แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ฯ รายวชิ า ชีววิทยา รหสั วิชา ว30245
ปีการศกึ ษา 2564
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 4 ชั่วโมง
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรื่อง อาณาจักรฟังไจ
1. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
อนุกรมวิธาน เปน็ การจัดจำแนกส่ิงมชี ีวิตส่ิงมชี ีวติ ออกเป็นหมวดหมู่ตามสายววิ ัฒนาการ ในอดีตการจัดจำแนก
กลมุ่ สง่ิ มชี ีวติ แบบผวิ เผิน แตใ่ นปัจจบุ ันได้จดั กลมุ่ สง่ิ มีชีวติ ออกเปน็ 5 กลมุ่ ใหญๆ่ คือ อาณามอเนอรา อาณาจกั ร
โพรทสิ ตา อาณาจกั รฟงั ไจ อาณาจักรพชื และอาณาจักรสตั ว์
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
2. เขา้ ใจการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบตั ิ และหนา้ ทข่ี องสาร
พันธกุ รรม การเกดิ มิวเทชนั เทคโนโลยีทางดเี อ็นเอ หลักฐาน ข้อมลู และแนวคิดเก่ียวกับวิวฒั นาการของสง่ิ มชี ีวติ
ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบริ ก์ การเกิดสปีชีสใ์ หม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ กำเนิดของสง่ิ มีชีวติ ความ
หลากหลายของสิง่ มีชวี ิต และอนกุ รมวธิ าน รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
ผลการเรยี นรู้
2. อธิบายการเกดิ เซลลเ์ รม่ิ แรกของสง่ิ มีชีวิตและวิวัฒนาการของสิ่งมชี วี ิตเซลลเ์ ดยี ว
3.อธิบายลักษณะสำคญั และยกตวั อย่างสิ่งมชี ีวติ กลมุ่ แบคทเี รยี สิ่งมีชีวิตกลมุ่ โพรทสิ ต์ สง่ิ มีชีวติ กลุม่ พืช
สิง่ มชี ีวติ กลมุ่ ฟังไจ และสง่ิ มีชวี ิตกลมุ่ สตั ว์
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (K,P,A)
24. อธิบายลกั ษณะสำคัญของสงิ่ มชี ีวิตในอาณาจักรฟังไจได้ (K)
25. ยกตัวอยา่ งของสิง่ มชี วี ติ ในอาณาจักรฟงั ไจได้ (K)
26. นำเสนอส่งิ มีชีวิตในอาณาจักรฟงั ไจได้ (P)
27. สนใจใฝเ่ รยี นร้ทู างการศกึ ษา (A)
4. สาระการเรยี นรู้
- อาณาจกั รฟงั ไจ
5. กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั ท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)
3. กระตนุ้ นกั เรียนด้วยคำถาม
- ปจั จุบันมกี ารจัดจำแนกส่ิงมชี ีวติ ไดก้ ีก่ ล่มุ อะไรบ้าง (5 กลมุ่ คือ มอเนอรา โพทิสตา ฟังไจ พืช
และสตั ว)์
- การเรียงลำดบั กลุ่มสิ่งมชี วี ิตใหญ่ พิจารณาจากอะไร (โครงสรา้ งภายในและสายววิ ัฒนาการ)
- สิง่ มชี วี ิตพวกฟังไจมลี ักษณะเดน่ อยา่ งไรบา้ ง (กลุม่ ส่ิงมีชีวติ น้เี ป็นกลุม่ ของผ้ยู ่อยสลาย ทงั้ มี
ลักษณะคล้ายพชื และลกั ษณะคล้ายสัตว)์
ขั้นท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)
19. ให้นักเรียนแบง่ กล่มุ กลุ่มละ 4 – 5 คน ศึกษาคน้ ควา้ ข้อมลู เรือ่ ง อาณาจกั รฟังไจและตัวอยา่ งของ
สงิ่ มชี วี ติ
20. ใหน้ กั เรยี นแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษาค้นควา้ กับเพือ่ นนักเรยี นในห้อง
21. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายผลท่ไี ดจ้ ากการศกึ ษาค้นควา้ เรอื่ ง อาณาจักรฟงั ไจและตวั อย่างของ
ส่ิงมีชวี ิต เพอื่ สรุปผลและสรา้ งองค์ความรู้ใหมร่ ว่ มกัน
ข้ันท่ี 3 อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. อาณาจักรฟงั ใจ (KINGDOM FUNGI)
- เห็ด ราและยีสตม์ ลี กั ษณะทัว่ ไปคลา้ ยกับพชื และโปรตสิ ต์ ตา่ งกนั ตรงท่ีไม่มรี งควตั ถุเพื่อใช้
ในการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง สว่ นใหญจ่ งึ ดำรงชพี โดยเปน็ ผู้ย่อยสลายอินทรยี ์สาร ประกอบด้วยกลุม่ ของ
เซลล์ ซึ่งมีลักษณะเป็นเสน้ ใยเรียกว่า (HYPHA) ซง่ึ เจรญิ มาจากสปอร์ กลุ่มของไฮฟา เรียกวา่ ไมซีเลยี ม
(MYCELIUM) โดยมีไรซอยดช์ ่วยยึด ไฮฟาตดิ กบั แหลง่ ที่อยู่
- ราแยกเป็นกลุ่มต่างๆดังน้ี
1. DIVISION ZYGOMYCOTA ราดำ(Rhizopus sp.)ท่ีขึน้ บนขนมปงั
ราดำท่ขี ้นึ ขนมปงั
2. DIVISION ASCOMYCOTA ยีสต์ (Saccharocyces sp.) และราสีแดง
(Monascus sp.)
3. DIVISION BASIDIOMYCOTA เหด็ ชนิดตา่ งๆ ตวั อย่างเชน่ เห็ดฟาง เห็ดหอม
และราสนิม
4.DIVISION DEUTEROMYCOTA ราสเี ขยี ว (Penicillium sp.) ท่ใี ช้ในการผลิตยา
เพนซิ ลิ นิ เราใช้ในการผลิตกรดซิตรกิ (Aspergillus Niger) เปน็ ตน้
- ขอ้ สังเกต นักชวี วิทยาแยกเห็ดรา ออกมาจากอาณาจกั รโปรติสตาเนอื่ งจากมีข้อ
แตกตา่ งกนั หลายประการ เช่น รูปแบบของการหาอาหารของสิง่ มีชวี ติ
ขนั้ ท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
7. ใหน้ ักเรียนออกแบบหนังสือเลม่ เลก็ เร่ือง ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ สรปุ เน้ือหาใหก้ ระชับและ
เขา้ ใจง่าย และตกแต่งให้สวยงาม
ขั้นท่ี 5 ประเมิน (Evaluation)
1. นักเรยี นตรวจสอบหรือประเมินข้นั ตอนตา่ ง ๆ ท่เี รียนมาในวนั น้ีมจี ดุ เด่น จุดบกพรอ่ งอะไรบา้ ง มีความ
สงสัย ความอยากรอู้ ยากเห็นในเรอ่ื งใด
2. นกั เรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียน ในประเดน็ ต่อไปน้ี
- สงิ่ ทน่ี ักเรยี นได้เรียนรู้ในวันนีค้ ืออะไร
- นกั เรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
- เพื่อนนักเรียนในกลมุ่ มีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด
- นกั เรียนพงึ พอใจกบั การเรยี นในวันนหี้ รอื ไม่ เพียงใด
- นกั เรียนจะนำความรู้ท่ไี ดน้ ีไ้ ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไปไดอ้ ย่างไร
จากนัน้ แลกเปล่ียนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพ่ิมคุณค่าไปสู่สังคม เกดิ ประโยชน์ต่อสังคม
ให้มากขน้ึ กว่าเดมิ ในขนั้ ตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในคร้ังต่อไป
6. สอื่ / แหล่งการเรียนรู้
- สื่อ Power Point เรอ่ื ง ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ติ
- แหลง่ เรยี นรู้ในและนอกห้องเรยี น
7. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน/รอ่ งรอยการเรียนรู้)
- หนงั สือเลม่ เลก็ เร่อื ง ความหลากหลายของส่งิ มีชีวิต
8. การวัดและประเมินผล
แบบประเมินการปฏบิ ตั ิการทำกจิ กรรม
รายการการ ระดบั คุณภาพ
ประเมนิ 4 3 21
1. การทำกิจกรรม ทำกจิ กรรมตามวิธกี าร ทำกจิ กรรมตามวธิ ีการ ทำกิจกรรมตามวธิ กี าร ทำกิจกรรมไม่ถูกตอ้ ง
ตามแผนทกี่ ำหนด และข้นั ตอนท่ีกำหนดไว้อย่าง และขน้ั ตอนทีก่ ำหนดไว้ และขน้ั ตอนทีก่ ำหนดไวโ้ ดย ตามวธิ ีการและขน้ั ตอน
ถูกต้องด้วยตนเองมีการ ดว้ ยตนเอง มีการปรบั ปรงุ มีครหู รอื ผูอ้ ืน่ ทีก่ ำหนดไว้ ไมม่ ีการ
ปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะ แก้ไขบา้ ง เป็นผู้แนะนำ ปรบั ปรุงแก้ไข
2. การใช้อปุ กรณ์ ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรอื ใชอ้ ปุ กรณ์และ/หรอื ใช้อุปกรณ์และ/หรือ ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรือ
และ/หรอื เคร่อื งมือในการทำ เครือ่ งมือในการทำ เครอ่ื งมอื ในการทำ เคร่ืองมอื ในการทำ
เคร่ืองมอื กิจกรรมไดอ้ ย่างถูกตอ้ งตาม กจิ กรรมได้อยา่ งถกู ตอ้ ง กจิ กรรมไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งโดย กิจกรรมไม่ถกู ตอ้ ง และ
หลักการปฏิบตั ิและ ตามหลกั การปฏบิ ัติ แต่ไม่ มคี รู หรือผูอ้ ืน่ เป็นผ้แู นะนำ ไมม่ ีความคลอ่ งแคลว่ ใน
คลอ่ งแคล่ว คล่องแคล่ว การใช้
3. การบันทึกผล บนั ทึกผลเป็นระยะ บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทึกผลเป็นระยะ บนั ทึกผลไมค่ รบ
การทำกจิ กรรม อย่างถกู ต้อง มรี ะเบียบมกี าร อยา่ งถกู ตอ้ ง มรี ะเบียบมี แต่ไมเ่ ป็นระเบียบ ไมม่ ีการระบหุ นว่ ย
ระบุหน่วย มีการอธบิ าย การระบหุ นว่ ย มีการ ไม่มีการระบหุ นว่ ย และไม่เป็นไปตาม
ขอ้ มูลให้เห็นความเชื่อมโยงเป็น อธิบายขอ้ มูลใหเ้ ห็นถึง และไมม่ ีการอธิบายข้อมลู ให้ การทำกิจกรรม
ภาพรวมเป็นเหตุเป็นผล และ ความสัมพันธเ์ ปน็ ไป เหน็ ถึงความสัมพนั ธ์ของการ
เป็นไปตามการทำกจิ กรรม ตามการทำกจิ กรรม ทำกิจกรรม
4. การจัดกระทำ จดั กระทำขอ้ มลู จัดกระทำข้อมูล จัดกระทำขอ้ มูล จดั กระทำข้อมูลอยา่ ง
ข้อมูลและการ อย่างเป็นระบบมกี าร อยา่ งเปน็ ระบบ มีการ อย่างเปน็ ระบบมกี าร ไมเ่ ป็นระบบ และมีการ
นำเสนอ เช่ือมโยงใหเ้ ห็นเปน็ ภาพรวม จำแนกขอ้ มลู ให้เห็น ยกตวั อย่างเพิ่มเตมิ ใหเ้ ข้าใจ นำเสนอไมส่ ่อื
และนำเสนอ ความสมั พันธ์ นำเสนอ ง่าย และนำเสนอด้วยแบบ ความหมายและไม่
ด้วยแบบตา่ ง ๆอย่างชดั เจน ด้วยแบบต่าง ๆ ได้ ตา่ ง ๆ แตย่ ังไม่ชัดเจนและไม่ ชัดเจน
ถูกตอ้ ง แต่ยงั ไมช่ ัดเจน ถูกต้อง
5. การสรปุ ผลการ สรปุ ผลการทำกจิ กรรม สรุปผลการทำกิจกรรม สรุปผลการทำกจิ กรรมได้โดย สรปุ ผลการทำกจิ กรรม
ทำกจิ กรรม ได้อย่างถูกต้อง กระชบั ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง แตย่ ัง มคี รูหรือผอู้ นื่ ตามความรทู้ ่พี อมีอยู่
ชดั เจน และครอบคลมุ ข้อมลู ไม่ครอบคลุมขอ้ มลู แนะนำบ้าง จงึ สามารถ โดยไมใ่ ช้ข้อมลู
จากการวิเคราะห์ จากการวิเคราะหท์ ัง้ หมด สรปุ ได้อย่างถูกต้อง จากการทำกจิ กรรม
ทง้ั หมด
6. การดแู ลและ ดูแลอปุ กรณ์และ/หรอื ดแู ลอุปกรณ์และ/หรือ ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรอื ไม่ดูแลอุปกรณ์และ/
การเกบ็ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือในการทำกจิ กรรม เคร่ืองมือในการทำกจิ กรรม เครื่องมอื ในการทำกิจกรรม หรอื เครื่องมอื ในการทำ
และ/หรือ และมีการ และมีการ มกี ารทำความสะอาด แต่ กิจกรรม และไม่สนใจ
เครื่องมอื ทำความสะอาดและเก็บอย่าง ทำความสะอาดอยา่ ง เกบ็ ไมถ่ กู ต้อง ตอ้ งใหค้ รูหรอื ทำความสะอาด รวมทัง้
ถูกต้องตามหลักการและ ถกู ตอ้ ง แต่เกบ็ ผู้อ่ืนแนะนำ เกบ็ ไม่ถกู ตอ้ ง
แนะนำให้ผู้อนื่ ดูแลและเก็บ ไม่ถกู ตอ้ ง
รกั ษาไดถ้ กู ตอ้ ง
แบบประเมนิ ช้ินงาน การจัดกระทำและนำเสนอแผนผงั
รายการการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน
432 1
การจัดกระทำและ
นำเสนอแผนผงั จดั กระทำแลนำเสนอ จัดกระทำและ จัดกระทำและ จัดกระทำและนำเสนอ
แผนผังได้ แต่ไม่
แผนผงั ไดส้ ัมพันธ์กัน นำเสนอ แผนผังได้ นำเสนอแผนผงั ได้ สอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้
เร่ืองที่กำหนด
และถูกตอ้ งตามหัวขอ้ สมั พนั ธ์กบั หัวข้อเรอื่ ง ตามหัวข้อเรื่อง
เรื่องท่กี ำหนด มีการ ทีก่ ำหนด มกี าร โดยมคี รูหรอื ผู้อื่น
วางแผน มกี าร ออกแบบ มคี วามคิด ใหค้ ำแนะนำ
ออกแบบ และมี รเิ ร่ิม แต่ไมม่ ีการ
ความคิดสร้างสรรค์ เชอื่ มโยงใหเ้ ห็นเปน็
มีการเช่ือมโยงใหเ้ หน็ ภาพรวม
เปน็ ภาพรวม
แบบประเมินการสืบสอบข้อมลู
รายการการ ระดับคณุ ภาพ
ประเมิน 4 3 21
1. การวางแผน วางแผนท่ีจะค้นคว้าข้อมลู จาก วางแผนท่ีจะค้นคว้าข้อมลู วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู ไมม่ ีการวางแผนทีจ่ ะ
คน้ คว้าขอ้ มลู แหล่งการเรียนรทู้ ่หี ลากหลาย จากแหลง่ การเรียนรู้ที่ จากแหลง่ การเรียนรู้โดยมี ค้นควา้ ข้อมลู จาก
จากแหล่งการ เชอื่ ถือได้และมีการเช่ือมโยงให้เห็น หลากหลาย และเหมาะสม ครูหรอื ผอู้ น่ื แนะนำบ้าง แหล่งการเรียนรูอ้ ยา่ ง
เรียนรู้ เป็นภาพรวม แสดงให้เห็น แตไ่ มม่ ีการเชื่อมโยงให้ เปน็ ระบบ
ถงึ ความสัมพันธ์ของ เห็นเป็นภาพรวม
วธิ กี ารทั้งหมด
2. การเกบ็ เกบ็ รวบรวมข้อมลู เกบ็ รวบรวมข้อมลู เก็บรวบรวมขอ้ มลู เก็บรวบรวมข้อมลู
รวบรวม ตามแผนทีก่ ำหนด โดยคดั เลือกและ/หรือ โดยไม่มกี ารคดั เลอื ก เป็นระยะ ขาดการ
ขอ้ มลู ทุกประการ ประเมินข้อมูล และ/หรอื ประเมินข้อมลู ประเมินเพอ่ื คัดเลอื ก
3. การจดั จดั กระทำขอ้ มูล จดั กระทำขอ้ มลู จดั กระทำข้อมูล จัดกระทำข้อมลู อยา่ ง
กระทำขอ้ มูล อยา่ งเป็นระบบ อยา่ งเป็นระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ปน็ ระบบ และ
และการ มีการเชอ่ื มโยงให้เห็น จำแนกขอ้ มลู ใหเ้ ห็น มีการยกตวั อย่างเพิ่มเติมให้ นำเสนอไมส่ อ่ื
นำเสนอ เป็นภาพรวม และนำเสนอด้วยแบบ ความสัมพนั ธ์ นำเสนอ เข้าใจง่ายและนำเสนอด้วย ความหมายและไม่
ต่าง ๆ อย่างชัดเจนถกู ตอ้ ง ด้วยแบบตา่ ง ๆ ได้ แบบต่าง ๆ แต่ยงั ไมถ่ ูกต้อง ชัดเจน
อยา่ งถกู ต้อง
4. การสรุปผล สรปุ ผลไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง สรปุ ผลได้อย่างกระชบั สรปุ ผลไดก้ ระชบั สรุปผลโดยไมใ่ ช้
กระชับ ชัดเจน และ แต่ยงั ไมช่ ดั เจนและ กะทดั รดั แตไ่ มช่ ดั เจน ขอ้ มูล และไม่ถูกต้อง
ครอบคลุม มเี หตุผล ไมค่ รอบคลมุ ขอ้ มลู
ทอี่ ้างองิ จากการสืบสอบได้ จากการวเิ คราะห์
ทั้งหมด
5. การเขยี น เขียนรายงานตรงตามจดุ ประสงค์ เขียนรายงานตรงตาม เขยี นรายงานโดยส่ือ เขยี นรายงานไดต้ าม
รายงาน ถูกต้องและชัดเจน และมีการ จดุ ประสงค์อยา่ งถูกต้อง ความหมายไดโ้ ดยมีครหู รือ ตวั อย่าง แต่ใช้ภาษาไม่
เช่ือมโยงให้เหน็ เปน็ ภาพรวม และชัดเจนแต่ขาดการ ผอู้ ่นื แนะนำ ถูกต้อง และไม่ชัดเจน
เรยี บเรยี ง
9.การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 หว่ ง 2 เง่ือน 4 มติ ิ)
หลกั ความพอประมาณ การใช้เวลาในการศกึ ษาความรู้และทำงานเหมาะสมกบั เวลา
หลักมเี หตุผล การเลอื กและอธิบายเรอื่ งท่ีเรียนร้ไู ดอ้ ย่างเหมาะสมและ
ถกู ตอ้ ง
หลกั สรา้ งภูมิคุ้มกนั ตัวทีด่ ี
เงื่อนไขความรู้ การเลือกศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นรู้ มกี ารวางแผนการทำงานกลมุ่
เง่ือนไขคุณธรรม การเรียนรแู้ ละปฏบิ ัตเิ ร่อื งท่ไี ด้ศึกษาอย่างชดั เจน
มคี วามซื่อสตั ย์ มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง มีความ
ด้านเศรษฐกิจ ร่วมมอื ในการจดั กิจกรรม
ดา้ นสังคม มกี ารคิดวางแผนในการทำงานอย่างรอบคอบ
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ช่วยเหลือซึง่ กันและกนั รู้รกั สามคั คีในการทำงานรว่ มกัน
ด้านวัฒนธรรม รจู้ ักใช้และจัดการในการทำกิจกรรมอยา่ งฉลาดและทำให้เกิด
การเรยี นรู้สงู สดุ
รู้จกั แยกแยะในการใช้ชวี ิตรว่ มกันในช้นั เรียนอยา่ งมคี วามสุข
บนั ทึกหลงั สอนแผนการสอนที่ ...............
1. ผลการสอนระดับช้นั ม..5.....
สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เน่ืองจาก ...............................................................................................
8. ผลทีเ่ กิดกบั ผูเ้ รียน
1.) การประเมินผลความรหู้ ลังการเรียน โดยใช…้ ……………......................................................พบวา่ นกั เรียนผ่านการประเมนิ
คดิ เปน็ ร้อยละ......................……. ไมผ่ า่ นเกณฑ์ข้ันตำ่ ท่กี ำหนดไวค้ ิดเป็นร้อยละ.......................................................
ได้แก่ ...................................................................................................................................................................................
2.) การประเมนิ ดา้ นทักษะกระบวนการเรียน โดยใช…้ ……………………................................................พบวา่ นกั เรียนผา่ นการ
ประเมินคิดเป็นรอ้ ยละ................ ไมผ่ ่านเกณฑ์ขั้นตำ่ ทกี่ ำหนดไวค้ ดิ เป็นรอ้ ยละ.................................................
ได้แก่ .......................................................................................................................................................................................
3.) การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ เรียน โดยใช้……………………….....................................พบว่านักเรียนผา่ นการ
ประเมินคดิ เป็นร้อยละ.......……. ไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นตำ่ ท่กี ำหนดไว้คิดเป็นรอ้ ยละ........................................................
ไดแ้ ก่ .................................................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอปุ สรรค
กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ ไมเ่ หมาะสมกับเวลา
มีนกั เรียนทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไมท่ นั ตามกำหนดเวลา
มนี ักเรียนท่ไี ม่สนใจเรยี น
อื่น ๆ .............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ควรนำแผนไปปรับปรุง เรือ่ ง ......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขนกั เรยี นท่ไี ม่ผ่านการประเมนิ ..................................................................................
.......................................................................................................................................................
ไม่มขี ้อเสนอแนะ
ลงชอ่ื ............................................................ ผูส้ อน
( นางมารหี ยาม อินทรวิเศษ )
วนั ท่ี......../.................../.................
