The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jeabt0205, 2022-05-04 03:17:49

E-book R_D

E-book R_D

98

อายุรกรรมและพยาบาลวชิ าชีพผปู้ ฏิบัติงานห้องผ้ปู ่วยหนัก รวมจำนวน 8 ทา่ น และมที ปี่ รกึ ษาซึ่งเป็น
ผู้มีองค์ความรู้และประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยวิกฤติใส่ท่อช่วยหายใจและการพัฒนาแนว
ปฏิบัติการพยาบาล ประกอบด้วย…… มีการทดลองใช้และพัฒนาจนได้แนวทางที่สามารถนำไปใช้ได้
จรงิ

2. อภปิ รายถึงผลทเ่ี กดิ ขึน้ จากการวิจัย วา่ ทำไมเป็นเชน่ นี้ สอดคลอ้ ง/ต่างจากงานวจิ ัยกอ่ น
หน้าทีผ่ ่านมาอยา่ งไรบา้ ง

การพัฒนาแนวปฏิบัตกิ ารพยาบาลเพอื่ ป้องกนั การเกดิ UE งานหอ้ งผปู้ ว่ ยหนกั เปน็ การนำ
แนวทางปฏิบัติการพยาบาลที่ได้รับการปรับปรุงคุณภาพอย่างตอ่ เนือ่ งเพือ่ ให้เกิดคุณภาพการดูแลที่ดี
ย่งิ ขน้ึ สามารถอยูใ่ นกระบวนการดแู ลผ้ปู ว่ ยประจำวันไดไ้ ปใช้ และมีการเปรียบเทยี บขอ้ มูลผลลัพธ์ของ
การใช้แนวทางปฏิบัติกับผลที่เกิดขึ้นจริงตามปกติซึ่งจะแสดงให้ทั้งผู้ปฏิบัติ และทีมสหวิชาชีพได้
รับทราบข้อมูลทั้งเกี่ยวกับความเสี่ยงและผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการดูแล ดังนั้นหลังจากมีการ
ปรบั ปรุงแนวปฏิบัติการพยาบาลตามข้อเสนอแนะจงึ ไดน้ ำแนวปฏบิ ัติการพยาบาลที่ปรบั ปรุงแล้วไปใช้
จริงในหน่วยงาน โดยการเปรยี บเทียบผลลัพธท์ ่ีเกิดจากการใช้แนวปฏบิ ัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการ
เกิด UE ที่ปรับปรุงแล้วกับผลลัพธ์ที่เกิดจากการใช้วิธีปฏิบัติการพยาบาลเดิม (กลุ่มการพยาบาล
พัฒนาปี 2558) โดยประเมินประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE
จากผลลพั ธ์ดา้ นผู้ป่วย ไดแ้ กจ่ ำนวนการเกดิ อุบตั ิการณ์ UE และระยะเวลาใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ

จากการวิจยั พบวา่ กลุ่มผูป้ ว่ ยท่ไี ดร้ ับการดูแลตามแนวปฏบิ ัติการพยาบาลเพือ่ ป้องกัน UE ท่ี
ได้รับการปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้จรงิ ในหน่วยงานเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ UE น้อยกว่ากล่มุ ตัวอยา่ งผู้ป่วยที่ได้รับ
การดูแลตามวิธีปฏิบัติการพยาบาลเดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที p<.05 (p=.015) แต่ไม่มีความ
แตกต่างจำนวนวนั ใส่ทอ่ ช่วยหายใจp>.05 (p=.251) อภิปรายดงั นี้

ทั้งกลมุ่ ผปู้ ว่ ยที่ได้รบั การดูแลตามวธิ ปี ฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเดิมและกลมุ่ ผูป้ ่วยทไ่ี ด้รบั การดแู ล
ตามแนวปฏิบัตกิ ารพยาบาลเพ่อื ป้องกันการเกดิ UE ท่ีได้รับการปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้จรงิ ในหน่วยงาน
เป็นกลุ่มอายุ 61-80 ปี มีจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นกลุ่มอายุ 41-60 ปี พบเป็นเพศชายมากกว่า
เพศหญิง และพบว่าเป็นผู้ที่มีระดับความรู้สึกตัวคะแนน GCS=13-15 มากที่สุด รองลงมาเป็นระดับ
ความรสู้ กึ ตวั คะแนน GCS=3-8 กลมุ่ โรคทพี่ บมากท่ีสุดในกล่มุ ผู้ป่วยทีไ่ ด้รับการดูแลตามวิธีปฏิบัติการ
พยาบาลเดิม คือ โรคระบบทางเดินหายใจ รองลงมาเป็นโรคหัวใจชนิดไม่ผ่าตัด และโรคติดเชื้อใน
กระแสเลือด ตามลำดับ สว่ นในกลมุ่ ผปู้ ว่ ยท่ีได้รบั การดูแลตามแนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลเพอ่ื ป้องกันการ
เกิด UE ที่ได้รับการปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใชจ้ ริงในหน่วยงาน กลุ่มโรคท่ีพบมากที่สุดคือโรคหัวใจชนิดไม่

