The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การใช้เทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) เพื่อส่งเสริมการอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SASI_Piluek, 2022-05-03 10:17:28

วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้เทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) เพื่อส่งเสริมการอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ

การใช้เทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) เพื่อส่งเสริมการอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา

42

ตาราง 4 (ต่อ)

คนท่ี ชื่อ-สกุล ผลคะแนนก่อนเรยี น ผลคะแนนหลงั เรียน
15 เดก็ หญิงณฐั ณิชา มิ่งขวญั 7 19

16 เด็กชายภวู ดล แก้วราช 8 20
17 เดก็ หญิงรญั ชริ ดา ทาเกิด 14 18
18 เดก็ หญิงมญั ชุภา ตบิ๊ ปาละ 7 10
19 เด็กชายอภินันท์ แสงเมอื ง 13 19
20 เด็กชายสืบสกุล สันติธารารัตน์ 11 19
21 เดก็ ชายนราธิป อินแปง 11 19
22 เดก็ ชายนภสั รพี เรือนสทิ ธิ์ 11 19
23 เดก็ ชายติณณภพ แลบญุ มา 10 15
24 เด็กชายภูพิพฒั น์ คุ้มครอง 10 18
25 เดก็ หญิงธญั วรตั น์ อินสุวรรณ์ 13 18
26 เด็กชายยรู ายุ ด้วงรกั ษา 10 16
27 เด็กหญิงศริ ินทิพย์ อินพยม 14 20
28 เด็กชายภรู ิวัฒน์ โกศล 13 18
29 เดก็ หญิงชมนพร บรุ กิจภาชัย 8 19
30 เดก็ ชายอธิภทั ร ธนานุภาพ 2 14
31 เดก็ ชายชยมงคล ตาตน 7 18
32 เด็กชายสัณหณัฐ ธนูแก้ว 12 15
33 เดก็ หญิงปวิชญา ปิงใจ 14 19
34 เดก็ หญิงเนติกานต์ วงศ์แสนศรี 11 19
35 เดก็ หญิงณัฐวรา แรก่ ระสินธ์ 13 17
36 เด็กหญิงญาดาภทั ร ทิศรีไชย 12 18
37 เด็กชายธนบดินทร์ ชำนาญยา 10 17
38 เดก็ หญิงนภัสวรรณ เสนาธรรม 12 19
39 เด็กชายกฤติณภัทร ณ น่าน 11 18
40 เด็กชายภทั รบ์ วร นวลด้ัว 13 19
41 เด็กชายณัฐภทั ร เขือ่ นจกั ร์ 14 18

43

ตาราง 4 (ต่อ)

คนท่ี ชื่อ-สกลุ ผลคะแนนก่อนเรียน ผลคะแนนหลังเรียน
42 เด็กชายชสิ วิสิษฐ์ อชุ ุโกศลการ 15 18

43 เดก็ ชายธีรเมธ ยศสละ 8 20
44 เด็กชายก้องภพเกียรติ ศกั ดิ์กำจาย 10 15
45 เด็กหญิงพิมพ์ณภทั ร กนั ทะมูล 13 20
46 เดก็ หญิงสิรนิ ทรา ไชยจำเริญ 11 15
47 เดก็ หญิงนทั ธมน อินทะนิล 13 18
48 เด็กหญิงวิภวา เมฆิน 9 20
49 เด็กหญิงกัญญพัชร วงค์เครือ 8 17
50 เดก็ ชายเนวิน ธนาคิม อนิ ทนะ 14 17
51 เด็กชายจักรพรรดิ วีระโยธิน 8 19
52 เด็กหญิงธีรนาฏ สง่ สวัสดิเ์ กียรติ 12 17
53 เดก็ หญิงเกตน์นภิ า กิจเจริญวงศ์ 12 18
54 เด็กหญิงชนิสรา คำตนั 9 19
55 เด็กหญิงอมุ ากร บตุ รพรม 5 16
56 เดก็ ชายชัชพีญ์ วรรณคำ 11 17
57 เดก็ ชายวิชชากร รงุ่ เรอื ง 13 19
58 เดก็ หญิงณฐั ณิชา เสมอเช้ือ 13 18
59 เดก็ หญิงพัฒนน์ รี วรรณภลิ ะ 10 17
60 เด็กชายธีรภัทร รกั สตั ย์ 13 19
61 เดก็ หญิงธันญรตั น์ ไกรราช 9 17
62 เดก็ หญิงชญาณิศาไชยสลี 8 19
63 เดก็ หญิงภูริชญา ขอดณะ 7 18
64 เด็กชายอษั ฎา ม่ันคง 10 18
65 เดก็ หญิงณฐั วิภา ปันธรุ ะ 12 16
66 เด็กชายเฉลิมศักดิ์ อิฐรงค์ 15 20
67 เด็กชายทีปกร มะลิลา 6 17
68 เดก็ ชายพศนิ ศกั บุตร 12 16

44

ตาราง 4 (ต่อ)

คนท่ี ชื่อ-สกุล ผลคะแนนกอ่ นเรยี น ผลคะแนนหลงั เรยี น
69 เดก็ ชายอภิวิชญ์ กาพทุ ธิ์ 15 20

70 เดก็ หญิงฟ้าใส มโนวิเชียร 12 19
71 เด็กหญิงชญานิศ จนี พงษ์ 12 18

72 เดก็ ชายภูมิพัชร์ แก้วก๋อง 13 19
73 เดก็ ชายณัฐดนย์ สมจติ ต์ 14 18
74 เดก็ หญิงอยั ยาริณ อนันต์ 14 19
75 เดก็ ชายธีภพ ชนสยอง 10 20
76 เดก็ ชายธนาพล ไกรนรา 8 14
77 เด็กหญิงสกุ าญจน์ชญา สรวงศริ ิ 11 18
78 เด็กชายสวุ ิจักขณ์ เชย่ี วสุวรรณ 14 19
79 เด็กชายศุภโชค เนียมจันทร์ 9 20
80 เดก็ ชายธนากร อินทรแ์ ฝง 10 19
81 เดก็ หญิงวรินทรา มีปัญญา 11 20
82 เดก็ ชายพิชญุตม์ เงินมูล 9 19
83 เดก็ ชายปภาวี มงุ่ ต่อกิจ 9 17
84 เดก็ หญิงศริ ิลกั ษณ์ ปัญจศิลป์ 9 18
85 เด็กชายนับทอง ปานันตา 9 15
86 เด็กหญิงณชิ กานตต์ ไชยกุลเจริญสิน 7 16
87 เด็กหญิงพิชชาภา อุนจะนำ 10 19
88 เดก็ ชายชนทตั เทียนหวาน 8 15
89 เด็กหญิงประถมาภรณ์ ทะปญั ญา 9 20
90 เด็กชายภูริ วิลาชัย 7 18
91 เด็กชายตุลยวตั ไกรมาก 10 18
92 เดก็ หญิงรวินท์นิภา ยาวิชยั 12 20
93 เดก็ ชายชนาธิศ ก้อนคำ 12 18
94 เด็กหญิงณัฐธิดา ปัญญาอินทร์ 10 17
95 เด็กหญิงนิรักษกาญจน์ สถาน 11 18

45

ตาราง 4 (ต่อ) ผลคะแนนกอ่ นเรยี น ผลคะแนนหลงั เรยี น

คนท่ี ชือ่ -สกลุ 11 18
96 เด็กหญิงเบญญาภา เเซก่ ิม 7 20
97 เดก็ ชายธันณธรณ์ ผานกุ ารณ์ 10 16
98 เดก็ ชายปฐมพงศ์ เรอื งวิลยั 11 17
99 เดก็ หญงิ ธนชั ญา เบญจพลาภรณ์ 10 19
100 เด็กหญงิ กรนันท์ ตนั บตุ ร 11 20
101 เดก็ หญงิ รัก สะรอหมาด

จากตาราง ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน 101 คน
พบว่า คะแนนการสอบก่อนเรียนสงู สุด คอื 15 คะแนน คะแนนตำ่ สดุ คอื 2 คะแนน และคะแนน
การสอบหลงั เรียนสงู สุด คือ 20 คะแนน คะแนนต่ำสุด คือ 10 คะแนน

2. ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
หลังจากเรียนรู้เร่ือง การอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ด้วยเทคนิคการสอน
แบบสตอรีไลน์ (Story line) ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา
ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยทดสอบค่าทีแบบกลุ่มตัวอย่างเดียวไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test
dependent) ดงั ตาราง 5

ตาราง 5 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี น

คะแนน x S.D. N t df Sig
2.564 101
ก่อนการจัดการเรียนรู้ 10.36 101 -28.880 100 0.000

หลังการจดั การเรยี นรู้ 17.93 1.693

*นัยสำคญั ทางสถติ ิที่ระดบั 0.05

ท่มี า: โปรแกรม Statistical Package for the Social Sciences (SPSS)

46

จากตาราง ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังจากการ
เรียนรู้ เร่อื ง การอา่ นจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ด้วยเทคนิคการสอนแบบ
สตอรีไลน์ (Story line) แล้ว พบว่า คะแนนเฉลีย่ ก่อนเรียน คอื 10.36 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน คือ
17.93 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนเรียน คือ 2.564 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานหลังเรียน คือ
1.693

การทดสอบการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง การอ่านจับใจความสำคัญจาก
โคลงสุภาษิตอศิ ปปกรณำ ด้วยเทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) หลังเรียนสูงกว่ากอ่ น
เรียน โดยกำหนดค่า α=0.05 โดยใช้สถิติ t-test (dependent) ค่า Sig ที่คำนวณได้ คือ 0.00
เม่ือนำมาหารด้วย 2 จึงได้ 0.00 เช่นเดิม ดังนั้น สามารถสรุปได้ว่า ค่า Sig < α จึงตัดสินใจ
Reject H0 นั่นคือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง การอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิต
อิศปปกรณำ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ด้วยเทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) หลงั เรียนสูง
กว่ากอ่ นเรียนอย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติ ทีร่ ะดบั 0.05

47

บทที่ 5

บทสรุป

การศึกษาเรื่อง การใช้เทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) เพื่อส่งเสริมการ
อา่ นจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี น
สาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความสำคัญจาก
วรรณคดีเร่ืองโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการใช้เทคนิคการ
สอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความสำคัญจาก
โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ของช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการใช้เทคนิค การสอนแบบ
สตอรีไลน์ (Story line)

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลยั พะเยา ตำบลแม่กา อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2564 จำนวน 1 ชั้นเรียน มีนักเรียนจำนวน 101 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยใช้ชั้นเรียน
เป็นหน่วยสุ่ม

เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจยั ในครั้งนี้ ผวู้ ิจยั ใชเ้ ครือ่ งมือ 2 ประเภท ดงั น้ี
1. เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการเรียนรู้

เคร่ืองมือที่ใช้ในการเรียนรู้ คือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสอนแบบ
สตอรีไลน์ (Story line) ที่ส่งเสริมการอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 1 แผน 4 ช่ัวโมง โดยผ่านการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC)
จากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ได้แก่ 1) ดร.วัชรินทร์ แก่นจันทร์ 2) นายคงอมร เหมรัตน์รักษ์ และ
3) นายพิทยา ดวงตาดำ

2. เครือ่ งมือในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ก่อนเรียนและหลังเรียนการอ่านจับใจความสำคัญ จากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ชั้นมัธยม
ศกึ ษาปีที่ 2 เรือ่ ง จำนวน 1 ฉบับ โดยผ่านการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) จากผู้เชี่ยวชาญ
3 ท่าน ได้แก่ 1) ดร.วัชรินทร์ แก่นจันทร์ 2) นายคงอมร เหมรัตน์รักษ์ และ 3) นายพิทยา
ดวงตาดำ

48

สรปุ ผลการวิจยั
จากการใช้เทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) เพื่อส่งเสริมการอ่านจับ

