The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KMUTT Office of Sustainability, 2021-09-22 06:35:25

KMUTT Annual Report 2018

KMUTT Annual Report 2018

โครงการยอ ยที่ 3 จดั ทาํ คมู ือ  จัด KM เขาคายวิจัย เม่ือวันท่ี 27 กุมภาพันธ 2561 ผูเขารวมจํานวน 34 คน
การปฏิบตั งิ าน (SLA จาก 9 หนว ยงาน

 จัดอบรมเชิงปฎิบัติการ “เครื่องมือการสืบคน ฐานขอมูลงานวิจัย” และ
"เทคนิคการนําเสนอผลงานวิจัย" เมื่อวันท่ี 25 พฤษภาคม 2561 ผูเขารวม
จํานวน 25 คน

 จัดอบรมเชิงปฎิบัติก “การใหความรู ความเขาใจ การพัฒนางานประจําสู
งานวิจัย” โดย ดร.จรงุ ศกั ดิ์ พมุ นวน (สจล. เมือ่ วันที่ 26 กรกฎาคม 2561

จัดกิจกรรม “KM การจัดทํา Work Flow การจัดทําแผนงบประมาณเชื่อมโยง
ตั้งแตตนนํ้า-ปลายนํ้า เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2561 ผูเขารวมจํานวน 30 คน
จาก 10 หนวยงาน จัดทํากระบวนงานรวมกัน 5 เรื่อง และมีการเชื่อมโยง
กระบวนงานตนนํ้า-ปลายนํ้า 1 เร่ือง และจัดกิจกรรมจิตอาสาบรรยายหัวขอ
”ระบบงานสารบรรณ ธุรการและการจัดเก็บเอกสาร“ ในโครงการฝกอบรม-
ฝกงาน เตรียมความพรอมใหค นพิการเขา สูการทํางานในสถานประกอบการ รนุ ที่
5 เมอ่ื วันท่ี 29 สงิ หาคม 2561 ผเู ขารวมจํานวน 33 คน

กลุม 7 เลขานกุ ารระดบั คณะ

ประเดน็ ผลการดําเนนิ งาน
กจิ กรรมที่ 1 การจดั ทาํ คูมือ คูมือปฏิบตั งิ านดานการเรยี นการสอนเผยแพรใหกับคณะทํางานไดน าํ ไปปรับใช
ดา นการเรียนการสอน กบั หนวยงาน สิง่ ทไี่ ดเรียนรคู ือ บุคลากรสามารถนาํ ไปปรับใชโ ดยวเิ คราะห
กจิ กรรมท่ี 2 แลกเปลีย่ นเรียนรู ขั้นตอนการทาํ งานเพือ่ การแกไขปญ หาในกระบวนการทํางานใหเกิดระบบและ
กจิ กรรมที่ 3 สนับสนนุ กระบวนการมคี ุณภาพมากข้นึ ท้ังนี้ กลมุ ฯ มขี อเสนอแนะวา ควรมีการศกึ ษา
กระบวนการทาํ งานของระบบ วเิ คราะหก ารบูรณาการกระบวนการปฏิบัตงิ านของหนวยงานตา ง ๆ ภายใน
บรหิ ารจัดการขอ มลู JMAC มหาวิทยาลยั ท่มี คี วามเชอ่ื มโยงกนั ต้ังแต 2 หนว ยงานข้นึ ไป เพอ่ื ใหการ
และ KIRIM ดําเนนิ งานมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
คณะทํางานกลมุ เลขานุการระดบั คณะมสี วนรวมในการเปน พ่เี ลยี้ งการเล่ือน
ระดับใหก ลุมงานบรหิ ารงานทวั่ ไป และการจัดทาํ คมู อื ปฏิบตั งิ าน เร่ือง
“การจดั ทาํ แผนและงบประมาณ” เพอ่ื ใหเห็นระบบเชอ่ื มโยงตงั้ แตระดับ
ภาควิชา/ คณะ และมหาวิทยาลยั และถายทอดนโยบายและแนวทางการพฒั นา
ไปยังหนว ยงานทีร่ ับผดิ ชอบ สิ่งที่ไดเรียนรูค ือ กลยทุ ธในการดาํ เนินงานรว ม
ทงั้ การเชือ่ มโยงกระบวนการทาํ งานระหวา งเครอื ขา ยอื่นภายในมหาวิทยาลยั
และไดเ ครอื ขายการทํางานเพม่ิ ขน้ึ ทัง้ น้ี มีขอเสนอแนะวา ควรวางแผน
การทํางานรว มกบั เครือขา ยอนื่ เพิ่มข้ึนในฐานะ Mentor
อยูระหวางการดําเนนิ การ เน่ืองจากทง้ั 2 ระบบ ยงั ไมม ีผลสําเรจ็ เปน รูปธรรม
ใหนาํ ไปขยายผลตอ ในกลุมงานพันธมิตรและหนวยงานได

 รายงานประจาํ ป 2561  149

กลุม 8 ส่ือสารเชิงกลยทุ ธ

ประเดน็ ผลการดําเนินงาน
สรางความเขา ใจและการสอ่ื สาร • การจัดทําฐานขอ มูลเครือขายคณะทาํ งานการส่ือสารเชงิ กลยุทธ และ Line
ภายในทม่ี ีประสทิ ธิภาพ Group
• การประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการแลกเปลี่ยนเรียนรู และการระดมสมอง
• โครงงาน ประกอบดว ย
- การติดต้งั สือ่ ประชาสมั พันธ ดว ยมหาวทิ ยาลัยกาํ หนดอัตลักษณแ ละ
พืน้ ทจ่ี ดุ ติดตงั้ ส่อื ประชาสมั พนั ธ
- (ราง นโยบายการใชส อื่ สังคมออนไลน ( Social Media
- นโยบายการบริหารจัดการเนอ้ื หา (Content Management)
สอื่ ประชาสมั พนั ธบนจอดิจติ อล

จากการดําเนินงานขางตน ที่ประชุมกําหนดใหจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ ในหัวขอเรื่อง “นโยบาย
มจธ.” เปน ประจําทุกปอยา งนอ ย 1 ครง้ั เพอ่ื ใหบคุ ลากรสายวชิ าชพี รนุ ใหมท ่ไี มเคยเขารวมประชุม Track 2 มี
โอกาสเขารวมประชุมเพ่ือรับทราบนโยบายและเขาใจบทบาทหนาท่ีในการทํางาน เนนใหเกิดการพัฒนาการ
ทํางานอยา งตอเน่ือง ตอบสนองเปาหมายและยทุ ธศาสตรของมหาวิทยาลัย

การดําเนินโครงการ 6+1 Flagships Track 2 ยังเปนกลไกสําคัญที่ชวยถายทอดนโยบาย ทิศทางการ
พัฒนา สรางความเขาใจไปยังกลุมเครือขายการทํางานในสายสนับสนุน และเวทีที่ใหโอกาสสายสนับสนุนได
เขามามีสวนรวมในการคิด วิเคราะห และมองภาพการพัฒนางานในอนาคต เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการ
ทํางานใหมคี ณุ ภาพการมากยิ่งข้ึน และเปนกาํ ลังสําคัญในการดาํ เนินงานและพฒั นามหาวิทยาลัยตอ ไป

 รายงานประจาํ ป 2561  150

โครงการ 6+1 Flagships Track 3 (นกั ศกึ ษาปจจุบนั ศิษยเกา ผูป กครอง และผปู ระกอบการ)
คณะทํางานโครงการ 6+1 Flagships Track 3 รวมกับสํานักงานมหาวิทยาลัยสัมพันธดําเนินการ

จัดทําโครงการ “พัฒนาระบบฐานขอมูลเรียนรูคูชุมชน” เพื่อเปนฐานขอมูลท่ีรวบรวมงานวิจัย งานบริการ
วชิ าการ งานบรู ณาการการเรยี นรูของนักศกึ ษา และงานกิจกรรมนักศึกษาจากทุกหนวยงานในมหาวทิ ยาลัยไว
ดวยกัน สามารถใชเปนเครื่องมือในการวางแผน บริหารจัดการ ติดตาม วิเคราะห ประเมินผล ตลอดจนเปน
กลไกในการจัดการความรู และเผยแพรประชาสัมพันธท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รวมท้ังชวย
สนับสนุนการทํางานของเจาหนาท่ี นักศึกษา อาจารย ไดอยางดีและมีประสิทธิภาพ ชวยอํานวยความสะดวก
ในการเขาถึงฐานขอมูลในทุกโครงการ/กิจกรรม ท่ีเกิดข้ึนในทุกพ้ืนท่ี/จังหวัด (Area Based) สามารถนําไปใช
พฒั นาการทํางานใหด ีขึ้น และเสนอตอผูบริหารของหนวยงานได

ทงั้ น้ไี ววาจา งบรษิ ทั ภายนอกคือ InterSet Research and Solution เปนผดู ําเนินการพฒั นาระบบ มี
ระยะเวลาการดําเนินงานต้ังแตเดือนพฤษภาคม 2559 - ตุลาคม 2561 สําหรับผลที่ได คือ ระบบฐานขอมูล
เรียนรูคูชุมชนของมหาวิทยาลัย (Community Engagement Geographic Information System: CEGIS)
https://sociallab. kmutt.ac.th แสดงผลในรปู แบบของ Dashboard 9 รปู แบบ โดยสามารถตรวจสอบพ้ืนที่
เปาหมายเพื่อใชวางแผนการเขาถึง และประเมินผลที่คาดวาจะไดรับผานขอมูลภาพถายดาวเทียมและ
เทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศ รวมถงึ สามารถนําเสนอขอมลู ตอ ผูบ ริหารของหนวยงานเพื่อนําไปสูการวางแผน และ
การจัดการบริหารพื้นท่ีและปรับปรุงผลการดําเนินงานได โดยสามารถดึงขอมูลรายชื่อบุคลากรของ
มหาวิทยาลัยมาใชแ ละวางแผนเช่อื มขอมูลจากระบบกิจกรรมนักศึกษา (e-Activity

การดาํ เนนิ โครงการ 6+1 Flagships Track 3 เปนกลไกสาํ คญั ระหวางมหาวิทยาลัยกบั กลุมผมู ีสวนได
สวนเสีย เปนเวทีที่ทําใหไดถายทอดนโยบาย เปาหมาย และทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยใหกับกลุมผูมีสว น
ไดสวนเสียไดรับทราบ ในขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยก็ไดรับทราบประเด็นและขอเสนอแนะจากมุมมองของผมู ี
สว นไดส ว นเสยี เพอ่ื นาํ กลบั มาปรบั ปรุงและพัฒนางานดานตาง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั ใหดีย่งิ ข้ึนตอไป

 รายงานประจําป 2561  151

• โครงการปรับปรงุ และเพิ่มผลติ ภาพในการทํางาน (Productivity Improvement : PI)
ระยะท่ี 2 ปที่ 8

ดวยทางมหาวิทยาลัยไดมอบหมายใหทางศูนยนวัตกรรมระบบ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ดําเนิน
โครงการปรับปรุงและเพ่ิมผลิตภาพในการทํางาน (Productivity Improvement: PI) Phase 2 ปท่ี 8 ขึ้น
เพ่ือสานตอการดําเนินงานในการปรับปรุงและพัฒนาคูมือปฏิบัติงาน (Work Manual) การประกาศขอตกลง
ระดับการใหบริการ (Service Level Agreement: SLA) และการแลกเปล่ียนเรียนรูการทํางานระหวาง
หนวยงาน เพื่อตอยอดไปสูการกําหนดมาตรฐานการใหบริการ (Service Catalog) รวมถึงการใหความรู สราง
ความเขาใจ ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาการทํางานของหนวยงานตาง ๆ ทั้งนี้เพ่ือตอบโจทยวิสัยทัศนของ
มหาวิทยาลัย จึงควรมีการปรับการดําเนินงานในรูปแบบ Policy and Procedure มากขึ้น และสอดคลองกับ
บทบาทหนาท่ีท่ีรับผิดชอบ (Role & Responsibility) ท่ีกอเกิดความหมายตอมหาวิทยาลัย โดยทุกหนวยงาน
ในสังกดั สาํ นักงานอธิการบดีตองมีการประกาศขอตกลงระดับการใหบริการ เพ่อื การปฏบิ ตั ิงานที่เปนมาตรฐาน
ทันตอการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณปจจุบัน และเพิ่มศักยภาพในการสรางความพึงพอใจแกผูรับบริการ
ที่มาติดตอกบั หนวยงานท้ังภายในและภายนอกองคกร

การดาํ เนนิ งานในปง บประมาณ 2561 แบงออกเปน 3 สวนหลัก ๆ ไดแก
1. โครงการปรบั ปรุงและเพมิ่ ผลิตภาพในการทํางาน (Productivity Improvement: PI)
จากการดาํ เนนิ งานในปทผ่ี านมา หนวยงานยงั คงเรงปรับปรุงคมู ือปฏบิ ัตงิ าน (Work Manual) ใหเ ปน
ปจจุบัน โดยมีการวิเคราะหและปรับปรุงพัฒนางานที่รับผิดชอบ นําไปสูการประกาศขอตกลงระดับการ
ใหบริการ (Service Level Agreement) เพื่อตอยอดกระบวนการทํางานในการยกระดับการใหบริการ โดย
การกําหนดมาตรฐานการใหบริการ (Service Catalog) เพื่อสงมอบงานบริการและสรางความพึงพอใจแก
ผูรับบริการ ท่ีสอดคลองกับนโยบายดานการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยตามเปาหมายที่ 4 พัฒนา
สมรรถนะองคกรเพ่ือใหบริการอยางมีคุณภาพ (High Performance Organization) ในแผนกลยุทธ มจธ.
ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)

ภาพรวมการดําเนนิ งานโครงการ Productivity Improvement
 รายงานประจาํ ป 2561  152

จากการดําเนินงานท่ีผานมา หนวยงานในสํานักงานอธิการบดีมีการปรับปรุงคูมือปฏิบัติงาน (Work
Manual) เปนปจจุบันแลวจาํ นวน 409 กระบวนงาน จากจํานวนคูมือทั้งสนิ้ 585 กระบวนงาน คิดเปนรอยละ
69.91 ซ่ึงในจํานวนดังกลาวบางกระบวนงานมีการปรับปรุงการทํางานมาแลวหลายครั้ง เพ่ือใหสอดคลองกับ
การดําเนินงานปจจุบัน นําไปสูการประกาศขอตกลงระดับการใหบริการ (Service Level Agreement)
จํานวน 80 เรือ่ ง โดยทุก SLA จะมีการสรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน และนาํ เสนอตอที่ประชุมคณะทํางานฯ ตามรอบ
เวลาทกี่ าํ หนด

2. สรางความเขาใจ ใหค าํ ปรึกษา ปรบั ปรงุ /พฒั นาการทาํ งาน
เพ่ือเปนแนวทางในการจัดทําคูมือปฏิบัติงาน (Work Manual) และการประกาศขอตกลงระดับ

การใหบริการ (Service Level Agreement) แกหนวยงานในสํานักงานอธิการบดีและหนวยงานตาง ๆ ใน
มหาวิทยาลัย ศูนยนวัตกรรมระบบ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ในฐานะหนวยงานกลางทําหนาท่ีในการให
ความรู สรา งความเขาใจ ใหค าํ ปรึกษา ตดิ ตาม ตรวจสอบ เพ่อื ใหก ารดําเนินงานเปนไปตามแผนท่ีกาํ หนด โดย
มีการดําเนินงานรว มกบั คณะทาํ งานโครงการปรับปรุงและเพิ่มผลิตภาพในการทาํ งาน ดงั น้ี

3. กําหนดมาตรฐานการใหบรกิ าร (Service Catalog) เพ่อื ตอ ยอดการดาํ เนินงาน
พฒั นาความรวมมือ 4 สํานัก

เพอ่ื เปนการสรางมาตรฐานการบริการและสรา งความ
พึงพอใจในคุณภาพใหกับผูรับบริการ มหาวิทยาลัยจึงได
กําหนดใหมีการจัดทําขอกําหนดมาตรฐานการใหบริการ หรือ
Service Catalog ข้ึน โดยกําหนดใหหนวยงานบริการหลัก
ของมหาวิทยาลัย จํานวน 4 หนวยงาน ประกอบดวย
สํานักงานอธิการบดี สํานักบริหารอาคารและสถานท่ี
สํานักหอสมุด และสํานักคอมพิวเตอร เขารวมโครงการ โดยมี
วัตถุประสงคเ พื่อ

 รายงานประจําป 2561  153

1) กําหนดนโยบายในการจัดทาํ คูมือการใหบริการท่เี รยี กวา Service Catalog
2) กําหนดชองทางเพื่อเปนส่ือกลางในการประชาสัมพันธบริการตาง ๆ ของแตละหนวยงาน และมี

การปรบั ปรุงขอมูลใหเปน ปจ จบุ ัน สามารถเขาถึงกลุมเปา หมายไดอ ยางทวั่ ถึง สะดวก และรวดเร็ว
3) กําหนดมาตรฐานในการบริการ เพื่อสรางความพึงพอใจในคุณภาพของการใหบริการใหแก

ผรู บั บริการทง้ั ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัย
ทั้งนี้ ปจจุบันหนวยงานไดเร่ิมจัดหมวดหมูงานบริการตามลักษณะงานท่ีสัมพันธกัน มีการออกแบบ
ลักษณะการสงมอบบริการและกําหนดรายละเอียดท่ีเก่ียวของสําหรับผูรับบริการ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู
รวมกันระหวางหนว ยงาน เพ่ือปรับปรุง พัฒนาใหบริการมีความเช่อื มโยงและเปนไปในทิศทางเดยี วกัน เนนให
เขาถงึ กลมุ เปา หมายไดส ะดวกมากข้ึน

ตัวอยาง การจัดทาํ Service Catalog

ปจจุบันท้ัง 4 หนวยงาน อยูระหวางดําเนินการ โดยนําขอเสนอแนะจากท่ีประชุมคณะทํางาน
โครงการปรับปรุงและเพิ่มผลติ ภาพในการทํางาน (Productivity Improvement : PI) และผทู เ่ี กยี่ วของ เพ่ือ
พัฒนาและปรับปรุงใหสอดคลองกับสถานการณ และความตองการของผูรับบริการ รวมถึงมีการนําเคร่ืองมอื
หรือระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพ่ือสนับสนุนและอํานวยความสะดวกในการทํางานมากข้ึน และเปน
การเตรียมความพรอมในการนํามาแลกเปล่ียน เรียนรูรวมกับหนวยงานตาง ๆ ระดับคณะ สํานัก ภายใต
กิจกรรม Show & Share 2018 ซ่งึ จะจัดข้นึ ในปง บประมาณตอ ไป

