The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการพัฒนาตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phornphimon Kiadkongphrai, 2022-09-04 01:02:38

รายงานการพัฒนาตนเองของสถานศึกษา

รายงานการพัฒนาตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวิทยา ก

คำนำ

รายงานผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา ตำบลแมสอง อำเภอทาสองยาง
จังหวัดตาก ฉบับน้ีจัดทำข้ึนเพ่ือกำหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา
ปการศึกษา 2564 ซงึ่ เปนไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ท่ีมุงเนนใหสถานศึกษาทุก
แหงมีระบบการประกันคุณภาพภายใน และใหถือวา การประกันคุณภาพภายในเปนสวนหน่งึ ของกระบวนการ
บริหารการศึกษาท่ีตองดำเนินการอยางตอเนื่องเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพ เอกสารฉบับนี้จะเปนการ
กำหนดมาตรฐานการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเสนอตอหนวยงาน ตนสังกัด หนวยงานที่เก่ียวของ และ
เปดเผยตอสาธารณชนเพื่อนำไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรับการประกัน
คุณภาพภายนอกดวย ดงั น้ันจงึ ไดดำเนนิ การประเมินคุณภาพการจัดการศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
รวมจำนวน 3 มาตรฐาน มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานรวมจำนวน 3 มาตรฐานขอขอบคุณบุคลากรที่
เกีย่ วขอ งไดแ ก คณะครู นักเรยี น ผูป กครองนักเรยี น ผูนำชมุ ชน และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานท่ี
ใหความรวมมือในการประเมินคุณภาพ ตลอดจนใหขอเสนอแนะ แนะนำการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาใหไดมาตรฐานในปตอ ๆ ไป ซึ่งจะเปนประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
สบื ไป

โรงเรียนบานแมส ลิดหลวงวิทยา

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา ข

สารบัญ

เรือ่ ง หนา

คำนำ 1

สวนที่ 1 บทสรุปสำหรับผบู ริหาร 10
10
สว นที่ 2 ขอมลู พนื้ ฐาน 23
26
 ขอมลู ทั่วไปของสถานศึกษา
 ขอมลู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดบั สถานศึกษา 35
 ผลการทดสอบระดบั ชาติของผเู รยี น 35
46
สวนที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 55
 ระดับปฐมวยั

 ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
ภาคผนวก

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นแมสลดิ หลวงวิทยา 1

ส่วนท่ี 1 บทสรปุ สำหรบั ผ้บู รหิ าร

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR)
ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวทิ ยา
ระดับการศึกษาปฐมวยั

ระดบั การศึกษาปฐมวยั สรุปภาพรวมอยูในระดับ : ดี

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ ระดับคณุ ภาพ : ดี
1.ผลการดำเนนิ การ
เน่อื งจากผลกระทบการแพรระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) เด็กนกั เรียนไมส ามารถ ทำ

กิจกรรมท่ีพัฒนาการดานรางกายท้ังกลามเน้ือมัดเล็กมัดใหญเหมาะสมตามวัยของตนเอง สงผลใหเด็กไมมี
กจิ กรรมการเคล่อื นไหวเพื่อใหมีพัฒนาการดานรา งกาย สงผลใหมีสุขภาพรางกายแข็งแรงตามการจัดการเรียน
การสอนตามปกตไิ ด

โรงเรียนไดจ ัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบออนแฮนด โดยแจกใบงานใหกับผปู กครองนักเรียนเพื่อ
นำไปฝกปฏิบัติและสงเสริมการมีสุขนิสัยท่ีดี และดูแลความปลอดภัยของตนเอง เพื่อใหมีน้ำหนัก สวนสูง
เปน ไปตามเกณฑม าตรฐาน มพี ัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางดานอารมณได เหมาะสม
ตามวยั กลาแสดงออกใหผปู กครองเหน็ ในกิจกรรมทโ่ี รงเรยี นจดั ให