ใจความสำคญั จากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 สรปุ ผลได้ดังน้ี
1. ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน 101 คน พบว่า

คะแนนการสอบก่อนเรียนสูงสุด คือ 15 คะแนน คะแนนต่ำสุด คือ 2 คะแนน และคะแนนการ
สอบหลังเรียนสูงสุด คือ 20 คะแนน คะแนนต่ำสุด คือ 10 คะแนน โดยคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
คือ 10.36 คะแนนเฉลีย่ หลังเรยี น คือ 17.93

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน ตามการทดสอบสมมุติฐาน
t-test (dependent) เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ด้วยเทคนิค
การสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) พบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ 0.05 ซึ่งผลการวิจัยสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความ
สำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการใช้เทคนิคการ
สอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน ที่ระดับนยั สำคญั α = 0.05

นอกจากนี้ ผู้วิจัยพบว่า การสอนด้วยเทคนิคสตอรีไลน์ (Story line) ก่อให้เกิด
บรรยากาศในการเรียนรู้ที่ดี โดยนักเรียนที่ได้รับการสอนรู้สึกสนุกสนาน มีความกระตือรือร้น
ให้ความสนใจในการเรียนรู้ตามเป้าหมาย นักเรียนกล้าแสดงออกและมั่นใจในตัวเองมากขึ้น
รวมถึงได้รู้จักวางแผนการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบตนเองและส่วนรวม ตลอดจน
เรียนรู้ถึงการเผชิญกับปญั หาและแก้ไขปญั หาร่วมกนั

อภิปรายผลการวิจัย
จากการสง่ เสริมการอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสภุ าษิตอิศปปกรณำ ของนกั เรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการใช้เทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) ผู้วิจัยขอนำเสนอ
การอภิปรายผล ดงั นี้

การวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้การอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิต
อิศปปกรณำ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยเทคนิคสตอรีไลน์ (Story line) หลังเรียนสูง
กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่าทักษะการอ่านจับ
ใจความสำคัญผ่านวรรณคดีเกิดการพัฒนา ท้ังนีเ้ ป็นเพราะนักเรียนได้เรียนรู้ด้วยการใช้เทคนิค
การสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) ตามแผนการจัดการเรียนรู้อันสอดคล้องกับเนื้อหา
หลักสูตรที่ผวู้ ิจัยสร้างขึ้นโดยคำนึงถึงแนวทางและองค์ประกอบสำคญั ของเทคนิคการสอนแบบ
สตอรีไลน์ (Story line) 4 องค์ประกอบ คือ 1. ฉาก 2. ตัวละคร 3. วิถีชีวิต 4. เหตุการณ์สำคัญ

49

หรอื เรียกว่ากำหนดเส้นทางการเดินเรื่อง (Topic Iine) และใช้คำถามหลัก (Key question) เป็นตัว
นำสู่การใหน้ ักเรียนทำกิจกรรมเพื่อแสวงหาความรู้และถ่ายโอนความรู้ด้วยตนเองตามเป้าหมาย
โดยกิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมการอ่านจับใจความผ่านเน้ือหาวรรณคดี มีข้ันตอนที่ชัดเจน
ตามลำดับเหตุการณ์ เร่ืองราว ทำให้นกั เรียนไม่เบือ่ หน่ายตอ่ การเรียนรู้ มีการกระตุ้นให้นกั เรียน
หาคำตอบ ใช้กระบวนการคิด สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้นกั เรียนได้แสดงทักษะ
หรอื ประสบการณ์การเรียนรู้ตา่ ง ๆ ที่มี กล้าคิด กล้าแสดงความคิดเห็นหรือตอบคำถามมากขึ้น
รวมถึงได้เรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่น รู้จักประมวลความรู้ที่ได้แล้วสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่
ตลอดจนสามารถสื่อสารและถ่ายทอดให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น จึงส่งผลให้ผู้เรียนมีคะแนนหลัง
เรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งสอดคล้องกับผลวิจัยของ กาญจนา มากพูน (2548) และ วรรณวิไล
เชื้อมหาวัน (2550) ที่พบว่า นักเรียนมีพัฒนาการสูงขึ้นหลังจากจัดกิจกรรมด้วยกระบวนการ
จัดการเรียนรู้แบบสตอรีไลน์ อนึ่ง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสตอรีไลน์ยังพัฒนาทักษะการ
แสวงหาความรู้และการทำงานของนักเรียน สอดคล้องกับงานวิจัยของ สุวรรณ แก้วโสภา
(2551) ที่พบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสตอรีไลน์ทำให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ
ตามเป้าหมาย มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์จากพฤติกรรมกการทำงานร่วมกับผู้อื่นเกิด
การพัฒนาอยู่ในระดับดี นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ อรทัย มูลคำ และคณะ (2543) กล่าวว่า
สตอรีไลน์น้ันให้ความสนุกสนานแก่ผู้เรียนและผู้สอน ช่วยสร้างแรงจูงใจในการเรียน ช่วยให้
นักเรียนมีพัฒนาการในตนเอง ทั้งด้านการค้นคว้าหาความรู้ ความรับผิดชอบ การแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นและการยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น ตลอดจนการเห็นคุณค่าในความสามารถ
ของตนเอง สง่ ผลต่อการสร้างบรรยากาศทีเ่ น้นนกั เรียนเป็นศนู ยก์ ลาง

จากผลการวิจัย ย่อมแสดงให้เห็นว่าการอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิต
อิศปปกรณำ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการใช้เทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์
(Story line) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศ
ในการเรียนรู้ที่ดี โดยนักเรียนได้ทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน มีความกระตือรือร้น ไม่เบื่อหน่าย
ในบทเรียน ให้ความสนใจในการเรียนร้ตู ามเป้าหมาย กล้าแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและม่ันใจใน
ตัวเองมากขึ้น รวมถึงได้รู้จักวางแผนในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบตนเองและ
ส่วนรวม ตลอดจนเรียนรู้ถึงการเผชิญกับปัญหาและแก้ไขปัญหาร่วมกัน จนทำให้ผลสัมฤทธิ์
หลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ

50

ขอ้ เสนอแนะ
การศึกษาเร่ือง “การใช้เทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) เพื่อส่งเสริมการ

อ่านจบั ใจความสำคญั จากโคลงสภุ าษิตอิศปปกรณำ ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี น
สาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา” ผวู้ ิจยั มขี อ้ เสนอแนะดังน้ี

1. ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจยั ไปใช้
1.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ควรนำรูปแบบการสอนแบบสตอรีไลน์

(Story line) ไปเผยแพร่ โดยการจัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่หรือเสนอแนะให้โรงเรียนในเขตความ
รบั ผดิ ชอบนำไปทดลองใช้

1.2 ครูผู้สอนที่จะนำรูปแบบการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) ไปทดลองใช้
ควรศึกษาใหเ้ ข้าใจทุกข้ันตอนจนเกิดความชำนาญ เพื่อจะได้นำไปประยกุ ต์ใช้ในการจดั กิจกรรม
การเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เนื่องจากการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line)
เป็นวิธีสอนที่จะต้องมีการเตรียมการสอน ท้ังในสว่ นเนือ้ หาและสือ่ ประกอบการจัดการเรียนการ
สอนเป็นอยา่ งดี ตลอดจนควรกำหนดเวลาให้เพียงพอสำหรบั การจดั กิจกรรม

2. ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยครัง้ ต่อไป
2.1. ควรมีการศึกษา โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) กับเน้ือหา

การเรียน การสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในเนื้อหาอื่น ๆ เช่น การเรียนรู้เร่ือง
รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก การเรียนรู้เร่อื ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เป็นต้น หรอื ใช้
กับเนื้อหาของกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ กลุ่มสาระ
การเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ เปน็ ตน้

2.2 ควรมีการศึกษา เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ระหว่างวิธีสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) กับวิธีการสอนอื่น ๆ เช่น วิธีการการ
เรียนรแู้ บบร่วมมอื รว่ ม การเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด การสอนด้วยรปู แบบบนั ได 5 ขั้น เปน็ ต้น

51

บรรณานุกรม

52

บรรณานกุ รม

กมลวรรณ โคตรทอง. (2557). การพฒั นาแบบฝึกเสริมทกั ษะการอา่ นภาษาองั กฤษ
จากนิทานอาเซียน โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนรู้ Storyline สำหรบั นักเรียน
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านเป้า (สำราญไชยวิทยา) จงั หวดั ชัยภมู ิ.
วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (การสอนภาษาองั กฤษ), มหาวิทยาลยั ศิลปากร, นครปฐม.

กรมวิชาการ. (2545). การวิจัยเพือ่ พฒั นาการเรียนรู้ตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน
(พิมพค์ รั้งที่ 3). กรุงเทพ: คุรุสภาราดพร้าว.

กรมวิชาการ. (2546). แนวทางการประเมินผลดว้ ยทางเลือกใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย. กรุงเทพ: ครุ ุสภาราดพร้าว.

กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2542 และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พทุ ธศกั ราช 2545.
กรงุ เทพฯ: องค์การรบั ส่งสินค้าและพสั ดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรงุ เทพฯ: ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กาญจนา มากพนู . (2548). ผลการจดั การเรียนการสอนดว้ ยสตอรไี ลน์ ทม่ี ีต่อผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาภาษาไทย และเจตคติต่อการเรียนการสอนของนักเรยี น
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2. วิทยานพิ นธ์ ศศ.ม. (การสอนภาษาไทย), กรงุ เทพฯ,
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กหุ ลาบ มัลลิกะมาส. (2517). วรรณกรรมไทย. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

กหุ ลาบ มัลลิกะมาส. (2527). วรรณคดวี ิจารณ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เกรียงไกร ยิง่ สงา่ . (2543). ผลการใชส้ ตอรไี ลน์และการประเมินผลโดยใชแ้ ฟ้มผลงานท่มี ี

ตอ่ ผลสัมฤทธิ์เจตคติและทกั ษะการแก้ปัญหาของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2
ในวิชา ส 053 ประชากรและสิง่ แวดล้อม. วิทยานพิ นธ์ ศศ.ม.,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
จนั ทร์ชลี มาพุทธ. (2546). การเรียนรแู้ บบบรู ณาการดว้ ย Storyline Approach. ชลบุรี:
คณะศึกษาศาสตร์.

53

ชนาธิป พรกุล. (2544). แคทส์: รปู แบบการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี น
เปน็ ศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

ดวงคิด วงศ์ภกั ดิ์. (2538). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านจบั ใจความสำคญั สำหรบั
นกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ทใ่ี ชภ้ าษาไทยเป็นภาษาทีส่ อง. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.,
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, นครปฐม.

ทัศนยี ์ ศภุ เมธี. (2542). การสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: สถาบนั ราชภัฏธนบรุ ี.
ธัญมาส ตันเสถียร. (2544). การใช้วิธีอา่ นเรอ่ื งเพื่อพัฒนาการอ่านจบั ใจความของนักเรยี น

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ทม่ี ีความสามารถทางการอ่านตำ่ กวา่ ระดับเฉลีย่
โรงเรยี นสะอาดเผดิมวิทยา จงั หวัดชมุ พร. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.
(การสอนภาษาไทย)., มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร,์ กรุงเทพฯ.
ธาริณี วทิ ยาอนิวรรตน์. (2545). วธิ ี Storyline ทางเลือกใหมท่ ีน่ า่ สนใจในการจัดการเรียน
การสอนแบบบูรณาการ ใน อรรถพล อนันตวรสกุล (บรรณาธิการ) การจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนด้วยวิธี Storyline. (หน้า 90-91). กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลยั
บันลือ พฤษะวนั . (2553). มิติใหมใ่ นการสอนอ่านภาคปฏิบัติ อันดบั ที่ 8. กรุงเทพฯ:
ไทยวฒั นาพานิช.
ประดิษฐ์ กลัดประเสริฐ. (2522). วรรณกรรมวิจารณ์และแนวทางการวิจารณ์วรรณกรรม.
พิษณุโลก: วิทยาลัยครูพิบลู สงคราม.
ประเทิน มหาขันธ.์ (2530). การสอนอ่านเบื้องตน้ . กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ประภาศรี สีหอำไพ. (2535). วิธีการสอนภาษาไทยระดับมัธยมศกึ ษา.
กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช.
ปิยนชุ แหวนเพชร. (2560). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีของนักเรยี น
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โดยใชว้ ธิ ีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รว่ มกบั เทคนิคการใชแ้ ผนทค่ี วามคิด. วทิ ยานิพนธ์ ศษ.ม. (การสอนภาษาไทย),
มหาวิทยาลยั ศิลปากร, กรงุ เทพฯ.
พนมจติ ร แสนคำ. (2546). ผลการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เรอ่ื ง การอนุรกั ษ์
สิ่งแวดลอ้ มในทอ้ งถ่ิน สำหรบั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยใช้
Storyline Method. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง กศ.ม. (วิทยาศาสตร์ศกึ ษา),
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น, ขอนแก่น.

