The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jeabt0205, 2022-05-04 03:17:49

E-book R_D

E-book R_D

48

คุณภาพสูงสุดเท่าที่เป็นไปได้ ข้อที่ 2 ข้อแนะนำให้ใช้แนวทางปฏิบัตินี้ มี 3 ข้อแนะนำ คือ 1) ใช่ 2) ใช่ โดยมีการ

แก้ไข 3) ไม่

ผลลัพธ์

จากการนำแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลเพ่ือปอ้ งกนั การเกิด UE งานหอ้ งผปู้ ว่ ยหนัก โรงพยาบาล

นครปฐมที่ได้รับการพัฒนา (ฉบับร่าง) ไปใหผ้ ู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ทา่ น ตรวจสอบความตรงเชงิ เน้อื หาโดยใช้วิธีการ

ประเมินคณุ ภาพแนวปฏบิ ัตสิ ำหรบั การวจิ ยั และประเมินผล(AppraisalofGuidelineforResearchandEvaluation

I: AGREE I) ฉบับภาษาไทย ได้คะแนนคุณภาพแนวทางปฏิบัตทิ ั้ง 6 หมวด ดังน้ี

หมวดที่ 1 ขอบเขตและวตั ถปุ ระสงค์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 87

หมวดท่ี 2 การมีส่วนร่วมของผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี คดิ เปน็ ร้อยละ 88

หมวดท่ี 3 ความเข้มงวดของข้ันตอนการจดั ทำ คิดเป็นรอ้ ยละ 83

หมวดที่ 4 ความชดั เจนในการนำเสนอ คดิ เปน็ ร้อยละ 87

หมวดที่ 5 การนำไปใช้ คิดเป็นรอ้ ยละ 88

หมวดท่ี 6 ความเปน็ อสิ ระของบรรณาธิการ คิดเปน็ รอ้ ยละ 89

คะแนนคุณภาพแนวทางปฏิบัติในภาพรวมเท่ากับ 6 คะแนน ผู้ทรงคุณวุฒิแนะนำให้นำแนว

ปฏิบัติการพยาบาลเพือ่ ป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผนไปใช้เนื่องจากเป็นแนวปฏิบัติท่ีส่งผลดีตอ่

คณุ ภาพการพยาบาล มีข้อแนะนำจากผู้ทรงคณุ วฒุ ดิ า้ นการดูแลรกั ษาผูป้ ว่ ยวกิ ฤต(วสิ ญั ญแี พทย์อนสุ าขาเวชบำบัด

วิกฤต)ให้แก้ไขเรื่องการประเมินความพร้อมในการหย่าเคร่ืองชว่ ยหายใจ ข้อย่อยที่ 7 จากข้อความ“สามารถหายใจ

ได้เอง อัตราการหายใจน้อยกว่า 30 ครั้งต่อนาที เมื่อตั้งเครื่องช่วยหายใจ ModeSpontaneous: PS = 6 cmH2O,

CPAP=5cmH2O”เปน็ “PS=5-8cmH2O,PEEP=5cmH2O”และเพมิ่ เตมิ อีก1หัวข้อเร่อื งการวดั ประสทิ ธภิ าพ

การไอ ได้แก่ ไอไดม้ ปี ระสิทธิภาพและเสมหะไมม่ ากเกนิ ไป

2) การตรวจสอบความเทย่ี งของการใชแ้ นวปฏบิ ัติการพยาบาลเพ่อื ป้องกันการเกิด UE โดยวิธีหา

ความเที่ยงการประเมิน (Inter-raterreliability) วอร์ชิงตันและมอสส์ กล่าวว่า ความน่าเชื่อถือของค่าความเที่ยงการ

ประเมนิ กลมุ่ ตัวอยา่ งทถี่ ูกประเมินตอ้ งมีจำนวนไม่น้อยกว่า 10 คน หรอื ไม่นอ้ ยกว่า 10 เหตกุ ารณ์ ผู้วิจัยได้นำแนว

ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE ไปให้พยาบาลวิชาชีพห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤต

อายุรกรรม จำนวน 14 คน นำไปใช้กับผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจทางปากคนละ 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ และนำผล

การประเมินทั้ง 2 ครั้ง มาวิเคราะห์ค่าความสอดคล้องการประเมิน โดยใชสถิติโคเฮนแคปปาแปลผลค่าแคปปาตาม

เกณฑ์ของแลนดิสและโคช (Landis & Koch, 1977. อ้างถึงในบุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร)สัมประสิทธิ์แคปปามีค่า

49

ระหว่าง 0.001-1.00 (≤.20pooragreement/poorreliability,.21-.40 fairagreement/fairreliability,.41-.60
moderateagreement/moderate reliability, .61-.80 good agreement/good reliability, .81-1.00 very good
agreement/very good reliability)

ผลลัพธ์ ผลการตรวจสอบความเทย่ี งโดยนำไปทดลองใช้กบั พยาบาลวชิ าชพี จำนวน 14 คน ได้ค่า
ความเที่ยงการประเมนิ (Inter-rater reliability) อยใู่ นระดับดี เทา่ กบั 0.77

2. ผวู้ ิจัยนำแนวปฏิบัติการพยาบาลใหพ้ ยาบาลวิชาชีพผูป้ ฏิบตั ินำไปทดลองใช้กับผ้ปู ว่ ยใส่ทอ่ ช่วยหายใจ
ทางปาก ในงานห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรม โรงพยาบาลนครปฐม เป็นระยะเวลา 1
สปั ดาห์ เพ่ือประเมินผลเชงิ โครงสร้างและกระบวนการ

ผลลัพธ์ พยาบาลวิชาชีพผู้ปฏิบตั ิให้ความเห็นว่าสามารถใช้แนวปฏบิ ัติการพยาบาลน้ีได้ แต่ยังไม่
คุ้นเคยกับแนวปฏิบัติในบางกิจกรรมที่เพิ่มขึ้นจากวิธีปฏิบัติการพยาบาลที่ใช้เดิม และมีเนื้อหามากกว่าเดิม น่า
จะต้องใช้เวลาสักระยะเพื่อให้เกิดความคุ้นเคยและใช้แนวปฏิบัติได้คล่องมากขึ้น เสนอแนะให้ทำแบบบันทึกการ
ปฏบิ ัติการพยาบาล เนอ่ื งจากต้องลงบนั ทึกขอ้ มลู แยกในใบบนั ทกึ สัญญาณชพี และใบบนั ทกึ การใชเ้ คร่อื งชว่ ยหายใจ
เพื่อลดความซำ้ ซ้อนในการบนั ทกึ ข้อมูลและสะดวกตอ่ การใช้งาน

3. ผวู้ ิจัยดำเนนิ การแกไ้ ขและเพ่มิ เติมตามข้อเสนอแนะของผทู้ รงคุณวฒุ ิและผู้ใช้แนวปฏบิ ัติการพยาบาล
ผลลัพธ์ หมวดท่ี 2 การเฝา้ ระวังอยา่ งใกล้ชดิ (close up monitoring: C) เรื่องการประเมินความ

พร้อมในการหยา่ เครื่องช่วยหายใจแก้ไขข้อย่อยที่ 7 และเพ่ิมเติมอีก 1 หัวข้อเรื่องการวัดประสทิ ธิภาพการไอได้แก่
ไอได้มีประสิทธิภาพและเสมหะไม่มากเกินไป (รายละเอียดตามภาคผนวก….) และออกแบบบันทึกการปฏิบัติการ
พยาบาล (รายละเอียดตามภาคผนวก….)

4. ผู้วิจยั ดำเนนิ การจดั พมิ พ์เป็นรูปเลม่ ฉบับสมบูรณแ์ ละฉบบั ยอ่ เพอื่ สะดวกตอ่ การเขา้ ถงึ กอ่ นนำไป
ทดลองใชจ้ ริง (รายละเอยี ดตามภาคผนวก….)

50

ระยะที่ 3 การนำไปใช้และประเมินผลการใช้..........
1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง สำหรบั การวจิ ัยระยะที่ 3......
2. วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั สำหรบั การวจิ ัยระยะท่ี 3
วิธดี ำเนินการวจิ ยั ผ้วู จิ ัยไดด้ ำเนนิ การ 2 ขน้ั ตอนคอื 1.ขน้ั เตรียมความพร้อมก่อนการใช้...และ

2 .ขั้นการนำไปใช.้ .....ดังนี้
1. ข้นั เตรียมความพรอ้ มกอ่ นการใช.้ .....
อาจมีการจดั ประชมุ ชแี้ จง /จดั ประชมุ เชิงฏบิ ัตกิ าร กไ็ ด้

ผลลัพธ์ จากการประเมนิ ผลหลังเสรจ็ กิจกรรมในแต่ละคร้ังของการประชุม ผู้ปฏิบัติมีความ
เขา้ ใจเป็นอยา่ งไร

2. ข้ันการนำใช้.....
- ภายหลงั ไดร้ ับอนุญาตจากผู้อำนวยการโรงพยาบาล ผูว้ จิ ัยนำ... ไปใช้ในพื้นทีศ่ กึ ษาในเดือน
..... โดยกลมุ่ ตวั อยา่ งแบ่งเปน็ .... กลุ่ม (เชน่ กลมุ่ พยาบาลก่ีคน กลุ่มผู้ปว่ ยกค่ี น)

เกณฑก์ ารคัดเข้ากลุ่มตัวอย่าง (inclusion criteria)
กลุ่มผปู้ ่วยมเี กณฑค์ ัดเข้าอย่างไร
เกณฑก์ ารคดั ออกกลมุ่ ตัวอยา่ ง (exclusion criteria)
กลมุ่ ผ้ปู ่วยมเี กณฑ์คดั ออกอยา่ งไร
เกณฑ์การยตุ กิ ารวจิ ัย
กล่มุ ตวั อยา่ ง (ผปู้ ่วยหรือญาต)ิ ขอออกจากการวจิ ยั ระหว่างดำเนนิ การ
- ผูว้ จิ ยั และหวั หน้าหน่วย มีการนเิ ทศ กำกับอยา่ งไร
- ผวู้ ิจยั ทำการประเมินความยาก-งา่ ยในการนำไปใช้ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
ในการนำไปใช้ และความพงึ พอใจของผใู้ ช.้ ...... ตลอดจนเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผลการแกไ้ ขปญั หาท่ีเกิดขึน้ ......
ผลการประเมนิ พบวา่ .....

และได้นำมาปรบั ปรงุ แกไ้ ข...ในประเดน็

ผลลัพธ์ ร่าง...... ประกอบด้วยสาระสำคัญ ..... หมวด ดงั นี้
ผวู้ ิจยั จดั ทำเปน็ คู่มือการใช้งานเพอ่ื นำไปสูก่ ารปฏิบัติใช้จรงิ (รายละเอียดตามภาคผนวก........)

51

3. เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ัย สำหรับการวจิ ัยระยะท่ี 3
เครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ยั สำหรบั การวจิ ยั ระยะท่ี 3 คอื
1. รูปแบบ/แนวทาง/ระบบ ........ซ่งึ ผูว้ ิจัยพัฒนาขึน้ ในการวิจยั ระยะที่ 2 สาระสำคญั

แบง่ เปน็ ...... หมวด ไดแ้ ก่ (รายละเอียดดงั ภาคผนวก ........)
2. เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการประเมินผลลัพธ์การนำ....... (ภาคผนวก .....) ได้แก่
2.1 เครอื่ งมือประเมินผลลพั ธด์ า้ นกระบวนการ ประกอบด้วย ..... สว่ น คอื
สว่ นที่ 1 แบบบนั ทกึ ข้อมูลสว่ นบคุ คล..........
ส่วนที่ 2 แบบประเมนิ ผลลพั ธ์ดา้ นกระบวนการ ประกอบดว้ ย
ตอนที่1 แบบประเมนิ ความยาก-งา่ ยในการนำไปใช้
ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความพงึ พอใจของ...ตอ่ การนำ...ไปใช้ มีจำนวนท้ังหมด...

ขอ้ มีเกณฑก์ ารตัดสนิ ความพงึ พอใจ.......
ตอนที่ 3 ความคิดเหน็ เกีย่ วกับปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ในการใช.้ ... ซึง่

เปน็ คำถามปลายเปิดใหผ้ ปู้ ฏิบัตงิ านตอบแบบสอบถามไดอ้ สิ ระตามความคดิ เห็น
2.2 เครือ่ งมอื ประเมินผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย 2 สว่ น ได้แก่
2.2.1 แบบบนั ทกึ ข้อมลู ท่ัวไปของผ้ปู ่วย ประกอบด้วย ...
2.2.2 แบบประเมินประสทิ ธผิ ลการใช.้ ... ประกอบดว้ ย ......

4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลการวิจยั สำหรับการวจิ ัยระยะท่ี 3
ผู้วิจัยนำรูปแบบ/แนวทาง/ระบบ........ไปใช้เมื่อวันที่ .. เดือน... และจากนั้นทำการบันทึก

ขอ้ มูลอยา่ งไร
5. สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวจิ ยั สำหรบั การวจิ ัยระยะท่ี 3
ประกอบด้วย.........................

ผลลัพธ์ด้านกระบวนการ พบวา่ ....
ผลลัพธด์ า้ นผูป้ ่วย พบวา่ ...

52

จากนัน้ ผูว้ จิ ัยนำผลลัพธ์ดา้ นกระบวนการมาทำการปรับปรงุ เพ่ือให้เกดิ ความเหมาะสมกอ่ นนำไปใชจ้ รงิ โดย
ปรับปรงุ ในประเดน็ ......

อาจมีการจดั ประชุม หรือทำการ focus group กับทมี งาน เพอ่ื ทำการปรบั ปรุงอกี รอบ

ผลลพั ธ์ ได้รูปแบบ/แนวทาง/ระบบทีไ่ ดร้ ับการปรบั ปรงุ พรอ้ มจัดทำเปน็ คู่มอื การใช้งานก่อน
นำไปใช้จรงิ ในหน่วยงาน

ตัวอย่างขนั้ ตอนท่ี 1 การพฒั นา... ระยะท่ี 3 ทผ่ี ู้วิจัยได้เขยี นไว้ ดงั น้ี

ระยะที่ 3 การนำไปใช้และประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาลที่เพื่อป้องกันการเกิด
UE งานหอ้ งผู้ป่วยหนกั โรงพยาบาลนครปฐม

1. ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง สำหรับการวิจัยระยะท่ี 3
ประชากร แบ่งเปน็ 2 กลุ่ม คอื
1. กลุ่มพยาบาลวิชาชพี ที่ปฏบิ ตั งิ านในโรงพยาบาลนครปฐม
2. กลุ่มผปู้ ว่ ยใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจทางปากที่เขา้ รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลนครปฐม
กลุม่ ตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลมุ่ คือ
1. กลุ่มพยาบาลวิชาชีพที่ปฏบิ ัตงิ านในหอ้ งผู้ป่วยหนกั (ผูใ้ หญ)่ และหอผู้ป่วยกง่ึ วกิ ฤตอายุ

รกรรม ทกุ คนรวมทง้ั ส้นิ จำนวน 90 คน
2. กลุ่มผปู้ ่วยใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจทางปากที่เขา้ รบั การรกั ษาในห้องผูป้ ่วยหนัก(ผู้ใหญ)่ และหอ

ผู้ป่วยกง่ึ วิกฤตอายุรกรรม จำนวน 70 คน

2. วธิ ีดำเนินการวจิ ัย สำหรบั การวจิ ยั ระยะที่ 3
วธิ ีดำเนนิ การวจิ ัย ผ้วู จิ ัยไดด้ ำเนนิ การ 2 ข้นั ตอนคอื 1.ขั้นเตรยี มความพรอ้ มก่อนการใช้

แนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลและ 2.ข้ันการนำใชแ้ นวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล ดงั น้ี
1. ขนั้ เตรยี มความพร้อมก่อนการใช้แนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล
1.1 ผู้วิจัยประชุมร่วมกับหัวหน้าห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤต-

อายุรกรรม ขออนุญาตนำแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลเพ่อื ป้องกนั การเกิด UE ไปใหพ้ ยาบาลวิชาชพี ในทุกหอผู้ป่วยใช้ใน
การดแู ลผู้ป่วยทีใ่ สท่ ่อชว่ ยหายใจทางปากซึง่ เขา้ รับการรักษาในเดอื นพฤษภาคม 2562

53

1.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการในวันประชุมประจำเดือนของแต่ละหอผู้ป่วย เพื่อชี้แจง
วัตถุประสงคข์ องโครงการองคป์ ระกอบของแนวปฏิบตั ิการพยาบาลและขอความร่วมมอื ในการเข้าร่วมวจิ ัยโดยความ
สมคั รใจ ผ้เู ข้าร่วมวจิ ยั สามารถถอนตวั ออกจากโครงการไดต้ ลอดเวลาโดยไม่ต้องแจง้ เหตุผลและจะไมม่ ผี ลกระทบใดๆ
ต่อการปฏิบัติงานทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ข้อมูลที่ได้มาจะปกปิดเป็นความลับ ไม่เปิดเผยรายชื่อ และรายงาน
ผลลัพธ์ในภาพรวมทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อองค์กร

1.3 จัดประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพยาบาลวชิ าชพี จำนวน 90 คน โดยจดั ประชมุ ในวันประชุม
ประจำเดือนของห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรม แบ่งการจัดประชุมออกเป็น 7 ครั้ง ใช้
เวลาคร้งั ละ 2 ชวั่ โมง

การประชมุ ประจำเดอื นวนั ท่ี 25 เมษายน 2562
ครง้ั ที่ 1 ภาคเชา้ หอผปู้ ่วยก่งึ วิกฤตอายุรกรรมชาย
ครง้ั ที่ 2 ภาคบ่าย ห้องผปู้ ว่ ยหนกั ศลั ยกรรมประสาทและสมอง

การประชมุ ประจำเดอื นวันท่ี 28 เมษายน 2562
ครง้ั ที่ 3 ภาคบา่ ย ห้องผปู้ ่วยหนกั โรคหัวใจ

การประชมุ ประจำเดือนวันที่ 29 เมษายน 2562
ครั้งท่ี 4 ภาคเชา้ หอผ้ปู ่วยกง่ึ วกิ ฤตอายรุ กรรมหญงิ

การประชมุ ประจำเดือนวนั ท่ี 30 เมษายน 2562
ครั้งท่ี 5 ภาคเช้า ห้องผู้ปว่ ยหนกั ศลั ยกรรม
คร้งั ท่ี 6 ภาคบา่ ย ห้องผ้ปู ว่ ยหนักศัลยกรรมหวั ใจและทรวงอก

การประชมุ ประจำเดือนวนั ท่ี 4 พฤษภาคม 2562
ครัง้ ท่ี 7 ภาคเชา้ ห้องผู้ป่วยหนกั อายุรกรรม

การประชุมทุกครงั้ พยาบาลวชิ าชพี เข้ารว่ มประชมุ ครบทกุ คน แบ่งเนอ้ื หาเป็น 2 ส่วน คอื
ส่วนที่ 1 ภาคทฤษฎีเป็นการให้องค์ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติใช้วิธีการบรรยาย ชี้แจงวัตถุประสงค์ของ

การนำแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกัน UE ที่พัฒนาขึ้นจากการทบทวนเอกสาร ตำราวิชาการและงานวิจัยท่ี
เกยี่ วขอ้ งมาใช้ องคป์ ระกอบของแนวปฏิบัตกิ ารพยาบาล ผลลพั ธ์ท่คี าดหวงั หลงั ใช้แนวปฏิบตั กิ ารพยาบาล

ส่วนที่ 2 ภาคปฏิบัติ ทีมผู้วิจัยเป็นผู้สาธิตและให้ผู้เข้าร่วมประชุมทดลองปฏิบัติจริงในการใช้
เครื่องมอื ประเมินความปวดภาวะง่วงซมึ /ภาวะกระสับกระส่ายภาวะสับสนเฉียบพลันวิธีการยึดตรึงท่อช่วยหายใจ
วธิ ีการผกู ยดึ ร่างกาย และการลงบนั ทกึ ข้อมูลทัว่ ไปของกลมุ่ ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ประสิทธิผลการใชแ้ นวปฏิบตั ิการ
พยาบาลเพ่ือป้องกันUE ทำความเข้าใจตรงกันจนสามารถปฏิบัตไิ ดถ้ ูกต้องและช้ีแจงขั้นตอนการประเมินผลการใช้
แนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลเพื่อป้องกัน UE

54

ผลลัพธ์ จากการประเมินผลหลังเสร็จกิจกรรมในแต่ละครั้งของการประชุม ผู้ปฏิบัติมีความ
เข้าใจชดั เจนข้ึนจากการมีหลักฐานเชิงประจักษ์สนับสนนุ ให้เห็นความสำคัญของการปฏิบัตกิ ิจกรรมการพยาบาลใน
แต่ละกิจกรรม ซึ่งมีความต่างจากเดิมที่เคยปฏิบัติมาโดยการถ่ายทอดจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้องทำให้องค์ความรู้บางส่วน
ขาดหายไป และเมื่อได้ลงมือปฏิบัติจริงในภาคปฏิบัติ มีการซักถาม ทดลองทำซ้ำจนเกิดความมั่นใจว่าจะสามารถ
ปฏิบัติได้ถูกต้อง ในบางกิจกรรมที่เป็นแนวปฏิบัติใหม่ ได้แก่การใช้เครื่องมือในการประเมินความปวด (CPOT)
เครอื่ งมือในการประเมินภาวะกระสับกระส่าย ง่วงซึม (RAAS)เคร่อื งมอื ในการประเมนิ ภาวะสบั สนเฉียบพลนั (CAM-
ICU)รวมท้ังหวั หนา้ งานคอยให้กำลังใจและสร้างความมน่ั ใจว่าเม่ือนำแนวปฏิบัตกิ ารพยาบาลไปใช้จริงจะเป็นผ้นู เิ ทศ
กำกับ ติดตาม ตลอดการปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติมีความยินดีในการนำแนวปฏิบัติไปใช้โดยเห็นพ้องกันว่าเป็นการ
พฒั นาคุณภาพบรกิ ารพยาบาลในอีกมติ ิหนงึ่ ทจ่ี ะชว่ ยให้ผปู้ ่วยปลอดภยั

