▲ ปกหนัังสืือ “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย” คำำ�นำำ� หนัังสืือ “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีพี แห่่งประเทศไทย” เล่่มนี้้� เกิิดจากความร่่วมแรงร่่วมใจของ กรรมการบริิหาร สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ (วาระปััจจุบัุนัพ.ศ. 2566) ซึ่่ง�ประกอบ ด้้วย นายกและเลขาธิกิาร หรืือผู้้แทนจาก 11 สภาวิิชาชีีพ ซึ่่�ง มารวมกันัและมีีการประชุุมกันทุักุ 2 เดืือน ได้มีี ้ มติิร่่วมกันัเพื่่�อ เป็นสื่่ ็ �อให้ส้มาชิกิจากทั้้� ง 11 สภาวิิชาชีีพ ได้้มีีโอกาสรัับทราบ และรู้้จัักสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ซึ่่�งมีีการรวมตััวกันัมาตั้้� งแต่่ปีี พ.ศ. 2548 จนถึึงปััจจุุบััน นัับเป็็นเวลาเกืือบ 20 ปีีแล้้ว ในการทำำงานร่่วมกััน ถ้้าสภาวิิชาชีีพใดมีีความ เชี่่�ยวชาญด้้านใด ก็็มัักจะได้้รัับมอบหมายให้้ดำำเนิินการ ด้้านนั้้� น อาทิิเช่่น สภาสถาปนิิก ซึ่่�งมีีความเชี่่�ยวชาญในการ ออกแบบต่่าง ๆ ก็็ได้้ช่่วยออกแบบโลโก้้ของสมาพัันธ์์สภา วิิชาชีีพฯ ให้้ ซึ่่�งทุุกท่่านจะได้้ทราบถึึงความหมายของโลโก้้ ในหนัังสืือเล่่มนี้ ้� ด้้วย นอกจากนั้้�น สภาสถาปนิิกยัังยิินดีี รัับหน้้าที่่�ออกแบบปกหนัังสืือเล่่มนี้ ้�อีีกด้้วย - คณะบรรณาธิกิารจากทุุกสภาวิิชาชีีพ - ขอขอบคุุณท่่านนายกสภาและกรรมการบริิหาร ของทุกสุภาวิิชาชีีพที่่�ได้กรุุ้ณาช่่วยดำำเนินกิารในภารกิิจต่่าง ๆ ที่่�ได้้รัับมอบหมายให้้เป็็นอย่่างดีี โดยเฉพาะอย่่างยิ่่� งสภาการ พยาบาล ซึ่่�งรัับหน้้าที่่�เป็น็เลขานุกุารตลอดการของสมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพฯ อย่่างน่่าประทัับใจ สำำหรัับหนัังสืือสมาพัันธ์์ เล่่มนี้้� ฝ่่ายเลขานุกุารก็็ได้้รัับผิิดชอบติิดตามรวบรวมต้้นฉบัับ ข้้อเขีียนจากแต่่ละสภาได้้อย่่างเรีียบร้้อย หวัังเป็็นอย่่างยิ่่� งว่่าหนัังสืือเล่่มนี้้�จะเป็็นสื่่�อที่่�ช่่วย เผยแพร่่ให้้มวลสมาชิิกของแต่่ละสภาวิิชาชีีพได้้รัับทราบ เข้้าใจ และรู้้จัักสภาวิิชาชีีพทั้้� ง 11 สภา ได้้ดีียิ่่� งขึ้้�น ขอขอบพระคุุณอีีกครั้้� งทั้้� งกรรมการและเจ้้าหน้้าที่่� ทุุกสภาวิิชาชีีพที่่�มีีส่่วนร่่วมในการผลิิตหนัังสืือเล่่มนี้้� สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 2
สารบััญ สารจากนายกสภาวิิชาชีีพ สารนายกแพทยสภา. . . . . . . . . . . . . . . . . . 11 สารนายกสภาการพยาบาล . . . . . . . . . . . . . . .12 สารนายกสภาทนายความ ในพระบรมราชููปถััมภ์์ . . . 13 สารนายกสภาเภสััชกรรม . . . . . . . . . . . . . . . .14 สารนายกทัันตแพทยสภา. . . . . . . . . . . . . . . 15 สารนายกสภาวิิศวกร . . . . . . . . . . . . . . . . . .16 สารนายกสภาสถาปนิิก . . . . . . . . . . . . . . . . .17 สารนายกสััตวแพทยสภา . . . . . . . . . . . . . . . .18 สารนายกสภาเทคนิิคการแพทย์์. . . . . . . . . . . . 19 สารนายกสภากายภาพบำำบััด . . . . . . . . . . . . . .20 สารนายกสภาวิิชาชีีพบััญชีี ในพระบรมราชููปถััมภ์์ . . .22 สารจากสภานายกพิิเศษแห่่งสภาวิิชาชีีพ สารรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข . . . . . . . . .6 สารรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงยุุติิธรรม. . . . . . . . . . 7 สารรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงมหาดไทย . . . . . . . . . 8 สารรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ . . . . .9 สารรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงพาณิิชย์์. . . . . . . . . 10 สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย ประวััติิความเป็็นมา . . . . . . . . . . . . . . . . . . 25 ยุุทธศาสตร์์สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย. . . 27 บัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือสมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพ บัันทึึกความเข้้าใจของนายกสภาวิิชาชีีพฉบัับแรก 8 สภาวิิชาชีีพ (13 พ.ย. 2548) . . . . . . . . . . . . . 30 บัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ 11 สภาวิิชาชีีพ (24 ธันั วาคม 2562). . . . . . . . . . 32 คณะกรรมการบริิหารสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ แห่่งประเทศไทยชุุดปััจจุุบััน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 38 ผลการดำำาเนิินงานของสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ แห่่งประเทศไทย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 40 ประวััติิความเป็็นมาของสภาวิิชาชีีพ แพทยสภา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .52 สภาการพยาบาล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .58 สภาทนายความ ในพระบรมราชููปถััมภ์์ . . . . . . . . 64 สภาเภสััชกรรม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .70 ทัันตแพทยสภา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .75 สภาวิิศวกร. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 79 สภาสถาปนิิก . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .81 สััตวแพทยสภา. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 84 สภาเทคนิิคการแพทย์์. . . . . . . . . . . . . . . . . 88 สภากายภาพบำำบััด . . . . . . . . . . . . . . . . . . .91 สภาวิิชาชีีพบััญชีี ในพระบรมราชููปถััมภ์์. . . . . . . . 96 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 3
สารจาก สภานายกพิิเศษแห่่งสภาวิิชาชี ี พ และ นายกสภาวิิชาชี ี พ
นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข สภานายกพิเศษแห่งสภาวิชาชีพด้านสุขภาพ 6 สภาวิชาชีพ ผมขอแสดงความยินดีี ิเนื่่�องในโอกาสที่่ส�มาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย ได้จั้ ัดทำำ หนัังสืือรวบรวมประวััติิความเป็น็มา และการดำำเนินกิารของแต่ล่ะสภาวิิชาชีีพ ตั้้งแ�ต่่เริ่่ม�ก่่อตั้้งจ�นถึึงปััจจุุบันั เพื่่�อเผยแพร่่ให้้ความรู้้แก่่สมาชิกิและผู้้สนใจ พร้้อมกัันนี้้� ผมขอแสดงความชื่่�นชม แพทยสภา สภาการพยาบาล สภาเภสััชกรรม ทัันตแพทยสภา สภาเทคนิิคการแพทย์์ และ สภากายภาพบำำบััด ที่่�ได้้ทำำหน้้าที่่�พััฒนาคุุณภาพ และ มาตรฐานของวิิชาชีีพทุุกด้้านอย่่างต่่อเนื่่�อง รวมถึึงการควบคุุมความประพฤติิของ ผู้้ประกอบวิิชาชีีพให้้ถููกต้้องตามจรรยาบรรณแห่่งวิิชาชีีพ การสร้้างเสริิมวิิชาชีีพให้้มีี ความก้้าวหน้้าสู่่ระดัับสากล อัันจะส่่งผลให้ก้ารพััฒนาระบบสุุขภาพ ในประเทศรุ่่งเรืือง ยิ่่� งๆ ขึ้้�นในอนาคต จึึงขอเป็็นกำำลัังใจให้้ท่่านผู้้บริิหาร คณะเจ้้าหน้้าที่่� ของสภาวิิชาชีีพ ทั้้� ง ๖ วิิชาชีีพ ร่่วมแรง ร่่วมใจกัันยกระดัับการสาธารณสุุขตามเป้้าหมายที่่�กระทรวง สาธารณสุุขกำำหนด คืือ “ประชาชนไทยแข็็งแรง ประเทศชาติิมั่่� นคง เศรษฐกิิจเข็็มแข็็ง และเติิบโตอย่่างยั่่� งยืืน” (นายชลน่่าน ศรีีแก้้ว) รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข ในฐานะสภานายกพิิเศษแห่่งสภาวิิชาชีีพ ด้้านสุุขภาพ 6 สภาวิิชาชีีพ สาร สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 6
สภาทนายความ ในพระบรมราชููปถััมภ์์ เป็นนิ็ ิติิบุุคคลตััวแทนของผู้้ประกอบ วิิชาชีีพทนายความโดยส่่งเสริิมและกำำกัับผู้้ประกอบวิิชาชีีพทนายความให้้มีี จรรยาบรรณวิิชาชีีพและมีีส่่วนสำำคััญในกระบวนการยุุติิธรรมในการร่่วมมืือกัับ ศาล กระทรวงยุุติิธรรม และหน่่วยงานต่่าง ๆ ในกระบวนการยุุติิธรรมทั้้�งภายใน ประเทศและระดัับสากล ให้้คำำปรึึกษาและคำำแนะนำำด้้านกฎหมายแก่่บุุคคลทั่่�วไป รวมถึึงให้้ความช่่วยเหลืือประชาชนผู้้ได้้รัับความเดืือดร้้อนทางด้้านกฎหมาย ดัังนั้้� น สภาทนายความ ในพระบรมราชููปถััมภ์์จำำต้้องปลููกฝัังให้้ผู้้ประกอบวิิชาชีีพทนายความ ประพฤติิปฏิิบััติิตนให้้สอดคล้้องกัับสถานการณ์์ความเปลี่่�ยนแปลงของสัังคมในทุุก ๆ ด้้าน โดยมีีหลัักของการยึึดมั่่� นและยึึดถืือเพิ่่� มเติิมนอกเหนืือจากการประพฤติิปฏิิบััติิ ตนตามข้้อบัังคัับสภาทนายความ ว่่าด้้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. 2529 โดยเฉพาะการดำำรงตนและการปฏิิบััติิหน้้าที่่� ตามหลัักนิิติิธรรม สภาทนายความ ในพระบรมราชููปถััมภ์์ เป็็นองค์์กรที่่�มีีหน้้าที่่�ค้ำ ำ จุุนความยุุติิธรรม ต่่อสู้้กัับความไม่่ถููกต้้อง และให้้ความช่่วยเหลืือด้้านกฎหมายให้้กัับประชาชนมาอย่่างยาวนาน ปััจจุุบัันเป็็นโอกาสที่่�ดีีที่่�จะช่่วยขัับเคลื่่�อนหลััก นิิติิธรรมให้้เข้้มแข็็ง เพื่่�อสามารถอำำนวยความยุุติิธรรม ลดความเหลื่่�อมล้ำ ำ และสร้้างประชาธิปิ ไตยที่่�สมบููรณ์์ในสัังคม ไทยให้้เกิิดขึ้้�น อัันจะนำำ ไปสู่่ความเชื่่�อถืือศรััทธาและไว้้วางใจจากประชาชนในสัังคมต่่อไป ในโอกาสนี้ ้� ผมขอขอบคุุณ สภาทนายความ ในพระบรมราชููปถััมภ์์ ที่่�เสีียสละและอุุทิิศตนเพื่่�อเสริิมสร้้าง ให้้วิิชาชีีพทนายความมีีความเข้้มแข็็ง โดยอำำนวยความยุุติิธรรมให้้ประชาชนสามารถเข้้าถึึงความเป็็นธรรมอย่่าง เสมอภาค เท่่าเทีียม และทั่่� วถึึง ปราศจากการเลืือกปฏิิบััติิ ดัังคำำกล่่าวที่่�ว่่า “สัังคมเป็็นธรรมทุุกคนเท่่าเทีียม”ซึ่่�งทุุกคน ต้้องปฏิิบััติิตนอยู่่ในหลัักนิิติิธรรมและอยู่่ภายใต้้กฎหมายเดีียวกััน ขอให้้คณะผู้้บริิหารสภาทนายความและทนายความ ทุุกท่่านประสบความสำำเร็็จและเจริิญก้้าวหน้้าในหน้้าที่่�การงานยิ่่� งๆ ขึ้้�นไป สาร พันตำารวจเอกทวี สอดส่อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม สภานายกพิเศษแห่งสภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ พัันตำำรวจเอก (ทวีี สอดส่่อง) รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงยุุติิธรรม ในฐานะสภานายกพิิเศษแห่่งสภาทนายความ ในพระบรมราชููปถััมภ์์ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 7
นายอนุทิน ชาญวีรกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สภานายกพิเศษแห่งสภาวิศวกร และสภาสถาปนิก การรวมตััวของสภาวิิชาชีีพ จำำนวน ๑๑ แห่่ง จนเติิบใหญ่่เป็็นสมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทยสะท้้อนความรักัความสามััคคีีของวงการวิิชาชีีพในการผนึึก พลัังความร่่วมมืือเพื่่�อแลกเปลี่่�ยนองค์์ความรู้้เพื่่�อสร้้างสรรค์์กิิจกรรมอันัเป็นปร ็ ะโยชน์ต่์ ่อ สัังคมโดยรวม ถึึงแม้ว่้่าจะมีีวิิชาชีีพที่่�แตกต่่างกัันแต่่ทิิศทาง และเป้้าหมายสอดคล้้องกััน ดัังนั้้� นความร่่วมมืือระหว่่างสภาวิิชาชีีพนัับเป็็นแบบอย่่างที่่�ดีีแก่่หน่่วยงานภาคส่่วนอื่่�น สภาวิิชาชีีพจะมีีบทบาทสำำคััญยิ่่� งในการให้้คำำแนะนำำ ความช่่วยเหลืือแก่่ ประชาชนและสัังคมในเรื่่�องที่่�เกี่่�ยวกัับงานทางวิิชาชีีพนั้้�น ๆ ตลอดจนสนัับสนุุนให้้ ผู้้ประกอบวิิชาชีีพตระหนัักถึึงจรรยาบรรณ และเกีียรติิศัักดิ์์�แห่่งวิิชาชีีพในความ รัับผิิดชอบต่่อสัังคมโดยคำำนึึงถึึงความปลอดภััยต่่อสิ่่� งแวดล้้อม สัังคม และประชาชน เป็็นสำำคััญ สุุดท้้ายนี้้� ผมขออาราธนาคุุณพระศรีีรัตนตรััยและสิ่่ง�ศักดิ์์ ั� สิิทธิ์์ที่่ � �ทุกทุ่่านเคารพนัับถืือ ได้้โปรดปกป้้องคุ้้มครอง ทุุกท่่านให้้ประสบแต่่ความสุุข และประสบความสำำเร็็จในการดำำเนิินงานตามวััตถุุประสงค์์ และขอขอบคุุณผู้้เกี่่�ยวข้้อง ทุุกฝ่่ายที่่�ได้้ปฏิิบััติิหน้้าที่่�ด้้วยความทุ่่มเทและเสีียสละ เพื่่�อให้้เกิิดประโยชน์์แก่่วิิชาชีีพต่่าง ๆ ยึึดมั่่� นในการปฏิิบััติิหน้้าที่่� ด้้วยความถููกต้้อง โปร่่งใส และคำำนึึงถึึงประโยชน์์ของสมาชิกิในวิิชาชีีพตนเป็น็หลััก เพื่่�อพััฒนาผู้้ประกอบวิิชาชีีพให้้เกิิด ประโยชน์์สููงสุุดต่่อสัังคมและสาธารณะ มีีมาตรฐานทััดเทีียมระดัับสากลต่่อไป สาร (นายอนุุทิิน ชาญวีีรกููล) รองนายกรััฐมนตรีี รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะสภานายกพิิเศษแห่่งสภาวิิศวกร และสภาสถาปนิิก สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 8
สาร ร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สภานายกพิเศษแห่งสัตวแพทยสภา สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทยถืือกำำเนิิดในปีี พ.ศ. 2548 มีีหน้้าที่่�ตาม กฎหมายในการออกใบอนุุญาตประกอบวิิชาชีีพและควบคุุมการประกอบวิิชาชีีพ โดย การรวมตััวกัันของสภาวิิชาชีีพในประเทศไทย ปััจจุุบัันมีีสมาชิิก 11 สภาวิิชาชีีพ ได้้แก่่ แพทยสภา สภาการพยาบาล สภาทนายความ ในพระบรมราชููปถััมภ์์ สภาเภสััชกรรม ทัันตแพทยสภา สภาวิิศวกร สภาสถาปนิิก สััตวแพทยสภา สภาเทคนิิคการแพทย์์ สภากายภาพบำำบััด และสภาวิิซาชีีพบััญชีี ในพระบรมราชููปถััมภ์์ สำำ นัักงานสััตวแพทยสภา ในฐานะสมาชิิกได้้ดำำเนิินงานตามวััตถุุประสงค์์ของ สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทยมาอย่่างดีีโดยตลอด ด้้วยการพััฒนาวิิชาชีีพการ สััตวแพทย์์ให้้มีีคุุณภาพ พััฒนาระบบการบริิหารจััดการองค์์กรอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ คุ้้มครองผู้้บริิโภคและส่่งเสริิม การประกอบวิิชาชีีพให้้เป็็นไปตามมาตรฐานและมีีความเป็็นธรรม สร้้างการมีีส่่วนร่่วมเพื่่�อสนัับสนุุนสมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทยให้้สามารถขัับเคลื่่�อนการดำำเนิินงานได้้อย่่างต่่อเนื่่�อง ตามบทบาทและหน้้าที่่�หลัักของ สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย ที่่�เป็นกล็ ไกกลางในระดัับผู้้บริิหารในการแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้ และถ่่ายทอดบทเรีียน จากประสบการณ์์การดำำเนิินงานของแต่่ละองค์์กรให้้มีีประสิิทธิิภาพมากขึ้้�น นำำ ไปสู่่การพััฒนาสภาวิิชาชีีพให้้มีีความ เข้้มแข็็ง มั่่น�คง รวมถึงึการยกระดัับความสามารถของผู้้ประกอบวิิชาชีีพในประเทศไทยให้มีีปร ้ะสิิทธิิภาพและมีีมาตรฐาน ในระดัับสากล โดยอยู่่บนพื้้�นฐานของจริิยธรรมและจรรยาบรรณของผู้้ประกอบวิิชาชีีพ นอกจากนี้ ้� ยัังส่่งเสริิมในเรื่่�อง ของการจััดกิิจกรรม และสร้้างความร่่วมมืือระหว่่างสภาวิิชาชีีพเพื่่�อสิ่่� งสำำคััญที่่�สุุด คืือ ประโยชน์์สุุขของประชาชน ผมขอแสดงความชื่่�นชมยิินดีี และขอบคุุณในการทำำงานของสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทยที่่�ดำำเนิิน งานอย่่างดีีเสมอมา ขอส่่งความปรารถนาดีีมายัังบุุคลากรทุุกท่่านขอให้้มีีกำำลัังกาย กำำลัังใจที่่�แข็็งแรง มุ่่งมั่่� นปฏิิบััติิ หน้้าที่่�ที่่�ได้้รัับมอบหมายอย่่างเต็็มกำำลัังความสามารถ นำำ มาซึ่่�งประโยชน์์แก่่ประชาชนและประเทศชาติิสืืบไป ร้้อยเอก (ธรรมนััส พรหมเผ่่า) รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ในฐานะสภานายกพิิเศษแห่่งสััตวแพทยสภา สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 9