ความคิดเห็นของหวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ความคดิ เห็นของหัวหน้างานวชิ าการ
และเทคโนโลยี 1.เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2.การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ได้นำเอากระบวนการเรยี นรู้
2.การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้ ทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนได้อยา่ ง
ท่เี น้นผ้เู รียนเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสมกับศักยภาพทีแ่ ตกตา่ งกนั ของผู้เรยี น
เหมาะสมกับศกั ยภาพท่แี ตกต่างกนั ของผเู้ รยี น ทยี่ งั ไมเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคญั ควรปรบั ปรุงพัฒนา
ทีย่ งั ไมเ่ น้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั ควรปรบั ปรงุ พฒั นา
ตอ่ ไป
ตอ่ ไป 3.เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
นำไปใชไ้ ดจ้ ริง ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4.ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ
4.ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ
ลงช่ือ.................................................................... ลงชอ่ื ....................................................................
(นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน) (นางสาวณัฐิญา คาโส)
หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ฯ หัวหน้ากล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 8
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ฯ รายวชิ า ชวี วิทยา5 รหสั วชิ า ว30245
ปีการศึกษา 2564
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 4 ช่ัวโมง
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง อาณาจกั รพืช
1. สาระสำคญั / ความคดิ รวบยอด
อนุกรมวธิ าน เป็นการจัดจำแนกส่ิงมชี ีวิตส่ิงมีชีวิตออกเป็นหมวดหมตู่ ามสายวิวัฒนาการ ในอดตี การจัดจำแนก
กล่มุ สง่ิ มชี ีวิตแบบผิวเผิน แตใ่ นปจั จุบันได้จัดกล่มุ สง่ิ มชี วี ติ ออกเปน็ 5 กลมุ่ ใหญๆ่ คอื อาณามอเนอรา อาณาจกั ร
โพรทสิ ตา อาณาจกั รฟงั ไจ อาณาจักรพืช และอาณาจกั รสตั ว์
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด
มาตรฐานการเรียนรู้
2. เขา้ ใจการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถา่ ยทอดยนี บนโครโมโซม สมบัติ และหนา้ ที่ของสาร
พันธุกรรม การเกิดมิวเทชนั เทคโนโลยีทางดีเอน็ เอ หลกั ฐาน ข้อมลู และแนวคดิ เกย่ี วกบั วิวฒั นาการของสิ่งมชี ีวติ
ภาวะสมดลุ ของฮาร์ดี-ไวนเ์ บริ ์ก การเกดิ สปีชีสใ์ หม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ กำเนิดของสงิ่ มีชวี ติ ความ
หลากหลายของสิง่ มีชีวิต และอนกุ รมวธิ าน รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
ผลการเรียนรู้
2. อธบิ ายการเกิดเซลล์เร่ิมแรกของสิง่ มีชวี ติ และวิวฒั นาการของส่งิ มีชีวติ เซลลเ์ ดียว
3.อธิบายลักษณะสำคญั และยกตวั อย่างสิ่งมชี ีวติ กลมุ่ แบคทเี รยี สงิ่ มีชีวิตกลุม่ โพรทสิ ต์ สิง่ มชี วี ติ กลุ่มพืช
สง่ิ มีชีวิตกลมุ่ ฟังไจ และสงิ่ มีชวี ติ กลุ่มสัตว์
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (K,P,A)
28. อธิบายลักษณะสำคญั ของสงิ่ มีชวี ิตในอาณาจักรพชื ได้ (K)
29. ยกตัวอย่างของสงิ่ มีชวี ิตในอาณาจักรพชื ได้ (K)
30. นำเสนอสงิ่ มีชวี ติ ในอาณาจกั รพชื ได้ (P)
31. สนใจใฝเ่ รยี นรู้ทางการศึกษา (A)
4. สาระการเรียนรู้
- อาณาจกั รพชื
5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขนั้ ที่ 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)
4. กระตนุ้ นักเรียนดว้ ยคำถาม
- ปจั จบุ ันมกี ารจัดจำแนกสิ่งมีชวี ิตได้กีก่ ลมุ่ อะไรบ้าง (5 กลุ่ม คอื มอเนอรา โพทิสตา ฟงั ไจ พชื
และสตั ว์)
- การเรยี งลำดับกล่มุ ส่ิงมีชวี ติ ใหญ่ พจิ ารณาจากอะไร (โครงสรา้ งภายในและสายววิ ัฒนาการ)
- สิ่งมีชีวิตพวกพืชมีลกั ษณะเด่นอยา่ งไรบ้าง (เปน็ กลุม่ สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารไดเ้ อง เปน็ กลุ่มที่มี
เนอื้ เย่อื แทจ้ รงิ และผนงั เซลล์มีเซลลูโลสเปน็ องคป์ ระกอบ)
ข้ันท่ี 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)
22. ใหน้ ักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน ศึกษาคน้ คว้าขอ้ มลู เรอ่ื ง อาณาจักรพืชและตัวอย่างของ
ส่ิงมชี วี ิต
23. ให้นกั เรยี นแลกเปล่ียนข้อมลู ทไ่ี ด้จากการศึกษาค้นคว้ากับเพ่ือนนกั เรียนในหอ้ ง
24. ครูและนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายผลท่ีไดจ้ ากการศึกษาคน้ คว้า เรอ่ื ง อาณาจกั รพืชและตวั อยา่ งของ
สิ่งมชี ีวติ เพื่อสรุปผลและสรา้ งองคค์ วามรู้ใหมร่ ว่ มกนั
ขั้นที่ 3 อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. อาณาจกั รพืช (PLANT KINGDOM)
- พชื ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลสมคี ลอโรฟลิ ล์อยู่ในคลอโรพ
ลาสตส์ ามารถสร้างอาหาร ไดเ้ องโดยใช้พลังงานแสงสิ่งมชี วี ิตในอาณาจักรพืชแบ่งออกเปน็ ดิวชิ ัน่ ตา่ งๆ
ดงั น้ี
1. DIVISION BRYOPHYTA พืชท่ไี มม่ ีระบบท่อลำเลยี ง ได้แก่ มอส และ ลิเวอร์เวริ ์ต
2. DIVISION PSILOPHYTA หวายทะเล (PSILOTUM)
หวายทะเล
3. DIVISION LYCOPHYTA ช้องนางคลี่ และ ตีนตกุ๊ แก
ช้องนางคลี่
4. DIVISION SPHENOPHTYA หญ้าถอดปลอ้ ง หรือ หญา้ หางมา้
หญ้าถอดปล้อง
5. DIVISION PTEROPHYTA เฟริ ์น เช่น แหนแดง จอกหหู นู ชายผา้ สดี า ย่านลเิ ภา เฟริ น์ ใบ
มะขาม
ชายผา้ สีดา
- ขอ้ ควรจำ ลกั ษณะที่เด่นชัดทีส่ ดุ ของเฟริ น์ คอื ใบอ่อนจะม้วนเป็นวงคล้ายลาน
นาฬกิ า (CIRCINATE VERNATION)
6. DIVISION CONIFEROPHYTA สน เชน่ สนสองใบ สนสามใบ
สนสองใบ
7. DIVISION CYCADOPHYTA เชน่ ปรง
ตน้ ปรง
8. DIVISION GINKGOPHYTA เช่นแปะกว๊ ย (Ginkgo biloba)
ใบแปะกว๊ ย
- ข้อควรจำ พืชพวกสน ปรง และ แป๊ะก๊วยมเี มล็ดทไ่ี ม่มีรังไข่ห่อหุ้ม
เรยี กว่า STROBILUS หรอื CONE เรียกรวมกันวา่ พวกจิมโนสเปิรม์ (GYMNOSPERM)
9. DIVISION ANTHOPHYTA พืชมดี อก (ANGIOSPERM) มีมากกวา่ พชื อื่นๆ รวมกัน
ท้งั หมด เปน็ พวกทีม่ ีดอกเปน็ อวยั วะสืบพันธ์ุ เมล็ดมรี ังไข่หอ่ หุ้ม และมกี ารปฏสิ นธิซ้อน แบ่งได้
ดงั นี้
- SUBDIVISION MONOCOTYLEDONAE พืชใบเลีย้ งใบเดี่ยวเสน้ ของใบเรียงขนานกัน
จำนวนกลบี ดอกเปน็ 3 หรอื ทวีคูณของ 3 การจัดเรยี งทอ่ น้ำอาหารในลำต้น กระจัดกระจาย
ไม่เป็นระเบียบ เชน่ มะพร้าว อ้อย
- SUBDIVISION DICOTYLDONAE พืชใบเลยี้ งคู่มใี บเล้ียงสองใบเส้นของใบสานกนั
เปน็ ร่างแห จำนวนกลีบดอกเป็น 4 หรอื 5 หรอื จำนวนทเ่ี ปน็ ทวีคูณของ 4 หรือ 5 การ
จดั เรียงท่อนำ้ ท่ออาหารเป็นระเบยี บโดยมีทอ่ อาหารอยูภ่ ายนอก ท่อน้ำอยู่ภายใน เช่น ถัว่
กหุ ลาบ
ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
8. ให้นักเรียนออกแบบหนงั สอื เล่มเลก็ เร่อื ง ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ติ สรปุ เนอ้ื หาให้กระชับและ
เข้าใจง่าย และตกแต่งให้สวยงาม
ขั้นที่ 5 ประเมนิ (Evaluation)
1. นกั เรียนตรวจสอบหรอื ประเมนิ ขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ท่เี รยี นมาในวนั นี้มจี ุดเด่น จุดบกพรอ่ งอะไรบา้ ง มคี วาม
สงสัย ความอยากรอู้ ยากเหน็ ในเร่ืองใด
2. นักเรียนประเมนิ ตนเอง โดยเขียนแสดงความรูส้ ึกหลังการเรยี น ในประเดน็ ต่อไปนี้
- สิง่ ทีน่ ักเรียนได้เรยี นรู้ในวนั นคี้ ืออะไร
- นักเรียนมสี ว่ นรว่ มกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
- เพื่อนนกั เรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
- นกั เรียนพงึ พอใจกบั การเรยี นในวนั น้หี รือไม่ เพียงใด
- นักเรียนจะนำความรูท้ ไี่ ดน้ ้ีไปใช้ให้เกิดประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครัว และสังคมท่วั ไปได้อย่างไร
จากน้นั แลกเปล่ยี นตรวจสอบขัน้ ตอนการทำงานทุกข้นั ตอนว่าจะเพ่ิมคุณค่าไปสู่สงั คม เกิดประโยชน์ตอ่ สงั คม
ให้มากขึน้ กว่าเดมิ ในขั้นตอนใดบ้าง สำหรบั การทำงานในครงั้ ต่อไป
6. ส่ือ / แหล่งการเรยี นรู้
- สือ่ Power Point เรอ่ื ง ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวิต
- แหลง่ เรียนรู้ในและนอกห้องเรยี น
7. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน/รอ่ งรอยการเรยี นร)ู้
- หนงั สอื เลม่ เล็ก เรื่อง ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ิต
8. การวัดและประเมินผล
แบบประเมินการปฏบิ ตั ิการทำกจิ กรรม
รายการการ ระดบั คุณภาพ
ประเมนิ 4 3 21
1. การทำกิจกรรม ทำกจิ กรรมตามวธิ กี าร ทำกจิ กรรมตามวธิ กี าร ทำกิจกรรมตามวธิ กี าร ทำกจิ กรรมไม่ถูกต้อง
ตามแผนทกี่ ำหนด และข้ันตอนท่ีกำหนดไวอ้ ย่าง และขน้ั ตอนทีก่ ำหนดไว้ และขน้ั ตอนทีก่ ำหนดไวโ้ ดย ตามวธิ ีการและขน้ั ตอน
ถูกต้องด้วยตนเองมีการ ดว้ ยตนเอง มีการปรบั ปรงุ มีครหู รอื ผูอ้ ืน่ ทีก่ ำหนดไว้ ไมม่ ีการ
ปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะ แก้ไขบา้ ง เป็นผู้แนะนำ ปรบั ปรุงแก้ไข
2. การใช้อปุ กรณ์ ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรอื ใชอ้ ปุ กรณ์และ/หรอื ใช้อุปกรณ์และ/หรอื ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรือ
และ/หรอื เคร่อื งมือในการทำ เครือ่ งมือในการทำ เครอ่ื งมอื ในการทำ เคร่ืองมอื ในการทำ
เคร่อื งมือ กิจกรรมไดอ้ ย่างถูกต้องตาม กจิ กรรมได้อยา่ งถกู ตอ้ ง กจิ กรรมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งโดย กิจกรรมไม่ถกู ตอ้ ง และ
หลักการปฏิบตั ิและ ตามหลกั การปฏบิ ัติ แต่ไม่ มคี รู หรือผูอ้ ืน่ เป็นผแู้ นะนำ ไมม่ ีความคลอ่ งแคล่วใน
คลอ่ งแคล่ว คล่องแคล่ว การใช้
3. การบันทึกผล บนั ทึกผลเป็นระยะ บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทึกผลเป็นระยะ บนั ทึกผลไมค่ รบ
การทำกจิ กรรม อย่างถกู ต้อง มรี ะเบียบมกี าร อยา่ งถกู ตอ้ ง มรี ะเบียบมี แต่ไมเ่ ป็นระเบียบ ไมม่ ีการระบุหนว่ ย
ระบุหนว่ ย มีการอธบิ าย การระบหุ นว่ ย มีการ ไม่มีการระบหุ นว่ ย และไม่เป็นไปตาม
ขอ้ มูลให้เห็นความเชื่อมโยงเป็น อธิบายขอ้ มูลใหเ้ ห็นถึง และไมม่ ีการอธิบายข้อมลู ให้ การทำกิจกรรม
ภาพรวมเป็นเหตุเป็นผล และ ความสัมพันธเ์ ปน็ ไป เหน็ ถึงความสัมพนั ธ์ของการ
เป็นไปตามการทำกจิ กรรม ตามการทำกจิ กรรม ทำกิจกรรม
4. การจัดกระทำ จดั กระทำขอ้ มูล จัดกระทำข้อมูล จัดกระทำขอ้ มูล จดั กระทำข้อมูลอยา่ ง
ขอ้ มูลและการ อย่างเป็นระบบมีการ อยา่ งเปน็ ระบบ มีการ อย่างเปน็ ระบบมีการ ไมเ่ ป็นระบบ และมกี าร
นำเสนอ เช่ือมโยงใหเ้ ห็นเปน็ ภาพรวม จำแนกขอ้ มลู ให้เห็น ยกตวั อย่างเพิ่มเติมให้เข้าใจ นำเสนอไมส่ ่อื
และนำเสนอ ความสมั พันธ์ นำเสนอ ง่าย และนำเสนอด้วยแบบ ความหมายและไม่
ด้วยแบบตา่ ง ๆอย่างชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ ได้ ตา่ ง ๆ แตย่ ังไม่ชดั เจนและไม่ ชัดเจน
ถูกตอ้ ง แต่ยงั ไมช่ ัดเจน ถูกต้อง
5. การสรปุ ผลการ สรปุ ผลการทำกจิ กรรม สรุปผลการทำกิจกรรม สรุปผลการทำกจิ กรรมได้โดย สรปุ ผลการทำกจิ กรรม
ทำกิจกรรม ได้อยา่ งถูกต้อง กระชับ ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง แตย่ ัง มีครูหรือผอู้ นื่ ตามความรทู้ ่พี อมีอยู่
ชดั เจน และครอบคลมุ ขอ้ มลู ไม่ครอบคลุมขอ้ มูล แนะนำบ้าง จงึ สามารถ โดยไมใ่ ช้ข้อมลู
จากการวิเคราะห์ จากการวิเคราะหท์ ัง้ หมด สรปุ ได้อย่างถูกต้อง จากการทำกจิ กรรม
ทง้ั หมด
6. การดแู ลและ ดูแลอปุ กรณ์และ/หรอื ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรอื ไม่ดูแลอุปกรณ์และ/
การเกบ็ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือในการทำกิจกรรม เคร่ืองมือในการทำกจิ กรรม เครื่องมอื ในการทำกิจกรรม หรอื เครื่องมอื ในการทำ
และ/หรือ และมีการ และมีการ มีการทำความสะอาด แต่ กิจกรรม และไม่สนใจ
เครื่องมือ ทำความสะอาดและเกบ็ อย่าง ทำความสะอาดอยา่ ง เกบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง ต้องใหค้ รูหรอื ทำความสะอาด รวมทั้ง
ถูกต้องตามหลักการและ ถกู ตอ้ ง แต่เก็บ ผู้อ่ืนแนะนำ เกบ็ ไม่ถกู ตอ้ ง
แนะนำให้ผู้อนื่ ดแู ลและเก็บ ไม่ถกู ตอ้ ง
รกั ษาได้ถกู ตอ้ ง
แบบประเมนิ ช้ินงาน การจัดกระทำและนำเสนอแผนผงั
รายการการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน
432 1
การจัดกระทำและ
นำเสนอแผนผงั จดั กระทำแลนำเสนอ จัดกระทำและ จัดกระทำและ จัดกระทำและนำเสนอ
แผนผังได้ แต่ไม่
แผนผัง ไดส้ ัมพันธ์กัน นำเสนอ แผนผังได้ นำเสนอแผนผงั ได้ สอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้
เร่ืองทีก่ ำหนด
และถกู ต้องตามหัวขอ้ สมั พนั ธ์กบั หัวข้อเรอื่ ง ตามหัวขอ้ เรื่อง
เรือ่ งทก่ี ำหนด มกี าร ทีก่ ำหนด มกี าร โดยมคี รูหรอื ผู้อ่ืน
วางแผน มกี าร ออกแบบ มคี วามคิด ใหค้ ำแนะนำ
ออกแบบ และมี รเิ ร่ิม แต่ไมม่ ีการ
ความคิดสร้างสรรค์ เชอื่ มโยงให้เห็นเปน็
มีการเช่ือมโยงใหเ้ หน็ ภาพรวม
เป็นภาพรวม
แบบประเมินการสืบสอบขอ้ มูล
รายการการ ระดับคณุ ภาพ
ประเมิน 4 3 21
1. การวางแผน วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู จาก วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมลู วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู ไมม่ กี ารวางแผนทีจ่ ะ
คน้ คว้าขอ้ มลู แหล่งการเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย จากแหลง่ การเรียนรู้ที่ จากแหลง่ การเรียนรโู้ ดยมี ค้นควา้ ข้อมลู จาก
จากแหล่งการ เชอื่ ถือได้และมีการเช่ือมโยงให้เห็น หลากหลาย และเหมาะสม ครูหรอื ผอู้ ื่นแนะนำบ้าง แหลง่ การเรียนรูอ้ ยา่ ง
เรียนรู้ เป็นภาพรวม แสดงให้เห็น แตไ่ มม่ ีการเชื่อมโยงให้ เปน็ ระบบ
ถงึ ความสัมพันธ์ของ เห็นเป็นภาพรวม
วธิ กี ารทัง้ หมด
2. การเกบ็ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกบ็ รวบรวมข้อมลู เก็บรวบรวมขอ้ มลู เก็บรวบรวมข้อมลู
รวบรวม ตามแผนทีก่ ำหนด โดยคดั เลือกและ/หรือ โดยไม่มกี ารคดั เลือก เป็นระยะ ขาดการ
ขอ้ มลู ทุกประการ ประเมินขอ้ มูล และ/หรอื ประเมินขอ้ มลู ประเมินเพอ่ื คัดเลอื ก
3. การจดั จดั กระทำข้อมูล จดั กระทำขอ้ มลู จดั กระทำขอ้ มูล จัดกระทำข้อมลู อยา่ ง
กระทำขอ้ มูล อยา่ งเป็นระบบ อยา่ งเป็นระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ปน็ ระบบ และ
และการ มีการเชื่อมโยงให้เห็น จำแนกขอ้ มลู ใหเ้ ห็น มีการยกตวั อย่างเพิ่มเติมให้ นำเสนอไมส่ ่ือ
นำเสนอ เป็นภาพรวม และนำเสนอด้วยแบบ ความสัมพันธ์ นำเสนอ เข้าใจง่ายและนำเสนอด้วย ความหมายและไม่
ต่าง ๆ อยา่ งชัดเจนถกู ตอ้ ง ด้วยแบบต่าง ๆ ได้ แบบต่าง ๆ แต่ยงั ไม่ถูกต้อง ชัดเจน
อยา่ งถกู ต้อง
4. การสรุปผล สรปุ ผลได้อยา่ งถูกตอ้ ง สรปุ ผลได้อย่างกระชบั สรปุ ผลได้กระชบั สรุปผลโดยไมใ่ ช้
กระชับ ชัดเจน และ แต่ยงั ไมช่ ัดเจนและ กะทดั รดั แต่ไมช่ ดั เจน ขอ้ มูล และไม่ถูกต้อง
ครอบคลมุ มเี หตุผล ไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู
ทอี่ ้างองิ จากการสืบสอบได้ จากการวเิ คราะห์
ทั้งหมด
5. การเขยี น เขียนรายงานตรงตามจดุ ประสงค์ เขียนรายงานตรงตาม เขยี นรายงานโดยสอื่ เขยี นรายงานไดต้ าม
รายงาน ถูกต้องและชัดเจน และมีการ จดุ ประสงค์อยา่ งถูกต้อง ความหมายไดโ้ ดยมคี รหู รือ ตวั อย่าง แต่ใช้ภาษาไม่
เช่ือมโยงให้เหน็ เปน็ ภาพรวม และชัดเจนแต่ขาดการ ผอู้ ่นื แนะนำ ถูกตอ้ ง และไม่ชัดเจน
เรยี บเรยี ง
9.การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 หว่ ง 2 เง่ือน 4 มติ ิ)
หลกั ความพอประมาณ การใช้เวลาในการศกึ ษาความรู้และทำงานเหมาะสมกบั เวลา
หลักมเี หตุผล การเลอื กและอธิบายเรอื่ งท่ีเรียนร้ไู ดอ้ ย่างเหมาะสมและ
ถกู ตอ้ ง
หลกั สรา้ งภูมิคุ้มกนั ตัวทีด่ ี
เงื่อนไขความรู้ การเลือกศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นรู้ มกี ารวางแผนการทำงานกลมุ่
เง่ือนไขคุณธรรม การเรียนรแู้ ละปฏบิ ัตเิ ร่อื งท่ไี ด้ศึกษาอยา่ งชดั เจน
มคี วามซื่อสตั ย์ มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพยี ง มีความ
ด้านเศรษฐกิจ ร่วมมอื ในการจดั กิจกรรม
ดา้ นสังคม มกี ารคิดวางแผนในการทำงานอย่างรอบคอบ
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ช่วยเหลือซึง่ กันและกนั รู้รกั สามคั คีในการทำงานรว่ มกัน
ด้านวัฒนธรรม รจู้ ักใช้และจัดการในการทำกิจกรรมอย่างฉลาดและทำให้เกิด
การเรยี นรู้สงู สดุ
รู้จกั แยกแยะในการใช้ชวี ิตรว่ มกันในช้ันเรียนอยา่ งมคี วามสุข
บันทึกหลงั สอนแผนการสอนที่ ...............