54

พระมหาณฐั พงศ์ คำมี. (2564). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอา่ นจับใจความโดยใชน้ ิทาน
ธรรมบท เสริมด้วยเทคนิคการสอนแบบ Storyline สำหรบั นักเรยี น
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3. การศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง กศ.ม. (ภาษาไทย),
มหาวิทยาลยั นเรศวร, พิษณุโลก.

พระมหาวรฎั ฐนน แสงศรี. (2560). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ
โดยนิทานชาดก สำหรับนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1
โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรมวัดทา่ ตอน. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเชียงราย, เชียงราย.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์
(พิมพค์ รั้งที่ 8). กรงุ เทพฯ: เจริญผล.

พิมพันธ์ เดชะคุป และพเยาว์ ยินดีสขุ . (2545). การเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศกึ ษาด้วยวิธี
สตอรีไลน์ ใน กาญจนา มากพนู . ผลการจัดการเรียนการสอนดว้ ยสตอรไี ลน์
ท่มี ีตอ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาภาษาไทย และเจตคติต่อการเรียนการสอน
ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์. (2544). การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ: แนวคิด วิธี
และเทคนิคการสอน 2. กรุงเทพฯ: บริษทั เดอะมาสเตอรก์ รุ๊ปแมเนจเมน้ ท์ จำกัด.

มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. (2527). เอกสารประกอบการสอนชดุ วิชาการสอน
กลุ่มทักษะ (ภาษาไทย) หน่วยท่ี 1-8 (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: ฝ่ายการพิมพ.์

รณชยั จันทรแ์ ก้ว. 2559. ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคผังกราฟิกที่มตี ่อการคิด
อย่างมีวจิ ารณญาณ ผลสัมฤทธิ์ และความคงทนในการเรียนวรรณคดีไทย
ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1. วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี, 27(2), 165-178.

ราชบัณฑติ ยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศกั ราช 2564.
กรงุ เทพฯ: ศริ ิวฒั นาอินเตอร์พรนิ้ .

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั พะเยา. (2564). หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัย
พะเยา พุทธศกั ราช 2562 (ฉบบั ปรับปรุง 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. มปท: มปพ..

55

วรรณวิไล เชอื้ มหาวัน. (2550). การใช้รปู แบบการสอนแบบสตอรไ่ี ลน์ ในหนว่ ยการเรยี นรู้
เรอ่ื ง สังข์ทอง ท่ีปรากฏบนจิตรกรรมฝาผนัง ในวิหารลายคำ วดั พระสิงห์
สำหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นพระหฤทัย จงั หวัดเชียงใหม่.
วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (การสอนภาษาไทย), มหาวิทยาเชียงใหม,่ เชียงใหม่.

วลัย พานิช. (2542). เอกสารประกอบการสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการ เร่อื ง สู่เส้นทางการเรยี นรู้
แบบ Storyline ในชั้นเรยี นอนบุ าล จดั โดย สถาบันพฒั นาทรัพยากร
ทางการศึกษา วันท่ี 20-21 กรกฎาคม 2545. กรุงเทพฯ: (เอกสารอัดสำเนา).

วารุณี อดุ มธาดา. (2533). ผลของการสอนอ่านโดยการผสมผสานกิจกรรมการอา่ น
เค ดับบลิว แอล กับกิจกรรมการสอนโครงสร้างความเรียง ท่มี ีตอ่
ความสามารถในการอ่านจับใจความภาษาไทย ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 6. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ประถมศึกษา), จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , กรุงเทพฯ.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสรา้ งการเรียนรเู้ พื่อศิษย์ในศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ: มลู นิธิ
สดศร-ี สฤษดิ์วงศ์.

สมชาย หอมยก. (2550). ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร. ปทมุ ธานี: มหาวิทยาลัย
ราชภัฏวไลยอลงกรณ์.

สมนึก ปฏิปทานนท์. (2544). ผลการจดั การเรียนการสอนดว้ ยวิธีสตอรไี ลน์ท่ีมีต่อ
ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนกั เรยี น
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, กรงุ เทพฯ.

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน. (2558). คู่มือการเรียนการสอนภาษาไทย
คดิ และเขียนเชิงสร้างสรรค:์ เรยี งความ ย่อความ และสรปุ ความ (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมสวัสดิการและสวสั ดิภาพครู
และบุคลากรทางการศกึ ษา.

สจุ รติ เพียรชอบ และสายใจ อินทรมั พรรย์. (2538). วิธีสอนภาษาไทยระดบั มธั ยมศกึ ษา
(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรงุ เทพฯ: ภาควิชามัธยมศกึ ษา คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

สรุ ินธร วังคะฮาด. (2554). การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยวิธีสเตอรีไลน์เพือ่ การอนรุ กั ษ์
พลังงานและสิง่ แวดล้อม. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบณั ฑติ ศึกษา), 1(1), 50-54.

56

สุวรรณ แก้วโสภา. (2551). ผลการจดั กิจกรรมการเรียนด้วยวิธีสตอรไี ลนพ์ ัฒนาทกั ษะ
การแสวงหาความรแู้ ละการทำงาน กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและ
เทคโนโลยีงานเกษตร ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4. โรงเรียนบ้านดนู เลา
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาอุดรธานี เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ข้ันพ้ืนฐาน.

อรทยั มลู คำ และคณะ. (2542). Child center: Story line Method: การบูรณาการ
หลกั สูตรและการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรยี นเป็นศนู ยก์ ลาง.
กรุงเทพฯ: ที.พ.ี พริน้ ท์.

อรทัย มลู คำ และคณะ. (2543). Child center: Story line Method: การบูรณาการ
หลักสูตรและการเรียนการสอนโดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง (พิมพค์ ร้ังที่ 6).
กรุงเทพฯ: ดวงกมล.

อรทัย มลู คำ และสุวิมล มูลคำ. (2544). Child center: Story line Method: การบูรณาการ
หลักสูตรและการเรียนการสอนโดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ เล่ม 2 (พิมครง้ั ที่ 2).
กรงุ เทพฯ: ดวงกมลสมยั .

57

ภาคผนวก

58

ภาคผนวก ก รายชือ่ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการวิจยั

ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล และด้านภาษาไทย จำนวน 3 ท่าน ดังนี้
1. ดร.วชั รินทร์ แก่นจันทร์

อาจารยภ์ าควิชาภาษาไทย
คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
2. นายคงอมร เหมรัตน์รกั ษ์
อาจารยภ์ าควิชาภาษาไทย
คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
3. นายพิทยา ดวงตาดำ
อาจารย์ภาควิชาภาษาไทย
คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยา

59

ภาคผนวก ข เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั
1. แผนการจัดการเรียนรเู้ รือ่ ง การอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิต

อิศปปกรณำ ด้วยวิธีสอนแบบสตอรไี ลน์ (Story line)

แผนการจดั การเรียนรู้

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2
รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน 4 รหสั วิชา ท22102
จำนวน 4 ช่ัวโมง
เร่อื งที่สอน โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ผสู้ อน นางสาวศศิธร พิลึก

ครูพี่เลี้ยง นางสาวไพลิน อินคำ

1) สาระ/มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชีว้ ัด
สาระท่ี 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้

ตดั สินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอา่ น
ตัวชี้วัด ม. 2/2 จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเร่อื งทีอ่ ่าน

สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรม

ไทยอยา่ งเห็นคณุ คา่ และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง
ตัวชี้วดั ม. 2/1 สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขนึ้

60

2) สาระสำคัญ (องค์ความรู้)
โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ เป็นบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 ร่วมกับกวีอีก 3 ท่าน

คือ กรมหลวงพิชิตปรีชากร พระยาศรีสุนทรโวหาร และ พระยาราชสัมภารากร ซึ่งรวมเรียกว่า
“โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ” โดยแปลนิทานอีสปของกรีก จากต้นฉบับภาษาอังกฤษ จำนวน 24
เรื่อง ท้ังนี้ตามหนังสือวรรณคดีวิจักษ์นำมาให้เรียนรู้ 4 เรื่อง ได้แก่ 1) ราชสีห์กับหนู 2) บิดากับ
บุตรท้ังหลาย 3) สุนัขป่ากับลูกแกะ 4) กระต่ายกับเต่า แต่ละเร่ืองแตง่ เป็นรอ้ ยแก้วและสรุปด้วย
โคลงสี่สุภาพ 1 บท ซึ่งการอ่านจับใจความสำคัญสรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่
อ่านจะช่วยให้นักเรียนเข้าใจเน้ือเร่ือง เหตุการณ์ สาระสำคัญของเรื่องได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว
ตลอดจนได้รับคติสอนใจจากนิทานเร่ืองน้ัน ๆ ในท้ายเร่ือง และนำความรู้ ความคิดที่ได้ไป
พฒั นาตนเองให้มปี ระสิทธิภาพยิ่งขนึ้

3) จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
-นักเรียนสามารถสรุปเนือ้ หาและบอกใจความสำคัญของเร่อื งที่อ่านจากโคลง

สภุ าษิตอศิ ปปกรณำได้
3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
-นักเรียนสามารถจบั ใจความสำคญั สรปุ ความ และอธิบายรายละเอียดเรื่อง

โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำได้
3.3 ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

-นักเรียนทำงานร่วมกบั ผู้อืน่ ได้

-นกั เรียนใฝเ่ รียนรู้
-นักเรียนเหน็ คณุ ค่าและความสำคัญของภาษาไทย

4) ชิ้นงาน/ภาระงาน
-แบบทดสอบการอา่ นจบั ใจความสำคัญจากเรอ่ื ง โคลงสภุ าษิตอศิ ปปกรณำ
-ใบงานจบั ใจความสำคญั จากเรอ่ื งโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
-เรียงบตั รคำศัพท์

61

5) การวดั และประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมอื เกณฑ์
ตรวจใบงานจับ
ดา้ นความรู้ (K) ใจความสำคญั ใบงานจับใจความ ระดับคะแนน 4 - 5
-นกั เรียนสามารถสรปุ เน้ือหา
และบอกใจความสำคญั ของ วิธีการ สำคัญ คะแนน หมายถงึ ดี
เรื่องที่อา่ นจากโคลงสภุ าษิต ตรวจแบบทดสอบ
อศิ ปปกรณำได้ ก่อนเรียนและหลัง ผ่านเกณฑ์
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) เรียน
-นกั เรียนสามารถจับใจความ เครือ่ งมอื เกณฑ์
สำคญั สรุปความ และอธบิ าย ประเมินการนำเสนอ
รายละเอยี ดเรือ่ งโคลงสุภาษิต หนา้ ชน้ั เรียน แบบทดสอบกอ่ น ก่อนเรียน: ประเมินตาม
อศิ ปปกรณำได้
วิธีการ และหลังเรียน สภาพจรงิ
ดา้ นคณุ ลกั ษณะฯ (A) สังเกตพฤตกิ รรม
-นกั เรียนทำงานรว่ มกบั ผู้อื่นได้ ของนกั เรียน หลงั เรียน: ถกู ต้องร้อย
-นกั เรียนใฝ่เรียนรู้ ละ 60 ขึน้ ไปผา่ นเกณฑ์
-นกั เรียนเหน็ คณุ ค่าและ
ความสำคญั ของภาษาไทย แบบประเมิน ตงั้ แตร่ ะดับคณุ ภาพ
การนำเสนอ ดีข้นึ ไป ผ่านเกณฑ์
หนา้ ชนั้ เรียน