2. ขัน้ การนำใชแ้ นวปฏิบตั ิการพยาบาล
2.1 ภายหลงั ไดร้ ับอนญุ าตจากผู้อำนวยการโรงพยาบาลผ้วู จิ ัยนำแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลเพื่อ

ปอ้ งกนั UE ไปใช้ในพ้นื ท่ศี ึกษาเดือนพฤษภาคม 2562 โดยกลุ่มตวั อยา่ งแบ่งเป็น 2 กล่มุ
2.1.1 กลุ่มพยาบาลวิชาชพี ทป่ี ฏิบตั งิ านในหอ้ งผปู้ ่วยหนกั (ผู้ใหญ)่ และหอผู้ป่วยกงึ่

วกิ ฤตอายุรกรรม ทุกคนรวมทงั้ ส้ินจำนวน 90คน
2.1.2 กลุ่มผปู้ ่วยใส่ทอ่ ช่วยหายใจทางปากที่เข้ารับการรกั ษาในหอ้ งผ้ปู ว่ ยหนัก(ผู้ใหญ)่

และหอผปู้ ่วยก่งึ วกิ ฤตอายุรกรรม จำนวน 70คนโดยคดั เลอื กตามเกณฑ์ ดังนี้

เกณฑก์ ารคัดเขา้ กลมุ่ ตัวอย่าง (inclusion criteria)

1. ผู้ป่วยทไ่ี ดร้ บั การใส่ทอ่ ช่วยหายใจทางปากเขา้ รับการรกั ษาในห้องผู้ป่วยหนกั (ผใู้ หญ)่
และหอผูป้ ่วยกง่ึ วิกฤตอายุรกรรม โรงพยาบาลนครปฐม ทั้งเพศชายและเพศหญงิ

2. อายุมากกวา่ หรอื เท่ากับ 15 ปี
3. ผปู้ ่วยหรอื ญาติยนิ ดีเขา้ ร่วมการศึกษา
เกณฑ์การคดั ออกกล่มุ ตัวอย่าง (exclusion criteria)
1. ผู้ป่วยได้รับการเปลี่ยนช่องทางการใส่ท่อช่วยหายใจ เช่น เจาะคอ ใส่ท่อช่วยหายใจ

ทางจมูก
2. ผูป้ ่วยหรอื ญาติขอยกเลิกการเขา้ รว่ มการศึกษา
เกณฑก์ ารยตุ กิ ารวิจยั

กลุ่มตวั อยา่ ง (ผูป้ ว่ ยหรอื ญาต)ิ ขอออกจากการวจิ ยั ระหวา่ งดำเนนิ การ

55

2.2 ผ้วู จิ ัยและหัวหนา้ หอ้ งผู้ป่วยหนกั (ผ้ใู หญ)่ และหอผปู้ ว่ ยกง่ึ วกิ ฤตอายุรกรรมทำหนา้ ท่ี
นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม วนั ละ 1 ครั้ง ในเวรเชา้ เวลาราชการ

2.3 ปรับปรุงประสิทธิภาพของแนวปฏิบัติการพยาบาลที่ได้รับการพัฒนาขึ้นตามกรอบ
แนวคิดการนำแนวปฏิบัติการพยาบาลสู่การปฏิบัติของสภาวิจัยทางการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติของประเทศ
ออสเตรเลีย จากผลการประเมินความยาก-ง่ายในการนำไปใช้ ความสามารถในการนำไปใช้ ปัญหา อุปสรรค และ
ข้อเสนอแนะจากการนำไปใช้ ความพงึ พอใจของผปู้ ฏบิ ติต่อการนำไปใช้ และจากการนิเทศ กำกบั ตดิ ตามการปฏิบัติ
ตามแนวปฏิบตั ิการพยาบาลเพื่อปอ้ งกนั การเกิด UE ของหวั หนา้ งานในเดือนพฤษภาคม 2562

3. เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจัย สำหรับการวิจัยระยะท่ี 3
เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั สำหรบั การวจิ ยั ระยะท่ี 3 คอื
1. แนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเพ่อื ปอ้ งกนั การถอดท่อช่วยหายใจโดยไมไ่ ดว้ างแผน ซึ่งผวู้ จิ ัย

พัฒนาขึ้นในการวิจัยระยะที่ 2 สาระสำคัญแบ่งเป็น 3 หมวด ได้แก่หมวดการปฏิบัติการพยาบาล (nursing
intervention:I) หมวดการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด(closeupmonitoring:C) และหมวดการนำไปใช้ประโยชน์ (utilize:
U) (รายละเอยี ดดงั ภาคผนวก….)

2. เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมนิ ผลลัพธ์การนำแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเพื่อปอ้ งกัน
การเกิด UE งานห้องผ้ปู ่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐมไปใช้ (ภาคผนวก…..) ได้แก่

2.1 เครื่องมือประเมินผลลัพธ์ด้านกระบวนการ ได้แก่ แบบประเมินแนวปฏิบัติสำหรับ
พยาบาลผู้ใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน งานห้องผู้ป่วยหนัก
โรงพยาบาลนครปฐม ประกอบดว้ ย 2 สว่ น คือ

ส่วนที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของพยาบาลวิชาชีพผู้ใช้แนวทางปฏิบัติการ
พยาบาลมี 4ขอ้ ประกอบดว้ ย1) เพศ 2) อายุ 3) ระดบั การศึกษา4)ประสบการณท์ ำงานในหอผปู้ ่วยหนัก/หอผปู้ ว่ ย
ก่ึงวิกฤต โรงพยาบาลนครปฐม

สว่ นที่ 2 แบบประเมนิ ผลลพั ธ์ด้านกระบวนการ ประกอบดว้ ย
ตอนที่1 แบบประเมนิ ความยาก-งา่ ยในการนำแนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลไปใช้ โดย

เลือกตอบ 2 ระดบั คอื ยาก หรือ งา่ ย
ตอนท่ี 2 แบบประเมินความสามารถในการนำแนวปฏิบัตกิ ารพยาบาลไปใช้ โดย

เลอื กตอบ 2 ระดับ คอื นำไปใชไ้ ดห้ รือนำไปใช้ไม่ได้

56

ทั้งนี้แบบประเมินทั้ง 2 ข้อดังกล่าว ผู้วิจัยดัดแปลงจากแบบประเมินความเป็นไปได้ใน
การนำแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผนไปใช้ของสมจิตต์ แสงศรี มี
รายละเอยี ดสาระสำคญั ทัง้ 3 หมวด ดังน้ี

หมวดที่ 1 การปฏบิ ตั ิการพยาบาล (nursing intervention: I) ท้งั สิ้น จำนวน 5 ข้อ
1.1 การสง่ เสรมิ การสอ่ื สารในผ้ปู ่วยทใี่ ส่ทอ่ ช่วยหายใจจำนวน 7 ขอ้
1.2 การยดึ ตรึงทอ่ ช่วยหายใจ จำนวน 8 ข้อ
1.3 การดดู เสมหะในท่อชว่ ยหายใจ จำนวน 11 ข้อ
1.4 การดูแลช่องปากขณะใส่ทอ่ ช่วยหายใจ จำนวน 2 ข้อ
1.5 การผูกยดึ ร่างกายอย่างปลอดภยั จำนวน 6 ข้อ

หมวดท่ี 2 การเฝ้าระวงั อย่างใกลช้ ิด (close-up monitoring:C) ทัง้ สิ้น จำนวน 4 ขอ้
2.4 การประเมินระดับความรสู้ ึกตวั และพฤตกิ รรมการเคล่ือนไหว จำนวน 2 ข้อ
2.5 การประเมินและจดั การความปวดจำนวน 9 ข้อ
2.6 การประเมินภาวะกระสับกระสา่ ย ภาวะง่วงซึมและภาวะสับสนเฉียบพลนั จำนวน 4 ขอ้
2.7 การประเมนิ ความพร้อมในการหย่าเคร่อื งช่วยหายใจ จำนวน 5 ข้อ

หมวดท่ี 3 การนำไปใชป้ ระโยชน์ (utilize: U) จำนวน 4 ข้อ
ตอนที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อการนำแนว

ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาล

นครปฐมไปใช้ ซึ่งผู้วิจัยใช้แบบประเมินของสมจิตต์ แสงศรี โดยใช้มาตรวัดความพึงพอใจแบบตวั เลข 0-10

แปลความหมายระดบั ความพึงพอใจ ดงั นี้

คะแนนเฉลย่ี เทา่ กับ 0 หมายถึง ไม่พึงพอใจ

คะแนนเฉลีย่ อยู่ในช่วง 0.10-3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจนอ้ ย

คะแนนเฉล่ยี อยู่ในช่วง 3.51-7.00 หมายถงึ มีความพึงพอใจปานกลาง

คะแนนเฉลยี่ อยูใ่ นชว่ ง 7.01-10.00 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมาก

ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ในการใช้แนว

ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาล

นครปฐม ซึ่งเปน็ คำถามปลายเปิดใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงานตอบแบบสอบถามได้อสิ ระตามความคดิ เหน็

57

2.2 เคร่ืองมอื ประเมินผลลพั ธ์ดา้ นผู้ปว่ ย 2 สว่ น ได้แก่
2.2.1 แบบบนั ทึกข้อมูลท่วั ไปของผปู้ ่วย ประกอบด้วย 1) เพศ 2) อายุ 3) โรค
4) ระดับความร้สู กึ ตัว 5) หอผูป้ ว่ ยทเ่ี ขา้ รบั การรกั ษา
2.2.2 แบบประเมินประสิทธิผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อ
ช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน ประกอบด้วย 1) วันที่และเวลาที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก 2) วันที่ใส่ท่อช่วย
หายใจ 3) วันทถ่ี อดท่อชว่ ยหายใจ รวมจำนวนวันที่ใส่ท่อช่วยหายใจ 4) สาเหตุการถอดทอ่ ช่วยหายใจ 5) สถานการณ์
ขณะเกิด UE 6) สถานการณภ์ ายหลงั เกิด UE 7) สถานะการจำหนา่ ยออกจากหอผู้ปว่ ยหนัก

4. การตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่อื งมือวจิ ยั สำหรับการวจิ ัยระยะท่ี 3
การตรวจสอบคุณภาพของเครอื่ งมือวจิ ยั สำหรบั การวิจัยระยะที่ 3 ผ้วู ิจยั ดำเนินการดงั นี้
1. การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (contentvalidity) ผู้วิจัยนำแบบประเมินแนวปฏิบัติ

สำหรับพยาบาลผู้ใชแ้ นวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อปอ้ งกนั การถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ไดว้ างแผนงานหอ้ งผ้ปู ่วยหนัก
โรงพยาบาลนครปฐม และแบบประเมินผลลัพธ์ด้านผูป้ ่วย โดยผู้ทรงคณุ วฒุ ิจำนวน 3 ทา่ น ได้แก่ อาจารยพ์ ยาบาล 1
ทา่ น วสิ ัญญแี พทย์อนสุ าขาเวชบำบดั วกิ ฤต 1 ทา่ น และพยาบาลผ้ปู ฏบิ ัติการพยาบาลข้ันสูง สาขาอายุรศาสตร์และ
ศลั ยศาสตร์ 1 ท่าน ไดค้ า่ ดัชนีความตรงเชงิ เน้อื หา (content validity index: CVI) เท่ากับ 1

2. การตรวจสอบความเที่ยง (reliability) ของแบบประเมินแนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลผู้ใช้
แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาล
นครปฐม โดยวิธีทดสอบซ้ำ (test-retestreliability) ให้พยาบาลวิชาชีพห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) และหอผู้ป่วยก่ึง
วิกฤตอายุรกรรม ทดลองรวบรวมข้อมูลตามแบบบันทึกของแต่ละเครื่องมือในสถานการณ์จริง จนได้ค่าความเที่ยง
เทา่ กบั 1

3. การตรวจสอบคุณภาพของแนวปฏิบัติการพยาบาลเพอ่ื ป้องกนั การถอดทอ่ ชว่ ยหายใจโดย
ไมไ่ ด้วางแผน ไดผ้ า่ นการตรวจสอบคุณภาพโดยผูท้ รงคุณวุฒิจำนวน 3 ทา่ น ได้แก่ อาจารย์พยาบาล 1 ท่าน วิสัญญี
แพทย์ อนุสาขาเวชบำบัดวิกฤต 1 ท่าน และพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงสาขาอายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์ 1
ท่านดว้ ยวธิ กี ารประเมนิ คุณภาพแนวปฏบิ ตั ิสำหรับการวจิ ัยและประเมนิ ผล(Appraisalof GuidelineforResearch
andEvaluationI: AGREEI) ฉบับภาษาไทย ได้คะแนนคุณภาพแนวทางปฏิบัติทั้ง 6 หมวด คิดเป็นร้อยละ 83-89
และคะแนนคณุ ภาพแนวทางปฏบิ ัติในภาพรวมเท่ากบั 6 คะแนน ผทู้ รงคณุ วุฒิแนะนำให้นำแนวปฏิบตั กิ ารพยาบาล
เพอ่ื ปอ้ งกนั การถอดทอ่ ชว่ ยหายใจโดยไม่ไดว้ างแผนไปใช้เนื่องจากเป็นแนวปฏิบตั ทิ ี่สง่ ผลดตี อ่ คุณภาพการพยาบาล
มคี ่าความเที่ยงการประเมนิ (Inter-rater reliability) อยใู่ นระดับดี= 0.77

58

5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวจิ ัย สำหรบั การวิจัยระยะท่ี 3
ผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยภายหลังได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ

พจิ ารณาการศึกษาวิจัยในคน โรงพยาบาลนครปฐม โดยมรี ายละเอยี ดการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ดงั นี้
1. ผู้วิจัยนำแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกัน UE ไปใช้กับผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาใน

หอผู้ป่วยทเ่ี ปน็ กลมุ่ ตวั อยา่ ง ระหว่างเดือนพฤษภาคม 2562
2. พยาบาลวิชาชีพผู้ร่วมวิจัย ลงบันทึกข้อมูลตามแบบบันทึกเครื่องมือประเมินผลลัพธ์

ดา้ นผปู้ ว่ ย หวั หน้าหอผูป้ ว่ ยตรวจสอบความถูกต้อง ครบถว้ น ของการบันทกึ ทุกวนั
3. ตรวจสอบคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างตรงตามเกณฑ์คัดเข้า ครบจำนวน 70 ราย ใน

เดอื นพฤษภาคม 2562 รวบรวมขอ้ มลู ทัง้ หมดนำไปวเิ คราะหข์ ้อมลู การวจิ ยั ตอ่ ไป

6. สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวจิ ัย สำหรบั การวิจัยระยะที่ 3
ผูว้ ิจัยใชส้ ถิติสำหรบั การวจิ ัยระยะท่ี 3 ดงั น้ี
1. ข้อมูลส่วนบุคคลของพยาบาลวิชาชีพผู้ใช้แนวปฏิบัติการพยาบาล ใช้สถิติเชิง

บรรยาย ได้แก่ รอ้ ยละ ความถี่ คา่ เฉลี่ย ( ̅) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD)
2. ประเมินความเป็นไปได้ในการนำแนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลผู้ใช้แนวปฏิบัติการ

พยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผนงานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม ใช้สถิติเชิง
บรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ความถ่ี คา่ เฉล่ีย ( ̅) และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (SD)

3. ประเมินความพึงพอใจในการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE ใช้
สถิติเชงิ บรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ คา่ เฉลย่ี ( ̅ ) และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (SD)

4. ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ปญั หา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ ในการใช้แนวปฏิบตั ิการพยาบาล
เพื่อป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม ใช้สถิติเชิงบรรยาย
ได้แก่ รอ้ ยละ รว่ มกับการจดั หมวดหม่เู น้อื หา

5. ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย ใช้สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ( ̅) และ
ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

6. ประเมินประสิทธิผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อช่วย
หายใจโดยไม่ได้วางแผน ใชส้ ถติ ิเชิงบรรยาย ไดแ้ ก่ ความถี่ ค่าเฉล่ีย ( ̅) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (SD)

59

7. การพทิ กั ษส์ ิทธ์ขิ องกลมุ่ ตวั อยา่ ง สำหรับการวิจัยระยะที่ 3
ผวู้ ิจัยดำเนนิ การพิทกั ษ์สทิ ธิของกลุม่ ตัวอย่าง สำหรับการวจิ ยั ระยะที่ 3 ดังนคี้ อื
1. ผู้วิจัยทำเอกสารขอรับรองจริยธรรมจากคณะกรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคน

โรงพยาบาลนครปฐม และผ่านการรับรอง ณ วันที่ 2 พฤษภาคม 2561: COANo. 091/2560, NPH–REC No.
009/2019 (ภาคผนวก…)

2. เมื่อเอกสารขอรับรองจริยธรรมจากคณะกรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคน
โรงพยาบาลนครปฐมผ่านเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยดำเนินการจัดทำเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัย (Participant
InformationSheet) เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจรายละเอียดและวัตถุประสงค์โครงการกับกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมวิจัย
(ภาคผนวก…)

3. ผู้วิจัยดำเนินการจัดทำหนังสือแสดงเจตนายินยอมเข้าร่วมวิจัย (Informedconsent
form) โดยชีแ้ จงกลุ่มตวั อยา่ งใหท้ ราบถึงวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั ขั้นตอนการเก็บรวบรวบรวมขอ้ มูลระยะเวลาใน
การวิจัย ประโยชน์และผลเสียของการเข้าร่วมวิจัย รวมทั้งสิทธิในการตอบรับหรือปฏิเสธการเข้าร่วมวิจัยของกลุ่ม
ตวั อย่าง โดยไม่มผี ลกระทบตอ่ การรับบริการและการรักษาใดๆท้ังสน้ิ กลุ่มตัวอยา่ งสามารถถอนตวั ออกจาการวจิ ยั ได้
ตลอดเวลาโดยไม่ต้องอธบิ ายหรอื แจง้ เหตุผลผลจากการวจิ ยั ในคร้ังน้ีจะนำเสนอในภาพรวมและเปน็ ประโยชนต์ อ่ การ
วิจัยเท่านั้น เมื่อกลุ่มตัวอย่างเข้าใจและยินดีเข้าร่วมวิจัย ผู้วิจัยจึงให้ลงชื่อในเอกสารยินยอมเข้าร่วมวิจัย เพื่อให้
กล่มุ ตัวอย่าง ท่ีเขา้ ร่วมโครงการอ่านและลงลายมือชอ่ื แสดงความยินยอมไว้ใหเ้ ปน็ ลายลักษณ์อกั ษร (ภาคผนวก…)

ผลลัพธด์ ้านกระบวนการ
พยาบาลวชิ าชพี ท่ีใช้แนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลเพื่อป้องกนั การเกิด UE งานหอ้ งผปู้ ว่ ยหนัก
โรงพยาบาลนครปฐม จำนวน 90 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 98.89 เพศชายจำนวน 1
คน คิดเป็นร้อยละ 1.11 กลุ่มอายุ 23-27 ปี มากที่สุด จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 42.70 รองลงมากลุ่มอายุ 28-
32 ปี จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 24.72 และกลุ่มอายุ 38-42 ปี จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 16.86 การศึกษา
ระดับปริญญาตรีมากที่สุด จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 94.4 ประสบการณ์ทำงานในห้องผู้ป่วยหนักต่ำกว่า 5 ปี
มากทส่ี ดุ จำนวน 43 คน คิดเปน็ ร้อยละ 47.8 รองลงมาเป็นกล่มุ ประสบการณท์ ำงานในห้องผูป้ ่วยหนักมากกวา่ 10 ปี
จำนวน 24 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 26.7 และน้อยทีส่ ุดคอื กลุ่มประสบการณ์ทำงานในหอ้ งผู้ป่วยหนกั 5-10 ปี จำนวน 23
คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25.6
ในภาพรวมพยาบาลวชิ าชพี มคี วามคดิ เห็นว่าแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเพอื่ ป้องกนั การเกดิ UE งาน
หอ้ งผปู้ ่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐมหมวดที่ 1 การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล(nursingintervention:I) มคี วามง่ายต่อการ
นำไปใช้ร้อยละ 93.66 และสามารถนำไปใช้ได้ร้อยละ 99.18 และเมื่อแยกเป็นรายกิจกรรมพบว่า กิจกรรมการดูด

60

เสมหะในท่อช่วยหายใจ มีความง่ายต่อการนำไปใช้มากที่สุดร้อยละ 98.38 และสามารถนำไปใช้ได้มากที่สุดร้อยละ
99.49 รองลงมาเปน็ กจิ กรรมการดแู ลช่องปากในขณะใส่ท่อชว่ ยหายใจ มีความง่ายตอ่ การนำไปใช้ร้อยละ 97.22 และ
สามารถนำไปใช้ได้ร้อยละ 99.44 และกิจกรรมการสง่ เสริมการสือ่ สารในผู้ป่วยท่ีใส่ท่อช่วยหายใจมีความงา่ ยต่อการ
นำไปใช้น้อยที่สุดร้อยละ 83.65 แต่สามารถนำไปใช้ได้มากถึงร้อยละ 99.37 หมวดที่ 2 การเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
(closeup monitoring:C) มีความง่ายต่อการนำไปใช้ร้อยละ 81.11 และสามารถนำไปใช้ได้ร้อยละ 92.22 เมื่อแยก
เป็นรายกิจกรรม พบวา่ กิจกรรมการประเมนิ ความพร้อมในการหยา่ เครอื่ งช่วยหายใจ มคี วามง่ายต่อการนำไปใช้มาก
ท่สี ดุ รอ้ ยละ 92.00 และสามารถนำไปใช้ไดม้ ากท่ีสดุ รอ้ ยละ 97.33 รองลงมาเป็นกจิ กรรมการประเมนิ และการจัดการ
ความปวด ความง่ายตอ่ การนำไปใช้ร้อยละ 86.05 และสามารถนำไปใช้ได้ร้อยละ 97.90 และกิจกรรมการประเมนิ และ
การจดั การภาวะกระสบั กระส่ายภาวะงว่ งซึมและภาวะสบั สนเฉียบพลันมีความงา่ ยต่อการนำไปใชน้ อ้ ยทีส่ ดุ ร้อยละ
58.06 แต่สามารถนำไปใช้ได้ร้อยละ 94.72 และหมวดที่ 3 การนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ (utilize:U) พยาบาลวิชาชพี
(หัวหน้างาน) มีความเห็นว่ามีความง่ายต่อการนำไปใช้และนำไปใช้ได้ร้อยละ 100 ทั้งในภาพรวมและรายกิจกรรม
(รายละเอียดดงั แสดงภาคผนวก….)