นายภูมิธรรม เวชยชัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ สภานายกพิเศษแห่งสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ เนื่่�องในโอกาสที่่�สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย ซึ่่�งเป็็นการรวมตััว กัันของสภาวิิชาชีีพในประเทศไทยที่่�จััดตั้้�งขึ้้�นโดยพระราชบััญญััติิและมีีหน้้าที่่�ตาม กฎหมายในการออกใบอนุุญาตประกอบวิิชาชีีพและควบคุุมการประกอบวิิชาชีีพ ทั้้� ง 11 สภาวิิชาชีีพ เพื่่�อร่่วมกัันขัับเคลื่่�อน ส่่งเสริิมพััฒนา และยกระดัับความสามารถของ ผู้้ประกอบวิิชาชีีพในประเทศไทยให้้มีีคุุณภาพ มีีมาตรฐานในระดัับสากล ตลอดจนส่่ง เสริิมกิิจกรรม จริิยธรรม คุุณธรรม และความร่่วมมืือระหว่่างสภาวิิชาชีีพเพื่่�อประโยชน์์ สุุขของสาธารณชน ได้้มีีมติิให้จั้ ัดทำำ หนัังสืือรวบรวมประวััติิความเป็น็มาและการดำำเนินิ การของแต่่ละสภาวิิชาชีีพตั้้� งแต่่เริ่่ม�ก่่อตั้้� งจนถึึงปััจจุุบันั เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้ให้้แก่่ผู้้สนใจ และผู้้ประกอบวิิชาชีีพได้้ศึึกษาค้้นคว้้าข้้อมููลนั้้� น ในฐานะรััฐมนตรีีรักัษาการตามพระราชบััญญััติิวิิชาชีีพบััญชีีพ.ศ. 2547 มีีหน้้าที่่�ในการกำำกัับดููแลสภาวิิชาชีีพ บััญชีี ซึ่่�งวิิชาชีีพบััญชีีถืือเป็็นวิิชาชีีพหนึ่�่งที่่�สำำคััญต่่อระบบเศรษฐกิิจของประเทศไทย ที่่�ผ่่านมาการปฏิิบััติิงานของ ผู้้ประกอบวิิชาชีีพบััญชีีได้้รัับความคาดหวัังจากสัังคมว่่ามีีส่่วนช่่วยสร้้างความน่่าเชื่่�อถืือและเชื่่�อมั่่� นให้้แก่่นัักลงทุุน ทั้้� งในประเทศและต่่างประเทศว่่า ข้้อมููลทางการเงิินของธุุรกิิจมีีคุุณภาพ สะท้้อนข้้อมููลทางการเงิินของประเทศ มีีส่่วน ช่่วยให้้การขัับเคลื่่�อนระบบเศรษฐกิิจของประเทศเดิินไปในทิิศทางที่่�ถููกต้้อง สภาวิิชาชีีพบััญชีี ในพระบรมราชููปถััมภ์์ ถืือเป็็นศููนย์์กลางของผู้้ประกอบวิิชาชีีพบััญชีีกว่่า 90,000 คน และ นัับตั้้� งแต่่วัันสถาปนาสภาวิิชาชีีพบััญชีี เมื่่�อวัันที่่� 23 ตุุลาคม 2547 เป็็นต้้นมา คณะกรรมการของสภาวิิชาชีีพบััญชีี ได้้ มีีการสร้้างและพััฒนามาตรฐานทางวิิชาชีีพบััญชีีของประเทศไทยให้้ทััดเทีียมสากล เป็็นที่่�ยอมรัับทั้้� งภายในประเทศ และต่่างประเทศ ตลอดจนได้้ส่่งเสริิมและกำำกัับดููแลให้้ผู้้ประกอบวิิชาชีีพบััญชีีมีีจรรยาบรรณ เพื่่�อความเป็น็ผู้้ประกอบ วิิชาชีีพบััญชีีมืืออาชีีพ สามารถเป็น็เพื่่�อนคู่่คิิดให้กั้ ับธุุรกิิจ ไม่ว่่าจะเป็นธุ็ุรกิิจขนาดเล็็ก ขนาดกลาง หรืือขนาดใหญ่่ ที่่�จะ ปฏิิบััติิตามกฎหมายได้้อย่่างถููกต้้อง ครบถ้้วน และประกอบธุุรกิิจอย่่างมีีธรรมาภิิบาล ในนามของกระทรวงพาณิิชย์์ ผมขอชื่่�นชมสภาวิิชาชีีพบััญชีีที่่�ได้้ทำำหน้้าที่่�ส่่งเสริิมและพััฒนาวิิชาชีีพบััญชีี ภายใต้้กรอบอำำนาจหน้้าที่่� และเป็นตั็ ัวแทนของผู้้ประกอบวิิชาชีีพบััญชีีตลอดจนดำำเนินกิารร่่วมมืือกัับตััวแทนวิิชาชีีพ อื่่�นอีีก 10 แห่่ง เพื่่�อร่่วมกัันพััฒนา ส่่งเสริิมและยกระดัับผู้้ประกอบวิิชาชีีพในประเทศไทยให้้มีีมาตรฐานเป็็นที่่�ยอมรัับ อัันจะเป็็นผลดีีต่่อการพััฒนาธุุรกิิจในประเทศไทยให้้มีีมาตรฐานควบคู่่ไปพร้้อมกััน สาร (นายภููมิิธรรม เวชยชััย) รองนายกรััฐมนตรีี และรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงพาณิิชย์์ ในฐานะสภานายกพิิเศษแห่่งสภาวิิชาชีีพบััญชีี ในพระบรมราชููปถััมภ์์ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 10
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงสมศรี เผ่าสวัสดิ์ นายกแพทยสภา ได้้มีีโอกาสรัับทราบและรู้้จัักองค์์กร “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีพี แห่่งประเทศไทย” เมื่่�อได้้รัับตำำแหน่่ง “นายกแพทยสภา” เมื่่�อเดืือนมกราคม พ.ศ.2562 เนื่่�องจากได้้รัับ จดหมายเชิิญจากสมาพัันธ์์ฯ ไปเข้้าร่่วมประชุุมในฐานะผู้้แทนแพทยสภา ซึ่่�งจะมีีการ ประชุุมกัันเป็็นประจำำทุุกเดืือนเว้้นเดืือน จึึงได้้ศึึกษาถึึงความเป็็นมาขององค์์กรนี้้� ซึ่่�ง ทุุกท่่านจะทราบได้้จากบทความซึ่่�งมีีบัันทึึกอยู่่ในหนัังสืือเล่่มนี้้� ถึึงความเป็็นมาของการ ก่่อตั้้� งองค์์กรสภาวิิชาชีีพแห่่งนี้้� เริ่่�มเข้้ามาเป็็นกรรมการของสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งนี้้�ในฐานะนายก แพทยสภา ในปีี พ.ศ. 2562 ทราบว่่าได้้มีีการรวมตััวของ 11 สภาวิิชาชีีพในประเทศไทย และเรีียงลำำดัับสมาชิิกตามการกำำเนิิดก่่อนหลััง “แพทยสภา” มีีกำำเนิิดก่่อนเพื่่�อนจึึงเป็็นพี่่�ใหญ่่ ตามมาด้้วย “สภาการ พยาบาล” อันดัับสอง จนถึง “ึสภาวิิชาชีีพบััญชีีฯ” ซึ่่งเ�ป็นส็ภาวิิชาชีีพที่่�เกิิดตามมาเป็นอั็นดัับที่่� 11 กรรมการจะเปลี่่�ยนไป ตามวาระกรรมการสภาวิิชาชีีพแต่่ละสภา สำำหรัับตนเองเป็นกรร็มการมาแล้้วเป็นปี็ ที่่� 5 วาระที่่� 3 (2562 - 2563, 2564 - 2565, 2566 - 2567) ผลััดกัันเป็็นประธานสภาคราวละ 6 เดืือน (3 ครั้้� ง) หมุุนเวีียนกัันไป ได้้ร่่วมกัันคิิดและพิิจารณา ถึึงผลกระทบ ปััญหา และข้้อเสนอแนะต่่างๆ ทั้้� งด้้านวิิชาการและด้้านบริิหารของสภาวิิชาชีีพที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับแต่่ละสภา เพื่่�อให้้อนุุชนรุ่่นหลัังได้้ทราบถึึงความเป็็นมาของการก่่อตั้้� งสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพทั้้� ง 11 องค์์กรของเราและ ผลงานต่่าง ๆ ที่่�ร่่วมกัันดำำเนิินการมา กรรมการสภาวิิชาชีีพรุ่่นปีี พ.ศ.2566 นี้้� จึึงได้้มีีมติิร่่วมกัันให้้จััดทำำ หนัังสืือเพื่่�อ บอกเล่่าให้้สมาชิิกรุ่่นหลัังได้้ทราบถึึงความเป็็นมาขององค์์กรสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ และผู้้บริิหารองค์์กรรุ่่นต่่อ ๆ ไปได้้ รัับทราบ เพื่่�อสืืบทอดเจตนารมณ์์ต่่อไป ในนามของแพทยสภา หวัังเป็น็อย่่างยิ่่ง�ว่่า “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย” องค์กรนี้์ ้�จะพััฒนาก้้าวหน้้า เป็็นที่่�รวมพลัังของสภาวิิชาชีีพที่่�จะต้้องก้้าวเดิินต่่อไปในอนาคต สาร (ศาสตราจารย์์เกีียรติิคุุณแพทย์์หญิิงสมศรีี เผ่่าสวััสดิ์์� ) นายกแพทยสภา (วาระ 2562-2567) สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 11
สาร รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ นายกสภาการพยาบาล “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย” ได้้จััดตั้้� งขึ้้�นเมื่่�อวัันที่่� 13 พฤศจิิกายน 2548 โดยนายกสภาวิิชาชีีพ 8 วิิชาชีีพ ได้้แก่่ แพทยสภา สภาการพยาบาล สภา เภสััชกรรม ทัันตแพทยสภา สภาวิิศวกร สภาสถาปนิิก สภาเทคนิิคการแพทย์์ และ สภากายภาพบำำบััด ต่่อมามีีสมาชิิกเพิ่่� มขึ้้�นอีีก 3 องค์์กร ได้้แก่่ สภาทนายความ ในพระบรมราชููปถััมภ์์ สััตวแพทยสภา และสภาวิิชาชีีพบััญชีี ในพระบรมราชููปถััมภ์์ รวมเป็็น 11 สภาวิิชาชีีพ และในวัันที่่� 24 ธันั วาคม 2562 ได้้ลงนาม “บัันทึึกข้้อตกลง ความร่่วมมืือสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย” เพื่่�อใช้้เป็็นกรอบในการปฏิิบััติิ ภารกิิจต่่าง ๆ ร่่วมกััน “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย” มีีชื่่�อย่่อว่่า “สสว.” ชื่่�อ ภาษาอัังกฤษ “The Confederation of Thai Professional Council” ชื่่�อย่่อ “CTPC” มีี สััญญลักัษณ์์เป็นรููป ็ทรง 3 เหลี่่�ยม สื่่�อถึง 3 ึ กลุ่่มวิิชาชีีพ ได้้แก่่ กลุ่่มวิิชาชีีพสุุขภาพกลุ่่มกายภาพ และกลุ่่มสัังคม โดยภายใน 3 เหลี่่�ยม ประกอบด้้วยรููปทรงย่่อย 11 รููปทรงหมายถึึง 11 สภาวิิชาชีีพ มีี “คณะกรรมการบริิหาร” ซึ่่�งประกอบด้้วย ผู้้บริิหารสููงสุุดของแต่่ละสภาวิิชาชีีพ ประธานกรรมการบริิหารแต่่งตั้้� งตามมติิที่่�ประชุุม มีีกำำหนดวาระคราวละ 6 เดืือน เรีียงตามลำำดัับการจััดตั้้�งสภาวิิชาชีีพ และมีีสำำ นัักงานเลขาธิิการตั้้�งอยู่่ ณ อาคารนคริินทรศรีีสภาการพยาบาล เลขาธิกิาร 1 คน มาจากการแต่่งตั้้� งของนายกสภาการพยาบาลตามวาระ ประชุุมร่่วมกัันอย่่างสม่ำ ำ เสมอปีีละ 6 ครั้้� ง วััตถุุประสงค์์สำำคััญของการรวมตััวเป็็น “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย” เพื่่�อส่่งเสริิมกิิจกรรมและ ความร่่วมมืือระหว่่างสภาวิิชาชีีพในการบริิการสัังคมอย่่างบููรณาการเพื่่�อประโยชน์์สุุขของประชาชน ยกระดัับความ สามารถของผู้้ประกอบวิิชาชีีพในประเทศไทยให้้มีีประสิิทธิิภาพและมีีมาตรฐานในระดัับสากล ส่่งเสริิม สนัับสนุุนการ ศึึกษาเพื่่�อการประกอบวิิชาชีีพให้มีีคุุ้ณภาพและมาตรฐาน ผดุุงเกีียรติิ ศักดิ์์ ั� ศรีีคุุณภาพ จริิยธรรมและจรรยาบรรณของ ผู้้ประกอบวิิชาชีีพ รวมทั้้� งเป็็นผู้้แทนของสภาวิิชาชีีพในการเจรจาและประสานความร่่วมมืือกัับองค์์กรต่่าง ๆ ของภาค รััฐ และเอกชนทั้้� งในและต่่างประเทศ ทั้้� งนี้้�เพื่่�อประโยชน์์ของสัังคมและประเทศชาติิเป็็นสำำคััญ “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพรวมใจสู้้ภััยโควิิด-19” เป็็นตััวอย่่างโครงการที่่� 11 สภาวิิชาชีีพร่่วมมืือกัันระดมกำำลััง ในแต่่ละวิิชาชีีพสู้้ภััยโควิิดในส่่วนที่่�สามารถปฏิิบััติิได้้ในด้้านการให้ข้้อมููลและให้คำ้ ำปรึึกษา การฉีีดวััคซีีน การจััดเตรีียม โรงพยาบาล/โรงพยาบาลสนาม ดััดแปลงอาคาร ห้้องความดัันลบ เครื่่�องช่่วยหายใจ ปััญญาประดิิษฐ์์ รวมถึึงการบริิหาร จััดการพื้้�นที่่�ให้้ปลอดภััย ฯลฯ ในนามนายกสภาการพยาบาล รู้้สึึกตระหนัักในคุุณค่่าความร่่วมมืือซึ่่�งกัันและกัันเพื่่�อ ประโยชน์์ในการแก้้ปััญหาประเทศชาติิและพััฒนาสัังคม ขอให้้ “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย” มีีความเข้้ม แข็็ง มั่่� นคงสืืบไป (รองศาสตราจารย์์ ดร.สุุจิิตรา เหลืืองอมรเลิิศ) นายกสภาการพยาบาล (วาระ 2565 -2569) The Confederation of Thai Professional Councils สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย 11 สาร รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ นายกสภาการพยาบาล ……………………………………. “สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย” ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2548 โดยนายกสภา วิชาชีพ 8 วิชาชีพ ได้แก่ แพทยสภา สภาการพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา สภาวิศวกร สภาสถาปนิก สภา เทคนิคการแพทย์ และสภากายภาพบ าบัด ต่อมามีสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก 3 องค์กร ได้แก่ สภาทนายความในพระบรม ราชูปถัมภ์สัตวแพทยสภา และสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ รวมเป็น 11 สภาวิชาชีพ และในวันที่ 24 ธันวาคม 2562 ได้ลงนาม “บันทึกข้อตกลงความร่วมมือสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย” เพื่อใช้เป็นกรอบในการ ปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ร่วมกัน “สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย” มีชื่อย่อว่า “สสว.” ชื่อภาษาอังกฤษ “The Confederation of Thai Professional Council” ชื่อย่อ “CTPC” มีสัญญลักษณ์เป็นรูปทรง 3 เหลี่ยม สื่อถึง 3 กลุ่มวิชาชีพ ได้แก่ กลุ่มวิชาชีพสุขภาพ กลุ่มกายภาพ และกลุ่มสังคม โดยภายใน 3 เหลี่ยม ประกอบด้วยรูปทรง ย่อย 11 รูปทรงหมายถึง 11 สภาวิชาชีพ มี “คณะกรรมการบริหาร” ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารสูงสุดของแต่ละ สภาวิชาชีพ ประธานกรรมการบริหารแต่งตั้งตามมติที่ประชุม มีก าหนดวาระคราวละ 6 เดือน เรียงตามล าดับการจัดตั้ง สภาวิชาชีพ และมีส านักงานเลขาธิการตั้งอยู่ ณ อาคารนครินทรศรี สภาการพยาบาล เลขาธิการ 1 คน มาจาก การแต่งตั้งของนายกสภาการพยาบาลตามวาระ ประชุมร่วมกันอย่างสม่ าเสมอปีละ 6 ครั้ง วัตถุประสงค์ส าคัญของการรวมตัวเป็น “สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย” เพื่อส่งเสริม กิจกรรมและความร่วมมือระหว่างสภาวิชาชีพในการบริการสังคมอย่างบูรณาการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ยกระดับความสามารถของผู้ประกอบวิชาชีพในประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพและมีมาตรฐานในระดับสากล ส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ผดุงเกียรติ ศักดิ์ศรี คุณภาพ จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพ รวมทั้งเป็นผู้แทนของสภาวิชาชีพในการเจรจาและประสานความ ร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ของภาครัฐ และเอกชนทั้งในและต่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ของสังคมและประเทศชาติ เป็นส าคัญ “ สมาพันธ์สภาวิชาชีพรวมใจสู้ภัยโควิด-19” เป็นตัวอย่างโครงการที่ 11 สภาวิชาชีพร่วมมือกันระดม ก าลังในแต่ละวิชาชีพสู้ภัยโควิดในส่วนที่สามารถปฏิบัติได้ในด้านการให้ข้อมูลและให้ค าปรึกษา การฉีดวัคซีน การ จัดเตรียม โรงพยาบาล/โรงพยาบาลสนาม ดัดแปลงอาคาร ห้องความดันลบ เครื่องช่วยหายใจ ปัญญาประดิษฐ์รวมถึงการ บริหารจัดการ พื้นที่ให้ปลอดภัยฯลฯ ในนามนายกสภาการพยาบาล รู้สึกตระหนักในคุณค่าความร่วมมือซึ่งกันและกัน เพื่อประโยชน์ในการแก้ปัญหาประเทศชาติและพัฒนาสังคม ขอให้ “สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย”มีความ เข้มแข็ง มั่นคงสืบไป (รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ) นายกสภาการพยาบาล (วาระ 2565 -2569) สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 12
สาร ดร.วิเชียร ชุบไธสง นายกสภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ พระราชบััญญััติิทนายความ พ.ศ.2528 ก่่อตั้้� งสภาทนายความขึ้้นนั้้�น� จนปััจจุบัุนั เป็็นเวลา 38 ปีี มีีวััตถุุประสงค์์ตาม มาตรา 7 และในการทำำหน้้าที่่�ให้้ความช่่วยเหลืือทาง ด้้านกฎหมายแก่่ประชาชน สะท้้อนให้้เห็็นได้้อย่่างชััดเจนว่่า ทนายความถืือเป็็นวิิชาชีีพ หนึ่�่งที่่�สำำคััญในกระบวนการยุุติิธรรมที่่�จะช่่วยให้้ “สัังคมที่่�เป็็นธรรม” (Just society) สัังคมที่่�อยู่่บนพื้้�นฐานของการให้้ความเคารพต่่อศัักดิ์์� ศรีีความเป็็นมนุุษย์์ สิิทธิิ เสรีีภาพ และความเสมอภาคเท่่าเทีียมกัันของผู้้คนในสัังคมโดยการให้้ความช่่วยเหลืือ ประชาชนให้ส้ามารถเข้้าถึึงกระบวนการยุุติิธรรมซึ่่�งเป็นสิ็ ิทธิขั้้ ินพื้้� �นฐาน (Fundamental right) ที่่�รััฐธรรมนููญรัับรองและคุ้้มครองได้้อย่่างทั่่� วถึึงและมีีประสิิทธิิภาพ สัังคมที่่�อยู่่บนหลัักของหลัักนิิติิธรรม (Rule of Law) การนำำพาให้้สัังคมไทยก้้าวพ้้นวิิกฤตการณ์์ทางกฎหมาย ประชาชนให้้ความเชื่่�อมั่่� นศรััทธาต่่อกระบวนการยุุติิธรรม ซึ่่�งเป็็นปััจจััยพื้้�นฐานของการพััฒนาประเทศ การสร้้างหลััก นิิติิธรรมให้้มีีความเข้้มแข็็ง จึึงเป็็นสิ่่� งจำำเป็็นอย่่างยิ่่� ง ทั้้� งนี้้� ทนายความ และองค์์กรสภาทนายความ จะเป็็นกลไกสำำคััญ ที่่�สามารถฟื้้�นฟููให้้กระบวนการยุุติิธรรมไทยกลัับมาแสดงบทบาทหน้้าที่่�คอยพิิทัักษ์์รัักษาสิิทธิิเสรีีภาพและความเสมอ ภาคของประชาชนตามครรลองประชาธิปิ ไตยผ่่านการบัังคัับใช้ตั้ ัวบทกฎหมายด้้วยความยุุติิธรรม มีีประสิิทธิิภาพอย่่าง ทั่่� วถึึงและยั่่� งยืืน เนื่่�องในโอกาสพิิเศษสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ จึึงขอร่่วมแสดงความยิินดีีและอำำนวยพรให้้สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ จงประสบความสำำเร็็จตามเจตนารมณ์์และวััตถุุประสงค์์ พร้้อมกัันนี้้� สภาทนายความจะร่่วมทำำหน้้าที่่�เป็็น “เสาหลััก ของสัังคม” ในการช่่วยเหลืือประชาชนทางกฎหมาย อำำนวยความยุุติิธรรมให้้เกิิดขึ้้�นในสัังคมไทยอย่่างเป็็นรููปธรรม ตามเจตนารมณ์์แห่่งรััฐธรรมนููญและหลัักนิิติิธรรมต่่อไป (ดร.วิิเชีียร ชุุบไธสง) นายกสภาทนายความ ในพระบรมราชููปถััมภ์์ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 13
