อตั ลกั ษณ์
บณั ฑิตนกั ปฏิบตั ิ
การปฏบิ ัตทิ ี่จะตอ้ งไดร้ ับการฝกึ ฝนทัง้ ใจและกาย และทง้ั จะตอ้ งเป็นนกั ปฏิบัติงานทม่ี หี ลกั วชิ าดดี ว้ ย และที่สําคัญจะต้อง
มีการปรบั ปรงุ ตวั เองใหม้ กี ารพฒั นาก้าวหนา้ อยตู่ ลอดเวลา ใฝใ่ จศึกษาทงั้ ทางลึกและทางกวา้ ง เพ่ือให้บัณฑิตใช้วชิ าชพี
ความสามารถ ความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ ความฉลาดรอบคอบ สามารถสรา้ งสรรค์ประโยชนส์ ่วนตน และประโยชน์สว่ นรวมได้
สมั ฤทธผ์ิ ล
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหติ ลาธิเบศรรามาธบิ ดี จกั รนี ฤบดนิ ดร์ สยามิ
นทราธริ าช บรมนาถบพติ ร ในการพระราชทางปรญิ ญาบตั รแกบ่ ัณฑิตของราชมงคล พ.ศ.2525
ปณิธาน
มงุ เนน การผลิตสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ และวิทยาศาสตรบัณฑิตดานสุขภาพสัตวท่ีมคี ณุ ภาพ
พรอ มปฏิบัติงานตามสายงานและถึงพรอ มคุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ
ปรชั ญา
รอบรวู้ ิชาการ ชํานาญปฏบิ ตั ิ พร้อมพัฒนาชาติ
วิสัยทัศน์
ศนู ยค์ วามเป็นเลศิ แหง่ ภาคตะวันออกดา้ นสขุ ภาพสตั ว์และผลติ ภัณฑส์ ําหรับสัตว์
คูม อื การศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพสัตว) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 หนา 2
รายละเอียดของหลกั สูตร
หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ
สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพสตั ว์
หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559
ชื่อสถาบนั อดุ มศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก
วทิ ยาเขต/คณะ/สาขาวชิ า สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพสัตว์
วิทยาเขตบางพระ
คณะสัตวแพทยศาสตร์
หมวดที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป
1. รหัสและชอ่ื หลักสตู ร : หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์สุขภาพสัตว์
ชอื่ ภาษาไทย : Bachelor of Science Program in Animal Health Science
ชื่อภาษาอังกฤษ
2. ชอื่ ปรญิ ญาและสาขาวิชา
ชอื่ เตม็ ภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑติ (วิทยาศาสตร์สุขภาพสตั ว์)
ชอ่ื ย่อภาษาไทย : วท.บ. (วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพสัตว)์
ชอ่ื เต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Animal Health Science)
ชือ่ ย่อภาษาองั กฤษ : B.S. (Animal Health Science)
3. วิชาเอก
-ไม่ม-ี
4. จํานวนหนว่ ยกิตที่เรียนตลอดหลกั สูตร
จํานวนหน่วยกิตทเี่ รยี นตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกวา่ 139 หนว่ ยกิต
5. รูปแบบของหลักสตู ร
5.1 รูปแบบ
หลกั สตู รระดบั ปริญญาตรี หลกั สูตร 4 ปี เปน็ ไปตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อดุ มศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2552 และเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาไทย เอกสารและตําราท่ีใชม้ ีทัง้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
5.3 การรบั เขา้ ศกึ ษา
รับนักศึกษาไทย หากเป็นนกั ศึกษาต่างประเทศต้องสามารถพดู ฟัง อา่ น เขียน และเข้าใจ
ภาษาไทยอย่างดี
คมู ือการศึกษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพสัตว) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 3
5.4 ความร่วมมอื กับสถาบนั อนื่
เป็นหลักสตู รเฉพาะของมหาวิทยาลยั ท่ีจดั การเรยี นการสอนโดยตรง
5.5 การใหป้ ริญญาแกผ่ ู้สาํ เร็จการศกึ ษา
ใหป้ ริญญาเพียงสาขาวชิ าเดยี ว
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพจิ ารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลกั สตู ร
เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ปรับปรงุ จากหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพสัตว์ ( หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2554 )
เรมิ่ ใช้หลักสูตรน้ี ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2559
สภาวชิ าการอนมุ ตั ิ/เห็นชอบหลักสูตรในการประชมุ คร้งั ที่ 2/2559
เมื่อวนั ท่ี 3 เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2559
สภามหาวิทยาลัยอนมุ ัติ/เหน็ ชอบหลกั สูตร ในการประชมุ ครง้ั ที่ 2/2559
เมอื่ วนั ที่ 16 เดือน กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2559
7. ความพรอ้ มในการเผยแพร่หลกั สูตรทม่ี คี ณุ ภาพและมาตรฐาน
ขอรับการประเมินเพ่อื เผยแพร่หลักสูตรในปีการศึกษา 2561
8. อาชีพทส่ี ามารถประกอบได้หลงั สําเร็จการศึกษา
8.1 นักวิชาการเกษตร หรอื นักวชิ าการสตั วบาลท่ีสามารถปฏบิ ัติงานดา้ นการผลิตสตั วแ์ ละสุขภาพสัตว์
รวมทั้งการสง่ เสริมดา้ นธุรกจิ ปศุสัตว์ เวชภัณฑ์และผลิตภณั ฑ์สาํ หรบั สตั ว์ ในหน่วยงาน ของ
ภาครฐั และเอกชน
8.2 นักวทิ ยาศาสตร์ประจําห้องปฏิบัตกิ ารด้านวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ หอ้ งปฏิบตั ิการจุลชีววทิ ยา
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเภสัชวทิ ยา ห้องปฏบิ ตั กิ ารปรสติ วิทยา ห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาภูมคิ ุ้มกัน
หอ้ งปฏบิ ตั ิการพยาธวิ ทิ ยา และห้องปฏบิ ตั ิการอาหารสตั ว์ ในหน่วยงานของภาครฐั และเอกชน
8.3 ผูช้ ว่ ยนักวจิ ยั ในสาขาวิชาสขุ ภาพสตั วแ์ ละสาขาท่ีเกีย่ วขอ้ งในสถานประกอบการภาครัฐและเอกชน
8.4 ผชู้ ่วยสัตวแพทย์ในสถานประกอบการบําบัดโรคสัตว์
8.5 ประกอบอาชพี อิสระ เชน่ เจ้าของฟาร์ม เจ้าของกจิ การด้านอาหารสตั ว์และสง่ เสริมสขุ ภาพ
สัตว์ เปน็ ต้น
9. ชื่อ นามสกลุ เลขประจาํ ตวั บตั รประชาชน ตาํ แหน่ง และคุณวุฒขิ องอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร
ลําดับ ชื่อ – สกลุ ตาํ แหน่ง คุณวฒุ ิ สถาบนั ปีท่ี
1 นายจเร อดุ มยิ่ง ทางวิชาการ (สาขาวชิ า) สําเร็
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สพ.บ.
สาขาเช่ยี วชาญ 2530
วทิ ยาศาสตร์
สุขภาพสตั ว์
คูมอื การศกึ ษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรส ุขภาพสตั ว) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559 หนา 4
2 นายบรรณารัก แกว้ จรูญ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ วท.ม.(กายวิภาคศาสตร์ทางสตั ว มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 2545
สาขาเชี่ยวชาญ แพทย)์
วิทยาศาสตร์ วท.บ.(วิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพสตั ว)์ สถาบนั ทคโนโลยีราชมงคล 2536
สุขภาพสัตว์
3 นางสาวสุวรักษ์ วรรณรตั น์ อาจารย์ วท.ด.(อายรุ ศาสตร์สตั วแพทย์) จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย 2555
วท.ม.(อายรุ ศาสตร์สัตวแพทย)์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2549
สพ.บ. มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ 2545
10. สถานท่ีจัดการเรียนการสอน
คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก วิทยาเขตบางพระ
หลกั สตู ร
จํานวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู ร ไมน่ ้อยกวา่ 139 หนว่ ยกติ
โครงสรา้ งหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเปน็ หมวดวชิ าทีส่ อดคลอ้ งกับทีก่ ําหนดไวใ้ นเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรกระทรวงศึกษาธกิ าร ดงั นี้
1. หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ
1.1 กลมุ่ วชิ าสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ
1.3 กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกติ
1.4 กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตรก์ บั คณิตศาสตร์ 6 หนว่ ยกติ
1.5 กล่มุ วิชาหมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป (เลอื ก) 6 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่นอ้ ยกว่า 103 หน่วยกิต
2.1 กลุ่มวิชาพน้ื ฐานวิชาชีพ 39 หน่วยกติ
2.2 กลุม่ วชิ าชพี บังคับ 50 หน่วยกิต
2.2.1 วชิ าชีพบงั คบั 42 หน่วยกติ
2.2.2 วิชาฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ (เลือก) 8 หน่วยกติ
2.3 กลุ่มวิชาชีพเลือก 14 หนว่ ยกติ
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกิตรายวิชา
1. หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป ไมน่ ้อยกวา่ 30 หนว่ ยกิตประกอบดว้ ย
1.1 กลมุ่ วิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต
ใหศ้ ึกษารายวชิ า 3(3-0-6)
00-10-001 การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและสงั คม
Life and Social Quality Development
คูม อื การศกึ ษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรส ุขภาพสตั ว) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 หนา 5
1.2 กล่มุ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ
ใหศ้ กึ ษารายวชิ า
00-20-001 การพัฒนาบุคลกิ ภาพ 3(3-0-6)
Personality Development