พยาบาลวชิ าชพี มีระดบั ความพงึ พอใจต่อการใชแ้ นวปฏบิ ัติการพยาบาลเพ่อื ปอ้ งกนั การเกดิ UE
งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม ในระดับมากจำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 74.4 ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.33,
SD=0.73 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาเป็นความพึงพอใจระดับปานกลาง จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3
ค่าเฉลี่ย=5.33,SD=0.73 และในภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากค่าเฉลี่ย=7.05,SD=1.39(รายละเอียดดงั
แสดงภาคผนวก…)

จากการนำแนวปฏิบตั ิการพยาบาลเพ่ือปอ้ งกนั การเกิด UE ของพยาบาลวิชาชพี ไปใช้ พบวา่ มี

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเปน็ รายหมวด ดังน้ี

หมวดท่ี 1 การปฏิบัติการพยาบาล (nursing intervention: I)

1.1 การส่งเสริมการสื่อสารในผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 2 ราย ระบุว่ามี

ความยากในกรณีผู้ปว่ ยที่มีภาวะสับสนพูดคุยด้วยไมเ่ ข้าใจและพยาบาลวชิ าชีพจำนวน 1 คน ระบุว่ามีความยากใน

การใช้แผน่ ภาพกบั ผปู้ ่วยสงู อายเุ น่อื งจากมองเหน็ ภาพไมช่ ัดจงึ ชภ้ี าพไม่ตรงกบั ความตอ้ งการ เสนอแนะวา่ ควรใช้กับ

ผู้ปว่ ยที่สามารถมองเห็นได้ชดั เจน

1.2 การยดึ ตรึงท่อช่วยหายใจ พยาบาลวชิ าชีพจำนวน 1 รายระบุวา่ มคี วามยากเนื่องจากไม่สามารถ

ตดิ พลาสเตอร์บรเิ วณรมิ ฝปี ากไดใ้ นกรณีท่ีมแี ผลท่บี ริเวณริมฝีปากเสนอแนะใหห้ ลีกเลี่ยงการติดบริเวณนั้นและการ

บันทึกตำแหน่งทอ่ ช่วยหายใจขอเพ่มิ เติมเปน็ บนั ทกึ ท่ี flow sheet

61

1.3 การดดู เสมหะในท่อช่วยหายใจพยาบาลวชิ าชีพจำนวน 4 รายระบุว่ามคี วามยากเนือ่ งจากความ
เคยชินยังมีการดูดทุก 4 ชั่วโมงลืมเปิดออกซิเจน 100 เปอร์เซ็นก่อนการดูดเสมหะมีบางครั้งใส่สายลึกเกินไปและ
ดูดเสมหะตามปรมิ าณท่มี จี นหมด

1.4 การผูกยึดร่างกายอย่างปลอดภัย พยาบาลวิชาชีพจำนวน 5 รายระบุว่ามีความยากในกรณี
ผู้ป่วยสับสนหรือบางครั้งลืมตัวและในผู้ป่วยที่มีอาการทางสมองโดยเฉพาะผู้ป่วยในห้องผู้ป่วยหนักศัลยกรรม
ประสาทและสมองถึงแมจ้ ะมีระดับคะแนนการประเมินMAASscore=3ก็ยังต้องผูกยึดมือเนื่องจากมีความเสีย่ งต่อ
การถอดท่อช่วยหายใจโดยไมไ่ ด้วางแผนสูงมากและยงั ไม่คุ้นเคยกับการประเมิน MAAS scoreต้องใช้คู่มอื ประกอบ
และการลงบันทึกคะแนนการประเมินในใบบันทึกยังไม่ต่อเนื่อง เสนอแนะให้ใช้วิธีการ roundผู้ป่วยขณะ
ปรกึ ษาหารือทางการพยาบาลขา้ งเตียงผปู้ ่วย

หมวดท่ี 2 การเฝ้าระวังอย่างใกล้ชดิ (close up monitoring: C)
2.1 การประเมินและการจัดการความปวด พยาบาลวิชาชีพจำนวน 17 รายระบุว่ามีความยาก
เนื่องจากยังไม่คุ้นเคย โดยเฉพาะการประเมินในผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวด้วยเครื่องมือประเมิน CPOTต้องเปิดคู่มือ
ประกอบการประเมิน มีข้อเสนอแนะว่าจากการสังเกตผูป้ ่วยจะมอี าการนำมาก่อนคือการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ
ชีพ ได้แก่ ชีพจรเต้นแรงและเร็วขึน้ หายใจเร็วขึ้นและความดันโลหิตสูงเพิม่ ขึ้นน่าจะใช้เปน็ สญั ญาณเริ่มต้นเตือน
ให้ร้วู า่ ผ้ปู ว่ ยเรมิ่ มีอาการปวด
2.2 การประเมินภาวะสับสน ภาวะง่วงซึมและภาวะสับสนเฉียบพลัน พยาบาลวิชาชีพจำนวน 25
ราย ระบุว่ามีความยากมากที่สุดเนื่องจากเป็นเครื่องมือใหม่ที่ไม่เคยใช้มาก่อน ต้องเปิดคู่มือประกอบการประเมิน
โดยเฉพาะผปู้ ่วยท่ใี สท่ อ่ ช่วยหายใจและผูป้ ่วยทีม่ ีปัญหาทางสมอง
หมวดที่ 3 การนำไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ (utilize: U)
จากการสนทนากลุ่มกับหัวหน้างานห้องผู้ป่วยหนักและหัวหน้าหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤต ระบุว่าความ
ยุ่งยากที่พบขณะนิเทศกำกับติดตามคือพยาบาลวิชาชีพที่มปี ระสบการณ์น้อยกว่า 5 ปี ที่มีอยู่มากที่สุดถึงร้อยละ
47.8 มีทักษะในการใช้เครื่องมือสำหรับการประเมินและการเฝ้าระวังผู้ป่วยน้อย โดยเฉพาะเครื่องมือประเมินการ
จัดการความปวด (CPOT) เครื่องมือประเมินภาวะสับสน ภาวะง่วงซึม (RAAS) เครื่องมือการประเมินภาวะสับสน
เฉียบพลนั (CAM-ICU)ซ่ึงเป็นเครื่องมอื ท่ยี งั ไม่เคยนำมาใชใ้ นการประเมินผ้ปู ว่ ยเลยและลงบันทกึ ทางการพยาบาลยงั
ไมค่ รบถ้วน ซง่ึ ในขณะปฏิบัตงิ านเวรเชา้ เวลาราชการหวั หนา้ งานเป็นท่ปี รกึ ษาให้คำแนะนำได้ตลอดเวลาสามารถตอบ

62

ข้อสงสัยชี้แนะให้ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง แต่ในช่วงเวลานอกราชการเวลามีข้อสงสัยไม่แน่ใจในแนว
ปฏิบัตกิ ารพยาบาลตอ้ งรอถึงเวรเชา้ เวลาราชการเพอื่ ปรกึ ษาหวั หน้างานและพบวา่ พยาบาลวชิ าชีพที่มปี ระสบการณ์
มากกว่า 10 ปีมีทักษะในการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลได้ดี เสนอแนะให้มอบหมายพยาบาลวิชาชีพที่มี
ประสบการณ์มากกว่า 10 ปี ซึ่งมอี ยรู่ ้อยละ 26.7 และขนึ้ ปฏบิ ตั ิงานทกุ เวรครอบคลมุ 24 ชว่ั โมงในทกุ หอผู้ป่วยเป็น
พ่เี ล้ียงช่วยกำกบั ตดิ ตามพยาบาลวชิ าชีพที่มปี ระสบการณ์น้อยกวา่ ในช่วงนอกเวลาราชการ และเป็นการส่งเสริมการ
ใช้ศักยภาพของพยาบาลวิชาชีพอาวุโสให้มากขึ้นด้วย นอกจากนี้ต้องเพิ่มการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่องจึงจะเกดิ
ประสทิ ธิผลทด่ี ี

ผลลัพธด์ ้านผู้ป่วย
กลุม่ ตัวอย่างผู้ปว่ ย สว่ นใหญอ่ ยใู่ นกลมุ่ อายุ 61-80 ปี จำนวน 32 คนคดิ เปน็ ร้อยละ 45.71
รองลงมาเป็นกล่มอายุ 41-60 ปี จำนวน 21 คนคิดเป็นร้อยละ 30.00 และกลุ่มอายุ > 80 ปี จำนวน 11 คนคิดเป็น
ร้อยละ 15.72 ส่วนน้อยที่สุดพบในกลุ่มอายุ ≤40 ปี จำนวน 6 คนคิดเป็นร้อยละ 8.75 นอกจากนี้ยังพบในเพศชาย
มากกว่าเพศหญิง โดยในเพศชายพบจำนวน 42 รายคิดเป็นร้อยละ 60.00 ในเพศหญิงจำนวน 28 รายคิดเป็นร้อยละ
40.00 มีระดับความรู้สึกตัว (GCS) เท่ากับ13-15 มากที่สุดจำนวน 60 รายคิดเป็นร้อยละ 85.71 รองลงมามี GCS
เท่ากับ 3-8 จำนวน8 รายคิดเป็นรอ้ ยละ 11.43 และน้อยที่สุดคือมี GCSเท่ากับ 9-12 จำนวน 2 รายคิดเป็นร้อยละ
2.86 กลมุ่ โรคท่พี บมากที่สุดคอื โรคตดิ เช้อื ในกระแสเลอื ดจำนวน 18 รายคดิ เป็นรอ้ ยละ 24.2 รองลงมาเป็นโรคหัวใจ
ชนิดไมผ่ ่าตดั จำนวน16 รายคิดเป็นรอ้ ยละ 22.86 และโรคมะเรง็ จำนวน 8รายคดิ เป็นร้อยละ 11.42 (รายละเอยี ดดงั
แสดงภาคผนวก…..)
หลังจากไดร้ บั การดูแลตามแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลเพื่อปอ้ งกันการถอดท่อชว่ ยหายใจโดยไม่ได้
วางแผนที่พฒั นาข้นึ เปน็ ระยะเวลา 1 เดือน (พฤษภาคม2562) พบอบุ ัติการณ์การเกิด UEจำนวน 7 ครง้ั สาเหตุเกิด
จากผู้ปว่ ยดึงเองและไม่ตอ้ งใส่ทอ่ ช่วยหายใจกลับซำ้ จำนวน 4ราย และระยะเวลาการใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจเฉล่ยี 5.31 วัน
(min=1,max=30)
จากนั้นผวู้ ิจัยนำผลลพั ธ์ดา้ นกระบวนการมาทำการปรบั ปรุงเพ่ือให้เกดิ ความเหมาะสมก่อนนำไปใชจ้ ริง โดย
การสนทนากลุ่มร่วมกับหัวหน้าหอ้ งผปู้ ่วยหนกั (ผใู้ หญ่) และหัวหนา้ หอผปู้ ่วยกง่ึ วิกฤตอายรุ กรรม ไดด้ ังนี้

63

1. ปรับปรุงแนวปฏิบตั ิการพยาบาลเพอื่ ปอ้ งกันการถอดท่อชว่ ยหายใจโดยไม่ไดว้ างแผนเปน็ รายหมวด
หมวดที่ 1 การปฏิบัติการพยาบาล (nursing intervention: I): 1)
1.1 การส่งเสริมการสื่อสารในผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ ให้ผู้นิเทศใช้วิธีการกำกับติดตามให้

ขอ้ เสนอแนะเป็นรายบุคคล
1.2 การยดึ ตรงึ ท่อชว่ ยหายใจเพ่ิมการบนั ทกึ ตำแหน่งทอ่ ช่วยหายใจใน flow sheet
1.3 การดูดเสมหะในท่อช่วยหายใจให้ผู้นิเทศใช้วิธีการกำกับติดตามให้องค์ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติ

ร่วมกับการใหข้ อ้ เสนอแนะเป็นรายบคุ คล
1.4 การผูกยึดร่างกายอย่างปลอดภัยให้ผู้ปฏิบัติพิจารณาความจำเป็นในการผูกยึดเป็นรายๆ

รว่ มกับการเยีย่ มตรวจเปน็ ระยะ
หมวดที่ 2 การเฝ้าระวังอย่างใกลช้ ดิ (closed up monitoring: C)
2.1 การประเมินและการจดั การความปวดเพิม่ เติมการประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของชีพจรที่เต้น

เร็วขึน้ แรงขึ้น ความดนั โลหิตสงู ขึ้น และการหายใจเร็วข้นึ เปน็ สญั ญาณเตอื นระยะเร่ิมต้นของความปวดร่วมกับการ
ประเมินความปวดดว้ ย NRS หรือ CPOT(จากการทบทวนหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์เพิ่มเติมพบว่าความปวดมีผลกระทบ
ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดโดยความปวดไปกระตนุ้ ระบบประสาทซิมพาเทตกิ ทำใหห้ ล่ังสารแคทโี คลามนี มผี ลตอ่
การเตน้ ของหัวใจทแี่ รงและเรว็ ขนึ้ ความดนั โลหิตสงู ขึน้ และทำให้หายใจเรว็ ขนึ้ และจากข้อเสนอแนะแนวปฏิบัติการ
บรหิ ารจัดการความปวด ภาวะกระสับกระส่ายและภาวะสับสนเฉยี บพลนั ในผู้ป่วยวกิ ฤตผูใ้ หญ่ในห้องผ้ปู ่วยหนกั ของ
บารรแ์ ละคณะ เสนอแนะให้ประเมนิ ความปวดโดยใช้เครือ่ งมือประเมินพฤตกิ รรมซง่ึ ได้แก่ CPOT(B)และใช้สญั ญาณ
ชีพเป็นจดุ เริ่มตน้ ของการประเมิน (+2C)

2.2 การประเมินภาวะสับสน ภาวะง่วงซึมและภาวะสับสนเฉียบพลัน มีความยากมากที่สุด เป็น
เคร่อื งมอื ใหมท่ ไ่ี ม่เคยใชม้ ากอ่ น ให้ผู้นเิ ทศใชว้ ิธีการกำกบั ติดตามให้ขอ้ เสนอแนะเป็นรายบคุ คล

หมวดท่ี 3 การนำไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ (utilize: U)
เพิ่มเติมบทบาทหัวหน้าเวรหรือพยาบาลพี่เลี้ยงในการนเิ ทศกำกับติดตามเพ่ือให้ครอบคลุมทุกเวร
ดังน้ี
3.1 สังเกตและร่วมปฏิบตั งิ านกบั พยาบาลวชิ าชีพผใู้ ชแ้ นวทางปฏิบตั ิทมี่ อี าวโุ สต่ำกว่า ให้
คำแนะนำปรึกษาทำความเข้าใจและปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่างเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติตามแนวปฏบิ ัติการพยาบาลให้
เกดิ ความถูกตอ้ ง

64

3.2 สง่ ตอ่ ข้อมลู ปญั หาทพ่ี บในเวร วิธกี ารจดั การปัญหา เพ่ือการเฝา้ ระวงั ต่อเนื่อง
3.3 วเิ คราะห์ ปัญหาอปุ สรรค ในการใชแ้ นวทางปฏิบตั ิ นำเสนอหวั หน้างานเพ่ือปรับปรุงแนวทาง
ปฏิบัติใหส้ ามารถใช้ไดเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดอยา่ งเหมาะสมกับบริบท

2. จัดทำแผนภมู ิกลมุ่ การป้องกนั การถอดท่อช่วยหายใจโดยไมไ่ ดว้ างแผน (Preventive Unplanned
ExtubationBundle:ICU) มอบใหห้ น่วยงานนำไปติดบรเิ วณทมี่ องเห็นได้ชัดเพ่ือใชเ้ ป็นเคร่อื งมือในขณะปฏิบัติงาน
ซึ่งสามารถมองเห็นภาพรวมแนวปฏิบัติการพยาบาลครอบคลุมทง้ั 3 หมวด และใชส้ ญั ญลกั ษณ์สเี ป็นสัญญาณเตือน
การเฝา้ ระวงั ชว่ ยให้สามารถดแู ลผู้ปว่ ยไดท้ ันทว่ งที แสดงดงั ภาพ

65

ข้ันตอนที่ 2 การศกึ ษาประสิทธผิ ลของการใช้.....
อาจพิจารณาดูผลของปัญหาที่มีการนำไปใช้งาน เปรียบเทียบกับปัญหาที่เกิดในปีก่อน

หน้ากไ็ ด้
1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง คือ.......

อาจกำหนดประชากร กลุ่มตวั อย่างของปที ี่มกี ารนำไปใช้งาน กบั ประชากรทน่ี ำมาเปรียบเทียบกับปัญหาท่ี
เกิดในปกี อ่ นหน้าก็ได้

2. เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย คือ
- รปู แบบ/แนวทาง/ระบบ.... (จากการนำไปใชใ้ นการวิจยั ระยะที่ 3 ปรับปรงุ ให้เหมาะสม
กับการนำไปใชป้ ฏบิ ตั จิ ริง (ภาคผนวก ...)
- เคร่ืองมือประเมินผลลพั ธ์ด้านผู้ปว่ ย (เป็นแบบประเมินชุดเดยี วกับทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั
ระยะท่ี 3)
3. วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ัย ........
4. สถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวิจยั .......