99

ผ่าตัด รองลงมาเป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและโรคระบบทางเดินหายใจจำนวน เมื่อเปรียบเทียบความ
แตกต่างระหว่างอายุ เพศ ระดับความรู้สึกตัว และกลุ่มโรคไม่พบความแตกต่าง p>.05 (p=.364,
p=.231, p=.274, p=.195 ตามลำดับ) ซึง่ ขอ้ มูลท่วั ไปของผู้ปว่ ยดังกล่าวเป็นปัจจัยสง่ เสริมให้เกิด UE

ในการศึกษาประสิทธผิ ลของการใช้แนวปฏิบตั ิการพยาบาลเพ่อื ปอ้ งกนั การเกดิ UE ครง้ั นี้ พบ
ผปู้ ่วยเกดิ UE ในกล่มุ ผปู้ ่วยทไี่ ด้รบั การดูแลตามวิธีปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเดิมจำนวน 13 คร้ังคิดเป็นร้อย
ละ 17.58 และในกลุ่มผู้ปว่ ยได้รับการดแู ลตามแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลเพ่ือป้องกันการเกิด UE ทไ่ี ดร้ ับ
การปรับปรุงก่อนนำไปใช้จริงในหน่วยงานจำนวน 3 ครั้งคิดเป็นร้อยละ 4.29 เมื่อวิเคราะห์ในเชิงลึก
พบว่า กลุ่มผู้ป่วยเกิด UE ที่ได้รับการดูแลตามวิธีปฏิบัติการพยาบาลเดิม พบมากที่สุดในกลุ่มอายุ
61-80 ปีจำนวน 6 รายรองลงมาเป็นกลุ่มอายุ 41-60 ปีจำนวน 5 รายและกลุ่มอายุ≤ 40 ปีจำนวน 2
ราย เป็นเพศชายจำนวน 11 รายและเพศหญิงจำนวน 1 ราย พบในกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ
จำนวน 5 ราย โรคหัวใจชนิดไม่ผ่าตัดจำนวน 3 ราย โรคหลอดเลือดและสมองจำนวน 2 รายบาดเจ็บ
ที่ศรี ษะ โรคตดิ เช้อื ในกระแสเลอื ดและบาดเจบ็ หลายระบบจำนวน 1, 1, 1 รายตามลำดบั ระดบั ความ
รู้สึกตัว (GCS) เท่ากับ 13-15 จำนวน 12 ราย และระดับความรู้สึกตัว (GCS) เท่ากับ 9-12 จำนวน 1
ราย ส่วนในกลุ่มผู้ป่วยดูแลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลที่ได้รับการปรับปรุงก่อนนำไปใช้จริงเกิด UE
จำนวน 3 ครั้ง พบในกลุ่มอายุ 61-80 ปีจำนวน 2 รายและกลุ่มอายุ >80 ปีจำนวน 1 ราย เป็นเพศ
ชายจำนวน 1 รายและเพศหญิงจำนวน 2 ราย พบในกลุ่มโรคหัวใจชนิดไม่ผ่าตัดจำนวน 2 ราย และ
โรคติดเชื้อในกระแสเลือดจำนวน 1 ราย ระดับความรู้สึกตัว (GCS) เท่ากับ 13-15 ทั้ง 3 ราย จะเห็น
ได้ว่าผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม มีปัจจัยส่งเสริมให้เกิด UE เหมือนกัน ซึ่งสอดคล้องกับซึ่งสอดคล้องกับหลายๆ
การศึกษา……………. อ้างอิงประกอบ ……………. ที่เป็นเช่นนี้อาจเน่ืองมาจากผู้ป่วยส่วนใหญ่ทีเ่ ข้ารับ
การรักษาในห้องผู้ป่วยหนักและหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตเป็นเพศชายและมีอายุในช่วง 41-80 ปี มากที่สุด
และสอดคลอ้ งกบั หลายการศึกษา…………….อ้างองิ ประกอบ นอกจากนี้ยังสอดคลอ้ งกับการศึกษาของ
โคเซนติโน พบว่า ผู้ป่วยที่มีระดับความรู้สึกตัวดี GCS มากกว่าหรือเท่ากับ 9 เสี่ยงต่อการเกิด UE ได้
1.4-2 เท่าของผู้ป่วยที่ระดับความรู้สึกตัวต่ำ เนื่องจากในระยะที่ใส่ท่อช่วยหายใจผู้ป่วยมีความรู้สึก
ในทางลบไดแ้ ก่ รู้สึกรำคาญ ระคายเคอื งจากท่อช่วยหายใจ อดึ อัด หงดุ หงิดจากการส่ือสารท่ีเข้าใจไม่
ตรงกนั กระหายน้ำ วิตกกงั วลเกี่ยวกบั เศรษฐกิจของครอบครัว อยากใหญ้ าตเิ ฝ้าและช่วยเหลือในเรื่อง
การส่อื สาร