1. ผลการสอนระดับช้นั ม..5.....
สอนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้
สอนไม่ได้ตามแผนการจดั การเรียนรู้ เนื่องจาก ...............................................................................................
9. ผลทีเ่ กิดกบั ผูเ้ รียน
1.) การประเมินผลความร้หู ลังการเรยี น โดยใช…้ ……………......................................................พบวา่ นักเรียนผ่านการประเมนิ
คดิ เปน็ ร้อยละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ข้ันตำ่ ท่กี ำหนดไวค้ ดิ เป็นรอ้ ยละ.......................................................
ได้แก่ ...................................................................................................................................................................................
2.) การประเมนิ ดา้ นทักษะกระบวนการเรียน โดยใช้………………………................................................พบวา่ นกั เรยี นผ่านการ
ประเมินคิดเป็นรอ้ ยละ................ ไมผ่ ่านเกณฑ์ขัน้ ต่ำที่กำหนดไว้คิดเป็นร้อยละ.................................................
ได้แก่ .......................................................................................................................................................................................
3.) การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ เรียน โดยใช้……………………….....................................พบวา่ นักเรยี นผ่านการ
ประเมินคดิ เป็นร้อยละ.......……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนดไว้คิดเป็นรอ้ ยละ........................................................
ไดแ้ ก่ .................................................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอปุ สรรค
กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ ไมเ่ หมาะสมกับเวลา
มนี กั เรยี นทำใบงาน/ใบกิจกรรมไมท่ ันตามกำหนดเวลา
มนี ักเรียนท่ไี ม่สนใจเรยี น
อื่น ๆ .............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ควรนำแผนไปปรับปรุง เรอื่ ง ......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขนกั เรียนทไ่ี ม่ผา่ นการประเมนิ ..................................................................................
.......................................................................................................................................................
ไม่มขี ้อเสนอแนะ
ลงชอ่ื ............................................................ ผู้สอน
( นางมารีหยาม อนิ ทรวิเศษ )
วันท.ี่ ......./.................../.................
ความคิดเห็นของหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ความคิดเหน็ ของหัวหนา้ งานวิชาการ
และเทคโนโลยี 1.เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2.การจัดกจิ กรรมการเรียนรไู้ ด้นำเอากระบวนการเรียนรู้
2.การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อย่าง
ท่เี น้นผ้เู รียนเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ ง
เหมาะสมกบั ศักยภาพท่แี ตกต่างกันของผ้เู รยี น
เหมาะสมกับศกั ยภาพท่แี ตกต่างกนั ของผ้เู รียน ท่ยี งั ไม่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพฒั นา
ทีย่ งั ไมเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั ควรปรบั ปรงุ พฒั นา
ตอ่ ไป
ตอ่ ไป 3.เป็นแผนการจัดการเรียนรู้
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ นำไปใชไ้ ดจ้ ริง ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
นำไปใชไ้ ดจ้ ริง ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4.ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ
4.ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ
ลงช่ือ.................................................................... ลงชื่อ....................................................................
(นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน) (นางสาวณฐั ิญา คาโส)
หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ฯ หัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ฯ รายวิชา ชวี วิทยา5 รหสั วิชา ว30245
ปีการศึกษา 2564
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 6 ช่วั โมง
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรื่อง อาณาจักรสตั ว์
1. สาระสำคัญ / ความคดิ รวบยอด
อนุกรมวิธาน เปน็ การจัดจำแนกสงิ่ มชี ีวิตสิง่ มชี วี ิตออกเปน็ หวมดหมูต่ ามสายววิ ัฒนาการ ในอดีตการจัดจำแนก
กลุ่มสิง่ มชี วี ิตแบบผิวเผนิ แต่ในปัจจบุ นั ไดจ้ ดั กล่มุ สง่ิ มีชีวติ ออกเปน็ 5 กลมุ่ ใหญๆ่ คอื อาณามอเนอรา อาณาจกั ร
โพทิสตา อาณาจักรฟังไจ อาณาจกั รพชื และอาณาจักรสัตว์
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
2. เข้าใจการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม การถา่ ยทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติ และหนา้ ทข่ี องสาร
พนั ธุกรรม การเกดิ มิวเทชัน เทคโนโลยที างดเี อน็ เอ หลกั ฐาน ข้อมูลและแนวคดิ เกย่ี วกับววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชีวิต
ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก การเกดิ สปชี ีสใ์ หม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ กำเนิดของสิ่งมชี ีวิต ความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิต และอนุกรมวิธาน รวมท้งั นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
ผลการเรียนรู้
2. อธิบายการเกิดเซลล์เร่ิมแรกของสิ่งมีชวี ิตและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตเซลลเ์ ดยี ว
3.อธิบายลกั ษณะสำคัญและยกตัวอย่างสงิ่ มีชีวิตกลุม่ แบคทเี รียสงิ่ มีชวี ิตกลุ่มโพรทสิ ต์ สิ่งมชี วี ิต กลมุ่ พชื
ส่งิ มีชวี ติ กลมุ่ ฟังไจ และสิง่ มชี ีวิตกล่มุ สัตว์
3. จุดประสงค์การเรียนรู้ (K,P,A)
32. อธิบายลกั ษณะสำคญั ของส่ิงมชี วี ิตในอาณาจกั รสัตวไ์ ด้ (K)
33. ยกตวั อยา่ งของสิ่งมีชวี ติ ในอาณาจกั รสัตว์ได้ (K)
34. นำเสนอสิ่งมีชวี ติ ในอาณาจักรสัตว์ได้ (P)
35. สนใจใฝเ่ รยี นร้ทู างการศึกษา (A)
4. สาระการเรยี นรู้
- อาณาจกั รสตั ว์
5. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั ท่ี 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
5. กระตนุ้ นักเรยี นด้วยคำถาม
- ปจั จบุ นั มกี ารจดั จำแนกสงิ่ มชี ีวติ ไดก้ ก่ี ลมุ่ อะไรบ้าง (5 กลมุ่ คือ มอเนอรา โพทสิ ตา ฟงั ไจ พืช
และสตั ว์)
- การเรยี งลำดับกลุ่มส่ิงมชี วี ติ ใหญ่ พจิ ารณาจากอะไร (โครงสรา้ งภายในและสายวิวัฒนาการ)
- ส่ิงมีชวี ติ พวกสัตว์มลี กั ษณะเดน่ อยา่ งไรบ้าง (เปน็ กลุ่มสง่ิ มีชีวติ ท่ีมีความหลากหลายของสิง่ มีชีวิต
มากท่ีสุด และเปน็ กลมุ่ สง่ิ มีชีวติ ทมี่ ีโครงสร้างซบั ซอ้ นมากที่สุด)
ข้นั ท่ี 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)
25. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 – 5 คน ศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู เร่ือง อาณาจักรสัตว์และตวั อยา่ งของ
สง่ิ มชี ีวติ
26. ใหน้ ักเรยี นแลกเปล่ียนขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการศึกษาค้นควา้ กบั เพื่อนนักเรียนในหอ้ ง
27. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายผลที่ได้จากการศกึ ษาคน้ คว้า เร่อื ง อาณาจกั รสัตวแ์ ละตัวอย่างของ
สง่ิ มีชีวิต เพ่ือสรปุ ผลและสร้างองค์ความรู้ใหมร่ ่วมกัน
ขั้นที่ 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
1. อาณาจกั รสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA)
- สตั ว์ เป็นสงิ่ มชี วี ติ หลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไมส่ ามารถสร้างอาหารได้เอง และมีระยะตวั อ่อน
(EMBRYO) สิง่ มีชวี ติ ในอาณาจักรสัตวแ์ บง่ ออกเป็นไฟลัมตา่ งๆดงั นี้
1. ไฟลมั พอรเิ ฟอรา(PHYLUM PORIFERA)สัตวท์ ่ีลำตวั เปน็ รูพรนุ ไดแ้ ก่ ฟองนำ้
2. ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria) สตั ว์ทีม่ ลี ำตวั กลวง ระบบประสาทเป็นแบบรา่ งแห
ประสาท(NERVE NET) ได้แก่ แมงกะพรนุ ดอกไมท้ ะเล ปะการัง กลั ปงั หา และไฮดรา
ดอกไมท้ ะเล
3. ไฟลมั แพลทิเฮลมนิ ทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES) หนอนตัวแบนเป็นสตั วก์ ลมุ่
แรกที่มเี น้อื เย่อื 3 ชั้น ไดแ้ ก่ พยาธิใบไม้ พยาธติ ัวตดื และพลานาเรีย
พยาธิใบไม้
4. ไฟลมั นมี าโทดา(PHYLUM NEMATODA) หนอนตวั กลม ไม่มปี ล้อง เคลือ่ นท่ีดว้ ยการ
เอยี้ วตัวสลับกนั ไปมา ได้แก่ พยาธติ ัวกลมตา่ งๆ เช่น พยาธิไสเ้ ดือน ไสเ้ ดือนฝอย และหนอนใน
นำ้ ส้มสายชู
5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA) หนอนปลอ้ งเป็นพวกแรกที่มีระบบเลือดแบบปิด
ขบั ถา่ ยโดยเนฟริเดยี ม (NEPRIDIUM) ไดแ้ ก่ ไสเ้ ดือนดิน แมเ่ พรียง ทากดดู เลอื ด และปลงิ น้ำจดื
ปลิงน้ำจืด
6. ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA) สัตว์ทม่ี ีขาและรยางคอ์ นื่ ๆ ต่อกนั เปน็
ข้อๆ เป็นสตั ว์กล่มุ ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรสตั ว์ ได้แก่ ก้งุ กั้ง ปู แมลง ตะขาบ ก้งิ กือ เป็นต้น
7. ไฟลมั มอลลสั กา(PHYLUM MOLLUSCA) สัตวท์ ีม่ ลี ำตวั ออ่ นนุม่ ได้แก่ หมกึ และหอยชนดิ
ตา่ งๆ
8. ไฟลมั เอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA) สัตวท์ ี่ผวิ หนงั มีหนามขุรขระ
ได้แก่ ดาวทะเล เม่นทะเล เหรยี ญทะเล ปลงิ ทะเล ดาวเปราะ
ดาวเปราะ
9. ไฟลัมคอรด์ าตา (PHYLUM CHORDATA) สัตวท์ ่ีมีแกนกลางของร่างกายสัตว์ในไฟลมั นีม้ ี
ลกั ษณะร่วมกัน 3 ประการคือ
1. มีแทง่ โนโตคอรด์ (NOTOCHORD) อย่างน้อยชั่วระยะหน่งึ ชองชีวิต
2. มไี ขสนั หลังเป็นหลอดยาวอยู่ทางดา้ นหลงั
3. มอี วัยวะสำหรับแลกเปล่ียนกา๊ ซทบ่ี รเิ วณคอหอย(หรืออาจเปล่ียนแปลงไปเปน็
อวัยวะอนื่ เช่น ปอด)
- สัตว์กลมุ่ นี้แบง่ ออกเป็น 2 กลุม่ ใหญค่ อื
1. PROTOCHORDATE เปน็ สตั วท์ ะเลทงั้ สิ้น ไมม่ กี ระดูกสันหลัง แตม่ โี นโตคอรด์ เป็น
แกนกลางของร่างกาย ได้แก่เพรยี งหวั หอม และ AMPHIOXUS
2. VERTEBRATE ไดแ้ ก่สตั ว์ท่ีมีกระดูกสนั หลงั ทัง้ หมด ได้แก่
- CLASS OSTEICTHYES ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง เชน่ ปลาหมอ ปลาทู มา้ น้ำ
- CLASS CHONDRICTHYES ไดแ้ ก่ ปลากระดกู อ่อน เชน่ ปลาฉลาม ปลา
กระเบน
- CLASS AMPHIBIA ได้แกส่ ัตว์คร่งึ บกคร่งึ นำ้ เช่นกบ ซาลามานเดอร์ งูดนิ
- CLASS REPTLIA ไดแ้ ก่ สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน เชน่ งู จระเข้ ก้ิงก่า เตา่
- CLASS AVES ไดแ้ ก่ สัตว์ปีกต่างๆ เชน่ นก เป็ด ไก่
- CLASS MAMMALIA ได้แก่ สัตว์เล้ยี งลูกด้วยนม เชน่ วาฬ โลมา ช้าง มา้ วัว
ลิง
ขั้นท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
9. ให้นกั เรียนออกแบบหนงั สือเล่มเลก็ เร่ือง ความหลากหลายของสิ่งมีชวี ติ สรปุ เน้อื หาให้กระชบั และ
เข้าใจง่าย และตกแต่งให้สวยงาม
ขน้ั ท่ี 5 ประเมนิ (Evaluation)
1. นกั เรยี นตรวจสอบหรอื ประเมินขั้นตอนตา่ ง ๆ ท่เี รยี นมาในวันน้ีมีจุดเด่น จดุ บกพรอ่ งอะไรบ้าง มคี วาม
สงสัย ความอยากรอู้ ยากเห็นในเรอ่ื งใด
2. นกั เรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลงั การเรยี น ในประเดน็ ต่อไปนี้
- สง่ิ ท่ีนกั เรียนได้เรยี นรู้ในวันนีค้ ืออะไร
- นกั เรียนมสี ่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด
- เพ่ือนนักเรียนในกลมุ่ มสี ่วนรว่ มกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด
- นกั เรียนพงึ พอใจกับการเรียนในวนั นหี้ รอื ไม่ เพียงใด
- นกั เรียนจะนำความรทู้ ่ไี ด้นีไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั และสังคมทัว่ ไปได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลย่ี นตรวจสอบขนั้ ตอนการทำงานทุกขน้ั ตอนว่าจะเพ่ิมคุณค่าไปสู่สงั คม เกิดประโยชน์ตอ่ สังคม
ให้มากขนึ้ กว่าเดมิ ในข้นั ตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครัง้ ต่อไป
6. ส่ือ / แหลง่ การเรียนรู้
- สือ่ Power Point เรือ่ ง ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ
- แหลง่ เรยี นรใู้ นและนอกห้องเรยี น
7. ช้ินงานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน/ร่องรอยการเรียนร)ู้
- หนังสอื เล่มเล็ก เรอื่ ง ความหลากหลายของสิ่งมีชวี ิต
8. การวัดและประเมนิ ผล
แบบประเมนิ การปฏิบตั ิการทำกิจกรรม
รายการการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน
4 3 21
1. การทำ
กจิ กรรม ทำกจิ กรรมตามวธิ ีการ ทำกจิ กรรมตามวธิ กี าร ทำกจิ กรรมตามวธิ กี าร ทำกิจกรรมไม่ถูกต้อง
ตามแผนที่ และข้นั ตอนท่ีกำหนดไวอ้ ย่าง
กำหนด ถกู ต้องด้วยตนเองมีการ และข้นั ตอนท่ีกำหนดไว้ และข้ันตอนทีก่ ำหนดไวโ้ ดย ตามวธิ ีการและขน้ั ตอน
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขเปน็ ระยะ
ด้วยตนเอง มีการปรับปรุง มคี รหู รอื ผูอ้ ืน่ ทีก่ ำหนดไว้ ไมม่ ีการ
แก้ไขบ้าง เป็นผ้แู นะนำ ปรบั ปรุงแก้ไข
2. การใช้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละ/หรือ ใช้อุปกรณ์และ/หรือ ใชอ้ ปุ กรณ์และ/หรอื ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรือ
อปุ กรณ์และ/ เครื่องมอื ในการทำ เคร่อื งมอื ในการทำ เคร่ืองมอื ในการทำ เคร่ืองมอื ในการทำ
หรอื เคร่อื งมือ กจิ กรรมไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตาม กจิ กรรมได้อยา่ งถกู ต้อง กจิ กรรมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งโดย กิจกรรมไม่ถกู ตอ้ ง และ
หลักการปฏบิ ัตแิ ละคลอ่ งแคลว่ ตามหลกั การปฏิบตั ิ แต่ไม่ มคี รู หรือผูอ้ ืน่ เป็นผแู้ นะนำ ไมม่ ีความคลอ่ งแคล่วใน
คลอ่ งแคล่ว การใช้
3. การบันทกึ ผล บันทกึ ผลเป็นระยะ บนั ทกึ ผลเป็นระยะ บันทกึ ผลเป็นระยะ บนั ทึกผลไมค่ รบ
การทำกิจกรรม อย่างถูกตอ้ ง มีระเบยี บมีการ อยา่ งถูกตอ้ ง มีระเบียบมี แต่ไม่เป็นระเบยี บ ไมม่ ีการระบหุ นว่ ย
ระบุหน่วย มกี ารอธบิ ายขอ้ มลู การระบุหน่วย มกี าร ไมม่ ีการระบหุ น่วย และไม่เป็นไปตาม
ใหเ้ หน็ ความเชือ่ มโยงเป็น อธบิ ายขอ้ มูลให้เห็นถึง และไมม่ ีการอธิบายข้อมลู ให้ การทำกิจกรรม
ภาพรวมเป็นเหตุเป็นผล และ ความสมั พันธ์เปน็ ไป เหน็ ถึงความสัมพนั ธ์ของการ
เป็นไปตามการทำกจิ กรรม ตามการทำกิจกรรม ทำกิจกรรม
4. การจดั กระทำ จดั กระทำขอ้ มูล จดั กระทำข้อมูล จัดกระทำขอ้ มูล จัดกระทำข้อมูลอย่าง
ข้อมลู และการ อยา่ งเปน็ ระบบมกี ารเช่ือมโยง อย่างเปน็ ระบบ มีการ อย่างเปน็ ระบบมีการ ไมเ่ ป็นระบบ และมกี าร
นำเสนอ ใหเ้ หน็ เป็นภาพรวม และ จำแนกข้อมูลให้เหน็ ยกตัวอย่างเพิ่มเติมให้เข้าใจ นำเสนอไมส่ ่อื
นำเสนอ ความสัมพนั ธ์ นำเสนอ งา่ ย และนำเสนอด้วยแบบ ความหมายและไม่
ดว้ ยแบบตา่ ง ๆอย่างชดั เจน ด้วยแบบต่าง ๆ ได้ ต่าง ๆ แตย่ ังไม่ชดั เจนและไม่ ชดั เจน
ถกู ต้อง แตย่ งั ไม่ชดั เจน ถูกต้อง
5. การสรุปผล สรปุ ผลการทำกิจกรรม สรุปผลการทำกิจกรรม สรุปผลการทำกิจกรรมได้โดย สรปุ ผลการทำกจิ กรรม
การทำกิจกรรม ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง กระชบั ชดั เจน ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง แตย่ ัง มีครหู รือผอู้ ื่น ตามความรทู้ ่พี อมีอยู่
และครอบคลมุ ข้อมลู จากการ ไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู แนะนำบ้าง จงึ สามารถ โดยไมใ่ ช้ข้อมลู
วิเคราะห์ จากการวเิ คราะห์ท้ังหมด สรุปได้อย่างถูกต้อง จากการทำกจิ กรรม
ท้ังหมด
6. การดูแลและ ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรอื เครอื่ งมือ ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ ดแู ลอปุ กรณ์และ/หรอื ไม่ดูแลอปุ กรณ์และ/
การเกบ็ อุปกรณ์ ในการทำกจิ กรรม และมีการ เคร่ืองมอื ในการทำกจิ กรรม เคร่ืองมอื ในการทำกิจกรรม หรอื เครื่องมอื ในการทำ
และ/หรือ ทำความสะอาดและเกบ็ อย่าง และมกี าร มกี ารทำความสะอาด แต่ กิจกรรม และไม่สนใจ
เครื่องมือ ถูกตอ้ งตามหลกั การและแนะนำ ทำความสะอาดอยา่ ง เกบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง ต้องใหค้ รูหรอื ทำความสะอาด รวมท้งั
ใหผ้ ู้อน่ื ดูแลและเกบ็ รกั ษาได้ ถูกตอ้ ง แต่เก็บ ผอู้ นื่ แนะนำ เกบ็ ไม่ถกู ตอ้ ง
ถกู ต้อง ไมถ่ กู ตอ้ ง
แบบประเมนิ ช้ินงาน การจัดกระทำและนำเสนอแผนผงั
รายการการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน
432 1
การจัดกระทำและ
นำเสนอแผนผงั จดั กระทำแลนำเสนอ จัดกระทำและ จดั กระทำและ จัดกระทำและนำเสนอ
แผนผังได้ แต่ไม่
แผนผัง ไดส้ มั พันธ์กัน นำเสนอ แผนผังได้ นำเสนอแผนผงั ได้ สอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้
เร่ืองที่กำหนด
และถกู ต้องตามหัวข้อ สมั พนั ธ์กบั หัวข้อเรอื่ ง ตามหัวข้อเรื่อง
เรือ่ งทก่ี ำหนด มกี าร ทีก่ ำหนด มกี าร โดยมคี รูหรอื ผู้อ่ืน
วางแผน มกี าร ออกแบบ มคี วามคิด ใหค้ ำแนะนำ
ออกแบบ และมี รเิ ร่ิม แต่ไมม่ ีการ
ความคิดสร้างสรรค์ เชอื่ มโยงให้เห็นเปน็
มีการเช่อื มโยงให้เห็น ภาพรวม
เป็นภาพรวม
แบบประเมินการสืบสอบขอ้ มูล
รายการการ ระดับคณุ ภาพ
ประเมิน 4 3 21
1. การวางแผน วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมูลจาก วางแผนท่ีจะค้นคว้าข้อมลู วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู ไมม่ ีการวางแผนทีจ่ ะ
คน้ คว้าขอ้ มลู แหล่งการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย จากแหลง่ การเรียนรู้ที่ จากแหลง่ การเรยี นรูโ้ ดยมี ค้นควา้ ข้อมลู จาก
จากแหล่งการ เชอื่ ถือได้และมีการเชื่อมโยงให้เห็น หลากหลาย และเหมาะสม ครูหรอื ผอู้ น่ื แนะนำบ้าง แหล่งการเรียนรูอ้ ยา่ ง
เรียนรู้ เป็นภาพรวม แสดงใหเ้ ห็น แตไ่ มม่ ีการเช่ือมโยงให้ เปน็ ระบบ
ถงึ ความสัมพันธ์ของ เห็นเป็นภาพรวม
วธิ กี ารทัง้ หมด
2. การเกบ็ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เก็บรวบรวมขอ้ มูล เก็บรวบรวมข้อมลู
รวบรวม ตามแผนทีก่ ำหนด โดยคดั เลือกและ/หรือ โดยไม่มกี ารคดั เลือก เป็นระยะ ขาดการ
ขอ้ มลู ทุกประการ ประเมินข้อมูล และ/หรอื ประเมินข้อมลู ประเมินเพอ่ื คัดเลอื ก
3. การจดั จดั กระทำข้อมูล จดั กระทำขอ้ มลู จดั กระทำข้อมูล จัดกระทำข้อมลู อยา่ ง
กระทำขอ้ มูล อยา่ งเป็นระบบ อยา่ งเป็นระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ปน็ ระบบ และ
และการ มีการเชื่อมโยงให้เห็น จำแนกขอ้ มลู ใหเ้ ห็น มีการยกตวั อย่างเพิ่มเติมให้ นำเสนอไมส่ ่ือ
นำเสนอ เป็นภาพรวม และนำเสนอด้วยแบบ ความสัมพนั ธ์ นำเสนอ เข้าใจง่ายและนำเสนอด้วย ความหมายและไม่
ต่าง ๆ อยา่ งชัดเจนถกู ต้อง ด้วยแบบตา่ ง ๆ ได้ แบบต่าง ๆ แต่ยงั ไม่ถูกต้อง ชัดเจน
อยา่ งถกู ต้อง
4. การสรุปผล สรปุ ผลได้อยา่ งถูกตอ้ ง สรปุ ผลได้อย่างกระชบั สรปุ ผลไดก้ ระชบั สรุปผลโดยไมใ่ ช้
กระชับ ชัดเจน และ แต่ยงั ไมช่ ดั เจนและ กะทดั รดั แตไ่ มช่ ัดเจน ขอ้ มูล และไม่ถูกต้อง
ครอบคลมุ มเี หตุผล ไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู
ทอี่ ้างองิ จากการสืบสอบได้ จากการวเิ คราะห์
ทั้งหมด
5. การเขยี น เขียนรายงานตรงตามจดุ ประสงค์ เขียนรายงานตรงตาม เขยี นรายงานโดยสื่อ เขยี นรายงานไดต้ าม
รายงาน ถูกต้องและชัดเจน และมีการ จดุ ประสงค์อยา่ งถูกต้อง ความหมายไดโ้ ดยมคี รูหรือ ตวั อย่าง แต่ใช้ภาษาไม่
เช่ือมโยงให้เหน็ เปน็ ภาพรวม และชัดเจนแต่ขาดการ ผอู้ ่นื แนะนำ ถูกตอ้ ง และไม่ชัดเจน
เรยี บเรยี ง
9.การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 หว่ ง 2 เง่ือน 4 มติ ิ)
หลกั ความพอประมาณ การใช้เวลาในการศกึ ษาความรู้และทำงานเหมาะสมกบั เวลา
หลักมเี หตุผล การเลอื กและอธิบายเรอื่ งท่ีเรียนร้ไู ดอ้ ย่างเหมาะสมและ
ถกู ตอ้ ง
หลกั สรา้ งภูมิคุ้มกนั ตัวทีด่ ี
เงื่อนไขความรู้ การเลือกศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นรู้ มกี ารวางแผนการทำงานกลมุ่
เง่ือนไขคุณธรรม การเรียนรแู้ ละปฏบิ ัตเิ ร่อื งท่ไี ด้ศึกษาอย่างชดั เจน
มคี วามซื่อสตั ย์ มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง มีความ
ด้านเศรษฐกิจ ร่วมมอื ในการจดั กิจกรรม
ดา้ นสังคม มกี ารคิดวางแผนในการทำงานอย่างรอบคอบ
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ช่วยเหลือซึง่ กันและกนั รู้รกั สามคั คีในการทำงานรว่ มกัน
ด้านวัฒนธรรม รจู้ ักใช้และจัดการในการทำกิจกรรมอยา่ งฉลาดและทำให้เกิด
การเรยี นรู้สงู สดุ
รู้จกั แยกแยะในการใช้ชวี ิตรว่ มกนั ในช้นั เรียนอยา่ งมคี วามสุข
บนั ทกึ หลังสอนแผนการสอนท่ี ...............