1.3 กลุ่มวิชาภาษา 12 หนว่ ยกติ
1.3.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย 3 หนว่ ยกิต
ใหศ้ กึ ษารายวชิ า
00-31-001 การใชภ้ าษาไทยเพอื่ การสอ่ื สาร 3(3-0-6)
Thai for Communication
1.3.2 กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ 9 หนว่ ยกติ
ให้เลือกศกึ ษาจากรายวชิ าต่างๆ ในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ ดังน้ี
00-32-001 ภาษาองั กฤษเพ่ือทักษะการเรยี น 3(3-0-6)
English for Study Skills
00-32-002 ภาษาอังกฤษในชีวติ ประจาํ วัน 3(3-0-6)
English in Daily Life
00-32-003 การอา่ นภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)
English Reading
00-32-004 สนทนาภาษาองั กฤษ 3(3-0-6)
English Conversation
00-32-005 การเขยี นภาษาองั กฤษในชวี ิตประจําวัน 3(3-0-6)
English Writing in Daily Life
00-32-006 ทักษะสัมพันธท์ างภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)
Interactive English Skills
1.4 กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตรก์ ับคณิตศาสตร์ 6 หนว่ ยกติ
ให้ศึกษารายวชิ า
00-41-001 คณิตศาสตรแ์ ละคอมพิวเตอรใ์ นชวี ติ ประจําวัน 3(3-0-6)
Mathematics and Computer in Daily Life
และใหเ้ ลือกศกึ ษาจากรายวชิ าตา่ งๆ ในกลมุ่ วิชาวิทยาศาสตรก์ ับคณติ ศาสตร์
อีก 3 หนว่ ยกิต ดังน้ี
00-42-001 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดล้อมกบั ชีวติ 3(3-0-6)
Science Technology and Environment for Life
00-42-002 มหัศจรรยแ์ หง่ บัว 3(3-0-6)
Amazing Waterlily and Lotus
00-42-003 ธรรมชาติของสรรพสงิ่ 3(3-0-6)
Nature of the Whole
00-42-004 คุณคา่ ของสัตว์เล้ยี ง 3(3-0-6)
Pet Value
คมู อื การศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรส ุขภาพสตั ว) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559 หนา 6
00-43-001 การออกกาํ ลงั กายเพ่ือสขุ ภาพ 3(2-2-5)
Exercise for Health 3(2-2-5)
00-43-002 วิทยาศาสตร์การกฬี าเพอ่ื การออกกําลังกาย
Sport Sciences for Exercise
1.5 กลมุ่ วชิ าหมวดศกึ ษาทว่ั ไป (เลือก) 6 หน่วยกิต ประกอบด้วย
ให้เลือกศึกษาจากกลมุ่ วิชาสงั คมศาสตร์ กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์ กล่มุ วชิ าภาษา
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ ในหมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2553
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก
กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์ 3(3-0-6)
00-10-002 การเมอื งและการปกครองของไทย 3(3-0-6)
3(3-0-6)
Thai Politic and Government
00-10-004 สงั คมกับกฎหมาย 3(3-0-6)
3(3-0-6)
Society and Law 3(2-2-5)
00-10-005 ชมุ ชน สงั คม วฒั นธรรมและสงิ่ แวดลอ้ ม
3(3-0-6)
Community, Society, Culture and Environment 3(3-0-6)
กล่มุ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3(3-0-6)
00-20-002 สารสนเทศเพอื่ การศึกษาค้นคว้า
Information for Study 3(3-0-6)
00-20-003 จิตวทิ ยาท่วั ไป 3(2-2-5)
General Psychology
00-20-007 นนั ทนาการในชวี ิตประจาํ วัน
Recreation in Daily Life
กลุม่ วิชาภาษา
00-31-004 การฟังและการอ่านเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
Listening and Reading for Life Quality Development
00-31-005 การเขยี นเพือ่ การสอ่ื สาร
Writing for Communication
00-33-001 ภาษาจีนเพ่ือการสอื่ สาร
Chinese for Communication
กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตรก์ ับคณิตศาสตร์
00-42-001 วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิง่ แวดล้อมกบั ชีวติ
Science Technology and Environment for Life
00-43-002 วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าเพ่อื การออกกาํ ลังกาย
Sport Sciences for Exercise
คมู อื การศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรส ขุ ภาพสตั ว) ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 7
2. หมวดวชิ าเฉพาะ ไม่นอ้ ยกวา่ 103 หน่วยกติ ประกอบด้วย
2.1 กลุ่มวชิ าพื้นฐานวิชาชพี 39 หน่วยกติ ใหศ้ ึกษารายวิชาตอ่ ไปนี้
01-22-201 โภชนศาสตรส์ ตั ว์ 3(3-0-6)
Animal Nutrition
01-23-203 การผลติ สตั วเ์ คีย้ วเอื้อง 3(2-3-5)
Ruminant Production
01-23-301 การผลติ สัตวป์ ีก 3(2-3-5)
Poultry Production
01-23-304 การผลติ สกุ ร 3(2-3-5)
Swine Production
06-02-100 เคมีท่วั ไป 3(2-3-5)
General Chemistry
06-02-120 เคมอี ินทรียท์ ่วั ไป 3(2-3-5)
General Organic Chemistry
06-02-240 ชวี เคมีท่ัวไป 3(2-3-5)
General Biochemistry
06-03-102 ชวี วทิ ยาทว่ั ไป 3(2-3-5)
General Biology
06-03-240 พันธศุ าสตร์ 3(2-3-5)
Genetics
06-04-100 ฟสิ กิ ส์เบ้ืองต้น 3(3-0-6)
Introductory Physics
06-07-101 หลกั สถิติ 3(3-0-6)
Principle of Statistics
10-17-215 ภาษาอังกฤษเพอื่ งานทางวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ 3(3-0-6)
English for Health Science
10-33-202 จุลชวี วิทยาของสตั ว์ 3(2-3-5)
Animal Microbiology
2.2 กลุม่ วชิ าชีพบงั คบั 50 หนว่ ยกิต
2.2.1 ให้ศกึ ษาในรายวิชาตอ่ ไปน้จี าํ นวน 42 หนว่ ยกติ
01-24-301 การปรบั ปรงุ พันธ์ุสตั ว์
Animal Improvement 3(3-0-6)
01-26-401 การจดั การฟารม์ ปศุสัตว์ 3(2-3-5)
Livestock Farm Management 3(2-3-5)
10-31-205 มหกายวิภาคและสรีรวิทยาของสตั ว์ 3(2-3-5)
Animal Gross Anatomy and Physiology
10-32-312 หลักการพยาบาลสตั ว์
Principle of Veterinary Nursing
คมู อื การศกึ ษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสุขภาพสตั ว) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 8
10-32-313 การตรวจสุขภาพสตั ว์เบ้ืองตน้ 3(2-3-5)
Basic Animal Physical Examination 3(2-3-5)
3(2-3-5)
10-32-319 โรคและการสขุ าภบิ าลสัตว์เค้ียวเอือ้ ง 2(1-3-3)
Ruminant Diseases and Sanitation 3(2-3-5)
3(2-3-5)
10-32-320 โรคและการสขุ าภบิ าลสุกรและสัตวป์ ีก 3(2-3-5)
Swine and Poultry Diseases and Sanitation 3(2-3-5)
2(1-2-3)
10-33-203 วิทยาภมู ิค้มุ กนั 2(2-0-4)
Immunology 2(2-0-4)
1(0-2-1)
10-33-304 ปรสิตวทิ ยาเบอ้ื งตน้ ในสัตว์
Basic Animal Parasitology
10-34-304 เภสชั วทิ ยาในสัตว์
Animal Pharmacology
10-35-411 การผสมเทียมสตั ว์
Artificial Insemination
10-36-313 สุขศาสตรเ์ น้ือและน้ํานม
Meat and Milk Hygiene
10-36-316 ความปลอดภยั ทางชวี ภาพในฟารม์
Farm Biosecurity
10-36-405 สวสั ดิภาพสัตว์และกฎหมาย
Animal Welfare and Jurisprudence
10-36-417 โรคติดตอ่ ระหว่างสัตว์และคน
Zoonoses
10-37-427 สัมมนาทางวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพสัตว์
Seminar in Animal Health Science
2.2.2 วชิ าฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี จาํ นวน 8 หน่วยกิต ใหศ้ กึ ษารายวิชา
10-37-229 ทกั ษะพ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพสตั ว์ 1(0-2-1)
Basic Skills in Animal Health Science
และให้เลอื กศึกษารายวิชาจากแผน ก) หรอื แผน ข) จํานวน 7 หนว่ ยกติ ดงั นี้
ก) สาํ หรบั นกั ศึกษาทเี่ ลอื กวชิ าฝึกงาน ให้นักศกึ ษาเรียน
10-37-330 การฝกึ งานทางวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพสัตว์ 1 2(0-40-0)
Field Practices in Animal Health Science 1
10-37-338 การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ 1(0-2-1)
Preparation for Field Practices
10-37-431 การฝึกงานทางวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพสัตว์ 2 3(0-40-0)
Field Practices in Animal Health Science 2
10-37-434 หัวข้อเฉพาะทางวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพสัตว์ 1(0-2-1)
Selected Topics in Animal Health Science
คมู ือการศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพสตั ว) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 9
ข) สาํ หรับนักศกึ ษาทีเ่ ลอื กวชิ าสหกจิ ศกึ ษา ใหน้ ักศกึ ษาเรยี น 1(0-2-1)
10-37-332 การเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื สหกจิ ศกึ ษา 6(0-40-0)
Preparation for Co-operative Education
10-37-433 สหกจิ ศึกษาทางวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพสตั ว์
Co-operative Education in Animal Health Science
2.3 กลมุ่ วชิ าชพี เลือกไม่น้อยกวา่ 14 หน่วยกติ ให้เลอื กศกึ ษาจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี
ให้เลอื กเรยี นตามความประสงค์ของผเู้ รียน ที่มีความสนใจด้านสตั ว์เลีย้ งหรอื ด้านสัตว์เศรษฐกิจ
จากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี โดยกําหนดใหม้ ีจาํ นวนหน่วยกติ รวมดา้ นทกั ษะปฏิบัตไิ ม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต
01-24-302 การประกวดและการตัดสินสัตว์ 3(2-3-5)
Animal Showing and Judging
01-26-303 การวางแผนและการวิเคราะห์การทดลอง 3(2-3-5)
Experimental Design and Analysis
01-26-402 ธรุ กจิ ปศสุ ตั ว์ 3(3-0-6)
Livestock Business
10-12-226 พฤติกรรมสัตวแ์ ละการควบคมุ บังคับสัตว์ 2(1-3-3)
Animal Behavior and Restraint
10-32-233 การใชแ้ ละการดแู ลสตั ว์ทดลอง 2(1-3-3)
Use and Health Care for Lab Animals
10-32-314 การตัดแตง่ ขนสนุ ขั 2(0-4-2)
Dog Grooming
10-32-321 การดแู ลสุขภาพสุนัขและแมว 3(2-3-5)
Dog and Cat Health Care
10-32-423 การป้องกนั โรคสัตว์นาํ้ 3(2-3-5)
Prevention of Aquatic Animal Diseases
10-32-424 โภชนบาํ บัดสัตว์เล้ียง 2(2-0-4)
Nutritional Therapy for Companion Animals
10-32-434 การดแู ลสัตว์ปา่ และสัตว์พิเศษ 2(1-3-3)
Wildlife and Exotic Animal Care
10-32-445 เวชศาสตร์ฟน้ื ฟสู ตั วเ์ ลี้ยง 2(1-2-3)
Companion Animal Rehabilitation
10-33-410 ปฏบิ ัติการพยาธิวิทยาคลนิ กิ ของสัตว์ 2(0-4-2)
Animal Clinical Pathological Laboratory
10-36-406 หลักวทิ ยาการระบาด 2(1-2-3)
Principle of Epidemiology
10-37-436 การวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพสตั ว์ 3(1-4-4)
Research in Animal Health Science
คมู ือการศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรส ุขภาพสัตว) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2559 หนา 10
3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ
ใหน้ กั ศึกษาเลอื กเรยี นจากวชิ าใดๆ ท่เี ปิดสอนในมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล
ตะวนั ออกแต่ต้องไม่ซํา้ กับวิชาในแผนการศึกษาของสาขาวิชาน้ัน
ความหมายเลขรหสั รายวิชา
เลขรหัสประจํารายวชิ าท่ีใช้ในหลกั สูตร ประกอบดว้ ย 7 หลกั ซ่งึ มคี วามหมายดงั น้ี
คณะ
กลมุ่ วชิ า / สาขาวิชา
ปีทค่ี วรศึกษา
ลําดบั วชิ า
XX – XX – XXX
12 34 567
ตําแหน่งท่ี 1– 2 แทน คณะ
00–หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป
01– คณะเกษตรศาสตร์และทรพั ยากรธรรมชาติ
02– คณะเทคโนโลยีสังคม
03– คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร
04– คณะบริหารธุรกจิ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ
05– คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
06– คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
07– คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละสถาปตั ยกรรมศาสตร์
08– คณะศลิ ปศาสตร์
09– สถาบันเทคโนโลยีการบนิ
10– คณะสัตวแพทยศาสตร์
ตําแหน่งที่ 3 แทน สาขาวชิ า
1 - สาขาวิชาปรคี ลนิ ิก
2 - สาขาวิชาคลินิก
3 - สาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพสัตว์
ตาํ แหนง่ ท่ี 4 แทน กลุม่ วชิ า
1 -กลุ่มวชิ ากายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยา
2 -กลมุ่ เวชศาสตร์และทรัพยากรการผลติ สตั ว์
3 -กล่มุ วชิ าพยาธชิ ีววทิ ยา
4 -กลุ่มวิชาเภสชั วิทยา
5-กลมุ่ วิชาศลั ยศาสตร์และวทิ ยาการสืบพันธ์ุ
6 –กล่มุ วิชาสัตวแพทย์สาธารณสขุ
7- กลมุ่ วชิ าคลนิ กิ ปฏิบัตแิ ละวิจยั
คมู อื การศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรสขุ ภาพสัตว) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 11
ตาํ แหน่งที่ 5 แทน ปีที่ควรศกึ ษา
ตําแหน่งท่ี 6 – 7 แทน ลําดับวิชา
ความหมายเลขแสดงหนว่ ยกติ
หน่วยกิต
ชวั่ โมงเรยี นทฤษฎี
ชั่วโมงเรียนปฏบิ ตั ิ
ชวั่ โมงศึกษาด้วยตนเอง
X (X – X - X)
การนับหน่วยกติ
การนับหนว่ ยกติ ใหถ้ ือเกณฑ์ ดังนี้
1. ชวั่ โมงเรียนทฤษฎี 1 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์ เท่ากบั 1 หนว่ ยกติ
2. ช่ัวโมงเรยี นปฏิบตั กิ ารในห้องเรียน ห้องทดลอง หรอื ห้องปฏบิ ตั ิการ 2 – 3 ช่วั โมง
ตอ่ สัปดาห์ เท่ากับ 1 หน่วยกิต
3. ชวั่ โมงศกึ ษาดว้ ยตนเอง เท่ากบั 2 x หนว่ ยกิตทฤษฎี + หนว่ ยกิตปฏบิ ตั ิ
คมู ือการศึกษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรส ุขภาพสตั ว) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 12
แสดงแผนการศกึ ษา
แผนการศึกษา สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพสตั ว์
แผน ก แผนการศึกษาสําหรับนกั ศกึ ษาที่เลอื ก รายวิชาฝกึ งานทางวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพสตั ว์ฯ
ปีการศกึ ษาท่ี 1
ภาคการศึกษาท่ี 1
กลมุ่ วชิ า รหัสรายวิชา ชอื่ วชิ า หนว่ ยกติ
3(3-0-6)
สังคมศาสตร์ 00-10-001 การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและสงั คม 3(3-0-6)
3(3-0-6)
ภาษา 00-31-001 การใช้ภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร
3(2-3-5)
วิทย-์ คณติ 00-41-001 คณิตศาสตร์และคอมพวิ เตอร์ใน 3(x-x-x)
ชีวติ ประจําวนั 3(x-x-x)
18
พน้ื ฐานวชิ าชีพ 06-03-102 ชีววทิ ยาทัว่ ไป
ภาษา xx-xx-xxx หมวดศึกษาท่ัวไป (กลมุ่ วิชา
ภาษาองั กฤษ)
ศกึ ษาทั่วไป xx-xx-xxx หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป (เลือก)
รวม
ภาคการศึกษาท่ี 2
กลุม่ วชิ า รหัสรายวชิ า ชอ่ื วชิ า หนว่ ยกิต
3(3-0-6)
มนุษยศาสตร์ 00-20-201 การพฒั นาบคุ ลิกภาพ 3(2-3-5)
3(3-0-6)
พน้ื ฐานวชิ าชีพ 06-02-100 เคมีทั่วไป 3(3-0-6)
พื้นฐานวชิ าชีพ 06-04-100 ฟสิ กิ สเ์ บ้อื งตน้ 3(x-x-x)
วทิ ย์-คณติ xx-xx-xxx หมวดศกึ ษาทั่วไป 3(x-x-x)
18
(กล่มุ วชิ าวทิ ยาศาสตร)์
ภาษา xx-xx-xxx หมวดศึกษาท่ัวไป
(กลุม่ วิชาภาษาอังกฤษ)
ศึกษาทว่ั ไป xx-xx-xxx หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป (เลือก)
รวม
คมู อื การศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพสัตว) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 หนา 13
ปีการศึกษาท่ี 2
ภาคการศึกษาท่ี 1
กลมุ่ วิชา รหัสรายวชิ า ชื่อวิชา หนว่ ยกิต
3(2-3-5)
พื้นฐานวชิ าชพี 01-23-203 การผลิตสัตว์เค้ียวเออื้ ง 3(2-3-5)
3(2-3-5)
พื้นฐานวชิ าชีพ 01-23-301 การผลติ สตั ว์ปีก 3(2-3-5)
3(2-3-5)
พื้นฐานวชิ าชีพ 06-02-120 เคมอี นิ ทรยี ์ทวั่ ไป 3(2-3-5)
วิชาชพี บงั คบั 10-31-205 มหกายวิภาคและสรรี วทิ ยาของสตั ว์ 18
พน้ื ฐานวิชาชพี 10-33-202 จลุ ชีววิทยาของสัตว์
พน้ื ฐานวชิ าชพี 06-03-240 พันธศุ าสตร์
รวม
ภาคการศกึ ษาท่ี 2
กลุ่มวิชา รหัสรายวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
3(3-0-6)
พ้ืนฐานวิชาชีพ 01-22-201 โภชนศาสตร์สัตว์ 3(2-3-5)
3(2-3-5)
พน้ื ฐานวิชาชพี 01-23-304 การผลิตสกุ ร 3(3-0-6)
2(1-3-3)
พน้ื ฐานวชิ าชพี 06-02-240 ชวี เคมที ั่วไป 1(0-2-1)
พื้นฐานวชิ าชพี 06-07-101 หลกั สถติ ิ 3(3-0-6)
วิชาชพี บังคับ 10-33-203 วิทยาภูมิคุม้ กัน 18
วิชาชพี บังคบั 10-37-229 ทักษะพ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ
สัตว์
ภาษา xx-xx-xxx หมวดศกึ ษาทั่วไป
(กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ)
รวม
คมู อื การศกึ ษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรส ขุ ภาพสตั ว) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 หนา 14
ปกี ารศึกษาที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 1
กล่มุ วิชา รหัสรายวชิ า ชือ่ วชิ า หนว่ ยกติ
3(3-0-6)
พื้นฐานวิชาชีพ 10-17-215 ภาษาองั กฤษเพ่ืองานทางวิทยาศาสตร์
3(3-0-6)
สขุ ภาพ 3(2-3-5)
3(2-3-5)
วชิ าชพี บงั คับ 01-24-301 การปรบั ปรงุ พันธสุ์ ัตว์ 3(2-3-5)
3(2-3-5)
วชิ าชพี บงั คบั 10-32-312 หลกั การพยาบาลสัตว์ 2(0-40-0)
วชิ าชีพบังคบั 10-32-313 การตรวจสขุ ภาพสัตว์เบื้องต้น 2(x-x-x)
22
วชิ าชีพบังคบั 10-32-319 โรคและการสขุ าภิบาลสัตว์เคย้ี วเอ้อื ง
วชิ าชพี บังคบั 10-33-304 ปรสิตวทิ ยาเบ้ืองต้นในสตั ว์
วิชาชีพบงั คับ 10-37-330 การฝึกงานทางวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ
สตั ว์ 1
วชิ าชพี เลอื ก xx-xx-xxx วชิ าชพี เลือก
รวม
ภาคการศึกษาที่ 2
กลุ่มวิชา รหสั รายวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
3(2-3-5)
วิชาชพี บงั คบั 10-32-320 โรคและการสขุ าภบิ าลสกุ รและสัตวป์ กี 3(2-3-5)
3(2-3-5)
วชิ าชพี บังคับ 10-34-304 เภสชั วิทยาในสัตว์ 2(1-2-3)
3(x-x-x)
วิชาชีพบังคับ 10-36-313 สขุ ศาสตรเ์ นือ้ และนํา้ นม 3(x-x-x)
3(x-x-x)
วิชาชพี บังคบั 10-36-316 ความปลอดภยั ทางชวี ภาพในฟาร์ม
20
วิชาชีพเลือก xx-xx-xxx วชิ าชีพเลอื ก
วชิ าชีพเลือก xx-xx-xxx วชิ าชีพเลือก
วิชาเลือกเสรี xx-xx-xxx วิชาเลอื กเสรี
รวม
คมู ือการศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพสตั ว) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 15
ปีการศกึ ษาท่ี 4
ภาคการศึกษาที่ 1
กลุ่มวิชา รหัสรายวชิ า ชอ่ื วิชา หนว่ ยกิต
1(0-2-1)
วิชาชพี บังคบั 10-37-338 การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์
3(0-40-0)
วิชาชีพ
1(0-2-1)