ผปู้ ว่ ยเกิด UE ในกลุม่ ทไี่ ดร้ บั การดูแลตามวธิ ีปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดมิ ส่วนใหญไ่ มม่ กี ารประเมิน
และการจัดการ ความปวด ภาวะสับสนง่วงซึม และภาวะสับสนเฉียบพลัน รองลงมาเป็นการประเมิน
และการจัดการท่ไี มค่ รบถ้วน กลมุ่ ผู้ปว่ ยที่ได้รับการดูแลตามแนวปฏิบตั ิการพยาบาลที่ปรับปรุงแล้วไป

100

ใช้จริงในหน่วยงาน ผู้ป่วยทุกรายได้รับการประเมินและการจัดการความปวด ภาวะสับสนง่วงซึมและ
ภาวะสับสนเฉียบพลัน เป็นไปได้ว่าผู้ป่วยวิฤตมีความเจ็บปวดอยู่ในระดับปานกลางถึงระดับมาก
ประมาณร้อยละ 70 ถ้าได้รับการจัดการความปวดไม่เหมาะสมจะส่งผลให้ผู้ป่วยวิกฤตเกิดภาวะ
กระสับกระสา่ ยหรือภาวะไม่สงบ (Agitation) และเกิดความวิตกังวลข้ึน นอกจากนอ้ี าการปวดเกิดขึ้น
ได้ระหว่างการเข้ารับการรักษา ขณะนอนพักเฉยๆ และจะปวดเพิ่มมากขึ้นเมื่อได้รับการทำหัตถการ
ความปวดสัมพันธ์กับการเกิด UE หากความปวดไม่ได้รับการจัดการเป็นการส่งเสริมให้เกิดภาวะ
กระสับกระส่าย สับสนง่วงซึม การทำให้ภาวะกระสับกระส่ายเกิดความสงบลงได้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่าง
ยิ่งโดยเฉพาะในระหว่างที่ผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ ทำให้ผู้ป่วยหายใจเข้ากับเครื่องช่วยหายใจได้ดี
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตามมา คือการใช้เครื่องช่วยหายใจที่นานขึ้น เกิดการบาดเจ็บของ
ปอด อาจเปน็ สาเหตขุ องการเกดิ UE และนำไปส่ภู าวะสับสนเฉยี บพลนั จากการศกึ ษาของแกนเบิร์ก
มาล์มรอส เบิร์กบอม และลันด์เบิร์ก (อ้างถึงในสุนันทา ครองยุทธ, 2559) ศึกษาภาวะสับสน
เฉียบพลันในผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยหายใจ อยู่ไอซียนู านกว่า 36 ชั่วโมง พบว่าเกิดภาวะสับสนเฉียบพลัน
รอ้ ยละ 79 และมีความสมั พันธก์ ับการเกดิ UE อย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติ p<.001 จึงเป็นข้อสนับสนุน
ให้ห็นว่าในกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE ที่
ปรบั ปรุงแล้วไปใชง้ านจริงในหนว่ ยงานมีจำนวนการเกดิ UE นอ้ ยกวา่ ในกลุ่มผู้ป่วยทไ่ี ดร้ ับการดูแลโดย
ใชว้ ธิ ปี ฏิบตั กิ ารพยาบาลเดิม