กว่่า 10 ปีที่่ผ่�่านมาสภาวิิชาชีีพต่่างๆ ได้มีีก้ารประชุุมร่่วมกันัเพื่่�อเสนอความเห็น็ ร่่วมในเรื่่�องต่่าง ๆ ทั้้� งทางสัังคมทางการแพทย์์และสาธารณสุุขเสนอหน่่วยงานต่่าง ๆ ที่่� เกี่่�ยวข้้อง เป็นจุ็ุดเริ่่ม�ต้้นให้มีีก้ารประสานรวมตััวกัันเพื่่�อแลกเปลี่่�ยนข้้อมููลความเห็น็เพื่่�อ ประสานร่่วมมืือในการทำำงานระหว่่างวิิชาชีีพมากขึ้้�น โดยเริ่่� มจากกลุ่่มสภาวิิชาชีีพด้้าน สุุขภาพ (แพทย์์ เภสััชกร ทัันตแพทย์์ พยาบาล เทคนิิคการแพทย์์ และกายภาพบำำบััด) และต่่อมาได้้ขยายเป็นก็ารจััดตั้้� งสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ (สภาวิิชาชีีพด้้านสุุขภาพ ร่่วมกัับ สภาวิิชาชีีพอื่่�น ๆ ทั้้� ง วิิศวะ สถาปััตย์์ ทนายความ บััญชีี และสััตว์์แพทย์์) ในปีีนี้้�เป็็นวาระพิิเศษที่่�ทางสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ ได้้ร่่วมกัันจััดทำำ หนัังสืือที่่� ระลึึกแห่่งการประสานทำำงานร่่วมกัันระหว่่างสภาวิิชาชีีพต่่าง ๆ ในนามของสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ จึึงขอร่่วมแสดงความ ยินดีี ิ ในโอกาสพิิเศษนี้้� และต่่อความพยายามในการประสานความร่่วมมืือกัันในหมู่่สภาวิิชาชีีพในประเทศไทย เพื่่�อร่่วม กัันสร้้างความเข้้าใจในประเด็็นปััญหาต่่าง ๆ ที่่�เกี่่�ยวเนื่่�องกัับการประกอบวิิชาชีีพ รวมถึึงหาข้้อเสนอร่่วมกัันเพื่่�อเสนอ ความเห็็นต่่าง ๆ ในนามสภาวิิชาชีีพ เพื่่�อประโยชน์์ของประชาชนและสัังคมมาอย่่างต่่อเนื่่�อง การตั้้� งสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ ก่่อให้้เกิิดความเข้้าใจในการดำำเนินกิารในการประกอบวิิชาชีีพในสาขาต่่าง ๆ ร่่วม กันัแลกเปลี่่�ยนสร้้างความเข้้าใจและแก้้ไขประเด็็นปััญหาระหว่่างวิิชาชีีพในบางประเด็็นการร่่วมกันปรัับการดำำเนินกิาร ของแต่่ละสภาวิิชาชีีพให้้เป็น็มาตรฐานมากขึ้้�น นำำเสนอประเด็็นปััญหาที่่�เกิิดในแต่่ละวิิชาชีีพ การดำำเนินกิารใหม่่ ๆ ของ แต่่ละวิิชาชีีพเพื่่�อการเรีียนรู้้ร่่วมกััน การได้้มีีโอกาสแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้ระหว่่างวิิชาชีีพ โดยมิิตรภาพและความเข้้าใจที่่� กำลัำ ังงอกงามของสภาวิิชาชีีพต่่าง ๆ เป็นหั็ ัวใจสำคัำ ัญอีีกประการ ในหมู่่ผู้้ประกอบวิิชาชีีพสาขาต่่าง ๆ และจะเป็นพื้้ ็ �นฐาน ที่่�แข็็งแกร่่งสำำหรัับการต่่อยอดความร่่วมมืืออีีกหลากหลายสาขาในอนาคต อัันจะเอื้้�อประโยชน์์ในการทำำงานร่่วมกััน ระหว่่างวิิชาชีีพ และเอื้้�อประโยชน์์ต่่อประชาชนและประเทศสืืบไป ท้้ายที่่�สุุดนี้้� ขอแสดงความชื่่�นชมยิินดีีกัับทุุกสภาวิิชาชีีพ ที่่�ได้้ร่่วมสร้้างความร่่วมมืือในนามของสมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพ และในวาระพิิเศษนี้ ้�ที่่�ได้้จััดทำำ หนัังสืือที่่�ระลึึกแห่่งความร่่วมมืือนี้ ้�ขึ้้�น และหวัังว่่าความร่่วมมืือนี้้�จะมีีความ เข้้มแข็็งมากขึ้้�นต่่อไปอย่่างยั่่� งยืืน รองศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ นายกสภาเภสัชกรรม สาร (รองศาสตราจารย์์พิิเศษ เภสััชกรกิิตติิ พิิทัักษ์์นิิติินัันท์์) นายกสภาเภสััชกรรม สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 14
สาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ดร.สุชิต พูลทอง นายกทันตแพทยสภา สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย ได้้ก่่อตั้้� งจากการรวมตััวของสภาวิิชาชีีพ หลายๆ สภาวิิชาชีีพ โดยมีีวััตถุปรุะสงค์์ เพื่่�อมีีส่่วนร่่วมในการพััฒนาประเทศ โดยการให้้ ข้้อเสนอแนะแก่่องค์์กรรััฐ เอกชน ในด้้านการประกอบวิิชาชีีพ เพื่่�อสาธารณประโยชน์์ ส่่งเสริิมจริิยธรรม คุุณธรรมผู้้ประกอบวิิชาชีีพในสายงานวิิชาชีีพ ซึ่่�งที่่�ผ่่านมามีีสภา วิิชาชีีพต่่าง ๆ เข้้าร่่วมเพิ่่� มขึ้้�นถึึง 11 สภาวิิชาชีีพ ทัันตแพทยสภา เข้้าร่่วมอยู่่ในสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย โดย ถืือกำำเนิิดมาเพื่่�อดููแลและสร้้างความก้้าวหน้้าให้้แก่่วิิชาชีีพทัันตกรรม ตามพระราช บััญญััติิวิิชาชีีพทัันตกรรม พ.ศ. 2537 โดยได้้ถืือกำำเนิิดเกิิดตามสภาวิิชาชีีพอื่่�นๆ โดยมีี วััตถุุประสงค์์เฉพาะด้้านการคุ้้มครองประชาชนด้้านการบริิการทัันตกรรม ครอบคลุุมถึึงการส่่งเสริิมป้้องกััน การรัักษา และการฟื้้�นฟููสภาพที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับฟัันและช่่องปาก ด้้วยเทคโนโลยีีทางการแพทย์์ที่่�ก้้าวหน้้าขึ้้�น ทำำ ให้้การดููแลสุุขภาพ ประชาชนปรัับเปลี่่�ยนจากการรัักษาโรคติิดต่่อเป็็นการรัักษาโรคไม่่ติิดต่่อมากขึ้้�น เพื่่�อให้้เกิิดผลลััพธ์์ที่่�ดีีในการดููแล สุุขภาพ ขั้้� นตอนการส่่งเสริิม ป้้องกััน รัักษาควรดำำเนิินการเป็็นองค์์รวมเป็็นที่่�ยอมรัับกัันในทางวิิชาการว่่าสุุขภาพที่่�ดีี ของประชาชนในอนาคตที่่�เทคโนโลยีี Disruption จะเกิิดขึ้้�นได้้จากการถัักทอระบบบริิการ การแลกเปลี่่�ยนข้้อมููล ผู้้ป่่วยข้้ามศาสตร์์ทางการแพทย์์ ต้้องใช้้ความร่่วมแรงร่่วมใจของทุกวิุิชาชีีพที่่�เกี่่�ยวข้้อง ที่่�จะต้้องพััฒนาคุุณภาพบุุคลากร พััฒนาระบบบริิการ สร้้างมาตรฐานให้้การบริิการของประเทศเป็็นที่่�ยอมรัับในระดัับสากลร่่วมกััน ประสบการณ์์ใน การทำำงานของทุุกสภาวิิชาชีีพ จะเป็็นประโยชน์์อย่่างยิ่่� ง ที่่�จะนำำมาแบ่่งปัันและแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้กััน เพื่่�อพััฒนาและ ต่่อยอดกัันในแต่่ละวิิชาชีีพ สนัับสนุุนให้้วงการสาธารณสุุขของประเทศไทยก้้าวหน้้าอย่่างก้้าวกระโดด และด้้วยเหตุุนี้้� การมีีสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ จึึงเป็็นเรื่่�องที่่�สำำคััญ การรวมกัันเป็็นองค์์กรขนาดใหญ่่ จะทำำ ให้้สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ เข้้มแข็็งเป็็นปึึกแผ่่น สามารถสนัับสนุุนในการให้้ข้้อคิิดเห็็นข้้อแนะนำำ ในเชิิงวิิชาชีีพได้้มากขึ้้�น และมีีส่่วนร่่วมในการ พััฒนาระบบบริิการร่่วมกัันเพื่่�อสุุขภาพของประชาชนไทย เนื่่�องในโอกาสครบรอบ 18 ปีี ของสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ จึึงเป็็นโอกาสอัันดีีที่่�ทางสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพจะได้้ ทำำ หนัังสืือขึ้้�นมาเพื่่�อเล่่าเรื่่�องราว และผลงานที่่�ผ่่านมา จากการรวมตััวกัันทำำงานของสมาชิิกสภาวิิชาชีีพเพื่่�อเป็็น ประโยชน์์ในการสร้้างความเข้้าใจของสมาชิิกทั้้� งในปััจจุุบัันและในอนาคต และในนามของทัันตแพทยสภา ยืืนยัันและ ยิินดีีให้้ความสนัับสนุุน ในการพััฒนาสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ ให้้เดิินหน้้าพััฒนาสุุขภาพของประเทศชาติิต่่อไป (ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ทัันตแพทย์์ ดร.สุุชิิต พููลทอง) นายกทัันตแพทยสภา สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 15
สาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกสภาวิศวกร สภาวิิศวกรมีีฐานะเป็็นสภาวิิชาชีีพที่่�จััดตั้้�งขึ้้�นตามพระราชบััญญััติิ วิิศวกร พ.ศ. 2542 ก่่อตั้้� งขึ้้�นเมื่่�อวัันที่่� 30 พฤศจิิกายน 2542 มีีภาระหน้้าที่่�สำำคััญ เกี่่�ยวกัับการออกใบอนุุญาตให้้แก่่ผู้้ประกอบวิิชาชีีพวิิศวกรรมควบคุุม การช่่วย เหลืือ แนะนำำ เผยแพร่่ และให้้บริิการทางด้้านวิิชาการต่่าง ๆ แก่่ประชาชน และ องค์กรอื่่ ์�นในเรื่่�องที่่�เกี่่�ยวกัับวิิทยาการและเทคโนโลยีีทางวิิศวกรรม รวมถึงึการให้้ คำำปรึึกษาหรืือข้้อเสนอแนะต่่อรััฐบาลเกี่่�ยวกัับนโยบายและปััญหาด้้านวิิศวกรรม รวมทั้้�งด้้านเทคโนโลยีี และมีีวััตถุุประสงค์์สำำคััญในการส่่งเสริิมการประกอบ วิิชาชีีพวิิศวกรรม การศึึกษาวิิจััยและควบคุุมการประกอบวิิชาชีีพวิิศวกรรม ตาม ที่่�กำำหนดไว้้ในพระราชบััญญััติิวิิศวกร พ.ศ. 2542 โดยมีีรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงมหาดไทยดำำรงตำำแหน่่ง สภานายกพิิเศษแห่่งสภาวิิศวกร ซึ่่�งตลอดระยะเวลาที่่�ผ่่านมาสภาวิิศวกรได้้ทุ่่มเทและตั้้�งใจทำำงานเพื่่�อให้้บรรลุุวััตถุุประสงค์์ตาม เจตนารมณ์์ของพระราชบััญญััติิวิิศวกรพ.ศ. 2542 โดยได้มีี ้ บทบาทในการให้คำ้ ำแนะนำำและให้้ความช่่วยเหลืือ แก่ปร ่ะชาชนและสัังคมในเรื่่�องที่่�เกี่่�ยวกัับงานทางด้้านวิิศวกรรมอย่่างสม่ำ ำ เสมอ ผลักดันั ให้้เกิิดการพััฒนาและ ปรัับปรุุงการดำำเนินิงานของสภาวิิศวกรเพื่่�อรองรัับการให้้บริกิารและอำำนวยความสะดวกให้้แก่ปร ่ะชาชนรวม ถึึงเป็็นการตอบสนองต่่อนโยบายภาครััฐในการให้้บริิการแก่่ประชาชนในรููปแบบออนไลน์์ มีีส่่วนร่่วมในการ ส่่งเสริิมความสามารถในการแข่่งขันด้ั ้านการให้้บริกิารวิิชาชีีพวิิศวกรรมข้้ามแดนรวมถึึงพยายามในการผลักั ดัันเพื่่�อเข้้าร่่วมเป็็นสมาชิิกถาวรของ Washington Accord อัันจะก่่อให้้เกิิดการยอมรัับในระดัับสากล และ เป็น็ภารกิิจต่่อเนื่่�องที่่�ทุกุภาคส่่วนที่่�เกี่่�ยวข้้องจะได้้ร่่วมกัันสนัับสนุนกุารดำำเนินกิารเพื่่�อให้้ภารกิิจสำำเร็็จลุุล่่วง ตามเป้้าหมายต่่อไป ทั้้� งนี้ ้� การดำำเนิินการดัังกล่่าวมีีหลายส่่วนที่่�มีีความเกี่่�ยวข้้องและจำำเป็็นต้้องได้้รัับความ ร่่วมมืือจากสภาวิิชาชีีพหลายแห่่งเพื่่�อให้้การดำำเนิินงานเป็็นไปด้้วยความเรีียบร้้อยและบรรลุุวััตถุุประสงค์์ สภาวิิศวกรเห็็นถึึงความสำำคััญของการร่่วมมืือกัันของสภาวิิชาชีีพต่่าง ๆ เพื่่�อให้้ความเห็็น แลก เปลี่่�ยนประสบการณ์์ในการดำำเนินิงานรวมถึงร่่วม ึกันผลักดันั ให้ส้ามารถดำำเนินิงานได้้บรรลุตุามวัตถุั ปรุะสงค์์ ที่่�กำำหนด จึึงมีีความยิินดีีและเป็็นเกีียรติิอย่่างยิ่่� งที่่�ได้้เข้้าร่่วมเป็็นส่่วนหนึ่�่งของสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพซึ่่�งเป็็น หน่่วยงานที่่�มีีบทบาทในการร่่วมมืือกันัของสภาวิิชาชีีพที่่�มีีความสำำคััญและเป็นกำ็ ำลัังหลักั ในแต่่ภาคส่่วนของ ประเทศ เพื่่�อประโยชน์์ในการพััฒนาให้้ประชาชน สัังคมและประเทศชาติิมีีความเจริิญก้้าวหน้้ายิ่่� งขึ้้�นต่่อไป (ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.ธเนศ วีีระศิิริิ) นายกสภาวิิศวกร The C Thai Profes สาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกสภาวิศวกร ……………………. สภาวิศวกรมีฐานะเป็นสภาวิชาชีพที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ วิศวกร พ.ศ. 2542 ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2542 มีภาระหน้าที่ส าคัญเกี่ยวกับการอผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม การช่วยเหลือ แนะน า เผยแพร่ และให้บริการทางด้านประชาชน และองค์กรอื่นในเรื่องที่เกี่ยวกับวิทยาการและเทคโนโลยีทางวิศวกรรม รวมถึงกาข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายและปัญหาด้านวิศวกรรมรวมทั้งด้านเทคโนโลยีและมีวัตการส่งเสริมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม การศึกษาวิจัยและควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกไว้ในพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยด ารงต าแหน่งสสภาวิศวกร ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาสภาวิศวกรได้ทุ่มเทและตั้งใจท างานเพื่อให้บรรลเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 โดยได้มีบทบาทในการให้ค าแนะน าและให้ประชาชนและสังคมในเรื่องที่เกี่ยวกับงานทางด้านวิศวกรรมอย่างสม่ าเสมอ ผลักดันให้เกิดการพการด าเนินงานของสภาวิศวกรเพื่อรองรับการให้บริการและอ านวยความสะดวกให้แก่ประชาตอบสนองต่อนโยบายภาครัฐในการให้บริการแก่ประชาชนในรูปแบบออนไลน์ มีส่วนร่ความสามารถในการแข่งขันด้านการให้บริการวิชาชีพวิศวกรรมข้ามแดน รวมถึงพยายามในการผเป็นสมาชิกถาวรของ Washington Accord อันจะก่อให้เกิดการยอมรับในระดับสากล และเป็ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจะได้ร่วมกันสนับสนุนการด าเนินการเพื่อให้ภารกิจส าเร็จลุล่วงตามเป้าหด าเนินการดังกล่าวมีหลายส่วนที่มีความเกี่ยวข้องและจ าเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากสภาเพื่อให้การด าเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์ สภาวิศวกรเห็นถึงความส าคัญของการร่วมมือกันของสภาวิชาชีพต่าง ๆแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการด าเนินงาน รวมถึงร่วมกันผลักดันให้สามารถด าเนินงานได้บรรลุก าหนด จึงมีความยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสมาพันธ์สภาวิชาชีพมีบทบาทในการร่วมมือกันของสภาวิชาชีพที่มีความส าคัญและเป็นก าลังหลักในแต่ภาคส่วนประโยชน์ในการพัฒนาให้ประชาชน สังคมและประเทศชาติมีความเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นต่อไป (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ วีระศิริ) นายกสภาวิศวกร สมัยที่ 8 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 16