เครือ่ งมอื เกณฑ์

แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพดีข้นึ ไป
คณุ ลกั ษณะอันพึง ผ่านเกณฑ์

ประสงค์

6) สื่อ/อุปกรณ/์ แหลง่ การเรยี นรู้
-หนงั สือเรียนวรรณคดีวิจกั ษ์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2
-สือ่ ภาพเลือ่ นเรือ่ ง โคลงสุภาษิตอศิ ปปกรณำ
-บตั รคำศพั ท์เร่ืองที่ 1 ราชสีห์กบั หนู (ตกใจ, ไว้ชีวติ , หัวเราะ, แข็งแรง, ตอบแทน)
-บตั รคำศพั ท์เร่อื งที่ 2 กระต่ายกับเต่า (ยิ้มเยาะ, อวดตัว, อึดใจ, ฝเี ท้า, เอาใจ)
-บตั รคำศัพท์เรอ่ื งที่ 3 บิดากบั บตุ รท้ังหลาย (แก้ไข, ท้ังหลาย, ไม้เรียว, ใจเดียว, ช่วยเหลือ)
-บตั รคำศพั ท์เร่ืองที่ 4 สนุ ัขปา่ กบั ลูกแกะ (ปีกลาย, ดถู ูก, น้ำเสียง, รู้รส, น้ำนม)

62

7) กิจกรรมการเรียนรู้
คำถามหลัก
1. ฉาก: เรือ่ งราวในนิทานเกิดขึน้ ณ สถานที่ใด
2. ตัวละคร: ตวั ละครในเรื่องมใี ครบ้าง
3. วิถีชีวติ : การดำเนนิ ชีวติ ของตวั ละครที่พบในเร่อื ง
4. เหตุการณ์สำคญั : ในเรือ่ งเกิดเหตุการณส์ ำคญั อะไรบ้าง
ชวั่ โมงท่ี 1 เกริ่นนำ
ขน้ั นำ (10 นาท)ี
1. ครสู นทนากบั นกั เรียนเกี่ยวกับนิทานแทรกข้อคิดให้คติสอนใจ
2. ครเู ปิดปริศนาภาพใหน้ กั เรียนทายช่อื เรื่องนทิ าน ผ่านสื่อภาพเลือ่ นเรือ่ ง

โคลงสภุ าษิตอิศปปกรณำ
ขนั้ สอน (40 นาท)ี
1. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเร่ืองการอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิต

อิศปปกรณำ ผ่านฟอร์มออนไลน์ (Google forms) กำหนดเวลา 25 นาที
2. ครูอธิบายความรู้เบอื้ งต้นโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ผ่านสื่อภาพเลื่อนเร่อื ง โคลงสุภาษิต

อิศปปกรณำ
3. ครูให้นักเรียนแบง่ กลุ่มออกเป็น 2 กลุม่ ด้วยการนบั 1 และ 2 ทีละคนจนครบ
4. ครูอธิบายกิจกรรมว่าจะให้นักเรียนฝึกอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิต

อิศปปกรณำผา่ นสตอรีไลน์ (Storyline) จากน้ันบอกชือ่ เรอ่ื งให้นกั เรียนไปเตรียมศกึ ษา
ขนั้ สรุป (10 นาท)ี
1. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรปุ สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ในชัว่ โมงน้ี

63

ชั่วโมงท่ี 2 สอนด้วยเทคนิคสตอรไี ลน์ (Storyline)
ข้นั นำ (10 นาท)ี
1. ครอู ธิบายกิจกรรมว่าจะให้นกั เรียนฝกึ อ่านจบั ใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิต
อิศปปกรณำผ่านเทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Storyline) ดังน้ี

1) ครูจะแจกใบงานจับใจความสำคัญ จากเรื่องโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ กลุ่มละ 1
ชดุ และบัตรคำศัพท์กลุ่มละ 2 เรือ่ ง

2) เมื่อแต่ละกลุ่มอ่านเนื้อเรื่องที่ครูกำหนดจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำแล้วให้
แต่ละกลุ่มช่วยกันเรียงลำดับบัตรคำศัพท์ให้ถูกต้องตามเนื้อเรื่องนั้น ๆ จากนั้นสรุปเนื้อหาโดย
เขียนใจความสำคญั ของเรือ่ งนั้น ๆ ลงในใบงาน และออกมาเล่าเร่อื ง Storyline จากบตั รคำศพั ท์

ขน้ั สอน (40 นาท)ี
1. ครูแจกใบงานจบั ใจความสำคญั จากเรือ่ งโคลงสภุ าษิตอศิ ปปกรณำ และบัตรคำศพั ท์
เรือ่ งที่ 1 ราชสีหก์ ับหนู และบตั รคำศัพท์เรอ่ื งที่ 2 กระต่ายกบั เตา่ อยา่ งละ 1 ชดุ ให้แตล่ ะกลุ่ม
2. ครูให้แต่ละกลุ่มอ่านนิทานจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ 2 เร่ือง ผ่านหนังสือเรียน
วรรณคดีวิจักษ์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 ได้แก่ 1) ราชสีห์กับหนู หน้าที่ 110 และ 2) กระต่ายกับเต่า
หน้าที่ 113 และนำทางนักเรียนด้วยคำถามหลัก ได้แก่ 1. เรื่องราวในนิทานเกิดขึน้ ณ สถานที่ใด
2. ตัวละครในเร่ืองมีใครบ้าง 3. การดำเนินชีวิตของตัวละครที่พบในเร่ือง 4. ในเร่ืองเกิด
เหตุการณส์ ำคัญอะไรบ้าง
3. ครูให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเรียงลำดับบัตรคำศัพท์ให้ถูกต้องตามเน้ือเร่ืองที่ครูกำหนด
และให้แต่ละกลุ่มสรุปเน้ือหาโดยบอกใจความสำคัญของเร่ืองที่อ่านจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
ด้วยการเขียนลงในใบงานจบั ใจความสำคัญ จากเรอ่ื งโคลงสภุ าษิตอศิ ปปกรณำ
4. ครูใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมาเล่าเรอ่ื ง Storyline จากบัตรคำศัพท์

(ครูเฉลยหากแต่ละกลุ่มเรียงผิด บัตรคำศัพท์เร่ืองที่ 1 ราชสีห์กับหนู คือ 1. ตกใจ
2. ไว้ชีวิต 3. หัวเราะ 4. แข็งแรง 5. ตอบแทน บัตรคำศัพท์เรื่องที่ 2 กระต่ายกับเต่า
คือ 1. ยิ้มเยาะ 2. อวดตัว 3. อึดใจ 4. ฝเี ท้า 5. เอาใจ)
5. ครสู รปุ เรือ่ งอีกคร้ังตาม Storyline ทีถ่ กู ต้อง
ข้ันสรปุ (10 นาท)ี
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้ในชั่วโมง และเก็บสื่อทุกประเภททันที
หลงั จากหมดเวลา

64

ชัว่ โมงที่ 3 สอนดว้ ยเทคนิคสตอรไี ลน์ (Storyline)
ขน้ั นำ (10 นาท)ี
1. ครอู ธิบายกิจกรรมว่าจะให้นกั เรียนฝกึ อ่านจบั ใจความสำคญั จากโคลงสุภาษิต
อิศปปกรณำผา่ นเทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์ (Storyline) ดังน้ี

1) ครูจะแจกใบงานจับใจความสำคัญ จากเรื่องโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ กลุ่มละ 1
ชุด และบตั รคำศพั ท์กลุม่ ละ 2 เรือ่ ง

2) เมื่อแต่ละกลุ่มอ่านเนื้อเรื่องที่ครูกำหนดจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำแล้วให้
แต่ละกลุ่มช่วยกันเรียงลำดับบัตรคำศัพท์ให้ถูกต้องตามเนื้อเร่ืองนั้น ๆ จากน้ันเขียนใจความ
สำคัญของเร่อื งน้ัน ๆ ลงในใบงาน และออกมาเล่าเร่อื ง Storyline จากบตั รคำศพั ท์

ข้นั สอน (40 นาท)ี
1. ครแู จกใบงานจบั ใจความสำคัญ จากเร่อื งโคลงสุภาษิตอศิ ปปกรณำ และบัตรคำศัพท์
เรื่องที่ 3 บิดากับบุตรท้ังหลาย และบัตรคำศัพท์เร่ืองที่ 4 สุนัขป่ากับลูกแกะ อย่างละ 1 ชุด ให้
แต่ละกลุม่
2. ครูให้แต่ละกลุ่มอ่านนิทานจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ 2 เร่ือง ผ่านหนังสือเรียน
วรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้แก่ 1) บิดากับบุตรท้ังหลาย หน้าที่ 111 และ 2) สุนัขป่า
กับลูกแกะ หน้าที่ 112 และนำทางนักเรียนด้วยคำถามหลัก ได้แก่ 1. เร่อื งราวในนิทานเกิดขึ้น ณ
สถานที่ใด 2. ตัวละครในเร่ืองมีใครบ้าง 3. การดำเนินชีวิตของตัวละครที่พบในเรื่อง 4. ในเรื่อง
เกิดเหตกุ ารณส์ ำคัญอะไรบ้าง
3. ครูให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเรียงลำดับบัตรคำศัพท์ให้ถูกต้องตามเน้ือเร่ืองที่ครูกำหนด
และให้แต่ละกลุ่มสรุปเน้ือหาโดยบอกใจความสำคัญของเร่ืองที่อ่านจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
ดว้ ยการเขียนลงในใบงานจบั ใจความสำคญั จากเร่อื งโคลงสภุ าษิตอศิ ปปกรณำ
4. ครูใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ออกมาเล่าเร่อื ง Storyline จากบัตรคำศัพท์

(ครูเฉลยหากแต่ละกลุ่มเรียงผิด บัตรคำศัพท์เรื่องที่ 3 บิดากับบุตรทั้งหลาย คือ
1. แก้ไข 2. ท้ังหลาย 3. ไม้เรียว 4. ใจเดียว 5. ช่วยเหลือ บัตรคำศัพท์เร่ืองที่ 4 สุนัข
ปา่ กับลกู แกะ คือ 1. ปีกลาย 2. ดถู ูก 3. น้ำเสียง 4. รู้รส 5. น้ำนม)
5. ครูสรปุ เรือ่ งอีกคร้ังตาม Storyline ทีถ่ กู ต้อง
ขนั้ สรุป (10 นาท)ี
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้ในชั่วโมง และเก็บสื่อทุกประเภททันที
หลังจากหมดเวลา