ตัวอยา่ งขัน้ ตอนที่ 2 การศึกษาประสทิ ธผิ ลของการใช้..... ท่ีผูว้ จิ ยั เขยี นไวด้ งั น้ี

ระยะท่ี 4: วธิ ดี ำเนนิ การศกึ ษาประสิทธิผลของการใชแ้ นวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเพือ่ ป้องกนั การ
เกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม ใช้วิธีการเปรียบเทียบผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย ได้แก่จำนวน
อุบัติการณ์การเกิด UE และจำนวนวันใส่ท่อช่วยหายใจ ระหว่างกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลโดยใช้วิธีปฏิบัติการ
พยาบาลเดิม(กลุ่มการพยาบาลพัฒนาขึ้น 2558) กับกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลท่ี
ได้รับการปรับปรุงก่อนนำไปใช้จริงในหน่วยงาน(จากการวิจัยในระยะท่ี3) ทั้งนี้เพื่อแสดงให้เห็นว่าแนวปฏิบัติการ
พยาบาลทีไ่ ด้รับการปรับปรุงแล้วนี้มีคุณภาพดีย่ิงข้ึนและสามารถอยูใ่ นกระบวนการดูแลผู้ปว่ ยประจำวันได้ ซึ่งการ
วิจยั ในระยะนี้ ดำเนนิ การในเดือนมถิ นุ ายน 2562

1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง สำหรับการวจิ ยั ระยะที่ 4
ประชากร คือ ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจทางปากที่เข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาล

นครปฐม

66

กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยวิกฤตที่เข้ารับการรักษาในห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) และหอ
ผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรม โรงพยาบาลนครปฐม และได้รับการรักษาโดยการใส่ท่อช่วยหายใจทางปาก (Oral
Endotracheal Tube) ประกอบด้วย 2 กลุ่ม ดงั นี้

กลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลด้วยวิธีปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการ
เกิด UE เดิม (กลุ่มการพยาบาลพัฒนาขึ้น 2558) โดยศึกษาจากเวชระเบียนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในห้อง
ผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรมโรงพยาบาลนครปฐม ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึงธันวาคม
2561 จำนวน 70 ราย

กลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกัน
การเกดิ UEท่ปี รบั ปรงุ แล้วกอ่ นนำไปใชจ้ รงิ ในหน่วยงาน และนำไปใช้ในผปู้ ว่ ยใส่ทอ่ ช่วยหายใจทางปากท่เี ข้ารับการ
รักษาในห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรม โรงพยาบาลนครปฐมในเดือนมิถุนายน 2562
จำนวน 70 ราย

คดั เลือกกลุ่มตัวอยา่ งด้วยวิธีแบบเฉพาะเจาะจง ขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งคำนวณจาก
การคำนวณค่าอิทธิพลที่ได้จากงานวิจัยที่เคยศึกษามาก่อน ของ… ซึ่งศึกษาการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจและ
ระยะเวลาของการใส่เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตที่ได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลที่สร้างจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์ ได้ค่าขนาดอิทธิพล(effectsize) 0.66 กำหนดค่าอำนาจการทดสอบ(poweroftest) เท่ากับ
0.80 และระดับนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดับ.05และใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปG*PowerAnalysis ในการคำนวณได้กลุ่ม
ตัวอย่างกลุ่มละ 51 คน แต่เนื่องจากพื้นที่ศึกษามีกลุ่มตัวอย่างทั้งผู้ป่วยอายุรกรรมและศัลยกรรมหลายอนุสาขา
เพอื่ ใหก้ ลมุ่ ตัวอยา่ งมีความครอบคลุมจึงเพ่มิ กลุม่ ตวั อย่างเป็นกล่มุ ละ 70 คน ทั้งน้ใี ช้เกณฑ์การคัดเข้ากลุ่มตัวอย่าง
(inclusioncriteria)เกณฑ์การคัดออกกลุ่มตัวอย่าง (exclusioncriteria)และเกณฑ์การยุติการวิจัยเช่นเดียวกับการ
วิจัยในระยะที่ 3

2. วิธดี ำเนินการวิจัย สำหรบั การวิจัยระยะท่ี 4
2.1 กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลด้วยวิธีปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE

เดิม (กลุ่มการพยาบาลพัฒนาขึ้น 2558) ศึกษาข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยในที่เข้ารับการรักษาในห้อง
ผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่)และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรมโรงพยาบาลนครปฐมระหว่างพฤศจิกายนถึงธันวาคม 2561
ตามเกณฑ์การคดั เลอื กกลมุ่ ตวั อย่าง

2.2 กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด
UE ทป่ี รับปรงุ แล้วกอ่ นนำไปใชจ้ รงิ ในหน่วยงาน ดำเนนิ การดังนี้

67

1. ผู้วิจัยจัดประชุมพยาบาลวิชาชีพผู้ปฏิบัติงานในห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่)
และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรม แจ้งผลลัพธ์การใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE ในเดือน
พฤษภาคม 2562 พร้อมชี้แจงทำความเข้าใจแนวปฏิบัติการพยาบาลที่ได้รับการปรับปรุงแล้วก่อนนำไปใช้จริงใน
หนว่ ยงาน และทวนสอบความเขา้ ใจในการใช้แนวปฏบิ ัติการพยาบาลให้มีความเข้าใจตรงกัน

2. ผู้วิจัยนำแนวปฏิบัติการพยาบาลที่ได้รับการปรับปรุงแล้วให้พยาบาล
วิชาชีพผู้ปฏิบัติงานในห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรม ใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลใน
เดือนมิถุนายน 2562 โดยมีหัวหน้าห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) หัวหน้าหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรมและพยาบาล
วิชาชีพอาวุโสหรือพยาบาลพี่เลีย้ งเป็นผู้นิเทศ กำกับ ติดตามการปฏิบัติการพยาบาลอย่างใกล้ชิดครอบคลุมตลอด
24 ชว่ั โมง

3. เครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจยั สำหรบั การวิจัยระยะที่ 4
เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย สำหรบั การวจิ ยั ระยะท่ี 4 คือ
3.1 แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผนท่ี

ปรับปรุงแล้วก่อนนำไปใช้จริงในหน่วยงาน (จากการนำไปใช้ในการวิจัยระยะที่ 3 ปรับปรุงให้เหมาะสมกับการ
นำไปใช้ปฏิบตั จิ รงิ (ภาคผนวก…)

3.2 วธิ ีปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดมิ (กลมุ่ การพยาบาลพัฒนาข้นึ 2558)
3.3 เครื่องมือประเมินผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย (เป็นแบบประเมินชุดเดียวกับที่ใช้ในการ
วจิ ยั ระยะที่ 3)

4. การตรวจสอบคุณภาพของเครอ่ื งมอื วิจัย สำหรบั การวิจยั ระยะท่ี 4
เครื่องมือการวจิ ยั ในการวิจัยระยะท่ี 4 นไี้ ดร้ บั การตรวจสอบคณุ ภาพตง้ั แตก่ ารวจิ ยั

ระยะท่ี 3

5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลการวจิ ัย สำหรบั การวิจัยระยะที่ 4
5.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลด้วยวิธีปฏิบัติการ

พยาบาลเดมิ (กลุ่มการพยาบาลพฒั นาข้ึน 2558)
1) ประสานงานศนู ย์ขอ้ มูลเพอ่ื ขอเวชระเบียนผู้ป่วยในท่ีเขา้ รบั การรักษาในห้อง

ผู้ป่วยหนัก (ผใู้ หญ่) และหอผู้ป่วยกง่ึ วิกฤตอายุรกรรม ระหวา่ งเดือน พฤศจิกายน – ธนั วาคม 2561

68

2) นำเวชระเบียนผู้ป่วยในที่ได้จากข้อ (1) มาคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มี
คุณลักษณะตามเกณฑ์การคัดเข้ากลุ่มตัวอย่างก่อนใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE จำนวน 70
คน

3) นำเวชระเบียนผู้ป่วยจำนวน 70 คน มาศึกษาและลงบันทึกข้อมูลตาม
เครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลลัพธด์ า้ นผ้ปู ่วย

5.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลด้วยแนวปฏิบัติการ
พยาบาลเพ่อื ปอ้ งกนั การถอดท่อชว่ ยหายใจโดยไม่ได้วางแผนท่ีปรับปรงุ แล้วก่อนนำไปใช้จรงิ ในหน่วยงาน ดำเนนิ การ
เชน่ เดยี วกบั การวิจยั ระยะที่ 3

6. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล สำหรบั การวิจยั ระยะที่ 4
6.1 ตรวจสอบแบบบันทึกประเมินผลลัพธ์ด้านผูป้ ่วยที่มีข้อความสมบูรณ์มาทำการ

แยกหมวดหมู่เพอ่ื ทำการวเิ คราะห์
6.2 วเิ คราะห์ขอ้ มูลท่ไี ด้แบบบนั ทกึ ประเมนิ ผลลัพธด์ า้ นผ้ปู ว่ ยโดย
1) ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ความถ่ี

ค่าเฉลยี่ ( ̅) และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (SD), chi-square และ t-test
2) เปรียบเทียบความแตกต่างจำนวนการเกดิ อบุ ัตกิ ารณ์ UE ระหว่างกลุ่มผูป้ ว่ ย

ที่ได้รับการดูแลด้วยวิธีปฏิบัติการพยาบาลเดิมและกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลด้วยแนวปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือ
ป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผนที่ปรับปรุงแล้วก่อนนำไปใช้จริงในหน่วยงาน งานห้องผู้ป่วยหนัก
โรงพยาบาลนครปฐม โดยใช้สถิติ chi-square

3) เปรียบเทียบความแตกต่างจำนวนวันใส่ท่อช่วยหายใจระหว่างระหว่างกลุ่ม
ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลด้วยวธิ ีปฏิบัติการพยาบาลเดิมและกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลด้วยแนวปฏบิ ัติการพยาบาล
เพื่อปอ้ งกันการถอดท่อชว่ ยหายใจโดยไมไ่ ดว้ างแผนทป่ี รับปรงุ แลว้ ก่อนนำไปใชจ้ ริงในหน่วยงานงานห้องผปู้ ว่ ยหนกั
โรงพยาบาลนครปฐม โดยใชส้ ถติ ิ t-test

7. การพทิ กั ษ์สทิ ธิ์ของกลมุ่ ตวั อย่าง สำหรับการวิจัยระยะที่ 4
ผวู้ ิจยั ดำเนนิ การพิทกั ษ์สทิ ธข์ิ องกลุ่มตวั อยา่ ง เชน่ เดียวกบั การวิจยั ในระยะท่ี 3

69

บทที่ 9
เครอื่ งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวจิ ยั และพฒั นา

สำหรับเครื่องมือในการวิจัย มีทั้งแบบทดสอบ (Test) แบบวัดเจตคติ (Attitude scales)
แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสังเกต (Observation) แบบสัมภาษณ์ (Interview form)
และอ่ืนๆ (แบบบนั ทกึ ) สำหรบั เครอื่ งมือในการวิจัยเชิงทดลอง เคร่ืองมือในการวิจัยจะมีเคร่ืองมือท่ี
ใชใ้ นการทดลองเพมิ่ ขน้ึ มา เช่น โปรแกรมฯ ตา่ งๆ เครอ่ื งมือวดั ผล lab เปน็ ต้น

เครอ่ื งมอื ที่มกี ารใช้มากท่ีสุด กค็ อื แบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถามต้องสร้างมาจากนิยาม
ศัพท์เชิงปฏิบัติการ (วัดได้ เป็นรูปธรรม) เช่น หากผู้วิจัยต้องการศึกษาปัจจัยแห่งความสำเร็จของ
รพ.สต.ตดิ ดาวทีม่ คี ณุ ภาพ ก็ตอ้ งทำการนยิ ามศัพทอ์ อกมาให้ชัดเจนก่อน ดงั นี้

ปัจจัยแห่งความสำเร็จของ รพ.สต.ติดดาวที่มีคุณภาพ หมายถึง ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ รพ.สต.
ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว ในด้านการบริหารจัดการเรื่องการกำหนดนโยบาย การถ่ายทอดการ
ดำเนินงาน รพ.สต. ติดดาวสู่การปฏิบัติ การสนับสนนุ ทรัพยากร การสร้างขวัญกำลังใจ และปัจจัยที่
ส่งเสรมิ ให้ รพ.สต.ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ตดิ ดาวในด้านการปฏิบัตงิ าน ประกอบดว้ ย 5 หมวด คอื หมวด
1 การนำองค์กรและการจัดการดี หมวด 2 การให้ความสำคัญกบั ประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 3 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 4 การจัดการระบบบริการครอบคลุม
ประเภทและประชากรทกุ กลมุ่ วัย หมวด 5 ผลลพั ธ์

แบบสอบถามทสี่ รา้ งก็ตอ้ งสอดคลอ้ งกับการดำเนนิ งานใน 5 หมวดนี้

มาถึงตรงน้ี บางคนอาจมีคำถามว่า นยิ ามศัพท์มาจากไหน ?
นิยามศัพท์ ก็มาจากที่ผู้วิจัยมีการทบทวนวรรณกรรม แล้วทำการสรุปว่า จากการทบทวน
วรรณกรรมแล้วผู้วิจัยสรุปประเด็นเหล่านี้ว่าอย่างไร หากนิยามศัพท์ชัดเจนก็จะนำไปสร้างเครื่องมือ
ในการวิจัยทค่ี รอบคลุมตอ่ ไปได้ หากไมช่ ัดเจนกต็ ้องกลบั มาทำการทบทวนวรรณกรรมใหม่อีกรอบ

ตวั อยา่ งการสรา้ งเคร่อื งมือจากนยิ ามศพั ท์
การดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง การปฏิบัติตนในการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค โดย
แบ่งเปน็ 2 ด้าน คอื
1. การดูแลสขุ ภาพรา่ งกาย อนั ได้แก่ การรับประทานอาหารทีเ่ ป็นประโยชน์ ดแู ลร่างกายไมใ่ ห้
เจบ็ ปว่ ยด้วยการออกกำลงั กาย การพกั ผอ่ นที่เพยี งพอ ดแู ลทำความสะอาดร่างกายและเสื้อผ้า

70

2. การดูแลสุขภาพจติ อันได้แก่ มีวิธีการควบคุมและผ่อนคลายความเครียดให้กบั ตนเอง มอง
โลกในแงด่ แี ละมีอารมณข์ นั มีสัมพันธภาพที่ดีกับบคุ คลรอบข้างโดยมีเพื่อนฝงู ญาติพีน่ ้องที่สามารถให้
คำปรึกษา หรอื รว่ มทำกิจกรรมเพ่อื ก่อใหเ้ กิดความสบายใจ

การนำนยิ ามศพั ทม์ าสร้างเครื่องมือ ในดา้ นการดูแลสุขภาพร่างกาย เปน็ ดังนี้

ตวั แปร/ด้าน องคป์ ระกอบ ขอ้ คำถาม

การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหาร 1. ทา่ นรับประทานอาหารครบ 3 ม้ือทุกวัน

ร่างกาย ทีเ่ ป็นประโยชน์ 2. ในแตล่ ะมือ้ ท่านรับประทานอาหารครบทงั้ 5 หมู่

3. ทา่ นเลือกซ้ืออาหารแห้ง เชน่ อาหารกระปอ๋ ง นำ้ ปลา ฯลฯ

โดยพิจารณาวันหมดอายุ

4. ท่านเลือกซื้ออาหารแห้ง อาหารบรรจุภาชนะโดยพิจารณา

ทมี่ เี ลขหมายขององค์การอาหารและยา (อย.)

การดูแลร่างกายไม่ให้ 1. ทา่ นเล่นกีฬา เช่น ฟุตบอล วอลเลย์บอล ว่ิง เดินเร็ว วิ่ง

เจ็บป่วยด้วยการออก เหยาะ หรือเต้นแอโรบคิ อย่างน้อยสปั ดาห์ละ 3 วัน

กำลังกาย 2. ทา่ นออกกำลงั กายตดิ ต่อกนั อยา่ งน้อย 30 นาที ตอ่ ครั้ง

3. ท่านอบอุ่นร่างกายก่อนและหลังการออกกำลังกายเพื่อลด

การบาดเจบ็ ของกลา้ มเนือ้

4. ท่านออกกำลังกายในเวลาเดียวกันเป็นประจำในตอนเช้า

หรือตอนเย็น

การพกั ผ่อนที่เพยี งพอ 1. ทา่ นนอนหลบั พกั ผอ่ นวันละ 6-8 ช่วั โมง

2. ท่านทำงานหนักติดต่อกันเป็นเวลานานเกินกว่า 8 ชั่วโมง

ใน 1 วัน

3. เมื่อทำงานจนรสู้ กึ เหนอื่ ย อ่อนเพลยี ทา่ นจะหยุดพกั เพ่ือให้

ร่างกายได้พกั ผ่อน

4. เมื่อหลังจากเลิกทำงานประจำในหน้าที่เสร็จแล้วท่านจะ

พักผ่อนด้วยการฟังเพลง อ่านหนังสือ หรือดูรายการโทรทัศน์

ทช่ี อบ

ดูแลทำความสะอาด 1. ท่านอาบน้ำ วนั ละ 2 ครั้ง เชา้ -เย็น

รา่ งกายและเส้อื ผา้ 2. ท่านแปรงฟัน วนั ละ 2 คร้ัง เช้า-เยน็

3. ท่านล้างมอื ก่อนรับประทานอาหาร

4. ทา่ นทำความสะอาดเส้ือผา้ ไมใ่ หห้ มกั หมม หรอื อบั ช้นื

71

* เครื่องมือในการวิจัยและพัฒนา นอกจากจะประกอบด้วยเครื่องมือในการเก็บรวบรวม
ขอ้ มูลแลว้ ยังประกอบด้วยค่มู ือการใช้แนวทาง/ รปู แบบ/ ระบบ… ทไ่ี ด้จากการพฒั นาขั้นตอนต่างๆ
ซึ่งจะต้องผ่านการหาคุณภาพของเครือ่ งมือโดยผ่านความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งสามารถดูตัวอย่างใน
บทที่ 8 ประกอบได้

การหาความตรงของเคร่อื งมือ (Validity)
เคร่อื งมือที่ใช้ในการวจิ ัย ก่อนท่จี ะนำไปใช้เก็บขอ้ มูลจริงจะต้องผ่านการตรวจหาคุณภาพก่อน
เพื่อให้แน่ใจว่าเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพ สามารถวัดในสิ่งที่ต้องการจะวัดได้ โดยความตรงของ
เครือ่ งมอื (validity) น้ัน จะให้ผู้เชย่ี วชาญในเร่อื งท่ีผ้วู จิ ยั ศึกษาช่วยตรวจสอบ
1) ความตรงตามเน้อื หา (content validity)
ว่าครบถ้วนเน้ือหาตามที่จะศึกษาหรอื ไม่ รวมทัง้ ให้ผ้เู ชี่ยวชาญพจิ ารณาในเร่อื ง
2) ความตรงเชงิ โครงสรา้ ง (construct validity)
ดว้ ยวา่ ครบถว้ นองคป์ ระกอบหรือไม่ บางคนอาจต้องมกี ารใช้สถิตเิ ข้ามาในการพิจารณาความ
ตรงเชงิ โครงสรา้ ง คือ การวิเคราะห์องค์ประกอบ (factor analysis) นอกจากนย้ี งั ตอ้ งพจิ ารณา
3) ความตรงเชงิ สภาพ (concurrent validity)
เช่น ความสามารถในการวัดลกั ษณะทีส่ นใจได้ตรงตามสภาพของส่ิงนั้น ตัวอย่างคือ ผู้ที่เรยี น
เก่งที่สุดต้องทำแบบทดสอบได้คะแนนสงู สุด และอาจต้องมกี ารคำนวณคา่ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง
คะแนนที่วัดได้กับคะแนนทีว่ ัดได้จากเคร่ืองมือมาตรฐานอ่นื ซึ่งสามารถวัดสิ่งน้ันไดใ้ นสภาพปจั จุบัน และ
ตอ้ งพิจารณา
4) ความตรงเชิงพยากรณ์ (predictive validity)
ว่าสามารถวัดลักษณะที่สนใจได้ตรงตามลักษณะของสิ่งนั้นที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการหา
ความตรงเชิงพยากรณ์ การคำนวณค่าสมั ประสิทธิ์สหสมั พนั ธ์ระหว่างคะแนนทวี่ ัดไดก้ บั คะแนนท่ีวัดได้
จากเครือ่ งมอื มาตรฐานอ่นื ซง่ึ สามารถวัดสิ่งน้ันที่จะเกดิ ในอนาคต
สำหรับจำนวนผูเ้ ชีย่ วชาญ สว่ นใหญ่ก็จะใช้เปน็ เลขค่ี คือ 3, 5, 7 คน เปน็ ต้น

การหาความเชอ่ื ม่ันของเครือ่ งมือ (Reliability)
เป็นการหาความคงเส้นคงวาหรือความคงที่ของผลที่ได้จากการวัดซ้ำ หากกล่าวถึงเครื่องมือ
ที่มาใช้ชั่งน้ำหนักก็คือกิโล เมื่อผู้วิจัยนำกิโลมาชั่งน้ำหนัก ก็ถือได้ว่ามีความตรง เพราะวัดได้ในสิ่งที่

72

ต้องการจะวดั หากพิจารณาการชัง่ น้ำหนักว่าในแตล่ ะครั้งที่ช่ังได้ค่าที่คงท่ีหรือคงเส้นคงวาหรือไม่ อัน
น้ีเรยี กวา่ ความเชื่อมั่น

วิธีการหาความเช่ือมน่ั มหี ลายวิธี ดังน้ี
1. การทดสอบซ้ำ (test-retest) 2. การใช้ข้อสอบเหมือนกัน (equiv-form reliability)
3. การทดสอบแบบแบ่งครึ่ง (spilt half reliability) 4. การหาความคงที่ภายในโดยใช้สูตร Kuder-
Richardson KR-20, KR-21 5. การทดสอบวิธีสมั ประสทิ ธแิ์ อลฟา
การหาความเชื่อมั่น มักจะเป็นหาตัวแปรที่เป็นนามธรรม มีลักษณะเป็น rating scale และ
เป็นตัวแปรที่แสดงความรู้สึก ไม่ใช่ตัวแปรที่แสดงข้อเท็จจริง ตัวแปรที่เป็นนามธรรมดังกล่าว เช่น
การรับรู้ในประเด็นต่างๆ แรงจูงใจ ทัศนคติ ความรู้ เป็นต้น และในปัจจุบัน โปรแกรมวิเคราะห์
ข้อมลู ทางสถิติ เชน่ โปรแกรม spss สามารถทจี่ ะวเิ คราะหค์ ่าความเชื่อมน่ั ออกมาได้ และการรายงาน
ความเชื่อมั่นนั้น ต้องรายงานออกมาเป็นหมวดตัวแปร เช่น แบบทดสอบความรู้เรื่อง... มีค่าความ
เชื่อมั่น = .81 แบบวัดทัศนคตเิ กีย่ วกับ.... มีค่าความเชื่อมั่น = .87 เป็นต้น จะไม่รายงานโดยการนำ
ตัวแปรทั้งหมดที่ไม่เกี่ยวข้องมารวมกัน สำหรับค่าที่ออกมานั้น แปลความหมายได้ดังนี้ หาก 0.87
หมายถึง 100 ครง้ั เชอื่ มน่ั ได้ 87 ครัง้ ซึง่ คา่ ความเชื่อมนั่ ควรอยทู่ ่ี 0.8 ข้ึนไป
การจะทำให้ความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม/แบบทดสอบ มีค่าความเชื่อมั่นที่สูง ควรมีการ
สร้างข้อคำถามที่ไม่น้อยเกินไป อาจสร้างประมาณ 15 ข้อ แต่การสร้างที่มากเกินไป คนก็จะไม่ตอบ
แบบสอบถามก็เป็นได้ การสร้างข้อคำถามที่ละเอียดได้นั้น ต้องมาจากการทบทวนวรรณกรรมที่ตก
ผลึกแลว้ สกดั ออกมาเป็นนิยามศพั ท์เพ่ือสร้างเครือ่ งมอื ต่อไป
สำหรับแบบทดสอบนั้น ต้องมีการพิจารณาความยากงา่ ย (difficulty) ด้วย ข้อสอบนั้นต้องไม่
ยากเกินไปและไม่ง่ายเกินไป แต่แยกแยะคนเก่งและไม่เก่งออกจากกันได้ ค่าความยากง่าย ควรอยู่
ระหว่าง 0.2-0.8 ที่เหมาะสมคือ 0.4-0.6 โดย 0.4 หมายถึง 100 คน มีคนตอบถูก 40 คน หากค่า
ความยากง่ายอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมก็จะทำให้ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (reliability) สูงตามไป
ดว้ ย