สาร นายประภากร วทานยกุล นายกสภาสถาปนิก ปีี พ.ศ. 2543 เป็็นปีีแรกเริ่่� มของการดำำเนิินงานของสภาสถาปนิิก อีีกทั้้� งยััง เป็็นยุุคสมััยที่่�ประเทศไทยมีีการพััฒนาและขยายตััวทางเศรษฐกิิจอย่่างมาก ความ เปลี่่�ยนแปลงดัังกล่่าวส่่งผลในหลายด้้านหลากมิิติิต่่อสัังคม รวมไปถึึงความเปลี่่�ยนแปลง ของการประกอบวิิชาชีีพและแนวคิิดการสร้้างสรรค์์งานสถาปััตยกรรม ซึ่่�งวิิทยาการและ เทคโนโลยีีทางด้้านสถาปััตยกรรมมีีการพััฒนาเพื่่�อตอบสนองความต้้องการของผู้้ใช้้งาน และสอดรัับกัับคุุณภาพชีีวิิตความเป็็นอยู่่ของคนในสัังคม โดยมุ่่งเน้้นพื้้�นที่่�ประโยชน์์ ใช้ส้อย ความมั่่� นคงปลอดภััย การรักัษาสมดุลุของสภาพแวดล้้อม แต่่ยัังคงความงามและ เอกลัักษณ์์ทางสถาปััตยกรรม ด้้วยเหตุุผลข้้างต้้น สภาสถาปนิิกจึึงมีีบทบาทสำำคััญอย่่างมากในการควบคุุมความประพฤติิและการดำำเนิิน งานของผู้้ประกอบวิิชาชีีพ โดยการกำำหนดมาตรฐานความรู้้ความสามารถและหลักปั ฏิิบััติิในการประกอบวิิชาชีีพ เพื่่�อให้้ ถููกต้้องตามมาตรฐานและจรรยาบรรณแห่่งวิิชาชีีพสถาปััตยกรรม ตลอดจนเพื่่�อให้วิ้ ิชาชีีพสถาปััตยกรรมมีีความมั่่� นคง เป็นที่่ ็ �ยอมรัับของสัังคมในวงกว้้าง นอกจากนี้้� หนึ่งใ�่ นสิ่่ง�สำำคััญที่่�สภาสถาปนิกยึึ ิดถืือมาตลอด คืือการรัับฟัังความต้้องการ ของสัังคมและหมู่่มวลสถาปนิิก เพื่่�อช่่วยเหลืือ และหาแนวทางแก้้ไขร่่วมกัันอย่่างสร้้างสรรค์์ ตลอดระยะเวลากว่่า 23 ปีี ที่่�สภาสถาปนิิกได้้สร้้างมาตรฐานที่่�ดีีให้้แก่่วิิชาชีีพ โดยการกำำหนดนโยบายและ ยุุทธศาสตร์์ต่่าง ๆ อาทิิ การแก้้ไขกฎหมาย ข้้อบัังคัับ การสนัับสนุุนการประกอบวิิชาชีีพในระดัับสากล การผลัักดัันการ ใช้้ใบอนุุญาตประกอบวิิชาชีีพสถาปััตยกรรมควบคุุมทั้้� ง 4 สาขา เพื่่�อให้ส้อดคล้้องกัับสภาพการทำำงานของสถาปนิกิและ แวดวงสถาปััตยกรรมในปััจจุุบันั ซึ่่�งมีีการเปลี่่�ยนแปลงทั้้� งในด้้านพฤติิกรรมของผู้้ใช้้งาน และแนวคิิดการสร้้างสรรค์์งาน สถาปััตยกรรมที่่�พััฒนาไปอย่่างไม่่สิ้้� นสุุด อีีกทั้้� งการก้้าวเข้้าสู่่ประชาคมโลกก็็เป็็นความท้้าทายอย่่างยิ่่� งในการประกอบ วิิชาชีีพ ดัังนั้้� น สภาสถาปนิิกจึึงต้้องหาแนวทางปรัับตััวเพื่่�อให้้ผู้้ประกอบวิิชาชีีพเท่่าทัันกัับความเปลี่่�ยนแปลงเหล่่านี้้� โดยมุ่่งส่่งเสริิมความรู้้ทักัษะ พร้้อมทั้้งใ�ห้้บริกิารทางวิิชาการแก่สถ่าปนิกิ ประชาชน สถาบันกัารศึึกษา และองค์กรอื่่ ์�น ๆ ควบคู่่ไปกัับการผดุุงเกีียรติิวิิชาชีีพสถาปััตยกรรม สานต่่องานเพื่่�อยกระดัับมาตรฐานวิิชาชีีพ พร้้อมทั้้� งบริิการสัังคม และประเทศชาติิต่่อไป ( นายประภากร วทานยกุุล ) นายกสภาสถาปนิิก วาระปีี พ.ศ. 2565-2568 The Confederation Thai Professional Councสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศสาร นายประภากร วทานยกุล นายกสภาสถาปนิก ……….. …………. ปี พ.ศ. 2543 เป็นปีแรกเริ่มของการด าเนินงานของสภาสถาปนิก อีกทั้งยังเป็นยุคสมัยที่ประเทการพัฒนาและขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมาก ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลในหลายด้านหลต่อสังคม รวมไปถึงความเปลี่ยนแปลงของการประกอบวิชาชีพและแนวคิดการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกวิทยาการและเทคโนโลยีทางด้านสถาปัตยกรรมมีการพัฒนาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน และกับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคม โดยมุ่งเน้นพื้นที่ประโยชน์ใช้สอย ความมั่นคงปลอดภัย กาสมดุลของสภาพแวดล้อม แต่ยังคงความงามและเอกลักษณ์ทางสถาปัตยกรรม ด้วยเหตุผลข้างต้น สภาสถาปนิกจึงมีบทบาทส าคัญอย่างมากในการควบคุมความประพการด าเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพ โดยการก าหนดมาตรฐานความรู้ความสามารถและหลักปฏิบัติประกอบวิชาชีพ เพื่อให้ถูกต้องตามมาตรฐานและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพสถาปัตยกรรม ตลอดจนเพื่อให้ส ถ าปั ต ย ก ร รมมี ค ว าม มั่น คง เป็ นที่ ย อม รับ ของสังค มใน วงก ว้ าง น อก จ ากนี้ ห นึ่งใน สิ่งส สภาสถาปนิกยึดถือมาตลอด คือการรับฟังความต้องการของสังคมและหมู่มวลสถาปนิก เพื่อช่วยเหลือ และทางแก้ไขร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ ตลอดระยะเวลากว่า 23 ปี ที่สภาสถาปนิกได้สร้างมาตรฐานที่ดีให้แก่วิชาชีพ โดยการก าหนดนและยุทธศาสตร์ต่าง ๆ อาทิ การแก้ไขกฎหมาย ข้อบังคับ การสนับสนุนการประกอบวิชาชีพในระดับสากผลักดันการใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมทั้ง 4 สาขา เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการของสถาปนิกและแวดวงสถาปัตยกรรมในปัจจุบัน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านพฤติกรรมของผู้ใช้งาแนวคิดการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมที่พัฒนาไปอย่างไม่สิ้นสุด อีกทั้งการก้าวเข้าสู่ประชาคมโลกก็เป็นคทายอย่างยิ่งในการประกอบวิชาชีพ ดังนั้น สภาสถาปนิกจึงต้องหาแนวทางปรับตัวเพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพกับความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ โดยมุ่งส่งเสริมความรู้ ทักษะ พร้อมทั้งให้บริการทางวิชาการแก่สถาปนิก ปรสถาบันการศึกษา และองค์กรอื่น ๆ ควบคู่ไปกับการผดุงเกียรติวิชาชีพสถาปัตยกรรม สานต่องานเพื่อยมาตรฐานวิชาชีพ พร้อมทั้งบริการสังคมและประเทศชาติต่อไป ( นายประภากร วทานยกุล ) นายกสภาสถาปนิก วาระปี พ.ศ. 2565-2568 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 17
“สภาวิิชาชีพี ” จััดตั้้� งขึ้้�นตามพระราชบััญญััติิวิิชาชีีพฯ ของแต่่ละวิิชาชีีพ เพื่่�อ ให้้เกิิดการพััฒนาและรักัษามาตรฐานในการประกอบวิิชาชีีพสำำหรัับผู้้ประกอบวิิชาชีีพที่่� เป็็นสมาชิิกของสภาวิิชาชีีพนั้้� นๆ ประโยชน์์ที่่�เกิิดขึ้้�นกัับสัังคมในภาพรวมคืือผู้้ใช้้บริิการ หรืือผู้้บริิโภคจะได้้รัับการบริิการจากผู้้ประกอบวิิชาชีีพตามมาตรฐานทางวิิชาการ และ มาตรฐานทางจริิยธรรมหรืือจรรยาบรรณ สำำหรัับสััตวแพทยสภาเป็็นหนึ่�่งในองค์์กร วิิชาชีีพที่่�มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อส่่งเสริิมและควบคุุมการประกอบวิิชาชีีพการสััตวแพทย์์ และสร้้างมาตรฐานการประกอบวิิชาชีีพการสััตวแพทย์์ ตลอดจนควบคุุมมิิให้้มีีการ แสวงหาประโยชน์์โดยมิิชอบจากบุุคคลซึ่่�งไม่มีี ่ความรู้้อัันก่่อให้้เกิิดความเสีียหายแก่่ผู้้ใช้้ บริิการ ผู้้บริิโภค หรืือประชาชน “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย” เป็็นการรวมกัันของสภาวิิชาชีีพในประเทศไทยเพื่่�อประสาน ความร่่วมมืือกัันทำำงานในฐานะผู้้ประกอบวิิชาชีีพต่่าง ๆ ในประเทศ ผมได้้มีีโอกาสเข้้ามาเป็็นกรรมการของสมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพฯ ตั้้�งแต่่รัับหน้้าที่่�นายกสััตวแพทยสภา ในเดืือนเมษายน 2564 ซึ่่�งเป็็นช่่วงที่่�ประเทศไทยกำำลัังเผชิิญ กัับปััญหาการระบาดของโรคโควิิด 19 ทำำ ให้้ทราบถึึงความร่่วมมืือกัันของกลุ่่มผู้้ประกอบวิิชาชีีพในนามสมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพฯ ในการสนัับสนุนกุารแก้้ไขปััญหาการระบาดของโรคโควิิด 19 ในประเทศ โดยในการประชุุมแต่่ละครั้้งจะ�มีี การรายงานบทบาทของแต่ล่ะสภาวิิชาชีีพในปััญหาโควิิด 19 จวบจนกระทั่่� งประเทศไทยประกาศให้้โรคโควิิด 19 เป็น็ โรค ประจำำถิ่่น� นัับเป็นตั็ ัวอย่่างเชิิงประจักษ์ั ์ของการประสานการทำำงานร่่วมกันรัะหว่่างสภาวิิชาชีีพที่่�ใช้้องค์์ความรู้้ของแต่ล่ะ สาชาวิิชาชีีพในการทำำงาน เพื่่�อให้้เกิิดประโยชน์์สููงสุุดในการแก้้ไขปััญหา นอกจากนี้ ้� สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ยัังได้้ พิิจารณาวาระสำำคััญๆ หลายประเด็็นที่่�เป็็นปััญหาของทั้้�งผู้้ประกอบวิิชาชีีพฯ และประชาชนทั่่�วไป ตลอดจนได้้ แลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้การบริิหารจััดการของแต่่ละสภาวิิชาชีีพ เพื่่�อนำำ ไปปรัับใช้้ให้้เกิิดการพััฒนาขององค์์กรวิิชาชีีพของ ตนเอง ผมเชื่่�อมั่่� นว่่าสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ จะเป็็นหลัักทั้้� งทางวิิชาการและวิิชาชีีพให้้กัับประเทศต่่อไป “หนัังสืือสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีพี ฯ” เล่่มนี้ร ้� วบรวมเรื่่�องราวต่่างๆ ของการรวมตััวกัันเป็นส็ มาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ต้้องขอขอบพระคุุณสภาวิิชาชีีพรุ่่นก่่อตั้้� งสมาพัันธ์์ที่่�ได้้ให้้โอกาสสัตัวแพทยสภาเข้้าร่่วมกัับสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ในนาม ของสััตวแพทยสภา เราจะทำำหน้้าที่่�ของเราในฐานะองค์์กรวิิชาชีีพด้้านสััตวแพทย์์ และในฐานะสมาชิิกของสมาพัันธ์์ เราจะส่่งเสริิม สนัับสนุุน และร่่วมมืือกัับสภาวิิชาชีีพอื่่�นในการพััฒนาองค์์กรสมาพัันธ์์วิิชาชีีพฯ ให้้ก้้าวหน้้าต่่อไปอย่่าง ดีีที่่�สุุด รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.ธีระ รักความสุข นายกสัตวแพทยสภา สาร (รองศาสตราจารย์์ นายสััตวแพทย์์ ดร.ธีีระ รัักความสุุข) นายกสััตวแพทยสภา (วาระ 2564 – 2567) The Confedera Thai Professional Coสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประสาร รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.ธีระ รักความสุข นายกสัตวแพทยสภา ………………………………………. “สภาวิชาชีพ” จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิชาชีพฯ ของแต่ละวิชาชีพ เพื่อให้เกิดการพัฒนามาตรฐานในการประกอบวิชาชีพส าหรับผู้ประกอบวิชาชีพที่เป็นสมาชิกของสภาวิชาชีพนั้นๆ ประโยชน์ทีสังคมในภาพรวมคือผู้ใช้บริการหรือผู้บริโภคจะได้รับการบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพตามมาตรฐานทและมาตรฐานทางจริยธรรมหรือจรรยาบรรณ ส าหรับสัตวแพทยสภาเป็นหนึ่งในองค์กรวิชาชีพที่มีวัตถุปส่งเสริมและควบคุมการประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ และสร้างมาตรฐานการประกอบวิชาชีพการสตลอดจนควบคุมมิให้มีการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากบุคคลซึ่งไม่มีความรู้อันก่อให้เกิดความเผู้ใช้บริการ ผู้บริโภค หรือประชาชน “สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย” เป็นการรวมกันของสภาวิชาชีพในประเทศไทยเพืความร่วมมือกันท างานในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ ในประเทศ ผมได้โอกาสเข้ามาเป็นกรรมการขอสภาวิชาชีพฯ ตั้งแต่รับหน้าที่นายกสัตวแพทยสภา ในเดือนเมษายน 2564 ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทยก าลัปัญหาการระบาดของโรคโควิด 19 ท าให้ทราบถึงความร่วมมือกันของกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพในนามสมวิชาชีพฯ ในการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคโควิด 19 ในประเทศ โดยในการประชุมแต่การรายงานบทบาทของแต่ละสภาวิชาชีพในปัญหาโควิด 19 จวบจนกระทั่งประเทศไทยประกาศให้โรเป็นโรคประจ าถิ่น นับเป็นตัวอย่างเชิงประจักษ์ของการประสานการท างานร่วมกันระหว่างสภาวิชาชีความรู้ของแต่ละสาชาวิชาชีพในการท างาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการแก้ไขปัญหา นอกจากนี้สมวิชาชีพฯ ยังได้พิจารณาวาระส าคัญๆ หลายประเด็นที่เป็นปัญหาของทั้งผู้ประกอบวิชาชีพฯ และประชตลอดจนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการของแต่ละสภาวิชาชีพ เพื่อน าไปปรับใช้ให้เกิดการพองค์กรวิชาชีพของตนเอง ผมเชื่อมั่นว่าสมาพันธ์สภาวิชาชีพฯ จะเป็นหลักทั้งทางวิชาการและวิชาชีพให้กับประ“หนังสือสมาพันธ์สภาวิชาชีพฯ” เล่มนี้รวบรวมเรื่องราวต่างๆ ของการรวมตัวกันเป็นสมวิชาชีพฯ ต้องขอขอบพระคุณสภาวิชาชีพรุ่นก่อตั้งสมาพันธ์ที่ได้ให้โอกาสสัตวแพทยสภาเข้าร่วมกับสมวิชาชีพฯ ในนามของสัตวแพทยสภา เราจะท าหน้าที่ของเราในฐานะองค์กรวิชาชีพด้านสัตวแพทย์ แลสมาชิกของสมาพันธ์ เราจะส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือกับสภาวิชาชีพอื่นในการพัฒนาองค์กรสมาพันให้ก้าวหน้าต่อไปอย่างดีที่สุด .. (รองศาสตราจารย์ น (นายสัตวแพทย์ ดร.ธีระ รักความสุข) นายกสั สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 18
สาร ทนพ.สมชัย เจิดเสริมอนันต์ นายกสภาเทคนิคการแพทย์ เหตุุผลสำำคััญในการจััดตั้้�งสภาวิิชาชีีพ เพื่่�อส่่งเสริิมการประกอบวิิชาชีีพ กำำหนด และควบคุุมมาตรฐานการประกอบวิิชาชีีพ ควบคุุมมิิให้้มีีการแสวงหา ประโยชน์์โดยมิิชอบจากบุุคคลซึ่่�งไม่่มีีความรู้้อัันก่่อให้้เกิิดภััยและความเสีียหายแก่่ ประชาชน สภาวิิชาชีีพมีีบทบาทในการควบคุุม กำำกัับ ดููแล และกำำหนดมาตรฐานการ ให้้บริิการของผู้้ประกอบวิิชาชีีพ ควบคุุมความประพฤติิของผู้้ประกอบวิิชาชีีพ ช่่วย เหลืือ แนะนำำ เผยแพร่่ และให้ก้ารศึึกษาแก่่ประชาชนและองค์์กรอื่่�นในเรื่่�องที่่�เกี่่�ยวกัับ วิิชาชีีพของตน แต่่ละวิิชาชีีพจะจััดตั้้� งสภาวิิชาชีีพโดยตราเป็นพร็ะราชบััญญััติิ ซึ่่�งมีีข้้อ กำำหนดด้้านกฎหมายที่่�ต้้องถืือปฏิิบััติิมากมายและมีีความเป็น็เฉพาะของแต่่ละวิิชาชีีพ การที่่� 11 สภาวิิชาชีีพได้้มีีฉัันทามติิในการก่่อตั้้� ง “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่ง ประเทศไทย” นัับเป็็นโอกาสให้้มีีเวทีีแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้ระหว่่างสภาวิิชาชีีพ เช่น่การ จััดการเลืือกตั้้� ง การจััดสอบความรู้้ระบบสมาชิกิการบริิหารจััดการภายในองค์์กร การ รัับรองสถาบันัการดำำเนินกิารด้้านจรรยาบรรณ กรณีีศึึกษาในวิิชาชีีพ รวมถึึงการออก กฎระเบีียบต่่าง ๆ ทำำ ให้้การดำำเนิินการของแต่่ละวิิชาชีีพมีีความเจริิญก้้าวหน้้าและมีี ประสิิทธิิภาพมากขึ้้�น สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย ได้มีี ้ บทบาทในสถานการณ์ก์ารระบาด ของโรคโควิิด - 19 โดยรวมตััวกัันใช้้ความเชี่่�ยวชาญของวิิชาชีีพในแต่่ละด้้าน ในการ ให้้ความรู้้แก่่ประชาชน ให้้ข้้อเสนอแนะแก่่รััฐบาล รวมถึึงเป็็นจิิตอาสาด้้านต่่าง ๆ ช่่วย ให้้ประเทศไทยสามารถผ่่านพ้้นวิิกฤติิมาได้้ ในนามของสภาเทคนิิคการแพทย์์ หวัังเป็น็อย่่างยิ่่ง�ว่่า “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ แห่่งประเทศไทย” จะมีีบทบาทในการประสานความร่่วมมืือระหว่่างสภาวิิชาชีีพและ ช่่วยผลัักดัันให้้ประเทศไทยมีีความเจริิญก้้าวหน้้าตลอดไป (ทนพ.สมชััย เจิิดเสริิมอนัันต์์) นายกสภาเทคนิิคการแพทย์์ ( วาระ 2566 - 2569) The ConfederaThai Professional Cสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งปร สาร ทนพ.สมชัย เจิดเสริมอนันต์ นายกสภาเทคนิคการแพทย์ .................................... เหตุผลส ำคัญในกำรจัดตั้งสภำวิชำชีพ เพื่อส่งเสริมกำรประกอบวิชำชีพ ก ำหนด แมำตรฐำนกำรประกอบวิชำชีพ ควบคุมมิให้มีกำรแสวงหำประโยชน์โดยมิชอบจำกบุคคลซึ ่งไม ่มีก่อให้เกิดภัยและควำมเสียหำยแก่ประชำชน สภำวิชำชีพมีบทบำทในกำรควบคุม ก ำกับ ดูแล และก ำหนกำรให้บริกำรของผู้ประกอบวิชำชีพ ควบคุมควำมประพฤติของผู้ประกอบวิชำชีพ ช่วยเหลือ แนะน ำ เผให้กำรศึกษำแก่ประชำชนและองค์กรอื่นในเรื่องที่เกี่ยวกับวิชำชีพของตน แต่ละวิชำชีพจะจัดตั้งสภำวิชำเป็นพระรำชบัญญัติ ซึ่งมีข้อก ำหนดด้ำนกฎหมำยที่ต้องถือปฏิบัติมำกมำยและมีควำมเป็นเฉพำะของแต่ลกำรที่ 11 สภำวิชำชีพได้มีฉันทำมติในกำรก่อตั้ง “สมำพันธ์สภำวิชำชีพแห่งประเทศไทโอกำสให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่ำงสภำวิชำชีพ เช่น กำรจัดกำรเลือกตั้ง กำรจัดสอบควำมรู้ ระกำรบริหำรจัดกำรภำยในองค์กร กำรรับรองสถำบัน กำรด ำเนินกำรด้ำนจรรยำบรรณ กรณีศึกษำในวิชำกำรออกกฎระเบียบต่ำง ๆ ท ำให้กำรด ำเนินกำรของแต่ละวิชำชีพมีควำมเจริญก้ำวหน้ำและมีประสิทธิภำสมำพันธ์สภำวิชำชีพแห่งประเทศไทย ได้มีบทบำทในสถำนกำรณ์กำรระบำดของโรคโดยรวมตัวกันใช้ควำมเชี่ยวชำญของวิชำชีพในแต่ละด้ำน ในกำรให้ควำมรู้แก่ประชำชน ให้ข้อเสนอแนรวมถึงเป็นจิตอำสำด้ำนต่ำง ๆ ช่วยให้ประเทศไทยสำมำรถผ่ำนพ้นวิกฤติมำได้ ในนำมของสภำเทคนิคกำรแพทย์ หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ “สมำพันธ์สภำวิชำชีพแห่งประเทมีบทบำทในกำรประสำนควำมร่วมมือระหว่ำงสภำวิชำชีพและช่วยผลักดันให้ประเทศไทยมีควำมเจริตลอดไป (ทนพ.สมชัย เจิดเสริมอนันต์) นำยกสภำเทคนิคกำรแพทย์ ( วำระ 2566 - 2569) สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 19