65

ชว่ั โมงที่ 4 ขยายความรู้
ขั้นนำ (5 นาท)ี
1. ครูสนทนากับนักเรียนเร่ืองบัตรคำศัพท์ที่นักเรียนได้ร่วมกันเรียงตามเนื้อเร่ืองจาก
โคลงสุภาษิตอศปปกรณำ และยกตัวอย่างมาให้นักเรียนสังเกต เช่น คำว่า “หัวเราะ” จากเรื่อง
ราชสีห์กับหนู เป็นคำประสมที่เกิดจากคำว่า “หัว หมายถึง น. ส่วนบนสุดของร่างกายของคน
หรือสัตว์” ประสมกับคำว่า “เราะ หมายถึง ก. เดินระผ่านเสาหรือหลักที่ปักไว้เป็นแถวเพื่อหา
ทางเข้าออก” รวมเป็นคำที่มีความหมาย หมายถึง ก. เปล่งเสียงแสดงความขบขัน ดีใจ ชอบใจ
เป็นต้น
ข้นั สอน (45 นาท)ี
1. ครูร่วมกบั นักเรียนขยายความรขู้ องคำจากบัตรคำศพั ทจ์ ากโคลงสภุ าษิตอศปปกรณำ
ว่าเป็นการสร้างคำแบบใดและเกิดจากคำชนิดใด ได้แก่คำว่า ตกใจ, ไว้ชีวิต, หัวเราะ, แข็งแรง,
ตอบแทน, ยิ้มเยาะ, อวดตัว, อึดใจ, ฝเี ท้า, กำลัง, แก้ไข, ทั้งหลาย, ไม้เรียว, ใจเดียว, ช่วยเหลือ
, ปีกลาย, ดถู ูก, น้ำเสียง, รู้รส และน้ำนม
2. ครใู หน้ ักเรียนจัดกลมุ่ ชนิดของคำประสมตามโครงสร้างการสร้างคำ
3. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเร่ืองการอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิต
อิศปปกรณำ ผา่ นฟอรม์ ออนไลน์ (Google forms) กำหนดเวลา 25 นาที
ขนั้ สรปุ (10 นาท)ี
1. ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายสิง่ ทีไ่ ด้เรยี นรู้ในชัว่ โมง

66

บนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู้

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี 2โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา

รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน 4 ท 22102 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 นำเสนอโคลงสภุ าษิต

เรอ่ื งทส่ี อน โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ จำนวน 1 ชวั่ โมง

สอนวันที่ 7 ธนั วาคม 2564 ผูส้ อน นางสาวศศิธร พิลึก

สรปุ ผลหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 4 ห้อง ให้ความสนใจ มีส่วนร่วมในกิจกรรม

และการตอบคำถามเป็นอย่างดี รวมถึงทำแบบทดสอบก่อนเรียนเร่อื งโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
ผา่ นฟอรม์ แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Google forms) ตามเวลาที่กำหนดอยา่ งตั้งใจ

ปัญหาหรอื อุปสรรค
นักเรียนบางส่วนมอี าการงว่ งอาจส่งผลใหท้ ำข้อสอบได้ไมเ่ ต็มประสิทธิภาพ

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
ให้นกั เรียนที่มีอาการงว่ งไปล้างหน้าเพือ่ ทำให้สดช้นื ข้นึ แล้วกลบั มาเริ่มทำข้อสอบ

ลงช่อื
(นางสาวศศิธร พิลึก)
ผู้สอน

ข้อเสนอแนะครูพเ่ี ลีย้ ง

.................................................................................................................................

.................................................................................................ล..ง..ช..ือ่.........................................

.............................................................................................................(.น...า..ง.ส...า..ว..ไ..พ...ล..ิน....อ..ิน...ค...ำ..)

.................................... ครพู ี่เลี้ยง

67

บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นท่ี 2โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา

รายวิชา ภาษาไทยพืน้ ฐาน 4 ท 22102 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 นำเสนอโคลงสุภาษิต

เร่อื งท่สี อน โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ จำนวน 1 ชั่วโมง

สอนวนั ที่ 8 ธันวาคม 2564 ผ้สู อน นางสาวศศิธร พิลึก

สรปุ ผลหลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
จากการจัดการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี รวมถึงมีความกระตือรือร้น

ต้ังใจท ำกิ จ ก รรม ฝึก อ่าน จั บ ใจค วาม ส ำคั ญ จาก โค ล งสุ ภ าษิ ต อิศ ป ป ก รณ ำ ผ่ าน ส ต อ รีไล น์
(Storyline) เปน็ อยา่ งดี
ปญั หาหรอื อุปสรรค

นกั เรียนบางส่วนยงั ไม่เข้าใจรายละเอียดกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข

ครูผสู้ อนอธิบายรายละเอียดกิจกรรมในสว่ นที่นกั เรียนไมเ่ ข้าอีกคร้ัง

ลงชื่อ
(นางสาวศศิธร พิลึก)
ผู้สอน

ขอ้ เสนอแนะครพู ่เี ลีย้ ง

.................................................................................................................................

................................................................................................................................................
ลงชื่อ

..............................................................................................(.น...า..ง..ส..า..ว..ไ..พ...ล..ิน....อ...ิน..ค...ำ..)

................................................... ครพู ี่เลีย้ ง

68

บนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นท่ี 2โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา

รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน 4 ท 22102 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 นำเสนอโคลงสุภาษิต

เร่อื งทส่ี อน โคลงสภุ าษิตอิศปปกรณำ จำนวน 1 ชวั่ โมง

สอนวนั ที่ 13 ธันวาคม 2564 ผู้สอน นางสาวศศิธร พิลึก

สรปุ ผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จากการจัดการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี รวมถึงมีความกระตือรือร้น

ต้ังใจทำกิจกรรมฝึกอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำผ่านสตอรีไลน์
(Storyline) เปน็ อยา่ งดี
ปญั หาหรอื อุปสรรค

นักเรียนบางกลุ่มเรียงบัตรคำศัพท์สลับกัน จึงทำให้การเล่าเร่ือง Storyline จากบัตร
คำศัพท์สลับกนั
ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข

ผสู้ อนช่วยสลบั บัตรคำศัพท์ให้ถูกต้องตามเนือ้ เรือ่ งน้ัน ๆ

ลงชอ่ื
(นางสาวศศิธร พิลึก)
ผูส้ อน

ข้อเสนอแนะครพู ่เี ลี้ยง

.................................................................................................................................

................................................................................................................................................
.................................................................................................ล..ง..ช..อ่ื.........................................

................................... (นางสาวไพลิน อินคำ)

ครพู ีเ่ ลี้ยง

69

บนั ทกึ หลังการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี 2โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา

รายวิชา ภาษาไทยพืน้ ฐาน 4 ท 22102 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 นำเสนอโคลงสุภาษิต

เร่อื งทส่ี อน โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ จำนวน 1 ชวั่ โมง

สอนวันที่ 14 ธันวาคม 2564 ผู้สอน นางสาวศศิธร พิลึก

สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จากการจัดการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี รวมถึงมีความกระตือรือร้น

ตั้งใจทำกิจกรรมขยายความรู้จากบัตรคำศัพท์เร่ืองโคลงสุภาษิตอศปปกรณำเป็นอย่างดี และ
ทำแบบทดสอบหลังเรียนเร่ือง โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ผ่านฟอร์มแบบทดสอบหลังเรียน
(Google forms) ตามเวลาที่กำหนดอยา่ งต้ังใจ
ปัญหาหรอื อุปสรรค

นักเรียนสแกนคิวอาร์โค้ดฟอร์มแบบทดสอบหลังเรียน (Google forms) ผ่านจอ
โปรเจคเตอร์ไม่ได้
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข

ผู้สอนให้นักเรียนสแกนคิวอาร์โค้ดฟอร์มแบบทดสอบหลังเรียน (Google forms) ผ่าน
กระดาษคิวอารโ์ ค้ด

ลงชอ่ื
(นางสาวศศิธร พิลึก)
ผู้สอน

ขอ้ เสนอแนะครูพ่เี ลีย้ ง
.................................................................................................................................

ลงชอ่ื
(นางสาวไพลิน อินคำ)

........................................................................................................ค...ร..ูพ...ี่เ.ล..ีย้...ง...........
................................................................................................................................................
...................................................

70

แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

คำชี้แจง: ให้ครูผู้สอนประเมินการนำเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการที่กำหนด
แล้วขีด ✓ ลงในช่องท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน

ชอ่ื -สกุล เรียงลำดบั เนือ้ หา วธิ ี/ภาษา ประโยชน์ที่
ของสมาชิก คำศัพท์ตรง ชดั เจน ทีใ่ ชใ้ นการ ได้จากการ รวม
กลมุ่ ทีร่ ับการประเมนิ ตามเนื้อหา นำเสนอ 16
ที่ นำเสนอ คะแนน

4321432143214321

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องบางสว่ น ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี อ้ บกพร่องมาก

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมนิ
(..................................................)
ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
วันที่............เดอื น...........................พ.ศ. .................
14-16 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง

71

แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

กลุ่มสาระการเรียนรู้..............................................ภาคเรียนที่........ปีการศกึ ษา……………………

ชือ่ -สกลุ นักเรียน..........................................................ชั้น........................เลขที.่ ...................

คำชี้แจง: ให้ครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน
แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกบั ระดับคะแนน

คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน
อันพึงประสงค์ 4321
1. ทำงานร่วมกบั 1.1 เข้ารว่ มกิจกรรมเพอ่ื แกป้ ญั หาหรอื ร่วมสร้างสง่ิ ทีด่ งี าม
ผู้อื่นได้ ของส่วนรวมตามสถานการณ์ที่เกิดข้ึน
ด้วยความกระตือรือร้น
2. ใฝเ่ รียนรู้
2.1 แสวงหาขอ้ มูลจากแหลง่ การเรียนรู้ตา่ ง ๆ
2.2 มกี ารจดบันทึกความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ
2.3 สรุปความรู้ได้อย่างมเี หตผุ ล

3. เหน็ คณุ ค่าและ 3.1 มจี ิตสำนึกในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย

ความสำคัญของ 3.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย

ภาษาไทย

รวมคะแนน

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้งั ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครง้ั
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ
เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ
(..................................................)
ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ วนั ท.ี่ ...........เดือน...........................พ.ศ. .................

9-24 ดีมาก

13-18 ดี

6-12 พอใช้

ต่ำกว่า 6 ปรับปรุง

72

73

74

75

76

บัตรคำศพั ท์

บตั รคำศพั ทเ์ รือ่ งท่ี 1 ราชสีห์กับหนู
1. ตกใจ
2. ไว้ชีวติ
3. หวั เราะ
4. แข็งแรง
5. ตอบแทน

บัตรคำศพั ทเ์ รือ่ งท่ี 2 กระต่ายกบั เตา่
1. ยิ้มเยาะ
2. อวดตวั
3. อึดใจ
4. ฝเี ท้า
5. เอาใจ

บตั รคำศัพทเ์ รื่องท่ี 3 บิดากับบตุ รทั้งหลาย
1. แก้ไข
2. ท้ังหลาย
3. ไม้เรียว
4. ใจเดียว
5. ชว่ ยเหลอื

บตั รคำศัพท์เรือ่ งท่ี 4 สนุ ัขปา่ กบั ลูกแกะ
1. ปีกลาย
2. ดถู ูก
3. น้ำเสียง
4. รู้รส
5. น้ำนม

77

ตกใจ ก. สะดงุ้ ข้ึนโดยไม่รตู้ ัวเมื่อได้ยินเสียงดงั ๆ หรอื มีใครมาถูกต้องตวั
ตก ก. พลดั ลง, หลน่ ลง
ใจ น. สิ่งที่ทำหน้าที่รู้ รู้สกึ นึก และคิด

ไวช้ ีวติ ก. ให้มชี ีวติ อยูต่ ่อไป, ปล่อยใหร้ อดชีวติ
ไว้ ก. เกบ็ เข้าที่, เอาเข้าที่
ชีวติ ก. เก็บเข้าที่, เอาเข้าที่

หัวเราะ ก. เปลง่ เสียงแสดงความขบขัน ดีใจ ชอบใจ เป็นต้น
หวั น. สว่ นบนสดุ ของร่างกายของคนหรือสัตว์
เราะ น. ไม้ไผเ่ ปน็ ต้นเหลาเปน็ ซีก่ ลม ๆ ถกั ใหต้ ิดกันเปน็ ผืน สำหรับล้อมปลา
ก. เดินระผ่านเสาหรือหลกั ทีป่ กั ไว้เป็นแถวเพือ่ หาทางเข้าออกเปน็ ต้น เชน่ เราะรั้ว