ขณะเกิด UE ในกลุ่มผปู้ ว่ ยทไี่ ดร้ บั การดูแลตามวิธปี ฏบิ ัติการพยาบาลเดิมใช้ mode: CMV
จำนวน 10 รายและ SBT (CPAP/SIMV) จำนวน 3 ราย ทั้งนี้การเกิด UE สาเหตุมาจากการประเมิน
และการจัดการความปวด ภาวะสับสนง่วงซึมและภาวะสับสนเฉียบพลัน และการเฝ้าระวังไม่เป็นไป
ตามแนวปฏบิ ัติ ส่วนในกลมุ่ ผู้ป่วยที่ไดร้ ับการดแู ลตามแนวปฏิบตั ิการพยาบาลเพอ่ื ป้องกนั การเกิด UE
ที่ปรับปรุงก่อนนำไปใช้จริงในหน่วยงานขณะเกิด UE ใช้ mode: CMV จำนวน 1 ราย สาเหตุจาก
ภาวะสับสนเฉียบพลันอยูใ่ นระหว่างการปรับระดบั ยาหย่อนคลายกล้ามเนื้อให้อยู่ในระดับทีเ่ หมาะสม
และ mode: SBT (CPAP/SIMV) จำนวน 2 ราย สาเหตุจากผู้ป่วยพร้อมถอดท่อชว่ ยหายใจแล้วกำลงั
เตรียมความพร้อมถอดท่อช่วยหายใจแต่ผู้ป่วยดึงท่อออกเองก่อน เมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาของ
สมพร นรขุน… พบว่ามีความแตกต่างคือไม่พบการเกิด UE ในกลุ่มผู้ป่วยหลังการใช้แนวปฏิบัติการ
พยาบาล แต่สอดคล้องกับการศึกษาของบังอร นาคฤทธ์ิ… พบการเกิด UE ในกลุ่มผู้ป่วยหลังการใช้
แนวปฏิบัติการพยาบาล จำนวน 2 รายในขณะใช้ mode SBT ดังนั้นการประเมินและการจัดการ
ความปวด ภาวะสับสนง่วงซึมและภาวะสับสนเฉียบพลัน และการประเมินความพร้อมในการหย่า
เครื่องช่วยหายใจจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เกิดการถอดท่อช่วยหายใจเป็นไปตามแผนการที่วางไว้

101

รวมถงึ การวางแผนจัดเตรยี มความพรอ้ มอุปกรณ์เครื่องมือเพ่ือถอดทอ่ ช่วยหายใจและทกั ษะในการเฝ้า
ระวังสัญญาณเตอื นก่อนถอดท่อชว่ ยหายใจโดยไม่ได้วางแผน ซึ่งการหยา่ เคร่ืองช่วยหายใจเม่ือมีความ
พร้อมในเวลาที่กำหนดช่วยลดการเกดิ UE ลงได้

ดังนั้นแนวปฏบิ ตั กิ าพยาบาลเพื่อปอ้ งกันการเกดิ UE ท้ัง 3 หมวดนจี้ งึ เปน็ แนวปฏบิ ัตกิ าร
พยาบาลที่สามารถนำไปใช้ได้จริงในกลุ่มผู้ป่วยวิกฤตใส่ท่อช่วยหายใจทางปาก มีอายุมากกว่า 15 ปี
ขึ้นไป ทั้งเพศชายและเพศหญิง มีระดับความรู้สึกตัว GCS ตั้งแต่ score 3 ขึ้นไป และทั้งในกลุ่มโรค
เรื้อรังและบาดเจ็บรุนแรง นอกจากนี้มีความต่างจากแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE
จากการพัฒนาของสมจิตต์ แสงศรี ;บังอร นาคฤทธ์ิ ; สมพร นรขุน และจากการพัฒนาของ
โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช ซงึ่ นภสั ภรณ์ ดวงแก้ว ท่ีนำมาใชใ้ นการศึกษาวิจยั คือมหี มวดการนำไปใช้ให้
เกิดประโยชน์ โดยการนิเทศ กำกับ ติดตาม อยู่ในแนวทางปฏิบัติด้วย ซึ่งเป็นผลดีต่อการนำไปใช้
เน่ืองจากเป็นการกำหนดบทบาทหน้าท่ีอย่างชัดเจนของหวั หน้า พยาบาลวิชาชพี อาวุโสและพยาบาลพี่
เล้ียง สง่ ผลต่อการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลอยา่ งต่อเน่อื ง