พระราชบััญญััติิวิิชาชีีพกายภาพบำำบััด พ.ศ. 2547 ได้้นิิยาม “วิิชาชีีพ กายภาพบำำบััด” ไว้้ว่่า วิิชาชีีพที่่�กระทำำต่่อมนุุษย์์เกี่่�ยวกัับการตรวจประเมิิน การ วิินิิจฉััย และการบำำบััดความบกพร่่องของร่่างกายซึ่่�งเกิิดเนื่่�องจากภาวะของโรคหรืือการ เคลื่่�อนไหวที่่�ไม่ปก่ ติิ การป้้องกันัการแก้้ไขและการฟื้้�นฟููความเสื่่�อมสภาพความพิกิารของ ร่่างกาย รวมทั้้� งการส่่งเสริิมสุุขภาพร่่างกายและจิิตใจ ด้้วยวิิธีีการทางกายภาพบำำบััดหรืือ การใช้้เครื่่�องมืือหรืืออุุปกรณ์ที่่ ์�รััฐมนตรีีประกาศโดยคำำแนะนำำของคณะกรรมการให้้เป็น็ เครื่่�องมืือหรืืออุุปกรณ์์กายภาพบำำบััด นิิยามข้้างต้้นสะท้้อนบทบาทหน้้าที่่�ของนัักกายภาพบำำบััดที่่�ไม่่เพีียงแต่่ จะให้้การรัักษา และฟื้้�นฟููสุุขภาพเท่่านั้้� น แต่่ยัังครอบคลุุมถึึงการส่่งเสริิมสุุขภาพ และป้้องกัันโรค ด้้วยวิิธีีการทาง กายภาพบำำบััด อาทิิ การใช้้เครื่่�องมืือหรืืออุุปกรณ์์กายภาพบำำบััด การออกกำำลัังกายเพื่่�อการรัักษา การฝึึกกระตุ้้น พััฒนาการการเคลื่่�อนไหวในเด็็ก หรืือการใช้้เทคนิิคพิิเศษทางกายภาพบำำบััดอื่่�นๆ การประกอบวิิชาชีีพกายภาพบำำบััดกระทำำ โดย “ผู้้ประกอบวิิชาชีีพกายภาพบำำบััด หรืือนัักกายภาพบำำบััด” ใช้้ คำำย่่อนำำหน้้าชื่่�อว่่า “กภ.” ภาษาอัังกฤษใช้ชื่่ ้�อว่่า “Physical therapist or Physiotherapist (PT)” ในปััจจุุบันั (จากฐาน ข้้อมููล ณ วัันที่่� 31 สิิงหาคม พ.ศ. 2566) สภากายภาพบำำบััดมีีสมาชิิก จำำนวนทั้้� งสิ้้� น 16,985 คน และเป็็นผู้้ขึ้้�นทะเบีียน เป็น็ผู้้ประกอบวิิชาชีีพกายภาพบำำบััด จำำนวนทั้้� งสิ้้น� 15,885 คน โดยในนัักกายภาพบำำบััดทุกุ ๆ 5 คน จะเป็น็หญิิง 4 คน และเป็็นชาย 1 คน มีีนัักกายภาพบำำบััดปฏิิบััติิงานในสถานพยาบาลภาครััฐ จำำนวน 5,758 คน และปฏิิบััติิงานในสถาน พยาบาลเอกชน จำำนวน 3,293 คน ในประเทศไทย มีีสถาบันกัารศึึกษาที่่�จััดการเรีียนการสอนในหลัักสููตร 4 ปีี เพื่่�อผลิิต นัักกายภาพบำำบััด จำำนวนทั้้� งสิ้้� น 17 แห่่ง และมีีกำำลัังการผลิิตรวม ประมาณ 900-1,000 คนต่่อปีี การบริิบาลด้้วยวิิธีีกายภาพบำำบััดมีีการบัันทึึกไว้้ว่่า เกิิดขึ้้�นครั้้� งแรกในประเทศไทย เมื่่�อปีี พ.ศ. 2490 ณ โรงพยาบาลศิิริิราช โดยในขณะนั้้� น ศาสตราจารย์์ นายแพทย์์เฟื่่� อง สััตย์์สงวน ศััลยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์ พบว่่า ภายหลััง การผ่่าตััด ผู้้ป่่วยออร์์โธปิิดิิกส์์มีีการฟื้้�นตััวช้้าและมีีปััญหาข้้อต่่อยึึดติิดมาก จึึงได้้ใช้้เครื่่�องมืือและวิิธีีกายภาพบำำบััด มารัักษาผู้้ป่่วยออร์์โธปิิดิิกส์์เหล่่านี้้� เพื่่�อให้้การฟื้้�นฟููสมรรถภาพร่่างกายของผู้้ป่่วยหลัังผ่่าตััดดีีขึ้้�น ต่่อมา ในปีี พ.ศ. 2506 ศาสตราจารย์์ นายแพทย์์เฟื่่� อง สััตย์์สงวน และท่่านผู้้หญิิงหม่่อมงามจิิตต์์ บุุรฉััตร ร่่วมมืือกัับ เลขาธิิการ สมาพัันธ์์กายภาพบำำบััดโลก และองค์ก์ารอนามััยโลกก่่อตั้้� งโรงเรีียนกายภาพบำำบััดขึ้้น�เป็น็แห่่งแรกของประเทศไทย โดย สัังกััดภาควิิชาศััลยศาสตร์์ออร์์โธปิิดิิกส์์และกายภาพบำำบััด คณะแพทยศาสตร์์ศิิริิราชพยาบาล มหาวิิทยาลััยมหิิดล จน กระทั่่� ง ในปีี พ.ศ. 2547 จึึงมีีการก่่อตั้้� งสภากายภาพบำำบััดขึ้้�นตามบทบััญญััติิในพระราชบััญญััติิวิิชาชีีพกายภาพบำำบััด พ.ศ. 2547 โดยคณะกรรมการสภากายภาพบำำบััดชุุดปััจจุุบััน (วาระ ปีี พ.ศ. 2566-2569) ถืือเป็็นชุุดที่่� 7 นัับตั้้� งแต่่ ก่่อตั้้� งสภากายภาพบำำบััดขึ้้�น ศาสตราจารย์ ดร.กภ.ประวิตร เจนวรรธนะกุล นายกสภากายภาพบำ�บัด สาร สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 20
สภากายภาพบำำบััดเป็็นองค์์กรวิิชาชีีพที่่�จััดตั้้� งขึ้้�นตามพระราชบััญญััติิวิิชาชีีพกายภาพบำำบััด พ.ศ. 2547 มีี วััตถุปรุะสงค์์และอำำนาจหน้้าที่่�สำำคััญ ได้้แก่่ การส่่งเสริิมการประกอบวิิชาชีีพกายภาพบำำบััด อีีกทั้้� งกำำหนดและควบคุุม มาตรฐานการประกอบวิิชาชีีพกายภาพบำำบััด และควบคุุมมิิให้้มีีการแสวงหาประโยชน์์โดยมิิชอบจากบุุคคลซึ่่�งไม่่มีี ความรู้้อัันก่่อให้้เกิิดภััยและความเสีียหายแก่่ประชาชน สภากายภาพบำำบััดได้้ดำำเนิินกิิจการตามวััตถุุประสงค์์และอำำนาจหน้้าที่่�อย่่างต่่อเนื่่�องเป็็นลำำดัับ อาทิิ การ ตราข้้อบัังคัับสภากายภาพบำำบััดเพื่่�อดำำเนิินการตามวััตถุุประสงค์์และอำำนาจหน้้าที่่� การเผยแพร่่องค์์ความรู้้ทาง กายภาพบำำบััดแก่่ประชาชนและหน่่วยงานทั้้� งภาครััฐและเอกชน การออกประกาศกำำหนดมาตรฐานการให้้บริิการ ด้้านกายภาพบำำบััด การรัับรองคุุณภาพหน่่วยบริิการกายภาพบำำบััด การดำำเนิินคดีีจรรยาบรรณกัับนัักกายภาพบำำบััด การกำำหนดสาขาความรู้้ความชำำนาญเฉพาะทางในการประกอบวิิชาชีีพกายภาพบำำบััด การจััดตั้้�ง “ราชวิิทยาลััย กายภาพบำำบััดแห่่งประเทศไทย” เพื่่�อดำำเนิินการออกหนัังสืืออนุุมััติิหรืือวุุฒิิบััตรแสดงความรู้้ความชำำนาญในการ ประกอบวิิชาชีีพกายภาพบำำบััดสาขาต่่างๆ เพื่่�อยกระดัับคุุณภาพการบริิบาลของนัักกายภาพบำำบััดให้สูู้งขึ้้�น นอกจากนี้้� สภากายภาพบำำบััดยัังให้้ความสำำคััญกัับการขัับเคลื่่�อนงานในขอบเขตหน้้าที่่�เพื่่�อตอบสนองกัับความต้้องการของสัังคม อาทิิ การกำำหนดมาตรฐานวิิชาชีีพการให้้บริิการกายภาพบำำบััดทางไกล การกำำหนดสมรรถนะเพื่่�อปฏิิบััติิงานส่่งเสริิม สุุขภาพและป้้องกัันโรคในวิิชาชีีพกายภาพบำำบััด การกำำหนดสมรรถนะในการดููแลผู้้สููงวััย แนวปฏิิบััติิของวิิชาชีีพ ในการดููแลผู้้ป่่วยระยะกลาง การเพิ่่ม�สมรรถนะของนัักกายภาพบำำบััดในการช่่วยเลิกบุิุหรี่่� อันัเป็นปร ็ ะโยชน์์แก่ปร ่ะชาชน และตอบสนองต่่อวิิสััยทััศน์์ของสภากายภาพบำำบััดที่่�ว่่า “สร้้างคุุณภาพชีีวิิตที่่�ดีีของประชาชนทุุกช่่วงวััย ด้้วยศาสตร์์การเคลื่่�อนไหวทางกายภาพบำำบัดั ” (ศาสตราจารย์์ ดร.กภ.ประวิิตร เจนวรรธนะกุุล) นายกสภากายภาพบำำบััด (วาระ 2566-2569) The CoThai Professสภากายภาพบ าบัดเป็นองค์กรวิชาชีพที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบ าวัตถุประสงค์และอ านาจหน้าที่ส าคัญ ได้แก่ การส่งเสริมการประกอบวิชาชีพกายภาพบ าบัด อีควบคุมมาตรฐานการประกอบวิชาชีพกายภาพบ าบัด และควบคุมมิให้มีการแสวงหาประโยชน์โดซึ่งไม่มีความรู้อันก่อให้เกิดภัยและความเสียหายแก่ประชาชน สภากายภาพบ าบัดได้ด าเนินกิจการตามวัตถุประสงค์และอ านาจหน้าที่อย่างต่อเนื่องเป็ตราข้อบังคับสภากายภาพบ าบัดเพื่อด าเนินการตามวัตถุประสงค์และอ านาจหน้าที่ การเผยแพกายภาพบ าบัดแก่ประชาชนและหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน การออกประกาศก าหนดมาตรด้านกายภาพบ าบัด การรับรองคุณภาพหน่วยบริการกายภาพบ าบัด การด าเนินคดีจรรกายภาพบ าบัด การก าหนดสาขาความรู้ความช านาญเฉพาะทางในการประกอบวิชาชีพกายภาพ“ราชวิทยาลัยกายภาพบ าบัดแห่งประเทศไทย” เพื่อด าเนินการออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแช านาญในการประกอบวิชาชีพกายภาพบ าบัดสาขาต่างๆ เพื่อยกระดับคุณภาพการบริบาลของนักสูงขึ้น นอกจากนี้ สภากายภาพบ าบัดยังให้ความส าคัญกับการขับเคลื่อนงานในขอบเขตหน้าที่เความต้องการของสังคม อาทิ การก าหนดมาตรฐานวิชาชีพการให้บริการกายภาพบ าบัดทางสมรรถนะเพื่อปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในวิชาชีพกายภาพบ าบัด การก าหนดสมผู้สูงวัย แนวปฏิบัติของวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง การเพิ่มสมรรถนะของนักกายภาพบ าบุหรี่ อันเป็นประโยชน์แก่ประชาชน และตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ของสภากายภาพบ าบัดที่ว่า “สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนทุกช่วงวัย ด้วยศาสตร์การเคลื่อนไหวทางกายภา(ศาสตราจารย์ ดร.กภ.ประวิตร เจนวรรธนะกุล) นายกสภากายภาพบ าบัด (วาระ 2566-2569) สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 21
ผมในฐานะนายกสภาวิิชาชีีพบััญชีี ในพระบรมราชููปถััมภ์์ ยิินดีีที่่�ได้้ร่่วม เป็็นหนึ่�่งในเครืือข่่ายสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย นอกเหนืือจากการที่่�สภา วิิชาชีีพบััญชีีจะเป็น็องค์์กรวิิชาชีีพที่่�มีีหน้้าที่่�หลัักในการพััฒนาและส่่งเสริิมผู้้ประกอบ วิิชาชีีพบััญชีีให้มีีคุุ้ณภาพ น่่าเชื่่�อถืือ มีีความโปร่่งใส และมีีความเที่่�ยงธรรม สภาวิิชาชีีพ บััญชีียัังมีีนโยบายและวัตถุั ปรุะสงค์ที่่ ์ �จะทำำประโยชน์ต่์ ่อสัังคมและประเทศชาติิอีีกด้้วย การได้้เข้้าร่่วมเป็็นเครืือข่่ายสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย กัับหน่่วยงาน พัันธมิิตร 10 หน่่วยงาน ยัังเสมืือนเป็็นการผนึึกกำำลัังที่่�แข็็งแกร่่งในการร่่วมกัันระดม ความรู้้ความสามารถของแต่่ละหน่่วยงาน เพื่่�อช่่วยกัันส่่งเสริิมและพััฒนายกระดัับ ผู้้ประกอบวิิชาชีีพในประเทศไทยให้มีีคุุ้ณภาพประสิิทธิิภาพ และมีีมาตรฐานมากยิ่่ง�ขึ้้น� ให้ทั้ ัดเทีียมสากล ตลอดจนสร้้างสรรค์์กิิจกรรมต่่างๆ เพื่่�อคุุณประโยชน์ต่์ ่อสาธารณชน สัังคม และประเทศชาติิ เพราะการบรรลุุเป้้าหมายหรืือความสำำเร็็จจะเกิิดขึ้้�นได้้จำำเป็น็ ต้้องอาศััยความร่่วมมืือจากหลายหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง โดยเฉพาะอย่่างยิ่่� งในภาวะ ปััจจุุบัันที่่�มีีการเปลี่่�ยนแปลงอย่่างรวดเร็็วในด้้านต่่างๆ ดัังนั้้� น การรวมตััวก่่อตั้้� งสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทยจึึงนัับว่่าเป็น็ ศููนย์กล์างและเป็น็เวทีีที่่�สำำคััญยิ่่งของแ�ต่่ละสภาวิิชาชีีพในการร่่วมกันผลักดัันวาระที่่�มีี ผลต่่อการประกอบวิิชาชีีพของไทย และสามารถนำำองค์์ความรู้้ที่่�ได้้แลกเปลี่่�ยนระหว่่าง กัันนำำ ไปพััฒนาสภาวิิชาชีีพของตนให้้ดีียิ่่� งขึ้้�นไป สุุดท้้ายนี้้� ผมขอเป็นตั็ ัวแทนผู้้ประกอบวิิชาชีีพบััญชีีทุกทุ่่าน คณะกรรมการ ผู้้บริิหาร ตลอดจนเจ้้าหน้้าที่่�สภาวิิชาชีีพบััญชีี ให้้ความร่่วมมืือกัับสมาพัันธ์์สภา วิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย ร่่วมกัันขัับเคลื่่�อนการประกอบวิิชาชีีพไทยให้้มีีคุุณภาพและ มีีมาตรฐาน ตลอดจนให้้ข้้อคิิดเห็็นอัันจะเป็็นประโยชน์์แก่่ภาครััฐ ภาคเอกชน นำำ ไป พััฒนาสัังคม ประเทศชาติิ สืืบไป นายวินิจ ศิลามงคล นายกสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาร (นายวิินิิจ ศิิลามงคล) นายกสภาวิิชาชีีพบััญชีี วาระปีี 2566 – 2569 The Conf Thai Professioสาร นายวินิจ ศิลามงคล นายกสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ................................................ ผมในฐานะนายกสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ยินดีที่ได้ร่วมเป็นหนึ่งในเครือขวิชาชีพแห่งประเทศไทย นอกเหนือจากการที่สภาวิชาชีพบัญชีจะเป็นองค์กรวิชาชีพที่มีหน้าที่หลักใส่งเสริมผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีให้มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ มีความโปร่งใส และมีความเที่ยงธรรม สภานโยบายและวัตถุประสงค์ที่จะท าประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติ อีกด้วย การได้เข้าร่วสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย กับหน่วยงานพันธมิตร 10 หน่วยงาน ยังเสมือนเป็นแข็งแกร่งในการร่วมกันระดมความรู้ความสามารถของแต่ละหน่วยงาน เพื่อช่วยกันส่งเสริมและพประกอบวิชาชีพในประเทศไทยให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และมีมาตรฐานมากยิ่งขึ้นให้ทัดเทียมสร้างสรรค์กิจกรรมต่างๆ เพื่อคุณประโยชน์ต่อสาธารณชน สังคม และประเทศชาติเพราะการบรรความส าเร็จจะเกิดขึ้นได้จ าเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในด้านต่างๆ ดังนั้น การรวมตัวก่อตั้งสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทยจึงนับว่าเป็นศูนย์กลาส าคัญยิ่งของแต่ละสภาวิชาชีพในการร่วมกันผลักดันวาระที่มีผลต่อการประกอบวิชาชีพของไทย องค์ความรู้ที่ได้แลกเปลี่ยนระหว่างกันน าไปพัฒนาสภาวิชาชีพของตนให้ดียิ่งขึ้นไป สุดท้ายนี้ ผมขอเป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีทุกท่าน คณะกรรมการ ผู้บริหาร ตลสภาวิชาชีพบัญชี ให้ความร่วมมือกับสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย ร่วมกันขับเคลื่อนการไทยให้มีคุณภาพและมีมาตรฐาน ตลอดจนให้ข้อคิดเห็นอันจะเป็นประโยชน์แก่ภาครัฐ ภาคเอกชสังคม ประเทศชาติ สืบไป (นายวินิจ ศิลามงคล) นายกสภาวิชาชีพบัญชี วาระปี 2566 – 2569 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 22
สมาพั ั นธ์์สภาวิิชาชี ี พ แห่่งประเทศไทย
สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย THE CONFEDERATION OF THAI PROFESSIONAL COUNCILS ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงสมศรี เผ่าสวัสดิ์ นายกแพทยสภา วาระ พ.ศ.2562-2563, 2564-2565 และ 2566-2567 ประวัติความเป็นมาของการก่อตั้งสมาพันธ์สภาวิชาชีพ ก่่อนอื่่�นต้้องขอเรีียนให้ท่้ ่านผู้้อ่่าน ทุกทุ่่านได้้ทราบก่่อนว่่า ผู้้เขีียนบทความนี้ ้� มิิได้้อยู่่ในสมััยก่่อตั้้� งสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ แต่่เนื่่�องจากคณะกรรมการเห็นว่็ ่าบทความ ส่่วนนี้้�เป็นส่็ ่วนสำคัำ ัญที่่�ควรยกย่่องผู้้ก่่อตั้้� ง ซึ่่ง�ต้้องการให้้อนุุชนรุ่่นหลัังได้้ทราบถึงึที่่�มา ที่่�ไปของการมารวมตััวกันัของวิิชาชีีพต่่าง ๆ เพื่่�อให้้เป็น็ความสมบููรณ์์ของหนัังสืือเล่่มนี้ ้� เพื่่�อให้้ออกมาตามกำำหนดเวลาที่่�ตั้้� งไว้้ จึึง ได้้พยายามหาข้้อมููลจากผู้้ที่่�อยู่่ในสมััยนั้้� น โดยการสััมภาษณ์์หลายๆท่่านที่่�เป็นส็มาชิกิ อยู่่หลายสภาวิิชาชีีพ ซึ่่งจะอ�ยู่่ในตอนท้้าย ของบทความนี้ ้� แพทยสภาเป็็นสภาวิิชาชีีพด้้าน สุุขภาพแห่่งแรก ที่่�จััดตั้้�งตามพระราช บััญญััติิวิิชาชีีพเวชกรรม และเมื่่�อมีีการ จััดตั้้� งสภาวิิชาชีีพด้้านสุุขภาพอื่่�น ๆ ตาม มา จึึงได้้จััดประชุุมร่่วมกัันครั้้�งแรกเมื่่�อ วันที่่ ั � 12 ตุลุาคม 2544 เพื่่�อประชุุมปรึึกษา หารืือ แลกเปลี่่�ยนความคิิดเห็็นในเรื่่�อง การบริกิารสาธารณสุุขและสร้้างความเป็น็ ปึกึแผ่น่ ในสภาวิิชาชีีพ ในช่่วงแรกมีี 4 สาขา คืือ แพทยสภา สภาการพยาบาล สภา เภสััชกรรม และทัันตแพทยสภา เมื่่�อมีี การจััดตั้้� งสภาเทคนิิคการแพทย์์ และสภา กายภาพบำบัำ ัดได้้มาร่่วมเป็น็ภาคีีด้้วย และ ต่่อมาสััตวแพทยสภา ได้้เข้้ามาร่่วมด้้วย ในปััจจุุบััน ภาคีีสภาวิิชาชีีพด้้านสุุขภาพ มีี 7 สภาวิิชาชีีพ ได้้แก่่ แพทยสภา สภา การพยาบาลสภาเภสััชกรรม ทันตัแพทยสภา สภาเทคนิิคการแพทย์์ สภากายภาพบำบัำ ัด และสัตัวแพทยสภา ต่่อมา สภาวิิศวกร โดยอาจารย์์ นิติยา มหาผล ซึ่่งเ�ป็นวิ็ ิศวกรที่่�เป็นข้็ ้าราชการ กระทรวงสาธารณสุุข ในตำำแหน่่งโฆษก กระทรวงสาธารณสุุขและบรรณาธิิการ วารสารกระทรวงสาธารณสุุข ท่่านเป็็น เลขาธิิการสภาวิิศวกรในขณะนั้้�น ได้้มา ขอปรึึกษาหารืือกัับนายกแพทยสภาใน สมััยนั้้�นและเข้้าร่่วมประชุุมกลุ่่มเพื่่� อ ปรึึกษาหารืือและแลกเปลี่่�ยนความคิิด เห็็นที่่�เป็็นประโยชน์์กัับสภาวิิชาชีีพ โดย มีีสภาสถาปนิิกมาเข้้าร่่วมประชุุมด้้วย แต่่เนื่่�องจากการประชุุมจะเป็็นวาระที่่� เกี่่�ยวข้้องกัับด้้านสาธารณสุุขเป็นส่็ ่วนมาก การประชุุมร่่วมกันัจะทำำ ให้ส้ภาวิิชาชีีพอื่่�น เสีียเวลา ประกอบกัับมีีสภาวิิชาชีีพอื่่�น ๆ ที่่� สนใจเข้้ามามีีส่่วนร่่วม จึึงเสนอให้มีีก้ารจััด ตั้้� งสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ เพื่่�อพิิจารณาใน เรื่่�องอื่่�น ๆ ที่่�ไม่่ใช่่ปััญหาด้้านการสาธารณสุุข “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีพี แห่่งประเทศไทย” จึึงได้ถื้ ือกำำเนิิดขึ้้น� โดยแพทยสภา สภาการ พยาบาล สภาเภสััชกรรม ทันตัแพทยสภา สภาวิิศวกร สภาสถาปนิกิสภาเทคนิิคการ แพทย์์ และสภากายภาพบำบัำ ัด รวม 8 สภาวิิชาชีีพ ได้ล้งนามร่่วมกันั ในการจััดตั้้� ง “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ” เมื่่�อวัันอาทิิตย์์ที่่� 13 พฤศจิกิายน พ.ศ.2548 ณ โรงแรมมิริา เคิลิ แกรนด์์ คอนเวนชั่่น�กรุุงเทพฯ (บันทึึก ั ความเข้้าใจของนายกสภาวิิชาชีีพ หน้้า 31) โดยมีีวัตถุั ปรุะสงค์์ในการจััดตั้้� งองค์กร์ เพื่่�อเป็็นสื่่�อกลางในการแลกเปลี่่�ยนความ คิิดเห็็น ส่่งเสริิมความสามััคคีีและความ เข้้าใจอันดีี ั ในระหว่่างองค์กรส์มาชิกิ ให้ข้้อ เสนอแนะอย่่างบููรณาการแก่่องค์์กรภาค รััฐและภาคเอกชนในด้้านการประกอบ วิิชาชีีพ เพื่่�อการพััฒนาประเทศ ส่่งเสริิม จริิยธรรมและคุุณธรรมในสภาวิิชาชีีพภาย ใต้กร้อบแห่่งกฎหมายและรััฐธรรมนููญ โดย คำนึึ ำงถึงึประโยชน์สูู์งสุุดของประชาชน ให้้ บริิการสัังคมในด้้านต่่าง ๆ เช่่น การช่่วย เหลืือประชาชนที่่�มีีความเดืือดร้้อน การ บำำเพ็็ญประโยชน์์เพื่่�อการกุุศล สนัับสนุุน กิิจกรรม และการดำำเนิินงานของสภา วิิชาชีีพ ประสานงานและส่่งเสริิมให้้เกิิด ความเข้้าใจที่่�ดีีของแต่่ละวิิชาชีีพ เพิ่่� มขีีด ความสามารถในการประกอบวิิชาชีีพแต่ล่ะ สาขา เพื่่�อรองรัับการร่่างกฎหมาย ร่่าง รััฐธรรมนููญ มาตราที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับวิิชาชีีพ การเปิิดเสรีีทางการค้้าของรััฐและดำำเนิิน การอื่่�น ๆ ตามที่่�สมาพัันธ์์จะได้้กำำหนดใน ภายหลััง ต่่อมาได้้มีีสภาทนายความ และ สภาวิิชาชีีพบััญชีีเข้้ามาร่่วมด้้วย และได้้มีี การประชุุมร่่วมกัันอย่่างสม่ำ ำ เสมอมาทุุก 2 เดืือน หากกลุ่่มมีีวาระจำำเป็็นเร่่งด่่วน อาจมีีการประชุุมเฉพาะกิิจ สมาพัันธ์์ ใช้้สถานที่่�ของสภาการพยาบาลเป็็นที่่� ประชุุม และสภาการพยาบาลรัับหน้้าที่่�เป็น็ ฝ่่ายเลขานุุการของคณะกรรมการบริิหาร สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 25
