ต่อ) คนที่ ก่อนเรียน หลังเรียน คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ 34 15 60 24 96 35 7 28 19 76 36 10 40 14 56 คะแนนเฉลี่ย(x)̅ 12.58 50.33 19.36 77.44 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน(S.D.) 3.05 4.12 จากตารางที่ 2 พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ที่เรียนโดยใช้การ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้คะแนน เฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 12.58 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 50.33 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 18.83 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 77.44 ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่เรียนโดยใชการจัดการเรียน รูแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ระหว่างหลังเรียนกับเกณฑ์ ร้อยละ 70 ผู้วิจัยได้น าคะแนนของผู้เรียนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียนเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ด้วยการทดสอบทีแบบกลุ่มเดียว (t – test for One Sample) ดังแสดงผลการวิเคราะห์ในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และการทดสอบทีแบบกลุ่มเดียว โดย เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่ม คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ t-test กลุ่มทดลอง 19.36 4.12 77.44 28.191 จากตารางที่ 3 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่เรียนโดยการ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ได้คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน เท่ากับ 19.36 คิดเป็นร้อยละ 77.44 เมื่อเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ผลปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนไม่ต่ ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 70
38 ตอนที่3 ผลการเปรียบเทีบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียนและหลัง เรียน ผู้วิจัยได้น าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน เปรียบเทียบกันด้วยการทดสอบทีแบบไม่อิสระ (t-test for Dependent Sample) ดังแสดงผลการ วิเคราะห์ในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และการทดสอบทีแบบไม่อิสระโดย เปรียบเทียบกับคะแนนเฉลี่ยระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ผลการทดลอง คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ t-test ก่อนเรียน หลังเรียน 12.58 19.36 3.05 4.12 50.33 77.44 10.91** หมายเหตุ ** มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากตารางที่ 4 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ที่เรียนโดยการ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ได้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 12.58 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 50.33 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 19.36 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 77.44 เมื่อเปรียบเทียบกัน ด้วยการทดสอบทีแบบไม่อิสระ (t-test for Dependent Sample) ผล ปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ผู้วิจัย สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ดังนี้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กับเกณฑ์ร้อยละ 70 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ระหว่างก่อนและหลังเรียนหลังการ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สมมติฐานของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้มีสมมติฐานของการวิจัย ดังนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่เรียนหลังการจัดการ เรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่เรียนโดยการจัดการ เรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน วิธีด าเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 675 คน ภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสว่างแดนดิน อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 8 จ านวน 42 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสว่างแดนดิน อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ซึ่งได้มาจากการสุ่ม ตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2.1 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ใช้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์เรื่อง สถิติ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 8 แผน