5.3 ข้อเสนอแนะ
ควรมี 2 ประเด็น คือ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ และข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยในครั้ง
ตอ่ ไป โดยนำเสนอสงิ่ ท่ีผู้วจิ ัยคนอ่ืนๆ อาจจะทำเพมิ่ เตมิ จากงานวิจัยครั้งนี้

ตัวอย่าง
1. ด้านปฏิบัติการพยาบาล

ห้องผู้ป่วยหนัก หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤต หรือหอผู้ป่วยสามัญที่รับผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจทางปากไว้ดูแล
สามารถนำแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกัน UE ที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสมตาม
บริบท เพื่อเพิ่มคุณภาพบริการพยาบาล และกิดความปลอดภัยแก่ผู้ป่วยมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ควรมีการปรับปรุง
แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกัน UE เป็นระยะตามความเป็นปัจจุบันของหลักฐานเชิงประจักษ์ และมีการ
ประสานงานกับทีมสหสาขาวิชาชีพเพื่อการดูแลผู้ป่วยร่วมกันโดยเฉพาะแพทย์มบี ทบาทสำคัญในการจัดการความ
ปวด ภาวะกระสบั กระส่าย ภาวะงว่ งซึมและภาวะสบั สนเฉียบพลัน รวมท้ังการพิจารณาหยา่ เครื่องช่วยหายใจในเวลา
ทีเ่ หมาะสม

102

2. ด้านบรหิ ารการพยาบาล
ผู้บริหารการพยาบาลควรมีนโยบายส่งเสริมการจัดทำแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกัน UE

สำหรับผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจทางปาก ที่สามารถนำไปใช้ได้ทุกหอผู้ป่วยที่ให้การดูแลผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจทาง
ปาก เพือ่ ใหก้ ารดผู ปู้ ว่ ยเปน็ ไปในแนวทางเดียวกันโดยพฒั นาแนวปฏิบตั ิการพยาบาลขึ้นจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษท์ ี่
เปน็ ปจั จุบนั

นอกจากนี้ผู้บริหารการพยาบาลควรมนี โยบายในการป้องกันการเกิดอุบัตกิ ารณ์ UE สำหรับผู้ป่วย
ใส่ท่อช่วยหายใจ โดยใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลที่พัฒนาขึ้นจากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ดีที่สุดและเป็นปัจจุบัน
สามารถนำไปใช้ได้ในทุกหอผู้ป่วยหรือหน่วยงานที่รับผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจไว้ดูแล และกำหนดผลลัพธ์จากการ
ป้องกัน UE เป็นตัวช้วี ดั คณุ ภาพบริการพยาบาล และใชใ้ นการประเมนิ ผลเพอื่ พัฒนาสมรรถนะของพยาบาลวชิ าชีพ

3. ด้านการศกึ ษาพยาบาล
สถาบันการศึกษาทางการพยาบาลควรจัดให้มีการเรียนการสอนและฝกึ ปฏิบัติในการป้องกัน UE

ในผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจสำหรับนักศึกษาพยาบาล เพื่อเตรียมความพร้อมด้านองค์ความรู้และทักษะในการดูแล
ผูป้ ว่ ยใสท่ ่อชว่ ยหายใจกอ่ นจบการศึกษาไปเป็นพยาบาลประจำการ

4. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวจิ ัย“แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด UE” ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์สูงสดุ ควรปฏบิ ตั ิดังนี้

4.1 ให้องค์ความรู้แก่บุคลากรทุกระดับ ชี้แจงวัตถุประสงค์ องค์ประกอบของแนวปฏิบัติการ
พยาบาล และฝกึ ทักษะการใช้แนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล โดยใช้ฐานการเรียนรู้ จำลองสถานการณเ์ สมือนจริง ให้กลุ่มที่
ประสบการณ์มากกว่า 10 ปี เป็นผู้ดูแลแต่ละฐานเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและเป็นการสอนแบบผู้ใหญ่ เพื่อให้เกิด
การเรยี นรู้จนสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ก่อนนำแนวปฏบิ ตั ิไปส่กู ารปฏบิ ตั ิจรงิ

