The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ม.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by posompor, 2021-09-14 10:05:06

เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ม.2

เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ม.2

1

เครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์

ประเภทใหข้ ้อมลู ทางภูมศิ าสตร์

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

2

เครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร์

ในการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ นอกจากจะต้องรู้จักแผนที่อันเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
อย่างง่ายที่เป็นพื้นฐานแล้ว นักเรียนก็ควรเรียนรู้และทาความเข้าใจเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ชนิดอื่นๆ ด้วย ซึ่งจาเป็นต้องใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์เพ่ือการรวบรวมวิเคราะห์ ตลอดจนสามารถ
ท่ีจะนาเสนอข้อมูลได้ ย่ิงการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและ
ทวีปแอฟริกาท่ีอยู่ห่างไกลประเทศไทย ซึ่งต้องใช้ข้อมูลจานวนมากและหลายด้าน เคร่ืองมือทาง
ภูมิศาสตร์กย็ ่ิงมีความสาคัญและจาเปน็ มากยง่ิ ขึ้น

แต่เนื่องจากเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์มีหลายชนิด หลายประเภท ซ่ึงแต่ละอย่างมีข้อดี
และข้อจากัดแตกต่างกันไป ดังนั้น การศึกษาเรียนรู้ลักษณะของเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ช่วยทา
ใหส้ ามารถเลือกใชข้ ้อมูลไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการและมีประสิทธิภาพ
ทาให้นักเรียนมีทักษะเกิดความเข้าใจถึงพัฒนาการต่างๆ ของเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็น
ประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้และดารงชีวิตของนกั เรยี นเองในอนาคต

ความหมาย

เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ เก่ียวกับ
ตาแหน่ง ทาเลท่ีต้ัง ตรวจสอบและศึกษาสิ่งที่อยู่บนพื้นผิวโลก และบรรยากาศของโลก ถูกออกแบบ
มาเพอื่ ตรวจสอบและบนั ทึกข้อมลู ทางดา้ นภมู ิศาสตร์ ทั้งทางดา้ นข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลทาง
คุณภาพ เช่น การกาหนดพกิ ัดบนพนื้ ผิวโลก การวัดทิศทางการเก็บข้อมูลภาคสนาม ในพื้นที่ต่าง ๆ
หรอื ใช้เปน็ เครื่องมอื ประกอบการเรยี นรู้ในห้องเรยี น ห้องปฏิบตั ิการทเี่ กีย่ วข้องกบั ภูมิศาสตร์

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์

3

ประเภทของเครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์

เครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์เปน็ สิ่งทใี่ ช้ในการศึกษาข้อมลู ทางภูมศิ าสตร์ เกย่ี วกับ ตาแหนง่
ทาเลที่ต้งั การกระจาย ขอบเขต ความหนาแนน่ ของขอ้ มูล และปรากฏการณต์ ่าง ๆ แบ่งไดเ้ ป็น 2
ประเภทดงั น้ี
1. ประเภทให้ข้อมูลทางภูมิศาสตร์

1.1. ลกู โลกจาลอง
1.2. แผนที่
1.3. ภาพถา่ ยทางอากาศ
1.4. ภาพถา่ ยดาวเทยี ม
1.5. ขอ้ มลู เชงิ สถิติ
1.6. อินเทอร์เน็ต
2. ประเภทหาขอ้ มูลทางภูมศิ าสตร์
2.1 เข็มทิศ
2.2 เครอ่ื งมือวดั พน้ื ท่ี
2.3 เครอื่ งวดั ระยะทางแผนท่ี
2.4 เทปวดั ระยะ
2.5 เครื่องย่อขยายแผนท่ี
2.6 กลอ้ งวัดระดับ
2.7 กลอ้ งสามมติ ิ
2.8 เคร่อื งวัดลักษณะอากาศ

แต่ในหนังสือเสริมประสบการณ์ วิชาสงั คมศกึ ษาพน้ื ฐาน3 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เลม่ น้ี
จะนาเสนอเพยี ง เร่อื ง เคร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ประเภทใหข้ ้อมลู ทางภมู ิศาสตร์ และเนน้ เร่ืองแผน
ทเี่ ปน็ หลักเท่าน้นั

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์

4

เครือ่ งมอื ทางภมู ิศาสตร์ประเภทใหข้ อ้ มลู ทางภมู ิศาสตร์

1.1 ลกู โลก (globe)

ลกู โลก คือ หุน่ จาลองของโลก เปน็ สง่ิ
ทีม่ นุษย์สรา้ งขนึ้ ด้วยวสั ดตุ า่ งๆ เช่น กระดาษ
ยาง พลาสติก เพื่อจาลองลักษณะของโลก ใช้
ในการศึกษาภมู ิศาสตร์ แสดงท่ตี ้งั อาณาเขต
พรมแดนของประเทศตา่ งๆชว่ ยใหม้ องเหน็
ภาพรวมของโลก ต่างจากแผนทท่ี ใ่ี หข้ ้อมลู ใน
เชิงพื้นราบ โลกมีรูปร่างคลา้ ยผลส้ม และ
ลกู โลกจาลองยงั สามารถใชเ้ ป็นส่ือในการเรยี น
การสอนเกย่ี วกับโลกไดเ้ ปน็ อย่างดี

ลกู โลกแบบทีแ่ สดงส่วนท่ีเป็นพ้นื ผวิ โลก

ลูกโลกแบง่ ได้เปน็ 2 แบบ
1. ลกู โลกแบบทแ่ี สดงสว่ นทเี่ ปน็

พน้ื ผวิ โลก เชน่ แสดงสว่ นท่เี ป็นพื้นน้า ได้แก่
ทะเลและมหาสมุทร แสดงสว่ นทเี่ ปน็ พ้นื ดนิ
ได้แก่ เกาะ ทวปี ประเทศ

2. ลกู โลกแบบทีแ่ สดงโครงสร้าง
ภายในเปลอื กโลก แสดงสว่ นท่เี ป็นชน้ั ต่างๆ
ของโลก ได้แก่ ชัน้ เปลือกโลก ช้ันแมนเทิล
ชัน้ หินหลอมเหลว ชั้นแก่นโลก

ลกู โลกแบบที่แสดงโครงสรา้ งภายในเปลือกโลก

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

5

1.2 แผนที่ (Map)