วชิ าชีพบงั คับ 10-37-431 การฝึกงานทางวิทยาศาสตร์
5
สุขภาพสตั ว์ 2
วิชาชีพบงั คับ 10-37-434 หวั ขอ้ เฉพาะทางวิทยาศาสตร์
สขุ ภาพสตั ว์
รวม
ภาคการศกึ ษาท่ี 2
กลมุ่ วิชา รหัสรายวิชา ชอ่ื วิชา หนว่ ยกิต
3(2-3-5)
วชิ าชีพบงั คบั 01-26-401 การจดั การฟาร์มปศสุ ัตว์ 3(2-3-5)
2(2-0-4)
วิชาชพี บังคับ 10-35-411 การผสมเทยี มสัตว์ 2(2-0-4)
1(0-2-1)
วชิ าชพี บงั คับ 10-36-405 สวัสดภิ าพสตั ว์และกฏหมาย 3(x-x-x)
3(x-x-x)
วิชาชพี บงั คับ 10-36-417 โรคตดิ ต่อระหว่างสตั ว์และคน 3(x-x-x)
วิชาชีพบังคบั 10-37-427 สัมมนาทางวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพสตั ว์ 20
วชิ าชีพเลือก xx-xx-xxx วิชาชพี เลือก
วิชาชพี เลือก xx-xx-xxx วิชาชีพเลอื ก
วชิ าเลือกเสรี xx-xx-xxx วิชาเลือกเสรี
รวม
คมู ือการศึกษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพสัตว) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 หนา 16
แผน ข สําหรบั นกั ศึกษาที่เลอื กวชิ า สหกิจศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพสตั ว์
ปีการศึกษาท่ี 1
ภาคการศึกษาที่ 1
กลมุ่ วชิ า รหสั รายวชิ า ช่ือวชิ า หนว่ ยกิต
3(3-0-6)
สงั คมศาสตร์ 00-10-001 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงั คม 3(3-0-6)
3(3-0-6)
ภาษา 00-31-001 การใชภ้ าษาไทยเพ่อื การสอ่ื สาร
3(2-3-5)
วิทย์-คณติ 00-41-001 คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอรใ์ น 3(x-x-x)
ชวี ติ ประจําวัน 3(x-x-x)
18
พืน้ ฐานวชิ าชพี 06-03-102 ชวี วทิ ยาทั่วไป
ภาษา xx-xx-xxx หมวดศึกษาทัว่ ไป
(กล่มุ วชิ าภาษาอังกฤษ)
ศกึ ษาทวั่ ไป xx-xx-xxx หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (เลือก)
รวม
ภาคการศกึ ษาที่ 2
กลุ่มวิชา รหสั รายวชิ า ชอื่ วชิ า หนว่ ยกิต
3(3-0-6)
มนุษยศาสตร์ 00-20-201 การพฒั นาบคุ ลิกภาพ 3(2-3-5)
3(3-0-6)
พื้นฐานวชิ าชีพ 06-02-100 เคมีท่ัวไป 3(3-0-6)
พื้นฐานวิชาชีพ 06-04-100 ฟิสิกส์เบอ้ื งต้น 3(x-x-x)
วทิ ย-์ คณติ xx-xx-xxx หมวดศึกษาท่ัวไป 3(x-x-x)
18
(กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร)์
ภาษา xx-xx-xxx หมวดศกึ ษาทั่วไป
(กล่มุ วชิ าภาษาอังกฤษ)
ศกึ ษาทว่ั ไป xx-xx-xxx หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป (เลือก)
รวม
คมู ือการศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรส ขุ ภาพสัตว) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 17
ปีการศึกษาท่ี 2
ภาคการศึกษาท่ี 1
กลมุ่ วิชา รหัสรายวชิ า ชื่อวิชา หนว่ ยกิต
3(2-3-5)
พื้นฐานวชิ าชพี 01-23-203 การผลิตสัตว์เค้ียวเออื้ ง 3(2-3-5)
3(2-3-5)
พื้นฐานวชิ าชีพ 01-23-301 การผลติ สตั ว์ปีก 3(2-3-5)
3(2-3-5)
พื้นฐานวชิ าชีพ 06-02-120 เคมอี นิ ทรยี ์ทวั่ ไป 3(2-3-5)
วิชาชพี บงั คบั 10-31-205 มหกายวิภาคและสรรี วทิ ยาของสตั ว์ 18
พน้ื ฐานวิชาชพี 10-33-202 จลุ ชีววิทยาของสัตว์
พน้ื ฐานวชิ าชพี 06-03-240 พันธศุ าสตร์
รวม
ภาคการศกึ ษาท่ี 2
กลุ่มวิชา รหัสรายวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
3(3-0-6)
พ้ืนฐานวิชาชีพ 01-22-201 โภชนศาสตร์สัตว์ 3(2-3-5)
3(2-3-5)
พน้ื ฐานวิชาชพี 01-23-304 การผลิตสกุ ร 3(3-0-6)
2(1-3-3)
พน้ื ฐานวชิ าชพี 06-02-240 ชวี เคมที ั่วไป 1(0-2-1)
พื้นฐานวชิ าชพี 06-07-101 หลกั สถติ ิ 3(3-0-6)
วิชาชพี บังคับ 10-33-203 วิทยาภูมิคุม้ กัน 18
วิชาชพี บังคบั 10-37-229 ทักษะพ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ
สัตว์
ภาษา xx-xx-xxx หมวดศกึ ษาทั่วไป
(กลุ่มวชิ าภาษาอังกฤษ)
รวม
คมู อื การศกึ ษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรส ขุ ภาพสตั ว) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 หนา 18
ปีการศกึ ษาท่ี 3
ภาคการศึกษาที่ 1
กลมุ่ วชิ า รหัสรายวชิ า ชือ่ วชิ า หน่วยกติ
3(3-0-6)
พื้นฐานวชิ าชีพ 10-17-215 ภาษาองั กฤษเพ่อื งานทางวิทยาศาสตร์
3(3-0-6)
สุขภาพ 3(2-3-5)
3(2-3-5)
พน้ื ฐานวิชาชีพ 01-34-201 การปรบั ปรุงพันธส์ุ ตั ว์ 3(2-3-5)
3(2-3-5)
วชิ าชีพบังคับ 10-32-312 หลกั การพยาบาลสตั ว์ 2(x-x-x)
วิชาชีพบงั คบั 10-32-313 การตรวจสุขภาพสตั วเ์ บ้ืองต้น 20
วิชาชพี บังคับ 10-32-319 โรคและการสขุ าภบิ าลสตั วเ์ คี้ยวเอื้อง
วิชาชพี บังคับ 10-33-304 ปรสติ วิทยาเบื้องต้นในสตั ว์
วชิ าชีพเลือก xx-xx-xxx วิชาชพี เลอื ก
รวม
ภาคการศึกษาท่ี 2
กลมุ่ วชิ า รหสั รายวิชา ชื่อวิชา หน่วยกติ
3(2-3-5)
วชิ าชีพบงั คับ 10-32-320 โรคและการสขุ าภบิ าลสุกรและสตั ว์ปีก 3(2-3-5)
3(2-3-5)
วชิ าชีพบังคบั 10-34-304 เภสชั วทิ ยาในสตั ว์ 2(1-2-3)
3(x-x-x)
วิชาชพี บังคบั 10-36-313 สขุ ศาสตรเ์ น้ือและนาํ้ นม 3(x-x-x)
3(x-x-x)
วิชาชพี บงั คบั 10-36-316 ความปลอดภยั ทางชวี ภาพในฟาร์ม
20
วิชาชีพเลือก xx-xx-xxx วชิ าชพี เลือก
วิชาชีพเลอื ก xx-xx-xxx วชิ าชีพเลอื ก
วิชาเลอื กเสรี xx-xx-xxx วชิ าเลอื กเสรี
รวม
คมู ือการศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรส ขุ ภาพสตั ว) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2559 หนา 19
ปกี ารศกึ ษาท่ี 4
ภาคการศกึ ษาท่ี 1
กลุ่มวชิ า รหสั รายวชิ า ชือ่ วิชา หน่วยกิต
1(0-2-1)
วชิ าชพี บังคับ 10-37-332 การเตรยี มความพร้อมเพอ่ื สหกจิ ศกึ ษา 6(0-40-0)
วิชาชพี บังคับ 10-37-433 สหกิจศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ 7
สุขภาพสัตว์
รวม
ภาคการศึกษาท่ี 2
กล่มุ วชิ า รหัสรายวิชา ช่ือวชิ า หน่วยกิต
3(2-3-5)
วิชาชพี บังคบั 01-26-401 การจดั การฟารม์ ปศุสตั ว์ 3(2-3-5)
2(2-0-4)
วชิ าชีพบังคบั 10-35-411 การผสมเทียมสัตว์ 2(2-0-4)
1(0-2-1)
วิชาชพี บังคบั 10-36-405 สวัสดภิ าพสตั ว์และกฎหมาย 3(x-x-x)
3(x-x-x)
วิชาชีพบงั คับ 10-36-417 โรคตดิ ต่อระหวา่ งสตั ว์และคน 3(x-x-x)
วชิ าชพี บงั คับ 10-37-427 สัมมนาทางวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพสตั ว์ 20
วิชาชพี เลอื ก xx-xx-xxx วิชาชีพเลือก
วชิ าชีพเลือก xx-xx-xxx วชิ าชีพเลอื ก
วชิ าเลอื กเสรี xx-xx-xxx วิชาเลอื กเสรี
รวม
คมู อื การศกึ ษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพสตั ว) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 20
3.1.5 คําอธบิ ายรายวชิ า
หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป
00-10-001 การพฒั นาคุณภาพชีวิตและสังคม 3(3-0-6)
Life and Social Quality Development
ปรัชญา และหลักธรรมในการดํารงชีวิต การสร้างแนวความคิดและเจตคติของตนเอง
ธรรมะกับการสร้างคุณภาพชีวิต บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
การบริหาร และการพัฒนาตนในการดําเนินชีวิตทางสังคม และการร่วมกิจกรรมทาง
สังคม เทคนิคการครองใจคนและการสร้างผลิตผลในการทาํ งานอย่างมีคุณภาพ
00-10-002 การเมืองและการปกครองของไทย 3(3-0-6)
Thai Politic and Government
วิวฒั นาการการปกครองของประเทศไทย สถาบนั และกระบวนการทางการเมืองการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ไดแ้ ก่ รัฐธรรมนูญ รัฐสภา
คณะรัฐมนตรี ตุลาการ พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ กระบวนการนิติบัญญัติ
การเลือกต้ัง การบริหารราชการแผ่นดินทั้งสว่ นกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนทอ้ งถิ่น
ตลอดจนการมสี ว่ นรว่ มทางการเมือง
00-10-004 สงั คมกบั กฎหมาย 3(3-0-6)
Society and Law
ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ควบคุมสังคม ระบบกฎหมายและ
การจัดลําดับชั้นของกฎหมาย การจัดทํากฎหมาย หลักเกณฑ์ความรับผิดชอบทางแพ่ง
และทางอาญาเบ้ืองต้น การนาํ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องไปใช้ในชีวิตประจาํ วัน
00-10-005 ชมุ ชน สังคม วัฒนธรรมและสิง่ แวดลอ้ ม 3(3-0-6)
Community, Society, Culture and Environment
วิวัฒนาการในการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ และการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม สภาพทั่วไป
ของสังคมมนุษย์ องค์ประกอบโครงสร้างสังคม วัฒนธรรม ชุมชน และกระบวนการ
ทางสังคม ศึกษาปัญหาและผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของชุมชน สังคม วัฒนธรรม
และส่ิงแวดล้อม
00-20-001 การพฒั นาบุคลิกภาพ 3(3-0-6)
Personality Development
พ้ืนฐานเก่ียวกบั บุคลิกภาพ ทฤษฎีบุคลิกภาพ ปัจจัยทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ บคุ ลกิ ภาพ การปรับตัว
มนุษยสัมพันธ์ หลักการปรับปรุงบุคลิกภาพ ฝึกปฏิบัติ เพ่ือพัฒนาบุคลิกภาพ
คมู ือการศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรส ขุ ภาพสตั ว) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 หนา 21
00-20-002 สารสนเทศเพอ่ื การศึกษาคน้ คว้า 3(3-0-6)
Information for Study
หลักการใช้สารสนเทศ แหลง่ สารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ การจัดระบบสารสนเทศ