1. ผลการสอนระดับช้นั ม..5.....
สอนได้ตามแผนการจดั การเรียนรู้
สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจดั การเรียนรู้ เนื่องจาก ...............................................................................................
10. ผลทเ่ี กิดกบั ผูเ้ รียน
1.) การประเมินผลความร้หู ลังการเรียน โดยใช…้ ……………......................................................พบว่านกั เรยี นผ่านการประเมิน
คิดเป็นร้อยละ......................……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ข้ันตำ่ ท่กี ำหนดไวค้ ิดเป็นร้อยละ.......................................................
ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................................................................................
2.) การประเมินดา้ นทักษะกระบวนการเรียน โดยใช้………………………................................................พบว่านกั เรยี นผ่านการ
ประเมินคดิ เป็นรอ้ ยละ................ ไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นตำ่ ทกี่ ำหนดไวค้ ิดเป็นร้อยละ.................................................
ได้แก่ .......................................................................................................................................................................................
3.) การประเมินดา้ นคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เรยี น โดยใช…้ …………………….....................................พบว่านกั เรยี นผา่ นการ
ประเมินคิดเป็นร้อยละ.......……. ไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำทก่ี ำหนดไว้คิดเป็นรอ้ ยละ........................................................
ไดแ้ ก่ .................................................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอปุ สรรค
กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ ไมเ่ หมาะสมกับเวลา
มีนกั เรยี นทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทนั ตามกำหนดเวลา
มนี ักเรียนท่ไี ม่สนใจเรยี น
อื่น ๆ .............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ควรนำแผนไปปรับปรุง เรือ่ ง ......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขนกั เรียนทไ่ี มผ่ ่านการประเมนิ ..................................................................................
.......................................................................................................................................................
ไม่มขี ้อเสนอแนะ
ลงชือ่ ............................................................ ผู้สอน
( นางมารีหยาม อนิ ทรวิเศษ )
วนั ท.่ี ......./.................../.................
ความคดิ เห็นของหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ความคิดเห็นของหัวหน้างานวิชาการ
และเทคโนโลยี 1.เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
1.เป็นแผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้นำเอากระบวนการเรียนรู้
2.การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ ทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคญั มาใชใ้ นการสอนได้อยา่ ง
ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่าง
เหมาะสมกบั ศกั ยภาพทีแ่ ตกตา่ งกนั ของผ้เู รยี น
เหมาะสมกับศักยภาพท่แี ตกตา่ งกนั ของผเู้ รียน ทีย่ งั ไม่เน้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนา
ท่ียงั ไม่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั ควรปรบั ปรงุ พัฒนา
ต่อไป
ตอ่ ไป 3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้
นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้ 4.ข้อเสนอแนะอื่นๆ
4.ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ
ลงชื่อ.................................................................... ลงชอ่ื ....................................................................
(นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน) (นางสาวณฐั ญิ า คาโส)
หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ฯ หัวหนา้ กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ฯ รายวิชา ชีววิทยา 5 รหัสวชิ า ว30245
ปกี ารศกึ ษา 2564
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 7 ช่วั โมง
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เร่อื ง ประชากรและการนับจำนวนประชากร
1. สาระสำคญั / ความคิดรวบยอด
ระบบนเิ วศ คือ การศึกษาความสมั พันธ์ของสิง่ มชี ีวิต และระหวา่ งส่ิงมีชีวติ กบั สง่ิ แวดล้อมท่ีเป็นแหล่งที่อยู่
อาศัย โดยแบง่ ตามระดับกลุม่ ประชากร กลมุ่ สิง่ มชี วี ิต ระบบนิเวศ และโลกของส่ิงมีชีวติ ซง่ึ สิ่งมชี ีวิตมคี วามสัมพนั ธ์
กนั เอง และกับส่ิงแวดล้อม ทำใหร้ ะบบนิเวศมกี ารถ่ายทอดพลงั งาน การกระจายของพลงั งานนี้ทำให้เกิดการ
แพร่กระจายของสง่ิ มชี ิวิต เนื่องจากบริเวณใดมีทรัพยากรเพียงพอ จะมปี ระชากรของสงิ่ มชี ีวิตอาศยั อยอู่ ย่างหนาแน่น
แต่ถึงอยากไรกต็ าม ระบบนิเวศไม่คงทเ่ี สมอไป เม่ือเกิดการเปลย่ี นแปลงของระบบนิเวศจะเกิดการหมนุ เวยี นสงิ่ มีชวี ติ
โดยเร่ิมต้นจากผู้เบกิ เบิก ไปจนถึงส่ิงมชี ีวิตขน้ั สูงสุด ในระบบนเิ วศยงั มีการหมุนเวยี นของสารอีกดว้ ย
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู้
5.เขา้ ใจแนวคดิ เกี่ยวกบั ระบบนเิ วศ กระบวนการถา่ ยทอดพลังงานและการหมุนเวยี นสารในระบบนิเวศ
ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ียนแปลงแทนท่ขี องสิง่ มีชีวิตในระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบการเพิ่มของ
ประชากร ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ปัญหาและผลกระทบทีเ่ กดิ จากการใช้ประโยชน์ และแนวทางการ
แกไ้ ขปญั หา
ผลการเรยี นรู้
6. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบายยกตวั อยา่ ง และสรปุ เกย่ี วกับลกั ษณะเฉพาะของประชากร ของส่ิงมชี วี ติ บางชนิด
7. สบื คน้ ข้อมูล อธิบายเปรียบเทียบและยกตวั อย่างการเพ่มิ ของประชากรแบบเอกโพเนนเชียล และการเพิม่
ของประชากรแบบลอจิสติก
8. อธิบาย และยกตวั อยา่ งปจั จัยที่ควบคมุ การเติบโตของประชากร
3. จุดประสงค์การเรียนรู้ (K,P,A)
36. อธบิ ายความหมายของประชากรได้ (K)
37. ยกตวั อย่างของประชากรของส่งิ มชี วี ิตได้ (K)
38. เขียนแผนภาพสรปุ ลักษณะของประชากรได้ (P)
39. สนใจใฝ่เรียนรทู้ างการศึกษา (A)
4. สาระการเรยี นรู้
- ประชากร
5. กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้ันท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. กระตุ้นนกั เรียนดว้ ยคำถาม
- ความหมายของประชากร คอื (ส่ิงมชี วี ติ ชนิดเดยี วกัน ที่มาอาศยั อยใู่ นทอ่ี ยู่เดียวกนั ในช่วงเวลาใด
เวลาหนง่ึ )
- ความหนาแนน่ ของประชากร ขึ้นอยกู่ บั สงิ่ ใด (ขึน้ อยกู่ ับทรัพยากรธรรมชาติ อาหารและแหล่งที่
อยู่)
- เราสามารถนับจำนวนประชากรได้หรอื ไม่ (สามารถนำประชากรได้ในช่วงเวลาใดเวลาหนงึ่ เท่านัน้
เน่ืองจากการเพม่ิ ขึ้นของประชากร และการเคลอื่ นย้ายของประชากร)
ขน้ั ที่ 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 – 5 คน ศึกษาคน้ ควา้ จากการทำกจิ กรรมจากใบงาน เร่อื ง ระบบนเิ วศ
2. ใหน้ กั เรียนแลกเปลย่ี นข้อมูลจากการศกึ ษาและจากการทำกิจกรรมกับเพือ่ นในห้องเรยี น
3. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภิปรายผลการศกึ ษาค้นควา้ และการทำกจิ กรรม เร่ือง ระบบนิเวศ สรุปผล
และร่วมกนั สร้างองคค์ วามรู้ใหม่
ข้ันท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
1. การนบั จำนวนประชากร
- จากการหาความหนาแนน่ ของประชากร ซึ่งเราสามารถหาไดจ้ ากการเปรยี บเทยี บจำนวน
สง่ิ มชี วี ติ ชนิดน้ันๆ ตอ่ จำนวนพื้นท่ีท่ีสิ่งมีชีวติ นั้นอาศัยอยู่ เราสามารถหาจำนวนประชากร
สิ่งมีชวี ิตนนั้ ไดโ้ ดยการนับจำนวนประชากร เพื่อนำมาหาความหนาแน่นของประชากรน้นั ทำได้
โดยวิธีการดงั ต่อไปนี้
- การวางแปลง และการทำเครื่องหมายและจับซ้ำ
การสมุ่ ตัวอย่างแบบวางแปลงกันดูบา้ ง
การสมุ่ ตวั อย่างแบบวางแปลง (Quadrat sampling method) หรือการใช้กรอบไมน้ ับประชากร
ควอแดรท ( Quadrat) คือพ้ืนทีท่ ่ีจะทำการเกบ็ ตัวอยา่ ง หรอื สมุ่ นบั ประชากร นยิ มทำควอแดรท
( Quadrat) เปน็ ส่ีเหลี่ยมจตรุ สั เรียกว่า กรอบไมน้ ับประชากร ดงั รูปบนซา้ ย โดยมวี ธิ ีการเก็บ
ตวั อยา่ งดงั นี้
นำกรอบไมฯ้ ไปวางในพนื้ ที่บรเิ วณท่ตี อ้ งการศกึ ษา เพื่อให้เปน็ ตวั แทนของพ้นื ที่
ทั้งหมด แล้วนบั จำนวนประชากรท่ีอยู่ภายในกรอบไม้ เพอื่ ให้เปน็ ตวั แทนของประชากรทงั้ หมดท่ี
ตอ้ งการศึกษา จากนน้ั จึงนำตวั อย่างที่นบั ไดม้ าหาจำนวนประชากรทงั้ หมด ซงึ่ คา่ ที่ได้จะถกู ต้อง
เพียงใดขึ้นอยู่กบั
1. ทราบพ้นื ท่ีท่แี นน่ อนของกรอบไม้
2. นบั จำนวนตวั อย่างทง้ั หมดในแตล่ ะควอแดรทไดถ้ ูกตอ้ ง
3. ตวั อย่างท่เี ก็บมาได้ต้องเปน็ ตวั แทนที่แท้จริงของประชากรในพ้นื ที่นนั้ ท้ังหมด ซึง่ จะทำได้
โดยการเกบ็ ตัวอย่างแบบสมุ่ ไมม่ ีการเจาะจงในการเกบ็ คอื ไม่มีอคติ ไม่เลอื กนับประชากรเฉพาะ
แปลงทอ่ี ยู่ใตร้ ่มเงาหรอื บริเวณใกล้ตวั อาคาร แต่ละตวั อย่างมีโอกาสถูกเลือกเทา่ กนั หมด จึงจะ
เรียกว่า การเกบ็ ตัวอยา่ งแบบสุม่
วิธีการนเ้ี ป็นวธิ กี ารท่ีเหมาะสำหรบั ประชากรทไ่ี ม่เคลอ่ื นที่ หรือเคลื่อนท่ี
ชา้ เชน่ พชื สง่ิ มชี วี ิตขนาดเล็กแต่อย่ใู นพนื้ ทข่ี นาดใหญ่
ตวั อยา่ ง การหาประชากรหอยเสียบ บริเวณชายหาดแหลมสน จงั หวัดระยอง เมอื่ วันท่ี 20 พ.ค.
2541 โดยการวางกรอบไมน้ บั ประชากรขนาด 0.25 ตารางเมตร จำนวน 40 กรอบไม้ ใน
พ้นื ท่ี 100 ตารางเมตร เม่อื นับจำนวนทง้ั หมดพบว่ามหี อยเสียบทัง้ ส้นิ 600 ตัว จงหาจำนวนหอย
เสียบทัง้ หมด
วธิ ที ำ กรอบไมน้ บั ประชากร จำนวน 40 กรอบ มหี อยเสยี บทัง้ สนิ้ 600 ตัว
ดังนั้น 1 กรอบไม้นบั จำนวนประชากรในพน้ื ท่ี 0.25 ตารางเมตร = 600/40 = 15 ตวั
1 ตารางเมตร = 15 x 1/0.25 = 60 ตวั
มหี อยเสยี บทง้ั สิน้ = 60 x 100 = 6,000 ตัว
กิจกรรมนับจำนวนประชากร
ให้นกั เรียนตอบคำถามลงในสมุดบนั ทกึ ของนกั เรยี น
1. จดุ ประสงคข์ องการวางแปลงและการทำเครอ่ื งหมายแล้วจบั ซำ้ คืออะไร เพ่อื นำขอ้ มูลที่
ไดไ้ ปทำส่ิงใด
2. ในสถานการณเ์ ช่นใดจงึ จะเลอื กใชว้ ิธวี างแปลง หรอื วธิ ีทำเครื่องหมายและจับซำ้
3. การเลือกใช้วธิ ีทำเคร่ืองหมายและจบั ซำ้ นกั เรียนจะต้องพิจารณาสง่ิ ใดบ้าง
4. อธิบายการใช้สตู ร
ข้นั ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ใหน้ ักเรียนสำรวจประชากรของส่มิ ชี วี ติ ในเขตท่อี ยู่ของนักเรยี นพร้อมท้งั แสดงกระบวนการนบั
ประชากรตอ่ หน่วยพืน้ ท่ี ลงในกระดาษขนาด A4 และตกแตง่ ใหส้ วยงาม
ข้นั ที่ 5 ประเมนิ (Evaluation)
1. นกั เรยี นตรวจสอบหรือประเมินข้นั ตอนต่าง ๆ ท่เี รยี นมาในวนั นี้มจี ุดเดน่ จุดบกพร่องอะไรบ้าง มีความ
สงสัย ความอยากรอู้ ยากเหน็ ในเรอ่ื งใด
2. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขยี นแสดงความรู้สึกหลงั การเรยี น ในประเด็นต่อไปนี้
- สิ่งทนี่ กั เรยี นได้เรียนรู้ในวันนีค้ ืออะไร
- นกั เรียนมีสว่ นรว่ มกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
- เพ่ือนนกั เรียนในกลุม่ มีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด
- นักเรียนพึงพอใจกบั การเรยี นในวนั นห้ี รือไม่ เพียงใด
- นักเรียนจะนำความรทู้ ไ่ี ด้น้ีไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไปได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปล่ียนตรวจสอบขน้ั ตอนการทำงานทุกขัน้ ตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สงั คม เกดิ ประโยชน์ตอ่ สังคม
ให้มากขึน้ กว่าเดมิ ในขัน้ ตอนใดบ้าง สำหรบั การทำงานในคร้งั ตอ่ ไป
6. สื่อ / แหลง่ การเรยี นรู้
- สือ่ Power Point เรื่อง ระบบนเิ วศ
- ใบงาน เร่ือง ระบบนเิ วศ
- แหล่งเรยี นรู้ในและนอกหอ้ งเรียน
7. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน/รอ่ งรอยการเรียนร)ู้
- ใบงาน เรอ่ื ง ระบบนเิ วศ
- สำรวจประชากรของส่มิ ีชวี ติ ในเขตทอี่ ยู่
8. การวัดและประเมนิ ผล
แบบประเมินการปฏบิ ตั ิการทำกจิ กรรม
รายการการ ระดบั คุณภาพ
ประเมนิ 4 3 21
1. การทำกิจกรรม ทำกจิ กรรมตามวิธกี าร ทำกจิ กรรมตามวธิ กี าร ทำกิจกรรมตามวธิ กี าร ทำกิจกรรมไม่ถูกต้อง
ตามแผนทกี่ ำหนด และขัน้ ตอนท่ีกำหนดไวอ้ ย่าง และขน้ั ตอนทีก่ ำหนดไว้ และขน้ั ตอนทีก่ ำหนดไวโ้ ดย ตามวธิ ีการและขน้ั ตอน
ถูกต้องด้วยตนเองมีการ ด้วยตนเอง มีการปรบั ปรงุ มีครหู รอื ผูอ้ ืน่ ทีก่ ำหนดไว้ ไมม่ ีการ
ปรบั ปรุงแก้ไขเป็นระยะ แก้ไขบา้ ง เป็นผู้แนะนำ ปรบั ปรุงแก้ไข
2. การใช้อปุ กรณ์ ใชอ้ ุปกรณแ์ ละ/หรอื ใช้อุปกรณ์และ/หรอื ใช้อุปกรณ์และ/หรอื ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรือ
และ/หรอื เครื่องมือในการทำ เครือ่ งมือในการทำ เครอ่ื งมอื ในการทำ เคร่ืองมอื ในการทำ
เคร่ืองมือ กิจกรรมไดอ้ ย่างถูกต้องตาม กิจกรรมได้อยา่ งถกู ตอ้ ง กจิ กรรมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งโดย กิจกรรมไม่ถกู ตอ้ ง และ
หลักการปฏิบตั แิ ละ ตามหลกั การปฏบิ ัติ แต่ไม่ มคี รู หรือผูอ้ ืน่ เป็นผแู้ นะนำ ไมม่ ีความคลอ่ งแคล่วใน
คลอ่ งแคล่ว คล่องแคล่ว การใช้
3. การบันทึกผล บนั ทึกผลเป็นระยะ บันทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทึกผลเป็นระยะ บนั ทึกผลไมค่ รบ
การทำกจิ กรรม อย่างถูกต้อง มรี ะเบียบมกี าร อยา่ งถกู ตอ้ ง มรี ะเบียบมี แต่ไมเ่ ป็นระเบียบ ไมม่ ีการระบหุ นว่ ย
ระบุหน่วย มีการอธบิ าย การระบหุ นว่ ย มีการ ไม่มีการระบหุ นว่ ย และไม่เป็นไปตาม
ขอ้ มูลให้เห็นความเชื่อมโยงเป็น อธิบายขอ้ มูลใหเ้ ห็นถึง และไมม่ ีการอธิบายข้อมลู ให้ การทำกิจกรรม
ภาพรวมเป็นเหตุเป็นผล และ ความสัมพันธเ์ ปน็ ไป เหน็ ถึงความสัมพนั ธ์ของการ
เป็นไปตามการทำกจิ กรรม ตามการทำกจิ กรรม ทำกิจกรรม
4. การจัดกระทำ จดั กระทำขอ้ มลู จดั กระทำข้อมูล จัดกระทำขอ้ มูล จดั กระทำข้อมูลอย่าง
ขอ้ มลู และการ อย่างเปน็ ระบบมกี าร อย่างเปน็ ระบบ มีการ อย่างเปน็ ระบบมีการ ไมเ่ ป็นระบบ และมกี าร
นำเสนอ เชื่อมโยงใหเ้ ห็นเปน็ ภาพรวม จำแนกขอ้ มลู ให้เห็น ยกตวั อย่างเพิ่มเติมให้เข้าใจ นำเสนอไมส่ ่อื
และนำเสนอ ความสมั พันธ์ นำเสนอ ง่าย และนำเสนอด้วยแบบ ความหมายและไม่
ด้วยแบบตา่ ง ๆอย่างชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ ได้ ตา่ ง ๆ แตย่ ังไม่ชดั เจนและไม่ ชัดเจน
ถูกต้อง แต่ยังไมช่ ัดเจน ถูกต้อง
5. การสรปุ ผลการ สรุปผลการทำกจิ กรรม สรุปผลการทำกิจกรรม สรุปผลการทำกจิ กรรมได้โดย สรปุ ผลการทำกจิ กรรม
ทำกิจกรรม ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง กระชับ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง แตย่ ัง มีครูหรือผอู้ นื่ ตามความรทู้ ่พี อมีอยู่
ชดั เจน และครอบคลมุ ขอ้ มลู ไม่ครอบคลุมขอ้ มลู แนะนำบ้าง จงึ สามารถ โดยไมใ่ ช้ข้อมลู
จากการวิเคราะห์ จากการวิเคราะหท์ ัง้ หมด สรปุ ได้อย่างถูกต้อง จากการทำกจิ กรรม
ทง้ั หมด
6. การดแู ลและ ดูแลอุปกรณ์และ/หรอื ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรอื ไม่ดูแลอุปกรณ์และ/