แผนที่ (Map) คือ ส่ิงทม่ี นุษยส์ ร้างขึ้นเพ่ือแสดงลักษณะและท่ีตง้ั ของส่ิงตา่ งๆที่ปรากฏอยู่
บนผิวโลก โดยการย่อสว่ นกับใช้สญั ลักษณแ์ ทนส่งิ ตา่ งๆ นน้ั ลงในวัสดุพื้นแบนราบ ในปัจจุบนั ไดม้ ี
พฒั นาการขึ้นเปน็ ลาดับ มีการนาเอารูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวทยี มมาช่วยในการทา
แผนท่ี ทาให้สามารถสร้างแผนทไ่ี ดร้ วดเรว็ มคี วามถกู ต้องและทนั สมัยกว่าในอดีต
ลักษณะของสิ่งท่ีแสดงปรากฏบนแผนท่ี ประกอบดว้ ย

1) ลักษณะของสงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ เชน่ ทะเล มหาสมทุ ร ทะเลสาบ แมน่ า้
ภูเขา ท่รี าบ ท่ีราบสูง เกาะ เปน็ ต้น

2) ลักษณะของส่งิ ท่ีมนุษยส์ ร้างขนึ้ เชน่ เส้นกน้ั อาณาเขต เมอื ง หมู่บา้ น สถานท่ีราชการ
ศาสนสถาน เสน้ ทางคมนาคม พ้ืนที่เกษตรกรรม เปน็ ตน้
ความสาคัญของแผนท่ี

ความสาคญั ของแผนที่

เนื่องจากแผนที่เป็นท่ีรวมข้อมูลประเภทต่างๆ ตามประเภทหรือชนิดของแผนที่จึง
สามารถใช้ประโยชน์จากแผนที่ได้ตามวัตถุประสงค์ ทั้งน้ีโดยไม่จาเป็นต้องเดินทางไปเห็น
พืน้ ท่ีจริงหรือหากจะใชแ้ ผนท่ีเพอื่ การเดนิ ทางก็จะสะดวกและถงึ ทีห่ มายได้ถูกตอ้ ง

ประโยชนข์ องแผนท่ี

1. ด้านการคดิ ดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน ผูใ้ ชแ้ ผนท่ีจะได้รบั ประโยชน์ ดังน้ี
- การเดินทาง ใชแ้ ผนท่แี สดงเส้นทางคมนาคม ถนนและรถประจาทางเป็นตน้
- สภาพลมฟา้ อากาศ ทราบถึงลักษณะของลมฟ้าอากาศของทอ้ งถน่ิ ในแต่ละวัน

2. ดา้ นการศกึ ษา ใชเ้ ป็นอปุ กรณ์การเรียนการสอน ชว่ ยใหเ้ ข้าใจเร่ืองท่ศี ึกษาไดง้ ่าย
และรวดเรว็ ยิง่ ขึ้น

3. ดา้ นการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม แผนที่จะให้ขอ้ มลู เก่ียวกับลกั ษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาตขิ องท้องถิน่ ต่างๆ ซ่ึงจะเป็นประโยชนต์ อ่
การพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของภูมภิ าค และท้องถนิ่ ตา่ งๆ ดังนี้

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์

6

- พัฒนาการท่องเที่ยว ใชแ้ ผนทีเ่ ปน็ เครอ่ื งมือเดนิ ทางท่องเท่ียว
- พัฒนาการสาธารณูปโภค เชน่ ถนน ไฟฟ้า ประปา ฯลฯ
- พัฒนาการอนามัย สาธารณสขุ และคณุ ภาพชีวิตของประชากร
4. ดา้ นการปกครองและงานราชการ แผนท่ีช่วยเสริมงานราชการ ดงั น้ี
- กาหนดอาณาเขตของจังหวัดและประเทศให้แน่นอน
- การเดนิ ทางไปปฏิบัตริ าชการยังท้องถน่ิ ทุรกนั ดารสะดวกรวดเรว็ ยงิ่ ขน้ึ
5. ดา้ นการทหาร แผนทีม่ ปี ระโยชนด์ ้านยทุ ธศาสตร์การทหาร เช่น ทราบถงึ เสน้ ทาง
การเดินทาง ทาเลที่ต้งั และสภาพภมู ปิ ระเทศของพ้นื ที่สงคราม เปน็ ตน้

ชนิดของแผนท่ี
โดยทวั่ ไปแบง่ แผนที่ไดเ้ ป็น 3 ชนิด ตามการใช้งาน ไดแ้ ก่

1) แผนที่อ้างอิง ( general reference map )เปน็ แผนท่ีท่ีใชเ้ ป็นหลกั ในการทาแผนที่
ชนิดอ่นื ๆ แผนทอ่ี ้างองิ ทสี่ าคัญ ไดแ้ ก่ แผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ และ แผนท่ชี ดุ

2) แผนทเ่ี ฉพาะเรอ่ื ง (Thematic Map) เปน็ แผนที่ทแี่ สดงลักษณะใดลักษณะหนง่ึ
โดยเฉพาะเพ่ือแสดงรายละเอียดเฉพาะเร่อื ง มหี ลายชนิด ได้แก่ แผนทีร่ ัฐกจิ แผนท่ี
ภมู ิอากาศ แผนทแี่ สดงปริมาณนา้ ฝน แผนที่ธรณวี ิทยา แผนทก่ี ารถือครองที่ดิน
แผนท่พี ืชพรรณธรรมชาติ แผนทีป่ ระวัตสิ าสตร์ แผนท่ที ่องเทย่ี ว เปน็ ต้น

3) แผนทเ่ี ลม่ (Atlas ) เป็นแผนท่ีที่รวบรวมเรื่องตา่ งๆ ทงั้ ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะ
ทางด้านเศรษฐกจิ ลักษณะทางสงั คม แผนทภี่ มู ิอากาศ ไว้ในเล่มเดียวกนั
แผนท่ีอ้างอิง

ชนิดของ

แผนทีเ่ ลม่ แผนที่เฉพาะเรอ่ื งที่

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์

7
1) แผนท่ีอ้างอิง ( general reference map )เป็นแผนที่ท่ีใช้เป็นหลักในการทาแผนท่ี
ชนิดอนื่ ๆ แผนท่ีอ้างองิ ทส่ี าคญั ได้แก่

1.1) แผนท่ีภูมิประเทศ คือ แผนที่ท่ีใช้แสดงลักษณะภูมิประเทศบนพ้ืนผิวโลก
เช่น ท่ีราบ ท่ีราบสูง เนินเขา แม่น้า เกาะ ถนน เมือง รวมถึงแผนที่ภูมิศาสตร์เป็นแผนที่ท่ีแสดง
ลักษณะความสูงต่าของพื้นผิวโลก โดยใช้เส้นช้ันความสูง บอกค่าความสูงจากระดับน้าทะเลปาน
กลาง แผนท่ชี นดิ นี้ถือเป็นแผนทมี่ ลู ฐานท่จี ะนาไปทาขอ้ มูลอ่ืนๆ ท่ีเกีย่ วกับแผนท่ี
ตัวอย่างแผนท-่ี แผนท่ีภมู ิประเทศ