 รายงานประจําป 2561  154

• การบริหารคณุ ภาพมหาวทิ ยาลัยตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา

มหาวิทยาลัยมีพัฒนาการดานการประกันคุณภาพเร่ิมจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.
2542 แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 ท่ีประกอบดวยระบบการประกัน
คุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก ซ่ึงมีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.
และสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน หรือ สมศ. เปนผูรับผิดชอบ
ตามลาํ ดบั

ตอมาในป พ.ศ. 2546 สภามหาวิทยาลัยแนะนําใหประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการ
ดําเนินงานของมหาวิทยาลัยโดยใชเกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาติ (Thailand Quality Award : TQA) ซึ่งเปน
กรอบการประเมนิ คุณภาพของระบบการบริหาร มจธ. จงึ เร่ิมสง บุคลากรระดับหวั หนาหนว ยงานของสํานักงาน
อธิการบดีเขารับการอบรมเกณฑ TQA ในป พ.ศ. 2547 และขอรับการประเมินในป พ.ศ. 2548 และ 2550
และในการใชประโยชนจากขอมูลปอนกลับ (Feedback Report) มหาวิทยาลัยไดต้ังคณะกรรมการวิเคราะห
รายงานปอนกลับ โดยมีองคประกอบของคณะกรรมการเปนผูแทนจากคณะและจากหนวยงานสนับสนุนทํา
หนาทพี่ จิ ารณาประเดน็ ท่ีตองปรับปรงุ จดั ลาํ ดบั ความสําคญั และนําเสนอตอผูบริหารเพือ่ ดาํ เนินการปรับปรุง

โดยทีเ่ กณฑการประกันคุณภาพการศึกษาท้ังภายในและภายนอก โดย สกอ. และ สมศ. ตามลาํ ดบั นั้น
ถูกออกแบบเพื่อใชกบั คณะท่ีมีการเรียนการสอน แตด วยมหาวทิ ยาลยั มหี นว ยงานเทียบเทาคณะที่ตอบพันธกิจ
วิจัยและบริการวิชาการอีกหลายหนวยงาน ในป พ.ศ.2551 สํานักงานประกันคุณภาพจึงไดริเร่ิมโครงการ
นํารอ งกับหนว ยงานระดบั คณะทไี่ มม ีการเรียนการสอน โดยเลอื กใชเ กณฑจ าก Multiple Requirements ของ
TQA มาใชบ างสวนเรยี กวา “Mini TQA”

แนวทางดังกลาวสอดคลองกับทิศทางของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ. ซึ่งรวมมือ
กับสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ จัดทําเกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการที่เปนเลิศ 2552 - 2553 ซ่ึง
เปนเกณฑท่ีแปลและเรียบเรียงมาจาก 2009 - 2010 : The Baldrige National Quality Program :
Education Criteria for Performance (EdPEx หรือเกณฑ TQA ดานการศึกษา โดยมุงหวังใหสถาบัน
อุดมศึกษาใชเกณฑดังกลาวเปนคูมือและแนวทางในการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของแตละ
สถาบัน

ในป 2553 สภามหาวิทยาลัยมีมติใหนําเกณฑ EdPEx มาใชเปนแนวทางในการนําองคกรสูเปาหมาย
อยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ กอปรกับในป 2554 อธิการบดีมีนโยบายในการนําระบบการบริหาร
คุณภาพโดยรวมเพื่อใหเกิดคุณภาพหรือ Total Quality Management (TQM) มาใชบูรณาการระบบการ
บริหารมหาวทิ ยาลยั โดยนํากรอบตามเกณฑ EdPEx มาใชเปนกลยุทธในการผลกั ดันใหเ กิด TQM โดยประยกุ ต
เปน KMUTT’s TQM Model โดยมี model ดังรปู

 รายงานประจาํ ป 2561  155

KMUTT’s TQM Model

ในการพัฒนาระบบเพื่อประกันคุณภาพ (การสรางความมั่นใจและความพึงพอใจใหแกนักศึกษาและ
ลูกคากลุมอื่น ตาม KMUTT’s TQM Model น้ัน ใชแนวทางการฝง (Embedded) แนวคิดคุณภาพลงใน
ระบบ และทําใหเกิดการทํางานในทิศทางเดียวกัน (Aligned) ใหบรรลุเปาหมายของมหาวิทยาลัย การพัฒนา
ทรัพยากรมนุษยจึงมีความสาํ คัญไมน อยไปกวาการพัฒนาระบบการทํางานและการบริหารงาน โดยในป 2561
สํานกั งานประกันคุณภาพไดด ําเนินการ ดงั น้ี

1. ปรับวิธกี ารสรางความเขา ใจแกบคุ ลากรถึงแนวความคดิ ดา นคุณภาพ
เพื่อใหเกิดความตระหนักและประยุกตในงานภายใตความรับผิดชอบของแตละบุคคล และกอเกิด

เปนวัฒนธรรมคุณภาพขององคการ โดยเฉพาะการปรับความคิดจาก “การประกันคุณภาพแบบรวมรับรู (ทํา
ตามเกณฑของ สกอ. และ สมศ. ” มาสู “การประกันคุณภาพแบบรวมสรางโดยนําความตองการและความ
คาดหวังของผูใชบัณฑิต ผูใชงานวิจัยและบริการวิชาการมากําหนดกระบวนการทํางานตาง ๆ ของมหา-
วิทยาลัย”

สํานักงานประกันคุณภาพเช่ือวาการพัฒนาใหเกิดคุณภาพอยางยั่งยืน ตองเริ่มจากการทําให
บุคลากรมีความรูและความเขาใจคุณภาพในระดับพ้ืนฐานตรงกันท้ังเร่ือง TQM, Customer and Quality
Concepts มุงหวังการสื่อสารทั่วทั้งองคกรใหมุงสูคุณภาพในทิศทางเดียวกัน ต้ังแตป 2558 สํานักงานประกัน
คุณภาพจงึ ไดพฒั นา “โครงการ Train the Trainer” เพือ่ พัฒนาผูแทนของหนวยงานใหเปนนักวิชาการดาน
คุณภาพ และสามารถนําความรูท่ีไดมาประยุกตใหเขากับบริบทของหนวยงานตนเอง เพ่ือถายทอดใหแกบุคล
การภายในหนว ยงานใหเ กิดความเขาใจและตระหนกั ในความสาํ คัญของการทาํ งานเพื่อใหเกดิ คุณภาพ สามารถ
จดั ทาํ และสง มอบคุณคา งานดังกลาวใหแกผรู บั บริการตอ ได

ดวยขอจํากัดของจํานวน Trainer ที่มีไมครบทุกหนวยงาน สํานักงานประกันคุณภาพจึงไดปรับ
ระบบการจัดสรร Trainer ประจําหนวยงาน เปลี่ยนเปนการนํา Trainer ท้ังหมดมารวมศูนยตรงกลาง หรือ
เรียกวา “Trainer Tank” แลวใหหนวยงานที่ประสงคจะจัดการฝกอบรมเสนอโครงการอบรมของหนวยงาน
และรายชื่อ Trainer (ถามี ท่ีมีความประสงคอยากใหไปสอนท่ีหนวยงานเขามาท่ีสํานักงานประกันคุณภาพ
เพ่ือทส่ี ํานกั งานประกันคุณภาพจะไดพจิ ารณาจัดสรร Trainer ท่มี ีความเหมาะสมกบั บรบิ ทของหนวยงานลงไป

 รายงานประจาํ ป 2561  156

ทําหนาท่ีเปน Trainer ท้ังน้ี สํานักงานประกันคุณภาพไดทบทวนกระบวนการจัดฝกอบรมใหความรูแตเดมิ ท่ีมี
รูปแบบการสอนเฉพาะในชน้ั เรยี น ไมสามารถตอบความตองการของผูเขารับการฝก อบรมท่ีจะนําความรูท่ีไดไป
ใชปฏิบัติงานจริง สํานักงานประกันคุณภาพจึงไดเริ่มปรับกระบวนการเรียนรูผานการปฏิบัติในรูปแบบของ
Project Improvement ซึ่งจะเรม่ิ ใชในปตอ ไป

2. พฒั นาระบบบริหารโดยใชกรอบ EdPEx เปน แนวทาง
สํานักงานประกันคุณภาพเร่ิมตนการนําแนวทางของเกณฑ EdPEx มาใชภายในมหาวิทยาลัย โดย

เริ่มตนใหหนวยงานจัดการศึกษาทั้ง 11 หนวยงานของมหาวิทยาลัยทําความเขาใจกับสภาพแวดลอม
ความสัมพันธ สภาพดานการแขงขัน และบริบทเชิงกลยุทธของหนวยงานผานการจัดทําโครงรางองคการ
(Organizational Profile : OP) ซึ่งถูกใชเปนเครื่องมือของผูบริหารในการวิเคราะหเพ่ือหา Gap ท่ีนําไปสู
การปรบั ปรงุ Performance ของหนวยงาน

ในปนี้หนวยงานจัดการศึกษายังคงจัดทํา Strategic Improvement Projects ท่ีไดมาจากการ
วิเคราะห OP โดยมีเปาหมายการปรับปรุงกระบวนการท่ีนําไปสูการบรรลุ Performance ท่ีกําหนดไวของ
แตล ะหนวยงาน โดยสํานักงานประกันคุณภาพจะทําหนา ทเ่ี ปน Facilitator เพอื่ ใหห นวยงานเขาใจเจตนาและ
กระบวนการจัดทํา Strategic Improvement Projects และเพ่ือใหครบวงจร ในปตอไปสํานักงานประกัน
คณุ ภาพจะจดั โครงการประเมนิ ตนเองตามกรอบ EdPEx เพือ่ ชว ยใหหนวยงานสามารถประเมินตนเองและหา
โอกาสในการปรับปรุงทส่ี ง ผลตอการสรา งความสามารถทางการแขงขนั และนําไปสูก ารปรบั ปรงุ ที่ชวยใหบรรลุ
Performance ของหนว ยงาน

นอกจากนี้ในระดับมหาวิทยาลัย จากปที่ผานมาท่ีผูบริหารมหาวิทยาลัยใช OP เปนเคร่ืองมือใน
การวิเคราะหเพื่อหา Gap นําไปสูการปรับปรุง Performance พรอมท้ังจัดทํา Strategic Improvement
Projects ของมหาวิทยาลยั เชนเดียวกบั หนวยงานจัดการศกึ ษา ในปนี้ ผูบ ริหารมหาวิทยาลัยไดทาํ การประเมิน
ตนเองตามเกณฑ EdPEx โดยมีสํานักงานประกันคุณภาพทําหนาที่เปน Facilitator ชวยสรางความเขาใจ
เกี่ยวกับเกณฑ EdPEx พรอมจัดทํารายงานการประเมินตนเองท่ีสรุปคุณภาพของระบบบริหารของคุณภาพ
พรอ มทัง้ ระบุ Gap ทน่ี าํ ไปสกู ารหาโอกาสในการปรบั ปรุง

 รายงานประจําป 2561  157

การประเมนิ ตนเองตามแนวทางของเกณฑ EdPEx ของผูบริหารระดบั มหาวทิ ยาลยั

การประเมนิ คุณภาพระดับหลักสตู ร
สํานักงานประกันคุณภาพมีหนาท่ีจัดการใหเกิดการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับ

หลักสูตรตามแนวทางของเกณฑ AUN-QA ซึ่งเปนเกณฑที่เปนที่ยอมรับในระดับสากลที่ไมเจาะจงสาขาใด ทุก
สาขาสามารถเลือกใชเกณฑดังกลาวเปนเครื่องมือในการบริหารเพื่อใหเกิดการพัฒนาหลักสูตร แตเดิมการ
ประเมนิ แบง ไดเ ปน 2 รูปแบบ ไดแ ก 1 Desktop + Site Assessment และ 2 Desktop Assessment

ในป 2560 จากการเก็บขอ มูลและสัมภาษณผมู สี วนไดสว นเสยี พบวา บางหลักสูตรที่มคี วามพรอม
และอยูระหวางการปรับหลักสูตรเปน OBE จะขาดโอกาสการไดรับขอมูลปอนกลับที่ครบถวนหากทําการ
ประเมินเพียงแค Desktop Assessment และอาจเปน การสน้ิ เปลืองเกนิ ไปหากทาํ การประเมินแบบ Desktop
+ Site Visit Assessment จึงมีการปรับเพ่ิมรูปแบบการประเมินใหม คือ Round Table ที่จะมีความ
คลายคลึงกับ Desktop + Site Visit Assessment แตจะมีการจัดการประเมินโดยการสัมภาษณเฉพาะบุคคล
ในคณะหรือหลักสูตร รวมทั้งใชเวลาการประเมินนอยกวา โดยในรอบป 2561 มีหลักสูตรที่ไดรับการประเมิน
ในแตล ะรูปแบบ ดังน้ี

- Desktop Assessment จํานวน 5 หลักสตู ร
- Round Table จํานวน 7 หลกั สตู ร
- Desktop + Site Visit Assessment: ไมมีหลักสูตรไดร ับการประเมนิ

 รายงานประจาํ ป 2561  158

• โครงการปรบั ปรงุ ระบบบริหารจดั การมหาวิทยาลัยใหมคี ณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ

ในการปรับปรุงระบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยใหมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนนั้น ตั้งแต
ป 2559 ผูบริหารมหาวิทยาลัยไดมีนโยบายใหดําเนินการจัดจางบริษัทที่ปรึกษาจากประเทศญี่ปุน JMA
Holdings Inc. ในเครือ Japan Management Association Consultants หรือ JMAC มาใหคําปรึกษาแก
มหาวิทยาลัย โดยไดจัดต้ังคณะทํางานฯ ภายในมหาวิทยาลัย เพ่ือรวมกันออกแบบและพัฒนาระบบบริหาร
จัดการ ใหนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชสนับสนุนการทํางานอยางเหมาะสม รวมถงึ กําหนดลักษณะและ
รูปแบบระบบ Enterprise Resource Planning: ERP เพ่ือนํามาวางแผนทรัพยากรของมหาวิทยาลัยใหเกิด
ประโยชนส งู สุด

การดําเนินงานในชวงแรก (Phase 0) โดยกําหนดแผนในการดําเนินงาน 180 วัน (มิถุนายน –
ธันวาคม 2559) เปนการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลปจจุบันของมหาวิทยาลัยในทุกดาน ท้ังขอมูลดานการ
บริหารจัดการ ขอมูลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีใชในการทํางาน ตอมาในชวงท่ีสอง (Phase 1) กําหนด
แผนในการดาํ เนินงาน 240 วัน (มีนาคม – ตลุ าคม 2560) ไดมกี ารแบง การทํางานออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุม
Strategy และกลุม Operation โดยกลุม Strategy มีหนาที่ในการทบทวนและกําหนดวิสัยทัศน เปาหมาย
กลยุทธ และตัวชี้วัดความสําเร็จ รวมถึงวิเคราะห ออกแบบกระบวนการบริหารจัดการ และความตองการ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการสนับสนุนการดําเนินงานเพ่ือใหบรรลุเปาหมายและวิสัยทัศนท่ีกําหนดไว
จากนัน้ จะสงตอขอมูลความตองการดังกลาว ใหแกก ลุม Operation ซึ่งมีหนาท่ีในการวิเคราะหแ ละออกแบบ
กระบวนการทํางาน และนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชสนับสนุนการทํางานของหนวยงานภายใน
มหาวิทยาลัย
ผลการดาํ เนินงานโครงการทผี่ า นมาและในปงบประมาณ 2561 (1 ตลุ าคม 2560 – 30 กันยายน 2561)

ดาน Strategy: การดําเนินงานเนนการรวบรวมขอมูลของมหาวิทยาลัยและทํางานรวมกันระหวาง
บริษัทที่ปรึกษากับคณะทํางานฯ โดยมีการประชุมและหารือรวมกัน เพื่อกําหนดวิสัยทัศน (Vision Setting)
กําหนด Milestones to Visionary Goal คนหาจุดเดน (Competence) ของมหาวิทยาลัย วิเคราะห
สภาพแวดลอมที่เก่ียวของ และสิ่งท่ีอาจจะสงผลกระทบตอมหาวิทยาลัย (Trend) กําหนดตัวชี้วัดความสําเรจ็
(KPIs) และกําหนดกลยุทธ (Strategy) โดยในการทํางานจะตองมีขอมูลและหลักฐานที่ชัดเจน ผูบริหารและ
บคุ ลากรมีสวนรวมคดิ และมคี วามเปน ไปไดใ นการนาํ ไปสกู ารปฏิบัติจรงิ

 รายงานประจาํ ป 2561  159

ขัน้ ตอนการดําเนินงานของ Strategy Planning

การกาํ หนด Strategic Vision จะเปน การจัดทาํ Strategy Planning โดยมีลาํ ดบั ขนั้ ตอน ดงั นี้
1. จดั ทาํ Requirement Deployment โดยใหส อดคลองกบั Business Model และ Eco-system
2. จัดทํา Overall Strategy Mapping (Major Actions, Major KPIs) โดยระบุ Systematize the

Strategy and KPI-PI-PD
3. นําหลักการและแนวคิด Strategy Deployment Model มาจัดทํา Strategy Deployment in

each Category ( Requirement, KPI, Strategy Deploy (Basic Strategy, Change Measures,
Reinforcement)
4. จัดทํา Strategy Systematize and Action Plan Sheet โดยเร่ิมจากการนํา Strategy จาก
Strategy Mapping มาจดั ทาํ Action Play เพอ่ื ใหส ามารถนาํ สูก ารปฏบิ ตั ไิ ด
ดาน Operation: การดําเนินงานมีการจัดกลุมการทํางานตามกลุมงาน (Function Groups) เพ่ือ
กําหนด Function การทํางานที่มหาวิทยาลัยจําเปนตองมี โดยมองไปถึงภาพอนาคต โดยแตละ Function
Groups อาจจะมีหลายหนวยงานที่เก่ียวของ และบางหนวยงานอาจจะเกี่ยวของมากกวา 1 Function
Groups พรอมท้ังกําหนดข้ันตอนการทํางาน (Process) โดยแบงเปน 4 ขั้นตอน ประกอบดวย กําหนด
เปาหมายการดําเนินงาน (Design) วางแผนการดําเนินงาน (Planning) ดําเนินการตามแผนที่กําหนด