73

นอกจากนี้ ยังต้องพิจารณาค่าอำนาจจำแนก (discrimination) ในการจำแนกกลุ่มออกเป็น
กลมุ่ ต่างๆ เชน่ เก่ง-อ่อน เหน็ ดว้ ย-ไมเ่ หน็ ด้วย เขยี นแทนดว้ ย D มคี ่าระหวา่ ง -1.00 ถึง +1.00 ซึ่ง

D > .40 : ดีมาก
D > .30 - .39 : ดี
D > .20 - .29 : พอใชไ้ ด้
D < .19 : ยงั ตอ้ งปรับปรงุ
D ติดลบ : ใชไ้ มไ่ ด้ ต้องตดั ทง้ิ

การปรับปรุง หรือการตัดทิ้งข้อคำถามที่มีคุณภาพไม่ดี ต้องอยู่บนพื้นฐานการตัดสินใจของ
ผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาด้านความตรงเป็นหลกั หากค่าอำนาจจำแนกอยูใ่ นเกณฑท์ ีเ่ หมาะสมก็จะ
ทำให้คา่ ความเชอ่ื มั่นของเครื่องมอื (reliability) สงู ตามไปดว้ ย

74

บทท่ี 10
การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและการวเิ คราะห์ขอ้ มลู

10.1 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
เป็นกระบวนการที่จะได้ข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งเป็นได้ทั้งการเก็บ

รวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุตยิ ภมู จิ ากการบันทึกขอ้ มลู ทม่ี ีอยแู่ ล้ว และปฐมภมู โิ ดยใชก้ ารสมั ภาษณ์ การ
สำรวจ การสังเกต การกรอกแบบสอบถาม เป็นต้น ซึ่งกระบวนการนี้จะต้องดำเนินการหลังจากที่
ผู้วจิ ัยไดผ้ า่ นจรยิ ธรรมการวิจัยในมนุษย์แล้วเทา่ นั้น

10.2 การวเิ คราะหข์ ้อมูล
เป็นการจัดการข้อมูลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การคำนวณ การใช้สถิติในการนำเสนอข้อมูล เพื่อให้

ได้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ สำหรับสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกได้เป็น 2 สาขาด้วยกัน คือ
สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และการอนุมานเชิงสถิติ หรือ สถิติเชิงอนุมาน
(Inferential Statistics) ซ่ึงแต่ละสาขามรี ายละเอียดดงั น้ี

1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) หมายถึง การบรรยายลักษณะของข้อมูล (data) ที่
ผู้วิจัยเก็บรวบรวมจากประชากรหรือกลมุ่ ตวั อย่างทส่ี นใจ ซึ่งอาจจะแสดงในรปู ค่าเฉลย่ี มธั ยฐาน ฐาน
นยิ ม ร้อยละ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน เป็นต้น

2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) หมายถึง สถิติที่ว่าด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลที่
รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่าง เพื่ออธิบายสรุปลักษณะบางประการของประชากร โดยมีการนำทฤษฎี
ความน่าจะเปน็ มาประยกุ ต์ใช้ สถติ ิสาขาน้ี ได้แก่ การประมาณคา่ ทางสถติ ิ การทดสอบสมมติฐานทาง
สถติ ิ การวิเคราะห์การถดถอยและสหสมั พันธ์ เป็นตน้

หากพิจารณาในบทที่ 8 ประกอบ การทำวิจัยและพัฒนา จะมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใน
กระบวนการวิจัย (research) ซึ่งจะมีการใช้เครื่องมือในการวิจัยที่ได้กล่าวแล้วในบทที่ 9 เมื่อเก็บ
รวบรวมข้อมูลแล้วจะนำมาทำการวิเคราะห์แล้วเข้าสู่การพัฒนา (development) ซึ่งใน
กระบวนการวิจัยและพัฒนาจะไม่ได้มีการเก็บรวบรวมเพียงแค่ครั้งเดียวเหมือนการวิจัยทั่วไป แต่มี
การเก็บรวบรวมข้อมูลในหลายขั้นตอน จนสุดท้ายมีการพัฒนารูปแบบ/แนวทาง/ระบบที่สมบูรณ์
พรอ้ มท่จี ะนำไปส่กู ารเผยแพร่การใช้งานท่เี หมาะสมกับบรบิ ทของพืน้ ที่

75

บทท่ี 11
องค์ประกอบในการทำรายงานการวจิ ยั และพฒั นา

การเขียนรายงานการวิจัยเป็นการเขียนเอกสารวิชาการที่ผู้วิจยั นำเสนอผลการดำเนนิ งานวจิ ยั
แก่ผู้ให้การสนับสนุน ผู้บริหาร นักวิชาการ ผู้สนใจงานวิจัย ตลอดจนผู้ต้องการใช้ประโยชน์จาก
ผลงานวิจัยได้ทราบถึงข้อค้นพบจากงานวิจัย ข้อเสนอแนะ รวมทั้งสามารถนำผลงานวิจัยไปใช้
ประโยชนต์ อ่ ไปได้

องค์ประกอบของรายงานการวิจยั และคำอธิบายในการเขียน แต่ละองค์ประกอบ มดี ังนี้

สว่ นนำ
1. ปกหน้า ประกอบด้วย ชื่อเรือ่ ง ชือ่ หน่วยงาน (เจ้าของโครงการวจิ ยั ) ปีที่งานวจิ ยั สำเรจ็
2. ปกใน ประกอบด้วย ชอ่ื เร่อื ง ช่ือคณะผวู้ ิจยั ชื่อหน่วยงาน (เจ้าของโครงการวจิ ัย)
3. คำนำ ชี้แจงที่มาของโครงการวิจัย แสดงวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย บอกประโยชน์ที่

คาดว่าจะได้รบั จากโครงการวจิ ยั
4. กิตติกรรมประกาศ เป็นส่งิ ทีผ่ ูว้ จิ ัยแสดงความขอบคุณผูท้ สี่ นับสนุนและผ้ทู ี่เก่ียวข้องกับโครงการวิจัย

เช่น ผ้ใู ห้ขอ้ มูล ผตู้ อบแบบสอบถาม ซ่ึงทำใหโ้ ครงการวจิ ัยสำเร็จลลุ ่วงไดต้ ามแผนงานวิจัยทก่ี ำหนดไว้ โดยปกติ
จะเขยี นความยาวไม่เกนิ 1 หนา้

5. บทคัดยอ่ มีทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ซ่ึงต้องสอดคลอ้ งกนั โดยความยาวไม่เกิน 300
คำ เน้ือหาครอบคลุม 1) วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 2) วิธีการวจิ ัย 3) ผลการวิจัย และ 4) ขอ้ เสนอแนะ โดยมี
คำสำคญั (keywords) 3-5 คำ

6. สารบัญ แสดงหวั ข้อหลัก พรอ้ มเลขหนา้ ของหัวข้อหลักนั้นๆ เพื่อใหง้ ่ายและสะดวกในการ
เปิดหรอื คน้ หาในรายงานการวจิ ัย

7. สารบัญตาราง แสดงตารางข้อมลู ทใ่ี ชป้ ระกอบรายงานวิจยั พร้อมเลขหนา้ ของตารางข้อมูล
นั้นๆ อาจมีการให้หมายเลขตารางตามบท เช่น ตารางที่ 2.5 หมายถึงตารางที่ 5 ในบทที่ 2 การ
เลอื กใช้คำ ให้ใช้เหมือนกันทง้ั เลม่ ของรายงานการวจิ ัย เช่น ตาราง 1.2 หรือ ตารางท่ี 1.2

8. สารบัญภาพ แสดงภาพที่ใช้ประกอบรายงานวิจัย พร้อมเลขหน้าของภาพนั้นๆ อาจมีการ
ใหห้ มายเลขภาพตามบท เช่น ภาพท่ี 2.5 หมายถึงภาพท่ี 5 ในบทท่ี 2 การเลอื กใช้คำให้ใชเ้ หมือนกัน
ทัง้ เล่มของรายงานการวจิ ัย เชน่ ภาพ 1.2 หรือ ภาพที่ 1.2 หรือ ใช้คำ “ภาพ” กบั “ภาพประกอบ”
กบั “รูป”

76

9. คำอธิบายสัญลักษณ์และคำย่อ เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์ และคำย่อต่างๆ ที่ปรากฏ
ในรายงานการวิจัย อาจมหี รอื ไมม่ ีก็ได้

บทท่ี 1 บทนำ
ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา
- เขียนให้เหน็ สถานการณ์ปญั หาจากใหญม่ าเล็ก โดยมี evidence based รองรบั
- ผลทเ่ี กิดขน้ึ จากปญั หานี้ มตี ่อครอบครัว สงั คม ประเทศอยา่ งไร
- จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา่ ปัจจัยสาเหตุใดทที่ ำให้เกิดปญั หาดังกล่าว
- เขียนให้เห็น GAP ของปัญหาชดั เจน จุดทีม่ ี จุดท่ขี าด จุดทตี่ อ้ งการพฒั นา
(การดำเนนิ งานแบบเดมิ เปน็ อยา่ งไร และส่งิ ท่ีต้องการใหเ้ กิดการพัฒนาคอื สิ่งใด)
- การทำงานวจิ ัยเรอ่ื งนี้ จะนำมาช่วยแก้ไขประเด็นปัญหาทเ่ี กิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร นำมาซึง่

ประโยชนอ์ ะไร แก่ใครบ้าง
- การทำงานตอ้ งมกี ารอา้ งองิ เอกสารท่ีเช่ือถอื ได้ประกอบ

ตัวอย่างงานวิจัยเรื่อง “ประสิทธิผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมและป้องกันการหก
ล้มในผู้สูงอายุ” ของ ธีรภัทร อัตวินิจตระการ (2562) เขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ดังน้ี

จากรายงานขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO) พบว่าทั่วโลกมี
ประชากรผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ประมาณ 600 ล้านคน คิดเป็น 1 ในทุก 10 คน ของ
ประชากรโลก โดยพบว่าส่วนใหญ่ร้อยละ 53 ของผู้สูงอายุอยู่ในทวีปเอเชีย รองลงมาคือ ร้อยละ25
อยู่ในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นทวีปที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 1 และท่ี 2 ของโลกตามลำดับ คาดการณ์
วา่ ใน พ.ศ. 2593 จะมีประชากรผู้สงู อายุประมาณ 2 พนั ลา้ นคน คิดเป็น 1 ในทุก 5 คนของประชากร
โลก (WHO, 2007)

สำหรับประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมของผู้สูงอายุมาแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 คือมี
ประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 10.2 (ตามนิยาม “สังคมผู้สูงอายุ” หมายถึง การมีประชากรอายุ 60 ปีข้ึน
ไปมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ) การเข้าสู่สังคมสูงอายุของประเทศไทยเป็นผลมา
จากอัตราการเกิดของประชากรไทยลดลงอย่างมาก ในขณะเดียวกันประชากรไทยมีอายุยืนยาวข้ึน

77

ด้วย จากการสำรวจประชากรผู้สูงอายุในปี พ.ศ. 2550 พบว่าประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุสูง
รอ้ ยละ 10.7 ของประชากรท้ังประเทศ และในปี พ.ศ. 2556 ทผี่ า่ นมา ประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุ
วัยต้นซึ่งมีอายุ 60-69 ปี จำนวน 5.3 ล้านคน (ร้อยละ 8.2) ผู้สูงอายุวัยกลางที่มีอายุ 70-79 ปี
จำนวน 2.9 ล้านคน (ร้อยละ 4.5) และผู้สูงอายุวัยปลายซึ่งมีอายุ 80 ปีขึ้นไป จำนวน 1.3 ล้านคน
(ร้อยละ 2.0) นอกจากนี้ได้มีการคาดการแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของประชากรผู้สูงอายุไทย ในปี
พ.ศ.2573 ว่า สัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็น 1 ใน 4 ของประชากรไทย (มูลนิธิ
สถาบันวจิ ยั และพฒั นาผู้สูงอายุไทย, 2557)

เมอื่ เข้าสวู่ ยั สูงอายยุ ่อมมีการเปล่ยี นแปลงท้ังทางร่างกาย เช่น มีการเสอ่ื มของระบบประสาท
สัมผัสโดยเฉพาะระบบประสาทด้านการรับรู้ตำแหน่ง มีสายตาที่แย่ลง มีการเสื่อมของระบบอวัยวะ
ในร่างกายเพิ่มขึน้ ส่งผลให้ปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสิ่งตา่ งๆ รอบตัวช้าลง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี
การเปล่ยี นแปลงทางด้านจิตใจ เชน่ การสูญเสยี บุคคลทีร่ กั หรือใกลช้ ดิ การสญู เสียบทบาทในหน้าที่
การงานหรือในครอบครัว เป็นต้น ถึงแม้ว่าผู้สูงอายุจะมีแนวโน้มที่จะมีอายุยืนยาวมากขึ้น แต่มี
โอกาสเจ็บปว่ ย หรอื ไมส่ ามารถชว่ ยเหลือตวั เองได้เพิ่มข้ึนตามอายดุ ้วยเช่นกัน เนอ่ื งจากมีโอกาสเส่ียง
ต่อการเจ็บป่วย ภาวะทุพพลภาพ และความพิการนำไปสู่ภาวะพึ่งพาตามมา (คณะกรรมการ
ผ้สู งู อายแุ ห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ , 2553)

จากการวัดปัญหาสุขภาพของคนไทยโดยใช้การสูญเสียปีสุขภาวะ (Disability Adjusted Life
Year: DALY) พบว่า ผู้สูงอายุไทยส่วนใหญ่ มีสาเหตุการสูญเสียปีสุขภาวะ เนื่องจากโรคไม่ติดต่อ
รอ้ ยละ 85.2 รองลงมา คือ โรคตดิ ตอ่ และอบุ ัตเิ หตุ รอ้ ยละ 11.3 และ 3.5 ตามลำดับ (คณะกรรมการ
ส่งเสริมและประสานงานผู้สูงอายุแห่งชาติ , 2557) และจากการรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี
2551 พบว่า หน่งึ ในอุบตั ิเหตุท่ผี ู้สงู อายไุ ด้รับบาดเจ็บมากท่ีสุด คือ การหกล้ม สงู ถึงรอ้ ยละ 40.4 ของ
การเกิดอุบัติเหตุทั้งหมดในผู้สูงอายุ (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย, 2552) การหกล้มใน
ผู้สูงอายุมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นเกือบทุกประเทศทั่วโลก จากการรายงานขององค์การอนามัยโลก พบว่ามี
ประมาณร้อยละ 28-35 ของผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 32-42 ใน
ผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 70 ปีขึ้นไป ซึ่งอัตราของการหกล้มจะเพิ่มสูงขึ้นตามอายุที่เพิ่มมากขึ้นด้วย
เช่นกัน ซึ่งในจำนวนนี้ยังพบว่าเกิดการหกล้มซ้ำอีกถึงร้อยละ 40 ในผู้ที่เคยมีประสบการณ์ของการ
หกลม้ มากอ่ น (WHO, 2007)

สำหรับประเทศไทย จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขพบว่า 5 ปีที่ผ่านมา
(ปี 2554–2558) แนวโน้มผู้สูงอายุเสียชีวิตจากการหกล้มเพิ่มขึ้น โดยเฉลี่ยมากกว่า 800 คนต่อปี
หรอื ประมาณ 3 คนต่อวนั ผู้สงู อายุ 1 ใน 3 หรอื มากกว่า 3 ล้านคนหกล้มทุกปี ซึ่งมีผู้ได้รับบาดเจ็บ

78

กว่า 6 แสนคน โดยได้รับบาดเจ็บรุนแรงมากที่สดุ คือ กระดูกข้อมอื หัก รองลงมาคือสะโพกหัก และ
ซ่ีโครงหัก สถานที่เกิดเหตุส่วนใหญ่หกล้มนอกบริเวณบ้านมากถึงร้อยละ 65 และหกล้มในบ้าน
ร้อยละ 31 ทีส่ ำคัญพบว่าสาเหตหุ ลักเกดิ จากการลน่ื สะดดุ หรอื กา้ วพลาด บนพืน้ ระดับเดยี วกัน

สาเหตุการหกล้มในผู้สูงอายุเกิดจากปัจจัยเสี่ยงหลายประการ ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้สูงอายุในแต่ละ
บุคคลมีทั้งที่เกิดจากปัจจัยภายในบุคคล (Intrinsic factor) และปัจจัยภายนอกบุคคล (Extrinsic
factor) ปัจจัยภายในบุคคลที่พบบ่อยจะเกี่ยวข้องกับความเสื่อมของระบบการทำงานต่างๆ ของ
ร่างกายที่มีผลต่อการทรงตัว ได้แก่ ความเสื่อมของระบบการมองเห็น ระบบการได้ยิน ระบบกาย
สัมผัสและการรับรู้ การเคลื่อนไหวของข้อต่อ ความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อที่ลดลง
ทำใหข้ ณะเดินหรือเปล่ียนทา่ ทาง รา่ งกายไม่สามารถรักษาจุดศนู ยก์ ลางของมวลร่างกายให้อยู่ในฐาน
ท่ีสมดุลได้ และเกดิ การหกล้มขึ้น มงี านวิจัยมากมายท่ีศกึ ษาปัจจัยเส่ียงต่อการหกล้มในผู้สูงอายุ และ
พบว่า เพศ อายุที่มากขึ้น ดัชนีมวลกาย โรคประจำตัวและโรคเรื้อรังบางประเภท การใช้ยาบางชนิด
การที่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่คนเดียว มีความสัมพันธ์กับกลุ่มผู้สูงอายุที่เคยหกล้มอย่างมีนัยสำคัญ ส่วน
ปัจจัยภายนอกร่างกายที่พบว่ามีความสัมพันธ์กับการหกล้มในผู้สูงอายุ ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทั้งภายใน
บ้านและภายนอกบา้ น เชน่ พ้ืนลื่น แสงสว่างไม่เพียงพอ การจดั วางสงิ่ ของไมเ่ ป็นระเบยี บ การจัดวาง
เครื่องเรอื นในบ้านทไ่ี ม่เหมาะสม การสวมรองเทา้ ท่ีมีขนาดไมพ่ อดกี ับเทา้ เปน็ ตน้ และ จากข้อมูลการ
สำรวจสุขภาพประชาชนไทยครั้งท่ี 4 พบผู้สูงอายุมีการหกล้มจากพื้นลื่น ในเพศชาย ร้อยละ 48.2
และเพศหญิง ร้อยละ 42.2 สาเหตุรองลงมา คือ การสะดุดสิ่งกีดขวาง พบในเพศชายร้อยละ 32.1
และเพศหญงิ รอ้ ยละ 38.8 (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชากรไทย, 2552)

การบาดเจ็บจากการหกล้มส่งผลกระทบที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อผู้สูงอายุทั้งทางด้านร่างกาย
จิตใจและสังคมรอบข้าง โดยผลกระทบต่อร่างกาย ทำให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บ ซึ่งพบได้ตั้งแต่การ
บาดเจ็บเล็กน้อยจนกระทั่งบาดเจ็บที่รุนแรง ตัวอย่างเช่น การฟกช้ำ เคล็ดขัดยอก แผลฉีกขาด ข้อ
เคลื่อน กระดูกหัก และมีเลือดออกในเยื่อหุ้มสมอง ซึ่งอาจทำให้พิการและเสียชีวิตได้ตามมา จาก
การศึกษา พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ 75 ได้รับบาดเจ็บหลังจากการหกล้ม ซึ่งได้รับบาดเจ็บในระดับ
เล็กน้อยพบร้อยละ 47.6 บาดเจ็บในระดับรุนแรงพบร้อยละ 44.6 และพบว่าร้อยละ 45 มีกระดูก
สะโพกหัก ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อรับการผ่าตัดทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา
ได้แก่ แผลกดทับ การติดเช้อื ในระบบทางเดินปัสสาวะ การตดิ เชือ้ ในระบบทางเดินหายใจ และภาวะ
ลิ่มเลือดในปอดอุดตัน (Honeycutt & Ramsey, 2002) ผลในระยะยาวสำหรับผู้ที่หกล้มและมี
กระดูกสะโพกหกั จะมอี ัตราการเสียชีวิตถึงรอ้ ยละ 20 เมอื่ ติดตามกลมุ่ นี้เป็นระยะเวลา 1 ปี และมีถึง
ร้อยละ 25-75 ทสี่ ญู เสยี ความสามารถในการดำเนินกจิ วตั รประจำวันด้วย (Scott, 2007)