การเลือกใช้สารสนเทศ การสืบค้นและเครื่องมือช่วยค้นสารสนเทศ การนําเสนอผล
ของการสืบค้นสารสนเทศในรูปแบบรายงานท่ีเป็นมาตรฐาน
00-20-003 จติ วิทยาทั่วไป 3(3-0-6)
General Psychology
ความหมายและขอบขา่ ยของจติ วทิ ยา อิทธิพลของพันธุกรรมและส่ิงแวดล้อม พัฒนาการของ
มนุษย์ ระบบการทํางานของร่างกายที่มีผลต่อพฤติกรรม เชาว์ปัญญา การรับรู้ การ
เรียนรู้ การจูงใจ บุคลิกภาพ การปรับตัว สุขภาพจิต นําความรู้ทางจิตวิทยาไป
พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์เพ่ือการอยู่ร่วมกันในสังคม
00-20-007 นันทนาการในชีวติ ประจาํ วนั 3(2-2-5)
Recreation in Daily Life
ความหมาย ลกั ษณะและขอบข่ายของนนั ทนาการ ความสาํ คัญของนนั ทนาการกับคณุ ภาพชวี ติ
หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการในชีวติ ประจําวัน ฝกึ ปฏบิ ัติกิจกรรมนันทนาการให้เหมาะสม
กับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
00-31-001 การใช้ภาษาไทยเพอ่ื การส่อื สาร 3(3-0-6)
Thai for Communication
ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการสื่อสาร ความสาํ คัญและลักษณะของภาษาไทย ศิลปะการใช้
ภาษาในการสื่อสาร จรยิ ธรรมการใช้ภาษาในการส่ือสาร ทักษะการส่ือสารด้านการฟงั การ
อ่าน การพูด และการเขยี นในชวี ติ ประจําวันและงานอาชีพ
00-31-004 การฟังและการอา่ นเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 3(3-0-6)
Listening and Reading for Life Quality Development
หลักการฟังและการอา่ น การสรา้ งนสิ ยั ที่ดใี นการฟังและการอ่าน การฟงั จบั ใจความ
การฟังวเิ คราะห์ความ การอ่านจับใจความ การอ่านตคี วาม การอา่ นเพอื่ วิเคราะห์ และ
ประเมนิ ค่า การอ่านข่าวและโฆษณา ฝกึ ทกั ษะการฟงั และการอ่านเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชีวิต
00-31-005 การเขยี นเพอ่ื การสอื่ สาร 3(3-0-6)
Writing for Communication
หลักการและกลวิธีในการเขียน การเลือกใช้คาํ การเรียบเรียงประโยค ประเภทสาํ นวน
โวหาร ลักษณะของภาษาเขียน ฝึกทักษะการเขียนย่อหน้า การเขียนเรียงความ การเขียน
บทความ และการเขียนท่ีจําเป็นในการส่ือสารในชีวิตประจาํ วัน
คูมอื การศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสุขภาพสตั ว) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2559 หนา 22
00-32-001 ภาษาองั กฤษเพื่อทกั ษะการเรยี น 3(3-0-6)
English for Study Skills
การใชภ้ าษาอังกฤษ เพ่อื การพฒั นาทกั ษะ การฟงั การพูด การอา่ นและการเขียน ฝกึ ใช้
กลวธิ ที เี่ หมาะสมเพื่อเปน็ เครอ่ื งมือในการศึกษาหาความรู้เพ่ิมเตมิ
00-32-002 ภาษาอังกฤษในชีวติ ประจาํ วนั 3(3-0-6)
English in Daily Life
การใชภ้ าษาอังกฤษในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เพ่ือการสอ่ื สารตามสถานการณ์
ตา่ งๆในชวี ิตประจาํ วนั ฝกึ ทกั ษะการฟงั พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ การเลือกใช้
คาํ ศัพท์ สํานวน และโครงสร้างภาษาที่เหมาะสม
00-32-003 การอ่านภาษาองั กฤษ 3(3-0-6)
English Reading
คาํ ศัพทแ์ ละโครงสรา้ งภาษาอังกฤษ กลวธิ ีการอา่ น พฒั นาทกั ษะการอ่าน งานเขยี นประเภท
ตา่ งๆ อ่านจับใจความสําคญั และรายละเอยี ด
00-32-004 สนทนาภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)
English Conversation
ศัพท์และสํานวนการสนทนาภาษาอังกฤษตามสถานการณต์ า่ ง ๆ วัฒนธรรมการสนทนา
ภาษาอังกฤษ พฒั นาทกั ษะการสนทนาตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ
00-32-005 การเขยี นภาษาองั กฤษในชีวติ ประจําวนั 3(3-0-6)
English Writing in Daily Life
คําศัพท์ สาํ นวน กระบวนการเขียนภาษาอังกฤษ การเขียนในรูปแบบต่าง ๆ ในชวี ิตประจําวัน
พฒั นาทกั ษะการเขยี นในรปู แบบตา่ ง ๆ
00-32-006 ทักษะสัมพนั ธท์ างภาษาองั กฤษ 3(3-0-6)
Interactive English Skills
กระบวนการความสมั พันธ์ของการฟงั พูด อา่ น เขยี น การถ่ายทอดขอ้ ความ จากการฟัง พูด
อ่าน เขยี น ฝกึ ทักษะสมั พนั ธข์ องการสอื่ สารภาษาองั กฤษในรปู แบบทแี่ ตกต่าง
00-33-001 ภาษาจนี เพอื่ การสอื่ สาร 3(3-0-6)
Chinese for Communication
โครงสร้าง และตัวอกั ษรภาษาจนี การเขยี นอกั ษรจนี ตามลาํ ดบั ขดี (bishun) การออกเสียง
ระบบสัทอักษร ฟัง พูด คําศัพท์ วลี และประโยคที่ใช้สนทนาในชีวิตประจําวัน
คูม อื การศึกษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรสขุ ภาพสัตว) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559 หนา 23
00-41-001 คณติ ศาสตร์และคอมพิวเตอรใ์ นชวี ติ ประจําวนั 3(3-0-6)
Mathematics and Computer in Daily Life
คณิตศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการดาํ รงชีวิต การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์เพื่อ วิเคราะหข์ ้อสนเทศ
ประกอบการตัดสินใจในชีวิตประจาํ วัน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
00-42-001 วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดลอ้ มกบั ชีวติ 3(3-0-6)
Science Technology and Environment for Life
แนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ความสมั พนั ธ์
ระหว่างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี ผลกระทบของวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยีในการดาํ รงชีวิต
00-42-002 มหศั จรรยแ์ หง่ บัว 3(3-0-6)
Amazing Waterlily and Lotus
ความหมายและความมหศั จรรยข์ องบวั ปรชั ญาของบัวในศาสนาและลทั ธิต่างๆ ความสมั พนั ธข์ อง
บวั ในทางศลิ ปะ วรรณกรรม และสถาปตั ยกรรม สร้างสรรคช์ ้นิ งานจากความซาบซึ้งในความงาม
และความมหศั จรรยข์ องบวั
00-42-003 ธรรมชาติของสรรพสิง่ 3(3-0-6)
Nature of the Whole
การเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงจากภายใน ปัจจัยที่รู้เห็นธรรมชาติตามความเป็นจริง
การคิดอย่างเป็นกลาง และเชื่อมโยงแนวทางศึกษาจิต สมัยใหม่ สติปัญญากับสมอง
คอมพิวเตอร์ กําเนิดของจักรวาล การสูญพันธ์ุของส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ
สรรพชีวิตสัมพันธ์ บูรณาการระหว่างศาสนากับวิทยาศาสตร์
00-42-004 คณุ คา่ ของสตั วเ์ ลยี้ ง 3(3-0-6)
Pet Value
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั สตั วเ์ ลีย้ ง คณุ ค่าของสตั ว์เลยี้ ง ปัจจยั และส่ิงแวดล้อมท่ีทําให้
เกิดพฤติกรรมของสัตว์เล้ียง โรคของสัตว์เลี้ยงสู่คน เลือกเลี้ยงและดูแลสัตว์เลี้ยงให้
เหมาะสม
00-43-001 การออกกาํ ลังกายเพอ่ื สุขภาพ 3(2-2-5)
Exercise for Health
ความจําเปน็ ของการออกกําลังกายในปัจจบุ นั องค์ประกอบของสมรรถภาพ ทางกาย
การทดสอบและการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ หลักการออกกาํ ลงั
กาย ฝกึ ปฏบิ ัติ กิจกรรมการออกกาํ ลงั กาย หรือชนดิ กีฬาใหเ้ หมาะสมกบั ตนเองเพ่ือสุขภาพ
คูมือการศกึ ษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพสตั ว) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 24
00-43-002 วิทยาศาสตรก์ ารกีฬาเพื่อการออกกําลงั กาย 3(2-2-5)
Sport Sciences for Exercise
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การกีฬา สรีรวิทยาของการออกกําลังกาย การออกกําลังกาย
เพื่อสุขภาพ โภชนาการการกีฬา การบาดเจบ็ จากกีฬาและการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น
การสร้างโปรแกรมการการออกกําลังกาย ฝึกปฏิบัติกิจกรรมการออกกําลังกาย และเล่นกีฬา
ตามโปรแกรมการออกกาํ ลังกายท่ีเหมาะสมกับตนเอง
หมวดวชิ าเฉพาะ
กลุ่มวิชาพนื้ ฐานวชิ าชพี
01-22-201 โภชนศาสตรส์ ตั ว์ 3(3-0-6)
Animal Nutrition
ความสําคัญและพัฒนาการของโภชนศาสตร์สตั ว์ ระบบการยอ่ ยอาหาร โครงสรา้ งทางเคมี
การจาํ แนกประเภท การย่อย การดูดซึม และเมแทบอลซิ มึ ของโภชนะชนิดต่างๆ สารเสรมิ
อาหารสัตว์ การประเมินคณุ ภาพของอาหารสัตว์ ความต้องการโภชนะของสตั วเ์ ลีย้ งตลอดจน
ปญั หาเกี่ยวกับโภชนศาสตรส์ ัตวใ์ นเขตรอ้ น
01-23-203 การผลิตสตั วเ์ ค้ียวเออ้ื ง 3(2-3-5)
Ruminant Production
การผลิตสตั ว์เค้ยี วเอื้อง พนั ธุ์สัตว์ การใหน้ ม การสืบพันธส์ุ ัตว์ การจัดการและการให้อาหาร
การใชพ้ ชื อาหารสตั ว์ และระบบการผลิตในเชงิ การค้า
01-23-301 การผลิตสัตวป์ กี 3(2-3-5)
Poultry Production
สตั ว์ปกี และสัตว์ปกี เศรษฐกจิ การผลิตสตั วป์ ีกในประเทศ ปจั จัยสําคญั ในการผลิตสัตว์ปีก
พันธ์ุ อาหาร การจัดการ โรคและการสุขาภบิ าล การบนั ทึกและวิเคราะห์ผลการเลีย้ งสตั วป์ กี
01-23-304 การผลิตสุกร 3(2-3-5)
Swine Production
สถานการณก์ ารผลิตสุกร พนั ธุ์สุกร ลักษณะโรงเรอื นและอุปกรณ์ การจัดการสกุ รระยะตา่ งๆ
ตามชีพจกั ร อาหารและการให้อาหารสกุ ร โรคและการสขุ าภบิ าลสกุ ร การบันทกึ และ
วเิ คราะห์ผลการเลีย้ งสุกร
06-02-100 เคมที ั่วไป 3(2-3-5)
General Chemistry
สสารและการเปล่ียนแปลง โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมี สารละลาย ปฏิกิริยา