 รายงานประจาํ ป 2561  160

(Execution) นําไปสูการควบคุมและติดตามผล (Control) ซึ่งในแตละขั้นตอนตองมีการกําหนดกิจกรรมที่
เกี่ยวของ (Activity) โดยมีการรวบรวมขอมูลนําไปสูการวิเคราะห เพ่ือดําเนินการและสรุปผลการดําเนินงาน
ตอ ไป

หลังจากจัดทําและออกแบบ Function Groups, Function, Process ตามขั้นตอนเรียบรอยแลว จะ
ทําใหไดขอมูลภาพรวม เพ่ือจัดทํา Request for Information (RFI) และจากน้ันจะได Request for
Proposal (RFP) เพื่อใชในการกําหนดลักษณะและรูปแบบ Enterprise Resource Planning: ERP ใชในการ
สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การของมหาวิทยาลัยใหเกิดประโยชนสูงสดุ ซ่งึ ระบบตา งๆ จะตองเช่อื มตออยางบูรณา
การ ท้ังในระดับ Master Data และระดับ Transaction โดยเช่ือมโยงขอมูล Linkage Data Management
และการจัดการ Karte Management ในลักษณะบูรณาการระบบงานโดยรวมทั้งองคกร Enterprise
Application Integration: EAI

To-Be System Configuration Image and Scope
 รายงานประจาํ ป 2561  161

ท้ังน้ี ในการดําเนินงานโครงการของกลุม Strategy & Operation น้ัน จะวางแผนการดําเนินงาน
รวมกันตลอดท้ังโครงการ จากน้ันจะวางแผนการทํางานของแตละกลุม ทั้งน้ี ระหวางการทํางานจะประสาน
และเชอ่ื มโยงขอมูลระหวา งกนั ตลอดเวลา เพอ่ื ใหงานมีความสัมพนั ธและสอดคลองไปสเู ปา หมายเดียวกนั

 รายงานประจาํ ป 2561  162

• การจดั ทาํ แผนเสนทางการพฒั นาบคุ ลากร (Training Roadmap)

มหาวิทยาลัยใหความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากร โดยเฉพาะการทําใหคนของมหาวิทยาลัยเปนคนดี
และคนเกง และดวยแนวคิด Learning Organization (องคกรแหงการเรียนรูและเอื้ออาทร ท่ีมีการเรียนรู
รว มกนั ของประชาคมในองคกร ทาํ ใหเ กิดความเขาใจอยางถองแทและคิดเชิงระบบ สามารถสรา งผลงาน ขยาย
ขีดความสามารถของตนเองและพัฒนาอยางตอเนื่อง (Continuous Improvement) มจธ. มีการพัฒนา
บุคลากรดวยวิธีท่ีหลากหลายภายใต แผนเสนทางการพัฒนาบุคลากร หรือ Training Roadmap ของ
มหาวิทยาลยั ทีป่ ระยกุ ตใ ช V - man Concept และแบง หมวดความรเู ปน 3 หมวด คอื หมวด Organization
เนนความรคู วามเขาใจเพ่ือการปฏิบตั ิงานและการบรหิ ารงานที่มปี ระสิทธิภาพ หมวด People เนนการพัฒนา
ตนเองและพัฒนาทีมงาน และหมวด Function เนนความรูความสามารถและทักษะในงานท่ีปฏิบัติ รวมท้ัง
ดานคอมพิวเตอรและภาษาอังกฤษ หมวดความรูดังกลาวสอดคลองกับการแบงกลุมบุคลากรภายใน
มหาวิทยาลยั กลาวคอื มกี ารแบงกลุมบุคลากรออกเปน 3 กลมุ ไดแก พนกั งานระดับสงู ระดบั กลาง และระดับ
ตน โดยพนักงานระดับสูงจะตองมีความรูทั้ง 3 หมวดเทาๆ กัน และมีความรูในหมวด Organization และ
หมวด People ลึกกวาพนักงานระดับกลาง สําหรับพนักงานระดับตนจะตองมีความรูในหมวด Organization
และหมวด People อยา งกวา งขวาง สัดสวนดงั แสดงในแผนภาพ

Organization Function People

พนกั งานระดบั สูง

พนกั งานระดับกลาง

พนกั งานระดับตน

มหาวิทยาลัยไดระบุการฝกอบรมตามแผนเสนทางการพัฒนาบุคลลากรเปนเงื่อนไขหนึ่งในการ
เล่ือนระดับตามเสนทางความกาวหนาในอาชีพ (Career Path) โดยกําหนดเกณฑการเขาฝกอบรมให
บุคลากรทุกคนของมหาวิทยาลัยตองเขารับการฝกอบรมตามแผนเสนทางการพัฒนาบุคลากรในระดับของ
ตนเอง และมีการพัฒนาตนเองในดา นตาง ๆ รวมกันไมน อ ยกวา 5 วัน/ป ทั้งนี้สาํ นักงานพฒั นาทรัพยากรบุคคล
เปน ผูรับผดิ ชอบในการจัดอบรมในหมวด Organization และ People สวนในหมวด Function น้ัน หนวยงาน
ตาง ๆ จะเปนผูจัดการอบรมใหกับบุคลากรของตนเอง ยกเวนหลักสูตรคอมพิวเตอรที่สํานักคอมพิวเตอรจะ
เปน ผดู ําเนินการในการจัดอบรม และคณะศลิ ปศาสตรจ ะเปนผดู ําเนินการในการอบรมหลักสูตรภาษาอังกฤษ

ผลการดําเนนิ งานดา นการพฒั นาบุคลากร ในปง บประมาณ 2561 มีดังน้ี
การพัฒนาบุคลากรไดดําเนินการตามแผนเสนทางการพัฒนาบุคลากร (Training Roadmap) และ
แผนการพัฒนาบุคลากรประจําป ภายใตสมรรถนะ 3 ดา น คอื

 รายงานประจาํ ป 2561  163

- สมรรถนะหลัก (Core Competency) หมายถึง ทักษะ และคุณลักษณะที่ทุก คนในองคกร
จําเปนตอ งมี เปน พ้ืนฐานที่จะนาํ องคกรไปสวู สิ ยั ทัศนทกี่ ําหนดไว

- สมรรถนะดานการบริหาร (Managerial Competency) หมายถึง ความรู ทักษะและ
คุณลกั ษณะดานการบริหารจัดการทจี่ าํ เปนสําหรบั พนกั งานที่มีหนาทีใ่ นระดับ จดั การ เพอ่ื ใหบรรลุ
เปาหมายวางไว

- สมรรถนะตามบทบาทหนาท่ี (Functional Competency) หมายถึง ความรู ทักษะและ
คุณลักษณะที่บุคลากรจําเปนตองมี เพ่ือใชในการปฏิบัติหนาที่ใหบรรลุเปาหมายที่ วางไว
สมรรถนะตามบทบาทหนาท่ี

รายละเอยี ดผลการดําเนินงานแตล ะดา นมีดังน้ี
1. สมรรถนะหลกั (Core Competency) ดาํ เนนิ การดังนี้

• โครงการ On-boarding
มุงเนนใหบุคลากรใหมสายวิชาการและสายวิชาชีพอื่น ๆ ไดรูจัก มจธ. ในทุกมิติ อันไดแก ความ

เปนมาและการบริหารงาน ทิศทางการพัฒนาของมหาวิทยาลัย และความกาวหนาในอาชีพของตนเอง รวมถึง
การมีสวนรวมในการชวยเหลือชุมชนและสังคม และปลูกฝงคานิยมองคกร (Core Values) ใหกับพนักงานใหม
ทุกคนใหมีความเขาใจบทบาทหนาที่ของตนเอง และปฏิบัติงานโดยยึดหลักการทํางานอยางมีคุณภาพ แบง
โครงการออกเปน 4 Phase คอื

- Phase 1 KMUTT Profile จัดกิจกรรมใหพนักงานใหมรับทราบและมีความเขาใจเกี่ยวกับ
ความเปนมาของ มจธ. และเกิดสัมพันธภาพที่ดีระหวางพนักงาน และสรางเครือขายการทํางานรวมกัน และ
รับรูเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ สิ่งอํานวยความสะดวก และสวัสดิการตาง ๆ ไดดําเนินการ จํานวน 3 รุน รวมท้ังส้ิน
145 คน (เดือนตุลาคม 2560 จํานวน 29 คน / มีนาคม 2561 จํานวน 55 คน / เดือนสิงหาคม 2561 จํานวน
61 คน

- Phase 2 KMUTT Visit จัดกิจกรรมใหพนักงานใหมไดรูจักภารกิจ และบทบาทตาง ๆ ของ
แตละพื้นท่ีการศึกษาของ มจธ. ไดดําเนินการ จํานวน 2 รุน รวมทั้งส้ิน 86 คน (เดือนกุมภาพันธ 2561 จํานวน
31 คน / เดือนมิถนุ ายน 2561 จาํ นวน 55 คน

- Phase 3 KMUTT Tools จัดกิจกรรมใหพนักงานใหมเขาใจบทบาทหนาที่ของตนเอง และ
เขาใจวิธีการปฏิบัติงาน รวมท้ังเครื่องมือท่ีชวยใหงานเกิดคุณภาพ ไดดําเนินการ จํานวน 2 รุน รวมทั้งสิ้น 141
คน (เดอื นตลุ าคม 2560 จํานวน 71 คน / เดอื นกรกฎาคม 2561 จํานวน 70 คน

- Phase 4 KMUTT Community Service จัดกิจกรรมใหพนักงานใหมไดรับรูบทบาทของ
มจธ. กับการมี สวนรวมในการพัฒนาพ้ืนที่โครงการหลวง และการมีสวนรวมในการแกไขปญหาและพัฒนา
ชุมชน จํานวน 3 รนุ รวมท้ังสนิ้ 41 คน ดังนี้

1) กิจกรรมศึกษาดูงาน จังหวัดเชียงใหม ระหวางวันท่ี 1 – 3 ธันวาคม 2560 มีผูเขารวม
กิจกรรม 13 คน

2) กิจกรรมศึกษาดูงาน จังหวัดเชียงใหม ระหวางวันที่ 15 – 17 ธันวาคม 2560 มีผูรวม
กจิ กรรม 16 คน

 รายงานประจําป 2561  164

3) กิจกรรมศึกษาดูงาน จังหวัดนาน ระหวางวันท่ี 23 – 25 ธันวาคม 2560 มีผูรวมกิจกรรม
12 คน

โครงการ On-boarding

2. สมรรถนะดานการบรหิ าร (Managerial Competency) ดาํ เนนิ การดงั นี้
1 โครงการพัฒนาความเปนผูนาํ ดวยบริบทของสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและ

เต็มไปดวยการแขงขัน สงผลกระทบตอการบริหารมหาวิทยาลัยท้ังโดยทางตรงและทางออม ปจจัยสําคัญใน
การบริหารที่ไปสูค วามเติบโตอยางย่งั ยนื และเทา ทนั ตอการแขงขัน คอื การมีบุคลากรทุกระดับมีความเปนผูนํา
ท่ีเหมาะสมตามระดับของตนเอง มีความรู ทักษะ ความชํานาญ (Skill) และ กระบวนการทางความคิด
(Mindset) ท่ีจะทําใหเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน รวมท้ังมีคุณธรรม จริยธรรม และความสามารถใน
การรับมือและปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน ดวยเหตุนี้ มหาวิทยาลัยฯ จึงมี Leadership
Competency 5 ดา น ดงั น้ี 1 Strategic & Visionary Thinking 2) Problem Solving & Decision Making
3) Driving for Results 4) Communication และ 5) Develop Self & Others และแบงโครงการพัฒนา
ความเปนผูนําสําหรับบุคลากรของมหาวิทยาลัยออกเปน 5 ระดับ คือ 1 Self Leadership 2) Project
Leadership 3) First-line Leadership 4) Senior Leadership และ 5 Executive Leadership โดยใน
ปง บประมาณ 2561 มีการดาํ เนินงานตอ เน่ือง จํานวน 3 ระดับ คือ

- Self Leadership เปนการดําเนินการท่ีมีเชื่อมโยงจากโครงการ On-boarding ท้ัง 4
Phase และเพิ่มเติมหัวขอ 7Q เพื่อความสําเร็จในการทํางาน จํานวน 2 รุน ในวันท่ี 26 มีนาคม 2561 มี
ผูเ ขารวมกิจกรรมทั้งส้นิ 81 คน

- Senior Leadership มุงการพัฒนาผูบริหารระดับกลางและเตรียมความพรอมใหมี
ความรู ความเขาใจทักษะเก่ียวกับแนวคิดและหลักการดานบริหารจัดการ และความเปนผูนําท่ีสามารถนํา
องคกรสูการเปล่ียนแปลงอยางสรางสรรค ทั้งนี้ในปงบประมาณ 2561 การดําเนินงานพัฒนาจะเปนการตอ
ยอดความรทู ีไ่ ดร บั จากภาคบรรยายของโครงการ Senior Leadership ในปง บประมาณ 2560 โดยนําความรทู ี่
ไดรับมาบูรณาการจัดทําเปนรายงานหัวขอ “บัณฑิตพันธุใหม” และ “ดิจิทัล 4.0” มีผูเขารวมโครงการท้ังสิ้น
18 คน (เฉพาะผูท่ีผานภาคบรรยายแลว เร่ิม Kick off กับผูบริหารมหาวิทยาลัย และแบงกลุมจัดทํารายงาน
เมอ่ื วนั ที่ 7 พฤษภาคม 2561

 รายงานประจําป 2561  165

- Executive Leadership เปนการพัฒนาผูบริหารระดับสูงใหไดรับการเสริมศักยภาพ
ทางดานสมรรถนะผูนํา (Leadership Skill) ดวยการประเมิน 360 องศา Extraordinary Leader TM เพ่ือวัด
สมรรถนะผูนํา 16 สมรรถนะทําใหทราบถึงจุดแข็งและขอจํากัด รวมถึงเปรียบเทียบ (Benchmark) ผลการ
ประเมินกับผูนําระดับโลก แลวนําผลท่ีไดไปใชในการวางแผนการพัฒนาตนเองท่ีชัดเจน ดําเนินการระหวาง
เดอื นสงิ หาคม - กนั ยายน 2561 มผี ูเ ขารว มการประเมนิ ทง้ั ส้นิ 8 คน

Executive Leadership

2 สงบุคลากรเขา รว มหลกั สตู รพัฒนาความเปน ผูน าํ จากภายนอกมหาวิทยาลัย
- รศ.ดร.อภิชิต เทอดโยธิน คณบดีคณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ ไดเขารวมหลักสูตร

ผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน. รุนที่ 11 จัดโดยสถาบันวิทยาการพลังงานภายใตกระทรวง
พลังงาน ระหวางวันที่ 11 มกราคม - 21 มิถุนายน 2561 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหความรูดานการบริหาร
จัดการและพัฒนาดานพลังงานมีการเรียนรูที่หลากหลาย ทั้งจากการบรรยายโดยวิทยากรผูเชี่ยวชาญและ
ผทู รงคณุ วุฒจิ ากทั้งภายในและภายนอกองคกร และการระดมสมองการใหข อ มูล

- ผศ.ดร.ทิพวรรณ ปนวนิชยกุล รองอธิการบดีฝายการเงินและทรัพยสิน ไดเขารวมหลักสูตร
ผบู รหิ ารระดบั สูง สถาบนั วทิ ยาการตลาดทุน (วตท. รุน ท่ี 25 จดั โดยสถาบันวิทยาการตลาดทนุ ระหวางเดือน
สิงหาคม - ธันวาคม 2560 ณ ประเทศญี่ปุน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางผูบริหารที่มีความรูความสามารถทาง
ธุรกิจตลาดทุน มีวิสัยทัศนอันเปนพลวัต และประกอบดวยภาวะผูนําที่มีคุณธรรม สามารถทําใหองคกรบรรลุ
เปา หมายทัง้ ดา นภารกจิ ขององคกร และบทบาทในสังคม

 รายงานประจําป 2561  166

หลกั สูตรผบู ริหารระดบั สงู สถาบนั วทิ ยาการตลาดทนุ (วตท. รนุ ที่ 25
(ที่มาภาพ: สถาบันวิทยาการตลาดทนุ https://www.cma.in.th/cma/gallery/archiveList)

- ผศ.ดร.ทวีศักด์ิ กฤษเจริญ รองคณบดีฝายแผนและประกันคุณภาพ บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการ
และนวตั กรรม ไดเ ขา รวมหลักสูตร Executive Coaching Certification & Leadership Intensive 2018 จดั โดย
Berkeley Executive Coaching Institute (Berkeley ECI) ระหวางวันที่ 2-11 กุมภาพันธ 2561 โดยมี
วตั ถปุ ระสงคเพอื่ เรียนรูร ะเบียบวธิ ี ทกั ษะ และเทคนคิ การโคช แบบมอื อาชีพ

3. สมรรถนะตามบทบาทหนาที่ (Functional Competency) ดําเนนิ การดังนี้
1 โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ (Faculty Development) ไดกําหนดเปาหมายการ
พัฒนาบุคลากรสายวิชาการ ออกเปน 4 เปาหมาย ไดแก 1 การสรางความเปนครูมืออาชีพ 2 การพัฒนา
ความสามารถดานการวิจัย 3 การมีจิตอาสาในการบริการวิชาการ และ 4 การทําความรูจัก มจธ. ปจจุบัน
มหาวิทยาลัยมีกรอบมาตรฐานวิชาชีพดานเรียนการสอน (KMUTT – Professional Standard Framework
– Learning and Teaching) ตามเปาหมายที่ 1 เพ่ือใชเปนแนวทางในการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการที่มี
ภารกิจการเรยี นการสอน โดยในปงบประมาณ 2560 ไดเริ่มตนหลักสูตรการพัฒนาบคุ ลากรสายวชิ าการระดบั
Beginner โดยสํานักงานพัฒนาทรัพยากรบุคคลรว มดาํ เนินงานกับสถาบันการเรียนรู ตามโมเดล 10 : 20 : 70
โดยจัดใหกับบุคลากรสายวิชาการที่บรรจุใหม ประกอบดวย 5 โมดูล ไดแก 1) Introduction to KMUTT
Teaching 2) การพัฒนาแผนการสอนท่ีเนนผลลัพธการเรียนรู 3) การเรียนรูแบบมีประสิทธิภาพ 4) การใช
ทรัพยากรการสอนอยางมีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนการเรียนรู และ 5) การประเมินผลลัพธการเรียนรู มี
ผูเ ขารว มโครงการ 2 รนุ จํานวน 28 คน ดงั น้ี
- รนุ ท่ี 1: วนั ที่ 27 พฤศจกิ ายน - 14 ธันวาคม 2560 จํานวน 12 คน
- รุนท่ี 2: วันท่ี 31 กรกฎาคม - 8 สงิ หาคม 2561 จํานวน 16 คน