แผนที่แสดงลกั ษณะภมู ิศาสตรท์ วปี ยโุ รป และแอฟริกา

แผนท่ีแสดงลักษณะภูมิศาสตร์โลก
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์

8

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

9
1.2) แผนท่ีชุด คือ แผนท่ีหลายเเผ่นท่ีมีมาตราส่วนและรูปแบบเป็นอย่าง
เดียวกัน และครอบคลุมพ้ืนที่ใดพ้ืนที่หนึ่งโดยเฉพาะ เช่น แผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 ชุด
L7018 III ของกรมแผนท่ีทหาร

แผนทท่ี างทหาร 1 : 50,000 ลาดบั ชุด L 7018 ระวาง 5340 III

2) แผนท่ีเฉพาะเรอ่ื ง (Thematic Map) เปน็ แผนที่ทีแ่ สดงลกั ษณะใดลักษณะหนึ่ง
โดยเฉพาะเพ่ือแสดงรายละเอียดเฉพาะเรื่อง มีหลายชนดิ ไดแ้ ก่ แผนท่รี ฐั กิจ แผนที่ภูมิอากาศ
แผนทธี่ รณวี ทิ ยา แผนทก่ี ารถือครองทดี่ นิ แผนท่ีพืชพรรณธรรมชาติ แผนท่ีท่องเที่ยว เป็นตน้

2.1) แผนทร่ี ฐั กจิ ( political map ) คอื แผนท่ีแสดงอาณาเขตทางการปกครอง
เช่น เขตจงั หวัดหรอื ประเทศ แผนท่ชี นิดนี้จะต้องแสดงอาณาเขตติดตอ่ กบั ดนิ แดนของประเทศ
หรือรฐั อืน่ พร้อมทั้งแสดงท่ตี ้ัง ชอ่ื เมอื งหลวง เมืองท่า หรือเมืองสาคัญอ่ืน ๆ

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร์

10

ตัวอยา่ งแผนทชี่ ุด

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์

11

แผนทแ่ี สดงประเทศในทวปี แอฟรกิ า
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์

12
2.2) แผนทภี่ ูมิอากาศ ( climatic map ) เปน็ แผนท่ีสาหรบั แสดงขอ้ มูลด้าน
ภมู อิ ากาศโดยเฉพาะ เช่น แผนท่เี ขตภูมิอากาศของโลก แผนท่ีปรมิ าณฝนเฉลย่ี ของประเทศไทย
แผนท่ปี รมิ าณฝนเฉล่ียของโลก แผนท่ีอุณหภมู เิ ฉลย่ี ของโลก

แผนท่แี สดงอณุ หภูมเิ ฉลย่ี ของโลก

แผนทแ่ี สดงอณุ หภมู ิและเขตความกดอากาศทวปี เอเชีย
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์

13

แผนท่แี สดงอณุ หภูมเิ ฉลยี่ รายเดอื น และปรมิ าณน้าฝนของทวปี แอฟริกา
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์

14
2.3) แผนท่ีธรณีวิทยา ( geologic map ) เป็นแผนที่ที่จัดทาข้ึนเพ่ือแสดงอายุ
ประเภท และการกระจายตัวของหินเปลือกโลก การตกตะกอนทับถมของสารต่าง ๆท่ีผิวโลก
รวมท้งั แสดงรอยเลอ่ื นทป่ี รากฏบนผวิ โลก และลักษณะทางธรณวี ิทยาอน่ื ๆ

แผนทแี่ สดงลักษณะทางธรณวี ทิ ยาของทวปี ยุโรป
ตัวอยา่ งแผนท่ีแสดงลกั ษณะทางธรณีวทิ ยาของไทย

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์

15

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

16

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

17

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

18
2.4) แผนทกี่ ารถือครองท่ีดนิ ( cadastral map ) เปน็ แผนทท่ี จี่ ดั ทาขึ้นเพ่ือ
แสดงอาณาเขตทด่ี ินในพืน้ ทีใ่ ดพ้นื ที่หน่งึ เช่น ในเขตตาบล อาเภอ หรอื จงั หวดั โดยแบ่งออกเป็น
แปลง ๆ และแตล่ ะแปลงต่างก็แสดงสิทธิการครอบครองโดยการแสดงการเป็นเจา้ ของ

ตัวอย่างแผนทก่ี ารถือคลองท่ีดิน

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร์

19

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

20

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

21
2.5) แผนท่ีพืชพรรณธรรมชาติ ( natural vegetation map ) เป็นแผนที่ท่ี
จัดทาขึน้ เพ่ือแสดงประเภทของพชื พรรณธรรมชาตแิ ละการกระจายตวั ของพืชพรรณชนิดน้ัน ๆ ท่ี
ปรากฏบนโลก ภูมิภาค หรือประเทศต่าง ๆ

แผนท่ีพชื พรรณธรรมชาตขิ องทวีปยุโรป
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์

22
2.6) แผนท่ีท่องเที่ยว ( tourist map ) เป็นแผนทท่ี ่จี ัดทาข้ึนเพอ่ื แนะนา
สถานทีน่ ั้นเพ่ืออานวยความสะดวกแกน่ กั ท่องเท่ยี ว โดยแสดงรายละเอียดเก่ียวกับตาแหน่งและ
สถานที่ทจ่ี าเป็นและเกีย่ วขอ้ งสาหรับการทอ่ งเทย่ี ว เช่น เส้นทางการคมนาคมทง้ั ทางบก เรอื
อากาศ ทพี ัก ร้านอาหาร ภัตตาคาร สถานท่ีทอ่ งเทีย่ วทางธรรมชาติ เช่น ชายหาด น้าตก เกาะ
แก่ง ภเู ขา อุทยาน สถานท่ีท่องเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ แหลง่ ศิลปวัฒนธรรม สถานบันเทงิ
สถานทพ่ี ักผอ่ น ธนาคาร สถานีขนส่งท่าเรอื สถานตี ารวจ โรงพยาบาล ท่าอากาศยาน

แผนทท่ี อ่ งเทย่ี วจงั หวัดนครราชสมี า

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์

23

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

24

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

25
3) แผนท่ีเลม่ (Atlas) เปน็ แผนที่ที่รวบรวมเรื่องต่างๆ ทั้งลักษณะทางกายภาพ ลักษณะ
ทางดา้ นเศรษฐกิจ ลกั ษณะทางสงั คม แผนท่ภี มู ิอากาศ ไวใ้ นเลม่ เดียวกัน