แขง็ แรง ว. มกี ำลงั มาก, ลาํ่ สนั , ม่ันคง, คงทน, อย่างเตม็ กำลัง เชน่ ทำงานแข็งแรง
แขง็ ว. กระด้าง เช่น ลิน้ แขง็
แรง น. กำลัง เช่น แรงคน ไม่มีแรง มีแรงมาก ออกแรง ก. ออกแรง

ตอบแทน ก. ทำทดแทนแกผ่ ทู้ ำกอ่ น, ให้ทดแทนแก่ผใู้ ห้กอ่ น, เชน่ ตอบแทนบุญคณุ
ตอบ ก. กลา่ วเมื่อมผี ถู้ าม เช่น ตอบคำถาม
แทน ก. สนอง เช่น แทนคณุ

ยิ้มเยาะ ก. ยิ้มเปน็ เชิงเย้ยหยนั
ยิม้ ก. แสดงให้ปรากฏวา่ ชอบใจ เยาะเย้ย หรอื เกลียดชัง เป็นต้น
เยาะ ก. พูดหรอื แสดงกิรยิ าให้เจ็บใจชํ้าใจ โดยย้ำถึงความเสียเปรียบ ความด้อยกว่า
หรอื ความผิดพลาด เชน่ เยาะว่า ไหนว่าเก่งนกั ทำไมสอบตก

อวดตัว ก. แสดงให้เห็นวา่ ตวั เองดกี ว่าผอู้ ื่น
อวด ก. สำแดงให้รู้เหน็ เชน่ อวดฤทธิอ์ วดเดช เช่น อวดความสามารถ
ตัว น. รูป, ตน, ตนเอง, คำใช้เรียกแทนคน สัตว์ และสิ่งของ เช่น ตัวละคร

ตวั หนงั สอื
อึดใจ น. เวลาช่ัวกล้ันลมหายใจไว้คราวหนึ่ง

อึด ก. ทน, อดกลั้น, อ้ันไว้
ใจ น. ส่งิ ที่ทำหนา้ ที่รู้ รู้สกึ นึก และคิด เชน่ ใจกค็ ิดวา่ อย่างนน้ั

ฝีเท้า น. ความสามารถในการเดิน วิ่ง ช้าหรอื เร็ว หนักหรอื เบา เป็นต้น เช่น ม้าฝเี ท้าดี

78

ฝี น. โรคจำพวกหน่ึง เป็นต่อมบวมขึ้นกลัดหนองขา้ งใน เรียกชือ่ ตา่ งกันหลายชนดิ
เทา้ น. ตีน (ใช้ในความสภุ าพ), เรียกขาโต๊ะหรอื ขาตู้
เอาใจ ก. คอยปฏิบตั ิใหถ้ ูกใจ, ตามใจ
เอา ก. พา, นำ, เช่น เอาตวั มา
ใจ น. สง่ิ ทีท่ ำหนา้ ที่รู้ รู้สกึ นึก และคิด
แก้ไข ก. ทำสว่ นที่เสียใหค้ ืนดอี ย่างเดิม, ดดั แปลงให้ดขี ึน้ , แก้ กว็ า่
แก้ น. ชื่อเบี้ยตัวโต ๆ สำหรับขัดผ้านุ่งให้ผิวเป็นมัน เช่น ผ้าลาย เรียกว่า เบี้ยอีแก้
หรอื เบีย้ แก้ใหญ่
ก. ทำให้หาย เชน่ แก้เก้อ แก้ขวย แก้จน แก้โรค
ไข น. มันขน้ ก. หมนุ เช่น ไขลาน ไขกระจก
ทงั้ หลาย ว. หมดด้วยกัน เช่น มีจำนวนมาก เช่น คนทั้งหลายเขาพดู กันว่า
ทง้ั ว. ทวั่ เชน่ ทั้งโลก ท้ังหอ้ ง ทั้งตวั
หลาย ว. มาก, บางทีใช้คูก่ ับคำ มาก เปน็ มากหลาย
ไม้เรยี ว น. ไม้ปลายเรียวเล็กคล้ายไม้แส้สำหรบั ตีเด็ก
ไม้ น. คำรวมเรยี กพืชทั่วไป โดยปรกติมรี าก ลำตน้ กิง่ ก้าน และใบ
เรยี ว น. ส่งิ ที่มีลกั ษณะโคนโตปลายเล็ก เชน่ เรยี วหวาย เรียวไม้, เรียกไม้ปลายเรียว
เลก็ สำหรับตีเดก็ วา่ ไม้เรียว
ว. เลก็ ลงไปตามลำดับอยา่ งลำไม้ไผ่ เชน่ นิว้ เรียว ขาเรียว
ใจเดียว ว. ไมห่ ลายใจ, มคี วามรกั และซือ่ ตรงในบุคคลเดียวหรือสิง่ เดียวไม่เปลี่ยนแปลง
ใจ น. สง่ิ ที่ทำหนา้ ทีร่ ู้ รู้สกึ นึก และคิด เช่น ใจกค็ ิดวา่ อย่างนน้ั
เดียว ว. หนง่ึ เท่าน้ันไมม่ ีอน่ื อีก เชน่ คนเดียว
ชว่ ยเหลือ ก. สงเคราะห์ให้สำเรจ็ ดังประสงคห์ รอื ให้พ้นความลำบาก
ชว่ ย ก. ทำให้พ้นจากอนั ตราย, ค้ำจุน, สงเคราะห,์ ทำให้สำเรจ็ ประโยชน์
เหลือ ก. ยงั อยู่, ค้างอยู่, ยงั ไม่หมด, เกิน, เกินตอ้ งการ, มาก, มากเกิน
ปีกลาย น. ปีที่แลว้
ปี น. เวลาชว่ั โลกโคจรรอบดวงอาทิตยค์ รั้งหน่งึ ราว ๓๖๕ วนั
กลาย ก. เปลี่ยนไป, แปรปรวนไป, เช่น หนา้ หนาวกลายเป็นหนา้ ร้อน
ว. เรียกปีที่ล่วงหรือเปลีย่ นไปแล้วปีหน่งึ วา่ ปีกลาย

79

ดูถกู ก. พูดหรือแสดงอาการเปน็ เชงิ ดูหมิ่นหรอื เหยียดหยามผอู้ ืน่ ทีร่ สู้ ึกว่าต่ำต้อยหรอื ไร้
ความสามารถ
ดู ก. ใช้สายตาเพื่อให้เห็น เชน่ ดูภาพ ดูละคร
ถูก ก. โดน, แตะต้อง, สัมผัส, เช่น ถูกเนือ้ ถูกตัว

นำ้ เสียง น. กระแสเสียง, คำพดู
นำ้ น. สารประกอบซึ่งมีองคป์ ระกอบเป็นธาตไุ ฮโดรเจนและออกซิเจน (1:8)
เสียง น. สง่ิ ที่รบั รู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด

รรู้ ส ก. รู้สกึ ถึงผลที่ได้รับ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ฉันเพิ่งรรู้ สความหิว
รู้ ก. แจง้ , เข้าใจ, ทราบ
รส น. สิง่ ที่รไู้ ด้ดว้ ยลิน้ เชน่ เปรี้ยว หวาน เค็ม ฝาด

น้ำนม น. ของเหลวสีขาวออกมาจากนมคนและสตั ว์ สำหรับเลีย้ งลกู
น้ำ น. สารประกอบซึ่งมีองคป์ ระกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจน (1:8)
นม น. ส่วนของร่างกาย อยู่บริเวณหน้าอก มี 2 เต้า, ของผู้หญิงมีต่อมสำหรับผลิต

น้ำนมเปน็ อาหารสำหรบั ลกู อ่อน

80

2. แบบทดสอบเร่อื ง การอา่ นจับใจความสำคญั จากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์

การอา่ นจบั ใจความสำคัญจากเรอ่ื ง โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
*******************************************************

คำอธิบาย
แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน 4 (ท22102)

เพื่อใช้วัดความสามารถการอ่านจับใจความสำคัญจากเร่ือง โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ของ
นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 จำนวน 20 ขอ้ ใช้เวลา 25 นาที คะแนนเต็ม 20 คะแนน
คำชีแ้ จง: ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถกู ที่สดุ เพียงหนึง่ คำตอบ

โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำเรอ่ื ง ราชสีห์กบั หนู (จำนวน 5 ขอ้ )
1. ข้อใดเป็นการกระทำของหนทู ีท่ ำให้ราชสีห์ตกใจตน่ื และลกุ ขึน้ ด้วยความโกรธ

ก. หนไู ด้ยินเสียงฝีเท้าของนายพราน
ข. หนูได้ยินเสียงนกกาเหวา่ ร้องเรียกคู่
ค. หนสู ง่ เสียงรอ้ งดังก้อง
ง. หนไู ปวิ่งอย่บู นหน้าราชสีห์
2. ข้อใดคือการแสดงออกของราชสีห์หลงั จากฟังหนูอ้อนวอนขอชวี ิตไว้และบอกวา่ จะแทน
บุญคณุ
ก. ฆ่าหนู
ข. จบั หนกู ิน
ค. หวั เราะเยาะ
ง. ดา่ ทอหนวู ่า “บงั อาจมาอ้อนวอน”
3. คำอ้อนวอนของหนตู ่อราชสีหค์ อื ข้อใด
ก. ถ้าทา่ นไว้ชีวิตข้า ข้าจะแทนคุณทา่ น
ข. ถ้าทา่ นไว้ชีวติ ข้า ข้าจะไม่มาวุ่นวายในถิน่ ท่านอีก
ค. ถ้าท่านปลอ่ ยข้าไป ขา้ จะนำอาหารมาให้ท่าน
ง. ถ้าทา่ นปล่อยข้าไป ข้าจะนำพาหนูตัวอ่นื ๆ มาให้ท่านกิน

81

4. เหตกุ ารณใ์ ดทำให้หนไู ปชว่ ยเหลอื ราชสีห์

ก. ราชสีหร์ ้องส่งเสียงดังบอกให้หนูมาช่วย

ข. ราชสีหส์ ่งเสียงร้องดังจนเจ้าหนนู ั้นได้ยิน

ค. หนูเหน็ นายพรานจบั ราชสีห์ไว้ได้

ง. ขณะทีน่ ายพรานทุบตีราชสีห์ หนูได้เข้ามาเหน็ พอดี

5. “ทา่ นยิ้มเยาะความคิดของขา้ พเจ้าที่ว่าคงจะสามมารถชว่ ยทา่ น ท่านไมห่ มายวา่

จะได้รบั อันใดตอบแทนน้ัน เดีย๋ วนี้ท่านคงได้รแู้ ล้ว” จากข้อความ ใครคือผกู้ ล่าว

ก. นายพราน ข. หนู

ค. ราชสีห์ ง. เทพารักษ์

โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำเร่อื ง กระตา่ ยกับเต่า (จำนวน 5 ขอ้ )
6. เมื่อเกิดเหตุการณก์ ระต่ายยิม้ เยาะเต่าว่าขาสั้นและเดินช้า เตา่ ทำอยา่ งไรต่อไป

ก. เตา่ ท้ากระต่ายวิ่งแข่งขันกนั
ข. เต่าท้าใหก้ ระต่ายวิ่งให้ดู
ค. เตา่ เดินไปน่ังเสียใจใต้ตน้ ไม้
ง. เต่าทำสีหน้าโมโหแลว้ เดินหนไี ป
7. เหตุการณ์ในข้อใดไม่ปรากฏในเรื่อง
ก. เตา่ ก้าวเดินในขณะทีแ่ ข่งขนั โดยไม่หยดุ พัก
ข. เตา่ หวั เราะให้กับคำพดู ของกระต่ายกอ่ นท้าว่งิ แข่งขัน
ค. สนุ ขั จ้ิงจอกวางแผนวา่ จะจบั กระต่ายกินให้ได้
ง. สนุ ัขจ้ิงจอกได้เป็นผู้เลือกเส้นทางการวิ่งในครั้งนี้
8. ใครคือผู้ที่เลือกเส้นทางการวง่ิ และกำหนดจดุ แพ้ชนะ
ก. ลิง
ข. เต่า
ค. กระต่าย
ง. สุนัขจ้ิงจอก