ในปีี พ.ศ.2562 คณะกรรมการได้้ มีีมติิให้้มีีการทำบัำ ันทึึกข้้อตกลงความร่่วม มืือกัันอีีกครั้้� ง เนื่่�องจากมีีสภาวิิชาชีีพเพิ่่ม� ขึ้้น�จากเดิิมที่่�เคยทำข้ำ ้อตกลงไว้้ จาก 8 สภา วิิชาชีีพ เป็น็ 11 สภาวิิชาชีีพ ที่่�เพิ่่มมา� อีีก 3 สภาวิิชาชีีพ ได้้แก่่ สภาทนายความ ใน พระบรมราชููปถััมภ์์ สััตวแพทยสภา และ สภาวิิชาชีีพบััญชีี ในพระบรมราชููปถััมภ์์ จึึงได้้จััดให้้มีีบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือ สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทยอีีก ครั้้ง เ �มื่่�อวันอัังคารที่่� 24 ธันัวาคม พ.ศ.2562 ณ อาคารนคริินทรศรีีสภาการพยาบาล ในกระทรวงสาธารณสุุข (บัันทึึกข้้อตกลง หน้้า 33-36) ในปััจจุบัุนั คณะกรรมการบริิหาร สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ มีีการประชุุมกััน ทุกวัุันอัังคารที่่� 2 ของเดืือนเว้้นเดืือน โดย จะแบ่่งเป็็นช่่วงแรก 09.00 น. เป็็นการ ประชุุมของคณะกรรมการสมาพัันธ์์ 11 วิิชาชีีพ ซึ่่�งจะประกอบด้้วยนายกสภา 11 สภา เลขาธิิการ และเจ้้าหน้้าที่่�ประสาน งานของทั้้� ง 11 สภา มาเป็็นคณะทำำงาน ร่่วมกััน ในช่่วงหลัังก็็จะเป็็นการประชุุม ของภาคีีสภาวิิชาชีีพด้้านสุุขภาพ ซึ่่�งมีี 7 สภาวิิชาชีีพ ได้้แก่่ แพทยสภา สภาการ พยาบาล สภาเภสััชกรรม ทันตัแพทยสภา สัตัวแพทยสภา สภาเทคนิิคการแพทย์์ และ สภากายภาพบำบัำ ัด โดยผลััดเวีียนกัันเป็น็ ประธานที่่�ประชุุมเรีียงลำดัำ ับอาวุุโสการ กำำเนิิดของสภาท่่านละ 6 เดืือน เราทำำงานร่่วมกัันได้้เป็็นอย่่าง ดีีสภาไหนถนััดด้้านไหน ก็็จะรัับงานด้้าน นั้้� นไปรัับผิิดชอบ อาทิิเช่่น สภาสถาปนิิก ได้้รัับหน้้าที่่�ออกแบบโลโก้้ของสมาพัันธ์์ ออกแบบรููปเล่่มและปกของหนัังสืือ สมาพัันธ์์เล่่มนี้้� เป็นต้็น้ เรามีีกติิกาในการทำำงานร่่วมกััน หลายอย่่าง ตััวอย่่างเช่่น ในยุุคโควิิด-19 เราร่่วมมืือกันทำั ำงานเพื่่�อช่่วยเหลืือประเทศ โดยมีีข้้อตกลงร่่วมกัันว่่าไม่่ถืือว่่าเป็็นการ ทำำงานทัับซ้้อนหรืือก้้าวก่่ายวิิชาชีีพซึ่่�ง กัันและกััน เช่น่ทัันตแพทย์์ ฉีีดยาเป็น็ก็็ สามารถช่่วยฉีีดวััคซีีนได้้ เพราะในช่่วงนั้้น� มีีการใช้บุุ้คลากรมาก สุุดท้้ายนี้้� ต้้องขอขอบพระคุุณ หลายๆท่่านที่่กรุ�ุณาให้ข้้อมููลโดยตััวท่่านเอง จนทำำ ให้้บทความนี้สำ ้� ำเร็็จออกมาได้้ ในนาม ของผู้้เขีียนขอขอบพระคุุณท่่านผู้้มีีรายนาม ต่่อไปนี้้�เป็น็อย่่างสููง 1 ศาสตราจารย์์เกีียรติิคุุณ ดร.วิิจิิตร ศรีีสุุพรรณ อดีีตนายกสภาการ พยาบาล พ.ศ. 2549 – 2553 และ วาระ พ.ศ. 2553 – 2557 2 อาจารย์์นิิตยา มหาผล อดีีต เลขาธิิการสภาวิิศวกร และอดีีต โฆษกกระทรวงสาธารณสุุข 3 รองศาสตราจารย์์ ดร.จิินตนา ยููนิิพัันธุ์์ ผู้้อำำนวยการศููนย์์บริิการ เลิิกบุุหรี่่�ทางโทรศััพท์์แห่่งชาติิ อดีีตกรรมการสภาการพยาบาล 4 คุุณอุุมาพร กนกพร เจ้้าหน้้าที่่� แพทยสภา ซึ่่�งเป็็นทีีมเลขานุุการ ในสมััย พ.ศ.2548 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 26
ยุทธศาสตร์สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย คณะกรรมการบริิหารสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ได้้กำำหนดวิิสััยทััศน์์ และยุุทธศาสตร์์ของสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ แห่่งประเทศไทย เพื่่�อกำำหนดทิิศทางให้้กัับสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ในการดำำเนิินงานในปีี พ.ศ.2564 – 2565 และ ปีี พ.ศ. 2566 – 2567 ดัังนี้ ้� ⬜⬜ วิิสััยทััศน์์ “ยึึดมั่่� นจรรยาบรรณ ก้้าวทัันวิิทยาการ ทำำงานคุ้้มครองประชาชน” ⬜⬜ ยุุทธศาสตร์์ ปีี 2566 – 2567 ประกอบด้้วยยุุทธศาสตร์์ 3 ด้้าน 1 ยุุทธศาสตร์์มาตรฐานการบริิหารสภาวิิชาชีีพใน การควบคุุมการประกอบวิิชาชีีพ และจรรยาบรรณ วิิชาชีีพ 2 ยุุทธศาสตร์์การรัับรองหลัักสููตรของสภาวิิชาชีีพ 3 ยุุทธศาสตร์์การประชาสััมพัันธ์์สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ⬜⬜ ยุทธศาสตร์ ปี 2564 - 2565 ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ 4 ด้าน 1 ยุุทธศาสตร์์การดำำเนิินการในสถานการณ์์แพร่่ระบาด ของไวรััสโคโรน่่า 2019 (COVID-19) 2 ยุุทธศาสตร์์มาตรฐานการบริิหารสภาวิิชาชีีพในการ ควบคุุมการประกอบวิิชาชีีพ และจรรยาบรรณวิิชาชีีพ 3 ยุุทธศาสตร์์การรัับรองหลัักสููตรของสภาวิิชาชีีพ 4 ยุุทธศาสตร์์การประชาสััมพัันธ์์สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 27
บัันทึึกข้้อตกลงความร่ ่ วมมืือ สมาพั ั นธ์์สภาวิิชาชี ี พ
1 เป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ส่งเสริม ความสามัคคีและความเข้าใจอันดีในระหว่างองค์กร สมาซิก 2 ให้ข้อเสนอแนะอย่างบูรณาการแก่องค์กรรัฐ และ เอกชน ในด้านการประกอบวิชาชีพ เพ่ือการพัฒนา ประเทศ และสาธารณประโยชน์ 3 ส่งเสริมจริยธรรม และคุณธรรมในสภาวิชาชีพภาย ใต้กรอบแห่งกฎหมายและรัฐธรรมนูญ โดยคำำนึงถึง ประโยชน์สูงสุดของประชาชน 4 ให้บริการสังคมในด้านต่าง ๆ อาทิ การช่วยเหลือ ประชาชนท ี่ มีความเดือดร้อน การบำำเพ็ญประโยชน์ เพ่ือการกุศล เป็นต้น 5 สนับสนนกุิจกรรม และการดำำเนนิงานของสภาวิชาชีพ 6 ประสานงาน และส่งงเสริมให้เกิดความเข้าใจที่ ดีของ แต่ละวิชาชีพ 7 เพิ่่� มขีีดความสามารถในการประกอบวิิชาชีีพแต่่ละ สาชา เพื่่�อรองรัับการเปิิดเสรีีทางการค้้าของรััฐ 8 อื่่�น ๆ ตามที่่�สมาพัันธ์์กำำหนด บันทึกความเข้าใจของนายกสภาวิชาชัพ 8 สภาวิชาชีพ สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพได้้มีีการลงนามบัันทึึกความเข้้าใจของนายกสภาวิิชาชีีพ จำำนวน 8 สภาวิิชาชีีพ ซึ่่�งเป็็น องค์์กรสมาชิิกเริ่่� มแรก ได้้แก่่ แพทยสภา สภาการพยาบาล สภาเภสััชกรรม ทัันตแพทยสภา สภาวิิศวกร สภาสถาปนิิก สภาเทคนิิคการแพทย์์ และสภากายภาพบำำบััด ครั้้� งแรกเมื่่�อวัันที่่� 13 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2548 ณ โรงแรม มิิราเคิิลแกรนด์์ กรุุงเทพมหานคร มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 30
31 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S
ในปีี พ.ศ. 2562 สภาวิิชาชีีพต่่างเห็นพ้็ ้องกันว่ั ่าการ รวมตััวกันัของสภาวิิชาชีีพแต่ล่ะองค์กร์เป็นส็ มาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ แห่่งประเทศไทยขึ้้�นมาก็็เพื่่�อเป็็นกลไกกลางในระดัับผู้้บริิหาร เพื่่�อประโยชน์์ในการแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้และถ่่ายทอดบทเรีียน จากประสบการณ์์ของการดำำเนิินงานของแต่่ละองค์์กรเพื่่�อ ให้มีีปร ้ะสิิทธิิภาพยิ่่ง�ขึ้้�น อัันจะช่่วยให้้เกิิดคุณููปก ุารต่่อการขัับ เคลื่่�อนความร่่วมมืือในการส่่งเสริิมสภาวิิชาชีีพแต่่ละองค์์กรที่่� เป็นส็มาชิกิในสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย เพื่่�อนำำ ไป สู่่การพััฒนาให้้เข้้มแข็็ง มั่่น�คง อย่่างจริิงจัังและเป็นรููปธรร ็ม ทั้้ง�นี้ ้� เพื่่�อประโยชน์์ของสัังคมและประเทศชาติิต่่อไป ประกอบกัับมีี สมาชิกสิภาวิิชาชีีพเพิ่่ม�ขึ้้นอีีก� 3 องค์กร์ เป็น็ 11 สภาวิิชาชีีพ จึึง บันทึกข้อตกลงความร่วมมือของสมาพันธ์สภาวิชาชัพ 11 สภาวิชาชีพ เห็นส็มควรให้มีีก้ารจััดทำบัำ นทึึกข้ ั ้อตกลงความร่่วมมืือระหว่่าง องค์กรส์มาชิกิในสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทยฉบัับใหม่่ ขึ้้น� เพื่่�อใช้้เป็นกร็ อบในการปฏิิบััติิภารกิิจต่่าง ๆ ในนามสมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทยให้้มีีประสิิทธิิภาพและเกิิดความ สามารถในการขัับเคลื่่�อนการดำำเนินิงานไปด้้วยความต่่อเนื่่�อง อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ และเกิิดผลสััมฤทธิ์์ต�ามวัตถุั ปรุะสงค์์ร่่วม กันัขององค์กรส์มาชิกิในสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย เมื่่�อวันที่่ ั � 24 ธันัวาคม พ.ศ.2562 ณ ห้้องประชุุม ดร.ทััศนา บุุญ ทอง อาคารนครินิทรศรีีสภาการพยาบาล และให้ถื้ ือเอาบันทึึก ั ข้้อตกลงฉบัับนี้้�ใช้บั้ ังคัับแทนบันทึึก ัความเข้้าใจของนายกสภา วิิชาชีีพลงนามเมื่่�อวันที่่ ั � 13 พฤศจิกิายน พ.ศ.2548 ▲ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 32
33 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S
34 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S
35 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S
36 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S
คณะกรรมการบริิหาร สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย ชุุดปััจจุุบััน
กรรมการบริหารสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย วาระ พ.ศ.2566 38 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S
ผลการดำำ�เนิินงาน ของ สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย
ผลการดำำาเนิินงานสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ การเสนอแก้ไขพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ เสนอให้มีีก้ารพิิจารณาปรัับแก้้ไขพระราชกฤษฎีีกาจััดตั้้� งสถาบันคุัุณวุุฒิวิิชาชีีพ (องค์์การ มหาชน) พ.ศ. 2554 โดยแก้้ไขจากคำำว่่า “วิิชาชีีพ” แก้้เป็็น “อาชีีพ” หรืือ “การอาชีีพ” และเปลี่่�ยนจาก “สถาบัันคุุณวุุฒิิ วิิชาชีีพ” แก้้เป็็น “สถาบัันคุุณวุุฒิิอาชีีพ” หรืือ “สถาบัันมาตรฐานอาชีีพ” เพื่่�อให้้มีีความเหมาะสมและสอดคล้้องกัับ วััตถุุประสงค์์ในการดำำเนิินการมากยิ่่� งขึ้้�น และป้้องกัันความสัับสนระหว่่างสถาบัันคุุณวุุฒิิวิิชาชีีพ และสภาวิิชาชีีพ โดยให้้ จััดทำำ หนัังสืือจากสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพเพื่่�อแจ้้งความเห็็นดัังกล่่าวข้้างต้้น ไปยัังกรมพััฒนาฝีีมืือแรงงาน กระทรวงแรงงาน การให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญ การเสนอขอแก้ไขร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. .... โดยที่่�รััฐธรรมนููญแห่่งราชอาณาจัักรไทย (ฉบัับ ชั่่� วคราว) พุุทธศัักราช 2557 ซึ่่�งแก้้ไขเพิ่่� มเติิมโดยรััฐธรรมนููญ แห่่งราชอาณาจัักรไทย (ฉบัับชั่่� วคราว) พุุทธศัักราช 2557 แก้้ไขเพิ่่� มเติิม (ฉบัับที่่� 1) พุุทธศัักราช 2558 มาตรา 39/1 วรรค 2 ของบััญญััติิให้้คณะกรรมการร่่างรััฐธรรมนููญรัับฟััง ความคิิดเห็น็ของประชาชนทุกุภาคส่่วนประกอบการจััดทำำ ร่่าง สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ ได้้ร่่วมกัันพิิจารณา(ร่่าง)พระ ราชบััญญััติิประกอบรััฐธรรมนููญว่่าด้้วยการปฏิิรููปประเทศไทย พ.ศ..... ซึ่่�งเป็็นเรื่่�องที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับสภาวิิชาชีีพ ได้้มีีมติิร่่วม รััฐธรรมนููญด้้วยนั้้� น สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ ได้้พิิจารณาและมีี มติิร่่วมกัันเพื่่�อขอนำำเสนอความเห็น็และข้้อเสนอแนะเกี่่�ยวกัับ ร่่างรััฐธรรมนููญและการปฏิิรููปประเทศ ต่่อคณะกรรมการร่่าง รััฐธรรมนููญ เพื่่�อรวบรวมนำำ ไปต่่อยอดสู่่การร่่างรััฐธรรมนููญ ฉบัับใหม่่ เพื่่�อให้้เกิิดมีีประสิิทธิิภาพสููงสุุดและนำปร ำ ะโยชน์์ไป สู่่ประชาชน ต่่อประธานกรรมการร่่างรััฐธรรมนููญ 1 ประเด็็น สิิทธิิเสรีีภาพและหน้้าที่่�ของประชาชน 2 ประเด็็น การใช้้คำำ “การบริิการด้้านสุุขภาพ” 3 ประเด็็น การวางแผนกำำลัังคนระดัับวิิชาชีีพ 4 ประเด็็น มาตรฐานวิิชาชีีพ 5 ประเด็็น ธรรมาภิิบาลขององค์์กรอิิสระ 6 ประเด็็น ที่่�มาของสมาชิิกวุุฒิิสภา 7 ประเด็็น การเยีียวยาผู้้ได้้รัับผลกระทบจากการ บริิบาลด้้านสุุขภาพและการบริิการ ด้้านวิิชาชีีพ กัันให้้เสนอขอแก้้ไขเพิ่่� มเติิม(ร่่าง)พระราชบััญญััติิประกอบ รััฐธรรมนููญว่่าด้้วยการปฏิิรููปประเทศไทย พ.ศ..... ต่่อประธาน สภาปฏิิรููป จำำนวน 3 มาตรา ดัังนี้ ้� ⬜⬜ ส่่วนที่่� 1 การปฏิิรููปด้้านการศึึกษา มาตรา 14 (13) ⬜⬜ ส่่วนที่่� 2 การปฏิิรููปด้้านสาธารณสุุข มาตรา 15 (5) ⬜⬜ ส่่วนที่่� 5 การปฏิิรููปด้้านการคุ้้มครองผู้้บริิโภค (8) และ (9) หมวด 2 ⬜⬜ สัังคมและวััฒนธรรม สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 40
การเสนอความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช (ร่างเบื้องต้น 29 มกราคม 2559) การยืนยันร่างกฎกระทรวงกำหนดงานที่คนต่างด้าวอาจทำาได้ พ.ศ. .... (ร่างที่ สคก.ตรวจพิจารณาแล้ว เรื่องเสร็จที่ 1153/2559 ) จัดประชุมระดมความคิดจากทุกสภาวิชาชีพเกี่ยวกับอำานาจหน้าที่ของสภาวิชาชีพต่อการ จัดการศึกษาของสถาบันการศึกษาตามมาตรา 40 วรรคท้าย แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย ตามที่่�คณะกรรมการร่่างรััฐธรรมนููญ (กรธ.) ได้้จััดทำำ รััฐธรรมนููญแห่่งราชอาณาจัักรไทย พุุทธศัักราช .... (ร่่างเบื้้�อง ต้้น 29 มกราคม 2559) สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพได้้มีีมติิร่่วมกััน ให้้เสนอความเห็็นต่่อร่่างรััฐธรรมนููญแห่่งราชอาณาจัักรไทย สำำ นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกาได้้ขอให้้สมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพแจ้้งยืืนยัันความเห็็นเกี่่�ยวกัับร่่างกฎกระทรวง กำำหนดงานที่่�คนต่่างด้้าวอาจทำำ ได้้ พ.ศ. .... ที่่�สำำ นัักงานคณะ กรรมการกฤษฎีีกาตรวจพิิจารณา ร่่างฯ ที่่� สคก. ตรวจพิิจารณา แล้้ว เรื่่�องเสร็็จที่่� 1153/2559 ซึ่่�งสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพได้้ พิิจารณาร่่วมกัันแล้้วพบว่่าร่่างกฎกระทรวงกำำหนดงานที่่�คน ต่่างด้้าวอาจทำำ ได้้ พ.ศ. .... ฉบัับนี้้� ยัังมีีประเด็็นที่่�สมาพัันธ์์สภา พุุทธศักรัาช .... ต่่อประธานคณะกรรมการร่่างรััฐธรรมนููญ เพื่่�อ ให้้มีีความชััดเจนยิ่่� งขึ้้�นและเกิิดประโยชน์์สููงสุุดต่่อประชาชน โดยขอแก้้ไขในหมวด วิิชาชีีพเห็นว่็ ่าจำำเป็นต้็ ้องแก้้ไขเพื่่�อให้รั้ัดกุุมและสอดคล้้องกัับ แนวปฏิิบััติิของสภาวิิชาชีีพ สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพจึึงส่่งความ เห็็นของสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพต่่อร่่างกฎกระทรวงกำำหนดงาน ที่่�คนต่่างด้้าวอาจทำำ ได้้ พ.ศ. .... ไปที่่�เลขาธิกิารคณะรััฐมนตรีี และรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงแรงงาน การยืืนยัันร่่างกฎ กระทรวงกำำหนดงานที่่�คนต่่างด้้าวอาจทำำ ได้้ พ.ศ. .... ตามที่่� สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพได้้เคยเสนอความเห็็นไปแล้้ว หมวด 3 หมวด 5 ⬜⬜ สิิทธิิเสรีีภาพของปวงชนชาวไทย หมวด 4 ⬜⬜ หน้้าที่่�ของปวงชนชาวไทย ⬜⬜ หน้้าที่่�ของรััฐ สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ ได้้กำำหนด ให้มีีก้ารประชุุมระดมความคิิดจากทุกสุภา วิิชาชีีพเกี่่�ยวกัับอำำนาจหน้้าที่่�ของสภา วิิชาชีีพต่่อการจััดการศึึกษาของสถาบััน การศึึกษา ตามมาตรา 40 วรรคท้้าย แห่่งรััฐธรรมนููญแห่่งราชอาณาจัักรไทย ในวัันพฤหััสบดีีที่่� 10 พฤศจิิกายน 2559 ซึ่่�งการประชุุมดัังกล่่าวทุุกสภาวิิชาชีีพ ได้้ส่่งผู้้แทนที่่�ดููแลเรื่่�องการจััดการศึึกษา ของวิิชาชีีพ และฝ่่ายกฎหมายของทุกสุภา วิิชาชีีพเข้้าร่่วมประชุุมสรุุปประเด็็นได้้ว่่า (1) คำำว่่า“ก้้าวก่่าย” สภาวิิชาชีีพ มีีกฎหมายว่่าด้้วยวิิชาชีีพที่่�ให้้อำำนาจใน การดำำเนินิงานเกี่่�ยวกัับหลักสููตรกัารศึึกษา ในวิิชาชีีพโดยสภาวิิชาชีีพได้้ให้้ความ ร่่วมมืือในการผลิิตหลัักสููตรในวิิชาชีีพ ของสถาบัันที่่�มีีความพร้้อมในการจััดการ ศึึกษา และสภาวิิชาชีีพเป็็นองค์์กรที่่� ควบคุุม กำำกัับดููแล ผู้้ประกอบวิิชาชีีพให้้ มีีความรู้้ ความสามารถ ตามมาตรฐาน วิิชาชีีพเพื่่�อคุ้้มครองประชาชนให้้ได้้รัับ ความปลอดภััย ดัังนั้้� นอำำนาจหน้้าที่่�ของ สภาวิิชาชีีพจึึงไม่่ได้้ก้้าวก่่ายการจััดการ ศึึกษาของสถาบัันการศึึกษา (2) มาตรา 40 วรรคสาม ใช้คำ้ ำว่่า “อาชีีพ” ไม่่ใช่่ “วิิชาชีีพ” การจััดการ ศึึกษาในวิิชาชีีพจึึงไม่่ได้้อยู่่ในความหมาย ของมาตรา 40 วรรคสาม เนื่่�องจาก คำำว่่า “อาชีีพ” หมายถึึง การประกอบอาชีีพ โดยทั่่�วไป แต่่คำำว่่า “วิิชาชีีพ” หมายถึึง การประกอบอาชีีพที่่�ต้้องมีีความรู้้เฉพาะ ที่่�ไม่่สามารถทำำ ได้้ทุุกคน ต้้องมีีจริิยธรรม มีีสภาวิิชาชีีพเป็็นองค์์กรควบคุุม ดููแล มาตรฐาน มีีการศึึกษาฝึึกอบรมเป็็นระยะ เวลานาน และต้้องมีีเจตนารมณ์์ในการ บริิการประชาชน ดัังนั้้� นคำำว่่า “อาชีีพ” ตามความหมายของร่่างรััฐธรรมนููญฯ จึึง ไม่่ได้้หมายถึึง “วิิชาชีีพ” ตามความหมาย ของ พรบ.วิิชาชีีพต่่าง ๆ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 41
การเสนอความเห็นต่อร่างพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. .... สืื บ เ นื่่�องจา กสำำ นััก ง า น คณะกรรมการการอุุดมศึึกษาได้้มีีการ ประชาสัั ม พัันธ์์กา รรัั บฟัังความคิิ ด เห็็นต่่อ(ร่่าง)พระราชบััญญััติิปรัับปรุุง กระทรวง ทบวง กรม (ฉบัับที่่� ..) พ.ศ. .... (ร่่าง)พระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... และ(ร่่าง)พระราชบััญญััติิ ระเบีียบบริิหารราชการกระทรวงการ อุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ผ่่านระบบสารสนเทศ อิิเล็็กทรอนิิกส์์ และจััดให้้มีีการประชุุม สััมมนาเพื่่�อรัับฟัังความคิิดเห็็นต่่อ(ร่่าง) พระราชบััญญััติิดัังกล่่าวจากหน่่วยงานที่่� เกี่่�ยวข้้อง ที่่�ประชุุมสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ ได้้พิิจารณา(ร่่าง) พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ. ... ที่่�กำำหนดบทบััญญััติิที่่�เกี่่�ยวข้้อง กัับการปฏิิบััติิตามวััตถุุประสงค์์ อำำนาจ และหน้้าที่่�ของสภาวิิชาชีีพแล้้ว พบว่่า มีีบางประเด็็นที่่�สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ เห็็นว่่าจำำเป็็นต้้องแก้้ไขเพื่่�อให้้รััดกุุมและ สอดคล้้องกัับ พ.ร.บ.ของสภาวิิชาชีีพ ต่่าง ๆ เนื่่�องจากร่่าง พ.ร.บ. ฉบัับนี้้�จะ ก่่อให้้เกิิดผลกระทบต่่อคุุณภาพและ มาตรฐานทางวิิชาชีีพทุุกวิิชาชีีพ และ กระทบต่่อผลประโยชน์์ของประชาชน รวมทั้้�งประเทศชาติิ โดยเฉพาะคุุณภาพ ของบััณฑิิตที่่�จะเข้้ามาเป็็นสมาชิิกของ สภาวิิชาชีีพ ซึ่่�งร่่าง พ.ร.บ.ดัังกล่่าว ห้้าม มิิให้้สภาวิิชาชีีพเข้้าไปช่่วยในการกำำกัับ ดููแลมาตรฐานของหลัักสููตร ซึ่่�งถืือ เป็็นการเขีียนกฎหมายที่่�เป็็นการก้้าว ล่่วง พ.ร.บ.ของวิิชาชีีพต่่าง ๆ ที่่�มีีหน้้าที่่� ในการส่่งเสริิมการศึึกษาให้้ได้้มาตรฐาน เพื่่�อคุ้้มครองประชาชนให้้ได้้รัับบริิการ จากผู้้ประกอบวิิชาชีีพที่่�มีีคุุณภาพ โดยถืือ เป็็นภารกิิจหลัักร่่วมกัันกัับมหาวิิทยาลััย หากไม่่มีีการกำำกัับดููแลตั้้� งแต่่ต้้นนั้้� นจะส่่ง ผลกระทบต่่อการสอบขอรัับใบอนุุญาต ประกอบวิิชาชีีพ และจะส่่งผลให้้เกิิดการ ปลอมแปลงหรืือลัักลอบประกอบวิิชาชีีพ โดยไม่่มีีใบอนุุญาตตามกฎหมาย อีีกทั้้�ง ร่่าง พ.ร.บ.ดัังกล่่าว ยัังส่่งผลกระทบต่่อ ข้้อตกลงร่่วมกัันระหว่่างประเทศ โดย คนต่่างชาติิจะเข้้ามาประกอบวิิชาชีีพได้้ โดยไม่่มีีการรัับรองใบปริิญญา ตามหลััก ปฏิิบััติิเช่่นเดีียวกัับบุุคคลที่่�มีีสััญชาติิไทย สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพได้้ดำำเนิินการเพื่่�อ การนำำเสนอความเห็นต่็ ่อ(ร่่าง) พ.ร.บ.การ อุุดมศึึกษา พ.ศ. .... มาอย่่างต่่อเนื่่�องตั้้� งแต่่ ปีี พ.ศ.2560 ตามลำำดัับดัังนี้ ้� ⬜⬜ วัันที่่� 21 มิิถุุนายน 2560 ผู้้แทนจาก 11 สภาวิิชาชีีพ เข้้าพบ ดร.สุุภััทร จำำปาทอง เลขาธิกิาร สกอ. เพื่่�อ หารืือเกี่่�ยวกัับแนวทางดำำเนิินการร่่วมกัันระหว่่าง สกอ. กัับสภาวิิชาชีีพในการ จััดการศึึกษาของสถาบัันอุุดมศึึกษาให้้มีีคุุณภาพและการประกอบวิิชาชีีพที่่�ได้้ มาตรฐาน ณ สำำ นัักงานเลขาธิกิาร สกอ. ถนนศรีีอยุุธยา ⬜⬜ วัันที่่� 23 มิิถุุนายน 2560 เข้้าร่่วมสััมมนาเพื่่�อรัับฟัังความคิิดเห็นต่็ ่อร่่างพระราชบััญญััติิดัังกล่่าว ณ อาคาร มหิิตลาธิิเบศร จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย และยื่่�นหนัังสืือเสนอความเห็็นและข้้อ เสนอแนะเกี่่�ยวกัับร่่างพระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ.... ถึึงประธานคณะ อนุุกรรมการยกร่่างพระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ⬜⬜ วัันที่่� 27 กรกฎาคม 2560 ยื่่�นหนัังสืือเสนอความเห็็นและข้้อเสนอแนะเกี่่�ยวกัับร่่างพระราชบััญญััติิการ อุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ถึึงรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงศึึกษาธิกิาร และส่่งมอบหนัังสืือ ให้้ รมว. ในการประชุุมหารืือเกี่่�ยวกัับร่่างพระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ..... ณ ห้้องประชุุม 5 สำำ นัักงานคณะกรรมการอาชีีวศึึกษา กระทรวงศึึกษาธิกิาร สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 42
⬜⬜ วัันที่่� 1 พฤศจิิกายน 2560 เข้้าร่่วมประชุุมกัับคณะกรรมาธิกิารการสาธารณสุุข สภานิิติิบััญญััติิ เพื่่�อแลก เปลี่่�ยนความคิิดเห็็นเกี่่�ยวกัับหลัักการและเหตุุผล รวมทั้้� งสาระสำำคััญของร่่าง พระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ..... โดยเฉพาะในประเด็็นเกี่่�ยวกัับการมีีส่่วน ร่่วมของสภาวิิชาชีีพในการกำำกัับดููแลมาตรฐานวิิชาชีีพ และประเด็็นอื่่�น ๆ ที่่� เกี่่�ยวข้้อง ณ ห้้องประชุุมคณะกรรมาธิกิาร หมายเลข 310 ชั้้น� 3 อาคารรััฐสภา 2 ⬜⬜ วัันที่่� 27 มีีนาคม 2561 ผู้้แทนจากสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ ได้้ยื่่�นหนัังสืือเสนอความเห็็นและข้้อเสนอแนะ เกี่่�ยวกัับ(ร่่าง)พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... และ(ร่่าง) พ.ร.บ.ระเบีียบบริิหาร ราชการกระทรวงการอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ต่่อ นพ.ธีีระเกีียรติิ เจริิญเศรษฐศิิลป์์ รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงศึึกษาธิกิาร โดยมีีนายพิิเชฐ โพธิ์์ภั�ักดีีหััวหน้้าสำำ นัักงาน รััฐมนตรีีกระทรวงศึึกษาธิกิาร รัับเรื่่�องแทน ณ ห้้องประชุุมจัันทรเกษม กระทรวง ศึึกษาธิกิาร ⬜⬜ วัันที่่� 3 พฤษภาคม 2561 จััดเสวนาเรื่่�อง “(ร่่าง)พระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... กัับผลกระทบต่่อ ประชาชนและวิิชาชีีพ” ณ ห้้องวิิภาวดีี บอลรููม A-B โรงแรมเซ็็นทารา แกรนด์์ แอท เซ็็นทรััลพลาซาลาดพร้้าว โดยทั้้� ง 11 สภาวิิชีีพ มีีความกัังวลกัับ (ร่่าง) พ.ร.บ.อุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ที่่�ห้้ามมิิให้้สภาวิิชาชีีพรัับรองหลัักสููตรและอนุุมััติิใบ ปริิญญา และกำำหนดให้้จััดสอบใบประกอบวิิชาชีีพเพีียงอย่่างเดีียว ที่่�ผ่่านมา สมาพัันธ์์วิิชาชีีพได้้เข้้ายื่่�นหนัังสืือเพื่่�อเสนอข้้อเสนอแนะในประเด็็นต่่าง ๆ ที่่� ก่่อให้้เกิิดผลกระทบต่่อวิิชาชีีพ ระบบการศึึกษา รวมทั้้� งคุุณภาพมาตรฐานของ ผู้้ประกอบวิิชาชีีพ ต่่อรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงศึึกษาธิกิาร รััฐมนตรีีช่่วยว่่าการ กระทรวงศึึกษาธิกิารมาก่่อนหน้้านี้้� แต่่ร่่าง พ.ร.บ.ดัังกล่่าว ก็ยั็ ังไม่มีีก่ารปรัับแก้้ไข ใด ๆ จากการเสวนาครั้้� งนี้้�ทางสมาพัันธ์์ทั้้� ง 11 สภาวิิชาชีีพ จะจััดประชุุมและ นำำข้้อสรุุปที่่�ได้้เพื่่�อยื่่�นเสนอต่่อ พล.อ.ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี เพื่่�อ ให้้ข้้อเสนอแนะในการแก้้ไข(ร่่าง)พ.ร.บ. การอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ต่่อไป ⬜⬜ วัันที่่� 18 พฤษภาคม 2561 ยื่่�นหนัังสืือเสนอความเห็น็และข้้อเสนอแนะเกี่่�ยวกัับ(ร่่าง) พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... และ(ร่่าง) พ.ร.บ.ระเบีียบบริิหารราชการกระทรวงการอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ต่่อนายกรััฐมนตรีี ณ ห้้องประชุุม ๑๑๑ ศููนย์์บริกิารประชาชน สำำ นัักงานปลััด สำำ นัักนายกรััฐมนตรีีทำำเนีียบรััฐบาล โดยมีีนายพัันศักดิ์์ ั� เจริิญ ผู้้อำำนวยการส่่วน ประสานมวลชนและองค์์กรประชาชน เป็็นผู้้รัับเรื่่�อง สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 43
⬜⬜ วัันที่่� 25 พฤษภาคม 2561 ยื่่�นหนัังสืือเสนอความเห็น็และข้้อเสนอแนะเกี่่�ยวกัับ (ร่่าง) พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... และ(ร่่าง) พ.ร.บ.ระเบีียบบริิหารราชการกระทรวงการอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ต่่อประธานสภานิิติิบััญญััติิแห่่งชาติิ ณ อาคารรััฐสภา 1 โดยมีีนายสุรชัุัย เลี้้�ยง บุุญเลิิศชััย เป็็นผู้้รัับหนัังสืือ ⬜⬜ วัันที่่� 29 สิิงหาคม 2561 จััดงานแถลงข่่าวเรื่่�อง (ร่่าง) พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... : ผลกระทบต่่อชีีวิิต และ สวััสดิิภาพของประชาชนไทย โดยมีีนายกจากสภาวิิชาชีีพทั้้�ง 11 สภา วิิชาชีีพ ร่่วมให้ข้้อมููลและแสดงจุุดยืนต่ื ่อร่่าง พ.ร.บ. ฉบัับดัังกล่่าว ซึ่่�งมีีประชาชน และสื่่�อมวลชนให้้ความสนใจเข้้าร่่วมงานจำำนวนมาก จััดขึ้้�น ณ ห้้องประชุุม กรมประชาสััมพัันธ์์ กรุุงเทพฯ ⬜⬜ วัันที่่� 6 กัันยายน 2561 เข้้าพบ ศ.กิิตติิคุุณ ดร.วิิษณุุ เครืืองาม รองนายกรััฐมนตรีีสำำ นัักนายกรััฐมนตรีี ทำำเนีียบรััฐบาล เพื่่�อขอหารืือและแสดงจุุดยืนคัื ัดค้้าน(ร่่าง) พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... มาตรา 64 มาตรา 65 มาตรา 66 ที่่�ห้้ามมิิให้้สภาวิิชาชีีพมีีอำำนาจใน การรัับรองหลัักสููตรและกำำหนดการจััดการเรีียนการสอนที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับวิิชาชีีพ นั้้� น ๆ ซึ่่�งส่่งผลถึึงการดููแลมาตรฐานการศึึกษาและคุุณภาพของผู้้ที่่�จะจบมา ประกอบวิิชาชีีพ ⬜⬜ วัันที่่� 10 กัันยายน 2561 เข้้าร่่วมชี้้�แจงรายละเอีียด(ร่่าง) พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ในมาตรา 64 มาตรา 65 มาตรา 66 และมาตรา 48 จะส่่งผลกระทบอย่่างรุุนแรงต่่อมาตรฐาน และคุุณภาพของบััณฑิิตที่่�จะเข้้าสู่่วิิชาชีีพสาขา ต่่าง ๆ และจะส่่งผลกระทบใน ทางลบต่่อประชาชนโดยตรง ทั้้� งด้้านการสาธารณสุุข สัังคม เศรษฐกิิจของชาติิ ตลอดจนการประกอบวิิชาชีีพในอนาคต ต่่อที่่�ประชุุมคณะกรรมการกฤษฎีีกา (คณะพิิเศษ) เพื่่�อตรวจพิิจารณา(ร่่าง) พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ณ ห้้อง ประชุุมโบราณ ชั้้� น 2 สำำ นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกา สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 44