79

สำหรับประเทศไทย จากสถิติการรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวง
สาธารณสุข ปี 2551 พบว่า ผู้สูงอายุที่หกล้มประมาณร้อยละ 50 จะมีอันตรายจนถึงขั้นเสียชีวิตได้
หรืออาจเกิดภาวะความพิการเรื้อรังตามมาและมีชีวิตอยู่ได้ในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี การหกล้มยัง
ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจเป็นอย่างมาก ผู้สูงอายุจะรู้สึกวิตกกังวล กลัว ขาดความมั่นใจในการ
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน บางรายรู้สึกว่าตนเองเป็นภาระให้กับบุตรหลานส่งผลให้เกิดภาวะซึมเศร้า
หรือมีความคดิ อยากฆา่ ตัวตายตามมาได้ (Lin, Hwang, Wang, Chang & Wolf, 2006) และภายหลัง
การหกล้ม พบว่าผู้สูงอายุที่เคยมีประสบการณ์การหกล้มมาก่อนจะเกิดความกลัวการหกล้มซ้ำ ทำให้
จำกัดการเคลื่อนไหว และมีปัญหาในการเดิน ต้องการมีผู้ช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ทั้งที่แพทย์ตรวจ
แล้วว่าไม่มีความผิดปกติของร่างกาย หรือข้อกระดูก ซึ่งทางการแพทย์เรียกกลุ่มอาการนี้ว่า “กลุ่ม
อาการภายหลังการหกล้ม” (Post fall syndrome) นอกจากนี้การหกล้มในผู้สูงอายุยังส่งผล
กระทบด้านสังคมและเศรษฐกิจ เช่น สูญเสียค่ารักษาพยาบาล สูญเสียเวลาการทำงานของญาติ และ
การดูแลในระยะยาวเมื่อเกิดความพิการจากการหกล้ม จากการศึกษาผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ
จากการหกล้มในผู้สูงอายุที่ฮ่องกง พบว่ามีการสูญเสียถึง 71 ล้านเหรียญสหรัฐต่อปี (Chu, et al.,
2008 อ้างถึงใน ประเสริฐ อัสสันตชัย, 2552) จากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.
2550 พบว่าส่วนใหญ่ (ร้อยละ 34.8) ของผู้สูงอายุที่หกล้มรักษาตัวเองอยู่ที่บ้าน ในส่วนของผู้ที่ไม่
ต้องรกั ษาพยาบาลและผู้ท่ีเข้ามารับการรักษาพยาบาล (คนไขน้ อก) มีสัดสว่ นทใี่ กลเ้ คียงกัน (ร้อยละ
27.7 และร้อยละ 27.6 ตามลำดับ) และมีผู้สูงอายุท่ีต้องนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล (คนไข้ใน)
ร้อยละ 9.9 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ , ม.ป.ป.) ดังนั้น การหกล้มในผู้สูงอายุนอกจากอาจก่อให้เกิด
การบาดเจ็บและความพิการทางด้านร่างกายยังส่งผลต่อจิตใจทำให้กลัวการหกล้มซ้ำ หากมีความ
พิการและไม่สามารถเคลื่อนไหวได้จะนำไปสู่ภาวะพึ่งพิง ก่อให้เกิดความเครียด และวิตกกังวลทั้งต่อ
ผู้สูงอายุเองและครอบครัวผูด้ แู ลได้

จากอัตราการหกล้มในผู้สูงอายทุ ่ีเพิ่มสูงขึ้นและส่งผลกระทบในด้านต่างๆ การป้องกันจึงเปน็
สิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการป้องกันที่เกิดจากตัวผู้สูงอายุเอง และผู้ดูแล ดังนั้นทุก
หน่วยงาน ตลอดจนบุคลากรด้านสุขภาพจะต้องให้ความตระหนักและร่วมมือกันในการค้นหาสาเหตุ
ปัจจัยเสี่ยง และแนวทางการแก้ไข ตั้งแต่ในระดับปฐมภูมิ (primary prevention) ระดับทุติยภูมิ
(secondary prevention) และระดับตติยภูมิ (tertiary prevention) เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงหรือ
ภาวะแทรกซ้อนตา่ งๆ ที่จะเกดิ ขึน้ ตามมาในระยะยาว ดังนั้นการป้องกันการหกลม้ ในผู้สูงอายุจึงเป็น
สง่ิ สำคญั ท่ีจะทำให้ลดอัตราการเกิดการหกล้ม ตลอดจนลดอนั ตรายท่อี าจจะเกดิ ขึน้ จากการหกล้มลง

80

การใหค้ วามรูเ้ กี่ยวกับการป้องกันเพ่ือลดปัจจัยเสีย่ งทีอ่ าจจะเกดิ ขน้ึ โดยให้ความรู้เร่ืองรูปแบบ
การเดิน และการเคลือ่ นไหวทีเ่ หมาะสมและปลอดภัย การจัดสิง่ แวดลอ้ มเพื่อให้เหมาะสมกบั ผู้สูงอายุ
ที่มีปัญหาการเดินและการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ จะช่วยลดการหกล้มในผู้สูงอายุลงได้ การ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้สูงอายุโดยการให้ความรูใ้ นเร่ืองการป้องกันการหกล้ม การจัดสิ่งแวดลอ้ ม
ภายในบา้ นใหป้ ลอดภัย การใหค้ วามรเู้ รือ่ งการใชย้ าอย่างเหมาะสม การสวมใสร่ องเท้า การใช้อุปกรณ์
ช่วยเดนิ ท่ีถูกต้องเหมาะสม และการออกกำลงั กายอย่างสมำ่ เสมอจะสามารถปอ้ งกันการหกล้มได้

ข้อมูลจาก Health Data Center ณ วันที่ 9 มิถุนายน 2559 พบว่า ประชากรทุกกลุ่มวัยใน
จังหวัดราชบุรีมีประชากรจำนวน 767,629 คน เป็นประชากรผู้สูงอายุจำนวน 139,165 คน คิดเป็น
ร้อยละ 18.13 โดยมีร้อยละของผู้สูงอายุสูงสุดที่อำเภอวัดเพลง (ร้อยละ 25.00) รองลงมาคืออำเภอ
บางแพ (ร้อยละ 19.71) และ อำเภอดำเนินสะดวก (ร้อยละ 19.35) จากข้อมูลร้อยละของผู้สูงอายุ
ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า อำเภอวัดเพลงเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) อำเภอที่
เหลือและภาพรวมของจังหวัดก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) ซึ่งร้อยละของประชากร
ผู้สูงอายุของจังหวัดมากกว่าร้อยละของประเทศไทย (พ.ศ.2558 ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุ
ร้อยละ 16.01) โดยผู้สงู อายใุ นจังหวดั ราชบรุ แี บ่งเป็นผ้สู งู อายุวัยต้น (อายุ 60 -69 ป)ี รอ้ ยละ 53.61
(74,608 คน) วัยกลาง (อายุ 70 - 79 ปี) ร้อยละ 29.01 (40,375 คน) และวัยปลาย (อายุ 80 ปี
ขึน้ ไป) รอ้ ยละ 17.38 (24,182 คน) ขอ้ มูลแสดงให้เหน็ ว่า จงั หวดั ราชบรุ ีมีผ้สู ูงอายุทม่ี คี วามเปราะบาง
และมีภาวะพึ่งพิงในระดับน้อยถึงพึ่งพิงโดยสมบูรณ์ประมาณเกือบครึ่งหนึ่งของป ระชากรผู้สูงอายุ
ท้งั หมด (รอ้ ยละ 46.39) ซ่งึ เป็นผู้สงู อายวุ ยั กลางและปลายรวมจำนวน 64,557 คน

ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาโปรแกรมการเตรียมความพร้อมและป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุขึน้
โดยจัดทำโปรแกรมให้กับผู้สูงอายใุ นชมรมผ้สู ูงอายุ อำเภอวัดเพลง ซึง่ ไดบ้ ูรณาการมาจากการทบทวน
วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่างๆ เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการหกล้ม เพื่อให้มี
ความครอบคลุมด้านเนื้อหาและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการเตรียม
ความพร้อมและป้องกันการหกล้มในผสู้ งู อายไุ ดใ้ นระยะยาว

81

วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั
1. เพ่อื พฒั นา......
2. เพือ่ ศึกษาประสทิ ธผิ ลของ......

คำถามการวิจัย
1. รูปแบบ / แนวทาง / ระบบ... เปน็ อย่างไร
2. ประสทิ ธผิ ลของการใช้.... เป็นอยา่ งไร

ขอบเขตการวจิ ัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการพัฒนา.... กำหนดขอบเขตการวิจัยโดยแบ่งขั้นตอนการวิจัยออกเป็น….
ข้นั ตอน รวม ... ระยะ ดงั น้ี พร้อมท้ังบอกกลุม่ เปา้ หมายทดี่ ำเนินงาน
(เขยี นให้ไปด้วยกันกับทเ่ี ขยี นในบทที่ 3)
ขอบเขตด้านเนื้อหา
-รปู แบบ/แนวทาง/ระบบ...ทพ่ี ฒั นาขึ้น อาศัยแนวคดิ /ทฤษฎใี ด เป็นรากฐาน
-การประเมินผลลพั ธข์ องรปู แบบ/แนวทาง/ระบบ...ทพ่ี ัฒนาขนึ้ มีการประเมินผลดงั นี้.....
(เขยี นให้สอดคล้องกับทน่ี ำไปเขยี นบทที่ 3)
ขอบเขตดา้ นสถานที่

การวจิ ยั คร้ังน้ีเป็นการพัฒนา.... ดำเนินการท่ี.....
ขอบเขตดา้ นระยะเวลา

แตล่ ะขน้ั ตอน ทำทีเ่ วลาชว่ งใด

82

กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย (ควรเขยี นใหส้ อดคล้องกบั การทบทวนวรรณกรรม และการทำงาน
ในบทท่ี 3)

ตัวอย่างที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัยเรื่อง “รูปแบบการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน
6-15 ปี โดยใช้กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของภาคีเครือขา่ ย”

การใช้ภาคีเครือข่ายอันได้แก่บุคลากรในโรงเรียน ครอบครัว ชุมชนและบุคลากรสาธารณสุข
เข้ามามีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาโรคอ้วนในเด็กวัยเรียนโดยให้เด็กนักเรียนเป็นศูนย์กลาง มีการแก้ปัญหา
ในหลายระดับตั้งแต่สิ่งแวดล้อมเข้ามาจนถึงระดับบุคคล มุ่งเน้นประเด็นเรื่องการบริโภคอาหารท่ี
เหมาะสมกับวยั และเพมิ่ กิจกรรมทางกายในเด็กวัยเรียน 6-15 ปี

ตัวอย่างที่ 2 กรอบแนวคิดในการวิจัยเรื่อง “แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE
งานห้องผ้ปู ว่ ยหนกั ”

การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการ
พยาบาลเพือ่ ป้องกนั การเกิด UE และศกึ ษาประสิทธิผลของการใชแ้ นวปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือป้องกัน
การเกิด UE งานห้องผู้ปว่ ยหนกั โรงพยาบาลนครปฐม โดยใชก้ รอบแนวคิดการวิจยั ดงั น้ี

ขั้นตอนที่ 1 การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE ใช้กรอบแนวคิดที่
ไดม้ าจาก

83

ระยะที่ 1 วิเคราะห์สถานการณแ์ละปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด UE โดยการวิเคราะห์
สถานการณ์การดูแลผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ ประกอบด้วย ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด UE ทั้งด้านผู้ป่วย ด้าน
การดูแลรกั ษา และดา้ นบุคลากร ผลกระทบจากการเกดิ UE และแนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลที่ใช้ในการดูแล
ผ้ปู ว่ ยใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ ในงานหอ้ งผู้ป่วยหนกั (ผใู้ หญ่) และหอผูป้ ว่ ยกึ่งวกิ ฤตอายุรกรรม และทบทวน
วรรณกรรม ตำราวิชาการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในประเด็นปัจจัยท่ีมีผลต่อการเกิด UEและนำมาใช้ใน
การพฒั นาแนวปฏิบัติการพยาบาล เพ่อื กำหนดประเด็นสำคัญนำสู่การพฒั นาแนวปฏิบัติการพยาบาล

ระยะที่ 2 พัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก
โรงพยาบาลนครปฐม โดยใช้

1. แนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลตามกรอบแนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบัติ
ทางคลินิกของสภาวิจัยทางการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติประเทศออสเตรีย ( NHMRC,1998)
ประกอบดว้ ย 6 ขั้นตอนคอื 1) กำหนดประเดน็ และขอบเขตของปัญหาจากการศึกษาสถานการณ์การ
ดแู ลผ้ปู ่วยวิกฤตใสท่ ่อช่วยหายใจ งานห้องผูป้ ่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม 2) กำหนดทีมพัฒนาแนว
ปฏิบัติการพยาบาล 3) กำหนดวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมายและผลลัพธ์ 4) สืบค้นและประเมินคุณคา่
หลักฐานเชิงประจักษ์ 5) ยกร่างแนวปฏิบัติการพยาบาล 6) ตรวจสอบความตรงและความเที่ยงของ
แนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล

2. แนวคิดวิธีการประเมินคุณภาพแนวปฏิบัติสำหรับการวิจัยและประเมินผล
(Appraisal of Guideline for Research and Evaluation II: AGREE II) ฉบบั ภาษาไทย ประกอบด้วย
6 หมวด ได้แก่ หมวดที่ 1 ขอบเขตและวัตถุประสงค์รวม หมวดที่ 2 การมีส่วนรว่ มของผู้มีสว่ นไดส้ ว่ น
เสีย หมวดที่ 3 ความเข้มงวดของข้ันตอนการจัดทำ หมวดท่ี 4 ความชดั เจนในการนำเสนอ หมวดท่ี
5 การนำไปใช้ หมวดที่ 6 ความเป็นอิสระของบรรณาธิการ การให้คะแนนทั้งหมดใช้ระบบ 1-7
คะแนน 1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยเป็นอย่างมาก คะแนน 7 หมายถึง เห็นด้วยเป็นอย่างมาก และการ
ประเมนิ แนวทางปฏบิ ตั ิในภาพรวม ได้แก่ การใหค้ ะแนนภาพรวมด้านคุณภาพของแนวทางปฏิบตั ิ การ
ให้คะแนนใช้ระบบ 1-7 เช่นเดียวกับองค์ประกอบทั้ง 6 หมวด และข้อแนะนำให้ใช้แนวทางปฏิบัติ มี
3 ข้อแนะนำคอื ใช่ ใช่โดยมกี ารแก้ไข และไม่

ระยะที่ 3 การนำไปใช้และประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อป้องกันการเกิด UE งาน
ห้องผ้ปู ว่ ยหนกั โรงพยาบาลนครปฐม โดยใช้แนวคิดตามกรอบแนวคดิ ของสภาวิจัยทางการแพทย์และ
สขุ ภาพแหง่ ชาตปิ ระเทศออสเตรเลีย (NHRMC) ดงั น้ี

1. เผยแพร่แนวปฏิบัติการพยาบาลสู่ผู้ปฏิบัติงาน โดยจัดทำแนวปฏิบัติการพยาบาล

เพือ่ ปอ้ งกนั การเกิด UE เป็นรปู เล่มฉบบั สมรู ณ์ เพอื่ ใช้เปน็ แหล่งอ้างอิงในการปฏิบัตกิ ารพยาบาล และ

84

ฉบับย่อเพื่อใช้ขณะปฏิบัติการพยาบาล ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ง่ายและสะดวก รวมทั้งดำเนินการ
ประชาสัมพันธ์ให้กลุม่ เปา้ หมายรับรู้แนวปฏิบัติการพยาบาลที่ได้รับการพัฒนาเสร็จแล้ว และผ่านการ
ตรวจสอบจากผูเ้ ช่ียวชาญ

2. นำแนวปฏิบัติการพยาบาลสูก่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ โดยการประชุมแบบมีส่วนร่วมผ่านการ
ประชุมเชิงปฏิบัติการและการติดตามผลการปฏิบัติการพยาบาลของผู้ปฏิบัติในกลุ่มเป้าหมายท่ี
กำหนด คือพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรม
ในเดอื นพฤษภาคม 2562

3. ประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาล โดยการประเมิน 1) ผลลัพธ์ด้าน
กระบวนการ ได้แก่ ประเมินความยาก-ง่ายในการนำไปใช้ ความสามารถในการนำไปใช้ ปัญหา
อุปสรรค ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้และความพึงพอใจในการนำไปใช้ 2) ประเมินผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย
ได้แก่ จำนวนอุบัติการณ์การเกิด UE และระยะเวลาใส่ท่อช่วยหายใจ หลังจากนั้นนำผลลัพธ์การ
ประเมนิ มาปรบั ปรุงแก้ไขและจดั ทำเป็นรูปเลม่ เพือ่ นำไปใชใ้ นการปฏิบัติงานจริงตอ่ ไป

ขั้นตอนที่ 2 การนำแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก
โรงพยาบาลนครปฐมทป่ี รับปรงุ แล้วไปใช้จรงิ ในหน่วยงาน

ระยะท่ี 4 การนำแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกดิ UE ที่ปรับปรุงแล้วไปใชจ้ ริงใน
หน่วยงาน โดยใช้แนวคิดตามกรอบแนวคิดของสภาวิจัยทางการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติประเทศ
ออสเตรเลีย (NHRMC) ในเรื่องการประกันคุณภาพและการปรับปรุงคุณภาพแนวปฏิบัติการพยาบาล
เพื่อให้เกิดคุณภาพการดูแลที่ดียิ่งขึ้นและสามารถอยู่ในกระบวนการดูแลผู้ป่วยประจำวันได้ โดยการ
เปรียบเทียบข้อมูลผลลัพธ์ของการใช้แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE กับผลที่
เกิดขึ้นจริงตามปกติ ได้แก่ 1) จำนวนอุบัติการณ์การเกิด UE 2) ระยะเวลาใส่ท่อช่วยหายใจระหว่าง
กลุ่มก่อนใช้และหลังใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก
โรงพยาบาลนครปฐม

ดังแสดงตามภาพ

85

ข้นั ตอนที่ 1 การพฒั นาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพือ่ ปอ้ งกันการเกิด UE (รา่ ง) แนวทางปฏิบตั ิการ
พยาบาลเพื่อป้องกนั การเกดิ
ระยะที่ 1 วิเคราะห์สถานการณแ์ละปจั จัยที่มผี ลต่อการถอดท่อช่วยหายใจ UE งานหอ้ งผู้ปว่ ยหนัก
โดยไม่ได้วางแผน 1.ปัจจัยด้านผู้ป่วย 2. ปัจจัยด้านการดูแลรักษา โรงพยาบาลนครปฐม
3.ปัจจัยด้านบคุ ลากร 4. ปัจจยั ดา้ นแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาล
ผลลพั ธด์ ้านผปู้ ว่ ย
ระยะที่ 2 พัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้อง - จำนวนการเกดิ อบุ ัตกิ ารณ์
ผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม 1. ทบทวนวรรณกรรม ศึกษาตำรา UEลดลง
เอกสารวิชาการ และงานวิจัย 2. พัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล (ตาม - ระยะเวลาการใสท่ ่อชว่ ย
กรอบแนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกของสภาวิจัยทางการแพทย์ หายใจลดลง
และสุขภาพแห่งชาติประเทศออสเตรเลีย, NHMRC,1998) 6 ขั้นตอน
1) กำหนดประเด็นและขอบเขตของปัญหา 2) กำหนดทีมพัฒนาแนว
ปฏิบัตกิ ารพยาบาล 3) กำหนดวตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมายและผลลพั ธ์ 4)
สืบค้นและประเมินคุณค่าหลักฐานเชิงประจักษ์ 5) ยกร่างแนวปฏิบัติการ
พยาบาล 6) ตรวจสอบความตรงและความเที่ยงของแนวปฏิบัติการ
พยาบาล

ระยะที่ 3 การนำไปใช้และประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อป้องกันการ
เกิด UE งานห้องผปู้ ่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม (ตามกรอบแนวคิดการพัฒนา
แนวปฏิบัติทางคลินิกของสภาวิจัยทางการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติประเทศ
ออสเตรเลีย, NHMRC,1998) 1. ทดลองใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลที่ได้รับการ
พัฒนาในงานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม 2. ประเมินผลการนำใช้
แนวปฏิบัติการพยาบาล 1) ผลลัพธ์ด้านกระบวนการ ได้แก่ การประเมินความ
ยาก-ง่ายในการนำไปใช้ ความสามารถในการนำไปใช้ ปัญหา อุปสรรคและ
ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ และความพึงพอใจในการนำไปใช้ 2) ผลลัพธ์ด้าน
ผู้ปว่ ยไดแ้ ก่ จำนวนอบุ ตั ิการณ์การเกิด UE และระยะเวลาใส่ทอ่ ช่วยหายใจ

ขัน้ ตอนที่ 2 การนำแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลเพอ่ื ป้องกันการเกิด UE งานหอ้ ง
ผปู้ ่วยหนกั โรงพยาบาลนครปฐมท่ปี รับปรุงแล้วไปใช้จริงในหน่วยงาน

ระยะที่ 4 การนำแนวปฏิบัตกิ ารพยาบาลเพ่ือป้องกันการเกิด UE ท่ีปรับปรุงแล้ว
ไปใช้จริงในหน่วยงาน (ตามกรอบแนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกของ
สภาวจิ ัยทางการแพทย์และสขุ ภาพแห่งชาตปิ ระเทศออสเตรเลีย, NHMRC,1998)

ประสทิ ธผิ ลของการใชแ้ นวปฏิบัตกิ ารพยาบาลเพื่อป้องกนั การเกิด UE งานห้องผู้ปว่ ยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม

86

นิยามศพั ท์
- นิยามตัวแปรตาม (ตัวแปรที่เป็นประเด็นปัญหา) หมายถึง....
- รูปแบบ/แนวทาง /ระบบ หมายถึง..... มีองค์ประกอบ/ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน.........
- วธิ กี าร/การปฏิบตั ิแบบเดิม หมายถึง .....
- ประสทิ ธผิ ลของรปู แบบ/แนวทาง /ระบบ..... หมายถึง ....

ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ
เมอ่ื งานวิจัยนส้ี ำเร็จ จะนำไปสู่การเกดิ ประโยชนใ์ นดา้ นใด แกใ่ ครบ้าง

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
หวั ขอ้ ในการทบทวนวรรณกรรม ควรประกอบดว้ ย
1. สถานการณข์ องการเกิดปัญหานนั้ ๆ ทั้งในพน้ื ท่ีต่างๆ และในพ้นื ท่ีศกึ ษา (เพ่อื นำไป

ประกอบสรุปการเขยี นความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หาในบทท่ี 1)
2. แนวคิด ทฤษฎีเกยี่ วกับการจดั การกับปัญหาที่เกิดขึ้น
(เพื่อนำไปประกอบการพัฒนารูปแบบ /แนวทาง/ระบบ....ต่อไป)
2.1 ความหมายของปัญหาที่เกิด
2.2 ปัจจัยสาเหตขุ องการเกดิ ปัญหา
2.3 ผลกระทบทเ่ี กดิ จากปัญหานนั้
2.4 แนวทางในการแกป้ ญั หา ทง้ั ไทยและต่างประเทศ (เพอื่ ให้ได้ทฤษฎฐี านรากในการ

พัฒนารปู แบบ /แนวทาง/ระบบ.... และนำสว่ นนไี้ ปเขยี นในขอบเขตการวิจยั บทที่ 1)
การทบทวนวรรณกรรม ควรมีการสรปุ ตอนทา้ ยวา่ ไดอ้ ะไร หรือสรุปว่าเป็นอย่างไร

ในยอ่ หน้าสดุ ท้าย เพื่อนำสง่ิ เหล่าน้ี สามารถนำไปสรปุ เขยี นประกอบในความเปน็ มาในบทท่ี 1
ตลอดจนเปน็ ประเดน็ ในการพิจารณาในบทที่3 ตอ่ ไป

3. งานวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ประกอบด้วยงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องกับ
3.1 งานวิจัยที่ผา่ นมาทง้ั ในประเทศและต่างประเทศเกย่ี วกบั วธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาทเี่ กิดขน้ึ

(เพ่ือนำไปประกอบการพัฒนารูปแบบ /แนวทาง/ระบบ....ตอ่ ไป)
3.2 งานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้องกบั การพัฒนารูปแบบ การพฒั นาระบบ การพัฒนาแนวทาง

87

(เพอื่ นำมาสรุปเปน็ ขั้นตอนของการพัฒนารปู แบบ /แนวทาง/ระบบ....ต่อไป)
และเขยี นสรุปขัน้ ตอนการวจิ ยั ออกมาเพ่ือเชอื่ มโยงเข้าสู่การดำเนินงานในบทที่ 3

การทบทวนวรรณกรรม ควรมกี ารสรุปตอนทา้ ยวา่ ไดอ้ ะไร หรอื สรุปว่าเปน็ อยา่ งไร
ในย่อหน้าสดุ ทา้ ย เพ่ือนำส่งิ เหลา่ นี้ เป็นประเด็นในการพิจารณาในบทที่3 ตอ่ ไป

*ดงั น้ันการทบทวนวรรณกรรมบทที่ 2 กเ็ พื่อให้เข้าใจประเด็นปญั หาท่ีชดั เจน ใหเ้ กิด
แนวทางในการแก้ไขปัญหาว่าควรมาจากแนวคดิ /ทฤษฎีรากฐานใด มีกระบวนการดำเนนิ งานแกไ้ ข
อย่างไร และมีข้นั ตอนในการพฒั นารปู แบบ /แนวทาง/ระบบ....เพ่อื แก้ไขปญั หาที่เกิดขึ้นอย่างไร

ส่ิงทไ่ี ดจ้ ากการทบทวนวรรณกรรม จะเชื่อมโยงนำไปเขียนในบทที่ 1 และเชอ่ื มโยงใน
การเข้าสกู่ ระบวนการพฒั นาในบทที่ 3

บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ การวจิ ัย
รปู แบบการวิจยั (ตวั อยา่ ง)
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D)

กำหนดการวิจยั เป็น 2 ข้นั ตอน แบ่งออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้
ข้นั ตอนที่ 1 การพัฒนา....... ได้แก่
ระยะท่ี 1 วิเคราะหส์ ถานการณ์การเกดิ ปญั หา.............
ระยะท่ี 2 พัฒนา.........
ระยะท่ี 3 การทดลองนำไปใชแ้ ละประเมินผล....จากการทดลองใช้
ข้นั ตอนท่ี 2 การศึกษาประสิทธผิ ลของการใช้.........
ระยะท่ี 4 การนำ....... ที่ปรบั ปรุงแลว้ ไปใช้จรงิ ในหนว่ ยงาน

ซงึ่ ได้แสดงรายละเอียดดังภาพ

การเขยี นส่วนน้ี จะต้องเชอ่ื มโยงกบั สรปุ ทา้ ยบทท่ี 2

88

ขน้ั ตอนท่ี 1 การพัฒนาแนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลเพอ่ื ปอ้ งกนั การเกิด UE งานหอ้ งผู้ปว่ ยหนกั โรงพยาบาลนครปฐม

ระยะที่ 1 วิเคราะหส์ ถานการณ์ R1 1. สถานการณก์ ารดแู ลผู้ป่วยวกิ ฤตใส่ท่อช่วยหายใจ
การเกิด UE งานห้องผ้ปู ว่ ยหนกั 2. ปัจจัยเส่ียงตอ่ การเกิดUEท้งั ด้านผปู้ ว่ ยด้านการดแู ลรกั ษาและด้านบคุ ลากร

โรงพยาบาลนครปฐม 3. ผลกระทบจากการเกดิ UE

4. แนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลท่ใี ชใ้ นการดูแลผปู้ ว่ ยใสท่ ่อชว่ ยหายใจ

ผลลพั ธ์ ประเด็นสำคญั ในการพฒั นาแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาล: อบุ ัติการณ์ UE

ระยะท่ี 2 พฒั นาแนวปฏิบตั ิการ พัฒนาจากการทบทวนวรรณกรรม ตำราวิชาการ งานวิจัยท่ีเกย่ี วขอ้ งในหวั ขอ้

พยาบาลเพือ่ ป้องกันการเกิด UE 1. ปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ การถอดทอ่ ช่วยหายใจโดยไมไ่ ดว้ างแผน

งานหอ้ งผู้ป่วยหนกั โรงพยาบาล 2. ผลกระทบจากการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน

นครปฐม 3. แนวคิดการปฏิบตั กิ ารพยาบาลเพ่ือการป้องกนั การเกดิ UE

นำเข้ากระบวนตามกรอบแนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสภาวิจัย

ทางการแพทยแ์ ละสขุ ภาพแห่งชาตปิ ระเทศออสเตรยี (NHMRC,1998)

1. กำหนดปญั หาและขอบเขตของปัญหา

2. กำหนดทีมพัฒนาแนวทางปฏิบัตกิ ารพยาบาล

3. กำหนดวัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย และผลลัพธ์

4. ดำเนนิ การสบื คน้ และประเมินคุณคา่ หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์

5. ยกรา่ งแนวปฏิบัติการพยาบาล

6. นำยกร่างแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลใหผ้ ูเ้ ช่ยี วชาญพฒั นาตรวจสอบ

ผลลพั ธ์ ยกร่างแนวปฏิบัตกิ ารพยาบาลเพ่อื ป้องกนั การเกิด UE

ระยะที่ 3 การนำไปใชแ้ ละ 1. นำข้อเสนอแนะจากผ้เู ชีย่ วชาญมาปรับปรุง
ประเมนิ ผลแนวปฏิบตั กิ าร
D1 2. นำแนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลไปทดลองใชจ้ ริงในพืน้ ท่ศี กึ ษา

1 ผลลพั ธ์ แนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลและคมู่ ือการใช้แนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลฯ
1. ทดลองใชแ้ นวปฏิบัติการพยาบาลเพ่อื ป้องกนั การเกดิ UE

R2 2. ประเมนิ ผลการทดลองใช้แนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล

พยาบาลที่เพื่อปอ้ งกนั การเกิด 2 ผลลพั ธด์ ้านกระบวนการ
UE งานห้องผปู้ ่วยหนกั 1. ความยาก-ง่ายในการนำไปใช้ ความสามารถในการนำไปใช้ ปัญหา อุปสรรค

โรงพยาบาลนครปฐม และขอ้ เสนอแนะในการนำไปใช้

2. ความพึงพอใจของผใู้ ชแ้ นวปฏิบัติการพยาบาล

ผลลัพธด์ า้ นผู้ป่วย

1. จำนวนอุบัตกิ ารณ์การเกิด UE 2. ระยะเวลาการใส่ทอ่ ชว่ ยหายใจ

1. ปรับปรงุ แนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลจากผลการทดลองใช้

D2 2. จดั ทำเป็นรูปเลม่ 3. นำไปใช้ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลจริง

2 ผลลพั ธ์ แนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลที่ไดร้ บั การปรับปรงุ กอ่ นนำไปใชจ้ รงิ ในหน่วยงาน
ขั้นตอนที่ 2 การศกึ ษาประสิทธผิ ลของการใชแ้ นวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเพอ่ื ปอ้ งกนั การเกิด UE งานห้องผปู้ ่วยหนักโรงพยาบาลนครปฐม

ระยะที่ 4 การนำแนวปฏบิ ัติ 1. นำแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเพื่อปอ้ งกันการเกิดUEทีป่ รบั ปรุงแล้วไปใชใ้ นหนว่ ยงาน

การพยาบาลเพอื่ ป้องกัน R3 2. ศกึ ษาประสทิ ธิผลของการใชแ้ นวปฏิบัตกิ ารพยาบาลเพือ่ ป้องกนั การเกิด UE
การเกดิ UE งานหอ้ งผูป้ ่วยหนกั ผลลัพธ์ดา้ นผูป้ ว่ ย

โรงพยาบาลนครปฐม ทปี่ รบั ปรุง 1. จำนวนอุบตั กิ ารณ์การเกิด UE

แลว้ ไปใช้จรงิ ในหนว่ ยงาน 2. ระยะเวลาใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ

D3 1. นำผลลัพธ์จากการนำแนวปฏิบัติการพยาบาลที่ปรับปรุงแล้วไปใช้จริงใน
หน่วยงานมาปรบั ปรงุ

2. จดั ทำเป็นรูปเลม่ เพื่อนำไปเผยแพร่ใชใ้ นการปฏบิ ัติจรงิ ต่อไป

ผลลพั ธ์ แนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเพือ่ ป้องกันการเกิด UE ฉบบั สมบรู ณพ์ ร้อมเผยแพร่

89

โดยแต่ละระยะมกี ารดำเนนิ การและรายละเอียด ดงั ตอ่ ไปนี้

ขัน้ ตอนท่ี 1 การพัฒนา... ประกอบด้วยวิธีดำเนนิ การวิจัย 3 ระยะ ได้แก่
ระยะที่ 1 ดำเนนิ การวเิ คราะห์สถานการณก์ ารเกิดปัญหา .... วันท่ี.......
1. ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับปัจจัยสาเหตุของการเกิดปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากปัญหา

นั้น โดยอาจเป็นการศึกษา ทบทวนวรรณกรรม หรือพร้อมทำงานวิจัยเชิงวิเคราะห์ที่เป็นการหาปัจจัยสาเหตุของ
ปญั หาก็ได้

ผลจากการทบทวนวรรณกรรม พบวา่ ปจั จยั สาเหตขุ องการเกดิ ปัญหา ไดแ้ ก่.........
(ตรงนี้สำคญั มาก หากเราจะแกไ้ ขปัญหาอะไรกแ็ ล้วแต่ เราต้องทราบสาเหตทุ ่ชี ัดเจนของปัญหา
นัน้ )

2. วิเคราะห์สถานการณ์การเกิดปัญหาในพืน้ ที่ตามปัจจัยที่ได้ทำการศึกษาในหัวข้อก่อนหนา้
ผ้วู ิจยั อาจใช้วธิ กี ารจัดประชุมทบทวน หรืออาจใชก้ าร focusgroupกไ็ ด้ เพอื่ พิจารณาอุบตั ิการณ์การเกิดปัญหา
รวมทัง้ ประเด็นทเ่ี ปน็ สาเหตุ (ตามปัจจัยทไ่ี ดศ้ กึ ษาในหัวขอ้ กอ่ นหน้า) ตลอดจนผลกระทบท่เี กดิ ขึน้

ผลจากการวเิ คราะหส์ ถานการณ์การเกดิ ปญั หาในพืน้ ท่ี พบว่า .......
(ตรงน้จี ะทำใหไ้ ด้ว่า จากสาเหตขุ องปัญหาทไ่ี ดจ้ ากการทบทวนวรรณกรรมในหวั ขอ้ ท่ี 1 เมื่อมา
ทำการวิเคราะหส์ ถานการณจ์ ะทำให้ทราบวา่ พื้นท่ขี องเรามกี ารจัดการแก้ไขปญั หาจุดใดบา้ ง และจุดใดที่ยังขาดการ
แก้ไขปัญหาอยู่ แสดงว่าจุดที่ขาดนั้นต้องดำเนินการแก้ไข ซึ่งต้องอาศัยแนวคิด/ทฤษฎีฐานรากมาเป็นจุดในการ
แก้ไขปญั หานน้ั เพราะเม่อื เรามีฐานในการแก้ไขปญั หาท่คี รอบคลมุ ก็จะนำไปสแู่ นวโนม้ ของการจดั การปัญหาทดี่ ี)

ผลลพั ธ์ สาเหตขุ องปญั หาทเี่ กดิ เพอ่ื นำไปสกู่ ารพัฒนาหาแนวทางแก้ไข แบ่งเป็น
กี่ดา้ น ได้แก่

1. ปจั จยั ดา้ น.....
2. ปัจจัยด้าน....
ฯลฯ

ระยะที่ 2 ดำเนินการพัฒนา..........
1. ผู้วิจัยได้พัฒนา......ตามกรอบแนวคิด......ของ........ (ตรงนี้ ต้องแสดงแนวคิด/ทฤษฎีฐานรากที่จะ

นำมาสู่การแกไ้ ขปญั หา)

90

ประกอบดว้ ย ... ข้นั ตอน ดังน้ี ..... (มรี ายละเอียดอย่างไร ใสใ่ ห้ละเอยี ด)
2. ผู้วิจัยได้ทำการร่างยกร่าง.... (ดังภาคผนวกที่...) ให้ผู้เชี่ยวชาญทำการตรวจสอบความเหมาะสม
และความเป็นไปไดใ้ นการใชง้ าน (ตามแบบประเมินสำหรับผเู้ ชีย่ วชาญดังภาคผนวกที่....)
ผู้เชย่ี วชาญในการตรวจสอบความเหมาะสม และความเปน็ ไปไดใ้ นการใชง้ าน...ประกอบด้วย...
ผลการตรวจสอบความเหมาะสม และความเปน็ ไปได้ในการใช้งานจากผู้เชย่ี วชาญพบว่า......
และไดน้ ำมาสกู่ ารแกไ้ ข....ในประเด็น.....
ผลลัพธ์ ร่าง...... ประกอบด้วยสาระสำคัญ ..... หมวด ดงั น้ี
ผูว้ ิจัยดำเนินการจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มฉบบั สมบรู ณ์และฉบบั ย่อเพ่ือสะดวกต่อการเขา้ ถงึ ก่อนนำไป
ทดลองใชจ้ รงิ (รายละเอยี ดตามภาคผนวก.......)

ระยะที่ 3 การนำไปใชแ้ ละประเมนิ ผลการใช้..........
1. ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง สำหรบั การวิจยั ระยะที่ 3......
2. วธิ ีดำเนินการวจิ ยั สำหรบั การวจิ ยั ระยะท่ี 3
วธิ ีดำเนินการวจิ ัย ผ้วู จิ ยั ไดด้ ำเนนิ การ 2 ขน้ั ตอนคอื 1.ขัน้ เตรียมความพรอ้ มก่อนการใช้...และ

2 .ขนั้ การนำไปใช.้ .....ดงั นี้
1. ขน้ั เตรยี มความพรอ้ มกอ่ นการใช.้ .....
อาจมีการจดั ประชมุ ชแ้ี จง /จดั ประชมุ เชงิ ฏบิ ตั กิ าร กไ็ ด้

ผลลัพธ์ จากการประเมนิ ผลหลังเสรจ็ กิจกรรมในแต่ละคร้ังของการประชมุ ผู้ปฏิบัติมีความ
เขา้ ใจเป็นอยา่ งไร

2. ขั้นการนำใช้.....
- ภายหลงั ได้รบั อนญุ าตจากผอู้ ำนวยการโรงพยาบาล ผวู้ จิ ยั นำ... ไปใชใ้ นพ้นื ทีศ่ กึ ษาในเดือน
..... โดยกล่มุ ตวั อย่างแบ่งเป็น .... กลุ่ม (เชน่ กลมุ่ พยาบาลก่คี น กลุ่มผปู้ ่วยกค่ี น)

เกณฑก์ ารคัดเข้ากลมุ่ ตัวอยา่ ง (inclusion criteria)
กลุม่ ผูป้ ่วยมเี กณฑค์ ัดเข้าอยา่ งไร
เกณฑก์ ารคดั ออกกลุ่มตวั อย่าง (exclusion criteria)
กล่มุ ผปู้ ว่ ยมเี กณฑ์คดั ออกอยา่ งไร
เกณฑก์ ารยตุ กิ ารวจิ ัย
กลุ่มตัวอยา่ ง (ผู้ป่วยหรอื ญาต)ิ ขอออกจากการวิจัยระหว่างดำเนนิ การ

91

- ผู้วิจัยและหัวหนา้ หน่วย มีการนิเทศ กำกบั อย่างไร
- ผวู้ จิ ัยทำการประเมินความยาก-งา่ ยในการนำไปใช้ ปัญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ
ในการนำไปใช้ และความพึงพอใจของผใู้ ช.้ ...... ตลอดจนเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผลการแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ......
ผลการประเมิน พบวา่ .....

และไดน้ ำมาปรบั ปรงุ แกไ้ ข...ในประเด็น

ผลลพั ธ์ ร่าง...... ประกอบดว้ ยสาระสำคญั ..... หมวด ดังนี้
ผวู้ ิจยั จัดทำเปน็ คมู่ ือการใชง้ านเพื่อนำไปสกู่ ารปฏิบัติใชจ้ ริง(รายละเอียดตามภาคผนวก........)

3. เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจัย สำหรบั การวิจัยระยะท่ี 3
เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการวิจัย สำหรบั การวจิ ยั ระยะที่ 3 คือ
1. รปู แบบ/แนวทาง/ระบบ ........ซึง่ ผู้วิจัยพัฒนาข้นึ ในการวิจัยระยะท่ี 2 สาระสำคัญ

แบ่งเปน็ ...... หมวด ไดแ้ ก่ (รายละเอียดดังภาคผนวก ........)
2. เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการประเมินผลลพั ธก์ ารนำ....... (ภาคผนวก .....) ได้แก่
2.1 เครือ่ งมอื ประเมินผลลพั ธ์ดา้ นกระบวนการ ประกอบดว้ ย ..... ส่วน คือ
สว่ นที่ 1 แบบบันทึกข้อมลู สว่ นบุคคล..........
ส่วนท่ี 2 แบบประเมนิ ผลลพั ธ์ด้านกระบวนการ ประกอบด้วย
ตอนท่ี 1 แบบประเมินความยาก-งา่ ยในการนำไปใช้
ตอนที่ 2 แบบสอบถามความพงึ พอใจของ...ตอ่ การนำ...ไปใช้ มีจำนวนทั้งหมด...

ข้อ มีเกณฑก์ ารตัดสนิ ความพึงพอใจ.......
ตอนที่ 3 ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ปญั หา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ ในการใช.้ ... ซ่ึง

เปน็ คำถามปลายเปิดใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงานตอบแบบสอบถามได้อสิ ระตามความคดิ เหน็
2.2 เคร่ืองมอื ประเมนิ ผลลพั ธ์ดา้ นผู้ปว่ ย 2 สว่ น ได้แก่
2.2.1 แบบบันทึกขอ้ มูลท่วั ไปของผปู้ ่วย ประกอบด้วย ...
2.2.2 แบบประเมินประสิทธผิ ลการใช.้ ... ประกอบด้วย ......

92

4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลการวิจัย สำหรบั การวิจยั ระยะท่ี 3
ผู้วิจัยนำรูปแบบ/แนวทาง/ระบบ........ไปใช้เมื่อวันที่ .. เดือน... และจากนั้นทำการบันทกึ

ขอ้ มูลอย่างไร
5. สถติ ิทใี่ ช้ในการวจิ ัย สำหรบั การวิจัยระยะท่ี 3
ประกอบดว้ ย.........................