และเพ่ือให โมเดล 10:20:70 ในสวนของ 20 (Social Learning) ซ่ึงเปนการเรียนรูทางสังคม
โดยเรียนรูจากการแลกเปล่ียนประสบการณการจัดการเรียนการสอนรวมกับอาจารยนิเทศมีประสิทธิภาพมาก
ขึ้น สถาบันการเรียนรูจึงจัดหลักสูตรอบรมอาจารยนิเทศ จํานวน 24 คน เม่ือวันท่ี 4 มกราคม 2561 มีเน้ือหา
ดังนี้ 1 บทบาทหนาท่ีของอาจารยนิเท ศ 2 การเปนอาจารยมืออาชีพ 3 เทคนิคการเปนอาจารยนิเทศก 4
เทคนิคการเขาสังเกตในช้ันเรียน 5 ทบทวนความเขาใจเก่ียวกับ KMUTT 3.0 และ KMUTT Professional
Standard Framework 6 การประเมนิ และการประเมินผลอาจารยใหมตามกรอบมาตรฐาน PSF

 รายงานประจําป 2561  167

2 โครงการการจดั การความรู (Knowledge Management : KM)

แผน KM ระยะ 10 ป 1st (2552-2553) 2st (2554-2555) 3st (2556-2558) 4st (2559-2561)
เกดิ ความรู ความเขาใจ ความ มีแผนดาํ เนินการและเกิด เกดิ การแลกเปลยี่ นเรยี นรูอยาง บุคลากร นกั ศกึ ษา
ตระหนกั เร่ือง KM มแี ผนการ การแลกเปล่ยี นเรียนรู ท่ัวถงึ ทั้งองคก ร บคุ ลากร นศ. ศิษยเ กา กลมุ เปา หมายสามารถ
ดาํ เนนิ งานภาพรวมของ มจธ. สามารถเขาถงึ /แลกเปลี่ยน/ เขาถึง/แลกเปล่ียน/เรียนรู จาก
ในวงกวา ง ฐานความรขู องมหาวทิ ยาลยั ไดทกุ ท่ี
มโี ครงการนํารอง เรียนรจู ากฐานความรขู อง
มหาวทิ ยาลัยได ทกุ เวลา

การดําเนินการดานการจัดการความรู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ปจจุบันได
เขาสูในชวงระยะที่ 4 ตามท่ีไดกําหนดไวในแผนการจัดการความรู ระยะ 10 ป มจธ. โดยในปงบประมาณ
2561 ไดด ําเนินการ ดงั นี้

- โครงการแลกเปล่ียนเรียนรูกลุมทีมงานจัดการความรู CoPs: KM Change Agent (KM
Talk) มวี ตั ถุประสงคเพ่ือสรางเครือขา ย/บรรยากาศ/วฒั นธรรม ระหวา งทมี งานจดั การความรขู องมหาวทิ ยาลัย
คณะ สํานัก และสถาบัน เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 มี KM Change Agent เขารวมจาก 15 หนวยงาน
และทีมงานจัดการความรู รวมท้ังสิ้น 38 คน โดยรวมกันระดมสมอง เร่ือง วิธีการนําเสนอ/ถายทอด การ
จัดการความรใู นรูปแบบตา ง ๆ โดยผลจากการระดมสมองจะนาํ มาใชใ นกจิ กรรม KMUTT KM DAY 2018

- โครงการ KM Day KMUTT 2018 เปนเวทีสําหรับแลกเปลี่ยนเรียนรูกระบวนการ แนวทาง
และประสบการณ การจัดการความรู ระหวางหนวยงานภายในมหาวิทยาลัย มีผูเขารวมโครงการทั้งสิ้น 199
คน และมีหนวยงานในมหาวิทยาลัยรว มแสดงนิทรรศการการจัดการความรู จาํ นวน 16 หนว ยงาน เมื่อวนั ท่ี 9
มกราคม 2561 ณ หองประชุม LIB 108 ชั้น 1 สํานักหอสมุด ท้ังนี้อธิการบดี รองอธิการบดีฝายพัฒนา
การศึกษา และรองอธิการบดฝี ายบุคคล ไดเ ขารวมเสวนาถึงทิศทางการจดั การความรูของมหาวิทยาลยั รวมถึง
ไดรับเกียรติจาก ดร. นิธินาถ สินธุเดชะ มาเปดโลกทัศนดานการจัดการความรูของภาคเอกชน และปด
โครงการฯ ดวยการแลกเปล่ียนเรียนรูเรื่อง การจัดการความรูของหนวยงานคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
สถาบันพัฒนาและฝกอบรมโรงงานตนแบบ ซ่ึงกิจกรรมในวันดังกลาวยงั มีการใชเ ครื่องมือ KAHOOT Official
LINE และ Live Facebook: KM KMUTT เขา มาชวยในการสอื่ สารและเสรมิ สรา งความรูอีกดวย

KM Day KMUTT 2018
 รายงานประจําป 2561  168

3 สัมมนาลูกจางประจํา แบง การสัมมนาเปน 2 สว น คอื
• เสวนาหัวขอ “ลูกจางคุณภาพของ มจธ.” จัดขึ้นเม่ือวันท่ี 13 กันยายน 2561 โดยมี ผศ.

สุเมธ อังคะศริ ิกลุ รองอธกิ ารบดีฝายบคุ คล เปนผนู าํ การเสวนาในประเดน็ สถานการณป จจบุ ันของมหาวทิ ยาลัย
ที่เปล่ียนแปลงตามสถานการณภายนอกท่ีเขาสูสังคมผูสูงอายุ การใชเทคโนโลยีดิจิทัลในระบบตาง ๆ ของ
มหาวิทยาลัย เพื่อใหบุคลากรมหาวิทยาลยั มีการเตรียมพรอมและรับมือกับการเปล่ยี นแปลงที่รวดเร็วนี้ ทั้งน้ีมี
ผเู ขา รวมเสวานาทัง้ ส้นิ 24 คน

• กิจกรรมนอกสถานที่ ภายใตหัวขอ “แบงปน สานสุข” ระหวางวันท่ี 15-16 กันยายน
2561 ณ โรงเรียนบานทุงกระบ่ํา จงั หวัดกาญจนบุรี โดยมวี ัตถปุ ระสงคใ หล ูกจางประจํามหาวิทยาลัยเกิดความ
ภาคภูมิใจในตนเองและหนาท่ีที่รับผิดชอบ กระตุนใหเกิดการมีสวนรวมและเปนสวนหน่ึงของสังคมไทย เกิด
การประสานงานและการทํางานรวมกนั อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงาน พฒั นาตนเอง
ได ผานกิจกรรมการปรับปรุงระบบไฟฟาของอาคารเรียน ทั้งภายในหองเรียนใหมีแสงสวางเพียงพอ และ
ภายนอกหองเรียนไดติดตั้งระบบเปดปดแสงสวางอัตโนมัติ รวมถึงเดินระบบไฟฟาเพื่อเตรียมพรอมกับการ
ติดตั้งคอมพิวเตอรในอนาคต (โดยสํานักคอมพิวเตอรจะนําเคร่ืองคอมพิวเตอรมาติดต้ัง พรอมฝกอบรมให
ความรูในเรื่องการใชงานคอมพิวเตอร การบํารุงดูแลรักษาเบ้ืองตน และการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อการ
เรียนการสอน นอกจากนี้ยังมีการทาสีอาคารเรียน ซอมแซมและทาสีโตะ เกาอี้ ประตูหองเรียน กระดานดํา
เปนตน มีผเู ขา รว มทัง้ ส้ิน 49 คน

สัมมนาลูกจางประจํา 2561

4) โครงการสมั มนาอาจารยท่ปี รึกษาวชิ าการและอาจารยท่ปี รกึ ษากจิ กรรมนักศกึ ษา
โครงการสัมมนาอาจารยที่ปรึกษาวิชาการและอาจารยที่ปรึกษากิจกรรมนักศึกษา เรื่อง การ

ดูแลสุขภาพจิตนักศึกษา จัดขึ้นเพื่อใหความรูในเรื่องความเครียด และการจัดการความเครียดในนักศึกษา
รวมถึงพัฒนาทักษะการใหคําปรึกษาของอาจารยที่ปรึกษาดวย โดจัดเม่ือวันที่ 9 สิงหาคม 2561 ภายใตกิจกรรม
การบรรยายเร่ือง “Stress and Coping: ความเครียดและการจัดการความเครียดในนักศึกษา” และ

 รายงานประจําป 2561  169

Workshop เรื่อง “Technique and Procedure of Counselling” โดยเชิญ ผศ.ดร.กุลยา พิสิษฐสังฆการ
และ ดร.สมบุญ จารเุ กษมทวี อาจารยประจาํ คณะจติ วิทยา จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย เปนวทิ ยากร มอี าจารยท่ี
ปรึกษาวิชาการและอาจารยที่ปรึกษากิจกรรมนักศึกษา และเจาหนาท่ีสนับสนุนการเรียนการสอน เชารวม
กจิ กรรมทง้ั ส้ิน 82 คน

5 โครงการพัฒนาทกั ษะคอมพวิ เตอรข องบคุ ลากร
- การทดสอบทักษะคอมพิวเตอรของบุคลากร แบงเปนการทดสอบตามสมรรถนะ 3 ดาน

คือ 1 ประมวลคํา ( Word Processing) 2 การนําเสนอแบบส่ือผสม ( Multimedia Presentations) และ 3
การสรางตารางงาน (Spread sheets) ในปง บประมาณ 2561 จํานวน 2 ครง้ั มผี เู ขาทดสอบทง้ั ส้นิ 107 คน

ครง้ั ท่ี วันท่จี ดั ทดสอบ ผเู ขาทดสอบ (คน
1/2561 20-22 กมุ ภาพนั ธ 2561 (4 รอบ 57
2/2561 18-19 กรกฎาคม 2561 (3 รอบ 50
107
รวม

- การฝกอบรมทักษะคอมพิวเตอรของบุคลากร (เฉพาะสมรรถนะท่ีบุคลากรไมผานการ
ทดสอบ การฝกอบรมทักษะคอมพิวเตอรของบุคลากรเปนการจัดฝกอบรมใหกับบุคลากรเฉพาะสมรรถนะท่ีไม
ผานการทดสอบทักษะคอมพิวเตอรในปงบประมาณ 2561 จํานวน 2 ครั้ง คร้ังละ 2 รุน มีผูเขารับการฝกอบรม
ทัง้ ส้ิน 509 คน รายละเอียดดังน้ี

คร้ังที่ หลกั สูตร วนั ทจี่ ัดอบรม ผูเขา อบรม (Level 1-2-3)
1/2561 - Word Processing (Level 1-2-3 12-13 ม.ี ค.2561 3-15-6 คน
รนุ ที่ 1 - Multimedia Presentations (Level 1-2-3 13-14 ม.ี ค.2561 16-17-17 คน
1/2561 - Spreadsheets (Level 1-2-3 15-16 ม.ี ค. 2561 12-19-14 คน
รนุ ท่ี 2 26-27 มี.ค. 2561
2/2561 รวม 27-28 มี.ค. 2561 119 คน (นับซ้าํ
รุนที่ 1 - Word Processing (Level 1-2-3 29-30 มี.ค. 2561 9-27-11 คน
2/2561 - Multimedia Presentations (Level 1-2-3 27-28 ส.ค. 2561 17-27-12 คน
รนุ ท่ี 2 - Spreadsheets (Level 1-2-3 28-29 ส.ค. 2561 16-25-11 คน
30-31 ส.ค. 2561
รวม 10-11 ก.ย. 2561 155 คน (นบั ซา้ํ
- Word Processing (Level 1-2-3 11-12 ก.ย. 2561 11-16-11 คน
- Multimedia Presentations (Level 1-2-3 13-14 ก.ย. 2561 12-12-17 คน
- Spreadsheets (Level 1-2-3 14-19-15 คน
127 คน (นับซาํ้
รวม 4-15-4 คน
- Word Processing (Level 1-2-3 10-16-9 คน
- Multimedia Presentations (Level 1-2-3 18-20-12 คน
- Spreadsheets (Level 1-2-3 108 คน (นับซ้ํา

รวม

 รายงานประจาํ ป 2561  170

6 โครงการพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษของบุคลากร
- การทดสอบวดั ระดับภาษาอังกฤษเพื่อการเล่ือนระดับ
จัดโดยสํานักงานพัฒนาทรัพยากรบุคคลรวมกับคณะศิลปศาสตร ผลการสอบวัดระดับ

ภาษาอังกฤษน้ีสามารถใชประกอบการพิจารณาเลื่อนระดับพนักงานตําแหนงวิชาชีพอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได
ปง บประมาณ 2561 จัดใหม กี ารสอบวัดระดับ 2 ครงั้ แบงเปน สว นการพูด (Speaking) และสวนการสอบขอเขียน
(Paper based) ทกุ เดอื นพฤษภาคม และพฤศจิกายน ของทกุ ป มจี ํานวนผูเขาทดสอบ 69 คน

คร้งั ท่ี วนั ที่จัดทดสอบ ผูเขาทดสอบ
1/2559 13 พฤศจิกายน 2560 37 คน
2/2559 16 พฤษภาคม 2561 32 คน
69 คน
รวม

- โครงการทักษะภาษาอังกฤษและภาษาอังกฤษเฉพาะทาง
จัดโดยสํานักงานพฒั นาทรัพยากรบคุ คลรวมกับคณะศลิ ปศาสตร เปน โครงการฝกอบรมตาม

แผนเสนทางการพัฒนาบุคลากร (Training Roadmap) ในปงบประมาณ 2561 ดําเนินการ 3 หลักสูตร
หลักสูตรละ 2 ระดับ คือระดับตน และระดับสูง ไดแก 1 หลักสูตร Reading and Vocabulary 2 หลักสูตร
Listening and Speaking และ 3 หลักสูตร Writing and Grammar มีจํานวนผูเขาอบรมทั้งส้ิน 80 คน
ดาํ เนินการจัดอบรม ดังนี้

ครง้ั ท่ี หลกั สูตร วนั ท่จี ัดอบรม ผูเ ขา อบรม (คน
1/2561 ต.ค.-พ.ย. 2560 5
-Reading and Vocabulary (Level 2) 7
2/2561 -Listening and Speaking (Level 2) ม.ค.-ม.ี ค. 2561 7
-Writing and Grammar (Level 2)
3/2561 ม.ิ ย.-ส.ค. 2561 19
รวม 5
-Reading and Vocabulary (Level 2) 8
-Listening and Speaking (Level 1) 8
-Listening and Speaking (Level 2) 5
-Writing and Grammar (Level 1) 7
-Writing and Grammar (Level 2) 33
11
รวม 11
-Reading and Vocabulary (Level 2) 6
-Listening and Speaking (Level 2) 28
-Writing and Grammar (Level 2)

รวม

 รายงานประจําป 2561  171

7 ทุนการศึกษาตอ ในประเทศสาํ หรับพนักงาน มจธ.
มหาวิทยาลัยไดเริ่มสนับสนุนทุนการศึกษาตอในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก สําหรับ

บุคลากรสายวชิ าชพี อน่ื ๆ ตั้งแตปงบประมาณ 2551 เปนตนมา ตามระเบยี บมหาวทิ ยาลยั ฯ วา ดว ยการพจิ ารณา
พนักงานตําแหนงวิชาชีพอ่ืน ๆ หรือขาราชการ สาย ข. และสาย ค. เพ่ือรับทุนการศึกษาเฉพาะทางหรือ
ทุนการศึกษาตอในประเทศ พ.ศ.2550 ซึ่งมหาวิทยาลัยฯ ไดดําเนินการจัดสรรทุนการศึกษาดังกลาว และมีผู
ไดร ับทุนการศึกษาต้ังแตปงบประมาณ 2551-2561 ในระดบั ปริญญาโท 29 คน และระดบั ปริญญาเอก 3 คน ท้ังนี้
มผี ูที่สําเร็จการศึกษาแลวทงั้ ส้ิน 27 คน และอยูระหวา งการศึกษาจํานวน 5 คน โดยในปง บประมาณ 2561 มผี ูไดรับ
ทุนการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท จาํ นวน 2 คน และระดบั ปริญญาเอก จาํ นวน 1 คน

8 หลักสูตร/โครงการสงบคุ ลากรเขา รับการอบรม/สมั มนาทจ่ี ดั โดยองคก รภายนอก
ดําเนินการจัดสงบุคลากรเขารับการอบรม/สัมมนาท่จี ดั โดยองคกรภายนอก จํานวน 9 โครงการ

และมีบคุ ลากรไดรบั การพัฒนาจํานวน 15 ราย อาทิ
- การทดสอบ Microsoft Office Specialist (MOS) Certificate วนั ท่ี 24 พฤศจิกายน 2560
จัดโดย บรษิ ัท เออารไอที จํากัด สง บคุ ลากรเขา รวมจํานวน 2 ราย
- หลักสตู ร “ภาพรวมมาตรฐานการสอบบัญชีของไทย” รุน ที่ 4/60 วันที่ 19 ธันวาคม 2560
จดั โดย สภาวิชาชีพบญั ชีในพระบรมราชูปถัมภ สง บคุ ลากรเขารวมจํานวน 1 ราย
- หลักสูตร “ปญหาการจัดทําบัญชีตามารตรฐานการรายงานทางการเงิน” วันท่ี 24 ธันวาคม
2560 จดั โดย บรษิ ัท ฝกอบรมและสัมมนาธรรมนิติ จาํ กัด สง บุคลากรเขา รวมจํานวน 1 ราย

4. สง เสริมใหบคุ ลากร มจธ. มคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ี มคี วามสุข และมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
1) โครงการเสวนาเพื่อการตื่นรู ในหัวขอ “ทางสวา งสูความสงบ” เปนการดําเนนิ งานโดยกลุมงาน