ตวั อย่างแผนทเี่ ลม่ (Atlas)

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์

26

องคป์ ระกอบของแผนที่
ส่งิ ท่ีปรากฎบนแผนที่สามารถแบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ส่งิ ทเี่ กิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติ เชน่ ภมู ิประเทศแบบต่างๆ ปา่ ไม้ ปริมาณน้าฝน และสิง่ ที่มนษุ ยส์ ร้างขึ้น เช่น ที่ตงั้
ของเมอื ง เส้นทางคมนาคม พ้ืนทเี่ พาะปลกู โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญ ดังน้ี
1. ชือ่ แผนท่ี (map name)เปน็ สิ่งทม่ี ีความจาเป็นสาหรบั ให้ผใู้ ชไ้ ดท้ ราบว่าเป็นแผนท่ี

เรอ่ื งอะไร แสดงรายละเอียด
อะไรบ้าง เพ่ือใหผ้ ูใ้ ช้ได้อย่าง
ถกู ต้อง และตรงความต้องการ
โดยปกตชิ ื่อแผนที่จะมคี าอธิบาย
เพม่ิ เติมแสดงไว้ด้วย เชน่ แผนทีป่ ระเทศไทยแสดงเนื้อท่ีป่าไม้ แผนท่รี ะเทศไทยแสดงการแบ่ง
ภาคและเขตจังหวัดเป็นตน้
2. ขอบระวาง (border) แผนที่ทกุ ชนดิ จะมีขอบระวาง ซึ่งเป็นขอบเขตของพืน้ ท่ใี นภมู ิ
ประเทศท่ีแสดงบนแผนที่แผ่นนั้น มักจะแสดง
ด้วยเส้นขนานเพ่ือแสดงตาแหนง่ ละติจูดกบั เสน้ เม
รเิ ดียนเพื่อแสดงตาแหน่งลองจิจดู และจะแสดงตวั เลขเพื่อบอกค่าพกิ ัดภมู ิศาสตร์ของตาแหนง่ ต่างๆ
3. พิกัด (coordinate) พิกัดเปน็ ตวั กาหนด
ตาแหนง่ ต่างๆ บนแผนที่ โดยทัว่ ไปนิยมใช้อยู่ 2 แบบ
คือ
3.1 พิกัดภมู ิศาสตร์ (geographic
coordinate)
พิกัดภมู ิศาสตร์เปน็ ระบบทีบ่ ง่ บอกตาแหนง่
ที่ตงั้ ของจดุ ตาแหน่งตา่ งๆ บนพ้นื ผิวโลก โดยอาศยั
โครงขา่ ยของเส้นโครงแผนท่ีซึ่งประกอบด้วยเสน้ เม
รเิ ดียนกบั เสน้ ขนานตดั กันเป็น “ จุด”

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

27

1) ละติจดู (Latitude ) เป็นคา่ ของระยะทางเชงิ มุม โดยนบั 0 องศา จากเสน้ ศนู ย์สูตร
ไปทางเหนือหรอื ใตจ้ นถึง 90 องศา ที่ขว้ั โลก ท้งั สอง

2) ลองจิจดู (Longitude ) เป็นค่าของระยะทางเชงิ มมุ โดยนบั 0 องศา จากเส้นเม
ริเดียน ไปทางทศิ ตะวนั ออกและทศิ ตะวนั ตก จนถึง 180 องศา

ปัจจบุ ันการบ่งบอกจุดตาแหน่งบนพ้ืนผิวโลก สามารถทราบได้ง่ายและถูกต้องโดยใช้จพี ี
เอสเคร่ืองมือกาหนดตาแหน่งบนพน้ื ผิวโลก (GPS: Global Positioning System) เคร่ืองมือชนิด
นี้ มีขนาดเล็กพกพาได้สะดวก และให้ข้อมูลตาแหน่งบนพื้นผิวดลกได้ตรงกับความเป็นจริง ดังนน้ั
จึงมผี นู้ าเครือ่ งมือน้ไี ปใช้ไดส้ ะดวกสบายในกิจกรรมต่างๆ ไดแ้ ก่ การเดินเรือ การเดนิ ทาง
ทอ่ งเที่ยวป่า การเดนิ ทางดว้ ยรถยนต์ เครอื่ งบิน เปน็ ต้น เมื่อกดปุ่มสวิตช์ เคร่อื งจะรับ

3.2 พกิ ัดกริด เป็นการกาหนดตาแหน่งที่ วดั เป็นระยะทาง ของค่าเหนอื (เสน้ ใน
แนวนอน(N= northing)) กับค่าตะวนั ออก (เสน้ ในแนวตงั้ (E= easting)) เพื่อใหท้ ราบวา่
ตาแหน่งนัน้ อย่หู ่างจากเสน้ ศูนย์สูตรเป็นระยะทางกี่เมตร และหา่ งจากเสน้ กง่ึ กลางโซนแผนท่ีนนั้
ระยะทางก่เี มตร ในแผนที่ภูมิประเทศ 1: 50,000 จะมีระบบพิกัดกริดทต่ี ีเป็นตารางขนาด 2x2
เซนตเิ มตร(1 ชอ่ ง 2x2 เซนติเมตร มพี น้ื ท่จี ริง 1 ตารางกิโลเมตร) ซ่งึ แต่ละเส้นจะมีตัวเลขกากับ
บอกคา่ ระยะทางของค่าเหนือและค่าตะวันออก

3.3 ทศิ ทาง (direction) มีความสาคญั ต่อ
การคน้ หาตาแหนง่ ท่ตี งั้ ของสิง่ ต่างๆ โดยในสมัยโบราณใชว้ ิธี
ดทู ิศทางตามการขึ้นและตกของดวงอาทติ ยใ์ นเวลากลางวนั
และการดูทิศทางของดาวเหนือในเวลากลางคืน ตอ่ มามีการ
ประดิษฐเ์ ข็มทศิ ซึ่งเป็นเคร่ืองมือชว่ ยในการหาทิศขนึ้
เนื่องจากเขม็ ของเข็มทิศจะช้ีไปทางทิศเหนือตลอดเวลา การ
ใช้ทศิ ทางในแผนทีป่ ระกอบกับเขม็ ทิศ
หรือการสังเกตดวงอาทิตย์และดาว
เหนือจงึ ชว่ ยใหเ้ ราสามารถเดินทางไป

