The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 206 ปิยะวัฒน์ ตาทิพย์, 2024-01-19 08:52:37

วิจัย

วิจัย

40 2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ขอ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล การด าเนินการเก็บรวมรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองในภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ซึ่งด าเนินการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างตามล าดับ ดังนี้ 3.1 ก่อนการทดลองให้นักเรียนท าแบบทดลองวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สถิติ 3.2 ผู้วิจัยด าเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น จ านวน 8 แผน โดยให้ นักเรียนเรียนและปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD 3.3 เมื่อสิ้นสุดการทดลองสอนแล้วน าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดิมไป ทดสอบอีกครั้ง จากนั้นน าผลที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติต่อไป 4. การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูลการขัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยด าเนินการโดยใช้โปรแกรม ส าเร็จรูปทางสถิติส าหรับข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ตามขั้นตอนดังนี้ 4.1 ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย การค านวณหาคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและร้อยละ 4.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการทดสอบทีแบบไม่อิสระ (t – test for Dependent Sample) 4.3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างคะแนนหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ด้วยการทดสอบทีแบบกลุ่มเดียว (t - test for One Sample) สรุปผลการวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งนี้สามารถสรุปผลได้ดังนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่เรียนโดยใช้การ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ได้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 12.58 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 50.33 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 19.36 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 77.44 และเมื่อ


41 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 พบว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนไม่ต่ ากว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่เรียนโดยการ จัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน อภิปรายผลการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมีประเด็นที่จะอภิปรายผลการวิจัย ดังนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่เรียนโดยการใช้ การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ได้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 12.58 แนน คิด เป็นร้อยละ 50.33 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 19.36 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 77.44 และเมื่อ เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 พบว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนไม่ต่ ากว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 1 ที่ว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตร์ที่เรียนหลังการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ สูงกว่า เกณฑ์ ร้อยละ 70 ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจาก การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ท าให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบกลุ่ม โดยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีโอกาสในการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงมีส่วน ร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม ท าให้เกิดความรู้ผ่านการร่วมมือกัน สอดคล้องกับทิศนา แขมมณี (2563, หนา 266 -267) ได้กล่าวถึงการสอนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์STAD ว่าเป็นวิธีสอนที่จัดผู้เรียน เป็นกลุ่มโดยคละความสามารถ ร่วมกันศึกษาเนื้อหาสาระ และช่วยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อความส าเร็จ ของกลุ่ม สอดคล้องกับ กิตติพัฒน ศรีช านิ(2561, หนา 25) ได้กล่าวว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เน้นการท างานเป็นกลุ่ม การเรียนรู้จะเกิดจากความร่วมมือ และช่วยเหลือกัน เพื่อให้กลุ่ม ตนเองบรรลุเป้าหมาย สอดคล้องกับ สุวคนธ์ สินธพานนท์ (2550 :89) กล่าวว่า การเรียนรู้แบบ ร่วมมือ STAD สมาสิกในกลุ่มจะร่วมมือกัน โดยทุกคนจะพัฒนาความรู้ของตนเองและมีการช่วยเหลือ ติวความรู้ให้แก่กัน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญอยู่ที่ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2 ที่ว่า นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง สถิติ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ วัลยา บุณ อากาศ (2556) ได้ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ


42 เรียนและทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยยะส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ทักษะการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่านักเรียนที่รับการ จัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยยะส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ชยุตม์ ม้าเมือง และ ธนวัฒน์ ศรีศิริวัฒน์ (2563) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การสร้างทาง เรขาคณิตโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) ในพระราชูปถัมภ์ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง การสร้าง ทางเรขาคณิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่าก่อนเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STADอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะส าหรับการน าผลการวิจัยไปใช้ จากการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะส าหรับการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการน าไปใช้ดังนี้ 1.1 ในการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ครูผู้สอนควรศึกษาและท าความ เข้าใจขั้นตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ชัดเจน จึงจะท าให้การเรียนมีความสนุกเกิดผลดีทั้ง นักเรียนและครูผู้สอน 1.2 ในการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ควรเตรียมสื่อให้พร้อมส าหรับ การท ากิจกรรมการเรียนรู้แต่ละครั้ง และควรจดบันทึกหลังสอนเพื่อให้ทราบปัญหา สิ่งที่ต้องแก้ไขเพื่อ ท าให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1.3 ครูคอยสังเกตพฤติกรรมการท างานของนักเรียนอย่างทั่วถึงและแจ้งการจัดกิจกรรม หรือการทดสอบให้นักเรียนทราบทันที เพื่อให้นักเรียนทราบผลงานของตนเองและกลุ่มตนเอง ซึ่งจะ ส่งผลให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นและเป็นแรงจูงใจในการท ากิจกรรมต่อไป 2. ข้อเสนอแนะส าหรับการวิจัยครั้งต่อไป ในการวิจัยครั้งต่อไป ผู้วิจัยขอเสนอแนะประเด็นที่ควรน ามาศึกษาดังนี้ 2.1 ควรศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD เกี่ยวกับตัวแปรตามด้าน อื่น ๆ เช่น ความคงทนในการเรียนรู้ พฤติกรรมการท างานกลุ่มเจตคติต่อกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นต้น


43 2.2 ในการจัดกิจกรรมโดยใช้รูปแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ควรใช้ควบคู่ไปกับสื่อการ สอนที่หลากหลายและน่าสนใจมากขึ้น 2.3 ควรมีการปรับปรุงขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD ให้มี ความเหมาะสมกับเนื้อหาและการจัดการเรียนการสอนในรรายวิชาคณิตศาสตร์