บรกิ ารสขุ ภาพและอนามยั สํานกั งานอธิการบดี รวมกับกลุมพุทธธรรมกรรมฐาน และกลุมอาสาสื่อสติ โดยการ
เสวนาในครั้งน้ีเปนการนําเสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางยั่งยืนใหแกบุคลากร นักศึกษา และ
บุคคลท่ัวไปท่ีสนใจ มีความเขาใจถึงความสําคัญของสติ และการพัฒนาสติอยางถูกตอง สามารถนําไปใชจริง
ซ่ึงมีผูรวมเสวนาคือ ครูบาดํารงค (วัดปาโสมพนัส จังหวัดสกลนคร คุณมาริสชญา ศ รีแกว (พยาบาลวิชาชีพ
ชํานาญการ จังหวัดสุโขทัย และ ผศ.ดร.สโรช ไทรเมฆ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร เปนผู
ดาํ เนินรายการเสวนา เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2561 มผี เู ขา รวมกจิ กรรมท้งั สน้ิ 83 คน

2) โครงการ “เจริญสติ ชนะเครียด” เปนการดําเนินงานโดยกลุมงานบริการสุขภาพและอนามัย
สํานักงานอธิการบดี เพื่อใหผูเขารวมกิจกรรมไดรับความรู ความเขาใจเทคนิคแนวทางการเจริญสติท่ีถูกตอง
ตามตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิต และการปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสม
ตลอดจนมีทักษะการลดความเครียดไดดวยตนเอง พัฒนาสมาธิ และเจริญสติในการเรียนและการทํางาน จัด
ข้ึนเมื่อวันที่ 23-25 กุมภาพันธ 2561 ณ บานคุณสัมพันธ-คุณวิไลลักขณ รัตนสวัสด์ิ ตําบลไรขิง อําเภอสาม
พราน จังหวัดนครปฐม มีผเู ขารวมโครงการท้ังส้ิน 36 คน

3) โครงการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการหัวขอ “จัดการซึมเศราอยางเขาใจ (Depression Let’s
Talk)” เปนการดําเนินงานโดยกลุมงานบริการสุขภาพและอนามัย สํานักงานอธิการบดี มีวัตถุประสงคในการ

 รายงานประจาํ ป 2561  172

ใหความรูความเขาใจปญหาสุขภาพจิตและโรคซึมเศรา รวมถึงแนวทางในการอยูรวมกับผูท่ีเปนโรคซึมเศรา
การดแู ลสุขภาพจติ ของตนเองและผูอ ่นื เมื่อวนั ที่ 19 มนี าคม 2561 มผี เู ขา รว มโครงการทงั้ สนิ้ 136 คน

4) มหาวิทยาลยั สงบุคลากรเขารวมโครงการเตรยี มความพรอมการเกษียณอายปุ ระจําป 2561 จดั
โดย ศูนยบ ริการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จํานวน 3 รนุ รวมท้ังส้ิน 21 คน ดังน้ี

- รนุ ท่ี 1 ระหวางวันท่ี 19 – 23 มนี าคม 2561 จํานวน 5 ราย
- รนุ ท่ี 2 ระหวา งวนั ที่ 11 – 15 มถิ ุนายน 2561 จาํ นวน 15 ราย
- รุนท่ี 3 ระหวางวนั ท่ี 20 – 24 สิงหาคม 2561 จาํ นวน 1 ราย

• สถิติการพฒั นาบคุ ลากร

มหาวทิ ยาลัยไดใชก ลไกการพัฒนาบคุ ลากร เพอื่ ใหเกิดการเรยี นรูอยางตอ เน่ืองแกบุคลากรในทุกระดับ
ประกอบดวย การจัดฝกอบรม/สมั มนา การใหทุนการศกึ ษา การสนับสนุนการลาศกึ ษาตอ ลาดูงานและทําวิจยั
รวมทั้งการเขารวมประชมุ อบรม/สัมมนา ท้ังภายในและตางประเทศ ในปงบประมาณ 2557 - 2561 มีขอมูล
ดานการพัฒนาบคุ ลากรดงั น้ี

การพัฒนาบคุ ลากรภายในประเทศ ปงบประมาณ 2561

ประเภทกิจกรรม จาํ นวน (คน
1. ลาศึกษาตอ (ผูทีเ่ รม่ิ ลาป 2561 4
- ศึกษาตอในเวลาราชการ 8
- ศึกษาตอนอกเวลาราชการ 18
2. ลาศกึ ษาตอสะสม 44
- ศึกษาตอในเวลาราชการ
- ศกึ ษาตอนอกเวลาราชการ 2,064
3. ฝกอบรม c -
4. ทนุ การศกึ ษาตอ d (ป 2561
2,138b
รวมทั้งสิน้ a

การพัฒนาบุคลากร ณ ตางประเทศ ปง บประมาณ 2561

ประเภทกิจกรรม จํานวน (คน
1. ลาศกึ ษาตอ (ผูทีเ่ ริม่ ลาป 2561 3
2. ลาศึกษาตอสะสม 8
3. ฝกอบรม/วจิ ยั 80
4. ดูงาน/เจรจาความรวมมอื 387
5. ประชมุ /สมั มนา/เสนอผลงานทางวชิ าการ 419
6. ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ e 240

รวมทั้งสิ้น a 1,137b

 รายงานประจาํ ป 2561  173

หมายเหต:ุ
a จาํ นวนรวมดงั กลา ว ไมรวมจาํ นวนลาศกึ ษาตอสะสมในขอ 2
b เปนจาํ นวนนับซ้าํ เน่ืองจากบคุ ลากรบางทา นอาจเขารวมกจิ กรรมทั้งภายในและตา งประเทศ และหลายประเภทกจิ กรรม
c จํานวนบคุ ลากรทฝ่ี ก อบรมในประเทศนบั รวมทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เฉพาะทีส่ าํ นักงานพัฒนาทรพั ยากร

บุคคลเปน ผดู าํ เนินการ
d ทนุ การศึกษาตอ ในประเทศสําหรับพนักงานตําแหนง วิชาชพี อื่น ๆ หรือขา ราชการ ประเภทวชิ าชพี เฉพาะ หรือเช่ยี วชาญ

เฉพาะ และประเภททั่วไป ท่ีจดั โดยมหาวิทยาลยั
e ในป 2552-2555 ขอ มูลปฏิบตั งิ านอน่ื ๆ เปน ขอ มูลรวมกบั ประชมุ /สมั มนา/เสนอผลงานทางวชิ าการ

จาํ นวนบุคลากรทีเ่ ขา รับการพฒั นาประเภทตาง ๆ ทั้งในและตา งประเทศ

จํานวนบคุ ลากรทีเ่ ขา รับการศกึ ษาตอ ทั้งในและตางประเทศ
 รายงานประจาํ ป 2561  174

• การพัฒนาบคุ ลากรและนักศกึ ษาใหมีคา นิยมรว มองคก ร (Core Values)

ในการสรางวัฒนธรรมและปลูกฝงคานิยมองคกรใหแกประชาคม มจธ.ทางมหาวิทยาลัยไดมอบหมาย
ใหคณะทํางาน ซึ่งไดแกศูนยนวัตกรรมระบบเปนหนวยงานในการเผยแพร KMUTT Core Values ใหเปนที่
รจู กั ของประชาคม มจธ. โดยคณะทาํ งานไดว ิเคราะหและเหน็ สมควรวาการที่จะสรางใหอาจารย บุคลากร และ
นักศึกษา เขาใจ KMUTT Core Values และการสรางใหเกิดวัฒนธรรมองคกรตองใชระยะเวลา และ
กระบวนการ /กจิ กรรมทหี่ ลากหลาย จึงไดว างแผนการดาํ เนินงานออกเปน 3 ระยะ ดังนี้

ทง้ั น้ี ผลการดาํ เนินงานในปง บประมาณ 2561 มีดงั น้ี
1 แตงตั้ง คณะทํางานโครงการสรางคานิยมรวมองคกรแทนชุมเดิมท่ีหมดวาระ และมีการแตงต้ัง
คณะทํางานกลุมยอย เพื่อใหการทํางานคลองตัว โดยมีหนาที่หลักในการจัดทําหนังสือคูมือหลักปฏิบัติดาน
จรรยาบรรณองคกร โดยชวงปท่ีผานมาไดจัดการประชุมเพื่อวางแผนการทํางาน และจัดทําแบบสอบถามเพ่ือ
การวัดผลความเขาใจของกลุมเปาหมายและวัดผลกิจกรรมท่ีผานมา โดยแบบสอบถามมีวัตถุประสงคเพื่อ
ตองการทราบวาบุคลากรของมหาวิทยาลัยมีการรับรูและความเขาใจเกี่ยวกับคานิยมองคกร มจธ. (KMUTT
Core Values) และหลักปฏบิ ตั ดิ า นจรรยาบรรณองคก ร (Code of Conduct) มากนอยอยางไร และนาํ ผลการ
รับรูแ ละขอเสนอแนะดังกลา วไปปรบั ปรุงการดาํ เนินงานดานน้ตี อไป
รายละเอยี ดของผลทีไ่ ดจากการสํารวจบคุ ลากร มจธ. จํานวน 516 คน ในแตล ะประเด็นมีดงั น้ี
- ประเด็นท่ี 1 ทา นทราบหรอื ไมว า มจธ. มคี า นิยมองคกร (KMUTT Core Values) Professionalism and
Integrity เปนมืออาชีพพรอมยึดมั่นและยืนหยัดบนความถูกตอง มีผูตอบวา “ทราบ” จํานวน 485 ทาน คิดเปนรอย
ละ 94 และตอบวา “ไมทราบ” จํานวน 31 ทาน คดิ เปนรอ ยละ 6 ของจาํ นวนผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด
- ประเด็นที่ 2 ทานทราบคา นยิ มองคกร มจธ. (KMUTT Core Values) จากชองทางใด (ตอบไดมากกวา 1
ขอ 3 อันดับแรกท่ีไดคะแนนสูงที่สุด คือ อันดับ 1 การประชาสัมพันธของมหาวิทยาลัย (ทางเดิน Cover Way รอบ
มจธ. จํานวน 216 คน คดิ เปนรอยละ 43.5 อนั ดับ 2 การประชาสมั พนั ธข องโครงการ (ธงราว / ปายประชาสมั พนั ธ
ภายในลิฟต/เอกสารสงถึงคณะ จํานวน 177 คิดเปนรอยละ 36 และอันดับ 3 ผูบังคับบัญชาถายทอด จํานวน 175
คน คิดเปน รอยละ 35 ของจาํ นวนผูต อบแบบสอบถามทั้งหมด

 รายงานประจาํ ป 2561  175

- ประเดน็ ท่ี 3 กิจกรรมของโครงการสรา งคานยิ มองคกร มจธ. ทท่ี า นเคยเขา รว ม (ตอบไดม ากกวา 1 ขอ 3
อนั ดบั แรกทไ่ี ดคะแนนสูงท่สี ุด คือ อนั ดบั 1 ไมเคยเขารว มกิจกรรม จํานวน 241 คน คดิ เปนรอยละ 47 อันดับ 2 ตรง
ตอเวลา จํานวน 147 คน คิดเปนรอยละ 29 และอันดับ 3 การแตงกายถูกระเบียบ จํานวน 142 คน คิดเปนรอยละ
28 ของจํานวนผตู อบแบบสอบถามทัง้ หมด

- ประเด็นที่ 4 ทานคิดวาควรสื่อสารคานิยมองคกร มจธ. (KMUTT Core Values) ดวยกลไกหรือวิธีการ
อยางไรเพื่อใหมีประสิทธิภาพสูงสุด มีขอเสนอแนะ 281 ความเห็น โดยสรุปประเด็นได 7 เรื่องดังนี้ คือ อันดับ 1
ผบู รหิ าร เดินสายพบประชาคม คดิ เปนรอยละ 25 อนั ดบั 2 ผลติ สื่อประชาสมั พันธ คิดเปนรอยละ 23 อันดับ 3 เพิ่ม/
ปรับปรุง ชองทางการประชาสัมพันธ คิดเปนรอยละ 16 อันดับ 4 สื่อสารระหวางผูปฏิบัติกับผูบังคับบัญชา คิดเปน
รอยละ 10 อันดับ 5 สอดแทรกผานกิจกรรมสัมมนา / อบรม คิดเปนรอยละ 7 อันดับ 6 Role Model คิดเปนรอย
ละ 3 และเร่ืองอ่ืน ๆ

- ประเดน็ ที่ 5 หากมีการจดั กิจกรรมครง้ั ตอ ไปทานจะเขารว มหรือไม มีผตู อบวา “เขา รว ม” จํานวน 283
ทา น คิดเปน รอยละ 55 ตอบวา “ยังไมแนใจ” จํานวน 214 คน คิดเปนรอ ยละ 42 และตอบวา “ไมเ ขารว ม”
จํานวน 14 คน คิดเปน รอ ยละ 3 ของจาํ นวนผตู อบแบบสอบถามทัง้ หมด

ผลการสํารวจความเห็นของบุคลากร มจธ. ในดานคา นยิ มองคก ร

2 มอบ หนังสือ “พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกลา ฯ” แกผูส าํ เรจ็ การศกึ ษาประจําป 2559 จํานวน 3,000 เลม

เพอื่ เปน การนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ
บรมนาถบพิตร ที่ทรงสละความสุขสวนพระองคโดยมิไดเห็นแกความเหน่ือยยาก ทรงตรากตรําพระวรกาย
บําเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการ บําบัดทุกขบํารุงสุขแกปวงพสกนิกรไทยเสมอมา และเพื่อเปนการ
เทิดพระเกียรติ มหาวิทยาลัยไดจัดทําหนังสือ “พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกบัณฑิต

 รายงานประจําป 2561  176

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาฯ” เพื่อมอบแกบัณฑิตผูสําเร็จการศึกษาประจําป 2559 จํานวน 3,000 เลม
โดยหนังสือดังกลาวเปนการรวบรวมพระบรมราโชวาทที่พระราชทานใหแกบัณฑิตของสถาบันฯ ในชวงป
การศึกษา 2514 ถึงปการศึกษา 2532 มุงหวังใหบัณฑิตไดนําพระบรมราโชวาทดังกลาวไปศึกษาและนอมนํา
เปน แนวทางในการดําเนนิ ชีวติ ภายหลังจบการศกึ ษาตอ ไป

 รายงานประจําป 2561  177

• การใชร ะบบสารสนเทศในการบริหารจัดการ

เพ่ือใหการบริการแกบุคคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัย อยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ทาง
สํานักคอมพิวเตอรไดมอบนโยบายเปนแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัย พรอมรับกับสภาพสังคมและ
ความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว เชน เทคโนโลยีอุปกรณติดตามตัว
(Mobile Device สามารถเพ่ิมสมรรถนะในการใหบริการการศึกษาและการบริหารงานในดานตาง ๆ ของ
มหาวิทยาลยั

โดยมหาวิทยาลัยมีการเตรียมโครงสรางพ้ืนฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศไวสําหรับใหบริการแก
บุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยแบงระบบสารสนเทศเปนระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
การศึกษา และระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ ทั้งนี้ในรอบปงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยมีระบบ
สารสนเทศทมี่ ีการพฒั นา ดังน้ี

ระบบสารสนเทศเพอ่ื การบริหารการศึกษา
เปนกลุมระบบงานท่ีมีนักศึกษาเปนผูใชงานระบบ โดยมีหนวยงานกลางของมหาวิทยาลัยที่เก่ียวของ

กับดา นการเรยี นการสอนเปน เจาของระบบ และสํานกั คอมพิวเตอรเปน ผูจ ัดหาและดแู ลบาํ รุงรกั ษาระบบ

ระบบสารสนเทศ หนวยงานทีร่ ับผิดชอบขอมูล การดาํ เนนิ งานในป 2561
1. ระบบสมาชกิ มจธ. สํานักงานคดั เลือกและสรรหา - ใหระบบสามารถรองรบั การสมคั รเขา รว ม
นักศึกษา
ใชรับสมคั รนักเรียนท่วั ประเทศเขา สาํ นกั งานพฒั นาการศึกษา โครงการสาํ หรบั นกั เรียนตา งชาติ
โครงการตาง ๆ ของมหาวิทยาลยั สํานกั งานทะเบียนนกั ศกึ ษา - รองรับการใชง านและแสดงผลบนมอื ถือ
2. ระบบหลักสตู ร
จดั เกบ็ ขอมลู รายละเอียดหลกั สตู ร สํานกั งานคัดเลอื กและสรรหา และแทบเลต
ไดแก นกั ศกึ ษา - การจัดการขอ มลู อาจารยประจาํ หลกั สูตร
- ขอ มลู หลกั สตู รท่ีเปด สอนทั้งหมด - การแสดงผลการประเมินแบบสํารวจ
- อาจารยประจาํ หลกั สูตร
- รายวิชาในแตละหลักสตู ร ตนเอง (Attitude Test ของนกั ศึกษา
- อตั ราเกบ็ เงินคา บํารงุ การศกึ ษา - การจดั การขอ มูลบคุ คลภายนอกเกีย่ วขอ ง

3. ระบบรับสมคั ร กบั หลกั สตู ร
ใชใ นการรบั สมัครนักศกึ ษาทกุ ระดับ - การบันทกึ การอนมุ ตั ภิ ายใน (คณะ
ตง้ั แตร ะดบั ปรญิ ญาตรี - เอก
โดยเรมิ่ ตัง้ แตร ับสมัคร ชาํ ระเงินคา กลนั่ กรองหลักสูตร อนวุ ชิ าการ
สมคั ร จดั หอ งสอบ จัดกรรมการคมุ - สภาวิชาการ สภามหาวิทยาลยั และ
สอบ และประกาศผลสอบ (รบั สมัคร หนวยงานภายนอก (สกอ.
ไดต ลอดทั้งป - การปรบั ปรงุ หลกั สูตร และรายงานตาง ๆ
ของระบบหลักสตู ร
- ใหสามารถสมัครผา น Mobile ในระดบั
ปรญิ ญาตรแี ละบณั ฑติ ศกึ ษา
- ปรบั กระบวนการทาํ งาน ใหส ะดวกและ
รวดเรว็ ขน้ึ
- เพม่ิ ระบบการเกบ็ log ตามเหตุการณ
ตางๆ เชน การจดั การ ลงทะเบยี น และ
คะแนนดา นภาษาอังกฤษ
- รองรับการสง SMS & E-mail แจงสถานะ
โครงการ