การเกบ็ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือในการทำกจิ กรรม เครอื่ งมือในการทำกจิ กรรม เครื่องมอื ในการทำกิจกรรม หรอื เครื่องมอื ในการทำ
และ/หรือ และมกี าร และมีการ มีการทำความสะอาด แต่ กิจกรรม และไม่สนใจ
เคร่อื งมือ ทำความสะอาดและเก็บอย่าง ทำความสะอาดอยา่ ง เกบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง ต้องใหค้ รูหรอื ทำความสะอาด รวมท้งั
ถูกต้องตามหลักการและ ถูกต้อง แต่เก็บ ผู้อ่ืนแนะนำ เกบ็ ไม่ถกู ตอ้ ง
แนะนำให้ผู้อนื่ ดแู ลและเก็บ ไม่ถกู ตอ้ ง
รกั ษาไดถ้ กู ตอ้ ง
แบบประเมนิ ช้ินงาน การจัดกระทำและนำเสนอแผนผงั
รายการการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน
432 1
การจัดกระทำและ
นำเสนอแผนผงั จดั กระทำแลนำเสนอ จัดกระทำและ จัดกระทำและ จัดกระทำและนำเสนอ
แผนผังได้ แต่ไม่
แผนผัง ไดส้ ัมพันธ์กัน นำเสนอ แผนผังได้ นำเสนอแผนผงั ได้ สอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้
เร่ืองที่กำหนด
และถกู ต้องตามหัวขอ้ สมั พนั ธ์กบั หัวข้อเรอื่ ง ตามหัวข้อเรื่อง
เรือ่ งทก่ี ำหนด มกี าร ทีก่ ำหนด มกี าร โดยมคี รูหรอื ผู้อ่ืน
วางแผน มกี าร ออกแบบ มคี วามคิด ใหค้ ำแนะนำ
ออกแบบ และมี รเิ ร่ิม แต่ไมม่ ีการ
ความคิดสร้างสรรค์ เชอื่ มโยงใหเ้ ห็นเปน็
มีการเช่อื มโยงใหเ้ หน็ ภาพรวม
เป็นภาพรวม
แบบประเมินการสืบสอบขอ้ มูล
รายการการ ระดับคณุ ภาพ
ประเมิน 4 3 21
1. การวางแผน วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู จาก วางแผนท่ีจะค้นคว้าข้อมลู วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู ไมม่ ีการวางแผนทีจ่ ะ
คน้ ควา้ ขอ้ มลู แหล่งการเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย จากแหลง่ การเรียนรู้ที่ จากแหลง่ การเรียนรโู้ ดยมี ค้นควา้ ข้อมลู จาก
จากแหล่งการ เชอื่ ถือได้และมีการเช่ือมโยงให้เห็น หลากหลาย และเหมาะสม ครูหรอื ผอู้ นื่ แนะนำบ้าง แหล่งการเรยี นรูอ้ ยา่ ง
เรียนรู้ เป็นภาพรวม แสดงให้เห็น แตไ่ มม่ ีการเชื่อมโยงให้ เปน็ ระบบ
ถงึ ความสัมพันธ์ของ เห็นเป็นภาพรวม
วธิ กี ารทัง้ หมด
2. การเกบ็ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกบ็ รวบรวมข้อมลู เก็บรวบรวมขอ้ มลู เก็บรวบรวมข้อมลู
รวบรวม ตามแผนทีก่ ำหนด โดยคดั เลือกและ/หรือ โดยไม่มกี ารคดั เลือก เป็นระยะ ขาดการ
ขอ้ มลู ทุกประการ ประเมินข้อมูล และ/หรอื ประเมินขอ้ มลู ประเมินเพอ่ื คัดเลอื ก
3. การจดั จดั กระทำข้อมูล จดั กระทำขอ้ มลู จดั กระทำขอ้ มูล จัดกระทำข้อมลู อยา่ ง
กระทำขอ้ มูล อยา่ งเป็นระบบ อยา่ งเป็นระบบ มกี าร อย่างเป็นระบบ ไมเ่ ปน็ ระบบ และ
และการ มีการเชื่อมโยงใหเ้ ห็น จำแนกขอ้ มลู ใหเ้ ห็น มีการยกตวั อย่างเพิ่มเติมให้ นำเสนอไมส่ ่ือ
นำเสนอ เป็นภาพรวม และนำเสนอด้วยแบบ ความสัมพนั ธ์ นำเสนอ เข้าใจง่ายและนำเสนอด้วย ความหมายและไม่
ต่าง ๆ อยา่ งชัดเจนถกู ต้อง ด้วยแบบตา่ ง ๆ ได้ แบบต่าง ๆ แต่ยงั ไม่ถูกต้อง ชัดเจน
อยา่ งถกู ต้อง
4. การสรุปผล สรปุ ผลได้อยา่ งถูกตอ้ ง สรปุ ผลได้อย่างกระชบั สรปุ ผลได้กระชบั สรุปผลโดยไมใ่ ช้
กระชับ ชัดเจน และ แต่ยงั ไม่ชดั เจนและ กะทดั รดั แตไ่ มช่ ดั เจน ขอ้ มูล และไม่ถูกต้อง
ครอบคลมุ มเี หตุผล ไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู
ทอี่ ้างองิ จากการสืบสอบได้ จากการวเิ คราะห์
ทั้งหมด
5. การเขยี น เขียนรายงานตรงตามจดุ ประสงค์ เขียนรายงานตรงตาม เขยี นรายงานโดยสอื่ เขยี นรายงานไดต้ าม
รายงาน ถูกต้องและชัดเจน และมีการ จดุ ประสงค์อยา่ งถูกต้อง ความหมายไดโ้ ดยมคี รหู รือ ตวั อย่าง แต่ใช้ภาษาไม่
เช่ือมโยงให้เหน็ เปน็ ภาพรวม และชัดเจนแต่ขาดการ ผอู้ น่ื แนะนำ ถูกตอ้ ง และไม่ชัดเจน
เรยี บเรยี ง
9.การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 หว่ ง 2 เง่ือน 4 มติ ิ)
หลกั ความพอประมาณ การใช้เวลาในการศกึ ษาความรู้และทำงานเหมาะสมกบั เวลา
หลักมเี หตุผล การเลอื กและอธิบายเรอื่ งท่ีเรียนร้ไู ดอ้ ย่างเหมาะสมและ
ถกู ตอ้ ง
หลกั สรา้ งภูมิคุ้มกนั ตัวทีด่ ี
เงื่อนไขความรู้ การเลือกศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นรู้ มกี ารวางแผนการทำงานกลมุ่
เง่ือนไขคุณธรรม การเรียนรแู้ ละปฏบิ ัติเร่อื งท่ไี ด้ศึกษาอย่างชดั เจน
มคี วามซื่อสตั ย์ มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง มีความ
ด้านเศรษฐกิจ ร่วมมอื ในการจดั กิจกรรม
ดา้ นสังคม มกี ารคิดวางแผนในการทำงานอย่างรอบคอบ
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ช่วยเหลือซึง่ กันและกนั รู้รกั สามคั คีในการทำงานรว่ มกัน
ด้านวัฒนธรรม รจู้ ักใช้และจัดการในการทำกิจกรรมอยา่ งฉลาดและทำให้เกิด
การเรยี นรู้สงู สดุ
รู้จกั แยกแยะในการใช้ชวี ิตรว่ มกันในช้นั เรียนอยา่ งมคี วามสุข
บันทกึ หลังสอนแผนการสอนที่ ...............
1. ผลการสอนระดับชัน้ ม..5.....
สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก ...............................................................................................
11. ผลทเ่ี กิดกบั ผูเ้ รียน
1.) การประเมินผลความร้หู ลงั การเรยี น โดยใช…้ ……………......................................................พบวา่ นักเรียนผ่านการประเมนิ
คิดเป็นร้อยละ......................……. ไมผ่ า่ นเกณฑ์ขั้นตำ่ ทกี่ ำหนดไวค้ ิดเป็นร้อยละ.......................................................
ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................................................................................
2.) การประเมนิ ดา้ นทกั ษะกระบวนการเรียน โดยใช้………………………................................................พบวา่ นกั เรยี นผ่านการ
ประเมินคดิ เป็นรอ้ ยละ................ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ขั้นต่ำท่ีกำหนดไว้คิดเป็นร้อยละ.................................................
ได้แก่ .......................................................................................................................................................................................
3.) การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ เรยี น โดยใช้……………………….....................................พบวา่ นักเรยี นผ่านการ
ประเมินคิดเป็นร้อยละ.......……. ไมผ่ ่านเกณฑข์ ั้นตำ่ ท่ีกำหนดไวค้ ิดเป็นร้อยละ........................................................
ไดแ้ ก่ .................................................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอปุ สรรค
กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ ไมเ่ หมาะสมกับเวลา
มีนกั เรยี นทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกำหนดเวลา
มนี ักเรียนทไี่ มส่ นใจเรียน
อื่น ๆ .............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
ควรนำแผนไปปรบั ปรุง เรือ่ ง ......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขนกั เรยี นทไ่ี ม่ผา่ นการประเมิน ..................................................................................
.......................................................................................................................................................
ไม่มขี ้อเสนอแนะ
ลงชื่อ............................................................ ผสู้ อน
( นางมารหี ยาม อินทรวิเศษ )
วันท.ี่ ......./.................../.................
ความคดิ เห็นของหวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ความคิดเห็นของหัวหนา้ งานวิชาการ
และเทคโนโลยี 1.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ที่
1.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2.การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ได้นำเอากระบวนการเรียนรู้
2.การจัดกจิ กรรมการเรียนรูไ้ ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ ทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่าง
ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสมกับศักยภาพทแ่ี ตกตา่ งกันของผ้เู รยี น
เหมาะสมกับศกั ยภาพทแี่ ตกตา่ งกนั ของผู้เรียน ท่ียังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั ควรปรับปรุงพฒั นา
ท่ียงั ไม่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ควรปรับปรุงพัฒนา
ต่อไป
ตอ่ ไป 3.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ นำไปใช้ได้จรงิ ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใช้
นำไปใช้ไดจ้ ริง ควรปรบั ปรุงกอ่ นนำไปใช้ 4.ข้อเสนอแนะอื่นๆ
4.ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ
ลงชื่อ.................................................................... ลงช่ือ....................................................................
(นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน) (นางสาวณฐั ญิ า คาโส)
หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ฯ หัวหนา้ กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ฯ รายวชิ า ชีววิทยา5 รหสั วชิ า ว30245
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เร่ือง ปัจจยั อน่ื ๆทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการแพร่กระจายประชากร เวลา 7 ชวั่ โมง
1. สาระสำคัญ / ความคดิ รวบยอด
ระบบนเิ วศ คือ การศกึ ษาความสมั พันธข์ องสงิ่ มชี ีวติ และระหวา่ งสิง่ มีชวี ติ กบั สิ่งแวดลอ้ มที่เป็นแหล่งทีอ่ ยู่
อาศัย โดยแบง่ ตามระดบั กลุ่มประชากร กล่มุ สิง่ มีชวี ิต ระบบนเิ วศ และโลกของสิ่งมชี ีวิต ซ่ึงส่ิงมชี ีวติ มีความสัมพนั ธ์
กนั เอง และกบั สิ่งแวดล้อม ทำใหร้ ะบบนิเวศมีการถา่ ยทอดพลังงาน การกระจายของพลังงานนที้ ำให้เกิดการ
แพร่กระจายของสิ่งมีชวิ ิต เน่อื งจากบรเิ วณใดมีทรัพยากรเพียงพอ จะมปี ระชากรของสิง่ มชี ีวิตอาศยั อยู่อยา่ งหนาแนน่
แต่ถงึ อยากไรกต็ าม ระบบนเิ วศไม่คงท่ีเสมอไป เมื่อเกิดการเปล่ยี นแปลงของระบบนเิ วศจะเกดิ การหมุนเวยี นส่งิ มชี วี ติ
โดยเร่ิมตน้ จากผเู้ บิกเบิก ไปจนถึงสง่ิ มีชีวติ ข้นั สูงสุด ในระบบนิเวศยังมกี ารหมนุ เวยี นของสารอีกดว้ ย
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ัด
มาตรฐานการเรียนรู้
5.เขา้ ใจแนวคิดเกยี่ วกับระบบนเิ วศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวยี นสารในระบบนเิ วศ
ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ยี นแปลงแทนทข่ี องสง่ิ มชี วี ิตในระบบนเิ วศ ประชากรและรปู แบบการเพ่มิ ของ
ประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ปญั หาและผลกระทบท่ีเกดิ จากการใช้ประโยชน์ และแนวทางการ
แกไ้ ขปญั หา
ผลการเรียนรู้
6. สบื ค้นข้อมูล อธบิ ายยกตัวอย่าง และสรุปเก่ียวกับลกั ษณะเฉพาะของประชากร ของสง่ิ มีชวี ติ บางชนดิ
7. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ ายเปรยี บเทยี บและยกตวั อย่างการเพม่ิ ของประชากรแบบเอกโพเนนเชยี ล และการเพิ่ม
ของประชากรแบบลอจิสติก
8. อธบิ าย และยกตัวอย่างปจั จัยทคี่ วบคุมการเติบโตของประชากร
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (K,P,A)
40. อธิบายการเพม่ิ ข้ึนของประชากรได้ (K)
41. อธิบายปัจจัยทม่ี ผี ลต่อการเพมิ่ ข้นึ ของประชากรได้ (K)
42. อธบิ ายปจั จยั ทมี่ ีผลต่อการควบคุมประชากรได้ (K)
43. ยกตัวอย่างปจั จัยท่ีมีผลต่อการเพมิ่ ขึ้นและควบคมุ จำนวนประชากรได้ (K)
44. อธบิ ายการเพิ่มขึ้นของประชากรแบบเอกโพเนนเชยี ล และการเพม่ิ ของประชากรแบบลอจิสตกิ ได้ (K)
45. นำเสนอการเพม่ิ ข้นึ ของประชากรเปรียบเทียบจากกราฟแบบเอกโพเนนเชยี ล และการเพม่ิ ของประชากร
แบบลอจิสติกได้ (P)
46. สนใจใฝเ่ รยี นรูท้ างการศึกษา (A)
4. สาระการเรยี นรู้
- การแพร่กระจายของประชากร
- ปจั จยั ทม่ี ผี ลต่อการแพรก่ ระจายของประชากร
5. กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้ันท่ี 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
2. กระตุ้นนักเรยี นด้วยคำถาม
- ในระบบนิเวศมกี ารควบคุมการแพรป่ ชกระจายของสิม่ ีชีวติ อย่างไร (ธรรมชาติจะมีกลไกในการ
ควบคุมจำนวนของประชากรสิ่งมีชวี ิตแตล่ ะชนดิ โดยปจั จยั ทางกายภาพ เชน่ อาหาร แหลง่ ทอ่ี ยู่
หรือปจั จัยทางชวี ภาพ เชน่ ศัตรูพืช หรอื ผู้ล่า เป็นตน้ )
ขัน้ ที่ 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)
4. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ 4 – 5 คน ศึกษาคน้ ควา้ จากการทำกิจกรรมจากใบงาน เรอื่ ง ระบบนเิ วศ
5. ให้นกั เรียนแลกเปลีย่ นข้อมลู จากการศึกษาและจากการทำกจิ กรรมกับเพ่ือนในห้องเรยี น
6. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายผลการศกึ ษาค้นควา้ และการทำกิจกรรม เรื่อง ระบบนเิ วศ สรุปผล
และร่วมกันสร้างองคค์ วามรู้ใหม่
ข้ันท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. การแพร่กระจายของประชากร
- ปัจจัยจำกัดทีม่ ีผลต่อการแพร่กระจายของประชากร
ในแต่ละพ้ืนทม่ี สี ิ่งมีชวี ติ ชนิดเดียวกันหรอื ต่างชนดิ กนั อาศยั อย่รู ว่ มกนั ในปริมาณท่ี
แตกตา่ งกนั เนอ่ื งจากมปี จั จยั จำกดั (limiting factor) บางประการทีม่ ผี ลตอ่ ส่ิงมชี วี ติ แต่ละชนดิ ท่ี
ไม่เหมอื นกัน และเปน็ สาเหตุที่ทำใหเ้ กิดการแพรก่ ระจายของประชากรเกิดขน้ึ ปัจจัยดังกล่าวนัน้
ได้แก่
- ปัจจยั ทางกายภาพ
ลักษณะทางกายภาพบางประการ เช่น ความสูงจากระดับ น้ำทะเล อุณหภมู ิ แสง
ความชื้น ความเปน็ กรด-เบส ฯลฯ พบวา่ มีผลต่อการแพรก่ ระจายของประชากรของสงิ่ มชี ีวิต เช่น
ความสงู จากระดบั น้ำทะเล มีผลตอ่ การแพรก่ ระจายของพืชบางชนิด เชน่ ทคี่ วามสูงจาก
ระดับนำ้ ทะเลต้งั แต่ 1,000-1,700 เมตร จะพบวา่ มีสนสามใบข้นึ อยคู่ ่อนขา้ งมาก และที่ระดบั
ความสงู จากระดบั น้ำทะเลตำ่ กวา่ 1,000 เมตร จะพบสนสามใบขน้ึ อยู่กระจัดกระจายทวั่ ไป
อณุ หภูมิ ในพืน้ ที่แถบทะเลทรายซึง่ มีอุณหภูมคิ ่อนข้างสูงน้ัน มักจะพบวา่ มีพืชบางชนดิ
เท่าน้ันทส่ี ามารถขึ้นอยู่ได้ เชน่ พชื จำพวกกระบองเพชร เนอื่ งจากสามารถทนตอ่ อณุ หภมู ิท่ีสูงถงึ
60 องศาเซลเซียสไดด้ ี
ความเป็นกรด-เบส พชื บางชนดิ เช่น ข้าวพบวา่ สามารถเจรญิ เติบโตและให้ผลผลผลิตดี
ท่สี ุดในสภาพดินเหนยี ว และในดินท่ีมีน้ำท่วมขังซ่ึงมคี ่าความเป็นกรด-เบส อยู่ในช่วง 6.5-7.0
แสง มีผลตอ่ การเจริญเติบโตของพืชบางชนดิ เช่น เดือย ซึง่ เป็น พืชวนั สน้ั (short-day
plant) ตอ้ งการแสงแดดจัดในชว่ งสน้ั ๆ และอุณหภูมสิ งู ในการเจริญเติบโต
- ปัจจยั ทางชวี ภาพ
ในสภาพธรรมชาตโิ ดยทว่ั ไปพบว่ามีสิ่งมีชีวิตหลากหลายอยรู่ ว่ มกัน สง่ิ มีชวี ติ บางชนิด
พบว่าปัจจยั ทางชีวภาพทเี่ ป็นปัจจยั จำกดั ตอ่ ส่ิงมีชีวติ ชนดิ อนื่ ได้ เชน่ กรณขี องเสือหรือสงิ โต ซึ่ง
เปน็ ผู้ลา่ กบั กวางซึ่งเปน็ เหย่ือ กรณีดังกลา่ วนพ้ี บวา่ เสือหรือสิงโตเป็นปัจจยั จำกดั ต่อการมีชวี ิต
อยรู่ อดของกวาง หรือกรณขี องการแข่งขนั เพอื่ การอย่รู อดในสงั คมของสตั วช์ นิดเดยี วกัน พบว่า
สตั ว์ท่ีแข็งแรงกว่าจะมีโอกาสเจรญิ เติบโตและอยรู่ อดกวา่ สัตวท์ ี่อ่อนแอกวา่ นอกจากนี้ยังมี
ปัจจยั ทางชีวภาพอน่ื ๆ ที่พบ ได้แก่ สิ่งมีชวี ติ โดยเฉพาะสงิ่ มีชวี ติ ต่างถน่ิ ซึ่งพบวา่ ในพื้นทีห่ นงึ่ ๆ
มักจะมสี ่ิงมีชีวิตท้งั พชื และสัตว์ท่เี ปน็ สง่ิ มีชวี ติ ต่างถิ่นเข้ามาในพื้นท่ีนั้นอยูเ่ สมอ จนทำให้