เคมี อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี สมดุลเคมี กรด เบสและเกลือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
และอนุพนั ธ์ เคมีนวิ เคลียร์ เคมีสงิ่ แวดล้อม พรอ้ มทั้งการทดลองในห้องปฏิบตั กิ าร
คูมอื การศกึ ษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรส ุขภาพสตั ว) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 25
06-02-120 เคมีอินทรยี ท์ วั่ ไป 3(2-3-5)
General Organic Chemistry
วิชาบังคบั ก่อน: 06-02-100 เคมที ั่วไป หรอื
06-02-103 หลักเคมี
สารประกอบอินทรีย์ สารประกอบแอลิแฟติกและแอลิไซคลกิ สารประกอบแอโรแมติก อนุพันธ์
ของไฮโดรคาร์บอน พร้อมทั้งการทดลองในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร
06-02-240 ชีวเคมีทั่วไป 3(2-3-5)
General Biochemistry
วิชาบังคับกอ่ น: 06-02-120 เคมอี ินทรียท์ ่ัวไป หรอื
06-02-121 เคมอี นิ ทรีย์
เซลลแ์ ละองคป์ ระกอบของเซลลใ์ นสิ่งมชี วี ติ คาร์โบไฮเดรต ไขมนั โปรตนี เอนไซม์
กรดนวิ คลีอิก เมแทบอลซิ ึมของสารชีวโมเลกลุ ฮอรโ์ มน พรอ้ มท้ังการทดลองในห้องปฏิบัติการ
06-03-102 ชวี วิทยาท่วั ไป 3(2-3-5)
General Biology
ความหมาย ขอบข่าย และความสาํ คญั ของวิชาชีววทิ ยา เซลล์ การแบง่ เซลล์ การเจรญิ เตบิ โต
ของพืชและสัตว์ เมแทบอลิซมึ เนือ้ เย่ือและโครงสร้างของส่ิงมีชวี ติ การจําแนกหมวดหมู่และ
นิเวศวิทยาเบอ้ื งต้น หลกั พันธศุ าสตรเ์ บอ้ื งต้น และประยกุ ต์ความรเู้ พือ่ พฒั นาชวี ติ
06-03-240 พันธศุ าสตร์ 3(2-3-5)
Genetics
วิชาบังคบั กอ่ น: 06-03-102 ชีววทิ ยาท่วั ไป หรอื
06-03-100 ชีววทิ ยา
ความหมาย ขอบข่าย ความสําคัญของวิชาพันธุศาสตร์และวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ทฤษฎีความ
นา่ จะเป็น พันธุศาสตรข์ องเมนเดล พันธุศาสตรน์ อกเหนือกฎเมนเดล พันธุกรรมท่ีควบคุมโดยยีน
หลายคู่ พันธศุ าสตร์ประชากร สารพนั ธกุ รรมและหน้าที่ การกลายพันธุ์ และ
พันธุวศิ วกรรมเบ้ืองตน้ และประยุกตอ์ งคค์ วามรูเ้ พอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวติ
06-04-100 ฟสิ ิกสเ์ บอื้ งต้น 3(3-0-6)
Introductory Physics
คณิตศาสตร์พนื้ ฐานทใี่ ช้ในวชิ าฟสิ กิ ส์ แรงและการเคล่อื นท่ี งานและพลังงาน กลศาสตรข์ อง
ของไหล ปรากฏการณ์คลืน่ แสงและเสียง ความรอ้ น อณุ หพลศาสตร์ ไฟฟา้ สถิต
แม่เหลก็ ไฟฟ้า วงจรไฟฟา้ เบื้องตน้ ฟสิ ิกสเ์ ทคโนโลยี โดยจดั ใหม้ กี ารสาธติ ตามความเหมาะสม
คูมอื การศกึ ษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรสขุ ภาพสัตว) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 26
06-07-101 หลักสถติ ิ 3(3-0-6)
Principle of Statistics
ความรู้พ้ืนฐานทางสถิติ ทฤษฎีความน่าจะเป็น การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเน่ือง
และต่อเนื่อง การสุ่มตวั อย่างและการแจกแจงกล่มุ ตัวอยา่ ง การประมาณคา่ พารามิเตอร์ การ
ทดสอบสมมุติฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์การถดถอยและ
สหสมั พันธอ์ ย่างงา่ ย
10-17-215 ภาษาองั กฤษเพือ่ งานทางวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ 3(3-0-6)
English for Health Science
ทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยเน้นศัพท์เฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ
จากสื่อส่ิงพิมพ์และสื่อสารสนเทศต่างๆ เพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานวิชาชพี
10-33-202 จลุ ชวี วทิ ยาของสัตว์ 3(2-3-5)
Animal Microbiology
วิชาบงั คับกอ่ น: 06-03-102 ชีววทิ ยาทัว่ ไป หรอื
06-03-100 ชีววิทยา
ความสาํ คญั ทางจลุ ชีววทิ ยา สณั ฐาน โครงสรา้ งของเซลลเ์ ชือ้ จลุ ชพี การจัดหมวดหมู่ การ
เจรญิ ปฏิกรยิ าทางชีวเคมี เทคนคิ ปลอดเช้ือทางจลุ ชวี วิทยา อุปกรณ์และเครอ่ื งมือทางจลุ
ชวี วทิ ยา การยอ้ มสี การแยกเชอื้ จลุ ชีพ การทําลายและการยับยงั้ เชือ้ จุลชพี
กลุ่มวิชาชพี บงั คับ
01-24-301 การปรับปรงุ พันธ์สุ ัตว์ 3(3-0-6)
Animal Improvement
วชิ าบังคบั ก่อน: 06-03-240 พันธศุ าสตร์ และ
06-07-101 หลกั สถติ ิ
พ้นื ฐานทางพนั ธศุ าสตร์ พันธุศาสตร์ประชากร การประมาณคา่ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมและการ
นาํ ไปใชป้ ระโยชน์ วิธกี ารคัดเลือกและการผสมพนั ธ์สุ ัตว์แบบต่างๆ เทคโนโลยีชีวภาพในการ
ปรบั ปรงุ พันธ์สุ ัตว์
01-26-401 การจัดการฟาร์มปศุสตั ว์ 3(2-3-5)
Livestock Farm Management
ความรูพ้ น้ื ฐานในการจดั การปศุสัตว์ แนวโนม้ ของอตุ สาหกรรมปศสุ ัตว์ การจดั ต้งั ฟาร์ม
ปศสุ ตั ว์ องค์กรฟาร์มและการจดั การ การบริหารงานบุคคลภายในฟารม์ การวางแผนการ
ผลติ ปศสุ ัตว์ การบรหิ ารงานฟารม์ ปศุสัตว์ เทคนิคและการประยุกตห์ ลักการจดั การในงาน
อาชีพ และการจดั การสารสนเทศฟาร์ม
คมู ือการศึกษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพสัตว) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 27
10-31-205 มหกายวิภาคและสรรี วทิ ยาของสตั ว์ 3(2-3-5)
Animal Gross Anatomy and Physiology
วิชาบงั คบั ก่อน: 06-03-102 ชวี วทิ ยาท่ัวไป หรอื
06-03-100 ชวี วิทยา
ความรูพ้ ื้นฐานทางมหกายวิภาคศาสตร์ รปู รา่ งลกั ษณะ ตําแหนง่ ส่วนประกอบและหน้าทขี่ อง
อวยั วะในระบบโครงกระดกู ระบบกล้ามเนอื้ ระบบไหลเวยี นโลหติ ระบบประสาท ระบบ
หายใจ ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบขับถา่ ยปสั สาวะ ระบบสืบพันธุ์ ระบบต่อมไร้ทอ่ และฮอร์โมน
10-32-312 หลกั การพยาบาลสตั ว์ 3(2-3-5)
Principle of Veterinary Nursing
วชิ าบังคบั กอ่ น: 10-31-205 มหกายวภิ าคและสรรี วทิ ยาของสตั ว์
หลกั การพยาบาลสัตว์เบือ้ งตน้ เทคนคิ ปลอดเชื้อและ การเตรียมเคร่ืองมอื การดแู ลสัตวป์ ว่ ยทาง
อายุรกรรม การดูแลสัตว์หลงั การทําศลั ยกรรม การทําแผล การฟืน้ ฟสู มรรถภาพสัตว์
10-32-313 การตรวจสขุ ภาพสัตวเ์ บือ้ งตน้ 3(2-3-5)
Basic Animal Physical Examination
วชิ าบงั คับก่อน: 10-31-205 มหกายวภิ าคและสรรี วิทยาของสัตว์
หลักการตรวจสุขภาพร่างกายสัตว์เบื้องต้น การตรวจรายตัว การตรวจประเมินสุขภาพรายฝูง
การตรวจเม่ือมีการระบาดของโรคในฝูง หลักการตรวจเบื้องต้น เทคนิคการตรวจโรคสัตว์ทาง
หอ้ งปฏิบตั กิ าร
10-32-319 โรคและการสขุ าภิบาลสตั วเ์ คีย้ วเอ้ือง 3(2-3-5)
Ruminant Diseases and Sanitation
วชิ าบงั คับก่อน: 10-33-202 จลุ ชีววทิ ยาของสตั ว์
หลักการสุขาภิบาลในการเล้ยี งสตั วเ์ ค้ยี วเออ้ื ง โรคท่ีสําคัญ สาเหตุ อาการ การควบคุม และ
ป้องกนั โรคในสตั ว์เค้ียวเออื้ ง โปรแกรมการให้วัคซนี
10-32-320 โรคและการสขุ าภิบาลสุกรและสัตวป์ กี 3(2-3-5)
Swine and Poultry Diseases and Sanitation
วชิ าบงั คับกอ่ น: 10-33-202 จุลชวี วิทยาของสัตว์
หลกั สุขาภิบาลในการเลีย้ งสกุ รและสัตว์ปกี เชิงอุตสาหกรรม โรคทส่ี ําคญั สาเหตุ อาการ การ
ควบคมุ และปอ้ งกนั โรคในสกุ ร โปรแกรมการให้วคั ซนี การบนั ทกึ ขอ้ มลู ประสทิ ธภิ าพในการ
ผลิตสุกร ระบบมาตรฐานฟาร์มสัตวป์ กี
คูมอื การศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสุขภาพสัตว) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2559 หนา 28
10-33-203 วิทยาภมู ิคมุ้ กนั 2(1-3-3)
Immunology
วิชาบงั คบั ก่อน: 10-33-202 จุลชีววิทยาของสัตว์
ชนดิ ของระบบภมู ิคุม้ กนั เซลลแ์ ละอวยั วะท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ระบบภมู คิ ุ้มกนั ปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ การ
สร้างภูมคิ ้มุ กันและ กลไกการทํางานของระบบภมู ิคุ้มกัน ความผดิ ปกตอิ นั เนอ่ื งมาจากความ
บกพรอ่ งของระบบภมู คิ มุ้ กัน หลกั การของวิทยาภูมิคมุ้ กันในการตรวจวินิจฉยั โรค
10-33-304 ปรสิตวิทยาเบอ้ื งตน้ ในสัตว์ 3(2-3-5)
Basic Animal Parasitology
วิชาบงั คบั กอ่ น: 06-03-102 ชีววทิ ยาทวั่ ไป
คํานิยามในทางปรสิตวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างปรสิตกับโฮสต์ การจดั อนกุ รมวธิ านของ
ปรสิต ปรสิตทส่ี าํ คญั ในปศสุ ัตวแ์ ละสตั วเ์ ล้ียง การตรวจวินจิ ฉัยทางปรสติ วทิ ยา การปอ้ งกนั
โรคปรสิตในสตั ว์
10-34-304 เภสัชวทิ ยาในสตั ว์ 3(2-3-5)
Animal Pharmacology
วิชาบงั คบั ก่อน: 06-02-240 ชวี เคมที ั่วไป หรือศึกษาควบคู่กนั
ความรเู้ บ้อื งต้นทางเภสชั วทิ ยา ยาที่ออกฤทธต์ิ อ่ ระบบตา่ งๆ ของร่างกาย ยาตา้ นจุลชพี และยาฆา่
เช้อื ฮอร์โมนบําบดั หลักการใชย้ าสตั ว์ อนั ตรายของการใช้ยาในสัตวท์ ีม่ ีตอ่ ผู้บรโิ ภค
10-35-411 การผสมเทียมสัตว์ 3(2-3-5)
10-36-313
Artificial Insemination
วชิ าบังคบั กอ่ น: 10-31-205 มหกายวิภาคและสรรี วิทยาของสัตว์
กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบสืบพันธ์ุตัวผู้และตัวเมียในสัตว์เค้ียวเอื้อง สุกร และสัตว์ปีก
ปัจจัยท่ีมีผลต่อระบบสืบพันธ์ุ การตรวจการเป็นสัด เทคนิคการผสมเทียมสัตว์ การตั้งท้องและ
การตรวจการอุ้มท้อง ความไม่สมบูรณ์พันธ์ุ