 รายงานประจาํ ป 2561  178

ระบบสารสนเทศ หนว ยงานท่รี บั ผดิ ชอบขอ มลู การดาํ เนินงานในป 2561
4. ระบบทะเบียน สํานกั งานทะเบยี นนักศกึ ษา - รายงานดานตาง ๆของการสอบ และ
สาํ นกั งานคัดเลือกและสรรหา
เปนระบบทช่ี วยในเรื่องของการบริหาร ประกาศตา ง ๆ
การศกึ ษา โดยเรม่ิ ตั้งแตก ารรบั เขา นักศึกษา - เพ่ิมระบบกาํ หนดแผนการเรยี นและ
ศึกษาของนักศึกษา การลงทะเบียน- สาํ นักงานกจิ การนกั ศึกษา
เรียน การประมวลผลการเรียน สํานกั งานคลัง วชิ าเอกสําหรบั นักศึกษาแรกเขา ทย่ี ังไมไ ด
การตรวจสอบการจบ การขนึ้ ทะเบียน สํานักงานยุทธศาสตร กําหนดแผนการเรยี น
บัณฑติ และการรบั ปริญญา ใบคาํ รอง - เพิ่มระบบบนั ทกึ ขอมลู อาจารยทป่ี รึกษา
และอื่น ๆ (เกบ็ ขอมลู ในทกุ ระดบั ช้ันป (แกไ ข กระจายไปใหคณะบนั ทึกเอง
การศกึ ษา - ปรับปรงุ โปรแกรมการไปศกึ ษากรณีพิเศษ
- เพิม่ ระบบเปลย่ี นแผนการเรยี นของ
นักศกึ ษาระดบั บณั ฑติ
- แกไ ขโปรแกรมจดั การหวั ขอวิทยานพิ นธ
ใหรองรบั การปอ นหวั ขอการคนควาอสิ ระ
- การอนุมตั สิ ําเร็จการศึกษา และการอนุมัติ
ใหป ริญญา
- ทําหนา จอเพมิ่ “แจงความจาํ นงขอเปด
รายวชิ าเพอื่ ลงทะเบยี น”
- ปรบั ปรุงโปรแกรมการประมวลผล
การศกึ ษา
- ปรับปรงุ ใบแจงหนี้ในระบบทะเบียนให
เปน แบบ Smart bill
- ปรับปรงุ โปรแกรม Direct debit

5. ระบบประเมนิ การสอนของอาจารย สาํ นักพฒั นาการศกึ ษา - ปรบั เปลยี่ นการพัฒนาระบบดวย
เปน ระบบอาํ นวยความสะดวกใหแก กลุมงานนกั ศึกษาเกาสมั พนั ธ เทคโนโลยใี หม (.Net Framework 4.0
อาจารย เจา หนา ทที่ ุกภาควชิ า และ สํานักงานมหาวทิ ยาลัยสัมพันธ เพ่อื รองรับเทคโนโลยดี า นความปลอดภยั
นักศึกษาท้งั มหาลัยวิทยาลยั ในการ สาํ นกั งานยทุ ธศาสตร ทางคอมพวิ เตอร ใหม
ประเมนิ การสอนของอาจารยแ ตล ะวิชา ระบบสามารถบนั ทกึ ขอความอวยพรวันเกิด
ศษิ ยเ กา และสง E-mail อวยพรวันเกดิ
6. ระบบศษิ ยเ กา มจธ. ใหก ับศิษยเ กา อตั โนมัตทิ ุกวัน
ใชใ นการเก็บขอ มลู ประวตั ศิ ษิ ยเกา
ไดแ ก ขอ มูลการศึกษา ทอี่ ยูป จจุบนั - ปรบั ปรงุ การข้นึ ทะเบยี นบัณฑติ ประจําป
ประวตั ิการทาํ งาน ประวัติการเขารว ม การศึกษา 2559 ใหสามารถแสดงผลและใช
กจิ กรรม ศิษยเ กาทไ่ี ดร ับรางวัล ประวตั ิ งานไดบ นมือถอื และแทบเลต ตามแนวโนม
การใหท ุนสนบั สนนุ การดาํ เนินงานของ มาตรฐานการออกแบบเวบ็ ไซตใ นปจจุบนั ท่ี
มหาวทิ ยาลยั เรยี กวา Material Design เพอื่ ความ
สวยงามและนาใชง านมากข้ึน
7. ระบบภาวะการหางานทําของบัณฑติ - พัฒนาระบบสําหรบั การประมวลผลขอ มูล
ใชเกบ็ ขอ มลู พนื้ ฐานและภาวะการมี จากแบบสอบถามภาวะการหางานทาํ ของ
งานทาํ ของบณั ฑติ ซึ่งคณะและ
สํานักงานยทุ ธศาสตรจ ะดงึ ขอมูลมา
ใชในการวิเคราะหแ ละวางแผน รวมท้งั
สาํ นกั คอมพวิ เตอรจะใชส งขอ มลู ใหก บั
สํานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
(สกอ. ในทกุ ป

 รายงานประจาํ ป 2561  179

ระบบสารสนเทศ หนว ยงานทีร่ ับผิดชอบขอ มูล การดําเนินงานในป 2561
บัณฑิตเพ่ิมเตมิ (KISS ในสว นของการ
8. ระบบตารางสอน-ตารางสอบ สํานักงานทะเบยี นนกั ศกึ ษา จัดเรยี งขอมูลตามหลักสตู ร เพอ่ื ให
เปน ระบบชวยในการจดั ตารางสอน สํานกั งานยทุ ธศาสตรส ามารถจัดกลมุ ของ
หองเรยี น หองสอบประจาํ ภาค ขอมูลผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาได 2 แบบ คือ จดั
การศกึ ษา ชวยในการลดข้นั ตอนในการ กลุมตามสาขาวิชา และจดั กลุมตาม
ทํางานท่ซี า้ํ ซอ นในระดับคณะ/ภาควชิ า หลกั สตู ร สาํ หรับการนาํ ขอ มูลทไี่ ดไ ปใช
ฯ และทาํ ใหการจัดตารางสอน-ตาราง วเิ คราะหเ พอื่ การบริหารไดส ะดวกและ
รวดเรว็ มากยง่ิ ข้นึ
เช่ือมตอขอ มูลแผนการเรยี นจากระบบ
หลกั สตู รไดเ ตม็ รูปและไดใ ชงานจรงิ แลว ซง่ึ
ชว ยลดขนั้ ตอนในการบนั ทึกขอมลู ของ
ระบบตารางสอน และชวยในดา นความ
ถกู ตอ งของขอมลู แผนการเรียน

สอบของมหาวิทยาลยั มคี วามรวดเรว็
และมขี อมลู ทค่ี รบถว น

ระบบสารสนเทศเพอ่ื การบริหารจัดการ
เปน กลุมระบบสารสนเทศที่จัดเตรยี มสําหรับเจา หนาท่ีที่ปฏิบัติงานและผูบรหิ ารของมหาวิทยาลัย โดย

นาํ ขอ มูลไปใชในการตรวจสอบขอมลู สว นบุคคล การบริหารจัดการในงานท่ีรับผิดชอบ และการเสนอขอมูลเพ่ือ
การตดั สนิ ใจสาํ หรบั ผูบริหาร

 รายงานประจาํ ป 2561  180

ระบบสารสนเทศ หนว ยงานทรี่ ับผิดชอบขอ มูล การดาํ เนินงานในป 2561

1. ระบบวิเคราะหคา เลาเรยี น สาํ นกั ยุทธศาสตร - เปล่ยี นเครอ่ื งแมขา ยเครื่องใหม
(Tuition Fee Analysis : TFA - ปรบั ปรงุ ระบบใหรองรับซอฟทแ วรพ ิสจู น
เปน ระบบดึงขอมูลการลงทะเบยี น
ของนักศกึ ษามาใชในการทําแผน/ ตัวตนเพียงครง้ั เดียว
ผล/จริง รายรบั จากคา เลา เรยี น และ
เงนิ รฐั สว นคาเลา เรียน เพ่ือใหค ณะ/ พฒั นา API สาํ หรบั สงขอมลู บุคลากรจาก
ภาควชิ าใชเ ปนขอมูลประกอบการ ระบบ HPB เพ่อื ใชกบั ระบบอน่ื ๆ เชน
จัดทําแผนการรบั นักศกึ ษา เพื่อ Mobile Application ของบคุ ลากร ระบบ
สาํ นักงานยุทธศาสตรจะใชในการ สติกเกอร การใชงาน Account Wi-Fi ของ
จัดสรรรายไดใหแกค ณะ/ภาควชิ า บคุ ลากรในมหาวทิ ยาลยั
และเปนขอ มลู จัดสรรรายไดจ ากคา
เลาเรียน พัฒนา API เพื่อเชือ่ มขอ มูลระหวา ง
2. ระบบบคุ ลากร เงินเดอื นและ สํานกั งานบริหารทรัพยากร มหาวิทยาลยั และธนาคารกรงุ เทพ
สวสั ดิการ บคุ คล - บันทึกขอ มลู นักศึกษาทไี่ ดจ ากธนาคาร
สนบั สนุนงานบรหิ ารงานบุคคล
เก็บรวบรวมขอ มูลทะเบยี นประวัติ กรงุ เทพเขาฐานขอมลู ของระบบ กรณีท่ี
บุคลากร ขอมลู เงนิ เดอื นและคาจา ง นกั ศึกษาทําบัตรทดแทนทส่ี าขาของ
ขอมูลการลาศกึ ษาตอ / ชว ยราชการ ธนาคาร
และขอ มลู ดา นการเบกิ จา ยเงิน - แสดงขอ มูลนกั ศกึ ษาทบ่ี ันทึกขอมลู ใน
เงินเดือนและสวัสดกิ าร บตั รวา ตรงกบั ฐานขอ มลู หรอื ไม
3. ระบบจดั ทาํ บตั รบคุ ลากรและ สํานกั งานทะเบียน
นกั ศึกษา (UCard) สาํ นกั คอมพวิ เตอร
เปนระบบสําหรับจัดทาํ บตั รบคุ ลากร
และนักศึกษา

4. ระบบจัดสรรเงินเพมิ่ สมรรถนะ สาํ นักงานบรหิ ารทรัพยากร ปรบั ปรุงระบบเพ่อื ใหรองรบั การใชง านใน
ใชใ นการบันทึกโครงการหรอื งานที่ บคุ คล หลาย Browser เชน Fire Fox , Chrome
เปนภารกิจตรงตามเงือ่ นไขทสี่ ามารถ นอกเหนือจาก Internet Explorer ที่
ขอย่นื พจิ ารณาได รวบรวมขอมลู สามารถรองรบั อยแู ลว
สําหรบั ใชประกอบการพิจารณา ปรับปรงุ ระบบเพื่อใหร องรับการใชงานใน
ของคณะกรรมการฯ และลงผลการ หลาย Browser เชน Fire Fox , Chrome
พิจารณาผลงาน นอกเหนอื จาก Internet Explorer ท่ี
5. ระบบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของ สาํ นกั งานบริหารทรพั ยากร รองรับอยูแ ลว
บคุ ลากรสายวิชาการ บคุ คล
(My Evaluation
พฒั นาเพ่อื ใหบ คุ ลากรสามารถบนั ทึก
ขอมูลผลการปฏบิ ัติงานลงในแตละ
กลุมงาน เพอ่ื ใชในการประเมินผล
โดยกรรมการประเมนิ สามารถให
คะแนนประเมินผา นระบบได

 รายงานประจาํ ป 2561  181

6. ระบบบริหารรายไดและลูกหน้ี สาํ นกั งานคลงั - ปรบั ปรุง/เพม่ิ เตมิ การบันทึกขอ มลู บัตร
(Revenue Management and ท่ชี ําระดว ยเครอื่ ง EDC สงผลถึงการตดั
Accounts Receivable ยอด และรายงานท่ีเก่ียวของ
เปนระบบบรหิ ารรายได เกยี่ วกับการ
ตัง้ ลูกหนี้ การออกใบเรยี กเกบ็ เงนิ - เพ่ิม QR code ในใบแจงหนี้ เพ่อื เพิม่
การจัดทาํ สัญญายมื เงนิ ชอ งทางและความสะดวกในการชําระเงนิ
ใบเสรจ็ รบั เงิน การรบั เงนิ รายได - พัฒนาและปรับปรงุ เพ่อื ใหระบบมี
ตา งๆ ของมหาวิทยาลยั ในการรับ ประสิทธภิ าพในการรองรบั ผูใชงานเปน
ชําระคาบรกิ ารตา ง ๆ จาํ นวนมาก สามารถเขา ใชง านผา น
7. ระบบ Tour KMUTT นักเรยี น และอาจารยแ นะแนว สมารทโฟนและแทบเลต
เปนระบบทีใ่ ชในการประชาสมั พนั ธ ระดบั มธั ยมศึกษา - พฒั นาใหร ะบบรองรับการเปด โครงการ
ดานการศึกษาตอ ทีม่ หาวิทยาลัย เพือ่ รบั สมคั รมากกวา 1 โครงการได
เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
เพ่ือใหนักเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา
ตอนปลายทีต่ องการศกึ ษาตอมีขอมลู
เพยี งพอในการตัดสินใจเลือกสาขาได
อยา งถกู ตอง หรอื อาจารยแ นะแนวมี
ขอมลู สาํ หรับใหค ําแนะนาํ แก
นักเรยี นในโรงเรยี นเพือ่ การศึกษาตอ
ทม่ี หาวิทยาลัย

มหาวทิ ยาลยั ยังคงติดตามการใชงานระบบสารสนเทศแตละระบบอยา งใกลช ดิ เพอ่ื นําผลการใชงานมา
ปรับปรุงระบบการทํางานใหดียิ่งข้ีน โดยมหาวิทยาลัยยังไดดูแล ปรับปรุงระบบอ่ืนๆ เพื่อใหบริการภายใน
มหาวิทยาลัยไดอยางมีประสิทธิภาพ และครอบคลุมการอํานวยความสะดวกในการทํางานในทุกดาน การดูแล
ระบบสารสนเทศอน่ื ๆ ภายในมหาวทิ ยาลัย มดี งั นี้

การใหบ ริการบนระบบอนิ ทราเน็ต
บริการอินทราเน็ตของมหาวิทยาลัย คือ ศูนยรวมของงานบริการตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยท่ีจํากัด

ขอบเขตการใชงานอยูภายในองคกรโดยใหสิทธ์ิเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยในการเรียกใชงานบริการผาน
ระบบอินทราเน็ตของมหาวทิ ยาลยั

รปู แบบของการบรกิ ารในระบบอินทราเน็ตมลี ักษณะเปน ชองทางผา นเพ่ือเรยี กใชง านบริการตา ง ๆ ทีถ่ ูก
พัฒนาข้ึนเปนเว็บแอปพลิเคชัน ทํางานผานเว็บบราวเซอรบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยแบงออกเปน 3 กลุม
งานบริการ คอื

1. บริการเพอื่ การศึกษา คือ กลุมการศกึ ษา
2. บริการเพื่อการบรหิ ารจัดการ คือ กลมุ บุคลากร การเงิน แผนงานสารสนเทศและประกันคณุ ภาพ

,วจิ ยั และบริหาร-บรกิ ารท่ัวไป
3. บริการอ่ืน ๆ เชน ขา วสาร เอกสาร อบรม ดาวนโ หลด โครงการ ปฏทิ ิน ขอมลู ผบู รหิ าร และการ

แจงเตอื นขา วสารใหกบั ผใู ชง านแตล ะคน

 รายงานประจาํ ป 2561  182

ท้ังน้ี ระบบอินทราเน็ตใหม เปลี่ยนชื่อเปน My Portal และเร่ิมใหผูใชอัพเกรดใชงานมาตั้งแตเดือน
พฤศจกิ ายน 2559 โดยมกี ารพัฒนาในเรอ่ื งรายงานเพือ่ การวเิ คราะห ดงั น้ี

- พัฒนารายงานจํานวนผูเขาใชระบบอินทราเน็ต เพื่อนําขอมูลผูใชงานมาวิเคราะหขอมูลและ
แสดงผลเปนรูปแบบกราฟ แยกตามคณะ ตามปป ฏิทิน แยกตามคณะ/ภาควิชา

- ดําเนินการติดตั้งเคร่ืองมือ Google Analytics เพ่ือรวบรวมและวิเคราะหรูปแบบลักษณะการใช
งานของผใู ชง านในระบบอินทราเนต็

การใหบ รกิ ารบนเวบ็ ไซต
สํานักคอมพิวเตอรไดดําเนินการพัฒนาเว็บไซตใหกับหนวยงานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย เพื่อให

หนวยงานมีเว็บไซตที่สามารถใชเผยแพรขอมูลและขาวสารของหนวยงาน อันเปนประโยชนตอผูคนหาขอมูล
ผานทางอินเทอรเน็ต โดยเว็บไซตหนวยงานพัฒนาอยูบนระบบบริหารจัดการเว็บไซต (CMS ท่ีชวยให
หนวยงานสามารถปรบั ปรุงขอมลู และดแู ลเวบ็ ไซตของหนว ยงานไดต นเอง

เวบ็ ไซตส าํ นกั คอมพวิ เตอร

เวบ็ ไซตเฉพาะกจิ
สํานักคอมพิวเตอรไดดําเนินการพัฒนาเว็บไซตของโครงการและงานกิจกรรมตาง ๆ ของมหาวิทยาลยั

ที่จัดเปนครั้งคราว หรือตามชวงเวลาท่ีกําหนดเฉพาะ เพ่ือเผยแพรขอมูลขาวสารของโครงการและงานกิจกรรม
โดยไดพ ัฒนาอยูบนระบบบริหารจดั การเวบ็ ไซต (CMS เพือ่ ใหก ารพัฒนาเว็บไซต ปรบั ปรุงขอมูลและการดูแล
รักษาทาํ ไดอยางมีประสิทธภิ าพ

 รายงานประจําป 2561  183

เวบ็ ไซตโ ครงการ Office365

การพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศผา นอุปกรณเคลอื่ นท่ี : KMUTT ++
จากนโยบายการใหบริการดานสารสนเทศ ไดทกุ ที่ทุกเวลา (Anytime – Anywhere สาํ นักคอมพิวเตอร

ไดเ รมิ่ ตนพัฒนาบริการระบบสารสนเทศบนอุปกรณมือถือ และอุปกรณเคล่ือนทีต่ าง ๆ (Online Self Service,
Service On Mobile และเรม่ิ ใชงานไดในป2561 โดยมวี ัตถุประสงคในการเพิ่มชองทางใหบริการแกบคุ ลากร
ของมหาวิทยาลัย สามารถใชงานบริการขอมูลของตนเองไดผานทางอุปกรณมือถือและอุปกรณเคลื่อนที่ ซ่ึง
บริการท่ีเปดใหบริการผานอุปกรณมือถือในระยะแรก มีอาทิ การตรวจสอบเงินเดือน วันเวลาเขางาน การ
คนหาเบอรโทรศัพทของบุคลากรหรือหนวยงานในมหาวิทยาลัย และการคนหาสถานท่ีตาง ๆ ในมหาวิทยาลยั
เปนตน