สง่ิ มชี วี ติ เดิมทม่ี ีอย่ไู ด้รบั ผลกระทบในลกั ษณะของการถกู แก่งแยง่ ทอ่ี ยู่อาศยั และอาหาร หรือการ
ถูกขดั ขวางการแพร่กระจายพันธจ์ ากสงิ่ มชี ีวิตตา่ งถ่นิ เชน่ ผักตบชวา ที่แพร่กระจายลงสู่แหล่งนำ้
และเจรญิ เติบโตอยา่ งรวดเร็วจนทำใหผ้ กั ตบไทยซ่ึงเป็นพชื ด้ังเดิมในแหลง่ น้ำนนั้ ลดจำนวนลงหรือ
สูญพนั ธไ์ ป กรณกี ารปลอ่ ย ปลาดูด (suckermouth catfish) หรอื ทีร่ ้จู ักในนามของ ปลา
เทศบาล ลงไปในแหลง่ ธรรมชาติ พบวา่ มีผลทำให้สตั ว์นำ้ เศรษฐกิจทเี่ ป็นอาหารของมนษุ ยบ์ าง
ชนดิ ท่ีวางไข่บนหน้าดนิ และตัวอ่อนเจริญเตบิ โตบนหนา้ ดินลดจำนวนลงหรือสูญพนั ธ์ุ
ไป เน่ืองจากปลาดูดจะทำลายแหล่งทำรังและแหล่งวางไข่ของสัตว์ และกินไขข่ องสตั วน์ ำ้ เป็น
อาหาร นอกจากนพ้ี บวา่ การระบาดของหอยเอร่ีในแหลง่ น้ำหรอื นาข้าวมตี ่อการทำลาย
พืชผล โดยเฉพาะกลา้ ขา้ ว เนื่องจากจากหอยเชอร่ีสามารถผสมพนั ธ์ุและวางไข่ไดต้ ลอด
ปี โดยจะวางไข่เป็นกล่มุ กล่มุ ละ 350-3,000 ฟอง และไข่จะฟักเปน็ ตัวภายใน 7- 12 วนั การ
แพรร่ ะบาดของหอยเชอรม่ี ผี ลทางอ้อม ทำให้ปริมาณหอยโขง่ ในธรรมชาติลดปรมิ าณลงได้
ในต่างประเทศ เช่น ในทวปี แอฟริกาพบวา่ ในพ้ืนท่ีหลายแห่งมี แมลงเซทซิ (tsetse fly)
ดังภาพที่ 22-2 ค. อาศัยอยู่เปน็ จำนวนมากซ่งึ แมลงชนดิ นเ้ี ป็นพาหะของ โรคเหงา
หลับ (African sleeping sickness) จงึ ทำให้แทบจะไมม่ ีผู้คนหรอื สตั ว์เลี้ยงอาศัยอยู่เลย
ขน้ั ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ใหน้ ักเรยี นเขยี นแผนผังความคดิ เรอ่ื ง ปัจจัยท่มี ผี ลต่อการแพรก่ ระจายของขนาดประชากร พร้อมทัง้
ตกแต่งให้สวยงาม
ข้นั ท่ี 5 ประเมิน (Evaluation)
1. นักเรยี นตรวจสอบหรือประเมนิ ข้ันตอนต่าง ๆ ทเี่ รียนมาในวันนี้มจี ุดเดน่ จุดบกพรอ่ งอะไรบา้ ง มีความ
สงสัย ความอยากรู้อยากเหน็ ในเรือ่ งใด
2. นกั เรียนประเมินตนเอง โดยเขยี นแสดงความรู้สึกหลังการเรยี น ในประเด็นต่อไปนี้
- ส่ิงที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวนั นีค้ อื อะไร
- นักเรียนมีสว่ นรว่ มกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด
- เพื่อนนกั เรียนในกลมุ่ มสี ่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด
- นักเรียนพงึ พอใจกบั การเรยี นในวนั นห้ี รอื ไม่ เพียงใด
- นกั เรียนจะนำความรทู้ ไี่ ด้นไ้ี ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั และสงั คมทว่ั ไปได้อย่างไร
จากนน้ั แลกเปลย่ี นตรวจสอบขน้ั ตอนการทำงานทุกข้ันตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สงั คม เกดิ ประโยชน์ต่อสงั คม
ให้มากข้นึ กว่าเดิมในข้นั ตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครงั้ ต่อไป
6. ส่ือ / แหลง่ การเรยี นรู้
- สื่อ Power Point เรือ่ ง ระบบนิเวศ
- ใบงาน เร่อื ง ระบบนเิ วศ
- แหล่งเรียนรู้ในและนอกหอ้ งเรยี น
7. ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน/ร่องรอยการเรียนร)ู้
- ใบงาน เรอื่ ง ระบบนเิ วศ
- แผนผังความคิด เรือ่ ง ปจั จยั ท่มี ีผลต่อการแพรก่ ระจายของขนาดประชากร
8. การวัดและประเมนิ ผล
แบบประเมนิ การปฏบิ ัติการทำกิจกรรม
รายการการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน 4 3 21
1. การทำกิจกรรม ทำกจิ กรรมตามวิธกี าร ทำกิจกรรมตามวธิ กี าร ทำกิจกรรมตามวิธกี าร ทำกจิ กรรมไม่ถูกต้องตาม
ตามแผนที่กำหนด และข้ันตอนทีก่ ำหนดไว้อยา่ ง และข้นั ตอนที่กำหนดไว้ด้วย และข้นั ตอนทก่ี ำหนดไวโ้ ดยมี วิธีการและขั้นตอนท่ี
ถกู ตอ้ งดว้ ยตนเองมกี าร ตนเอง มกี ารปรับปรุงแก้ไข ครหู รอื ผูอ้ นื่ กำหนดไว้ ไมม่ ีการ
ปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะ บ้าง เปน็ ผูแ้ นะนำ ปรับปรุงแกไ้ ข
2. การใชอ้ ุปกรณ์ ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรือ ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรือ ใชอ้ ปุ กรณ์และ/หรอื ใช้อุปกรณ์และ/หรอื
และ/หรอื เครอ่ื งมอื เครอ่ื งมอื ในการทำ เคร่ืองมือในการทำ เครอ่ื งมือในการทำ เครื่องมือในการทำ
กิจกรรมไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตาม กจิ กรรมได้อยา่ งถกู ต้องตาม กจิ กรรมได้อย่างถูกตอ้ งโดยมี กจิ กรรมไม่ถกู ต้อง และ
หลกั การปฏบิ ัติและคลอ่ งแคลว่ หลกั การปฏบิ ัติ แตไ่ ม่ ครู หรือผูอ้ น่ื เป็นผู้แนะนำ ไมม่ คี วามคลอ่ งแคลว่ ใน
คล่องแคลว่ การใช้
3. การบันทกึ ผล บันทกึ ผลเป็นระยะ บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทึกผลเป็นระยะ บนั ทึกผลไมค่ รบ
การทำกิจกรรม อย่างถูกต้อง มีระเบยี บมกี าร อย่างถกู ต้อง มรี ะเบยี บมกี าร แต่ไมเ่ ป็นระเบียบ ไม่มกี ารระบหุ นว่ ย
ระบหุ น่วย มกี ารอธบิ ายข้อมลู ระบหุ นว่ ย มกี ารอธบิ าย ไม่มกี ารระบุหนว่ ย และไมเ่ ปน็ ไปตาม
ใหเ้ หน็ ความเช่ือมโยงเป็นภาพรวม ข้อมลู ใหเ้ ห็นถงึ ความสัมพันธ์ และไมม่ ีการอธิบายขอ้ มูลให้ การทำกจิ กรรม
เป็นเหตุเป็นผล และเปน็ ไปตาม เป็นไป เหน็ ถงึ ความสัมพนั ธ์ของการทำ
การทำกจิ กรรม ตามการทำกจิ กรรม กจิ กรรม
4. การจดั กระทำ จัดกระทำขอ้ มูล จดั กระทำขอ้ มลู จดั กระทำข้อมูล จัดกระทำข้อมลู อยา่ งไม่
ขอ้ มูลและการ อย่างเป็นระบบมีการเชื่อมโยง อยา่ งเปน็ ระบบ มีการ อยา่ งเปน็ ระบบมกี าร เป็นระบบ และมกี าร
นำเสนอ ใหเ้ หน็ เป็นภาพรวม และนำเสนอ จำแนกข้อมลู ให้เห็น ยกตัวอย่างเพ่มิ เติมใหเ้ ขา้ ใจ นำเสนอไมส่ อื่ ความหมาย
ด้วยแบบต่าง ๆอย่างชัดเจน ความสัมพันธ์ นำเสนอ ง่าย และนำเสนอด้วยแบบต่าง และไม่ชัดเจน
ถกู ตอ้ ง ด้วยแบบต่าง ๆ ได้ ๆ แต่ยังไมช่ ัดเจนและไม่ถูกต้อง
แต่ยังไมช่ ดั เจน
5. การสรปุ ผลการ สรปุ ผลการทำกิจกรรม สรปุ ผลการทำกิจกรรม สรปุ ผลการทำกจิ กรรมได้โดยมี สรปุ ผลการทำกิจกรรม
ทำกิจกรรม ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง กระชับชัดเจน ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง แตย่ งั ครหู รือผู้อื่น ตามความร้ทู พี่ อมีอยู่
และครอบคลมุ ขอ้ มลู จากการ ไมค่ รอบคลุมขอ้ มูล แนะนำบา้ ง จึงสามารถ โดยไมใ่ ช้ข้อมลู
วิเคราะห์ จากการวิเคราะหท์ งั้ หมด สรุปได้อยา่ งถกู ตอ้ ง จากการทำกจิ กรรม
ทั้งหมด
6. การดูแลและการ ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรอื เคร่อื งมือ ดแู ลอปุ กรณ์และ/หรอื ดแู ลอปุ กรณแ์ ละ/หรือเครอ่ื งมือ ไม่ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรือ
เก็บอุปกรณแ์ ละ/ ในการทำกิจกรรม และมกี าร เครอ่ื งมือในการทำกิจกรรม ในการทำกจิ กรรม มกี ารทำ เครื่องมอื ในการทำ
หรือ เครื่องมือ ทำความสะอาดและเกบ็ อย่าง และมีการ ความสะอาด แตเ่ กบ็ ไมถ่ ูกต้อง กจิ กรรม และไมส่ นใจทำ
ถกู ต้องตามหลกั การและแนะนำ ทำความสะอาดอยา่ งถูกตอ้ ง ตอ้ งให้ครูหรอื ผอู้ ่ืนแนะนำ ความสะอาด รวมทั้งเกบ็
ใหผ้ ู้อืน่ ดแู ลและเก็บรกั ษาได้ แต่เกบ็ ไมถ่ ูกต้อง
ถกู ตอ้ ง ไมถ่ กู ตอ้ ง
แบบประเมนิ ช้ินงาน การจัดกระทำและนำเสนอแผนผงั
รายการการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน
432 1
การจัดกระทำและ
นำเสนอแผนผงั จดั กระทำแลนำเสนอ จัดกระทำและ จัดกระทำและ จัดกระทำและนำเสนอ
แผนผังได้ แต่ไม่
แผนผัง ไดส้ ัมพันธ์กัน นำเสนอ แผนผังได้ นำเสนอแผนผงั ได้ สอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้
เร่ืองที่กำหนด
และถกู ต้องตามหัวขอ้ สมั พนั ธ์กบั หัวข้อเรอื่ ง ตามหัวข้อเรื่อง
เรือ่ งทก่ี ำหนด มกี าร ทีก่ ำหนด มกี าร โดยมคี รูหรอื ผู้อ่ืน
วางแผน มกี าร ออกแบบ มคี วามคิด ใหค้ ำแนะนำ
ออกแบบ และมี รเิ ร่ิม แต่ไมม่ ีการ
ความคิดสร้างสรรค์ เชอื่ มโยงใหเ้ ห็นเปน็
มีการเช่ือมโยงใหเ้ หน็ ภาพรวม
เป็นภาพรวม
แบบประเมินการสืบสอบขอ้ มูล
รายการการ ระดับคณุ ภาพ
ประเมิน 4 3 21
1. การวางแผน วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู จาก วางแผนท่ีจะค้นคว้าข้อมลู วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู ไมม่ ีการวางแผนทีจ่ ะ
คน้ คว้าขอ้ มลู แหล่งการเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย จากแหลง่ การเรียนรู้ที่ จากแหล่งการเรยี นรโู้ ดยมี ค้นควา้ ข้อมลู จาก
จากแหล่งการ เชอื่ ถือได้และมีการเช่ือมโยงให้เห็น หลากหลาย และเหมาะสม ครูหรอื ผอู้ น่ื แนะนำบ้าง แหล่งการเรียนรูอ้ ยา่ ง
เรียนรู้ เป็นภาพรวม แสดงให้เห็น แตไ่ มม่ ีการเชื่อมโยงให้ เปน็ ระบบ
ถงึ ความสัมพันธ์ของ เห็นเป็นภาพรวม
วธิ กี ารทัง้ หมด
2. การเกบ็ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เกบ็ รวบรวมข้อมลู เก็บรวบรวมขอ้ มูล เก็บรวบรวมข้อมลู
รวบรวม ตามแผนทีก่ ำหนด โดยคดั เลือกและ/หรือ โดยไม่มกี ารคดั เลือก เป็นระยะ ขาดการ
ขอ้ มลู ทุกประการ ประเมินข้อมูล และ/หรอื ประเมินขอ้ มลู ประเมินเพอ่ื คัดเลอื ก
3. การจดั จดั กระทำข้อมูล จดั กระทำขอ้ มลู จดั กระทำขอ้ มูล จัดกระทำข้อมลู อยา่ ง
กระทำขอ้ มูล อยา่ งเป็นระบบ อยา่ งเป็นระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ปน็ ระบบ และ
และการ มีการเชื่อมโยงใหเ้ ห็น จำแนกขอ้ มลู ใหเ้ ห็น มีการยกตวั อย่างเพิ่มเติมให้ นำเสนอไมส่ ่ือ
นำเสนอ เป็นภาพรวม และนำเสนอด้วยแบบ ความสัมพนั ธ์ นำเสนอ เข้าใจง่ายและนำเสนอด้วย ความหมายและไม่
ต่าง ๆ อยา่ งชัดเจนถกู ตอ้ ง ด้วยแบบตา่ ง ๆ ได้ แบบต่าง ๆ แต่ยังไม่ถูกต้อง ชัดเจน
อยา่ งถกู ต้อง
4. การสรุปผล สรปุ ผลได้อยา่ งถูกตอ้ ง สรปุ ผลได้อย่างกระชบั สรปุ ผลไดก้ ระชบั สรุปผลโดยไมใ่ ช้
กระชับ ชัดเจน และ แต่ยงั ไมช่ ดั เจนและ กะทดั รดั แต่ไมช่ ดั เจน ขอ้ มูล และไม่ถูกต้อง
ครอบคลุม มเี หตุผล ไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู
ทอี่ ้างองิ จากการสืบสอบได้ จากการวเิ คราะห์
ทั้งหมด
5. การเขยี น เขียนรายงานตรงตามจดุ ประสงค์ เขียนรายงานตรงตาม เขยี นรายงานโดยสื่อ เขยี นรายงานไดต้ าม
รายงาน ถูกต้องและชัดเจน และมีการ จดุ ประสงค์อยา่ งถูกต้อง ความหมายไดโ้ ดยมคี รหู รือ ตวั อย่าง แต่ใช้ภาษาไม่
เช่ือมโยงให้เหน็ เปน็ ภาพรวม และชัดเจนแต่ขาดการ ผอู้ ่นื แนะนำ ถูกตอ้ ง และไม่ชัดเจน
เรยี บเรยี ง
9.การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 หว่ ง 2 เง่ือน 4 มติ ิ)
หลกั ความพอประมาณ การใช้เวลาในการศกึ ษาความรู้และทำงานเหมาะสมกบั เวลา
หลักมเี หตุผล การเลอื กและอธิบายเรอื่ งท่ีเรียนร้ไู ดอ้ ย่างเหมาะสมและ
ถกู ต้อง
หลกั สรา้ งภูมิคุ้มกนั ตัวทีด่ ี
เงื่อนไขความรู้ การเลอื กศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นรู้ มกี ารวางแผนการทำงานกลมุ่
เง่ือนไขคุณธรรม การเรียนร้แู ละปฏบิ ัตเิ ร่อื งท่ไี ด้ศึกษาอย่างชดั เจน
มคี วามซอ่ื สตั ย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง มีความ
ด้านเศรษฐกิจ ร่วมมอื ในการจดั กิจกรรม
ดา้ นสังคม มกี ารคิดวางแผนในการทำงานอย่างรอบคอบ
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ช่วยเหลอื ซึง่ กันและกนั รู้รกั สามคั คีในการทำงานรว่ มกัน
ด้านวัฒนธรรม รจู้ ักใช้และจัดการในการทำกิจกรรมอยา่ งฉลาดและทำให้เกิด
การเรยี นร้สู งู สดุ
รู้จกั แยกแยะในการใช้ชวี ิตรว่ มกันในช้นั เรียนอยา่ งมคี วามสุข
บันทกึ หลงั สอนแผนการสอนท่ี ...............
1. ผลการสอนระดับชั้น ม..5.....
สอนได้ตามแผนการจดั การเรียนรู้
สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ เนื่องจาก ...............................................................................................
12. ผลทเ่ี กิดกับผเู้ รียน
1.) การประเมินผลความรหู้ ลังการเรียน โดยใช้………………......................................................พบวา่ นกั เรยี นผ่านการประเมิน
คิดเปน็ ร้อยละ......................……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ขั้นตำ่ ทกี่ ำหนดไวค้ ดิ เป็นรอ้ ยละ.......................................................
ได้แก่ ...................................................................................................................................................................................
2.) การประเมินดา้ นทกั ษะกระบวนการเรยี น โดยใช…้ ……………………................................................พบว่านักเรียนผ่านการ
ประเมนิ คดิ เป็นร้อยละ................ ไม่ผ่านเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่ีกำหนดไวค้ ดิ เป็นรอ้ ยละ.................................................
ได้แก่ .......................................................................................................................................................................................
3.) การประเมนิ ดา้ นคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ เรียน โดยใช้……………………….....................................พบว่านักเรียนผา่ นการ
ประเมินคิดเป็นร้อยละ.......……. ไมผ่ า่ นเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนดไวค้ ดิ เป็นรอ้ ยละ........................................................
ได้แก่ .................................................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอปุ สรรค
กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
มีนักเรยี นทำใบงาน/ใบกิจกรรมไมท่ ันตามกำหนดเวลา
มีนักเรยี นท่ีไม่สนใจเรียน
อื่น ๆ .............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ควรนำแผนไปปรับปรุง เร่ือง ......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ไี มผ่ ่านการประเมิน ..................................................................................
.......................................................................................................................................................
ไมม่ ขี ้อเสนอแนะ
ลงชื่อ............................................................ ผสู้ อน
( นางมารหี ยาม อนิ ทรวิเศษ )
วันท.ี่ ......./.................../.................
ความคดิ เห็นของหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ความคิดเห็นของหัวหน้างานวชิ าการ
และเทคโนโลยี 1.เปน็ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2.การจัดกจิ กรรมการเรียนรูไ้ ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
2.การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ได้นำเอากระบวนการเรยี นรู้ ทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง
ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสมกบั ศกั ยภาพท่แี ตกตา่ งกันของผู้เรียน
เหมาะสมกับศักยภาพทแ่ี ตกตา่ งกันของผเู้ รยี น ท่ยี งั ไม่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคญั ควรปรบั ปรงุ พฒั นา
ท่ียงั ไม่เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ควรปรับปรุงพัฒนา
ตอ่ ไป
ตอ่ ไป 3.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้
3.เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ นำไปใช้ได้จริง ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใช้
นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4.ข้อเสนอแนะอื่นๆ
4.ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ
ลงชอ่ื .................................................................... ลงชือ่ ....................................................................
(นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน) (นางสาวณฐั ญิ า คาโส)
หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรฯ์ หัวหนา้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 12
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ฯ รายวชิ า ชวี วิทยา5 รหัสวิชา ว30245
ปีการศกึ ษา 2564
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 3 ชั่วโมง
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เร่อื ง มลพษิ ทางนำ้ และการแก้ปญั หา
1. สาระสำคัญ / ความคดิ รวบยอด
ระบบนิเวศ คอื การศกึ ษาความสัมพันธข์ องส่งิ มีชีวติ และระหว่างส่ิงมชี วี ติ กับส่ิงแวดล้อมที่เปน็ แหล่งท่อี ยู่
อาศยั โดยแบ่งตามระดบั กลุม่ ประชากร กลมุ่ สง่ิ มชี ีวติ ระบบนิเวศ และโลกของสง่ิ มชี วี ติ ซง่ึ สิง่ มีชีวิตมีความสัมพนั ธ์
กันเอง และกับสิ่งแวดลอ้ ม ทำให้ระบบนเิ วศมีการถ่ายทอดพลงั งาน การกระจายของพลังงานนท้ี ำให้เกดิ การ
แพร่กระจายของสงิ่ มชี วิ ิต เนอ่ื งจากบริเวณใดมีทรัพยากรเพียงพอ จะมปี ระชากรของสิ่งมชี ีวิตอาศยั อยู่อย่างหนาแน่น
แต่ถงึ อยากไรกต็ าม ระบบนเิ วศไมค่ งทเ่ี สมอไป เม่ือเกิดการเปล่ยี นแปลงของระบบนิเวศจะเกดิ การหมุนเวียนสิ่งมีชวี ิต
โดยเริ่มต้นจากผเู้ บกิ เบิก ไปจนถงึ ส่ิงมีชีวิตขนั้ สงู สุด ในระบบนิเวศยังมีการหมนุ เวียนของสารอกี ดว้ ย
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้วี ัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
5.เขา้ ใจแนวคิดเกย่ี วกบั ระบบนเิ วศ กระบวนการถา่ ยทอดพลังงานและการหมนุ เวยี นสารในระบบนเิ วศ
ความหลากหลายของไบโอม การเปลย่ี นแปลงแทนท่ขี องสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบการเพมิ่ ของ
ประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปญั หาและผลกระทบทเี่ กดิ จากการใชป้ ระโยชน์ และแนวทางการ
แกไ้ ขปญั หา
ผลการเรยี นรู้
9. วเิ คราะห์ อภปิ รายและสรปุ ปญั หาการขาดแคลนน้ำ การเกิดมลพษิ ทางน้ำและผลกระทบท่ีมีตอ่ มนุษย์และ
ส่ิงแวดลอ้ มรวมท้ังเสนอแนวทางการวางแผนการจัดการนำ้ และการแกไ้ ขปัญหา
3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (K,P,A)
47. บอกปัญหาทที่ ำให้เกิดมลพิษทางน้ำได้ (K)
48. บอกปญั หาทที่ ำให้เกดิ การขาดแคลนน้ำได้ (K)
49. ยกตวั อยา่ งแนวทางแกไ้ ขปญั หามลพษิ ทางนำ้ ได้ (K)
50. ออกแบบและนำเสนอแนวทางในการอนุรกั ษน์ ำ้ ได้ (P)
51. สนใจใฝ่เรยี นรทู้ างการศึกษา (A)
4. สาระการเรียนรู้
- มลพิษทางนำ้ และแนวทางแกไ้ ข
5. กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
3. กระตนุ้ นกั เรียนด้วยคำถาม
- ในปัจจุบันมลพษิ ในระบบนเิ วศมกี ่อี ยา่ ง อะไรบา้ ง (น้ำ อากาศ ดิน และปา่ ไม้)
- มลพิษในระบบนเิ วศเกิดจากสาเหตุใด (เกดิ จากภยั ธรรมชาติ เกดิ จากการกระทำของมนษุ ย์)
- สามารถฟ้ืนฟูระบบนิเวศไดห้ รือ (ได้ แตต่ อ้ งไดร้ ับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆและประชากร
ท่อี าศยั อยใู่ นระบบนิเวศนัน้ ๆ)
- เมื่อเกดิ มลพษิ ในระบบนิเวศมีผลเสยี อย่างไร (สิง่ มีชีวติ ล้มตายมากขน้ึ สภาพระบบนิเวศแย่ไม่
เหมาะแกก่ ารเป็นแหลง่ ทอ่ี ยูข่ องส่ิงมชี วี ิต)
- เราสามารถกระจายข่าวการรณรงค์ได้ตามช่องทางใดบ้าง (ป้ายรณรงค์ หรือตามสอ่ื โซเซียลตา่ งๆ
เปน็ ต้น)
ขัน้ ท่ี 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)
7. ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 4 – 5 คน ศกึ ษาค้นควา้ เร่อื ง มลพษิ ทางนำ้ การแก้ปัญหา
8. ใหน้ ักเรยี นแลกเปลีย่ นข้อมูลจากการศกึ ษาและจากการทำกิจกรรมกับเพ่อื นในหอ้ งเรยี น
9. ครูและนักเรยี นรว่ มกันอภิปรายผลการศกึ ษาค้นควา้ และการทำกิจกรรม เรือ่ ง มลพษิ ทางน้ำการ
แก้ปัญหา สรปุ ผลและร่วมกันสร้างองค์ความรใู้ หม่
ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
- น้ำคือปจั จัยสำคญั ในการดำรงชวี ติ ของคนและส่ิงมชี ีวิต เปน็ แหลง่ กำเนดิ ของสตั ว์น้ำและพชื
หลากหลายชนิด นอกจากน้นั น้ำยงั มปี ระโยชน์ในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม มปี ระโยชน์
สำหรบั ครวั เรอื น ในการดืม่ กิน ใช้ประกอบอาหาร หรือใชช้ ำระลา้ งร่างกายและสง่ิ สกปรกตา่ งๆ
และนำ้ ยังทำใหเ้ กิดความอุดมสมบูรณ์แก่ส่งิ มชี ีวิต
- คณุ สมบัติของนำ้ ท่ีเปน็ ประโยชนส์ ำหรับมนุษย์และสงิ่ มชี ีวติ มากทสี่ ดุ ก็คือ นำ้ บรสิ ุทธ์ิ
สะอาด ปราศจากเชื้อโรคและสารพษิ เจือปน
- ในอดีตมนุษยส์ ามารถนำทรพั ยากรน้ำจากแหลง่ นำ้ ตามธรรมชาตมิ าใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ต่างจาก
ปัจจบุ นั ทเ่ี กิดปัญหาด้านคุณภาพของน้ำ หรอื เกดิ มลพษิ ทางน้ำจนไม่สามารถนำน้ำจากแหลง่ น้ำ
ตามธรรมชาติมาใช้ได้ ซงึ่ ปัญหาเหล่านี้เกดิ ขน้ึ ไดจ้ ากหลายสาเหตุ
- สาเหตุที่ก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำ
- เกิดจากน้ำทงิ้ และสิง่ ปฏกิ ูลจากแหล่งชมุ ชน เชน่ นำ้ ที่ใชซ้ กั ฟอกทำความสะอาดซ่ึงส่วน
ใหญม่ สี ารอินทรยี ป์ ะปนมากับน้ำท้งิ เหล่านั้นจนทำใหเ้ กดิ มลพษิ ทางนำ้
- น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหากโรงงานมกี ารลักลอบปล่อยนำ้ เสยี ลงในแหลง่ นำ้ ทำให้
นำ้ เน่าเสยี ไดง้ ่ายเพราะมปี ริมาณมากและสารปนเปื้อนมีอตั ราสงู
- นำ้ เสียท่เี กิดจากธรรมชาติ อาจเกิดจากการเน่าเสยี เมื่อน้ำอยใู่ นสภาพนิง่ ไมม่ กี ารไหลเวียน
ถา่ ยเท
- เกดิ จากพื้นที่ทำการเกษตร เนือ่ งจากเกษตรกรส่วนใหญ่นยิ มใช้นำ้ ยาปราบศัตรูพชื กนั มาก
ขน้ึ จึงทำให้มีสารตกค้างอย่ตู ามตน้ พืชและพน้ื ผวิ ดิน เม่อื ฝนตกและพัดพาเอาสารพิษทต่ี กคา้ งลง
สู่แม่น้ำลำคลองก็ทำให้เกิดมลพิษทางนำ้ ขึ้นได้
- ผลกระทบทเ่ี กิดจากมลพษิ ทางนำ้
- กระทบตอ่ วงจรชวี ติ ของสตั ว์นำ้ เชน่ นำ้ เสียทเี่ กิดจากสารพิษอาจทำใหป้ ลาและสิง่ มชี วี ติ
ตายทนั ที สว่ นน้ำเสียทเ่ี กิดจากออกซเิ จนในนำ้ ลดตำ่ ลง อาจทำลายพชื และสตั ว์น้ำเลก็ ๆทเ่ี ป็น
อาหารของปลา ทำใหค้ วามอุดมสมบรู ณ์หรือแหล่งอาหารของสัตวน์ ำ้ ลดลง
- เปน็ แหลง่ แพรร่ ะบาดของเชือ้ โรค เช่น อหวิ าตกโรค บิด และทอ้ งเสยี
- มีผลกระทบต่อการเพาะปลูก เพราะน้ำเสียท่ีมคี วามเปน็ กรดและด่างไมเ่ หมาะสำหรบั ทำ
การเกษตร
- มผี ลตอ่ กระทบต่อทัศนียภาพ เพราะความสวยงามของแหล่งนำ้ สามารถใชเ้ ปน็ สถานท่ี
พักผอ่ นหย่อนใจ หรือจัดกิจกรรมทางน้ำเพอื่ ความบันเทงิ ได้
- ทำใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ เชน่ มีกลนิ่ เหมน็ จากน้ำเน่าเสีย
- วธิ ปี อ้ งกนั ปัญหามลพษิ ทางน้ำ
- ปลูกจิตสำนึกใหก้ ับเยาวชนในการเรยี นรู้และเห็นคุณคา่ ของการอนุรักษ์นำ้
- สรา้ งจติ สำนกึ ให้ประชาชนตระหนกั ถงึ ความสำคัญในการรกั ษาคุณภาพของแหลง่ นำ้
- รณรงค์ใหห้ น่วยงาน องค์กรตา่ งๆมีการบำบัดและขจดั สารพษิ กอ่ นท่ีจะปลอ่ ยลงส่แู หลง่ นำ้
- รณรงค์ใหช้ ่วยกนั ลดปรมิ าณการใช้น้ำ และลดปริมาณขยะในครวั เรือน
- ช่วยกนั ป้องกันน้ำเนา่ เสยี ไมท่ ิ้งขยะและสิ่งปฏิกลู หรือสารพิษลงในแหล่งน้ำ หรอื ท่อระบาย
น้ำ
- ปัญหาน้ำเน่าเสยี หรอื การเกิดมลพษิ ทางน้ำ สว่ นใหญเ่ กิดจากการกระทำของมนษุ ย์ ดงั น้ันการ
ถ่ายทอดความรใู้ หก้ ับเดก็ เยาวชน รวมทงั้ พ่อแมผ่ ู้ปกครองและประชาชนทั่วไป ใหต้ ระหนกั ถึง
ผลเสียและรบั รู้การปอ้ งกนั ปญั หานำ้ เนา่ เสยี อย่างถกู ตอ้ ง เปน็ การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ทางน้ำอยา่ ง
ถูกวธิ แี ละไดผ้ ลอยา่ งยัง่ ยืน
ข้นั ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ให้นักเรยี นออกแบบปา้ ยรณรงค์ เร่ือง การอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสตั วป์ า่ ขนาดของป้ายคือ
กว้าง 60 cm x ยาว 120 cm พร้อมทั้งข้อความและภาพทท่ี ำใหเ้ กิดการสำนักในการอนรุ ักษ์
ขัน้ ท่ี 5 ประเมนิ (Evaluation)
1. นักเรียนตรวจสอบหรอื ประเมินขัน้ ตอนต่าง ๆ ทเี่ รียนมาในวันนีม้ จี ดุ เด่น จดุ บกพร่องอะไรบา้ ง มีความ
สงสยั ความอยากรอู้ ยากเห็นในเรื่องใด
2. นกั เรียนประเมินตนเอง โดยเขยี นแสดงความร้สู ึกหลังการเรยี น ในประเดน็ ต่อไปนี้
- ส่งิ ท่นี กั เรยี นได้เรยี นรู้ในวนั น้ีคอื อะไร
- นกั เรียนมสี ว่ นร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด
- เพ่ือนนกั เรียนในกลมุ่ มีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด
- นักเรียนพึงพอใจกับการเรยี นในวนั นี้หรอื ไม่ เพยี งใด
- นกั เรียนจะนำความรทู้ ่ีไดน้ ้ีไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครัว และสงั คมทว่ั ไปไดอ้ ย่างไร
จากน้ันแลกเปล่ียนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขัน้ ตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สงั คม เกดิ ประโยชน์ต่อสังคม
ให้มากขน้ึ กว่าเดมิ ในขั้นตอนใดบ้าง สำหรบั การทำงานในครั้งต่อไป
6. ส่ือ / แหล่งการเรียนรู้
- สือ่ Power Point เรอ่ื ง ระบบนิเวศ
- วิดิทศั น์ เรือ่ ง มลพิษกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
- แหล่งเรยี นรูใ้ นและนอกห้องเรยี น
7. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน/รอ่ งรอยการเรียนร)ู้
- ป้ายรณรงค์ เรอื่ ง การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสตั ว์ป่า
8. การวดั และประเมินผล
แบบประเมนิ การปฏิบตั กิ ารทำกิจกรรม
รายการการ ระดบั คุณภาพ
ประเมนิ 4 3 21
1. การทำกจิ กรรม ทำกิจกรรมตามวธิ ีการ ทำกิจกรรมตามวิธีการ ทำกจิ กรรมตามวธิ ีการ ทำกิจกรรมไม่ถกู ต้องตาม
ตามแผนทก่ี ำหนด และขัน้ ตอนทก่ี ำหนดไว้อย่าง และขนั้ ตอนทก่ี ำหนดไว้ดว้ ย และข้ันตอนทก่ี ำหนดไวโ้ ดยมีครู วิธกี ารและข้ันตอนที่
ถกู ตอ้ งดว้ ยตนเองมีการปรับปรุง ตนเอง มีการปรบั ปรงุ แกไ้ ขบา้ ง หรือผอู้ ื่น กำหนดไว้ ไม่มกี ารปรบั ปรงุ
แก้ไขเป็นระยะ เป็นผ้แู นะนำ แก้ไข
2. การใช้อปุ กรณ์ ใช้อปุ กรณ์และ/หรือ ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรือ ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรอื ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรอื
และ/หรอื เครื่องมือ เครือ่ งมือในการทำ เครื่องมอื ในการทำ เคร่ืองมือในการทำ เครือ่ งมอื ในการทำ
กจิ กรรมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตาม กิจกรรมได้อย่างถูกต้องตาม กิจกรรมได้อยา่ งถูกต้องโดยมคี รู กิจกรรมไม่ถกู ต้อง และไม่มี
หลกั การปฏบิ ตั ิและคลอ่ งแคล่ว หลักการปฏิบัติ แตไ่ ม่ หรอื ผอู้ ่ืนเปน็ ผแู้ นะนำ ความคลอ่ งแคล่วในการใช้
คลอ่ งแคลว่
3. การบนั ทกึ ผลการ บันทึกผลเป็นระยะ บนั ทกึ ผลเป็นระยะ บนั ทกึ ผลเป็นระยะ บนั ทึกผลไม่ครบ
ทำกิจกรรม อย่างถกู ตอ้ ง มีระเบยี บมีการระบุ อย่างถกู ต้อง มรี ะเบยี บมีการ แต่ไมเ่ ป็นระเบียบ ไม่มกี ารระบหุ นว่ ย
หนว่ ย มกี ารอธิบายข้อมูลใหเ้ ห็น ระบหุ นว่ ย มีการอธิบายข้อมลู ไมม่ ีการระบหุ นว่ ย และไมเ่ ป็นไปตาม
ความเช่ือมโยงเป็นภาพรวมเป็นเหตุ ใหเ้ ห็นถงึ ความสมั พันธ์เปน็ ไป และไมม่ ีการอธบิ ายข้อมูลใหเ้ หน็ การทำกิจกรรม
เป็นผล และเป็นไปตามการทำกิจกรรม ตามการทำกิจกรรม ถึงความสัมพันธ์ของการทำ
กิจกรรม
4. การจัดกระทำ จดั กระทำข้อมลู จัดกระทำข้อมูล จัดกระทำข้อมลู จัดกระทำขอ้ มลู อยา่ งไม่
ขอ้ มลู และการ อยา่ งเปน็ ระบบมีการเชื่อมโยงให้ อยา่ งเปน็ ระบบ มกี าร อยา่ งเปน็ ระบบมกี ารยกตวั อยา่ ง เป็นระบบ และมีการ
นำเสนอ เห็นเปน็ ภาพรวม และนำเสนอ จำแนกข้อมูลใหเ้ หน็ เพิ่มเตมิ ให้เข้าใจงา่ ย และนำเสนอ นำเสนอไม่สื่อความหมาย
ดว้ ยแบบต่าง ๆอย่างชัดเจนถูกตอ้ ง ความสัมพนั ธ์ นำเสนอ ด้วยแบบต่าง ๆ แต่ยังไม่ชดั เจน และไมช่ ดั เจน
ดว้ ยแบบตา่ ง ๆ ได้ และไมถ่ กู ต้อง
แตย่ งั ไมช่ ัดเจน
5. การสรุปผลการทำ สรุปผลการทำกจิ กรรม สรปุ ผลการทำกจิ กรรม สรุปผลการทำกิจกรรมได้โดยมีครู สรปุ ผลการทำกจิ กรรม
กิจกรรม ได้อย่างถูกตอ้ ง กระชบั ชัดเจน ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง แตย่ งั หรอื ผ้อู ื่น ตามความรทู้ ่ีพอมีอยู่
และครอบคลุมข้อมูลจากการ ไม่ครอบคลมุ ขอ้ มูล แนะนำบา้ ง จึงสามารถ โดยไมใ่ ชข้ ้อมูล
วเิ คราะห์ จากการวเิ คราะหท์ ัง้ หมด สรปุ ได้อยา่ งถูกต้อง จากการทำกิจกรรม
ทั้งหมด
6. การดูแลและการ ดแู ลอุปกรณ์และ/หรือเครอ่ื งมอื ใน ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรือเครอ่ื งมือ ดแู ลอปุ กรณแ์ ละ/หรือเครื่องมือใน ไม่ดูแลอปุ กรณ์และ/หรือ
เก็บอุปกรณ์และ/ การทำกิจกรรม และมีการ ในการทำกจิ กรรม และมกี าร การทำกิจกรรม มีการทำความ เคร่อื งมือในการทำกิจกรรม
หรอื เครื่องมือ ทำความสะอาดและเกบ็ อยา่ ง ทำความสะอาดอย่างถกู ต้อง แต่ สะอาด แตเ่ ก็บไมถ่ ูกต้อง ตอ้ งให้ และไม่สนใจทำความ
ถูกตอ้ งตามหลกั การและแนะนำให้ เก็บ ครูหรือผู้อนื่ แนะนำ สะอาด รวมทงั้ เก็บไม่
ผ้อู ื่นดูแลและเกบ็ รักษาได้ถูกตอ้ ง ไม่ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง
แบบประเมินชิน้ งาน การจัดกระทำและนำเสนอแผนผงั
รายการการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมนิ
432 1
การจัดกระทำและ
นำเสนอแผนผงั จดั กระทำแลนำเสนอ จดั กระทำและ จัดกระทำและ จัดกระทำและนำเสนอ
แผนผังได้ แต่ไม่
แผนผัง ได้สัมพนั ธก์ ัน นำเสนอ แผนผงั ได้ นำเสนอแผนผงั ได้ สอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้
เร่ืองที่กำหนด
และถกู ต้องตามหวั ข้อ สมั พนั ธ์กบั หัวขอ้ เรอื่ ง ตามหัวข้อเรื่อง
เร่ืองท่กี ำหนด มกี าร ทีก่ ำหนด มกี าร โดยมคี รูหรอื ผู้อ่ืน
วางแผน มกี าร ออกแบบ มีความคิด ใหค้ ำแนะนำ
ออกแบบ และมี ริเริม่ แต่ไมม่ กี าร
ความคิดสร้างสรรค์ เชอ่ื มโยงใหเ้ หน็ เปน็
มีการเชื่อมโยงใหเ้ ห็น ภาพรวม
เป็นภาพรวม
แบบประเมนิ การสืบสอบขอ้ มูล
รายการการ ระดับคณุ ภาพ
ประเมนิ 4 3 21
1. การวางแผน วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู จาก วางแผนท่ีจะค้นคว้าข้อมลู วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู ไมม่ ีการวางแผนทีจ่ ะ
คน้ ควา้ ข้อมูล แหล่งการเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย จากแหลง่ การเรียนรู้ที่ จากแหลง่ การเรียนรโู้ ดยมี ค้นควา้ ข้อมลู จาก
จากแหลง่ การ เชือ่ ถือได้และมีการเช่ือมโยงให้เห็น หลากหลาย และเหมาะสม ครูหรอื ผอู้ น่ื แนะนำบ้าง แหล่งการเรียนรูอ้ ยา่ ง
เรียนรู้ เป็นภาพรวม แสดงให้เห็น แต่ไม่มีการเช่ือมโยงให้ เปน็ ระบบ
ถงึ ความสัมพันธ์ของ เหน็ เป็นภาพรวม
วิธีการทัง้ หมด
2. การเก็บ เก็บรวบรวมข้อมูล เกบ็ รวบรวมข้อมลู เก็บรวบรวมขอ้ มลู เก็บรวบรวมข้อมลู
รวบรวม ตามแผนทีก่ ำหนด โดยคดั เลือกและ/หรอื โดยไม่มกี ารคดั เลือก เป็นระยะ ขาดการ
ขอ้ มูล ทกุ ประการ ประเมินข้อมูล และ/หรอื ประเมินขอ้ มลู ประเมินเพอ่ื คัดเลอื ก
3. การจัด จดั กระทำขอ้ มูล จดั กระทำขอ้ มูล จดั กระทำข้อมูล จัดกระทำข้อมลู อยา่ ง
กระทำขอ้ มูล อยา่ งเป็นระบบ อยา่ งเป็นระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ปน็ ระบบ และ
และการ มกี ารเชือ่ มโยงให้เห็น จำแนกขอ้ มลู ให้เหน็ มีการยกตวั อย่างเพิ่มเติมให้ นำเสนอไมส่ ่ือ
นำเสนอ เป็นภาพรวม และนำเสนอด้วยแบบ ความสัมพนั ธ์ นำเสนอ เข้าใจง่ายและนำเสนอด้วย ความหมายและไม่
ต่าง ๆ อยา่ งชดั เจนถกู ต้อง ดว้ ยแบบตา่ ง ๆ ได้ แบบต่าง ๆ แต่ยังไม่ถูกต้อง ชัดเจน
อย่างถกู ต้อง
4. การสรุปผล สรุปผลได้อย่างถกู ตอ้ ง สรุปผลได้อย่างกระชบั สรปุ ผลไดก้ ระชบั สรุปผลโดยไมใ่ ช้
กระชับ ชดั เจน และ แต่ยงั ไมช่ ดั เจนและ กะทดั รดั แตไ่ มช่ ดั เจน ขอ้ มูล และไม่ถูกต้อง
ครอบคลมุ มเี หตุผล ไม่ครอบคลมุ ข้อมลู
ทอ่ี า้ งองิ จากการสบื สอบได้ จากการวเิ คราะห์
ท้ังหมด
5. การเขียน เขยี นรายงานตรงตามจดุ ประสงค์ เขยี นรายงานตรงตาม เขยี นรายงานโดยสอื่ เขยี นรายงานไดต้ าม
รายงาน ถูกต้องและชดั เจน และมีการ จุดประสงค์อย่างถูกต้อง ความหมายไดโ้ ดยมคี รหู รือ ตวั อย่าง แต่ใช้ภาษาไม่
เช่ือมโยงให้เหน็ เป็นภาพรวม และชัดเจนแต่ขาดการ ผอู้ ่นื แนะนำ ถูกตอ้ ง และไม่ชัดเจน
เรยี บเรยี ง
9.การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 หว่ ง 2 เง่ือน 4 มติ ิ)
หลกั ความพอประมาณ การใช้เวลาในการศกึ ษาความรู้และทำงานเหมาะสมกบั เวลา
หลักมเี หตุผล การเลอื กและอธิบายเรอื่ งท่ีเรียนร้ไู ดอ้ ย่างเหมาะสมและ
ถกู ต้อง
หลกั สรา้ งภูมิคุ้มกนั ตัวทีด่ ี
เงื่อนไขความรู้ การเลอื กศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นรู้ มกี ารวางแผนการทำงานกลมุ่
เง่ือนไขคุณธรรม การเรยี นร้แู ละปฏบิ ัตเิ ร่อื งท่ไี ด้ศึกษาอย่างชดั เจน
มคี วามซอ่ื สตั ย์ มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง มีความ
ด้านเศรษฐกิจ ร่วมมือในการจดั กิจกรรม
ดา้ นสังคม มกี ารคิดวางแผนในการทำงานอย่างรอบคอบ
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ช่วยเหลอื ซ่ึงกันและกนั รู้รกั สามคั คีในการทำงานรว่ มกัน
ด้านวัฒนธรรม รจู้ ักใช้และจัดการในการทำกิจกรรมอยา่ งฉลาดและทำให้เกิด
การเรยี นรสู้ งู สดุ
รู้จกั แยกแยะในการใช้ชวี ิตรว่ มกันในช้นั เรียนอยา่ งมคี วามสุข
บันทกึ หลงั สอนแผนการสอนท่ี ...............
1. ผลการสอนระดับชั้น ม..5.....
สอนได้ตามแผนการจดั การเรียนรู้
สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ เนื่องจาก ...............................................................................................
13. ผลทเ่ี กิดกับผเู้ รียน
1.) การประเมินผลความรหู้ ลังการเรียน โดยใช้………………......................................................พบวา่ นกั เรยี นผ่านการประเมนิ
คิดเปน็ ร้อยละ......................……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ขั้นตำ่ ทกี่ ำหนดไวค้ ดิ เป็นรอ้ ยละ.......................................................
ได้แก่ ...................................................................................................................................................................................
2.) การประเมินดา้ นทกั ษะกระบวนการเรยี น โดยใช…้ ……………………................................................พบว่านักเรียนผ่านการ
ประเมนิ คดิ เป็นร้อยละ................ ไม่ผ่านเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่ีกำหนดไวค้ ดิ เป็นรอ้ ยละ.................................................