⬜⬜ วัันที่่� 12 กัันยายน 2561 ทำำ หนัังสืือถึึงรััฐมนตรีีผู้้รักัษาการตาม พ.ร.บ.วิิชาชีีพของ 11 สภาวิิชาชีีพ ได้้แก่่กระทรวงสาธารณสุุข กระทรวง มหาดไทย กระทรวงพาณิิชย์์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์์ และกระทรวงยุุติิธรรม เพื่่�อแสดงความคิิดเห็็น ต่่อ(ร่่าง) พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ..... เพื่่�อปกป้้องผล ประโยชน์์ของนัักศึึกษา ประชาชน และ สัังคมที่่�จะได้้รัับ ผลกระทบจากกฎหมายดัังกล่่าวโดยเฉพาะในมาตรา 64 มาตรา 65 มาตรา 66 และมาตรา 48 ⬜⬜ วัันที่่� 19 กัันยายน 2561 สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพประชุุมร่่วมกัับคณะกรรมการ กฤษฎีีกา (คณะพิิเศษ) ณ ห้้องประชุุมโบราณ ชั้้�น 2 สำำ นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกาเพื่่�อชี้้�แจงข้้อมููลและ แสดงความเห็็น พร้้อมกัับได้้ทำำ หนัังสืือแสดงความเห็็น ของสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพ ต่่อร่่าง พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ในมาตรา 64 มาตรา 65 มาตรา 66 และมาตรา 48 ⬜⬜ วัันที่่� 25 ตุุลาคม 2561 เสนอร่่างบทบััญญััติิเกี่่�ยวข้้องกัับการรัับรองหลัักสููตรใน สาขาวิิชาที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับสภาวิิชาชีีพใน (ร่่าง) พ.ร.บ.การ อุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ต่่อเลขาธิิการคณะกรรมการ กฤษฎีีกา ในประเด็็นเรื่่�องการรัับรองหลัักสููตรในสาขา วิิชาที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับสภาวิิชาชีีพ แทนมาตรา 64 มาตรา 65 และมาตรา 66 เพื่่�อเป็็นแนวทางในการทำำงานร่่วม กัันระหว่่างสถาบัันอุุดมศึึกษาและสภาวิิชาชีีพ ในการ กำำหนดหลัักสููตรและการรัับรองหลัักสููตรในสาขาวิิชาที่่� เกี่่�ยวข้้องกัับสภาวิิชาชีีพในชั้้นอุ�ุดมศึึกษาให้ส้อดคล้้องกัับ สภาพสัังคม วิิทยาการศึึกษา และมาตรฐานของวิิชาชีีพ ดัังนี้้� “สถาบัันอุุดมศึึกษาที่่�จะเปิิดสอนหลัักสููตรสาขา วิิชาชีีพ เพื่่�อให้้ผู้้สำำเร็็จการศึึกษามีีคุุณภาพมาตรฐาน และสมรรถนะเป็็นไปตามที่่�สภาวิิชาชีีพกำำหนด ให้้ สภาวิิชาชีีพร่่วมพิิจารณาหลัักสููตรและความพร้้อม ของสถาบัันก่่อนที่่�จะเปิิดดำำเนิินการ” ⬜⬜ วัันที่่� 25 ธัันวาคม 2561 ทำำ หนัังสืือถึึงประธานสภานิิติิบััญญััติิแห่่งชาติิ (สนช.) เพื่่�อให้้ข้้อเสนอแนะเกี่่�ยวกัับ(ร่่าง) พ.ร.บ.การ อุุดมศึึกษา พ.ศ. .... และ(ร่่าง) พ.ร.บ.ระเบีียบบริิหาร ราชการกระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััย และนวััตกรรม พ.ศ..... ฉบัับที่่�คณะกรรมการกฤษฎีีกา ตรวจร่่างแล้้ว ดัังนี้ ้� 1. เสนอขอให้้ตััดมาตรา 16 “สภาวิิชาชีีพจะออก ข้้อบัังคัับหรืือหลัักเกณฑ์์เพื่่�อจััดระเบีียบการประกอบ อาชีีพ โดยมีีลัักษณะเป็็นการเลืือกปฏิิบััติิ หรืือก้้าวก่่าย การจััดการศึึกษาของสถาบัันอุุดมศึึกษามิิได้้” ใน(ร่่าง) พ.ร.บ.การอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ออก และเสนอขอให้้เพิ่่� ม บทบััญญััติิที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับสภาวิิชาชีีพในประเด็็นเรื่่�อง การรัับรองหลัักสููตรของสถาบัันอุุดมศึึกษาที่่�จะเปิิดสอน หลักสููตรสัาขาวิิชาชีีพ เพื่่�อเป็น็แนวทางในการทำำงานร่่วม กัันระหว่่างสถาบัันอุุดมศึึกษาและสภาวิิชาชีีพ ในมาตรา 65 วรรคสอง ดัังนี้ ้� “สำำหรัับสถาบัันอุุดมศึึกษาที่่�จะเปิิดสอน หลัักสููตรสาขาวิิชาชีีพ เพื่่�อให้้ผู้้สำำเร็็จการศึึกษามีีคุุณภาพ มาตรฐาน และสมรรถนะเป็น็ ไปตามที่่ส�ภาวิิชาชีีพกำำหนด ให้ส้ภาวิิชาชีีพร่่วมพิิจารณาหลักสููตรัและความพร้้อมของ สถาบัันก่่อนที่่�จะเปิิดดำำเนิินการ” 2. เสนอให้้กำำหนดตััวแทนจากสภาวิิชาชีีพ เป็็น คณะกรรมการการอุุดมศึึกษา ตามมาตรา 21 และคณะ กรรมการมาตรฐานการศึึกษา ตามมาตรา 26 ในร่่าง พ.ร.บ.ระเบีียบบริิหารราชการกระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััย และนวััตกรรม พ.ศ. .... ทั้้� งนี้ ้� สภานิิติิบััญญััติิแห่่งชาติิ ในการประชุุม ครั้้� งที่่� 21/2562 วาระพิิเศษวัันที่่� 5 มีีนาคม 2562 ได้้พิิจารณา (ร่่าง) พระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... ที่่�คณะกรรมาธิิการ วิิสามััญพิิจารณาเสร็็จแล้้ว ในวาระที่่� 2 และลงมติิในวาระที่่� 3 ให้้ประกาศใช้้พระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ. 2562 และได้้ลงประกาศในราชกิิจจานุุเบกษา เล่่ม 136 ตอนที่่� 57 ก สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 45
ลงวัันที่่� 1 พฤษภาคม 2562 มีีผลบัังคัับใช้้เป็็นกฎหมายตั้้� งแต่่ วัันที่่� 2 พฤษภาคม 2562 ซึ่่�งที่่�ประชุุมสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ พิิจารณาแล้้วมีีความเห็็นว่่าสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ได้้ดำำเนิิน การทุกวิุิถีีทางแล้้วในการที่่�จะนำำเสนอความเห็น็ข้้อเสนอแนะ เกี่่�ยวกัับ (ร่่าง) พระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ. .... เพื่่�อให้้ เกิิดประสิิทธิิภาพสููงสุุดในการบริิหารการศึึกษาในส่่วนของการ อุุดมศึึกษาของประเทศ อัันจะเป็นก็ารคุ้้มครองประชาชนและ เป็็นประโยชน์์ต่่อสัังคมโดยรวม ทั้้�งการทำำ หนัังสืือและการ เข้้าพบเพื่่�อนำำเสนอความเห็็นไปยัังบุุคคล และคณะบุุคคล ที่่�เกี่่�ยวข้้อง อัันประกอบด้้วย คณะอนุุกรรมการยกร่่าง พ.ร.บ.จััดตั้้�งกระทรวงการอุุดมศึึกษา คณะกรรมาธิิการ การสาธารณสุุข สภานิิติิบััญญััติิแห่่งชาติิ รััฐมนตรีีว่่าการ กระทรวงศึึกษาธิิการ ประธานสภานิิติิบััญญััติิแห่่งชาติิ คณะกรรมการกฤษฎีีกา (คณะพิิเศษ) ศ.กิิตติิคุุณ ดร.วิิษณุุ เครืืองาม รองนายกรััฐมนตรีี และนายกรััฐมนตรีี รวมทั้้� งการ จััดเสวนา จััดแถลงข่่าวเพื่่�อให้้สัังคมรัับทราบและตระหนััก ถึึงผลเสีียที่่�อาจจะเกิิดขึ้้�นจากการละเลย และไม่่รัับผิิดชอบ ต่่อคุุณภาพของบััณฑิิตที่่�จะไปเป็็นผู้้ประกอบวิิชาชีีพต่่อไป เมื่่�อพระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ. 2562 ผ่่านการ พิิจารณาของ สนช. ออกเป็็นกฎหมายโดยไม่่ได้รั้บัการแก้้ไข ตามความเห็็นของสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ก็็คงต้้องเป็็นไป ตามนั้้�น โดยสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ จะร่่วมกัันพิิจารณา แนวทางดำเนิินงานของสภาวิิชาชีีพหลัังประกาศใช้้ พระราชบััญญััติิการอุุดมศึึกษา พ.ศ.2562 ต่่อไป ⬜⬜ วัันที่่� 11 กรกฎาคม 2562 สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ได้้เชิิญ รศ.นพ. สรนิติ ศิลธรริม ปลััดกระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและ นวััตกรรม มาร่่วมสนทนารัับฟัังปััญหาและข้้อเสนอ จากสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ ณ ห้้องประชุุม ชั้้�น 3 โรงพยาบาลสถาบันั โรคไตภููมิริาชนครินิทร์์ เพื่่�อหารืือใน 2 ประเด็น็ คืือให้มีี ้ผู้้แทนสภาวิิชาชีีพเป็นที่่ ็ ปรึึก�ษาร่่วม ในการตรวจมาตรฐานหลัักสููตร และแต่่งตั้้� งผู้้แทนสภา วิิชาชีีพร่่วมเป็็นคณะอนุุกรรมการสาขาวิิชาชีีพ โดย ปลััดกระทรวงการอุุดมศึึกษาฯ จะรัับเรื่่�องไปพิิจารณา งานเสวนา “รวมพลังปัญญา แก้ปัญหา ฝุ่นพิษ” สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย โดยสภา วิิศวกรร่่วมกัับสมาคมที่่�ประชุุมอธิิการบดีีแห่่งประเทศไทย สำำ นัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ สมาคม นัักเรีียนทุุนรััฐบาลไทยได้้จััดเสวนา “รวมพลัังปััญญา แก้้ ปััญหา ฝุ่่นพิิษ” เมื่่�อวัันที่่� 17 กุุมภาพัันธ์์ 2563 เวลา 08.30 – 12.30 น. ณ ห้้องกมลทิิพย์์ ชั้้� น 2 โรงแรมเดอะ สุุโกศล ถนนศรีีอยุุธยา ราชเทวีีกรุุงเทพมหานคร โดยมีีวััตถุุประสงค์์ เพื่่�อรวบรวมข้้อมููลที่่�ถููกต้้องที่่�มาของปััญหาฝุ่่น PM 2.5 และ แนวทางป้้องกััน การแก้้ไขที่่�ถููกต้้องตามหลัักวิิชาการ เพื่่�อหา ข้้อสรุุปในการนำำเสนอต่่อภาครััฐและภาคประชาชนการเสวนา แบ่่งออกเป็็น 3 เวทีีดัังนี้ ้� 1 ถกปััญหาและวิกิฤตฝุ่่น 2 ชงรััฐตีีกรอบมาตรการจััดการฝุ่่นอย่่างเป็นรููปธรร ็ม 3 เทคโนโลยีีพิชิตฝุ่่น ิ ⬜⬜ เวทีีที่่ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 46
งานเสวนา “การเตรียมตัวรับ New Normal หลังวิกฤตไวรัสโควิด-19” โควิิด-19 (COVID-19) ถืือเป็็น โรคอุุบััติิใหม่่ที่่�ได้้สร้้างความเปลี่่�ยนแปลง ต่่อทุุกสรรพสิ่่� งทั่่�วโลก ทั้้�งกระบวนการ ทำำงานของวิิชาชีีพต่่าง ๆ และพฤติิกรรม ของผู้้คนที่่�เปลี่่�ยนสู่่สิ่่งให�ม่่ (New Normal) ที่่�ให้้ความสำำคััญกัับการดููแลสุุขภาพ ทวีีคููณ อาทิิ การเลืือกซื้้� อผลิิตภััณฑ์์ ทำำความสะอาดและฆ่่าเชื้้�อ การเว้้นระยะ ห่่างทางสัังคม (Social Distancing) รวมถึงึ การทำำ กิิจกรรมต่่าง ๆ ผ่่านระบบออนไลน์์ จากที่่�บ้้าน เพื่่�อเป็็นการป้้องกัันการแพร่่ ระบาดที่่�จะเกิิดขึ้้�นในอนาคต สมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย จึึงได้้ร่่วมกััน จััดงานเสวนา ในหััวข้้อ “การเตรีียมตััวรัับ New Normal หลัังวิิกฤตไวรััสโควิิด-19” ผ่่านระบบ Cisco Webex โดยสภาวิิชาชีีพ แต่่ละแห่่งได้้มีีการให้้ข้้อมููลความรู้้ที่่�เป็็น ประโยชน์์ต่่อการดำำรงชีีวิิตแก่่ประชาชน ในช่่วงสถานการณ์์แพร่่ระบาดไวรััส โควิิด-19 และเตรีียมพร้้อมรัับรููปแบบ การดำำเนิินชีีวิิตใหม่่ งานเสวนานี้้�นัับเป็็น จุุดเริ่่� มต้้นที่่�ดีีที่่�แต่่ละวิิชาชีีพได้้ร่่วมมืือกััน นำำความรู้้ความสามารถของแต่่ละสภา วิิชาชีีพมาชี้ ้� นำำหนทางที่่�ปลอดภััย มั่่� นคง ยั่่ง�ยืนื ของสุุขภาพมนุุษย์์ ชีีวิติความเป็น็อยู่่ ของทุุกคนในสัังคมไทย และการนำำสัังคม ไทยไปสู่่ New Normal ที่่�เป็็นสมดุุลใหม่่ เป็็นความพอดีีของชีีวิิต การเสวนาได้้รัับ ความสนใจมีีผู้้เข้้าร่่วมงานผ่่านโปรแกรม Cisco Webex จำำนวน 329 คน รัับชมการ ถ่่ายทอดสดผ่่าน Facebook จำำนวน 242 คน ทั้้� งนี้ก ้� ารเสวนาในลัักษณะที่่�มีีประเด็็น ที่่น่�่าสนใจและเป็นปร ็ ะโยชน์ต่์ ่อประชาชน ทั่่� วไป จะมีีการจััดทำำอย่่างต่่อเนื่่�อง โดยจะ มีีการเชิิญผู้้เชี่่�ยวชาญซึ่่�งเป็็นผู้้แทนจาก แต่่ละวิิชาชีีพมาให้สั้ ัมภาษณ์์และเผยแพร่่ ประชาสััมพัันธ์์ต่่อไป แพทยสภา เรื่่�องน่่ารู้้สำำ�หรัับประชาชนเกี่่�ยวกัับโรคติิดเชื้้�อ COVID - 19 สภาการพยาบาล COVID -19 รุุนแรงและคร่่าชีีวิิต ป้้องกัันอยู่่เป็็นนิิตย์์ ชีีวิิตจะปลอดภััย สภาทนายความฯ ระบบยื่่�นฟ้้องและส่่งคำำ�คู่่ความเพื่่�ออำำ�นวยความสะดวกแก่่ประชาชน สภาเภสััชกรรม การให้้บริิการทางเภสััชกรรมผ่่านระบบออนไลน์์ ในวิิกฤติิ COVID – 19 สภาวิิศวกร ห้้องความดัันบวก และตู้้ความดัันบวก คืืออะไร สภาสถาปนิิก การดำำ�เนิินการของสภาสถาปนิิกในภาวะการณ์์แพร่่ระบาดของ COVID - 19 สััตวแพทยสภา COVID – 19 ในสััตว์์ สภาเทคนิิคการแพทย์์ คำำ�แนะนำำ�สำำ�หรัับประชาชนในการตรวจ Rapid test COVID- 19 สภากายภาพบำำ�บััด คำำ�แนะนำำ�ในการออกกำำ�ลัังกายที่่�บ้้านในช่่วงการระบาดของ COVID-19 สภาวิิชาชีีพบััญชีีฯ มาตรการจากภาครััฐที่่�ช่่วยเหลืือผู้้ประกอบการเพื่่�อลดผลกระทบในช่่วงการระบาด ของ COVID-19 นอกจากนั้นสมาพันธ์สภาวิชาชีพยังได้รวบรวมความรู้ และคำ�แนะนำ�ที่แต่ละวิชาชีพ มีให้กับประชาชนเผยแพร่ทาง Facebook Fanpage ของสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย ดังนี้ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 47
จัดแถลงข่าว “สมาพันธ์สภาวิชาชีพรวมใจ สู้ภัยโควิด-19” ร่วมระดมกำาลังบุคลากรในแต่ละวิชาชีพสู้ภัยโควิด สืืบเนื่่�องจากสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของเชื้้�อ ไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่่ในประเทศไทย ที่่�มีีผู้้ป่่วยติิดเชื้้�อเพิ่่� มขึ้้�นอย่่างรวดเร็็วและต่่อเนื่่�องมีีการแพร่่ กระจายในทุุกจัังหวััดทั่่� วประเทศ และมีีแนวโน้้มที่่�จะเพิ่่� มขึ้้�น อีีก สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทยทั้้� ง 11 สภาวิิชาชีีพ ตระหนัักถึึงภาวะวิิกฤตที่่�กำำลัังเกิิดขึ้้�นดัังกล่่าว สมาพัันธ์์ สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย จึึงมีีมติิร่่วมกัันในการรวบรวม ผู้้ประกอบวิิชาชีีพที่่�มีีความรู้้ และสามารถจััดสรรเวลาเพื่่�อมา เป็็นอาสาสมััครร่่วมปฏิิบััติิภารกิิจที่่�จะสามารถปฏิิบััติิได้้เพื่่�อ ช่่วยแบ่่งเบาการทำำงานของกระทรวงสาธารณสุุข UHOSNET กรุุงเทพมหานคร และหน่่วยงานภาครััฐอื่่�น ๆ โดยจััดแถลง ข่่าวเรื่่�อง “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพรวมใจ สู้้ภััยโควิิด-19 ร่่วม กัับกระทรวงสาธารณสุุขและหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องในการร่่วม ระดมกำำลัังบุุคลากรในแต่่ละวิิชาชีีพสู้้ภััยโควิิด โดยมีีนาย อนุุทิิน ชาญวีีรกููล รองนายกรััฐมนตรีี และรััฐมนตรีีว่่าการ กระทรวงสาธารณสุุข ร่่วมแถลงข่่าว เมื่่�อวัันที่่� 29 เมษายน 2564 ณ ห้้องประชุุม ชััยนาทนเรนทร อาคาร 1 ชั้้น� 2 สำำ นัักงาน ปลััดกระทรวงสาธารณสุุข โดยมีีหลัักการร่่วมกัันว่่า 1 การปฏิิบััติิภารกิิจในสถานการณ์์นี้้� ไม่่ถืือว่่าเป็็นการ ก้้าวล่่วงการปฏิิบััติิของวิิชาชีีพอื่่�นที่่มีีก�ฎหมายกำกัำ ับอยู่่ 2 ต้้องมีีการเตรีียมความรู้้ และความพร้้อมให้้สามารถ ปฏิิบััติิงานได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพและบุุคลากรมีีความ ปลอดภััย 1 การให้้ข้้อมููลและให้้คำปรึึก ำษา – ปฏิิบััติิได้้ทุุกสาขา วิิชาชีีพ 2 การฉีีด Vaccine – วิิชาชีีพแพทย์์ พยาบาล ทันตัแพทย์์ ปฏิิบััติิได้้ 3 การบริิหารจััดการโรงพยาบาล/โรงพยาบาลสนาม/ UHOSNET/ Hospitel - ปฏิิบััติิได้ทุ้กสุาขาวิิชาชีีพ 4 การให้้บริกิาร การดููแลในหอผู้้ป่่วยอื่่�น ๆ ที่่�ไม่่ใช่่ผู้้ป่่วย COVID-19 วิิชาชีีพการพยาบาล ปฏิิบััติิได้้ ⬜⬜ ประเด็็นที่่�บุุคลากรของแต่่ละสภาวิิชาชีีพ จะร่่วมปฏิิบััติิได้้ มีีดัังนี้้� 5 การตรวจคััดกรอง และ swab เพื่่�อหาเชื้้�อ COVID-19 – ปฏิิบััติิได้ทุ้กสุาขาวิิชาชีีพสุุขภาพที่่�ได้รั้ับการอบรมเพิ่่ม� เติิม 6 การจััดเตรีียมโรงพยาบาล/โรงพยาบาลสนาม ดััดแปลง อาคารห้้องความดันลับ เครื่่�องช่่วยหายใจ เครื่่�องมืือและ ปััญญาประดิิษฐ์์ รวมถึึงการบริิหารจััดการพื้้�นที่่�และสิ่่ง� อำนำวยความสะดวกให้มีี ้ความปลอดภััย – วิิชาชีีพวิิศวกร สถาปนิกิ ปฏิิบััติิได้้ ทั้้�งนี้้�ผู้้สนใจสามารถลงทะเบีียนอาสาสมััครใน website ของแต่่ละสภาวิิชาชีีพ ในหััวข้้อ “สมา พัันธ์์สภาวิิชาชีีพรวมใจ สู้้ภััยโควิิด-19” หรืือได้้ที่่� https://forms.gle/1ZYppyjTesQvtpeZ9 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S 48
แถลงข่าวความร่วมมือในการจัดหน่วยบริการวัคซีน COVID-19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร รศ. ดร.ทััศนา บุุญทอง นายกสภาการพยาบาล ใน นามสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพแห่่งประเทศไทย ร่่วมแถลงข่่าว ความร่่วมมืือในการจััดหน่่วยบริิการวััคซีีน COVID-19 ให้้ ประชาชนในพื้้�นที่่กรุ�ุงเทพมหานคร โดยมีีพล.ต.อ.อััศวินิ ขวััญ เมืือง ผู้้ว่่าราชการกรุุงเทพมหานคร เป็นปร ็ะธานในการแถลง ข่่าว เมื่่�อวัันที่่� 30 เมษายน 2564 ณ ห้้องรัตนั โกสินิทร์์ ศาลา ว่่าการกรุุงเทพมหานคร (เสาชิิงช้้า) โดยสมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพฯ มีีมติิร่่วมกัันในการรวบรวมผู้้ประกอบวิิชาชีีพที่่�มีีความรู้้และ สามารถจััดสรรเวลา เพื่่�อมาเป็น็อาสาสมััครร่่วมปฏิิบััติิภารกิิจที่่� จะสามารถปฏิิบััติิได้้ เพื่่�อช่่วยแบ่่งเบาการทำำงานของกระทรวง สาธารณสุุข UHOSNET กรุุงเทพมหานคร และหน่่วยงาน ภาครััฐอื่่�น ๆ สำำหรัับการดำำเนิินการของกรุุงเทพมหานครใน การจััดหน่่วยบริิการวััคซีีน COVID-19 ให้้ประชาชนในพื้้�นที่่� กรุุงเทพมหานครที่่�จะเริ่่ม�ขึ้้น�ในเดืือนมิถุินุายน 2564 บุุคลากร ในวิิชาชีีพพยาบาลที่่�อาสาสมััครเข้้ามาจะเป็นอีีก ็หนึ่ง�่กำลัำ ังหลักั สำคัำ ัญในการร่่วมให้้บริิการฉีีดวััคซีีนแก่่ประชาชน เพื่่�อเสริิม สร้้างภููมิิคุ้้มกัันโรคให้้เกิิด “ภููมิิคุ้้มกัันหมู่่” (herd immunity) โดยผู้้สนใจสามารถลงทะเบีียนอาสาสมััครใน website ของ แต่ล่ะสภาวิิชาชีีพ ในหััวข้้อ “สมาพัันธ์์สภาวิิชาชีีพรวมใจ สู้้ภััย โควิิด-19” หรืือที่่� https://forms.gle/1ZYppyjTesQvtpeZ9 ▲ 49 สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย T H E C O N F E D E R A T I O N O F T H A I P R O F E S S I O N A L C O U N C I L S