นำนวัตกรรมของการศึกษาปฐมวัย(แมสลดิ โมเดล)มาเปนแนวทางในการจัดทำใบงานท่ีสอดคลองกับ
กิจกรรมสงเสริมทางดานคุณธรรมและจริยธรรม สอดแทรกการฝกระเบียบวินัยใหกับเด็กปฐมวัย
มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามกติกาท่ีตกลงกันกับครูและผูปกครอง ฝกใหเด็ก มารยาทท่ีดีงาม ปลูกฝงการ
รักษาสิ่งแวดลอม มีจิตอาสาพัฒนาการดานสังคม เด็กสามารถชวยเหลือตนเอง และเปนสมาชิกที่ดีของ
ครอบครัวและสงั คม ชว ยเหลอื ตนเองในการทำกิจวัตรประจำวันได รูจักการประหยัดพอเพยี ง มีสวนรว มในการ
ดูแลรักษา สิ่งแวดลอมทั้งในและนอกบาน มีมารยาททางวัฒนธรรมไทย เชน การไหว การทักทาย
และการอนุรักษ วัฒนธรรมของทองถ่ินตนเอง(ปะกาเกอญอ)และเปนสมาชิกที่ดีของสังคมไดอยางเหมาะสม
พัฒนาการดานสติปญญา ทักษะดานสติปญญา การคิด การสังเกต การแกปญหาดีขึ้น รูจักการเปรียบเทียบ
ทำกิจกรรมตามใบงานที่แจกใหอยางสนุกสนาน ไดทดลองปฏิบัติจริง ไดเรียนรนู อกโรงเรียน พัฒนาเด็กดาน
ทักษะการพูด การใชภาษา สนทนาโตตอบไดดีเพราะไดเรียนรูดวยตนเอง เด็กมีความคิดสรางสรรค
จินตนาการ ในการทำงานศิลปะ และมีทักษะการคิดพื้นฐานในการแสวงหาความรูไดเหมาะสมตามวัย
มีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดแกปญ หาและสามารถตัดสนิ ใจเร่อื งงา ยๆไดอ ยางเหมาะสม

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 2

2.แนวทางพฒั นาคุณภาพใหส งู ขน้ึ กวาเดมิ
โรงเรียนสงเสริมกระบวนการพัฒนาเด็กปฐมวัยที่หลากหลาย โดยครูผูสอนจัดกิจกรรมการเรียนรู
ใหเปนไปตามศักยภาพของเด็กและเปนไปตามมาตรฐานคุณลักษณะอนั พึงประสงค สงเสริมใหเด็กมพี ัฒนาการ
ดานรางกายอารมณจิตใจ สังคม และสติปญญา ออกแบบการจัดประสบการณการเรียนรูที่เหมาะสมกับ
นกั เรียนโดยการใหนักเรียนลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง เพอ่ื ใหเกิดองคค วามรทู ่ียั่งยืน

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดบั คุณภาพ : ดี
1.ผลการดำเนินการ
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยามีกระบวนการจัดการบริหารและการจัดการในหลักสูตรปฐมวัย

ที่ยืดหยุนและสอดคลองกับหลักสูตรสถานศึกษาโดยเนนการเตรียมความพรอมใหเด็กปฐมวัยครอบคลุม
พัฒนาการท้งั 4 ดา น คือ ดานรางกาย ดานอารมณ ดานสงั คม และดานสติปญญา เนนการเรียนรผู านการเลน
และลงมือปฏิบัติดว ยตนเอง ใหสอดคลองกับบรบิ ทของชุมชน และทองถ่ินตลอดจนไดจัดสรรครูใหเพียงพอกับ
ชน้ั เรียน แตเน่ืองจากครูผูสอนมีการโยกยายสงผลใหการจัดครูผูรับผิดชอบดูแลชั้นปฐมวัยไมตรงตามสายงาน
หรอื วิชาเอก มาจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเพอื่ แกป ญ หาครูไมครบช้ัน ดานความเชี่ยวชาญและประสบการณ
โรงเรียนไดสงเสริมใหครูมีความเชี่ยวชาญดานการจัดประสบการณ มีการพัฒนาคุณภาพครู ดานการศึกษา
ปฐมวัยอยางตอเน่ือง ทำใหครูผูสอนปฐมวัยทุกคนมีความรูความสามารถในการวิเคราะหและออกแบบ
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณและการประเมินพัฒนาการเด็กเปนรายบุคคล
ท่ีเหมาะสม

มีประสบการณในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธที่ดีกับเด็ก
และผูปกครอง จากโครงการพัฒนาบุคคลากร กิจกรรมการประชุมสัมมนา ประชุมเชิงปฏิบัติการ
สนับสนนุ ครูผสู อนในการศกึ ษาหาความรทู ที่ นั สมัยเพอื่ นำมาซง่ึ การจดั ประสบการณการเรยี นรูใหกับเด็กปฐมวัย
อยางเต็มศกั ยภาพ ครูมีกลุมเครอื ขายเพอ่ื แลกเปลย่ี นเรยี นรใู นเรื่องการจัดประสบการณการเรยี นรูสำหรับเด็ก
ปฐมวัย เชน กลุมไลนครอู นุบาลทาสองยาง กลุมไลนปฐมวัยตาก 2 และกลุมไลนบานนักวิทยาศาสตรนอย
โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวทิ ยาไดจ ัดสภาพแวดลอ มและสอ่ื เพอื่ การเรียนรูอยา งปลอดภัยและพอเพียง

มี ก า ร จั ด ส ภ า พ แ ว ด ล อ ม ท้ั ง ภ า ย ใน แ ล ะ ภ า ย น อ ก ห อ ง เ รี ย น ค ำ นึ ง ถึ ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง เด็ ก
สงเสริมใหเกิดการเรียนรูทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุม มีมุมประสบการณและส่ือการเรียนรูที่หลากหลาย
มกี ารติดต้งั สญั ญาณ WiFi และทีวี ทีส่ ามารถเช่อื มโยงเครือขายอนิ เตอรเน็ต และคอมพวิ เตอรไ ดทุกชั้นเรยี น
และทว่ั ถึง สง ผลใหโรงเรยี นมีการจัดสภาพแวดลอมและส่อื เพื่อการเรียนรู อยางปลอดภัย และพอเพยี ง

โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยามีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาท่ีสอดคลองกับ
มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ
ท่ีสอดคลองกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบ คุณภาพภายใน
สถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำป มีการนำผล

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 3

การประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝายมีสวนรวม พรอมท้ังรายงานผลการประเมิน
ตนเองใหหนวยงานตนสังกัดอยางตอเนื่อง จากโครงการงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สง ผลใหโ รงเรยี นมรี ะบบบรหิ ารคุณภาพที่เปด โอกาสใหผูเกีย่ วของทุกฝา ยมสี วนรว ม

2.แนวทางพฒั นาคณุ ภาพใหส งู ข้ึนกวาเดมิ
ดำเนินการดานบริหารและจัดการสถานศึกษาท่ีครอบคลุมดานวิชาการ ครูและบุคลากรดานขอมูล
สารสนเทศดานสภาพแวดลอมและส่ือเพ่ือการเรียนรูและดานระบบประกันคุณภาพภายใน โดยเปดโอกาส
ใหผูเก่ียวของทุกฝายมีสวนรวมในการจัดการศึกษามีการกำกับติดตามการดำเนินงานอยางเปนระบบ
และตอเน่อื ง เพื่อสรางความมัน่ ใจตอคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา มหี ลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการ
ท้งั 4 ดาน

มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณทีเ่ นนเด็กเปน สำคญั ระดับคุณภาพ : ดี
1.ผลการดำเนนิ การ
โรงเรียนไดจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา

ผานกระบวนการจัดการเรยี นรแู บบออนแฮนด โดยเปดโอกาสใหผูปกครองมีสว นรวมในการจัดการเรียนรูผาน
กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามใบงานที่มอบหมาย สงเสริมการสรางปฏิสัมพันธท่ีดี ระหวางผูปกครอง
และนกั เรียนทำใหไดรูจักผเู รยี นเปนซึ่งเปนบุตรหลานมากย่ิงขึ้น ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผเู รียนอยาง
เปนระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเรียนตามใบงานท่ีไดรับ รวมทั้งการรว มกันแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ ละนำผลที่ไดมา
ใหขอมูลปอ นกลับเพ่อื พัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรยี นรู จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพฒั นาการทุก
ดานอยางสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ จัดประสบการณก ารเรยี นรทู ่ีครอบคลมุ พัฒนาการ ในทุกๆดา นใหเ หมาะสมกับวัย
สงเสริมใหเด็กไดประสบการณโดยตรงจากการเรียนผานใบงานและการเลนที่บาน โดยลงมือปฏิบัติจริงดวย
ตนเองเพ่ือกอใหเกิดความเขาใจ ความสามัคคี การแบงปน และการรอคอย เพื่อสงผลใหเด็กเกิดการเรียนรู
ไดอยางมีความสุข จากโครงการพัฒนาการเตรียมความพรอมระดับปฐมวัย โครงการบานนักวิทยาศาสตรนอย
โรงเรียนมีการจัดประสบการณที่สรางโอกาสใหเด็กไดป ระสบการณตรงจากครอบครัวในสถานการณโควิด-19
และปฏิบัติอยางมีความสุข สงเสริมความสนใจใหแกผูเรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปดวยความอบอุน
ความเห็นอกเห็นใจมีความเอื้อเฟอ เผ่ือแผตอกันและกัน ซึ่งเปนแรงจูงใจภายนอกที่กระตุนใหผูเรียนรกั การอยู
รว มกันในช้นั เรยี นและปลกู ฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม ใหแกเดก็ นักเรียน