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์

28

ยงั สถานที่ท่เี ราต้องการได้ ในแผนที่จะต้องมีภาพเข็มทิศหรือลกู ศรชีไ้ ปทางทิศเหนือเสมอ ถา้ หาก
แผนท่ใี ดไมไ่ ด้กาหนดภาพเข็มทิศหรือลูกศรไว้ ก็ใหใ้ จว่าดา้ นบานของแผนทคี่ ือทิศเหนอื

4. มาตราส่วน (map scale)
มาตราสว่ นหมายถึง สิ่งแสดงให้ทราบถึงความสมั พันธ์ระหว่างระยะทางในแผนทกี่ บั
ระยะทางท่ีปรากฏจรงิ บนผวิ โลก เนอื่ งจากแผนทีเ่ ป็นภาพย่อสว่ นของพ้นื โลก จึงจาเปน็ ต้องมี
มาตราส่วนกากับไวใ้ นแผนที่ด้วย เพอ่ื ใหผ้ ู้ใชแ้ ผนท่ีทราบว่ามาตราสว่ นในแผนที่นน้ั ใช้แทน
ระยะทางบนพื้นผิวโลกมากน้อยเพยี งใด มาตราส่วนทน่ี ิยมใช้มอี ยู่ 3 ขนดิ ดังน้ี
1) มาตรส่วนคาพดู (verbal scale) คือมาตราส่วนทบี่ อกโดยตรงวา่ ระยะทางในแผนท่ี 1
หน่วย แทนระยะทางในพนื้ ที่จรงิ เทา่ ไร เชน่ "1 เซนตเิ มตร เท่ากบั 20 กิโลเมตร"
2) มาตราสว่ นเส้น (graphic scale) หรอื มาตราสว่ นรปู แท่ง (bar scale) คือมาตราสว่ น
ทแี่ สดงด้วยเส้นตรงหรือรูปแทง่ ท่มี ตี ัวเลขกากับไว้เพื่อบอกความยาวบนแผนทแ่ี ทนระยะทางจรงิ
บนพืน้ โลก

โดยมหี นว่ ยความยาวท่นี ยิ มใช้ คอื กโิ ลเมตรและไมล์ ซึ่งผ้ใู ช้แผนทสี่ ามารถหาระยะทางจรงิ ได้โดย
ใช้ไมบ้ รรทดั วดั ระยะต่างๆทต่ี ้องการทราบ แลว้ นาไปเปรียบเทยี บกับมาตราสว่ นที่กาหนดไวใ้ น
แผนท่นี ั้น

3) มาตราส่วนแบบเศษส่วน (representative fraction) คอื มาตราส่วนทแ่ี สดงด้วย
ตวั เลขอัตราส่วน เชน่ เชน่ เศษ 1 สว่ น 50,000 หรอื 1: 50,000 หรือหมายความว่าระยะทาง
1 หน่วยเทา่ กับระยะทาง 50,000 หนว่ ยบนพ้นื โลก

5. ชือ่ ภูมิศาสตร์ (geographic name) คอื ตวั อักษรที่ใชบ้ อกช่อื เฉพาะท่ีมีความสาคญั
ในแผนท่ี รูปแบบชื่อภูมิศาสตร์ทน่ี ิยมใช้ในแผนท่ีทั่วไป มีดงั น้ี

1) ทวีป ประเทศ รฐั เกาะใหญ่ และคาบสมุทร นิยมใช้ตัวตรงภาษาอังกฤษใชต้ วั พิมพ์
ใหญท่ ้งั หมด เชน่

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์

29

ทวีปเอเชยี ASIA

ประเทศไทย THAILAND

คาบสมุทรมลายู MALAY PENINSULA

2) เมืองหลวง เมอื งใหญ่ นิยมใช้ตัวตรง ภาษาอังกฤษตวั แรกใช้ตวั พิมพใ์ หญ่ และตอ่ ด้วย

ตัวพมิ พเ์ ล็ก เชน่

กรงุ เทพฯ Krung Thep

เปย่ ์จงิ Beijing

วอชงิ ตนั ดี.ซี. Washington, D.C.

3) มหาสมุทร อา่ วใหญ่ ทะเลใหญ่ ทะเลสาบใหญ่ ภเู ขา ทงุ่ หญา้ ทะเลทรายใหญ่ ที่ราบ

สูง นยิ มใชต้ วั เอน ภาษาอังกฤษใช้ตวั พมิ พ์ใหญท่ ั้งหมด เชน่

มหาสมุทรแปซิฟกิ PACIFIC OCEAN

ทะเลจีนใต้ SOUTH CHINA SEA

ท่รี าบสงู โคราช KHORAT PLATEAU

4) แมน่ า้ ลาธาร อ่าวขนาดเลก็ เกาะ ชอ่ งแคบ ทะเลทรายขนาดเลก็ โอเอซิส ทล่ี ุ่ม นยิ ม

ใชต้ วั เอน ภาษาอังกฤษตัวแรกใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ และต่อดว้ ยตัวพมิ พ์เล็ก เชน่

แมน่ ้าโขง Mekong River

อา่ วบ้านดอน Ao Bandon

ช่องแคบมะละกา Strait of Malacca

5) เข่ือน ถนน ทอ่ น้า ทอ่ ก๊าซ แหล่งอารยธรรมโบราณ และสิ่งก่อสรา้ งอน่ื ๆ นิยมใช้ตัว

เอนขนาดเล็ก ภาษาอังกฤษตัวแรกใช้ตวั พิมพ์ใหย่ และต่อด้วยตวั พิมพ์เลก็ เช่น

เข่อื นสริ กิ ิต์ิ Sirkit Dam

ทางหลวงสายเอเชีย Asian Highway

บา้ นเชยี ง Ban Chiang

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์

30
6. สญั ลกั ษณ์ (symbol) และคาอธบิ าย
สญั ญลกั ษณ์ (legend)เป็นเคร่อื งหมายที่ใช้แทนสิ่งต่างๆ ในภมู ิประเทศจรงิ เพ่ือช่วยใหผ้ ูใ้ ช้
สามารถอ่าและแปลความหมายจากแผนท่ีได้อย่างถูกต้อง ท้งั นใี้ นแผนท่ีจะต้องมคี าอธบิ าย
สัญลักษณ์ประกอบไวด้ ้วยเสมอ

สัญญลกั ษณ์แบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท ดังน้ี
1) สัญญลักษณ์ทเี่ ปน็ จดุ (point symbol) เป็นสญั ญลักษณ์ทใ่ี ชแ้ ทนสถานที่ และกาหนด

สถานทีต่ ง้ั เชน่ วัด โรงเรียน สนามบิน ตัวเมอื ง ลักษณะจดุ ท่แี สดงอาจเป็นรูปร่างทรงเรขาคณติ
หรือรูปร่างตา่ งๆก็ได้