44 เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ . (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) . ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด . กนกวรรณ คงมี. (2560). ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เรื่อง การคูณและ การหารพหุนาม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง. กมลชนก เซ็นแก้ว. (2561). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้การจัด การเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ก าแพงเพชร. แก้วมะณี เลิศสนธิ์. (2557). การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว แบบร่วมมือแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. ชยุตม์ ม้าเมือง และ ธนวัฒน์ ศรีศิริวัฒน์. (2563). ได้ศึกษ าผลสัมฤทธิ์ท างการเรียน เรื่อง การสร้างทางเรขาคณิตโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2559). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ. นนทบุรี: พีบาลานซ์ดีไซด์แอนปริ้นติ้ง. พรรณภา อร่ามรุณ, โกมินทร์ บุญชู และ สวาท โชติ. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ STAD. สืบค้นจาก https://edu.kpru.ac.th/math//contents/research/6.pdf ลียานา ประทีปวัฒนพันธ์. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความ น่าจะเป็น ของนักเรียนห้องเรียน สสวท.ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E ร่วมกับการเรียนแบบ STAD. วารสารครุพิบูล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม


45 วัลย า บุญอ าก าศ. (2556) . ผลกา รจัดกา รเ รียน รู้แบบ ร่วมมือเทคนิค STAD ที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ สาขาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏร าไพพรรณี สุภาภรณ์ พรรัตนกิจกุล และ คงรัฐ นวลแปง. (2558). การพัฒนาชุดการเรียนประกอบการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. สืบค้นจาก https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/search2/article/view/3590 อุไรรัตน์ ธุระสุข. (2550). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้กลู่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องเศษส่วนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD. การศึกษาค้นคว้าอิสระ การศึกษามหาบัณฑิต มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


46 Adkinson, J. E. (2008). Capital Letter “Does Cooperative Learning Affect Girls’ and Boys’ Learning and Attitudes Toward Mathematic Transformation Skills in Single-sex and Mixed-sex Classrooms?”. Dissertation Abstracts Internationa, 68(11). Armstrong, D. S. (1998). The Effect of student Team – Achievement Division Cooperative Learning Technique on Upper Secondary Social Studies Achievement and Attitude Towards Social Studies Class. Suyanto, W. (1999). Capital LetterThe Effects of Student Teams-Achievement Divisions on. Tarim, K., & Akdeniz, F. (2008). Capital Letter “The Effects of Cooperative Learning on Turkish Elementary Students Mathematics Achievement and Attitude toward Mathematics Using TAI and STAD Methods”. Education Students in Mathematics, 67 ( 1 ), 77 -91.


47 ภาคผนวก


48 ภาคผนวก ก รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย


49 รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 1. นางสุดารัตน์ถิตย์ประเสริฐ ครู สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนสว่างแดนดิน อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 2. นายธ ารงเดช ธ ารงรัชพงศ์ ครู สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนสว่างแดนดิน อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 3. นางสุดารัตน์ พาเหนียว ครู สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนสว่างแดนดิน อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร


50 ภาคผนวก ข แบบตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ การหาดัชนีความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง สถิติ แบบตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง สถิติ


51 แบบตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือของผู้เชี่ยวชาญ การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง สถิติ ค าชี้แจง ขอให้ท่านผู้เชี่ยวชาญได้กรุณาแสดงความคิดเห็นของท่านที่มีต่อแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติโดยใส่เครื่องหมาย () ลงในช่องความคิดเห็นของท่าน พร้อมเขียนข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ในการน าไปพิจารณาปรับปรุงต่อไป จุดประสงค์ การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม ข้อสอบ ความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ +1 0 -1 ข้อเสนอแนะ จ าแนกประเภทข้อมูล เชิงปริมาณและข้อมูล เชิงคุณภาพได้อย่าง ถูกต้อง 1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ก. เพศ ข. อายุ ค. น้ าหนัก ง. คะแนนสอบ จ าแนกประเภทข้อมูล เชิงปริมาณและข้อมูล เชิงคุณภาพได้อย่าง ถูกต้อง 2. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ ก. หมายเลขโทรศัพท์ ข. ยี่ห้อ ค. ภาษา ง. คะแนนสอบ จ าแนกประเภทข้อมูล เชิงปริมาณและข้อมูล เชิงคุณภาพได้อย่าง ถูกต้อง 3. ข้อใดไม่ใช่วิธีการน าเสนอข้อมูล ก. แผนภาพจุด ข. ฮิสโทรแกรม ค. มัธยฐาน ง. แผนภาพต้น-ใบ แปลความหมายข้อมูล จากแผนภาพจุดได้อย่าง ถูกต้อง 4. มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน ก. 22 ข. 21 ค. 20 ง. 18


52 จุดประสงค์ การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม ข้อสอบ ความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ +1 0 -1 ข้อเสนอแนะ แปลความหมายข้อมูล จากแผนภาพจุดได้อย่าง ถูกต้อง 5. นักเรียนส่วนใหญ่สอบได้กี่คะแนน ก. 17 ข. 15 ค. 16 ง. 14 แปลความหมายข้อมูล จากแผนภาพจุดได้อย่าง ถูกต้อง 6. นักเรียนที่ได้คะแนนมากที่สุด มีคะแนน มากกว่านักเรียนที่ได้คะแนนน้อยที่สุด เท่าไหร่ ก. 8 ข. 9 ค. 15 ง. 16 แปลความหมายข้อมูล แผนภาพต้น-ใบ ได้อย่าง ถูกต้อง 7. นักเรียน ม.2/3 มีทั้งหมดกี่คน ก. 29 ข. 28 ค. 31 ง. 30