82

9. ขณะทีว่ ง่ิ แข่งขันกนั กระต่ายกบั เต่าทำอย่างไร
ก. กระต่ายมักร้องเรียกให้กระต่ายตวั อื่น ๆ ส่งเสียงเชยี ร์ ส่วนเตา่ มักแวะกินน้ำทีล่ ำ

ธารด้วยความกระหาย
ข. กระต่ายเม่อื เดินได้ระยะหนง่ึ ก็ฟุบตวั นอนและเผลอหลับไป ส่วนเต่าเดินก้าวด้วย

ฝเี ท้าสม่ำเสมอ แมจ้ ะช้าแต่ไมเ่ คยหยดุ ก้าว
ค. กระต่ายเม่อื เดินได้ระยะหนง่ึ กจ็ ะหาอาหารบริเวณน้ันกิน ส่วนเต่าเมอ่ื เดินได้ระยะ

หน่งึ กฟ็ ุบตวั นอนและเผลอหลบั ไป
ง. กระต่ายเมอ่ื ไปถึงลำธารมกั แวะกินน้ำด้วยความกระหาย ส่วนเต่าเมื่อเดินได้ระยะ

หนง่ึ ก็จะหาอาหารบริเวณน้ันกิน
10. จากเรอ่ื งกระต่ายได้ฟุบตัวนอนและต่ืนขึ้นในขณะแข่งขัน หลังจากน้ันกระต่ายทำอย่างไรต่อไป

ก. กระต่ายรีบวิ่งไปยังเส้นชัยอย่างรวดเร็ว
ข. กระต่ายนอนต่อเพราะอยา่ งไรก็วิง่ ตามทัน
ค. กระต่ายหาอาหารกิน ณ บริเวณน้ัน
ง. กระตา่ ยไปร้องเรียกให้กระต่ายตวั อืน่ ๆ ส่งมาเสียงเชียร์

โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำเรอ่ื ง บิดากับบุตรทง้ั หลาย (จำนวน 5 ขอ้ )
11. ข้อใดคือเหตุการณ์ที่ทำใหบ้ ิดาต้องตักเตือนสงั่ สอนบุตร

ก. บตุ รทะเลาะวิวาทกันอยู่เสมอ
ข. บุตรตกลงเรื่องการทำงานบ้านไมล่ งตัว
ค. บุตรเกีย่ งกนั วา่ ใครจะเป็นผู้ไปตดั ฟืนมาไว้ใช้
ง. ผเู้ ป็นพีไ่ ม่แบ่งปันอาหารและของเลน่ ให้กบั น้อง
12. บิดาส่ังให้บตุ รทั้งหลายไปตามหาสิ่งใด
ก. ไม้ระแนง
ข. ไม้เรียว
ค. ก้านไม้ค้ำบอน
ง. ก้านมะพร้าวเหลา

83

13. ข้อใดเรียงลำดบั เหตุการณเ์ รือ่ งบิดากบั บตุ รท้ังหลายตั้งแต่เริม่ ต้นจนจบเร่อื งได้ถกู ต้อง
ก. บุตรทะเลาะกนั , บิดาเอาไม้เรียวใหบ้ ุตรหกั ทีละอัน, บิดาสั่งสอนบตุ ร, บตุ รไปหาไม้เรยี ว,

บุตรหกั กำไม้เรียวเป็นท่อนเลก็ ๆ , บิดากล่าวถึงบทเรียนในครั้งน้ี
ข. บุตรทะเลาะกัน, บิดาส่ังสอนบุตร, บตุ รไปหาไม้เรียว, บตุ รหกั กำไม้เรียวเป็นทอ่ นเล็ก ๆ ,

บตุ รหักไม้เรียวทีละอนั , บิดากลา่ วถึงบทเรียนในครั้งนี้
ค. บุตรไปหาไม้เรียว, บิดากลา่ วถึงบทเรียนในครั้งนี้, บุตรหกั ไม้เรียวทีละอัน, บตุ ร

ทะเลาะกัน, บิดาสั่งสอนบุตร, บิดาให้บุตรหักกำไม้เรียวเป็นทอ่ นเล็ก ๆ
ง. บตุ รไปหาไม้เรียว, บตุ รหักไม้เรียวทีละอัน, บตุ รทะเลาะกัน, บิดาสั่งสอนบตุ ร, บตุ ร

หกั กำไม้เรียวเป็นทอ่ นเล็ก ๆ , บิดาล่าวถึงบทเรียนในคร้ังนี้

14. “ถ้าเจ้าเปน็ ใจเดียวกันอุดหนนุ กนั และกนั เจ้าจะเหมือน_________ ศัตรปู องร้ายก็จะไม่มี
อันตรายใด” ส่วนทีเ่ ว้นวา่ งตรงกับข้อใด

ก. ไม้เรียวทั้งกำ
ข. ไม้ระแนง
ค. ก้านไมค้ ้ำบอน
ง. ก้านมะพร้าวเหลา
15. จากข้อ 14 เป็นคำกลา่ วของบุคคลตามข้อใด
ก. บตุ ร
ข. บิดา
ค. ชาวบ้าน
ง. ผใู้ หญบ่ ้าน
โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำเรอ่ื ง สุนขั ปา่ กบั ลูกแกะ (จำนวน 5 ขอ้ )
16. สุนขั ป่าเจอใครเดินหลงฝงู อยใู่ นป่าตัวเดียว
ก. เสือ
ข. ลกู แกะ
ค. กวางผา
ง. นกกระเรียน

84

17. ข้อใดคือสิง่ ที่สุนขั ปา่ จะกระทำหลังจากพบกบั ลกู แกะ
ก. พาไปตามหาฝงู ของลกู แกะ
ข. พาลกู แกะไปพบกบั เจ้าป่าเพือ่ บอกปญั หา
ค. หาเรื่องให้ลกู แกะคิดว่าตนสมควรโดนสุนัขป่ากิน
ง. หาอาหารมาให้ลูกแกะเพราะเห็นว่าหวิ โซ

18. เมือ่ ลูกแกะถกู สุนขั ป่ากลา่ วโทษวา่ “มากินหญ้าในทำเลของข้า” ลกู แกะแก้ตัววา่ อย่างไร
ก. ข้าหวิ จงึ มาหาของกิน
ข. ข้าเสียใจ ท่านจะให้ข้าทำอย่างไร
ค. ข้าไมเ่ คยกินหญ้า
ง. ข้าไม่รู้มาก่อนวา่ ทำเลนีเ้ ป็นของทา่ น

19. เมือ่ ลูกแกะถกู สนุ ัขป่ากลา่ วโทษวา่ “เจ้ามากินน้ำในบอ่ ของขา้ ” ลกู แกะกล่าวตอบอย่างไร
ก. บอ่ น้ำนีไ้ มใ่ ช่ของทา่ นเพียงผู้เดียวนะ
ข. ข้าหิวน้ำจึงมาหาน้ำกิน
ค. ข้าขอโทษ ทา่ นจะให้ข้าทำอยา่ งไร
ง. น้ำนมมารดาข้าเปน็ ท้ังอาหารและน้ำ

20. เหตุการณ์ใดเกิดข้ึนหลังจากสุนัขป่ากล่าวโทษลกู แกะ
ก. สุนัขป่าเข้าจบั ลูกแกะไว้
ข. สุนัขปา่ ปลอ่ ยลูกแกะกลับเข้าฝงู
ค. ลกู แกะว่งิ หนไี ปหลบอยู่หลงั ตน้ ไม้
ง. ลกู แกะทำใจและยอมใหส้ ุนขั ปา่ กิน

85

เฉลย แบบทดสอบเร่อื ง การอา่ นจับใจความสำคัญ จากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์

การอ่านจับใจความสำคัญจากเร่อื ง โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
*******************************************************

คำอธิบาย
แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน 4 (ท22102)

เพื่อใช้วัดความสามารถการอ่านจับใจความสำคัญจากเร่ือง โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ของ
นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 จำนวน 20 ขอ้ ใช้เวลา 25 นาที คะแนนเต็ม 20 คะแนน
คำชีแ้ จง: ให้นักเรียนเลือกคำตอบทีถ่ ูกที่สุดเพียงหนง่ึ คำตอบ

โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำเร่อื ง ราชสีห์กบั หนู (จำนวน 5 ข้อ)
1. ข้อใดเป็นการกระทำของหนทู ีท่ ำให้ราชสีห์ตกใจต่นื และลุกขึน้ ด้วยความโกรธ

ก. หนูได้ยินเสียงฝีเท้าของนายพราน
ข. หนไู ด้ยินเสียงนกกาเหว่าร้องเรียกคู่
ค. หนูสง่ เสียงรอ้ งดังก้อง
ง. หนูไปวิ่งอยูบ่ นหน้าราชสีห์
2. ข้อใดคือการแสดงออกของราชสีหห์ ลังจากฟังหนูอ้อนวอนขอชวี ิตไว้และบอกวา่ จะแทน
บุญคณุ
ก. ฆา่ หนู
ข. จบั หนกู ิน
ค. หัวเราะเยาะ
ง. ดา่ ทอหนูว่า “บงั อาจมาอ้อนวอน”
3. คำอ้อนวอนของหนตู อ่ ราชสีหค์ อื ข้อใด
ก. ถา้ ท่านไวช้ ีวติ ข้า ข้าจะแทนคณุ ทา่ น
ข. ถ้าทา่ นไว้ชีวติ ข้า ข้าจะไม่มาวนุ่ วายในถิน่ ทา่ นอีก
ค. ถ้าทา่ นปล่อยข้าไป ข้าจะนำอาหารมาให้ท่าน
ง. ถ้าท่านปล่อยข้าไป ข้าจะนำพาหนตู ัวอน่ื ๆ มาให้ทา่ นกิน

86

4. เหตกุ ารณ์ใดทำให้หนไู ปช่วยเหลอื ราชสีห์

ก. ราชสีห์ร้องส่งเสียงดังบอกให้หนูมาช่วย

ข. ราชสีห์สง่ เสียงร้องดงั จนเจ้าหนูนั้นได้ยิน

ค. หนูเหน็ นายพรานจบั ราชสีห์ไว้ได้

ง. ขณะที่นายพรานทุบตีราชสีห์ หนูได้เข้ามาเห็นพอดี

5. “ท่านยิ้มเยาะความคิดของขา้ พเจ้าที่วา่ คงจะสามมารถช่วยทา่ น ท่านไมห่ มายวา่

จะได้รบั อนั ใดตอบแทนนั้น เดีย๋ วนี้ทา่ นคงได้รแู้ ล้ว” จากข้อความ ใครคือผกู้ ล่าว

ก. นายพราน ข. หนู

ค. ราชสีห์ ง. เทพารักษ์

โคลงสภุ าษิตอิศปปกรณำเร่อื ง กระต่ายกับเตา่ (จำนวน 5 ข้อ)
6. เมือ่ เกิดเหตุการณก์ ระต่ายยิม้ เยาะเต่าว่าขาสั้นและเดินช้า เต่าทำอย่างไรต่อไป