4.2 มีการนิเทศ กำกับติดตาม การปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ โดย
หัวหน้างาน และสอน ให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษาระหว่างปฏิบัติงานแก่พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์น้อย
โดยเฉพาะ 0 - 3 ปแี รก โดยพยาบาลหัวหนา้ เวรหรอื พยาบาลพ่ีเลี้ยง และนำปัญหาอปุ สรรคทีพ่ บมาปรับปรุงแก้ไขให้
เหมาะสมกบั บริบทและบนพน้ื ฐานของหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ที่ดที ีส่ ดุ มีความเปน็ ปจั จุบันและอย่างตอ่ เนือ่ ง

5. ข้อเสนอแนะในการวจิ ัยคร้งั ต่อไป
5.1 ควรมีการศึกษาเพอื่ พฒั นาแนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลเพือ่ ป้องกนั UE ในผปู้ ่วยใสท่ ่อชว่ ยหายใจ

ทางปากในกล่มุ ผปู้ ว่ ยเดก็

103

5.2 ควรมีการขยายผลนำแนวปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือป้องกันUE ไปใช้ในผู้ป่วย(ผู้ใหญ่)ที่ใสท่ ่อ
ช่วยหายใจทางจมกู และเจาะคอ

5.3 ควรพัฒนารูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลให้เอื้อต่อการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือ
ปอ้ งกันการเกิด UE เพือ่ ลดการบนั ทึกทซ่ี ำ้ ซ้อน

ส่วนประกอบตอนทา้ ย ประกอบไปดว้ ย
บรรณานุกรม (Bibliography) แสดงรายการเอกสารที่ผู้วิจัยใช้ประกอบการเขียนรายงานการ

วิจัย โดยให้ใช้ตามรูปแบบของสถาบันหรือหน่วยงาน ผู้วิจัยต้องพยายามตรวจสอบรายการใน
บรรณานกุ รมใหต้ รงและสอดคลอ้ งกับเน้อื หา

ภาคผนวก (Appendix) เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลที่ผู้วิจัยไม่สามารถบรรจุไว้ในรายงานการวิจัย
ส่วนเนื้อหาได้ ทำให้ผู้อ่าน/ผู้สนใจเกิดความมั่นใจว่ารายงานการวิจัยนี้เชื่อถือได้ เพราะมีข้อมูลหรือ
สารสนเทศที่ผ่านการตรวจสอบและได้รับการยอมรับ ถ้าภาคผนวกมีข้อมูลหรือสารสนเทศที่มากจะ
แบ่งออกเป็นภาคผนวก ก., ภาคผนวก ข., ภาคผนวก ค. เป็นตน้

ประวตั ผิ ู้วจิ ยั โดยเขียนประวตั ิการศึกษา ประวตั ิการทำงาน และท่ีอยู่ท่ผี อู้ ่านสามารถติดต่อได้
หากมีความสนใจในงานวจิ ัยเรอ่ื งทที่ ำไว้

104

เกีย่ วกบั ผเู้ ขียน

ดร.พชั รนิ ทร์ สมบรู ณ์
การศกึ ษา
ปริญญาศึกษาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ (การวจิ ัยและประเมนิ ทางการศึกษา)
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
ผลงานและประสบการณ์ทำงาน
- วิทยานิพนธ์ดีเด่น คณะศึกษาศาสตร์ ปี 2548 ปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต (จิตวิทยา
ชมุ ชน) มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
- ประสบการณท์ ำงานวิจัยเกีย่ วกับการวิจยั และพัฒนา การประเมนิ ผลกระทบต่อสุขภาพ
- วิทยากรสอนการใช้โปรแกรมสถิติเพื่อการวิจัย หลักการวิจัยเพื่อประยุกต์ใช้ในการทำงาน
และการวจิ ัยและพัฒนาเพ่ือประยุกต์ใชใ้ นงานด้านสาธารณสุข
- ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์นักศึกษาปริญญาโท และอาจารย์พิเศษสอน
ระเบียบวิธีวิจัยแก่นกั ศึกษามหาวิทยาลัยของรฐั
- อาจารย์พิเศษ สอนหลักการวิจัย และหลักการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล สำหรับแพทย์
ประจำบ้าน สาขากุมารแพทย์ จุฬาลงกรณ์ และแพทย์ประจำบ้าน สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน กรม
อนามัย
- peer review วารสารแพทยเ์ ขต 4-5 และ peer review วารสารหวั หินสขุ ใจไกลกงั วล
ปัจจบุ นั ดำรงตำแหน่ง
- หัวหน้าศูนยฝ์ ึกอบรมและแพทยศาสตรศกึ ษา ศนู ยอ์ นามัยท่ี 5 ราชบุรี


Click to View FlipBook Version