53 จุดประสงค์ การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม ข้อสอบ ความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ +1 0 -1 ข้อเสนอแนะ แปลความหมายข้อมูล แผนภาพต้น-ใบ ได้อย่าง ถูกต้อง 8. นักเรียนที่ใช้เวลาในการวิ่งน้อยที่สุด ใช้ เวลากี่วินาที ก. 112 ข. 11.2 ค. 12 ง. 11 แปลความหมายข้อมูล แผนภาพต้น-ใบ ได้อย่าง ถูกต้อง 9. นักเรียนที่ใช้เวลาวิ่งน้อยที่สุด ใช้เวลาน้อย กว่านักเรียนที่ใช้เวลามากที่สุดกี่วินาที ก. 6.4 ข. 6 ค. 17.6 ง. 11.2 แปลความหมายข้อมูล จากฮิสโทแกรมได้อย่าง ถูกต้อง 10. ฮิสโทรแกรม มีลักษณะคล้ายสิ่งใด ก. แผนภูมิรูปภาพ ข. แผนภูมิแท่ง ค. แผนภูมิวงกลม ง. ไม่มีข้อใดถูก


54 จุดประสงค์ การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม ข้อสอบ ความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ +1 0 -1 ข้อเสนอแนะ แปลความหมายข้อมูล จากฮิสโทแกรมได้อย่าง ถูกต้อง ฮิสโทรแกรมแสดงการกระจายอายุของ ประชาชนในหมู่บ้าน A 11. ประชาชนในหมู่บ้านนี้มีทั้งหมดกี่คน ก. 60 คน ข. 70 คน ค. 80 คน ง. 100 คน แปลความหมายข้อมูล จากฮิสโทแกรมได้อย่าง ถูกต้อง ฮิสโทรแกรมแสดงการกระจายอายุของ ประชาชนในหมู่บ้าน A 12. ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป มีกี่ คน ก. 60 คน ข. 70 คน ค. 80 คน ง. 100 คน ค านวณหาค่าเฉลี่ยเลข คณิต จากข้อมูลที่ ก าหนดให้ได้อย่าง ถูกต้อง 13. จงหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ 4, 5, 8, 12, 13, 14, 15, 17 ก. 12 ข. 15 ค. 11 ง. 13 17


55 จุดประสงค์ การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม ข้อสอบ ความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ +1 0 -1 ข้อเสนอแนะ ค านวณหามัธยฐานจาก ข้อมูลที่ก าหนดให้ได้ อย่างถูกต้อง 14. จากข้อมูลต่อไปนี้มัธยฐานมีค่าเท่าไร 2, 4, 6, 5, 10, 7, 9, 8, 15 ก. 7 ข. 10 ค. 8.5 ง. ไม่มีข้อถูก ค านวณหาค่าเฉลี่ยเลข คณิต จากข้อมูลที่ ก าหนดให้ได้อย่าง ถูกต้อง 15. จงหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15 ก. 11 ข. 13 ค. 12 ง. 14 ค านวณหาฐานนิยมจาก ข้อมูลที่ก าหนดให้ได้ อย่างถูกต้อง 16. 5, 7, 4, 8, 7, 11, 7, 4, 10 และ 8 ฐาน นิยมของข้อมูลคือเท่าไร ก. 5 ข. 7 ค. 10 ง. 4 ค านวณหาฐานนิยมจาก ข้อมูลที่ก าหนดให้ได้ อย่างถูกต้อง 17. จากข้อมูลการทอยลูกเต๋าทั้งหมด 10 ครั้งได้ผลดังนี้ จงหาค่าฐานนิยมของข้อมูล ก. 3 ข. 2 ค. 1,2 ง. 1 ผลการทอย ลูกเต๋า 1 2 3 4 5 6 ความถี่ 1 1 3 2 2 1 ค านวณหามัธยฐานจาก ข้อมูลที่ก าหนดให้ได้ อย่างถูกต้อง 18. จากตารางข้อมูลข้อที่ 17 มัธยฐานมีค่า เท่าไร ก. 3.5 ข. 2 ค. 1,2 ง. 1


56 จุดประสงค์ การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม ข้อสอบ ความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ +1 0 -1 ข้อเสนอแนะ ค านวณหาค่าเฉลี่ยเลข คณิต จากข้อมูลที่ ก าหนดให้ได้อย่าง ถูกต้อง 19. จากตารางข้อมูลข้อที่ 17 มีค่าเฉลี่ย เท่าไหร่ ก. 3 ข. 2.6 ค. 4 ง. 3.6 ค านวณหามัธยฐานจาก ข้อมูลที่ก าหนดให้ได้ อย่างถูกต้อง 20. การหาข้อมูลแบบใดที่จะต้องเรียงล าดับ ข้อมูลจากค่ามากไปน้อยหรือน้อยไปมาก ก. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ข. มัธยฐาน ค. ฐานนิยม ง. ไม่มีข้อถูก - เขียนแผนภาพต้น-ใบ จากข้อมูลที่ก าหนดให้ ได้อย่างถูกต้อง - แปลความหมาย ข้อมูลแผนภาพต้น-ใบ ได้อย่างถูกต้อง 21. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จ านวน 30 คน เป็นดังนี้ 12 13 15 8 16 14 19 22 14 16 11 10 9 15 12 13 11 20 12 15 21 15 18 27 30 19 7 16 11 24 21.1 ให้นักเรียนน าเสนอข้อมูลต่อไปนี้โดยใช้ แผนภาพต้น-ใบ ต้น ใบ 0 7 0 0 1 1 1 2 2 2 3 3 4 4 5 5 5 6 6 6 8 9 9 2 0 1 2 4 7 3 0