ได้แก่ .......................................................................................................................................................................................
3.) การประเมนิ ดา้ นคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ เรียน โดยใช้……………………….....................................พบว่านักเรียนผา่ นการ
ประเมินคิดเป็นร้อยละ.......……. ไมผ่ า่ นเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนดไวค้ ดิ เป็นรอ้ ยละ........................................................
ได้แก่ .................................................................................................................................................................................
3. ปญั หาและอปุ สรรค
กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
มีนักเรยี นทำใบงาน/ใบกิจกรรมไมท่ ันตามกำหนดเวลา
มีนักเรยี นท่ีไม่สนใจเรียน
อื่น ๆ .............................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ควรนำแผนไปปรับปรุง เร่ือง ......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ไี มผ่ ่านการประเมิน ..................................................................................
.......................................................................................................................................................
ไมม่ ขี ้อเสนอแนะ
ลงชื่อ............................................................ ผสู้ อน
( นางมารหี ยาม อนิ ทรวิเศษ )
วันท.ี่ ......./.................../.................
ความคดิ เห็นของหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ความคิดเห็นของหัวหน้างานวชิ าการ
และเทคโนโลยี 1.เปน็ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2.การจัดกจิ กรรมการเรียนรูไ้ ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
2.การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ได้นำเอากระบวนการเรยี นรู้ ท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง
ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสมกับศกั ยภาพท่แี ตกตา่ งกันของผู้เรียน
เหมาะสมกับศักยภาพทแ่ี ตกตา่ งกันของผเู้ รยี น ทยี่ งั ไม่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคญั ควรปรบั ปรงุ พฒั นา
ท่ียงั ไม่เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ควรปรับปรุงพัฒนา
ตอ่ ไป
ตอ่ ไป 3.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้
3.เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4.ข้อเสนอแนะอื่นๆ
4.ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ
ลงชอ่ื .................................................................... ลงชือ่ ....................................................................
(นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน) (นางสาวณฐั ญิ า คาโส)
หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรฯ์ หัวหนา้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ฯ รายวชิ า ชีววิทยา5 รหัสวิชา ว30245
ปีการศกึ ษา 2564
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 3 ชวั่ โมง
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง มลพษิ ทางอากาศและการแกป้ ัญหา
1. สาระสำคญั / ความคิดรวบยอด
ระบบนเิ วศ คือ การศกึ ษาความสัมพนั ธ์ของสิ่งมีชีวติ และระหวา่ งสง่ิ มชี ีวิตกับสงิ่ แวดล้อมท่ีเปน็ แหล่งทีอ่ ยู่
อาศัย โดยแบ่งตามระดับกลมุ่ ประชากร กลุ่มส่งิ มชี วี ติ ระบบนเิ วศ และโลกของสง่ิ มชี วี ิต ซง่ึ สง่ิ มีชีวติ มคี วามสัมพนั ธ์
กนั เอง และกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ทำใหร้ ะบบนเิ วศมกี ารถ่ายทอดพลงั งาน การกระจายของพลงั งานนีท้ ำใหเ้ กดิ การ
แพรก่ ระจายของส่ิงมีชวิ ิต เนอ่ื งจากบริเวณใดมีทรัพยากรเพยี งพอ จะมปี ระชากรของสิง่ มีชีวติ อาศัยอยู่อยา่ งหนาแนน่
แตถ่ งึ อยากไรก็ตาม ระบบนิเวศไมค่ งทเ่ี สมอไป เม่ือเกดิ การเปล่ียนแปลงของระบบนิเวศจะเกดิ การหมนุ เวียนสิ่งมชี ีวติ
โดยเร่ิมต้นจากผู้เบกิ เบิก ไปจนถึงสง่ิ มีชวี ิตขน้ั สูงสุด ในระบบนิเวศยงั มกี ารหมนุ เวียนของสารอีกดว้ ย
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู้
5.เข้าใจแนวคิดเกีย่ วกบั ระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมนุ เวียนสารในระบบนเิ วศ
ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ียนแปลงแทนท่ีของสิ่งมีชวี ิตในระบบนเิ วศ ประชากรและรปู แบบการเพิ่มของ
ประชากร ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ปญั หาและผลกระทบที่เกดิ จากการใชป้ ระโยชน์ และแนวทางการ
แกไ้ ขปญั หา
ผลการเรยี นรู้
10. วเิ คราะห์ อภปิ รายและสรปุ ปัญหามลพษิ ทางอากาศ และผลกระทบทีม่ ตี ่อมนุษย์และส่ิงแวดลอ้ มรวมทง้ั
เสนอแนวทางการแกไ้ ข ปัญหา
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (K,P,A)
52. บอกปญั หาทีท่ ำให้เกิดมลพิษทางอากาศได้ (K)
53. ยกตวั อย่างแนวทางแกไ้ ขปญั หามลพษิ ทางอากาศได้ (K)
54. ออกแบบและนำเสนอแนวทางในการฟื้นฟูมลพิษทางอากาศได้ (P)
55. ออกแบบและนำเสนอผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางอากาศได้ (P)
56. สนใจใฝ่เรียนรทู้ างการศึกษา (A)
4. สาระการเรยี นรู้
- มลพิษทางอากาศ และการแกไ้ ข
5. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ ท่ี 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
4. กระตนุ้ นักเรียนด้วยคำถาม
- ในปจั จุบันมลพษิ ในระบบนิเวศมีกี่อยา่ ง อะไรบา้ ง (น้ำ อากาศ ดิน และป่าไม)้
- มลพษิ ในระบบนเิ วศเกิดจากสาเหตุใด (เกดิ จากภยั ธรรมชาติ เกิดจากการกระทำของมนษุ ย)์
- สามารถฟน้ื ฟรู ะบบนิเวศไดห้ รือ (ได้ แตต่ อ้ งได้รับความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานตา่ งๆและประชากรที่
อาศัยอยูใ่ นระบบนิเวศนนั้ ๆ)
- เมื่อเกิดมลพิษในระบบนิเวศมีผลเสียอย่างไร (สง่ิ มีชวี ติ ลม้ ตายมากขึ้น สภาพระบบนิเวศแยไ่ ม่เหมาะแก่
การเปน็ แหล่งท่อี ยู่ของส่งิ มชี วี ิต)
- เราสามารถกระจายข่าวการรณรงค์ได้ตามช่องทางใดบา้ ง (ปา้ ยรณรงค์ หรอื ตามสอ่ื โซเซยี ลต่างๆ เป็น
ต้น)
ขนั้ ท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)
10. ใหน้ ักเรยี นแบง่ กล่มุ กลมุ่ ละ 4 – 5 คน ศึกษาค้นคว้า เร่อื ง มลพิษทางอากาศการแกป้ ญั หา
11. ให้นักเรยี นแลกเปลี่ยนขอ้ มลู จากการศกึ ษาและจากการทำกจิ กรรมกบั เพอ่ื นในห้องเรียน
12. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายผลการศึกษาค้นคว้าและการทำกจิ กรรม เรอ่ื ง มลพษิ ทางอากาศการ
แกป้ ัญหา สรุปผลและร่วมกนั สรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่
ข้นั ท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
- มลพษิ ทางอากาศ คือการปนเปอ้ื นของสารเคมี สารประกอบทางกายภาพ และสารทางชวี วิทยาใน
สิ่งแวดลอ้ ม จนกอ่ ให้เกิดความเปลยี่ นแปลงของชน้ั บรรยากาศ สว่ นใหญ่มักเกดิ จากการเผาผลาญของ
เครือ่ งยนต์ ยานพาหนะ การทำอตุ สาหกรรม หรือแมแ้ ตไ่ ฟปา่ โดยสารในมลพิษทางอากาศที่สง่ ผลต่อ
สขุ ภาพของมนุษย์ ไดแ้ ก่ อนภุ าคขนาดเล็กทีถ่ ูกกำจัดไม่หมด ก๊าซคารบ์ อนมอนอกไซด์ โอโซน
ไนโตรเจนไดออกไซด์ และซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์
- มลพษิ ทางอากาศแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่
- อนภุ าคท่เี กิดจากการเผาไหมข้ องพลงั งานเช้อื เพลงิ เชน่ น้ำมนั ถา่ นหนิ เป็นต้น
- กา๊ ซพษิ ได้แก่ ซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ คารบ์ อนมอนอกไซด์ หรอื ไอ
ระเหยจากสารเคมีตา่ ง ๆ
- โอโซนระดับพ้นื ดนิ ซง่ึ เป็นโอโซนชนิดที่ไม่ดตี ่อสุขภาพ และเป็นส่วนประกอบสำคญั ของ
หมอกควันทเี่ ป็นพิษในบริเวณตวั เมือง
- ควนั จากยาสบู ซงึ่ ประกอบไปด้วยสารเคมที ี่เปน็ พษิ และสารกอ่ ความระคายเคือง ส่งผลให้ผู้
สดู ดมเสย่ี งตดิ เชื้อในระบบทางเดนิ หายใจและโรคหอบหืด
- มลพิษทางอากาศภายใน เป็นมลพษิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายในอาคารหรอื ท่พี ักอาศยั เช่น
- อนภุ าคจากการเผาไหม้ของกา๊ ซหุงต้ม เชน่ คาร์บอนมอนอกไซด์ เรดอน เปน็ ต้น
- สารเคมีท่ีใช้ภายในบ้าน
- สารเคมีที่ใช้ในการกอ่ สรา้ ง เช่น แรใ่ ยหิน ฟอร์มาดไิ ฮด์ ตะก่วั เป็นต้น
- สารกอ่ ภมู แิ พต้ า่ ง ๆ จากภายในและนอกอาคาร เช่น ฝ่นุ สารกอ่ ภูมแิ พจ้ ากแมลงสาบและ
หนู เปน็ ต้น
- ควนั จากยาสูบ
- ราและเกสรดอกไม้
ขน้ั ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
2. ใหน้ กั เรียนออกแบบป้ายรณรงค์ เรือ่ ง การอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสัตว์ปา่ ขนาดของปา้ ยคือ
กวา้ ง 60 cm x ยาว 120 cm พร้อมท้ังข้อความและภาพทีท่ ำใหเ้ กดิ การสำนักในการอนรุ ักษ์
ขนั้ ที่ 5 ประเมนิ (Evaluation)
3. นักเรยี นตรวจสอบหรือประเมินข้นั ตอนต่าง ๆ ทีเ่ รียนมาในวนั นม้ี จี ดุ เดน่ จุดบกพรอ่ งอะไรบ้าง มีความ
สงสัย ความอยากรอู้ ยากเห็นในเรอ่ื งใด
4. นักเรียนประเมนิ ตนเอง โดยเขียนแสดงความร้สู ึกหลังการเรียน ในประเด็นต่อไปน้ี
- ส่ิงที่นกั เรียนได้เรยี นรู้ในวนั น้ีคืออะไร
- นกั เรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
- เพ่ือนนกั เรียนในกลมุ่ มสี ่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
- นักเรียนพึงพอใจกบั การเรียนในวนั น้หี รอื ไม่ เพียงใด
- นกั เรียนจะนำความรู้ท่ไี ดน้ ้ไี ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั และสังคมท่วั ไปได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปล่ียนตรวจสอบขัน้ ตอนการทำงานทุกขนั้ ตอนว่าจะเพ่ิมคุณค่าไปสู่สังคม เกดิ ประโยชน์ต่อสังคม
ให้มากขนึ้ กว่าเดมิ ในขัน้ ตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งตอ่ ไป
6. สื่อ / แหลง่ การเรียนรู้
- สอื่ Power Point เรอื่ ง ระบบนเิ วศ
- วดิ ิทศั น์ เรือ่ ง มลพษิ กับสิง่ แวดลอ้ ม
- แหลง่ เรยี นร้ใู นและนอกหอ้ งเรยี น
7. ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน/ร่องรอยการเรียนร)ู้
- ปา้ ยรณรงค์ เร่ือง การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสัตวป์ ่า
8. การวัดและประเมนิ ผล
แบบประเมนิ การปฏิบตั ิการทำกิจกรรม
รายการการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน
4 3 21
1. การทำ
กจิ กรรม ทำกจิ กรรมตามวธิ ีการ ทำกจิ กรรมตามวธิ กี าร ทำกจิ กรรมตามวธิ กี าร ทำกิจกรรมไม่ถูกต้อง
ตามแผนที่ และข้นั ตอนท่ีกำหนดไวอ้ ย่าง
กำหนด ถกู ต้องดว้ ยตนเองมีการ และข้นั ตอนท่ีกำหนดไว้ และข้ันตอนทีก่ ำหนดไวโ้ ดย ตามวธิ ีการและขน้ั ตอน
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขเปน็ ระยะ
ด้วยตนเอง มีการปรับปรุง มคี รหู รอื ผอู้ ื่น ทีก่ ำหนดไว้ ไมม่ ีการ
แก้ไขบ้าง เป็นผ้แู นะนำ ปรบั ปรุงแก้ไข
2. การใช้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละ/หรือ ใช้อุปกรณ์และ/หรือ ใชอ้ ปุ กรณ์และ/หรอื ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรือ
อปุ กรณ์และ/ เคร่อื งมอื ในการทำ เคร่อื งมอื ในการทำ เคร่ืองมือในการทำ เคร่ืองมอื ในการทำ
หรอื เคร่อื งมือ กจิ กรรมไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตาม กจิ กรรมได้อยา่ งถกู ตอ้ ง กจิ กรรมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งโดย กิจกรรมไม่ถกู ตอ้ ง และ
หลักการปฏบิ ัตแิ ละคลอ่ งแคลว่ ตามหลกั การปฏิบตั ิ แต่ไม่ มคี รู หรือผูอ้ ืน่ เป็นผแู้ นะนำ ไมม่ ีความคลอ่ งแคล่วใน
คลอ่ งแคล่ว การใช้
3. การบันทกึ ผล บันทกึ ผลเป็นระยะ บนั ทกึ ผลเป็นระยะ บันทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทึกผลไมค่ รบ
การทำกิจกรรม อย่างถูกตอ้ ง มีระเบยี บมีการ อยา่ งถูกตอ้ ง มีระเบียบมี แตไ่ ม่เป็นระเบยี บ ไมม่ ีการระบหุ นว่ ย
ระบุหน่วย มกี ารอธบิ ายขอ้ มลู การระบุหน่วย มกี าร ไมม่ ีการระบหุ น่วย และไม่เป็นไปตาม
ใหเ้ หน็ ความเชือ่ มโยงเป็น อธบิ ายขอ้ มูลให้เห็นถึง และไมม่ ีการอธิบายข้อมลู ให้ การทำกิจกรรม
ภาพรวมเป็นเหตุเป็นผล และ ความสมั พันธ์เปน็ ไป เหน็ ถึงความสัมพนั ธ์ของการ
เป็นไปตามการทำกจิ กรรม ตามการทำกิจกรรม ทำกิจกรรม
4. การจดั กระทำ จดั กระทำขอ้ มูล จดั กระทำข้อมูล จัดกระทำขอ้ มูล จดั กระทำข้อมูลอย่าง
ข้อมลู และการ อยา่ งเปน็ ระบบมกี ารเช่ือมโยง อย่างเปน็ ระบบ มีการ อย่างเปน็ ระบบมีการ ไมเ่ ป็นระบบ และมกี าร
นำเสนอ ใหเ้ หน็ เป็นภาพรวม และ จำแนกข้อมูลให้เหน็ ยกตัวอย่างเพิ่มเติมให้เข้าใจ นำเสนอไมส่ ่ือ
นำเสนอ ความสัมพนั ธ์ นำเสนอ งา่ ย และนำเสนอด้วยแบบ ความหมายและไม่
ดว้ ยแบบตา่ ง ๆอย่างชดั เจน ด้วยแบบต่าง ๆ ได้ ต่าง ๆ แตย่ ังไม่ชดั เจนและไม่ ชัดเจน
ถกู ต้อง แตย่ งั ไม่ชดั เจน ถูกต้อง
5. การสรุปผล สรปุ ผลการทำกิจกรรม สรุปผลการทำกิจกรรม สรุปผลการทำกิจกรรมได้โดย สรปุ ผลการทำกจิ กรรม
การทำกิจกรรม ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง กระชบั ชดั เจน ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง แตย่ ัง มคี รหู รือผู้อนื่ ตามความรทู้ ่พี อมีอยู่
และครอบคลมุ ข้อมลู จากการ ไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู แนะนำบ้าง จงึ สามารถ โดยไมใ่ ช้ข้อมลู
วิเคราะห์ จากการวเิ คราะห์ท้ังหมด สรุปได้อย่างถูกต้อง จากการทำกจิ กรรม
ท้ังหมด
6. การดูแลและ ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรอื เครอื่ งมือ ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื ไม่ดูแลอุปกรณ์และ/
การเกบ็ อุปกรณ์ ในการทำกจิ กรรม และมีการ เคร่ืองมอื ในการทำกจิ กรรม เคร่ืองมอื ในการทำกิจกรรม หรอื เครื่องมอื ในการทำ
และ/หรือ ทำความสะอาดและเกบ็ อย่าง และมกี าร มกี ารทำความสะอาด แต่ กิจกรรม และไม่สนใจ
เครื่องมือ ถูกตอ้ งตามหลกั การและแนะนำ ทำความสะอาดอยา่ ง เกบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง ต้องใหค้ รูหรอื ทำความสะอาด รวมท้งั
ใหผ้ ู้อน่ื ดูแลและเกบ็ รกั ษาได้ ถูกตอ้ ง แต่เก็บ ผอู้ นื่ แนะนำ เกบ็ ไม่ถกู ตอ้ ง
ถกู ต้อง ไมถ่ กู ตอ้ ง
แบบประเมนิ ช้ินงาน การจัดกระทำและนำเสนอแผนผงั
รายการการ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน
432 1
การจัดกระทำและ
นำเสนอแผนผงั จดั กระทำแลนำเสนอ จัดกระทำและ จัดกระทำและ จัดกระทำและนำเสนอ
แผนผังได้ แต่ไม่
แผนผัง ไดส้ ัมพันธ์กัน นำเสนอ แผนผังได้ นำเสนอแผนผงั ได้ สอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้
เร่ืองที่กำหนด
และถกู ต้องตามหัวขอ้ สมั พันธ์กบั หัวข้อเรอื่ ง ตามหัวข้อเรื่อง
เรือ่ งทก่ี ำหนด มกี าร ท่ีกำหนด มกี าร โดยมคี รูหรอื ผู้อ่ืน
วางแผน มกี าร ออกแบบ มคี วามคิด ใหค้ ำแนะนำ
ออกแบบ และมี รเิ รม่ิ แต่ไมม่ ีการ
ความคิดสร้างสรรค์ เชอ่ื มโยงให้เห็นเปน็
มีการเช่ือมโยงใหเ้ หน็ ภาพรวม
เป็นภาพรวม
แบบประเมินการสืบสอบขอ้ มูล
รายการการ ระดับคณุ ภาพ
ประเมิน 4 3 21
1. การวางแผน วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู จาก วางแผนท่ีจะค้นคว้าข้อมลู วางแผนทจี่ ะค้นคว้าข้อมลู ไมม่ ีการวางแผนทีจ่ ะ
คน้ คว้าขอ้ มลู แหล่งการเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย จากแหลง่ การเรียนรู้ที่ จากแหลง่ การเรยี นรูโ้ ดยมี ค้นควา้ ข้อมลู จาก
จากแหล่งการ เชอื่ ถือได้และมีการเช่ือมโยงให้เห็น หลากหลาย และเหมาะสม ครูหรอื ผอู้ น่ื แนะนำบ้าง แหล่งการเรียนรูอ้ ยา่ ง
เรียนรู้ เป็นภาพรวม แสดงให้เห็น แต่ไมม่ ีการเช่ือมโยงให้ เปน็ ระบบ
ถงึ ความสัมพันธ์ของ เหน็ เปน็ ภาพรวม
วธิ กี ารทัง้ หมด
2. การเกบ็ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เก็บรวบรวมขอ้ มูล เก็บรวบรวมข้อมลู
รวบรวม ตามแผนทีก่ ำหนด โดยคัดเลือกและ/หรือ โดยไม่มกี ารคดั เลือก เป็นระยะ ขาดการ
ขอ้ มลู ทุกประการ ประเมินข้อมูล และ/หรอื ประเมินข้อมลู ประเมินเพอ่ื คัดเลอื ก
3. การจดั จดั กระทำข้อมูล จดั กระทำข้อมลู จดั กระทำข้อมูล จัดกระทำข้อมลู อยา่ ง
กระทำขอ้ มูล อยา่ งเป็นระบบ อยา่ งเปน็ ระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ปน็ ระบบ และ
และการ มีการเชื่อมโยงให้เห็น จำแนกข้อมูลใหเ้ ห็น มีการยกตวั อย่างเพิ่มเติมให้ นำเสนอไมส่ อ่ื
นำเสนอ เป็นภาพรวม และนำเสนอด้วยแบบ ความสัมพันธ์ นำเสนอ เข้าใจง่ายและนำเสนอด้วย ความหมายและไม่
ต่าง ๆ อยา่ งชัดเจนถกู ตอ้ ง ด้วยแบบต่าง ๆ ได้ แบบต่าง ๆ แต่ยงั ไม่ถูกต้อง ชัดเจน
อย่างถูกตอ้ ง
4. การสรุปผล สรปุ ผลได้อยา่ งถูกตอ้ ง สรปุ ผลไดอ้ ย่างกระชบั สรปุ ผลไดก้ ระชบั สรุปผลโดยไมใ่ ช้
กระชับ ชัดเจน และ แตย่ ังไมช่ ัดเจนและ กะทดั รดั แตไ่ มช่ ัดเจน ขอ้ มูล และไม่ถูกต้อง
ครอบคลมุ มเี หตุผล ไม่ครอบคลุมข้อมลู
ทอี่ ้างองิ จากการสืบสอบได้ จากการวิเคราะห์
ทง้ั หมด
5. การเขยี น เขียนรายงานตรงตามจดุ ประสงค์ เขียนรายงานตรงตาม เขยี นรายงานโดยสื่อ เขยี นรายงานไดต้ าม
รายงาน ถูกต้องและชัดเจน และมีการ จดุ ประสงคอ์ ยา่ งถูกต้อง ความหมายไดโ้ ดยมคี รูหรือ ตวั อย่าง แต่ใช้ภาษาไม่
เช่ือมโยงให้เหน็ เปน็ ภาพรวม และชัดเจนแต่ขาดการ ผอู้ ่นื แนะนำ ถูกต้อง และไม่ชัดเจน
เรยี บเรยี ง