ผลลพั ธ์ดา้ นกระบวนการ พบว่า....
ผลลัพธด์ ้านผู้ปว่ ย พบวา่ ...

จากน้นั ผู้วิจัยนำผลลพั ธ์ด้านกระบวนการมาทำการปรบั ปรงุ เพอื่ ให้เกิดความเหมาะสมกอ่ นนำไปใชจ้ รงิ โดย
ปรับปรงุ ในประเดน็ ......

อาจมกี ารจดั ประชุม หรือทำการ focus group กับทีมงาน เพอ่ื ทำการปรบั ปรุงอีกรอบ

ผลลัพธ์ ได้รปู แบบ/แนวทาง/ระบบท่ีไดร้ ับการปรับปรงุ พร้อมจดั ทำเป็นคู่มอื การใช้งานก่อน
นำไปใช้จรงิ ในหนว่ ยงาน

ข้ันตอนที่ 2 การศกึ ษาประสทิ ธิผลของการใช้.....
อาจพิจารณาดูผลของปัญหาที่มีการนำไปใช้งาน เปรียบเทียบกับปัญหาที่เกิดในปีก่อน

หนา้ กไ็ ด้
1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง คือ.......

อาจกำหนดประชากร กล่มุ ตวั อย่างของปที ีม่ ีการนำไปใชง้ าน กับประชากรท่ีนำมาเปรียบเทียบกับปัญหาที่
เกิดในปกี ่อนหนา้ กไ็ ด้

2. เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวิจยั คือ
- รูปแบบ/แนวทาง/ระบบ.... (จากการนำไปใช้ในการวิจยั ระยะที่ 3 ปรบั ปรงุ ให้เหมาะสม
กับการนำไปใชป้ ฏบิ ัติจรงิ (ภาคผนวก ...)
- เครือ่ งมือประเมนิ ผลลพั ธด์ ้านผู้ปว่ ย (เป็นแบบประเมนิ ชุดเดยี วกบั ทีใ่ ช้ในการวจิ ัย
ระยะที่ 3)
3. วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย ........
4. สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั .......

93

บทที่ 4 ผลการวจิ ัย
สำหรบั การนำเสนอผลการวิจยั จะต้องนำเสนอใน 2 ส่วน คอื
ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลคุณลักษณะทั่วไปของกลุ่มตวั อย่างและตวั แปรทั้งหมดในการวิจยั
สว่ นท่ี 2 นำเสนอผลตามวตั ถุประสงค์
เช่น หากตั้งวัตถุประสงค์ในการวิจัยไว้ว่า เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ

ป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม และเพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้
แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม การ
นำเสนอผลการวจิ ยั ที่สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์การวจิ ัย แบง่ เปน็ 2 ส่วน ดงั นี้

สว่ นท่ี 1 ผลการพฒั นาแนวปฏิบัตกิ ารพยาบาลเพอื่ ปอ้ งกันการเกดิ UE งานหอ้ งปว่ ยหนัก
โรงพยาบาลนครปฐม

การพฒั นาแนวปฏิบตั ิการพยาบาลเพอ่ื ป้องกันการเกิด UE งานหอ้ งปว่ ยหนกั โรงพยาบาล
นครปฐม ในการวจิ ยั ครง้ั นี้ ไดผ้ า่ นข้นั ตอนการดำเนนิ การพฒั นาแนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลครบทงั้ 3 ระยะ ได้แก่ ระยะ
ที่ 1 การวิเคราะหส์ ถานการณก์ ารเกิด UE งานหอ้ งผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลนครปฐมระยะท่ี 2 พฒั นาแนวปฏบิ ัติการ
พยาบาล โดยใช้กรอบแนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกของสภาวิจัยทางการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติ
ประเทศออสเตรีย (NHMRC,1998) ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน และระยะที่ 3 การนำไปใช้และประเมินผลการใช้แนว
ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลนครปฐมรวมทั้งได้ดำเนินการปรับปรงุ
แนวปฏิบัติการพยาบาลหลังเสร็จสิ้นการดำเนินการในระยะที่ 3 และจัดทำเป็นคู่มือแนวปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือ
ปอ้ งกนั การเกดิ UE งานห้องผ้ปู ว่ ยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม ประกอบดว้ ยสาระสำคัญ 3 หมวด ดังนี้

หมวดท่ี 1 การปฏบิ ตั ิการพยาบาล (nursing intervention: I)
1.1 การส่งเสรมิ การส่อื สารในผปู้ ่วยท่ใี ส่ท่อช่วยหายใจ (II-2B,II-2A, IVB,II-1B)
1.2 การยึดตรงึ ท่อชว่ ยหายใจ
1.3 การดดู เสมหะในทอ่ ชว่ ยหายใจ (IA, II-2B)
1.4 การดูแลช่องปากขณะใสท่ ่อชว่ ยหายใจ (IVA)
1.5 การผกู ยดึ รา่ งกายอยา่ งปลอดภัย (II-2B, II-2A, II-2A, IVA)

หมวดท่ี 2 การเฝ้าระวังอยา่ งใกลช้ ิด (close-up monitoring:C)
2.1 การประเมินระดับความรสู้ ึกตัวและพฤติกรรมการเคลือ่ นไหว (II-2B, II-2A, II-2A)
2.2 การประเมินและจดั การความปวด (II-2A,IVA)
2.3 การประเมินภาวะกระสบั กระสา่ ย ภาวะง่วงซมึ และภาวะสบั สนเฉยี บพลัน (IVA)

94

2.4 การประเมินความพร้อมในการหย่าเครอื่ งช่วยหายใจ (II-2B, II-2A)
หมวดท่ี 3 การนำไปใช้ประโยชน์ (utilize: U) (II-2A, IVA) การนิเทศ กำกบั ติดตาม

รายละเอยี ดดงั แสดงในภาคผนวก…..

สว่ นท่ี 2 ประสทิ ธิผลของการใช้แนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเพื่อปอ้ งกันการเกดิ UE งานห้อง
ผู้ป่วยหนกั โรงพยาบาลนครปฐม ทป่ี รบั ปรงุ แล้วนำไปใช้จรงิ ในหน่วยงาน

ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก
โรงพยาบาลนครปฐม ทป่ี รับปรุงแล้วนำไปใช้จริงในหนว่ ยงาน เปน็ การประเมนิ ผลลัพธ์คณุ ภาพการดูแลผู้ป่วยโดยใช้
วิธกี ารเปรยี บเทยี บผลลพั ธ์ด้านผู้ปว่ ย ไดแ้ กจ่ ำนวนอบุ ตั กิ ารณก์ ารเกิด UE และจำนวนวันใสท่ ่อช่วยหายใจ ระหว่าง
กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลโดยใช้วิธีปฏิบัติการพยาบาลเดิม (กลุ่มการพยาบาลพัฒนาขึ้น 2558) กับกลุ่มผู้ป่วยท่ี
ได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลที่ได้รับการปรับปรุงก่อนนำไปใช้จริงในหน่วยงาน แล้วให้นำเสนอ
ผลการวจิ ยั ทีไ่ ด้

บทที่ 5 สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการวิจัย
โดยทำการสรุปที่เป็นข้อค้นพบจากงานวิจัย เขียนประเด็นสรุปให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์

การวิจยั

ตัวอยา่ ง
การวิจัยครั้งนี้เปน็ การวจิ ัยและพัฒนา(ResearchandDevelopment:R&D) เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการ
พยาบาลเพอ่ื ปอ้ งกนั การเกิด UE งานหอ้ งผปู้ ว่ ยหนกั โรงพยาบาลนครปฐม และเพื่อศกึ ษาประสทิ ธิผลของการใชแ้ นว
ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม ดำเนินการวิจัยตามกรอบ
แนวคิดของสภาวิจัยทางการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติประเทศออสเตรเลีย โดยแบ่งขั้นตอนการวิจัยออกเป็น 2
ขน้ั ตอน รวม 4 ระยะ ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพือ่ ป้องกันการเกดิ UE งานห้องผู้ป่วยหนักโรงพยาบาล
นครปฐม ประกอบด้วย 3 ระยะ ไดแ้ ก่

ระยะที่ 1 วิเคราะห์สถานการณ์การเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม ระยะเวลา
ศึกษาในเดือนตุลาคม 2561 และนำผลที่ได้ไปกำหนดเป็นประเด็นปัญหาสำคัญนำสู่การพัฒนาแนวปฏิบัติการ

95

พยาบาลเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของงานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐมและครอบคลุมปัจจัยที่เป็นสาเหตุ
ของการเกิด UE

ระยะที่ 2 พัฒนาแนวปฏิบัตกิ ารพยาบาลเพื่อป้องกันการเกดิ UE งานห้องผู้ป่วยหนกั โรงพยาบาล
นครปฐม ตามกรอบแนวคิดการพัฒนาแนวปฏบิ ตั ทิ างคลินิกของสภาวิจัยทางการแพทยแ์ ละสขุ ภาพแห่งชาติประเทศ
ออสเตรีย (NHMRC,1998) ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ระยะเวลาศึกษาในเดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนเมษายน 2562
ยกร่างแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE ประกอบด้วยสาระสำคัญ 3 หมวด ได้แก่ หมวดที่ 1 การ
ปฏิบัติการพยาบาล (nursingintervention:I) ประกอบด้วย 1.1 การส่งเสริมการสื่อสารในผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
1.2 การยึดตรึงท่อชว่ ยหายใจ 1.3 การดูดเสมหะในท่อชว่ ยหายใจและการดแู ลชอ่ งปากขณะใสท่ ่อช่วยหายใจ1.4 การ
ผูกยึดร่างกายอย่างปลอดภัย หมวดที่ 2 การเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด(closeupmonitoring:C) ประกอบด้วย 2.1 การ
ประเมินระดับความรู้สึกตัวและพฤติกรรมการเคลื่อนไหว 2.2 การประเมินและจัดการความปวด 2.3 การประเมิน
ภาวะกระสับกระส่ายและภาวะง่วงซึม หมวดที่ 3 การนำไปใช้ประโยชน์ (utilize: U) ประกอบด้วย 3.1 การกำกับ
ติดตาม ซึ่งแนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ได้รับตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยใช้วิธีการประเมินคุณภาพแนวปฏิบัติ
สำหรบั การวจิ ยั และประเมนิ ผล (AppraisalofGuidelineforResearchandEvaluationI: AGREEI) ฉบบั ภาษาไทย
ได้คะแนนคุณภาพแนวทางปฏิบัติทั้ง 6 หมวด คิดเป็นร้อยละ 83-89 คะแนนคุณภาพแนวทางปฏิบัติในภาพรวม
เท่ากับ 6 คะแนน ผู้ทรงคุณวุฒิแนะนำให้นำแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการการถอดท่อช่วยหายใจโดย
ไม่ได้วางแผนไปใช้เนื่องจากเป็นแนวปฏบิ ัติที่ส่งผลดีต่อคุณภาพการพยาบาลผลการตรวจสอบความเที่ยงโดยนำไป
ทดลองใช้กับพยาบาลวิชาชีพจำนวน 14 คน ได้ค่าความเที่ยงการประเมิน (Inter-raterreliability) อยู่ในระดับดี
เทา่ กบั 0.77 และได้รับการปรับปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะ จดั ทำเปน็ รปู เลม่ เพือ่ นำไปใชใ้ นการวจิ ยั ระยะที่ 3

ระยะที่ 3 การนำไปใช้และประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้อง
ผู้ปว่ ยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม

ผลการวิจัยพบว่า ผลลัพธ์ด้านกระบวนการ ในภาพรวมพยาบาลวิชาชีพมีความคิดเห็นว่าแนว
ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม หมวดที่ 1 การปฏิบัติการ
พยาบาล (nursingintervention: I) มีความง่ายต่อการนำไปใช้ร้อยละ 93.66 และสามารถนำไปใช้ได้ร้อยละ 99.18
และเมื่อแยกเป็นรายกิจกรรม พบว่า กิจกรรมการดูดเสมหะในท่อช่วยหายใจ มีความง่ายต่อการนำไปใช้มากที่สุด
ร้อยละ 98.38 และสามารถนำไปใช้ได้มากทีส่ ุดรอ้ ยละ99.49 รองลงมาเป็นกจิ กรรมการดูแลช่องปากในขณะใส่ทอ่
ช่วยหายใจ มีความง่ายต่อการนำไปใช้ร้อยละ 97.22 และสามารถนำไปใช้ได้ร้อยละ 99.44 และกิจกรรมการส่งเสรมิ
การสื่อสารในผู้ป่วยทีใ่ ส่ท่อช่วยหายใจมีความง่ายต่อการนำไปใช้น้อยทีส่ ุดร้อยละ83.65 แต่สามารถนำไปใช้ได้มาก
ถึงรอ้ ยละ 99.37 หมวดที่ 2 การเฝา้ ระวงั อย่างใกล้ชิด (closeupmonitoring:C) มคี วามงา่ ยต่อการนำไปใช้ร้อยละ
81.11 และสามารถนำไปใชไ้ ดร้ ้อยละ 92.22 เมอ่ื แยกเป็นรายกิจกรรม พบว่า กจิ กรรมการประเมนิ ความพร้อมในการ

96

หย่าเครื่องช่วยหายใจ มีความง่ายต่อการนำไปใช้มากที่สุดร้อยละ 92.00 และสามารถนำไปใช้ได้มากที่สุดร้อยละ
97.33 รองลงมาเป็นกิจกรรมการประเมินและการจัดการความปวด ความง่ายต่อการนำไปใช้ร้อยละ 86.05 และ
สามารถนำไปใช้ได้ร้อยละ 97.90 และกิจกรรมการประเมินและการจัดการภาวะกระสับกระส่าย ภาวะง่วงซึมและ
ภาวะสบั สนเฉียบพลันมีความง่ายต่อการนำไปใช้น้อยทีส่ ุดร้อยละ 58.06 แต่สามารถนำไปใช้ได้ร้อยละ 94.72 และ
หมวดที่ 3 การนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ (utilize:U) พยาบาลวิชาชีพ (หัวหน้างาน)มีความเห็นว่ามีความง่ายต่อการ
นำไปใช้และนำไปใช้ได้ร้อยละ 100 ทั้งในภาพรวมและรายกิจกรรม ผู้ใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเสนอแนะให้มีการ
ปรบั ปรงุ แบบบันทึกการปฏิบัตกิ ารพยาบาลคมู่ อื แนวปฏบิ ัติการพยาบาลเพื่อใหใ้ ชไ้ ด้สะดวกเขา้ ถงึ ไดง้ ่ายและเพมิ่
บทบาทหน้าที่ในการนิเทศกำกับ ติดตาม ประเมินผลให้กับพยาบาลวิชาชีพอาวุโสหรือพยาบาลพี่เลี้ยงเพื่อให้มีท่ี
ปรึกษาในการใช้แนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลครอบคลมุ ตลอด 24 ช่วั โมง

พยาบาลวิชาชพี จำนวน 90 คนมรี ะดบั ความพงึ พอใจต่อการใชแ้ นวปฏิบตั ิการพยาบาลเพ่ือปอ้ งกนั
การเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม ในระดับมากจำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 74.4 ค่าเฉล่ีย
เท่ากบั 7.33, SD=0.73 อยู่ในระดับดมี าก รองลงมาเปน็ ความพงึ พอใจระดบั ปานกลาง จำนวน 21 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
23.3 ค่าเฉลยี่ =5.33, SD= 0.73 และในภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดบั ดีมาก ค่าเฉลยี่ =7.05, SD=1.39

จำนวนอุบัติการณ์การเกิด UE 7 ครั้งในเดือนพฤษภาคม 2562 จากจำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 70 คน
ระยะเวลาการใส่ทอ่ ช่วยหายใจเฉลีย่ 5.31 วนั (min=1,max=30)

สรปุ นวตกรรมทีไ่ ดจ้ ากการวิจัยในขน้ั ตอนที่ 1 คือ
1. คู่มือแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาล
นครปฐม ฉบบั สมบรู ณแ์ ละฉบับย่อ
2. แบบบนั ทึกการปฏิบัตกิ ารพยาบาลเพ่อื เฝ้าระวังการเกดิ UE
3. แผนภูมิกลุ่มการป้องกันการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน Preventive
Unplanned Extubation Bundle “ICU”

ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้อง
ผู้ป่วยหนกั โรงพยาบาลนครปฐมประกอบด้วย1 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 4 การนำแนวปฏิบัติการพยาบาลเพือ่ ป้องกัน
การเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครปฐม ที่ปรับปรุงแล้วไปใช้จริงในหน่วยงานการวิจัยในระยะนี้ใช้
วธิ ีการเปรยี บเทยี บผลลพั ธ์ดา้ นผู้ป่วย ไดแ้ กจ่ ำนวนอุบตั ิการณ์การเกดิ UE และจำนวนวนั ใสท่ ่อชว่ ยหายใจ ระหว่าง
กลุ่มผู้ป่วยท่ีได้รับการดูแลโดยใช้วิธีปฏิบัติการพยาบาลเดิม (กลุ่มการพยาบาลพัฒนาขึ้น 2558) กับกลุ่มผู้ป่วยท่ี
ได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลทไี่ ดร้ ับการปรับปรุงก่อนนำไปใชจ้ ริงในหน่วยงาน (จากการวิจยั ในระยะ
ท่ี3 ) ท้ังน้เี พ่อื แสดงใหเ้ ห็นว่าแนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลท่ไี ด้รับการปรบั ปรุงแล้วนมี้ คี ณุ ภาพดยี ่งิ ขน้ึ และสามารถอยใู่ น

97

กระบวนการดูแลผู้ป่วยประจำวันได้ ซึ่งการวิจัยในระยะนี้ ดำเนินการในเดือนมิถุนายน 2562 ประเมินผลการวิจัย
จากผลลัพธด์ ้านผู้ปว่ ย ไดแ้ ก่จำนวนอบุ ัติการณ์การเกดิ UE และระยะเวลาการใส่ท่อช่วยหายใจ

พบผู้ป่วยถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผนในกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามวิธีปฏิบัติการ
พยาบาลเดิม จำนวน 13 ครั้ง มากกว่าในกลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกดิ
UE ที่ได้รับการปรับปรุงก่อนนำไปใช้จริงในหน่วยงานซึ่งเกิดจำนวน 3 ครั้ง และพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถติ ิท่ี p<.05 (p=.015)

พบจำนวนวันใส่ท่อช่วยหายใจเฉลี่ยในกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามวิธีปฏิบัติการพยาบาลเดมิ
เท่ากบั 7.17 วนั (min=1,max=36,SD=7.87)และกลุ่มผปู้ ่วยไดร้ บั การดูแลตามแนวปฏิบตั ิการพยาบาลเพื่อป้องกัน
การเกดิ UEทไ่ี ดร้ ับการปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้จริงในหนว่ ยงานเทา่ กบั 5.91 วัน (min=1,max=20,SD=4.60)ทั้งน้ีไม่
พบความแตกตา่ งอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ p>.05 (p=.251)

5.2 อภปิ รายผลการวจิ ัย
เป็นการอธิบายโดยแสดงเหตุผลและความสอดคล้องระหว่างผลงานวิจัยของผู้วิจัยกับทฤษฎี
หรอื ผลงานวจิ ยั ของนักวจิ ัยอนื่ ๆ ที่ผวู้ ิจัยได้ทำการทบทวนวรรณกรรมในบทท่ี 2

ตวั อยา่ ง
1. อภิปรายเกี่ยวกับการได้มาซง่ึ รูปแบบ/แนวทาง/ระบบ ท่ไี ดพ้ ัฒนาขนึ้
การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาล
นครปฐม ในการวิจัยครั้งนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นอย่างเป็นระบบ โดยใช้กรอบแนวคิดของสภาวิจัย
ทางการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติประเทศออสเตรเลีย ซึ่งกรอบแนวคิดนี้ได้รับการยอมรับในการ
นำไปประยุกต์ใชใ้ นการพฒั นาแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาล โดยมีองคป์ ระกอบได้แก่…….
ดังเช่นงานวิจัยเรื่องการพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันกา รถอด
ท่อชว่ ยหายใจโดยไม่ไดว้ างแผน ในหออภิบาลผูป้ ว่ ยศัลยกรรม โรงพยาบาลสงขลานคริทร์ ของสมจติ ต์
แสงศรี… งานวิจัยเรื่องประสิทธิผลของการใช้ในห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลลำปางของนภัสภรณ์
ดวงแก้ว… เป็นต้น นอกจากนี้แนวปฏิบัติการพยาบาลการป้องกันการเกิด UE เริ่มต้นจากการ
วิเคราะห์สถานการณ์การดูแลผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจในงานห้องผู้ป่วยหนักทำให้ทราบถึงประเด็นท่ี
เป็นสาเหตุของการเกิด UE จริงและนำไปสู่การวางแผนพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลที่ครอบคลุม
สำหรบั การดูแลผปู้ ่วยใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจในบริบทโรงพยาบาลนครปฐม
ทั้งนี้ในการพัฒนาแนวปฏิบัติมีทีมร่วมพัฒนาซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการดูแล
ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ ประกอบด้วยหัวหน้าห้องผู้ป่วยหนัก (ผู้ใหญ่) หัวหน้าหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤต


Click to View FlipBook Version