57 จุดประสงค์ การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม ข้อสอบ ความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ +1 0 -1 ข้อเสนอแนะ 21.2 คะแนนสอบของนักเรียนส่วนใหญ่อยู่ ในช่วงใด………………………………………………… 21.3 พิสัยของข้อมูลนี้คือ............................... - ค านวณหาค่าเฉลี่ย เลขคณิต จากข้อมูลที่ ก าหนดให้ได้อย่าง ถูกต้อง - ค านวณหามัธยฐาน จากข้อมูลที่ก าหนดให้ ได้อย่างถูกต้อง - ค านวณหาฐานนิยม จากข้อมูลที่ก าหนดให้ ได้อย่างถูกต้อง 22. ข้อมูลนี้แสดงน้ าหนักของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จ านวน 20 คน 42 50 45 38 66 44 59 32 54 56 46 60 44 55 44 43 61 60 52 55 22.1 ค่าเฉลี่ยของข้อมูลชุดนี้คือ……………….. 22.2 มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้คือ.................... 22.3 ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้คือ................... +1 หมายถึง เหมาะสม, 0 หมายถึง ไม่แน่ใจ, -1 หมายถึง ไม่เหมาะสม ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 10 – 20คะแนน 23 50.3 51 44 (ลงชื่อ)..........................................................................ผู้เชี่ยวชาญ (.......................................................................)


58 แบบตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือของผู้เชี่ยวชาญ การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต ค าชี้แจง ขอให้ท่านผู้เชี่ยวชาญได้กรุณาแสดงความคิดเห็นของท่านที่มีต่อแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติโดยใส่เครื่องหมาย () ลงในช่องความคิดเห็นของท่านพร้อมเขียน ข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ในการน าไปพิจารณาปรับปรุงต่อไป ข้อ รายการพิจารณา ความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ เหมาะ สม +1 ไม่ แน่ใจ 0 ไม่ เหมาะสม -1 1 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบส าคัญครบถ้วนและสัมพันธ์กัน 2 เนื้อหา/สาระการเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์ 3 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ 4 กิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายเหมาะสมและสอดคล้องกับ ความสามารถผู้เรียน 5 กิจกรรมการเรียนรู้เน้นทักษะกระบวนการคิด การลงมือปฏิบัติ และสร้างความรู้ด้วยตนเอง 6 กิจกรรมการเรียนรู้มีความยากง่ายเหมาะสมกับระดับชั้น 7 สื่อ/แหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมและจุดประสงค์ 8 สื่อหลากหลายสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ วัย และความสามารถ ผู้เรียน 9 วิธีการวัดผลและเครื่องมือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และกิจกรรม 10 เกณฑ์การประเมินผลชัดเจน ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชื่อ)................................................................ผู้ประเมิน (.......................................................................)


59 ภาคผนวก ค ผลการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ การหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง สถิติ ผลการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง สถิติ


60 ผลการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง สถิติ ข้อที่ ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวม IOC แปลผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 2 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 3 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 4 +1 0 +1 2 0.67 ใช้ได้ 5 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 6 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 7 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 8 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 9 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 10 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 11 +1 +1 0 2 0.67 ใช้ได้ 12 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 13 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 14 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 15 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 16 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 17 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 18 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 19 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 20 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 21 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 22 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้


61 หมายเหตุ การแปลผลค่า IOC ใช้เกณฑ์ ดังนี้ IOC < 0.5 หมายถึง ข้อสอบไม่สอดคล้องกับเนื้อหา ควรตัดข้อสอบข้อนั้นทิ้งไป IOC > 0.5 หมายถึง ข้อสอบข้อนั้นสอดคล้องกับเนื้อหา สามารถใช้ข้อสอบข้อนั้นได้


62 ผลการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) เรื่อง สถิติ ข้อ รายการพิจารณา ความคิดเห็น ผู้เชี่ยวชาญคนที่ ค่า IOC แปลผล 1 2 3 1 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบส าคัญ ครบถ้วนและสัมพันธ์กัน +1 +1 +1 1.00 น าไปใช้ได้ 2 เนื้อหา/สาระการเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์ + 1 + 1 + 1 1.00 น าไปใช้ได้ 3 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับเนื้อหาและ วัตถุประสงค์ + 1 +1 +1 1.00 น าไปใช้ได้ 4 กิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายเหมาะสมและ สอดคล้องกับความสามารถผู้เรียน +1 +1 +1 1.00 น าไปใช้ได้ 5 กิจกรรมการเรียนรู้เน้นทักษะกระบวนการคิด การลงมือปฏิบัติ และสร้างความรู้ด้วยตนเอง +1 +1 +1 1.00 น าไปใช้ได้ 6 กิจกรรมการเรียนรู้มีความยากง่ายเหมาะสมกับ ระดับชั้น +1 +1 +1 1.00 น าไปใช้ได้ 7 สื่อ/แหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมและ จุดประสงค์ +1 +1 +1 1.00 น าไปใช้ได้ 8 สื่อหลากหลายสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ วัย และความสามารถผู้เรียน +1 +1 +1 1.00 น าไปใช้ได้ 9 วิธีการวัดผลและเครื่องมือสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์และกิจกรรม +1 +1 +1 1.00 น าไปใช้ได้ 10 เกณฑ์การประเมินผลชัดเจนครอบคลุมทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ และเจตคติ +1 +1 +1 1.00 น าไปใช้ได้