สขุ ศาสตร์เน้ือและนา้ํ นม 3(2-3-5)
Meat and Milk Hygiene
วชิ าบังคับกอ่ น: 10-33-202 จุลชวี วทิ ยาของสัตว์
กระบวนการฆ่าสัตว์ตามมาตรฐานสากล การตรวจสัตว์ก่อนและหลังฆ่า การผลิตและการ
ตรวจคณุ ภาพน้ํานม ระบบคณุ ภาพอาหารปลอดภยั ในอุตสาหกรรมเน้ือสตั วแ์ ละนาํ้ นม
คมู ือการศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรสขุ ภาพสัตว) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 หนา 29
10-36-316 ความปลอดภยั ทางชีวภาพในฟาร์ม 2(1-2-3)
Farm Biosecurity
วชิ าบงั คับก่อน: 10-33-202 จลุ ชวี วิทยาของสตั ว์
การจัดการฟาร์ม มาตรฐานฟาร์ม แนวคิดและธรรมชาติการเกิดโรค หลักการของระบบความ
ปลอดภัยทางชีวภาพ การออกแบบระบบความปลอดภัยทางชีวภาพในสัตว์ปีก สุกร โค แพะ
และแกะ
10-36-405 สวัสดภิ าพสัตวแ์ ละกฎหมาย 2(2-0-4)
Animal Welfare and Jurisprudence
ความหมาย หลักการและมาตรฐานดา้ นสวัสดภิ าพสัตว์ แนวทางการจดั การดา้ นสวสั ดิภาพสัตว์
กฎหมายและขอ้ กําหนดต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วกบั การผลิตสัตว์
10-36-417 โรคตดิ ตอ่ ระหว่างสัตวแ์ ละคน 2(2-0-4)
Zoonoses
วิชาบงั คบั กอ่ น: 10-33-202 จลุ ชวี วิทยาของสัตว์ และ
10-33-304 ปรสติ วิทยาเบอื้ งต้นในสัตว์
จาํ แนกโรคตดิ ต่อระหว่างสัตวแ์ ละคน โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนท่เี กิดจากแบคทีเรีย ไวรสั
เชอ้ื รา และปรสิต โรคอุบัตใิ หม่ โรคอุบตั ิซาํ้
10-37-229 ทักษะพน้ื ฐานทางวิทยาศาสตรส์ ุขภาพสตั ว์ 1(0-2-1)
Basic Skills in Animal Health Science
การฝกึ ปฏิบตั ิ ด้านการเล้ยี งสัตว์ การใหอ้ าหารสัตว์ การจดั การโรงเรอื นสตั ว์ การสงั เกต
พฤตกิ รรมสัตว์ และการดูแลสัตว์เบอ้ื งต้น
10-37-330 การฝึกงานทางวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพสัตว์ 1 2(0-40-0)
Field Practices in Animal Health Science 1
วชิ าบังคบั ก่อน: 10-37-229 ทักษะพน้ื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพสัตว์
ฝึกงานในสถานประกอบการด้านกระบวนการผลิตสัตว์เฉพาะชนิดท่ีมีความสนใจอย่างต่อเน่ืองไม่
นอ้ ยกวา่ 4 สัปดาห์ ๆ ละ 40 ชัว่ โมง
10-37-332 การเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื สหกิจศึกษา 1(0-2-1)
Preparation for Co-operative Education
หลักการ ระเบยี บข้อบงั คบั ของสหกจิ ศกึ ษา ความรูพ้ ้ืนฐานเกย่ี วกับการจดั การในสถาน
ประกอบการ ระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพในสถานประกอบการ เทคนคิ การนําเสนอโครงงานหรือ
ผลงาน
คูมือการศึกษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรส ุขภาพสตั ว) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559 หนา 30
10-37-338 การเตรียมความพรอ้ มฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ 1(0-2-1)
Preparation for Field Practices
ความสําคัญของกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ การเลือกสถานประกอบการ การพัฒนา
บคุ ลิกภาพ วัฒนธรรมองคก์ ร การแปลผลข้อมูลและเทคนคิ การนําเสนอผลงาน
10-37-427 สัมมนาทางวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพสตั ว์ 1(0-2-1)
Seminar in Animal Health Science
คน้ คว้า รวบรวม วิเคราะห์ สงั เคราะห์และเรียบเรยี งองคค์ วามรู้จากแหลง่ สืบค้นตา่ งๆ
โดยการสบื คน้ อยา่ งมจี รยิ ธรรม ทางวชิ าการในด้านวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพสัตว์ และนาํ เสนอ
10-37-431 การฝกึ งานทางวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพสตั ว์ 2 3(0-40-0)
Field Practices in Animal Health Science 2
วชิ าบังคับก่อน: 10-37-330 การฝึกงานทางวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพสตั ว์ 1
ฝึกงานในสถานประกอบการ หรือห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์ อย่างต่อเน่ือไม่
นอ้ ยกว่า 6 สัปดาห์ ๆ ละ 40 ชั่วโมง
10-37-433 สหกิจศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพสัตว์ 6(0-40-0)
Co-operative Education in Animal Health Science
วชิ าบังคบั ก่อน: 10-37-332 การเตรยี มความพร้อมเพ่ือสหกจิ ศึกษา
ฝึกประสบการณก์ ารทํางานในสถานประกอบการ เสมือนหนงึ่ เป็นพนกั งานในตําแหนง่ ตรงกับสาขา
เป็นระยะเวลาไม่น้อยกวา่ 1 ภาคการศกึ ษา จัดทําโครงการจากการปฏิบัติ และนาํ เสนอ หมาย
เหตุ การประเมินผลนกั ศกึ ษา ใหค้ า่ ระดบั คะแนนเปน็
พ.จ. หรือ S พอใจ (Satisfactory)
ม.จ. หรือ U ไมพ่ อใจ (Unsatisfactory)
10-37-434 หวั ข้อเฉพาะทางวิทยาศาสตร์สขุ ภาพสตั ว์ 1(0-2-1)
Selected Topics in Animal Health Science
การศกึ ษาปัญหาหรอื กรณศี กึ ษาทางดา้ นสุขภาพสตั ว์ หรือศาสตร์ที่เกยี่ วขอ้ ง การรวบรวมข้อมูล
เพือ่ วเิ คราะห์และรายงานผล โดยไดร้ ับคําแนะนําจากอาจารยท์ ่ปี รกึ ษา
กลุ่มวชิ าชพี เลอื ก
01-24-302 การประกวดและการตัดสินสัตว์ 3(2-3-5)
Animal Showing and Judging
ความสาํ คัญและประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการประกวดสัตว์ เกณฑ์การตัดสิน ลักษณะประจําพันธุ์
ของสัตว์เล้ียง ลักษณะท่ีดีและไม่ดีของสัตว์เลี้ยง วิธีการเตรียมสัตว์เข้าประกวด หลักเกณฑ์
ในการพิจารณาตัดสินการประกวด ข้อควรระวังในการประกวด
คูมอื การศึกษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสุขภาพสตั ว) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559 หนา 31
01-26-303 การวางแผนและการวเิ คราะหก์ ารทดลอง 3(2-3-5)
Experimental Design and Analysis
วิชาบงั คบั กอ่ น: 06-07-101 หลกั สถติ ิ
หลักการทดลองทางสัตวศาสตร์ การวิเคราะหก์ ารทดลองท่ปี ระกอบดว้ ยสองกลมุ่ ทดลอง
แผนการทดลองพื้นฐานและการวเิ คราะห์ การเปรียบเทียบคา่ เฉลยี่ แบบต่างๆ การเปรยี บเทยี บ
แบบออโธโกนลั การทดลองแบบแฟคทอเรียลและการวเิ คราะห์ การวิเคราะหก์ ารถดถอย
และสหสัมพันธแ์ บบธรรมดา การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
01-26-402 ธุรกจิ ปศุสตั ว์ 3(3-0-6)
Livestock Business
ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับธุรกิจปศุสัตว์ การดําเนินธุรกิจปศุสัตว์ ต้นทุนการผลิตและระบบบัญชี
ฟาร์ม งบประมาณและการจัดงบประมาณ เครดิตและการขอเครดิต การตลาดปศุสัตว์ และ
การเขียนแผนธุรกจิ ปศุสตั ว์
10-12-226 พฤติกรรมสตั วแ์ ละการควบคุมบงั คบั สัตว์ 2(1-3-3)
Animal Behavior and Restraint
ธรรมชาติและพฤติกรรมของสัตว์เล้ียงและสัตว์ป่า ปัญหาทางพฤติกรรมของสัตว์เล้ียงและสัตว์
ป่า การผูกเงื่อนเครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใช้บังคับสัตว์ การเข้าหา และการบังคับสัตว์ด้วยวิธี
ต่างๆ ที่ปลอดภยั ต่อสตั ว์และผู้ปฏิบัติงาน
10-32-233 การใช้และการดแู ลสตั ว์ทดลอง 2(1-3-3)
10-32-314
Use and Health Care for Lab Animals
ความสาํ คญั ของการใชส้ ตั ว์ทดลอง ชนิดของสัตว์ทดลอง สรีรวิทยาและกายวภิ าคของ
สัตวท์ ดลอง การดแู ลด้านอาหารและสุขภาพ และจรรยาบรรณการใช้สตั ว์ทดลอง
การตดั แตง่ ขนสนุ ัข 2(0-4-2)
Dog Grooming
การจําแนกพันธ์แุ ละชนิดขนสุนขั เครือ่ งมอื และอปุ กรณต์ ดั แตง่ ขน การเตรียมตวั สนุ ัข
รูปทรงและการตัดแต่งขนสุนขั ผลติ ภัณฑแ์ ละการดแู ลขนสนุ ัข
10-32-321 การดูแลสุขภาพสนุ ขั และแมว 3(2-3-5)
Dog and Cat Health Care
วิชาบงั คับกอ่ น: 10-33-202 จุลชีววิทยาของสตั ว์
ประเภทและพนั ธส์ุ นุ ขั สายพนั ธ์แุ มว การเล้ียงดู การใหอ้ าหาร พฤติกรรม การผสมพันธุ์โรค
ทสี่ าํ คัญในสุนขั และแมว
คมู อื การศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพสัตว) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 32
10-32-423 การปอ้ งกันโรคสัตวน์ ้าํ 3(2-3-5)
Prevention of Aquatic Animal Diseases
วชิ าบังคบั ก่อน: 06-03-102 ชีววิทยาทวั่ ไป
ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา โรคสําคัญในสัตว์น้ําเศรษฐกิจ การจัดการคุณภาพนํ้าเพื่อ
ป้องกันโรค การตรวจวนิ ิจฉัยโรคสัตว์นาํ้ การใช้วคั ซนี ยา และสารเคมีในสัตว์นํา้
10-32-424 โภชนบําบดั สตั วเ์ ล้ียง 2(2-0-4)
Nutritional Therapy for Companion Animals
สารอาหารทจ่ี ําเป็นสาํ หรบั สตั ว์เล้ยี ง อาหารสาํ เร็จรปู ของสัตว์เลย้ี ง ความต้องการอาหารของ
สัตว์เล้ียงในช่วงวัยต่าง ๆ การจัดการสารอาหารสําหรับสัตว์ป่วย ความผิดปกติจากทุพ
โภชนาการในสตั วเ์ ลยี้ ง
10-32-434 การดแู ลสตั วป์ ่าและสัตว์พเิ ศษ 2(1-3-3)
Wildlife and Exotic Animal Care
ข้อมูลทางชีววิทยาของสัตว์ป่า การจัดการสุขภาพของสัตว์ป่า สัตว์พิเศษและการเล้ียงดู โรคท่ี
สําคัญ การควบคมุ และปอ้ งกนั โรคของสัตว์ป่าและสัตว์พิเศษ
10-32-445 เวชศาสตรฟ์ ืน้ ฟูสตั วเ์ ล้ยี ง 2(1-3-3)
Companion Animal Rehabilitation
วชิ าบังคับก่อน: 10-31-205 มหกายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์
ความหมายของเวชศาสตรฟ์ ื้นฟู โรคของสตั ว์เลยี้ งทรี่ กั ษาโดยกายภาพบําบัด การบาํ บัดด้วย