2) สัญญลกั ษณ์ท่ีเป็นเสน้ (line symbol) เปน็ สญั ญลกั ษณืที่ใช้แทนสงิ่ ตา่ งๆทเี่ ปน็ เสน้ มี
ระยะทาง เชน่ แมน่ า้ ถนน ทางรถไฟ เส้นแบ่งเขตการปกครอง ลักษณะเส้นที่แสดงอาจมีรูปร่าง
สตี ่างๆกันก็ได้

3) สญั ญลักษณ์ที่เป็นพ้ืนท่ี (ared symbol) เป็นสัญญลกั ษณ์ทใี่ ช้แสดงบรเิ วณพ้ืนทข่ี อง
สงิ่ ต่างๆทปี่ รากฏในภูมปิ ระเทศ เชน่ พน้ื ทก่ี ารเกษตร พ้ืนที่ปา่ ไม้ พน้ื ท่ีดินเค็ม ลกั ษณะพ้ืนท่ที ี่
แสดงอาจให้มรี ปู ร่างและสที ่ีแตกตา่ งกนั ออกไปก็ได้

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์

31

7. สี (color)
สที ่ีใชเ้ ป็นมาตรฐานในแผนทีม่ ี 5 สี คือ
1) สีดา ใชแ้ ทนสงิ่ ตา่ งๆ ทมี่ นุษยส์ รา้ งข้ึน เช่น วดั โรงเรยี น หม่บู า้ น และใชแ้ ทนเสน้ กริด

และเลขกากบั เสน้ กริด
2) สแี ดง ใชแ้ ทนถนนและรายละเอยี ดพิเศษอืน่ ๆ
3) สีน้าเงนิ ใช้แทนบริเวณที่เป็นน้า เชน่ ทะเล มหาสมุทร
4) สีน้าตาล ใชแ้ ทนความสูง เช่น เส้นชน้ั ความสงู เลขกากับชน้ั ความสูง
5) สีเขียว ใช้แทนพ้ืนท่ปี ่าไม้ พืน้ ทก่ี ารเกาตร

8. ความสงู และทรวดทรงของภมู ิประเทศ
พนื้ ผิวโลกมรี ะดบั สูงและตา่ ของภูมิประเทศแตกต่างกัน การเขยี นแผนที่แสดงลักษณะภูมิ
ประเทศ จงึ ต้องแสดงระดับความสูง-ต่าของภมู ิประเทศเพ่ือใหเ้ ห็นความแตกต่างระหวา่ งกนั

8.1 การบอกระดบั ภมู ิ
ประเทศ ใช้ระดบั ทะเลปานกลาง
(mean sea-level) ซง่ึ มีตัวย่อวา่
รทก.(msl)เปน็ เกณฑ์กาหนดความ
สงู แผนทแ่ี สดงระดบั ความสูงนยิ ม
แสดงแตกต่างกนั 4 รปู แบบ ดังนี้

1) เสน้ ช้ันความสงู
(contour line) คอื เสน้ สมมติทล่ี าก
ผา่ นบรเิ วณต่างๆ ของภูมิประเทศท่มี ี
ความสูงเท่ากนั และมีตวั เลขกากับ
ค่าของเสน้ ช้นั ความสงู นัน้ ๆเสมอ

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์

32

2) การใชแ้ ถบสี (layer tinting) คอื การจาแนกความแตกต่างของลักษณะภมู ิประเทศ

ทงั้ ที่เป็นพนื้ ดินและพน้ื น้าโดยใชแ้ ถบสี สีทนี่ ยิ มใชใ้ นแผนท่เี พื่อแสดงความสงู -ต่า ของภูมิประเทศ

มดี ังน้ี

พนื้ ดิน กาหนดสีแสดงลกั ษณะภมู ปิ ระเทศไว้ ดังนี้

สเี ขยี ว แสดงทีร่ าบ ท่ีต่า

สีเหลือง แสดงเนนิ เขาหรือท่สี งู

สีเหลืองแก่ แสดง ภูเขาสูง

สนี า้ ตาล แสดง ภเู ขาสงู มาก

สขี าว แสดง ภเู ขาทมี่ ีหมิ ะปกคลมุ

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์

33

พืน้ นา้ สีที่นยิ มใช้เพอ่ื บอกความลกึ ของแหลง่ น้าในแผนท่ี มีดงั น้ี

สีฟา้ อ่อน แสดง ไหล่ทวปี หรือเขตทะเลตืน้

สฟี ้าแก่ แสดง ทะเลลกึ

สีน้าเงิน แสดง ทะเล หรือมหาสมุทรลึก

สีน้าเงินแก่ แสดง น่านน้าที่มีความลกึ มาก

8.2 การอา่ นเสน้ ชั้นความสูง
แผนที่ภูมิประเทศ

ทใี่ ชเ้ สน้ ชนั้ ความสูงของผิว
โลก ได้แก่ รปู รา่ ง ความลาด
เท และความสูงของภเู ขาหรือ
เนนิ เขา เส้นช้ันความสงู จะ
แสดงไวเ้ ป็นช่วงๆ อยา่ งเปน็
ลาดับ โดยใชห้ น่วยเดยี วกัน
เชน่ หน่วยความยาวเป็นเมตร
จงึ อาจสมมติใหช้ ่วงของเส้นชั้นความสูงห่างกนั 50 เมตร ได้แก่ 0 50 100 150 200 หรือหนว่ ย
ความยาวเป็นฟุต อาจกาหนดให้ชน้ั ความสงู ให้หา่ งกนั 1,000 ฟตุ ได้แก่ 0 1,000 2,000 3,000
ความสูงของภูมปิ ระเทศ เส้นช้นั ความสูงที่ปรากฏในแผนทภ่ี มู ิประเทศมีความหมายดงั น้ี
1) เส้นความสูงทม่ี ีรูปรา่ งคลา้ ยวงกลม แสดงวา่ ลักษณะภมู ิประเทศจริงทป่ี รากฏใน
แผนที่น้ันเป็นเนนิ เขาหรือภูเขารปู กรวย
2) เม่อื ไม่มีเสน้ ช้ันความสูงปรากฏในวงกลมหรือส่ีเหลี่ยมด้านในของแผนท่ีภูมิประเทศ
แสดงวา่ ลักษณะภมู ิประเทศจริงทีป่ รากฏในแผนที่น้นั เปน็ ทร่ี าบสูง
3) เม่อื เสน้ ช้ันความสงู ที่ปรากฏในแผนทภ่ี มู ิประเทศแสดงไว้ชดิ กันมากในบรเิ วณใด
แสดงว่าลกั ษณะภมู ปิ ระเทศจริงที่ปรากฏในแผนท่ีภูมิประเทศของบริเวณนน้ั เป็นหน้าผา