63 ภาคผนวก ง ค่าความยากง่าย (p) และค่าอ านาจจ าแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สถิติ ผลการทดสอบค่าเฉลี่ยของสมมติฐานทางสถิติ (t-test for DependentSample)


64 ผลการหาค่าความยากง่าย (p) และค่าอ านาจจ าแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สถิติ ข้อที่ ประสิทธิภาพของแบบทดสอบ ผลการวิเคราะห์ ค่าความยากง่าย (p) ค่าอ านาจจ าแนก (r) 1 0.70 0.50 ใช้ได้ 2 0.47 0.25 ใช้ได้ 3 0.47 0.25 ใช้ได้ 4 0.50 0.63 ใช้ได้ 5 0.57 0.63 ใช้ได้ 6 0.50 0.88 ใช้ได้ 7 0.77 0.63 ใช้ได้ 8 0.60 0.75 ใช้ได้ 9 0.67 0.88 ใช้ได้ 10 0.70 0.75 ใช้ได้ 11 0.77 0.25 ใช้ได้ 12 0.73 0.63 ใช้ได้ 13 0.60 0.88 ใช้ได้ 14 0.60 0.88 ใช้ได้ 15 0.60 0.63 ใช้ได้ 16 0.67 0.50 ใช้ได้ 17 0.73 0.75 ใช้ได้ 18 0.50 0.63 ใช้ได้ 19 0.47 0.75 ใช้ได้ 20 0.77 0.25 ใช้ได้ 21 0.70 0.50 ใช้ได้ 22 0.67 0.88 ใช้ได้ หมายเหตุ การพิจารณาค่าความยาก (p) ที่พอเหมาะ ควรมีค่าตั้งแต่ 0.20 – 0.80 การพิจารณาค่าอ านาจจ าแนก (r) ที่พอเหมาะ ควรมีค่าตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป


65 ผลการทดสอบค่าเฉลี่ยของสมมติฐานทางสถิติ(t – test for One Sample) ระหว่างคะแนนหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS ผลการทดสอบค่าเฉลี่ยของสมมติฐานทางสถิติ(t – test for One Sample) ระหว่างคะแนนก่อนเรียนกับคะแนนหลังเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS


66 ภาคผนวก จ ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง สถิติ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ STAD แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ


67 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสวิชา ค22102 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สถิติ เวลาเรียน 10 ชั่วโมง เรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายปิยะวัฒน์ ตาทิพย์ โรงเรียนสว่างแดนดิน สอนวันที่...........เดือน..........................พ.ศ.2566 มาตรฐาน/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ค 3.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการน าเสนอข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจาก แผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลางของข้อมูล และแปลความหมายผลลัพธ์ รวมทั้ง น าสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยเทคโนโลยีที่เหมาะสม สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ จ านวนที่ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจ านวนข้อมูล x̅ = ∑ เมื่อ x̅ แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ∑ แทน ผลรวม(ผลบวก)ของข้อมูลทั้งหมด แทน จ านวนข้อมูล จุดประสงค์การเรียนรู้เมื่อเรียนจบบทเรียนนี้แล้วนักเรียนสามารถ 1. ด้านความรู้ (K) บอกความหมายของค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้อย่างถูกต้อง


68 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ค านวณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต จากข้อมูลที่ก าหนดให้ได้อย่างถูกต้อง 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับหมอบหมาย สาระการเรียนรู้ ความหมายและการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเสนอบทเรีย 1. ครูสนทนากับนักเรียนถึงเนื้อหาที่ก าลังจะเรียนในวันนี้นั้นก็คือ ค่ากลางข้อมูล ซึ่งครู อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับค่ากลางของข้อมูลว่ามีค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐานและฐานนิยม และในชั่วโมงนี้ จะเรียนเรื่องค่าเฉลี่ยเลขคณิตก่อน 2. ครูยกตัวอย่างข้อมูลเพื่อให้นักเรียนเห็นภาพได้ชัดเจนขึ้นเช่น น้ าหนัก หรือส่วนสูง เป็นต้น 3. ครูให้นักเรียนทุกคนออกมาเขียนข้อมูลความสูงของนักเรียนบนด้านหน้ากระดาน (ซึ่ง ได้ข้อมูลสมมติ ดังนี้) 148 156 152 160 146 163 148 154 152 147 154 165 160 158 162 158 147 162 164 160 165 156 152 160 166 167 145 154 158 146 5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เมื่อต้องการทราบว่า “นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยทั่ว ๆ ไปแล้ว มีความสูงประมาณเท่าไร”หลังจากเก็บข้อมูลความสูงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ทุกคนมาแล้วจะใช้ข้อมูลเป็นตัวแทนที่เหมาะสมในการตอบค าถาม ค าตอบของปัญหานี้อาจจะมีได้หลายแบบ ลองพิจารณาว่าควรจะใช้วิธีการใดในการหาค าตอบนี้