หนา จอแสดงบริการทีม่ ี ณ ปจจุบนั หนาตรวจสอบเงนิ เดอื น

 รายงานประจาํ ป 2561  184

หนา จอแสดงตรวจสอบวนั เวลาเขา ทาํ งาน

สํานักคอมพิวเตอรมีแผนการปรับปรุงบริการตาง ๆ บนระบบ KMUTT++ โดยจะมีการเพิ่มบริการ
อ่ืนๆ ของพนักงานมหาวิทยาลัย และระบบที่ใหบริการแกนักศึกษา ผานอุปกรณมือถือและอุปกรณเคลื่อนท่ี
ตา งๆ (Mobility ตอ ไป ซงึ่ จะเพ่มิ ความสะดวกและงายในการเขาถึงบริการตาง ๆ ของทางมหาวทิ ยาลยั

โดยสรุปในปงบประมาณ 2561 สํานักคอมพิวเตอรไดปฏิบัติหนาท่ีในการดูแล และพัฒนาระบบ
สารสนเทศรองรับการบริหารงานดานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย เพื่อใหบริการ
และตอบสนองรูปแบบชวี ิตการทํางานและการศึกษาท่ดี ีแกนักศึกษา บคุ ลากร และบุคคลภายนอกที่มาติดตอกับ
มหาวิทยาลัย อีกทั้งยังไดพัฒนาเทคโนโลยีทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการใหบริการท่ีมี
ประสิทธิภาพ และสะดวก รวดเร็ว สอดรับกับเทคโนโลยีที่เปล่ียนไปตามสภาพการใชงานของผูใชงาน ท่ี
ตอ งการใชบ ริการไดทุกทท่ี ุกเวลาท่ผี ูใชต อ งการ

• รายงานรายรับ - รายจาย

ปงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยมีรายรับสูงกวารายจายสุทธิ จํานวน 219.46 ลานบาท เม่ือ
เปรียบเทียบกับปงบประมาณ 2560 รายรับสูงกวารายจายสุทธิ เพิ่มขึ้นจากปกอน 4.55 ลานบาท หรือเพิ่มข้ึน
รอ ยละ 2.12

เม่ือพิจารณารายรับของปงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยมีรายรับรวม 3,935.64 ลานบาท เพ่ิมขึ้นจาก
ปงบประมาณ 2560 จํานวน 92.52 ลานบาท หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 2.41 รายไดท่ีสําคัญ ไดแก รายไดจาก
งบประมาณ 1,867.99 ลา นบาท เพ่มิ ขึ้นจากปก อ น 72.18 ลานบาท หรอื เพ่มิ ขนึ้ รอ ยละ 4.02 รายไดอ ืน่ 321.89
ลานบาท เพิ่มข้ึนจากปกอน 37.53 ลา นบาท หรอื เพมิ่ ขนึ้ รอยละ 13.20 รายไดจากการอุดหนุนและบรจิ าค 49.89
ลานบาท เพ่ิมข้นึ จากปกอน 0.68 ลา นบาท หรือเพิ่มข้ึนรอยละ 1.38 สําหรับรายไดทีล่ ดลง ไดแ ก รายไดจ ากการ
บริการ 1,695.87 ลานบาท ลดลงจากปก อน 17.87 ลา นบาท หรือลดลงรอยละ 1.04

 รายงานประจาํ ป 2561  185

รายรบั ปงบประมาณ 2561 จาํ นวน 3,935.64 ลานบาท
รายรับปง บประมาณ 2560 จาํ นวน 3,843.12 ลานบาท

ดานรายจายของปงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยมีคาใชจายรวม 3,716.18 ลานบาท เพ่ิมขึ้นจาก
ปงบประมาณ 2560 จํานวน 87.97 ลานบาท หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 2.42 คาใชจายที่สําคัญประกอบดวย
คาใชจายดําเนินงานอื่น จํานวน 1,556.59 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอน 42.29 ลานบาท หรือเพิ่มข้ึนรอยละ 2.79
คาใชจายบุคลากร จํานวน 1,395.12 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอน 70.00 ลานบาท หรือเพิ่มข้ึนรอยละ 5.28
คาเสือ่ มราคา จาํ นวน 556.19 ลานบาท ลดลงจากปก อ น 22.81 ลานบาท หรอื ลดลงรอ ยละ 3.94 คา
สาธารณูปโภค จาํ นวน 132.36 ลานบาท ลดลงจากปก อน 0.68 ลานบาท หรอื ลดลงรอยละ 0.51 งบกลาง จาํ นวน
75.92 ลานบาท ลดลงจากปก อน 0.83 ลา นบาท หรือลดลงรอยละ 1.08

 รายงานประจําป 2561  186

รายรับและรายจาย ปงบประมาณ 2561 เปรียบเทยี บกบั ปงบประมาณ 2560

รายการ ปง บประมาณ เพ่ิม / ลดจากปกอน
รายรบั
ป 2561 ป 2560 จํานวน (บาท รอ ยละ
รายไดจ ากงบประมาณ 3,935.64 3,843.12 92.52 2.41
รายไดจ ากการบรกิ าร 1,867.99 1,795.81 72.18 4.02
รายไดจากการอุดหนนุ และบรจิ าค 1,695.87 1,713.74 -17.87 -1.04
รายไดอ ื่น 49.89 49.21 0.68 1.38
รายจา ย 321.89 284.36 37.53 13.20
คา ใชจ า ยบคุ ลากร 3,716.18 3,628.21 87.97 2.42
คาใชจา ยดาํ เนินงานอนื่ 1,395.12 1,325.12 70.00 5.28
คา สาธารณปู โภค 1,556.59 1,514.30 42.29 2.79
เงนิ งบกลาง -0.68 -0.51
คาเสื่อมราคา 132.36 133.04 -0.83 -1.08
75.92 76.75 -22.81 -3.94
รายรบั สงู กวา รายจา ย 556.19 579.00 4.55 2.12
219.46 214.91

ทีม่ า - รายงานสํานกั งานคลงั สาํ นักงานอธกิ ารบดี (ขอ มลู ณ วันที่ 30 กันยายน 2561
- ขอมลู ปง บประมาณ 2560 รอการรับรองจาก สตง.พรอ มงบฯ ปงบประมาณ 2559

• ฐานะการเงิน

เมื่อสิ้นปงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยมีโครงสรางสินทรัพย หน้ีสินและสวนของทุน จํานวน
11,848.66 ลานบาท เพ่ิมขึ้นจากปงบประมาณ 2560 จํานวน 516.53 ลานบาท หรือเพ่ิมข้ึนรอยละ 4.56
จาํ แนกไดดังน้ี

โครงสรางสินทรัพย ณ สิ้นปงบประมาณ 2561 ประกอบดวย สินทรัพยหมุนเวียน จํานวน 3,212.23
ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 27.11 และสินทรัพยไมหมุนเวียน จํานวน 8,636.43 ลานบาท คิดเปนสัดสวน
รอยละ 72.89

โครงสรางหน้ีสินและสวนของทุน ณ ส้ินปงบประมาณ 2561 ประกอบดวย หนี้สินหมุนเวียน จํานวน
1,218.69 ลานบาท หน้ีสินไมหมุนเวียน จํานวน 377.54 ลานบาท และสวนของทุน จํานวน 10,252.43 ลานบาท
คดิ เปนสัดสวนรอยละ 10.29, 3.19 และ 86.52 ตามลําดบั

 รายงานประจําป 2561  187

โครงสรา งสนิ ทรพั ย หนีส้ ินและสวนของทุน ปง บประมาณ 2561 เปรียบเทียบกบั ปงบประมาณ 2560

รายการ ปงบประมา ปงบประมา หนวย : ลานบาท
ณ สัดสวน ณ สดั สวน
สินทรัพย 2561 (รอยละ 2560 (รอ ยละ เพ่ิม / ลด จากปกอน
สนิ ทรัพยหมนุ เวียน ลานบาท (รอ ยละ
สินทรัพยไ มห มุนเวียน
3,212.23 27.11 3,062.54 27.03 149.69 4.89
รวมสินทรพั ย 8,636.43 72.89 8,269.59 72.97 366.84 4.44
หนี้สินและสว นของทนุ 11,848.66 100.00 11,332.13 100.00 516.53 4.56

หนีส้ ินหมนุ เวียน 1,218.69 10.29 919.95 8.12 298.74 32.47
หนี้สินไมห มุนเวยี น 377.54 3.19 374.15 3.30 3.39 0.91
สว นของทนุ 86.52 10,038.03 88.58 2.14
รวมหนส้ี ินและสว นของทนุ 10,252.43 100.00 11,332.13 100.00 214.40 4.56
11,848.66 516.53

ท่ีมา - รายงานสํานกั งานคลงั สํานกั งานอธิการบดี (ขอ มูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2561
- ขอ มูลปงบประมาณ 2560 รอการรับรองจาก สตง.พรอ มงบฯ ปงบประมาณ 2559

• รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ประจาํ ปง บประมาณ 2561

คณะกรรมการตรวจสอบประจํามหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาธนบุรี ประกอบดวยกรรมการท่ี
เปนอิสระจากการบริหารงานภายในองคกร จํานวน 5 ทาน ซึ่งเปนผูที่มีความรู ความเช่ียวชาญ และมี
ประสบการณท่ีหลากหลาย ทั้งในดานการเงิน การบัญชี การบริหาร ความเส่ียง และการควบคุมภายใน
ประกอบดว ย

1. นายเขมทัต สุคนธสิงห ประธานคณะกรรมการ
2. รศ.ดร.หรสิ สูตะบตุ ร กรรมการ
3. ศ.ดร.นกั สทิ ธ์ิ คูวฒั นาชยั กรรมการ
4. นายสมประสงค บญุ ยะชัย กรรมการ
5. รศ.ดร.วริ ชั อภเิ มธีธํารง กรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาท่ีตามที่ไดรับมอบหมายจากสภามหาวิทยาลัย เปนไปตาม
ขอบเขตความรบั ผิดชอบท่รี ะบุไวในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ.2558 และขอ บังคบั มหาวทิ ยาลัย
เทคโนโลยพี ระจอมเกลาธนบรุ ี วา ดวยคณะกรรมการตรวจสอบประจาํ มหาวทิ ยาลยั พ.ศ.2551

ในปงบประมาณ 2561 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประชุมรวมท้ังส้ิน 4 ครั้ง เปนการประชุม
รว มกบั ผูบริหารระดบั สูง ผตู รวจสอบภายใน และผูทีเ่ ก่ยี วของ เพื่อแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นเกี่ยวกบั การบริหาร
จดั การ ดา นการเงินบัญชี ระบบบริหารความเสี่ยง ผลการตรวจสอบ การควบคุมภายใน และการตดิ ตามผลการ
ปฏิบัติงาน ตลอดจนการกํากับการปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับท่ีเกี่ยวของ โดยสรุป
สาระสําคญั ของการปฏิบิตหนาที่ดงั นี้

 รายงานประจาํ ป 2561  188

รายงานทางการเงนิ
คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานรายงานทางการเงิน โดยพิจารณาจากรายงานผลการตรวจสอบ

งบการเงนิ ของผตู รวจสอบภายใน และขอ สังเกตของคณะกรรมการบริหารการเงนิ และทรัพยสิน พจิ ารณาความ
ครบถวน ถูกตองของขอมูลท่ีแสดงในงบการเงิน ความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่เก่ียวของกับการจัดทํา
รายงานทางการเงนิ เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการบญั ชีทร่ี บั รองทั่วไป
การบริหารความเส่ยี งและการควบคุมภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบไดดแู ลใหมหาวิทยาลัยมีการประเมนิ ความเสี่ยง การบรหิ ารจัดการความเส่ียง
การควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน วาดวยการกําหนดมาตรฐานการควบคุม
ภายใน พ.ศ.2544 รวมท้ังใหคําแนะนําแกฝายบริหารเพ่ือใหการบริหารงานมีระบบการควบคุมภายในท่ีรัดกุม
รอบคอบ
การปฏิบัตกิ ารกฤ ระเบยี บ ขอ บงั คับ

คณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณษ สอบทานรายงานผลการตรวจสอบของผูตรวจสอบภายใน รวมทัง้
มีการประชุมรวมกับผูบริหารของมหาวิทยาลัย เพอื่ ใหเกิดความมน่ั ใจวา การปฏบิ ัติงานของมหาวทิ ยาลยั เปนไป
ตามกฎ ระเบียบ ขอ บังคับท่เี ก่ยี วของตามมาตรฐานสากล มคี วามเปน ธรรม โปรง ใส ตรวสอบได
การกาํ กับดูแลงานตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแผนการตรวจสอบประจําปงบประมาณ 2562 โดยใหขอเสนอแนะ
แนวทางในการประเมินความเส่ียง รวมถึงความเพียงพอของทรัพยากรบุคคลและความเปนอิสระในการ
ปฏิบัติงานของกลุมงานตรวจสอบภายใน ใหคําแนะนําการปฏิบัติงานตรวจสอบเพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล สนับสนุนใหบุคลากรของกลุมงานตรวจสอบภายในเขารับการอบรม พัฒนาความรูความสามารถ
เพือ่ พัฒนาศกั ยภาพของบคุ ลากร
การประเมินผลการปฏบิ ตั หิ นา ท่ขี องคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบประเมินผลการปฏิบัติงานดวยตนเอง และรายงานผลการประเมินตนเองให
สภามหาวิทยาลัยรับทราบเปนประจําทุกป รวมถึงการรายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
ตอสภามหาวทิ ยาลัยเปน ประจําทกุ ไตรมาส

โดยสรุปในปงบประมาณ 2561 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาท่ีตามท่ีระบุไวในกฎบัตร
คณะกรรมการตรวจสอบ โดยใชความรู ความสามารถอยางรอบคอบ มีความอิสระในการเสนอความคิดเห็น
หรือขอเสนอแนะอันเปนประโยชนตอมหาวิทยาลัย และมีความเห็นวาการบริหารงานของมหาวิทยาลัยมีการ
กํากับดูแลกิจการท่ีดี ทําใหการดําเนินงานบรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาปรับปรุงระบบการ
ปฏิบตั งิ านใหมีคุณภาพและเหมาะสมอยางตอเน่อื ง

 รายงานประจาํ ป 2561  189

 รายงานประจําป 2561  190

เปา หมายที่ 5 การสง เสริมและพัฒนาทเี่ ปน มติ รกับสังคมและสิง่ แวดลอ ม
(Green and Sustainability)

มหาวิทยาลัยมุงเนนการพัฒนา มจธ. ใหเปนองคกรท่ีมีการบริหารจัดการอยางชาญฉลาด ที่คํานึงถึง
ผลกระทบดานพลงั งาน สิง่ แวดลอ ม และความปลอดภยั (Green Heart) สคู วามเปนมหาวทิ ยาลัยสีเขยี วที่กาว
ไปขางหนาเพ่ือการพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable Green Organization) บูรณาการแนวคิดสรางสรรคการ
พัฒนาเพ่ือความย่ังยืนกับภารกิจหลักสรางความตระหนักรูการพัฒนาอยางตอเนื่องและย่ังยืน (Green &
Clean University) ในทุกระดับขององคกรแหงการเรียนรูท่ีสนับสนุนการสรางคุณภาพชีวิตที่ดี (Quality of
Life) ท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพื่อกาวสูความเปนมหาวิทยาลัยสีเขียวของ มจธ. ท่ีกาวไปขางหนาเพ่ือการ
พัฒนาอยางย่งั ยืน

กลยุทธที่ 1 พัฒนาสภาพแวดลอ มและระบบบรหิ ารจัดการทส่ี นบั สนนุ การสรางคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี
(Quality of Life ทีเ่ ปน มติ รกบั สงิ่ แวดลอ ม

กลยุทธท ี่ 2 สรา งความตระหนักรูดานพลังงาน สง่ิ แวดลอมและความปลอดภยั ในทุกระดบั
สนับสนนุ การเปนองคกรแหงการเรียนรู

กลยุทธท ่ี 3 บูรณาการแนวคิดสรางสรรคการพัฒนาเพ่ือความย่ังยืนกับภารกิจหลักเพ่ือกา วสู
การเปนมหาวิทยาลัยสีเขียวของ มจธ. ท่ีกาวไปขางหนาเพื่อการพฒั นาอยางย่ังยืน

• การพฒั นางานดานพลงั งาน สิ่งแวดลอม ความปลอดภัยและอาชวี อนามยั

สภามหาวิทยาลัยไดอนุมัติการจัดต้ังศูนยการจัดการดานพลังงาน ส่ิงแวดลอม ความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย (Energy Environment Safety and Health : EESH) ต้ังแตเดือนตุลาคม 2542 โดย
มอบหมายใหศูนย EESH มีภารกิจในการพัฒนาระบบบริหารจัดการดานพลังงาน สิ่งแวดลอม ความปลอดภัย
และอาชวี อนามัยของมหาวิทยาลัยใหเปน ไปตามมาตรฐานสากล โดย มจธ.ไดรบั การสนบั สนุนงบประมาณจาก
รัฐตามมติ ครม.ในโครงการจัดการส่ิงแวดลอมความปลอดภัย มจธ. (ป 2547-2551) แบบ Matching Fund
ในงบประมาณทงั้ สิ้น 110 ลา นบาท โดยไดร ับสนับสนุนงบจากรัฐ 55 ลานบาท และจากรายได มจธ. 55 ลา นบาท
ในการพัฒนาระบบตนแบบดานการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมความปลอดภัย และจัดทํากลไกเพ่ือนําไปสู
การปฏิบัติใหเปนรปู แบบเดียวกันท้ังมหาวิทยาลยั อันจะเปนตัวอยางท่ีดีใหกับนักศึกษา บุคลากรภายใน มจธ.
และนําระบบตนแบบไปขยายผลตอใหกับหนวยงานอ่ืนท้ังภาครัฐและเอกชนไดนําไปยึดถือและปฏิบัติใหเกิด
ผลดีตอ ส่ิงแวดลอ มของประเทศและของโลกในภาพรวมตอไป