ความร้อน การบาํ บดั ด้วยความเย็น การนวดบําบัดดว้ ยมือ เคร่ืองมือ และเลเซอร์
10-33-410 ปฏบิ ตั ิการพยาธวิ ิทยาคลินกิ ของสัตว์ 2(0-4-2)
Animal Clinical Pathological Laboratory
วิชาบงั คับกอ่ น: 06-03-102 ชีววิทยาทว่ั ไป
เทคนิคการเก็บตัวอย่างจากสัตว์ การตรวจทางโลหิตวิทยา การตรวจชีวเคมีทางโลหิต
การตรวจปัสสาวะ การตรวจเซลลว์ ทิ ยา การแปลผลทางพยาธิวิทยาคลินิก
10-36-406 หลกั วทิ ยาการระบาด 2(1-2-3)
Principle of Epidemiology
วิชาบงั คับกอ่ น: 06-07-101 หลักสถิติ
ความหมาย ประโยชน์ ความสําคัญของระบาดวิทยา ปัจจัยก่อโรคในทางระบาดวิทยา
การศึกษาทางระบาดวิทยา มาตรการในการสอบสวนและการเฝ้าระวังโรค การป้องกันและ
ควบคุมโรค
คูม อื การศึกษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพสตั ว) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 หนา 33
10-37-436 การวิจยั ทางวิทยาศาสตรส์ ุขภาพสตั ว์ 3(1-4-4)
Research in Animal Health Science
วิชาบงั คับก่อน: 06-07-101 หลักสถติ ิ
การวางแผนงานวจิ ัย การดาํ เนินงานทดลอง การรวบรวมข้อมลู การวิเคราะห์ผล และ
รายงานผลภายใตก้ ารดแู ลของอาจารย์ทป่ี รกึ ษา
องค์ประกอบเกีย่ วกับประสบการณภ์ าคสนาม (การฝกึ งาน หรือสหกิจศกึ ษา)
บัณฑิตควรมีประสบการณ์วิชาชีพก่อนเข้าสู่การทํางานจริง ดังน้ันหลักสูตรได้กําหนดให้เลือกศึกษาใน
รายวิชาการฝึกงานทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ (แผน ก) หรือรายวิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์
(แผน ข) ซ่ึงจัดอยู่ในกลุ่มวิชาชีพบังคับ โดยนักศึกษาทุกคนต้องเรียนวิชาทักษะพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
สตั ว์ และผ่านการเรียนในรายวชิ าการผลิตสัตวไ์ ม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ
มาตรฐานผลการเรยี นรขู้ องประสบการณภ์ าคสนาม
1. สามารถปฏบิ ัติทักษะการจดั การดูแลสขุ ภาพสตั ว์ ข้นั พื้นฐาน ตลอดจนมคี วามเข้าใจในหลักการ
ความจําเป็นในการเรยี นรทู้ ฤษฎมี ากขนึ้
2. มีความสามารถในการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ คิดอยา่ งสร้างสรรค์ แก้ปญั หาอยา่ งมรี ะบบ
3. มีระเบียบวนิ ยั ตรงเวลา และเขา้ ใจวฒั นธรรมองค์กร ตลอดจนสามารถปรับตัวใหเ้ ข้ากบั
สถานประกอบการได้
4. มีความมงุ่ ม่นั และปฏบิ ัติงานตอ่ สัตว์โดยคาํ นงึ ถึงหลกั สวัสดิภาพสัตว์
ชว่ งเวลา
1. สาํ หรับนกั ศึกษาทเ่ี รียนวชิ าการฝกึ งานทางวิทยาศาสตรส์ ุขภาพสตั ว์
- การฝกึ งานฯ 1 ฝกึ งานในภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น ของปีการศึกษาที่ 2 และประเมินผล
การศึกษาในภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศึกษาที่ 3
- การฝึกงานฯ 2 ฝกึ งานในภาคการศึกษาฤดูรอ้ น ของปกี ารศกึ ษาท่ี 3 และประเมินผล
การศกึ ษาในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษาท่ี 4
2. สําหรบั นกั ศกึ ษาท่เี รียนวชิ าสหกิจศกึ ษา ฯ
- ฝกึ งานสหกิจศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษาที่ 4
การจัดเวลาและตารางสอน
1. การฝึกงานทางวิทยาศาสตร์สขุ ภาพสตั ว์ 1
- ใช้เวลาฝึกงานในสถานประกอบการไมน่ ้อยกว่า 4 สปั ดาห์ ๆ ละ 40 ช่วั โมง
2. การฝกึ งานทางวิทยาศาสตรส์ ุขภาพสัตว์ 2
- ใช้เวลาฝกึ งานในสถานประกอบการไม่น้อยกวา่ 6 สปั ดาห์ ๆ ละ 40 ช่ัวโมง
3. สหกจิ ศึกษาทางวิทยาศาสตรส์ ุขภาพสัตว์
- จัดเตม็ เวลาใน 1 ภาคการศกึ ษา สัปดาห์ ๆ ละ 40 ชัว่ โมง
ข้อกําหนดเก่ยี วกับการทาํ โครงงานหรืองานวิจยั
นักศึกษาทเี่ ลอื กเรียนวชิ าการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพสัตวต์ ้องผ่านการเรยี นวิชาหลกั สถติ ิ
ทั้งนอี้ าจารย์ทปี่ รกึ ษาอาจแนะนําให้นกั ศกึ ษาเลอื กเรียนในรายวิชาการวางแผนและการวิเคราะหก์ ารทดลอง
เพื่อใหม้ คี วามเขา้ ใจและสามารถศกึ ษาไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์
คมู ือการศึกษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรส ุขภาพสัตว) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 หนา 34
คาํ อธบิ ายโดยย่อ
หลักสตู รกาํ หนดใหน้ กั ศกึ ษาเรียนในกล่มุ วิชาชีพเลือก ในวชิ าการวิจยั ทางวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ
สัตว์ โดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับการวางแผนการทดลอง ภายใต้คําแนะนําของอาจารย์ที่
ปรกึ ษา ตามหลักเกณฑ์ของวชิ า
มาตรฐานผลการเรยี นรู้
นักศกึ ษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจในกระบวนการวจิ ยั สามารถทาํ วิจยั เบอื้ งตน้ หรอื กรณศี ึกษาเพ่ือ
แก้ปญั หาทางสขุ ภาพสัตว์ได้ และสามารถเขยี นผลงานวจิ ยั อย่างสร้างสรรค์
ช่วงเวลา
ปีการศกึ ษาที่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
จํานวนหนว่ ยกิต
3 หน่วยกิต
การเตรียมการ
1. มอบหมายอาจารย์ที่ปรึกษาวชิ าการวิจัยทางวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพสัตวใ์ ห้นักศึกษาเป็น
รายบุคคล หรือรายกลมุ่
2. อาจารยท์ ปี่ รึกษาให้คาํ ปรึกษาในการเลอื กหัวข้อกระบวนการศึกษาคน้ ควา้ และประเมินผล
3. นกั ศกึ ษานาํ เสนอโครงรา่ งงานวิจัยต่ออาจารยท์ ่ีปรกึ ษา และ อาจารยป์ ระจาํ วชิ าเพื่อรับ
ข้อเสนอแนะ (ก่อนการลงทะเบียนอย่างนอ้ ย 1 ภาคการศกึ ษา)
กระบวนการประเมินผล
1. อาจารย์ทปี่ รกึ ษาประเมินผลการเรียนจากคุณภาพผลงาน ตลอดจนความรับผิดชอบของ
นักศึกษา
2. อาจารย์ประจาํ วชิ าตรวจแบบฟอร์มรปู เลม่ รายงานวิจัยตามหลักเกณฑ์รายวิชา
3. นักศกึ ษาประเมนิ การสอนแบบฟอรม์ ประเมินผลรายวชิ า
คมู อื การศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรสขุ ภาพสตั ว) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 หนา 35
1. การพัฒนาคณุ ลกั ษณะพิเศษของนกั ศกึ ษา
คุณลักษณะพเิ ศษ กลยุทธห์ รอื กจิ กรรมของนักศกึ ษา
สํานกึ ดี
การสอดแทรกการสอนในวชิ าเรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม โดยเนน้
ความซอ่ื สัตย์ สุจริต และความรับผิดชอบ
มคี วามชํานาญดา้ นทักษะ เน้นการทาํ งานในภาคปฏิบัติของวิชาชีพ ด้านการจัดการสุขภาพสัตว์
มุง่ มน่ั พัฒนาตนเอง และการผลิตสัตว์ ทัง้ ภายในและภายนอกสถาบนั
มีจิตสาธารณะ -มอบหมายงานคน้ ควา้ เพ่มิ เตมิ ในภาคทฤษฎี
-เปิดโอกาสให้นกั ศกึ ษาเขา้ ในการประชมุ วิชาการท้งั ในและ
ภายนอกสถาบนั
-จดั กิจกรรมแข่งขนั ทางวิชาการ
-จดั อบรมความรู้เสรมิ สรา้ งประสบการณ์วชิ าชีพจากวทิ ยากร
ภายนอก
-เปดิ โอกาสให้นักศกึ ษาเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณประโยชน์
ตอ่ ชมุ ชน และมหาวทิ ยาลยั
-กจิ กรรมอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม
คมู ือการศกึ ษา หลักสตู ร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรสขุ ภาพสัตว) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2559 หนา 36
ภาคการศกึ ษาที่ 1 รหสั รายวชิ า บนั ทกึ แผนการศึกษา เกรด
ปกี ารศกึ ษาที่ 1
หมวดวชิ า
ชอ่ื วิชา
เกรดเฉลย่ี
GPA
ภาคการศึกษาท่ี 2 ชื่อวิชา เกรด
หมวดวิชา รหสั รายวชิ า
เกรดเฉลี่ย หนา 37
GPA
คูมอื การศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวิทยาศาสตรสขุ ภาพสัตว) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559
ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษาท่ี 2 เกรด
หมวดวชิ า รหสั รายวชิ า ชื่อวชิ า
เกรดเฉล่ยี
GPA
ภาคการศึกษาที่ 2 ช่อื วิชา เกรด
หมวดวชิ า รหสั รายวชิ า
เกรดเฉล่ีย หนา 38
GPA
คมู ือการศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสุขภาพสตั ว) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2559
ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษาท่ี 3 เกรด
หมวดวชิ า รหสั รายวชิ า ชื่อวชิ า
เกรดเฉล่ยี
GPA
ภาคการศึกษาที่ 2 ช่อื วิชา เกรด
หมวดวชิ า รหสั รายวชิ า
เกรดเฉล่ีย หนา 39
GPA
คมู ือการศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสุขภาพสตั ว) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2559
ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษาท่ี 4 เกรด
หมวดวชิ า รหสั รายวชิ า ชื่อวชิ า
เกรดเฉล่ยี
GPA
ภาคการศึกษาที่ 2 ช่อื วิชา เกรด
หมวดวชิ า รหสั รายวชิ า
เกรดเฉล่ีย หนา 40
GPA
คมู ือการศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรสุขภาพสตั ว) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2559
ประกาศ / ขอ้ บังคับ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก
https://qrgo.page.link/cGDEk
แบบฟอรม์ คาํ รอ้ งสาํ หรับนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
http://academic.rmutto.ac.th/?p=159
คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก
http://vet.rmutto.ac.th/?lang=TH หนา 41
คมู อื การศกึ ษา หลักสูตร วท.บ. (สาขาวทิ ยาศาสตรส ุขภาพสัตว) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2559