69 1) รวมความสูงของนักเรียนทุกคน แล้วหารด้วยจ านวนนักเรียนทั้งหมดได้ค่าเท่าไร ใช้ค่านั้นเป็นค าตอบ 2) เรียงล าดับความสูงของนักเรียนจากน้อยไปมาก แล้วเลือกความสูงที่อยู่ตรงกลาง 3) นักเรียนส่วนใหญ่มีความสูงเท่าใดก็ใช้ความสูงนั้น 6. ครูให้ข้อมูลเพิ่มเติม วิธีการข้อ 1)-3) เรียกว่า การหา ค่ากลางของข้อมูล ซึ่งข้อ 1) คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2) มัธยฐาน 3) ฐานนิยม 7. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตหาได้จากการน าผลบวกของข้อมูลหาร ด้วยจ านวนข้อมูล เช่น ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 5 9 7 3 6 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนนี้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = ผลรวมของข้อมูล จ านวนข้อมูลทั้งหมด ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = 5 + 9 + 7 + 3 + 6 5 = 6 ดังนั้น ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 6 ขั้นจัดกลุ่มการเรียนรู้ 8. ครูให้นักเรียนเข้ากลุ่มเดิมจากคาบที่แล้ว ขั้นการเรียนเป็นกลุ่ม 9. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาเรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2, อินเทอร์เน็ต เป็นต้น ขั้นการทดสอบ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = ผลรวมของข้อมูล จ านวนข้อมูลทั้งหมด


70 10. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท าใบกิจกรรม ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ขั้นตระหนักถึงความส าเร็จของกลุ่ม 11. ร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม และประกาศผลคะแนนของแต่ละกลุ่ม จากนั้นร่วมกันสรุป ดังนี้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ จ านวนที่ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจ านวนข้อมูล สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2560 จัดท าโดย สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ (สสวท). 2. ไอแพด จ านวน 1 เครื่อง 3. โทรทัศน์จ านวน 1 เครื่อง 4. ใบกิจกรรม ค่าเฉลี่ยเลขคณิต แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุดโรงเรียนสว่างแดนดิน 2. ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ 3. เว็บไซต์ www.google.com/ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน เครื่องมือที่ใช้ วิธีการ เกณฑ์การ ประเมิน ด้านความรู้ บอกความหมายของค่าเฉลี่ย เลขคณิต ได้อย่างถูกต้อง ใบกิจกรรม ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ตรวจใบกิจกรรม ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ถูกต้องร้อยละ 70 ขึ้นไป


71 สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน เครื่องมือที่ใช้ วิธีการ เกณฑ์การ ประเมิน ด้านทักษะ/กระบวนการ ค านวณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต จากข้อมูลที่ก าหนดให้ได้อย่าง ถูกต้อง ใบกิจกรรม ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ตรวจใบกิจกรรม ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ถูกต้องร้อยละ 70 ขึ้นไป ด้านคุณลักษณะ มองเห็นว่าสามารถใช้ คณิตศาสตร์แก้ปัญหาในชีวิต จริงได้ (A1) มีความมุมานะในการท า ความเข้าใจปัญหาและ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (A2) แบบประเมิน พฤติกรรม สังเกตพฤติกรรมระหว่าง เรียน ผ่านเกณฑ์ใน ระดับดีขึ้นไป


72 แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ ด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง ให้ท าเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องรายการพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ รายการประเมิน ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ (P) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) ผลการประเมิน ผลการปนะเมิน 3 2 1 0 ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22


73 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 จ านวนนักเรียนที่ผ่าน ด้านความรู้ (K)……………………………..……คน คิดเป็นร้อยละ............ ด้านทักษะ (P)……………………………..……คน คิดเป็นร้อยละ............ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)………คน คิดเป็นร้อยละ............ จ านวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน ด้านความรู้ (K)……………………………..……คน คิดเป็นร้อยละ............ ด้านทักษะ (P)……………………………..……คน คิดเป็นร้อยละ............ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)………คน คิดเป็นร้อยละ............ ลงชื่อ ............................................ (ผู้สอน) (นายปิยะวัฒน์ ตาทิพย์) นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ............/............../..............


74


75 บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไขปัญหา ลงชื่อ ............................................ (ผู้สอน) (นายปิยะวัฒน์ ตาทิพย์) นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ............/............../..............


76 บันทึกความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ได้ท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ส าหรับน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนของ นายปิยะวัฒน์ตาทิพย์แล้วมีความเห็นดังนี้ 1.เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2.การจัดกิจกรรมได้น ากระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญใช้ในการสอนได้เหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3.เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ น าไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช้จริง 4.ข้อเสนอแนะอื่นๆ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ......................................................... (นางรัศมี สอนไชยา) ครูพี่เลี้ยง ................./..................../...................


77 บันทึกความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ จัดกิจกรรมเหมาะสมกับผู้เรียน มีการใช้สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีในกิจกรรมการเรียนการสอน มีการบูรณาการ มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงและตรงตามจุดประสงค์ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม........................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ………………………………………………. (นางสาววิมลรัตน์ แสนสามารถ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย อนุญาตให้ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ไม่อนุญาตให้ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม........................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ…………………………………………………. (นางสมฤดี แสนเภา) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ


78 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง สถิติค22102 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ค าชี้แจง : ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกที่สุดแล้วท าเครื่องหมาย x ข้อที่เลือก (20 คะแนน) ตอนที่ 2 ให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลแล้วตอบค าถาม 1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ก. เพศ ข. อายุ ค. น้ าหนัก ง. คะแนนสอบ 2. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ ก. หมายเลขโทรศัพท์ ข. ยี่ห้อ ค. ภาษา ง. คะแนนสอบ 3. ข้อใดไม่ใช่วิธีการน าเสนอข้อมูล ก. แผนภาพจุด ข. ฮิสโทรแกรม ค. มัธยฐาน ง. แผนภาพต้น-ใบ ใช้แผนภาพจุดต่อไปนี้ตอบค าถามข้อที่ 4-6 4. มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน ก. 22 ข. 21 ค. 20 ง. 18 5. นักเรียนส่วนใหญ่สอบได้กี่คะแนน ก. 17 ข. 15 ค. 16 ง. 14 6. นักเรียนที่ได้คะแนนมากที่สุด มีคะแนน มากกว่านักเรียนที่ได้คะแนนน้อยที่สุดเท่าไหร่ ก. 8 ข. 9 ค. 15 ง. 16 ใช้แผนภาพต้น-ใบต่อไปนี้ตอบค าถามข้อ 7-9 7. นักเรียน ม.2/3 มีทั้งหมดกี่คน ก. 29 ข. 28 ค. 31 ง. 30


79 8. นักเรียนที่ใช้เวลาในการวิ่งน้อยที่สุด ใช้ เวลากี่วินาที ก. 112 ข. 11.2 ค. 12 ง. 11 9. นักเรียนที่ใช้เวลาวิ่งน้อยที่สุด ใช้เวลาน้อย กว่านักเรียนที่ใช้เวลามากที่สุดกี่วินาที ก. 6.4 ข. 6 ค. 17.6 ง. 11.2 10. แผนภาพฮิสโทรแกรม มีลักษณะคล้ายสิ่ง ใด ก. แผนภูมิรูปภาพ ข. แผนภูมิแท่ง ค. แผนภูมิวงกลม ง. ไม่มีข้อใดถูก ใช้แผนภาพฮิสโทรแกรมต่อไปนี้ ตอบค าถาม ข้อ 11-12 ฮิสโทรแกรมแสดงการกระจายอายุของ ประชาชนในหมู่บ้าน A 11. ประชาชนในหมู่บ้านนี้มีทั้งหมดกี่คน ก. 60 คน ข. 70 คน ค. 80 คน ง. 100 คน 12. ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป มีกี่ คน ก. 60 คน ข. 70 คน ค. 80 คน ง. 100 คน 13. จงหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ 4, 5, 8, 12, 13, 14, 15, 17 ก. 12 ข. 15 ค. 11 ง. 13 14. จากข้อมูลต่อไปนี้มัธยฐานมีค่าเท่าไร 2, 4, 6, 5, 10, 7, 9, 8, 15 ก. 7 ข. 10 ค. 8.5 ง. ไม่มีข้อถูก 15. จงหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15 ก. 11 ข. 13 ค. 12 ง. 14 16. 5, 7, 4, 8, 7, 11, 7, 4, 10 และ 8 ฐาน นิยมของข้อมูลคือเท่าไร ก. 5 ข. 7 ค. 10 ง. 4 17. จากข้อมูลการทอยลูกเต๋าทั้งหมด 10 ครั้ง ได้ผลดังนี้ ผลการทอย ลูกเต๋า 1 2 3 4 5 6 ความถี่ 1 1 3 2 2 1 จงหาค่าฐานนิยมของข้อมูล ก. 3 ข. 2 ค. 1,2 ง. 1 17


80 18. จากตารางข้อมูลข้อที่ 17 มัธยฐานมีค่า เท่าไร ก. 3.5 ข. 2 ค. 1,2 ง. 1 19. จากตารางข้อมูลข้อที่ 17 มีค่าเฉลี่ย เท่าไหร่ ก. 3 ข. 2.6 ค. 4 ง. 3.6 20. การหาข้อมูลแบบใดที่จะต้องเรียงล าดับ ข้อมูลจากค่ามากไปน้อยหรือน้อยไปมาก ก. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ข. มัธยฐาน ค. ฐานนิยม ง. ไม่มีข้อถูก


81 ตอนที่ 2 ให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลแล้วตอบค าถาม 21. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จ านวน 30 คน เป็นดังนี้ 12 13 15 8 16 14 19 22 14 16 11 10 9 15 12 13 11 20 12 15 21 15 18 27 30 19 7 16 11 24 21.1 ให้นักเรียนน าเสนอข้อมูลต่อไปนี้โดยใช้แผนภาพต้น-ใบ 21.2 คะแนนสอบของนักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในช่วงใด ............................................................................................ 21.2 พิสัยของข้อมูลนี้คือ ...................................................................................................................................... 22. ข้อมูลนี้แสดงน้ าหนักของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จ านวน 20 คน 42 50 45 38 66 44 59 32 54 56 46 60 44 55 44 43 61 60 52 55 22.1 ค่าเฉลี่ยของข้อมูลชุดนี้คือ ............................................................................................................................ 22.2 มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้คือ ........................................................................................................................... 22.3 ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้คือ ..........................................................................................................................