ก. เตา่ ทา้ กระต่ายวิ่งแข่งขนั กัน
ข. เต่าท้าใหก้ ระต่ายวิ่งให้ดู
ค. เต่าเดินไปนั่งเสียใจใต้ต้นไม้
ง. เต่าทำสีหน้าโมโหแลว้ เดินหนไี ป
7. เหตุการณใ์ นข้อใดไม่ปรากฏในเร่อื ง
ก. เต่าก้าวเดินในขณะที่แข่งขันโดยไมห่ ยดุ พกั
ข. เต่าหวั เราะให้กับคำพดู ของกระต่ายก่อนท้าว่งิ แข่งขัน
ค. สุนัขจิ้งจอกวางแผนว่าจะจบั กระตา่ ยกินใหไ้ ด้
ง. สุนขั จ้ิงจอกได้เปน็ ผู้เลือกเส้นทางการวิ่งในครั้งนี้
8. ใครคือผู้ทีเ่ ลือกเส้นทางการว่งิ และกำหนดจุดแพ้ชนะ
ก. ลิง
ข. เต่า
ค. กระต่าย
ง. สุนัขจิ้งจอก

87

9. ขณะที่วง่ิ แขง่ ขันกัน กระต่ายกบั เต่าทำอย่างไร
ก. กระต่ายมกั ร้องเรียกให้กระต่ายตัวอืน่ ๆ ส่งเสียงเชยี ร์ ส่วนเต่ามักแวะกินน้ำที่ลำ

ธารด้วยความกระหาย
ข. กระต่ายเมื่อเดินไดร้ ะยะหน่งึ กฟ็ ุบตัวนอนและเผลอหลับไป ส่วนเตา่ เดินกา้ ว

ด้วยฝีเทา้ สม่ำเสมอ แม้จะช้าแตไ่ มเ่ คยหยดุ ก้าว
ค. กระต่ายเมอ่ื เดินได้ระยะหน่งึ กจ็ ะหาอาหารบริเวณนั้นกิน ส่วนเตา่ เม่อื เดินได้ระยะ

หน่งึ ก็ฟบุ ตวั นอนและเผลอหลบั ไป
ง. กระตา่ ยเมอ่ื ไปถึงลำธารมกั แวะกินน้ำด้วยความกระหาย ส่วนเต่าเมือ่ เดินได้ระยะ

หน่งึ ก็จะหาอาหารบริเวณนั้นกิน
10. จากเรอ่ื งกระต่ายได้ฟบุ ตัวนอนและต่ืนขึ้นในขณะแข่งขัน หลังจากน้ันกระต่ายทำอย่างไรต่อไป

ก. กระต่ายรบี วิ่งไปยงั เส้นชยั อยา่ งรวดเรว็
ข. กระต่ายนอนตอ่ เพราะอยา่ งไรกว็ ิ่งตามทนั
ค. กระต่ายหาอาหารกิน ณ บริเวณนั้น
ง. กระต่ายไปร้องเรยี กให้กระตา่ ยตวั อืน่ ๆ ส่งมาเสียงเชียร์

โคลงสภุ าษิตอิศปปกรณำเร่อื ง บิดากับบุตรท้งั หลาย (จำนวน 5 ข้อ)
11. ข้อใดคือเหตุการณท์ ีท่ ำใหบ้ ิดาต้องตกั เตือนสง่ั สอนบุตร

ก. บตุ รทะเลาะวิวาทกันอยู่เสมอ
ข. บตุ รตกลงเรื่องการทำงานบ้านไมล่ งตัว
ค. บตุ รเกี่ยงกนั วา่ ใครจะเป็นผู้ไปตดั ฟืนมาไว้ใช้
ง. ผเู้ ป็นพี่ไมแ่ บ่งปันอาหารและของเล่นให้กบั น้อง
12. บิดาสั่งให้บตุ รท้ังหลายไปตามหาสิง่ ใด
ก. ไม้ระแนง
ข. ไม้เรยี ว
ค. ก้านไมค้ ้ำบอน
ง. ก้านมะพร้าวเหลา

88

13. ข้อใดเรียงลำดับเหตกุ ารณ์เรื่องบิดากับบตุ รทั้งหลายต้ังแตเ่ ริม่ ต้นจนจบเรือ่ งได้ถูกต้อง
ก. บตุ รทะเลาะกนั , บิดาเอาไม้เรียวใหบ้ ตุ รหกั ทีละอัน, บิดาสง่ั สอนบุตร, บุตรไปหาไม้เรยี ว,

บตุ รหกั กำไม้เรียวเป็นทอ่ นเลก็ ๆ , บิดากลา่ วถึงบทเรียนในครั้งน้ี
ข. บุตรทะเลาะกนั , บดิ าสั่งสอนบุตร, บตุ รไปหาไม้เรยี ว, บตุ รหักกำไมเ้ รยี วเป็นท่อน

เล็ก ๆ , บตุ รหกั ไม้เรยี วทลี ะอัน, บิดากล่าวถงึ บทเรียนในครง้ั นี้
ค. บตุ รไปหาไม้เรียว, บิดากล่าวถึงบทเรียนในครั้งนี้, บุตรหกั ไม้เรียวทีละอนั , บุตร

ทะเลาะกนั , บิดาสัง่ สอนบตุ ร, บิดาให้บตุ รหกั กำไม้เรียวเป็นทอ่ นเล็ก ๆ
ง. บตุ รไปหาไม้เรียว, บุตรหักไม้เรียวทีละอนั , บุตรทะเลาะกัน, บิดาส่ังสอนบตุ ร, บตุ ร

หักกำไม้เรียวเป็นทอ่ นเล็ก ๆ , บิดาล่าวถึงบทเรียนในคร้ังนี้
14. “ถ้าเจ้าเปน็ ใจเดียวกนั อุดหนนุ กันและกัน เจ้าจะเหมือน_________ ศัตรูปองร้ายก็จะไมม่ ี
อันตรายใด” ส่วนที่เว้นวา่ งตรงกบั ข้อใด

ก. ไม้เรียวทัง้ กำ
ข. ไม้ระแนง
ค. ก้านไม้ค้ำบอน
ง. ก้านมะพร้าวเหลา
15. จากข้อ 14 เปน็ คำกล่าวของบุคคลตามข้อใด
ก. บุตร
ข. บิดา
ค. ชาวบ้าน
ง. ผใู้ หญบ่ ้าน

โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำเรอ่ื ง สนุ ขั ปา่ กับลกู แกะ (จำนวน 5 ขอ้ )
16. สุนขั ป่าเจอใครเดินหลงฝงู อยู่ในปา่ ตัวเดียว

ก. เสือ
ข. ลกู แกะ
ค. กวางผา
ง. นกกระเรียน

89

17. ข้อใดคือสิง่ ที่สุนขั ป่าจะกระทำหลังจากพบกับลกู แกะ
ก. พาไปตามหาฝูงของลูกแกะ
ข. พาลูกแกะไปพบกับเจ้าปา่ เพือ่ บอกปัญหา
ค. หาเรอ่ื งใหล้ ูกแกะคดิ ว่าตนสมควรโดนสุนัขป่ากิน
ง. หาอาหารมาให้ลกู แกะเพราะเห็นว่าหิวโซ

18. เมือ่ ลูกแกะถูกสนุ ขั ป่ากล่าวโทษว่า “มากินหญ้าในทำเลของข้า” ลกู แกะแก้ตัววา่ อย่างไร
ก. ข้าหวิ จงึ มาหาของกิน
ข. ข้าเสียใจ ท่านจะให้ข้าทำอย่างไร
ค. ข้าไม่เคยกินหญ้า
ง. ข้าไม่รู้มาก่อนว่าทำเลนีเ้ ป็นของท่าน

19. เมื่อลกู แกะถูกสุนขั ป่ากล่าวโทษวา่ “เจ้ามากินน้ำในบอ่ ของข้า” ลูกแกะกล่าวตอบอย่างไร
ก. บ่อน้ำนีไ้ มใ่ ช่ของทา่ นเพียงผู้เดียวนะ
ข. ข้าหิวน้ำจึงมาหาน้ำกิน
ค. ข้าขอโทษ ท่านจะให้ข้าทำอย่างไร
ง. น้ำนมมารดาข้าเป็นทั้งอาหารและน้ำ

20. เหตกุ ารณใ์ ดเกิดขึ้นหลังจากสนุ ขั ป่ากลา่ วโทษลกู แกะ
ก. สุนขั ป่าเข้าจับลกู แกะไว้
ข. สุนัขป่าปล่อยลูกแกะกลับเข้าฝงู
ค. ลูกแกะว่งิ หนไี ปหลบอยู่หลงั ตน้ ไม้
ง. ลกู แกะทำใจและยอมใหส้ ุนัขป่ากิน

90

ภาคผนวก ค แบบประเมินเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรยี นรู้
แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้เรอ่ื ง
การอ่านจับใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
โดยการใชเ้ ทคนิคการสอนแบบสตอรไี ลน์ (Story line)
(สำหรบั ผู้เชีย่ วชาญ)

วัตถุประสงค์ เพื่อนำความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ มาปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ วิชาภาษาไทยพื้นฐาน 4
(ท22102) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามแผนการเรียนรู้เรื่อง การอ่านจับ
ใจความสำคัญจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ ด้วยวิธีสอนแบบสตอรีไลน์ (Story line) เวลา
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4 คาบ 4 ช่ัวโมง

คำชีแ้ จง
1. ขอให้ท่านพิจารณาความเหมาะสมของแต่ละรายการ ซึ่งเป็นส่วนประกอบของ

แผนการจัดการเรียนรู้ แล้วทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในตารางการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
ในช่องระดับความเหมาะสม ที่ตรงตามความคิดเห็นของท่าน โดยกำหนดระดับความเหมาะสม
ออกเป็น 5 ระดับ ดงั น้ี

5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากทีส่ ุด
4 หมายถึง มคี วามเหมาะสมมาก
3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง
2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย
1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สดุ
2. เมื่อท่านพจิ ารณาและทำการประเมนิ ตามรายการที่กำหนดไว้แล้ว ขอความกรุณา
ทา่ นโปรดให้ข้อเสนอแนะอื่น ๆ เพิม่ เติมในส่วนข้อเสนอแนะเพิม่ เติม ทั้งนเี้ พื่อเปน็ ประโยชนต์ ่อ
ผวู้ ิจยั ในการปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนรู้ของนกั เรียน ใหม้ ีคณุ ภาพยิ่งข้ึน

91

ที่ รายการประเมิน ระดบั การประเมิน
54321
ด้านคณุ ภาพของแผนการจดั การเรียนรู้
1 มีส่วนประกอบของแผนครบถ้วน
2 มตี วั ชีว้ ัดทีช่ ดั เจน เหมาะสม
3 สง่ เสริมการเรียนรู้โดยเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
4 จุดประสงค์การเรียนรู้สอดคล้องกบั ตัวชีว้ ดั
5 จุดประสงค์การเรียนรู้สามารถนำไปวดั ผลได้

สาระการเรียนรู้
6 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
7 มหี ัวขอ้ ยอ่ ยชัดเจนและครบถ้วน
8 ก่อให้เกิดการเรียนรู้ตามจดุ ประสงค์
9 สอดคล้องกบั ศกั ยภาพและวยั ของผู้เรียน

กระบวนการจัดการเรียนรู้
10 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ โดยใชว้ รรรค
ดีอิศปปกรณำ เสริมด้วยเทคนิคการสอนแบบสตอรีไลน์
11 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกัน
12 สรา้ งประสบการณจ์ รงิ ให้กบั ผู้เรียน
13 มกี ิจกรรมการเรียนรู้หลากหลาย
14 มขี ั้นตอนการปฏบิ ตั ทิ ีถ่ กู ต้องและชัดเจน
15 เนน้ กระบวนการคดิ และสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง

กระบวนการวดั และประเมนิ ผล
16 มแี บบประเมินชดั เจนในแผนการจดั การเรียนรู้
17 สามารถนำไปวเิ คราะหไ์ ด้ด้วยคา่ สถิติ
18 มกี ารตรวจสอบคุณภาพแบบประเมิน
19 ประเมินได้ตรงตามความสามารถที่แท้จริงของนกั เรียน
20 การวัดและประเมินผลครอบคลมุ ทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และ
คณุ ลักษณะ

ทม่ี า: พระมหาณฐั พงศ์ คำมี (2564)


Click to View FlipBook Version