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร์

34
ความลาดเทของภูมิประเทศ

ชอ่ งวา่ งทีป่ รากฏระหว่างเสน้ ชั้นความสูงในแผนท่ี สามารถบอกไดว้ า่ ภมู ปิ ระเทศน้ันมี
ความชนั ลาดเท หรอื ราบเรยี บ กล่าวคือ

ถา้ แผนทแ่ี สดงเสน้ ชั้นความสงู แตล่ ะเส้นอยู่ชดิ กันมาก แสดงว่าภมู ิประเทศจริงของพ้นื ท่ี

นัน้ มคี วามลาดชัน ถ้าแผนท่ีนั้นแสดงเสน้ ช้นั ความสงู แต่ละเสน้ หา่ งกัน แสดงว่าภมู ิประเทศจรงิ
ของพน้ื ที่นัน้ มลี ักษณะราบเรยี บ

ถ้าแผนท่ีแสดงเสน้ ช้ันความสงู ห่างกันมาก แสดงว่าภมู ปิ ระเทศจรงิ ของพื้นท่ีน้นั เปน็ ทีต่ า่
มีระดับใกลเ้ คียงกนั ซ่งึ มักปรากฏในบริเวณใกลช้ ายฝง่ั ทะเล

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์

35

1.3 รูปถา่ ยทางอากาศ (Aerial Photography)

เปน็ รปู ภาพแสดงภูมิ
ประเทศทีป่ รากฏบนพ้นื ผวิ โลก ถา่ ยโดย
ใชก้ ล้องถ่ายรปู ตดิ ไว้กบั เครื่องบิน ส่วน
หนว่ ยงานท่จี ดั ทารูปถา่ ยทางอากาศ คือ
กรมแผนท่ีทหาร กระทรวงกลาโหม การ
นาไปไปใชป้ ระโยชน์ มีหนว่ ยราชการอ่ืน
ๆ นารูปถา่ ยทางอากาศไปใช้ประโยชน์
ทางดา้ นวิชาการและการพฒั นาความ
เจรญิ ของบ้านเมือง ดังนี้

1) ทาใหท้ ราบถงึ ความเปลยี่ นแปลง
ในลักษณะทางกายภาพของพ้ืนท่ตี า่ ง ๆ โดย
เปรยี บเทียบจากรปู ถ่ายท่ถี ่ายในระยะเวลา
แตกต่างกนั เชน่ การสูญเสยี พืน้ ที่ป่าชายเลน
การพังทลายของตล่ิงริมแม่น้าที่เกดิ จากการกดั
เซาะของคลื่น และการขยายตัวของชุมชน
เมืองเขา้ ไปในพื้นท่ีเกษตรกรรม
2) การวางแผนพัฒนาการใช้
ทด่ี นิ โดยนารูปถา่ ยทางอากาศไปใช้เพื่อ
จัดทาแผนที่และจาแนกประเภท การใช้
ท่ดี ินของประเทศ โดยกาหนดโซนหรือแบ่ง
พื้นที่เป็นเขตอตุ สาหกรรม เขต
เกษตรกรรม และเขตชมุ ชนที่อยอู่ าศัย

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์

36

3) การอนุรกั ษ์พื้นท่ีปา่ ไม้ รูปถา่ ยทาง
อากาศทาให้ทราบถึงสภาพความอุดมสมบูรณ์
ของป่าไม้ในพนื้ ทต่ี ่าง ๆ เพ่ือกาหนดแนว
ทางการอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาต่อไป

การศกึ ษาข้อมลู จากรูปถ่ายทางอากาศ การอ่านรูปถา่ ยทางอากาศด้วยกล้องสามมติ ิ
ทาได้ 2 วิธี คือ ศึกษาด้วยตาเปลา่ ศึกษาดว้ ย
กลอ้ งสามมิติ เนอ่ื งจากรูปถ่ายทางอากาศไม่มี
คาอธิบายใด ๆ ทง้ั สนิ้ จึงควรศกึ ษาควบค่กู ับ
แผนทดี่ ้วยจะทาใหเ้ ขา้ ใจง่าย

ตัวอยา่ งรปู ถา่ ยทางอากาศ

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์

37

รปู ถ่ายทางอากาศภูเขาฟูจิ ประเทศญี่ป่นุ

รปู ถา่ ยทางอากาศฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมรกิ า
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์

38

รูปถ่ายทางอากาศกรุงวอชงิ ตัน ดีซี สหรัฐอเมรกิ า

รปู ถา่ ยทางอากาศกาแพงเมืองจนี
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์

39 ูรป ่ถายทางอากาศกรุงปา ีรส ฝ ่รังเศส

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

40
1.4 ภาพจากดาวเทยี ม

1.4.1 ภาพจากดาวเทยี ม (Satellite Imagery) ให้ประโยชน์อย่างมากใน
การศกึ ษาข้อมลู เพอ่ื สารวจแหลง่ ทรัพยากรธรรมชาติ ในปจั จบุ นั ประเทศไทยมีสถานรี ับสัญญาณ
ภาพดาวเทียมลาดกระบัง ต้ังอยู่ทเี่ ขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ทาให้สน้ิ เปลืองค่าใช้จา่ ยน้อย
กว่าทีเ่ คยพง่ึ พาต่างประเทศ

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์

41
1.4.2 การทางานรับภาพของดาวเทยี ม เรยี กวา่ กระบวนการรโี มทเซนซงิ
(Remote Sensing) โดย ดาวเทียมจะเก็บข้อมลู ของวตั ถุหรอื พื้นท่ีเป้าหมายบนพ้นื ผวิ โลก จาก
รังสที ่ีสะท้อนขนึ้ ไปจากผวิ โลกหรอื จากอุณหภมู ขิ องวตั ถนุ ั้น ๆ บนพืน้ ผิวโลกจากนน้ั ดาวเทียมจะ
สง่ ขอ้ มูลเป็นคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ามายงั สถานีภาคพน้ื ดนิ ซ่งึ จะบนั ทึกเป็นข้อมูลเชิงตวั เลขในแถบ
บนั ทกึ ข้อมูล เพื่อนาไปประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ และนาเสนอเป็นแผน่ ฟิล์ม

กระบวนการรโี มทเซนซงิ (Remote Sensing)
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์