82 เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง สถิติค22102 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ค าชี้แจง : ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกที่สุดแล้วท าเครื่องหมาย x ข้อที่เลือก (20 คะแนน) ตอนที่ 2 ให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลแล้วตอบค าถาม 1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ก. เพศ ข. อายุ ค. น้ าหนัก ง. คะแนนสอบ 2. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ ก. หมายเลขโทรศัพท์ ข. ยี่ห้อ ค. ภาษา ง. คะแนนสอบ 3. ข้อใดไม่ใช่วิธีการน าเสนอข้อมูล ก. แผนภาพจุด ข. ฮิสโทรแกรม ค. มัธยฐาน ง. แผนภาพต้น-ใบ ใช้แผนภาพจุดต่อไปนี้ตอบค าถามข้อที่ 4-6 4. มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน ก. 22 ข. 21 ค. 20 ง. 18 5. นักเรียนส่วนใหญ่สอบได้กี่คะแนน ก. 17 ข. 15 ค. 16 ง. 14 6. นักเรียนที่ได้คะแนนมากที่สุด มีคะแนน มากกว่านักเรียนที่ได้คะแนนน้อยที่สุดเท่าไหร่ ก. 8 ข. 9 ค. 15 ง. 16 ใช้แผนภาพต้น-ใบต่อไปนี้ตอบค าถามข้อ 7-9 7. นักเรียน ม.2/3 มีทั้งหมดกี่คน ก. 29 ข. 28 ค. 31 ง. 30 8. นักเรียนที่ใช้เวลาในการวิ่งน้อยที่สุด ใช้ เวลากี่วินาที ก. 112 ข. 11.2


83 ค. 12 ง. 11 9. นักเรียนที่ใช้เวลาวิ่งน้อยที่สุด ใช้เวลาน้อย กว่านักเรียนที่ใช้เวลามากที่สุดกี่วินาที ก. 6.4 ข. 6 ค. 17.6 ง. 11.2 10. แผนภาพฮิสโทรแกรม มีลักษณะคล้ายสิ่ง ใด ก. แผนภูมิรูปภาพ ข. แผนภูมิแท่ง ค. แผนภูมิวงกลม ง. ไม่มีข้อใดถูก ใช้แผนภาพฮิสโทรแกรมต่อไปนี้ ตอบค าถาม ข้อ 11-12 ฮิสโทรแกรมแสดงการกระจายอายุของ ประชาชนในหมู่บ้าน A 11. ประชาชนในหมู่บ้านนี้มีทั้งหมดกี่คน ก. 60 คน ข. 70 คน ค. 80 คน ง. 100 คน 12. ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป มีกี่ คน ก. 60 คน ข. 70 คน ค. 80 คน ง. 100 คน 13. จงหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ 4, 5, 8, 12, 13, 14, 15, 17 ก. 12 ข. 15 ค. 11 ง. 13 14. จากข้อมูลต่อไปนี้มัธยฐานมีค่าเท่าไร 2, 4, 6, 5, 10, 7, 9, 8, 15 ก. 7 ข. 10 ค. 8.5 ง. ไม่มีข้อถูก 15. จงหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15 ก. 11 ข. 13 ค. 12 ง. 14 16. 5, 7, 4, 8, 7, 11, 7, 4, 10 และ 8 ฐาน นิยมของข้อมูลคือเท่าไร ก. 5 ข. 7 ค. 10 ง. 4 17. จากข้อมูลการทอยลูกเต๋าทั้งหมด 10 ครั้ง ได้ผลดังนี้ ผลการทอย ลูกเต๋า 1 2 3 4 5 6 ความถี่ 1 1 3 2 2 1 จงหาค่าฐานนิยมของข้อมูล ก. 3 ข. 2 ค. 1,2 ง. 1 18. จากตารางข้อมูลข้อที่ 17 มัธยฐานมีค่า เท่าไร ก. 3.5 ข. 2 ค. 1,2 ง. 1 17


84 19. จากตารางข้อมูลข้อที่ 17 มีค่าเฉลี่ย เท่าไหร่ ก. 3 ข. 2.6 ค. 4 ง. 3.6 20. การหาข้อมูลแบบใดที่จะต้องเรียงล าดับ ข้อมูลจากค่ามากไปน้อยหรือน้อยไปมาก ก. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ข. มัธยฐาน ค. ฐานนิยม ง. ไม่มีข้อถูก


85 ตอนที่ 2 ให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลแล้วตอบค าถาม 21. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จ านวน 30 คน เป็นดังนี้ 12 13 15 8 16 14 19 22 14 16 11 10 9 15 12 13 11 20 12 15 21 15 18 27 30 19 7 16 11 24 21.1 ให้นักเรียนน าเสนอข้อมูลต่อไปนี้โดยใช้แผนภาพต้น-ใบ ต้น ใบ 0 7 0 0 1 1 1 2 2 2 3 3 4 4 5 5 5 6 6 6 8 9 9 2 0 1 2 4 7 3 0 21.3 คะแนนสอบของนักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในช่วงใด ............................................................................................ 21.3 พิสัยของข้อมูลนี้คือ ...................................................................................................................................... 22. ข้อมูลนี้แสดงน้ าหนักของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จ านวน 20 คน 42 50 45 38 66 44 59 32 54 56 46 60 44 55 44 43 61 60 52 55 22.1 ค่าเฉลี่ยของข้อมูลชุดนี้คือ ............................................................................................................................ 22.2 มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้คือ ........................................................................................................................... 22.3 ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้คือ .......................................................................................................................... 10 – 20คะแนน 23 50.3 51 44


86 ประวัติผู้วิจัย ชื่อ นายปิยะวัฒน์ ตาทิพย์ วัน เดือน ปีเกิด 23 ตุลาคม 2544 สถานที่อยู่ปัจจุบัน 189 หมู่ 2 ต าบลท่าศิลา อ าเภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร 47190 เบอร์โทร 064-5380321 E-mail [email protected] ประวัติการศึกษา วุฒิการศึกษา ชื่อสถาบัน ปีที่ส าเร็จการศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนบ้านภูตะคาม 2556 มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านภูตะคาม 2559 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย 2562 ครุศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2567 (คณิตศาสตร์) (ยังไม่ส าเร็จการศึกษา)


Click to View FlipBook Version