นอกเหนือจากภารกิจภายในมหาวิทยาลัย ศูนย EESH ยังไดปฏิบัติภารกิจในดานความรับผิดชอบตอ
สังคม (Social Responsibility) โดยเปนหนวยงานหนึ่งภายใน มจธ. ที่ไดเขาไปมีบทบาทในการเขาชวยเหลือ
โรงเรียนและชุมชนในดานการสงเสริมการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม โดยนําระบบการจัดการพลังงาน
การจัดการขยะ การจัดการสารเคมีอันตรายและการจัดการของเสียอันตรายภายในมหาวิทยาลัยเปนระบบ
ตนแบบ เพ่ือขยายผลตอใหกับมหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรมไดนําระบบไปประยุกตใชในหนวยงานของตน
และนาํ ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมและอนุรกั ษพลังงาน รวมถึงระบบการจัดการขยะสูพลังงานมาขยายผลตอ
ใหกับโรงเรียนและชุมชนไดเขามาศึกษา เยี่ยมชม เรียนรู และนําไปประยุกตใชในโรงเรียนและชุมชนของตน
โดยสรางระบบการเรียนรูและจัดกิจกรรมเพ่ือสรางความตระหนักและปลูกจิตสํานึกดานการอนุรักษพลังงาน
ส่ิงแวดลอม และความปลอดภัยใหแกนักศึกษาและบุคลากรของ มจธ. ตลอดจนโรงเรียน ชุมชน และ
อตุ สาหกรรมอน่ื อยางตอเน่อื ง

 รายงานประจําป 2561  191

นอกจากนี้ศูนย EESH ยังรับผิดชอบในการดําเนิน “โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green
Campus)” เพื่อเสริมสรางคุณภาพชีวิตภายในมหาวิทยาลัยภายใตบรรยากาศท่ีดี มีความปลอดภัยในการทํา
วจิ ยั และการทดลองท่ีเก่ียวของกบั สารเคมีและพลังงานดานตาง ๆ เปน จาํ นวนมากในแตละป ดังนัน้ โครงการน้ี
จึงเปนการสรางความเช่ือม่ันแกนักศึกษาและบุคลากรในการใชชีวิตประจําวัน และสงเสริมใหมีความรูความ
เขาใจในการใชทรัพยากรอยางคุมคา โดยศูนย EESH ไดรับการสนับสนุนจากกองทุนอนุรักษพลังงานใน
“โครงการมหาวิทยาลัยรวมพลังหารสอง” (พ.ศ.2546-2548) จํานวน 9.99 ลานบาท มีการดําเนินงานที่
สอดคลองกับโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว เนนการใหความรูท่ีเกี่ยวของกับการอนุรักษพลังงานและ
สิ่งแวดลอม มีการจัดกิจกรรมและการจัดอบรม เพ่ือใหผูเขารวมกิจกรรมสามารถนําความรูไปใชในการปฏิบัติ
เพอ่ื ใหเกิดผลเปน รปู ธรรม

มหาวิทยาลัยไดกําหนดนโยบายในการมุงสูการเปนมหาวิทยาลัยสีเขียวมาต้ังแตป 2546 และมีการ
สานตอนโยบายน้ีอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน โดยมหาวิทยาลัยไดประกาศจุดมุงหมายของการเปน
มหาวทิ ยาลยั สีเขยี วของ มจธ. อยางชดั เจน มกี ารพฒั นาอยางตอเน่ืองและย่ังยืน โดยเนน การสรางบณั ฑิตท่ีเกง
และดี มีความรูความเขาใจในวิชาการและบริบทของการจัดการพลังงาน ส่ิงแวดลอมและความปลอดภัยท่ีดี
สามารถนําความรูความเขาใจเหลาน้ันไปปฏิบัติใหเ กิดผลดีตอตนเองและชุมชนสงั คมรอบขาง อันเปน การสราง
บัณฑิตคุณภาพ มจธ. ออกไปเปน Change Agent หรือผูนําแหงการเปล่ียนแปลงที่ขยายผลการใสใจตอ
พลงั งาน สงิ่ แวดลอ ม ความปลอดภัยทีด่ สี สู ังคมไทย และขยายตอไปในระดบั โลกอยางย่ังยืน

จากผลการดําเนนิ งานดา นมหาวิทยาลยั สเี ขียวท่มี งุ สูความยั่งยนื น้ี สง ผลให มจธ.ไดรบั การจดั อนั ดับให
เปนมหาวิทยาลัยสีเขียวโลก โดย UI Green Metric Ranking of World Universities นับต้ังแตป 2010 -
ปจ จบุ นั ซึ่งการจัดอันดับนี้เปน การริเร่ิมของ Universities Indonesia หรือ UI นับตงั้ แตเ ดอื นเมษายน ป
2010 เพื่อสงเสริมใหมหาวิทยาลัยทั่วโลกไดจัดทํานโยบายและจัดระบบการจัดการสิ่งแวดลอมภายใน
มหาวทิ ยาลยั ใหเ กิดความยั่งยนื และลดผลกระทบทก่ี อ ใหเกดิ ภาวะโลกรอน ซึง่ UI ไดเ ชิญใหมหาวิทยาลัยตาง ๆ
ทั่วโลกกวา 1,000 แหง สงขอมูลผานระบบออนไลนภายใตเกณฑตัวชี้วัดดานตาง ๆ ท่ีวางไวเพ่ือเขารับการจดั
อนั ดับดังกลาว

 รายงานประจําป 2561  192

ผลการจัดอันดับใหเปนมหาวิทยาลัยสีเขียวในเวทีโลกนับต้ังแตป 2010-2018 มจธ. ไดรับการจัด
อันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวโลก ตามเกณฑของ UI Green Metric Ranking of World Universities อยาง
ตอเน่ือง โดยในป 2018 มจธ. ไดรับการจัดอันดับเปนที่ 169 ของโลก จาก 719 มหาวิทยาลัย ถือเปนเกียรติ
ประวัติและเปน ความภาคภมู ใิ จของ ชาว มจธ. ท่ไี ดรับการจดั อันดบั ในเกณฑท ด่ี อี ยางตอเนื่อง

จากการท่ีสหประชาชาติไดกําหนดเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน Sustainable Development
Goal 2030 หรอื SDG 2030 ประกอบดว ย 17 เปาหมายพรอมดัชนีช้ีวัดขึ้น ในป 2015-2030 โดยมปี ระเทศ
ที่เขารวมเปนเครือขายเพ่ือใหเปาหมายน้ีประสบความสําเร็จถึง 194 ประเทศ ซึ่งประเทศไทยเขารวมเปน
สมาชิกและเปนประธานกลุม G77 ในชวงป 2016-2017 หรือ ป 2559-2560 ซึ่งสอดคลองกับเปาหมายของ
มจธ.ที่มุงสูการเปนมหาวิทยาลัยท่ีย่ังยืน และ มจธ. ไดเขารวมเปนสมาชิก International Sustainable
Campus Network หรือ ISCN ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2560 และไดจัดทํา ISCN-GULF Sustainable
Campus Charter Report 2015-2016 สงใหกับ ISCN ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2560 และประกาศนโยบาย
มจธ.มุงม่ันในการเปนมหาวิทยาลัยที่ย่ังยืนตาม SDG 2030 หรือ KMUTT Sustainable University for SDG
2030 ต้ังแตเดือนกรกฎาคม 2560 ซึ่งไดมีการประชาสัมพันธและเผยแพรนโยบายพรอมจัดกิจกรรมในการ
สรางความตระหนักใหกับนักศึกษาและบุคลากรอยางตอเนื่อง และทําการเผยแพรกิจกรรมท่ี มจธ.ดําเนินการ
อยูแลวในปจจุบนั ใหป ระชาคมใน มจธ.รับรูวาสอดคลอ งกับเปาหมายและดชั นีชวี้ ัดของ SDG 2030 อยแู ลวให
เปนปจจุบันและอยูในชวงทําแผนกลยทุ ธท ่ีสอดคลองกับ SDG 2030 เพ่ือกําหนดทิศทางใหเกิดการดําเนินการ
สาํ เรจ็ ตามเปาหมายในป 2030 ตอไป

นอกจากนั้นในป 2561 มจธ. ไดเขารวมเปนเครือขายมหาวิทยาลัยสรางเสริมสุขภาพ เครือขายภาค
กลาง ซ่ึงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปนแมขายและรวมกับหนวยงานในระดับมหาวิทยาลัย จํานวน 76
หนวยงาน เพ่ือพัฒนาเครือขายมหาวิทยาลัยสรางเสริมสุขภาพระดับอาเซียน ASEAN University
Network Health Promotion Network (AUN-HPN) ขี้น ซ่ึงไดจัดใหมีกิจกรรมแสดงผลการดําเนินงาน
ดานสุขภาพและความปลอดภัย ซึ่งสอดคลองกับ Sustainable Development Goal เปาหมายที่ 3 Good
Health and Well Being โดยในโครงการนี้มกี ารจดั สัมมนาและเผยแพรผ ลงานของมหาวิทยาลัยเครือขายซึ่ง
มจธ. ไดนําผลงานเขารวมในงานนี้ จํานวน 7 ผลงาน นอกจากนี้ จากผลการดําเนินงานดานมหาวิทยาลัย

 รายงานประจําป 2561  193

สเี ขียวท่ีมงุ สคู วามยง่ั ยนื และการประกาศนโยบาย KMUTT Sustainable University for SDG 2030 สงผลให
มจธ. ไดรับรางวัล Thailand Energy Awards ในระดับประเทศ จากกระทรวงพลังงานอยางตอเน่ือง จนถึง
ปจจุบนั โดยไดรบั รางวลั Thailand Energy Awards ดา นสถาบนั การศกึ ษาผสู ง เสริมการอนุรักษพลงั งานและ
พลังงานทดแทนตอเน่ือง ตั้งแตป 2005, 2008, 2011 และ 2015 ซึ่งการยื่นขอรับรางวัลในประเภทนี้ตองมี
การเวน ชว งอยา งนอย 3 ป นอกจากน้นั ยงั มีรางวัลอื่น ๆ ทไ่ี ดร บั อกี เชน

- ป 2012 รศ.ดร.โสฬส สุวรรณยืน รองอธกิ ารบดี มจธ.(บางขนุ เทยี น ไดร ับรางวลั Thailand
Energy Awards 2012 บุคลากรดีเดน ดา นพลงั งาน ประเภทผูบริหารอาคารควบคุม ณ มจธ. (บางขุนเทียน

- ป 2013 รศ.ดร.ศักรนิ ทร ภูมิรตั น อธกิ ารบดี ไดรบั รางวัล Thailand Energy Awards 2013
บคุ ลากรดเี ดน ดา นพลงั งาน ประเภทผบู ริหารอาคารควบคุม ณ มจธ. (บางมด

- ป 2015 มจธ. ไดร ับรางวัล Thailand Energy Awards 2015 ดงั ตอไปน้ี
 Thailand Energy Awards 2015 ดานผูสงเสริมการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน
ดีเดน ประเภทสถาบนั การศึกษา
 Thailand Energy Awards 2015 ประเภททีมงานดานการจัการพลังงานอาคารควบคุม
โดยทมี จดั การพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลาธนบรุ ี (บางขนุ เทยี น
 Thailand Energy Awards 2015 ดา นพลงั งานทดแทน
 โครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไมเชื่อมโยงกับระบบสายสงไฟฟา (Off- Grid โดยสถาบันพัฒนา
และฝก อบรมโรงงานตนแบบ มจธ. นอกจากนย้ี ังไดร บั รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 2 จาก ASEAN
Energy Awards 2015 อีกดวย

- ป 2016 มจธ. ไดรับรางวัล Thailand Energy Awards 2016 ในรางวัลดีเดนดานพลังงาน
ทดแทน จากโครงการระบบผลิตไฟฟาแบบผสมผสานชนิดเคลื่อนยายไดประเภทโครงการท่ีไมเชื่อมโยงกับ
ระบบสายสง ไฟฟา (Off-Grid โดยสถาบนั พัฒนาและฝก อบรมโรงงานตน แบบ มจธ.

 รายงานประจําป 2561  194

นอกจากนี้ มจธ.ยังไดรับโลเกียรติคุณ ภาคีเครือขายมหาวิทยาลัยเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมจาก
กรุงเทพมหานคร เปนหนวยงานที่มีผลงานดานส่ิงแวดลอมท่ีโดดเดน และมีบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถ
และรวมมือกับกรุงเทพมหานคร สนับสนุนสังคมที่มีวิถีชีวิตเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ในโครงการ Bangkok
Green City ท่เี ตรยี มความพรอมดา นส่ิงแวดลอมของกรุงเทพมหานครสูประชาชน เพอ่ื ความย่งั ยืนในการกาว
เขา สปู ระชาคมอาเซียน

 รายงานประจําป 2561  195

ผลจากการดําเนินการตามนโยบาย KMUTT Sustainable University for SDG 2030 สงผลใหในป
2560 มจธ.ไดรับโลพ ระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารใี นรางวัลเพชรนํา้ เอก ซึง่ ผล
จากการดําเนินการตามนโยบาย KMUTT Sustainable University for SDG 2030 สงผลใหในป 2560 มจธ.
ไดรับโลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในรางวัลเพชรนํ้าเอก ซ่ึงเปนรางวัล
ดีเดนยอดเย่ียม ประเภทอุดมศึกษาในโครงการเครือขายกรุงเทพฯ สีเขียว ท่ีจัดขึ้นโดยกรุงเทพมหานครเพ่ือ
รณรงคใหทุกภาคสวนตระหนักและเกิดจิตสาํ นึกถึงสภาพปญหาและความรุนแรงตลอดจนแนวทางการจัดการ
สิ่งแวดลอม โดยผานกระบวนการคิดและลงมือทํานําไปสูความย่ังยืนในการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม ซ่ึง
ถอื เปน ความภาคภูมิใจที่กจิ กรรมครัง้ นเ้ี กิดข้ึนจากกลมุ นักศกึ ษาชมรม Green Heart เปน ผนู าํ กิจกรรม

นอกจากนั้นในป 2561 มจธ.ไดรับรางวัลสถานศึกษาปลอดภัยในระดับดีเย่ียม จากกรมคุมครอง
แรงงานและสวัสดิการสังคม ซึ่งรางวัลน้ีจะมอบใหกับสถานศึกษาท่ีมีผลงานดา นการใสใจตอสุขภาพและความ
ปลอดภัยที่แสดงใหเห็นเปนเชงิ ประจักษในดานการนําไปปฏิบตั ิใหเกิดความปลอดภัยภายในมหาวทิ ยาลยั และ
ขยายผลออกสูส ังคม ชุมชนภายนอก

 รายงานประจาํ ป 2561  196

และในป 2561 มจธ.ไปรับรางวัลจากองคก รตา ง ๆ ดังตอไปนี้
- การประชุมวิชาการเครือขายมหาวิทยาลัยยั่งยืนแหงประเทศไทย Sun Thailand ประจําป
2561 ซึ่งไดนําผลงานและความเชีย่ วชาญของ มจธ.ไปเผยแพรภ ายในงาน และไดรบั รางวัลดังตอไปน้ี

 รางวัล Best Practice : Sustainable Mobility ในงานประชมุ เครือขายมหาวิทยาลัยย่ังยืน
แหง ประเทศไทยครัง้ ท่ี 3 ในป 2561 (SUN Thailand 2018 “ ปฏิบตั กิ ารความย่ังยนื 2561 : Action for the
Goals” โดยทางศูนย EESH ไดนําเสนอผลการดําเนินงานในการสรางสังคมจักรยานและการเดินเทาภายใน
มหาวิทยาลัย รวมท้ังกิจกรรมตาง ๆ ที่สอดคลองกับ SDG 2030 เปาหมายที่ 11 เมืองและถ่ินฐานมนุษยอยา ง
ย่งั ยืน และเปาหมายที่ 3 มีสุขภาพและความเปน อยทู ดี่ ี

 รายงานประจําป 2561  197

 กลุมนักศึกษา Green Heart เขารวมนําเสนอโครงงานและควารางวัลชนะเลิศอันดับ 1
โครงงานความย่ังยืนของนิสิตนักศึกษา ภายใตหัวขอ“การลดปริมาณขยะพลาสติกแบบคร้ังเดียวทิ้งใน
มหาวิทยาลัย” ในงานประชุมเครือขายมหาวิทยาลัยย่ังยืนแหงประเทศไทยครั้งท่ี 3 ในป 2561 (SUN
Thailand 2018 “ ปฏิบัติการความยั่งยืน 2561 : Action for the Goals” จัด ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ศูนยรังสิต โดยนักศึกษา Green Heart ไดนําเสนอผลการดําเนินงานทั้งในดานการมีสวนรวมในการกําหนด
นโยบายและการทํากิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย และการขยายผลไปยังโรงเรียน ชุมชน ปลูกฝงจิตสํานึกและ
ปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการลดใชขยะพลาสติกแบบใชครั้งเดียวท้ิง โดยการดําเนินงานในกิจกรรมดังกลาว
สอดคลอ งกับ SDG 2030 เปา หมายที่ 12 การสรางรปู แบบการบริโภคและผลติ ท่ยี ั่งยืน

- เขา รว มนําเสนอผลงานและการดาํ เนินการดา นความย่ังยนื ในงาน “The 4 th Asian Conference
on Campus Sustainability (ACCS)” ไดร ับรางวัลดังตอไปน้ี

 มจธ.เปนตัวแทนประเทศไทยจากเครือขายมหาวิทยาลัยย่ังยืนประเทศไทย (SUN Thailand)
ในการนําเสนอผลงานบนเวทีระดับโลก ณ ประเทศเกาหลีใต ในงาน “The 4 th Asian Conference on
Campus Sustainability (ACCS)” ซ่ึงในงานดังกลาวไดรับเกียรติจากนายบันคี มูน อดีตเลขาธิการ
สหประชาชาติ เปนประธานเปดงานพรอมกลาวสุนทรพจน ทั้งนี้นักศึกษา มจธ. ไดรับรางวัลชนะเลิศ
Excellent Influence Awards จากการนําเสนอเร่ือง “การลดใชพลาสติกท่ีใชคร้ังเดียวทิ้ง” โดยไดนําเสนอ
ผลการดาํ เนินงาน ทัง้ ในดา นการมสี วนรว มในการกําหนดนโยบายและการทํากจิ กรรมภายในมหาวทิ ยาลัย

 รายงานประจําป 2561  198


Click to View FlipBook Version