42
1.4.3 ภาพจากดาวเทยี วให้ประโยชน์ในการศึกษาทางภมู ิศาสตร์ คอื นามาใช้
จัดทาแผนท่แี สดงภูมปิ ระเทศของพ้ืนทีต่ ่าง ๆ ซ่งึ จะให้รายละเอยี ดของตาแหน่งต่าง ๆ บนพน้ื โลก
ชัดเจนยิ่งขึ้น

ตวั อยา่ งแผนท่ภี าพถา่ ยดาวเทยี ม
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์

43

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

44

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์

45

1.5 ขอ้ มูลเชิงสถิติ

ข้อมลู สถิติ เป็ นข้อเทจ็ จริงสาหรบั ใช้เป็ นหลกั ฐานในการอ้างองิ ข้อมลู ที่รวบรวมไว้มที งั้ ทเ่ี ป็ น
ข้อความและตวั เลข ในทางภมู ศิ าสตร์นิยมแสดงข้อมลู สถิติไว้ 2 รูปแบบ ได้แก่

1) ตารางสถิติ คอื แผนภมู ทิ ่ีแสดงข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์ไว้ในรูปของตาราง เช่น สถิติเนอื ้ ที่ของทวปี
หรือประเทศ สถิติประชากร สถิตอิ ณุ หภมู ิหรือปริมาณนา้ ฝนของบริเวณใดบริเวณหนง่ึ

2) กราฟและแผนภมู ิ
เขยี นขนึ ้ เพ่ือแสดงการเปลย่ี นคา่
ของตวั แปรหนง่ึ เปรียบเทียบกบั คา่
ของตวั แปรอนื่ เป็ นเคร่ืองมือ
สาคญั อยา่ งหนง่ึ ในการศกึ ษา
ภมู ิศาสตร์ เพราะจะชว่ ยให้การ
วเิ คราะห์ความแตกตา่ งของข้อมลู
ท่นี ามาใช้มีความรวดเร็ว การ
เปรียบเทียบอตั ราสว่ นข้อมลู ทาได้
สะดวก และเข้าใจได้งา่ ย มหี ลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟรูปแทง่ แผนภมู ริ ูปภาพ แผนภมู ิรูปทรงกลม

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์

46

กราฟแสดงปริมาณน้าผลสะสม
3) แผนภาพ (diagram) แผนภาพคือ รูปทเ่ี ขียนขนึ ้ เพอ่ื ประกอบคาอธิบายปรากฏการณ์ตา่ งๆ
ทีเ่ ก่ียวข้องกบั การศกึ ษาวิชาภมู ศิ าสตร์ ทงั้ นเี ้พราะเร่ืองราวทางภมู ศิ าสตร์บางอยา่ งเกิดขนึ ้ ในอดตี เช่น การ
เกิดท่รี าบ การทบั ถมของหินชนั้ และปรากฏการณ์บางอยา่ งท่ีมองไมเ่ ห็น เชน่ วฏั จกั รของนา้ การเกิดลมบก-
ลมทะเล การใช้แผนภาพอธิบายจะทาให้เข้าใจเรื่องราวเหลา่ นนั้ ได้งา่ ยขนึ ้

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์

47
1.6 อินเทอรเ์ นต็

1.6.1 อินเทอรเ์ นต็ (Internet) หรอื ไซเบอรส์ เปซ (Cyber Space) คือ ระบบ
การสือ่ สารดว้ ยเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ท่ีเช่ือมโยงระหวา่ งผ้ใู ชง้ านทวั่ โลกเขา้ ด้วยกัน ทาให้เกิดการ
แลกเปลีย่ นข้อมลู ขา่ วสาร และความรดู้ า้ นต่าง ๆ อย่างสะดวกและรวดเร็ว จนทาใหโ้ ลกใน
ปจั จบุ ันเข้าสู่ยคุ “การสอื่ สารไร้พรมแดน”

1.6.2 บรกิ ารในอนิ เทอร์เนต็ (World Wild Web : WWW) จะให้บรกิ ารข้อมลู
ในรปู แบบต่าง ๆ ทั้งตัวอักษร รปู ภาพ เสียง หรอื ภาพยนตร์ ขอ้ มลู เหล่าน้ี เรยี กว่า “เวบ็ เพจ็ ”
(Web Page) มีการเช่ือมโยงถึงกันท่วั โลกคล้ายใยแมงมุม

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์

48

โปรแกรมGoogle earth ใช้สาหรบั ดภู าพถา่ ยดาวเทียม
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เรื่อง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์

49

ตัวอยา่ งเว็บไซตท์ ่ีใช้ค้นคว้าขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตร์
หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์

50

แบบฝกึ หัดทา้ ยเล่ม

1. ถ้าตอ้ งการศึกษาเส้นทางในการเดินทางไปแหล่งทอ่ งเท่ียวตา่ งจงั หวดั หลายๆ จงั หวดั ใน
ภมู ภิ าคอีสานควรใชแ้ ผนทชี่ นิดใดจึงจะครบถว้ นทส่ี ดุ
ก. แผนทที่ างหลวง
ข. แผนท่ีเพ่ือการนทิ ัศน์
ค. แผนทก่ี ารใชท้ ดี่ นิ
ง. แผนทีร่ ัฐกจิ

2. ขอ้ ใดเปน็ ส่วนประกอบทีส่ าคญั ของระบบ GPS
ก. พลังงงานคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า และการวเิ คราะหข์ ้อมูล
ข. คอมพิวเตอร์ องค์กร บุคลากร
ค. สว่ นควบคมุ สว่ นอวกาศ ส่วนผใู้ ช้
ง. ซอฟต์แวร์ ฮาร์ตแวร์ บคุ ลากร ข้อมูล

3. สแี ดง หรือสีดา ใชแ้ ทนสัญลกั ษณ์อะไรในแผนท่ี
ก. นา้ หรอื แหลง่ น้า
ข. ความแตกตา่ งของภมู ิประเทศ
ค. พืชพรรณธรรมชาติ
ง. สิง่ ท่มี นุษยส์ รา้ งขึ้นทัง้ หมด

4. ข้อใดไมใ่ ชป่ ระโยชนข์ อง GIS
ก. สารวจตดิ ตามยานพาหนะบนทางด่วน
ข. ติดตามข้อมูลข่าวสารการพยากรณ์อากาศ
ค. วเิ คราะหก์ ารหาพื้นทเ่ี ส่ยี งต่อการเกดิ อุทกภยั
ง. วางแผนป้องกันการเกดิ อุทกภยั ในทุกพื้นที่

หนงั สอื เสริมประสบการณ์ วชิ าสงั คมศกึ ษา ม.2 เร่ือง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์


Click to View FlipBook Version