นอกจากนี้โรงเรียนไดสงเสรมิ ประสบการณการเรียนรูนอกหองเรียน การจัดประสบการณการเรียนรู
และการจัดกิจวัตรประจำวันดวยเคร่ืองมือและวิธีการที่หลากหลาย โดยประสานความรวมมือกับผูปกครอง
เชน การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะหผลพฒั นาการของเดก็ โดยใหผูปกครองมีสวนรวม
เพ่ือไดนำผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของเด็กและพัฒนาการจัดประสบการณ การเรียนรูในช้ันเรียน

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวิทยา 4

กิจกรรมประเมินนักเรียนจบหลักสูตรระดบั ปฐมวยั สงผลใหโรงเรียนไดมีการประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพ
จรงิ และนำผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรงุ การจดั มามสี วนรว มในการพฒั นา

2.แนวทางพฒั นาคณุ ภาพใหสูงข้ึนกวา เดมิ
จดั กิจกรรมการเรียนการสอนมุงเนนความสำคัญของการพัฒนาการดานรางกาย อารมณจิตใจ สังคม
และสติปญญา โดยสงเสริมใหมีความรู คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต เนนผูเรียนเปน

สำคัญ เพ่อื ใหเดก็ ไดป ระสบการณตรง นำภมู ิปญ ญาทองถิ่นเขามามีสว นรว มในการจัดกจิ กรรมใหเ ด็ก

สรปุ ผลการดำเนินงาน

จุดเดน จุดควรพัฒนา

ดา นคณุ ภาพเดก็ ดานคุณภาพเดก็

เด็กมีรางกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักสวนสูง - การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเนนการพัฒนาผูเรียน

ตามเกณฑ มีทักษะการเคล่ือนไหวตามวัย สามารถ เปน รายบคุ คลใหช ัดเจนข้นึ

ดูแลสุขภาพและหลีกเล่ียงตอสภาวะที่เสี่ยงตอ - การสงเสริมใหมีการจัดสถานที่ท่ีเอื้อตอการเรียนรู

อุบัติเหตุ และส่ิงเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม อยางปลอดภัย

คานิยมท่ีพึงประสงค มีจิตสำนึกในการอนุรักษ - การทำกิจกรรมเสริมสตปิ ญ ญาใหเ หมาะสมตามวยั

ทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข มีอารมณ - การปลกู ฝง ในเร่อื งสุขนิสัยท่ีดี เชน การลางมือกอน

แจมใส ราเริง สนุกสนาน รวมกิจกรรมและอยูใน รับประทานอาหาร ลางมือกอนออกจากหองน้ำ

สังคมไดอ ยางมีความสขุ มีระเบียบวินัย มีสตปิ ญ ญา หองสวม และการเลือกรับประทานอาหารท่ีมี

เรียนรู ไดตามวัยกิจกรรมประจำวันอยางดีมี ความ ประโยชน ใหเปน นสิ ยั

สนใจกระตือรือรนในการทำงานท่ีมอบหมายใหทำ มี - การใชคำพูดขอบคุณ ขอโทษ สวัสดี

จิตอาสา

ดานกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดานกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

ผบู รหิ ารมคี วามต้ังใจ มีความมุงม่ัน มีหลักการ - ควรเปดโอกาสใหผูปกครองไดมีสวนรวมในการ

บริหาร สามารถเปนแบบอยางท่ีดีในการทำงาน เสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา

และคณะกรรมการสถานศึกษามีความต้ังใจ และมี ผูเรยี นมากขึ้น

ความพรอ มในการปฏิบตั ติ ามหนาท่ีตามบทบาท - ควรสรางเครือขายความรวมมือกับผูมีสวน

โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอยางเปน เกี่ยวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียนใหมีความ

ระบบ โรงเรียนไดมีการประชุมแบบมีสวนรวม เขมแขง็ มีสว นรวมรับผิดชอบตอ ผลการจัดการศึกษา

การประชุมกลุม การประชุมเพื่อแกปญหาเฉพาะ และการขับเคล่อื นคณุ ภาพการจัดการศึกษา

ดาน เพ่ื อใหทุ กฝายมี สวนรวมใน การกำห น ด - ครูควรจัดประสบการณ การเรียนรูใหเด็กปฐมวัย

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบานแมสลดิ หลวงวิทยา 5

จุดเดน จดุ ควรพัฒนา
วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับ ทกุ คน มคี วามพรอ มเต็มตามศกั ยภาพ
แผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ
การประจำป ที่สอดคลองกับการจัดการศึกษา
สภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการ
ปฏิรูปการศึกษาที่มุงเนนการพัฒ นาใหผูเรียน
มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตร
สถานศึกษาครูผูสอนสามารถจัดการเรียนรูไดอยาง
มีคุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม
ประเมินผล การดำเนินงาน และจัดทำรายงานผล
การจดั การศกึ ษา และโรงเรยี นไดใชกระบวนการวิจัย
ในการรวบรวมขอมูล เพื่อใชเปนฐานในการวางแผน
พัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษา
ดา นการจัดประสบการณทเ่ี นนเด็กเปน สำคัญ ดานการจดั ประสบการณที่เนนเด็กเปนสำคัญ

มุงเนนความสำคัญของการพฒั นาการในทุก ๆ การใชส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย
ดาน ท้ังทางดานรางกาย อารมณจิตใจ สังคม จัดประสบการณการเรียนรูท่ีครอบคลุมพัฒนาการ
และสติปญ ญ า มีความรู คุณ ธรรม จริยธรรม ใน ทุ กๆดานใหเห มาะสมกับ วัย จัดสถาน ท่ีท่ี
และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเปนการจัด เหมาะสมและปลอดภัย
ประสบการณการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ
เพอ่ื สามารถอยูรว มกับผอู ื่นไดอ ยางเปน สุข

ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยามีการนำกระบวนการพัฒนา โดยการนำกิจกรรมสงเสริมคุณธรรม

จริยธรรมนวัตกรรมสงเสริมและพัฒนาพัฒนาการการศึกษาปฐมวัย แมสลิดโมเดล มาใชในการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย นำกิจกรรมบานนักวิทยาศาสตรนอยแหงประเทศไทย มีการจัดทำแผนการสอนเพ่ือพัฒนาทักษะ
สองสวนหนา ( EF ) เขามาบูรณาการจัดกิจกรรมใหกับเด็กปฐมวัย มีการจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมใหเด็กมีสมาธิ
โดยผานการจัดกิจกรรมท้ังในและนอกหองเรียน สงเสริมการทำงานเปนกลุม การฝกเปนผูนำผูตามที่ดี
การยอมรับฟงความคิดเห็นของผอู ่ืน เนนการจัดประสบการณการเรียนรูผาน 6 กิจกรรมหลัก โดยสงเสริม
ใหเด็กเกิดทักษะกระบวนการความคิดรวบยอด มีสนามเด็กเลนและสื่อการเรียนรูที่ทันสมัย ใหมีการพัฒนา
บุคลากรโดยการสงเขาอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรใู นงานท่ีไดรับมอบหมาย ติดตามผลการนำไปใชและผลที่เกิด
กบั เดก็ อยางตอ เนื่อง และมกี ารจดั ใหมกี ารนเิ ทศภายในอยา งเปน ระบบ

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 6

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR)
ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบา นแมสลิดหลวงวทิ ยา
ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สรปุ ภาพรวมอยใู นระดับ : ดี

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รยี น ระดบั คณุ ภาพ : ดี
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผเู รียน
1.ผลการดำเนนิ การ
จากคาเฉล่ียของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ ดี ข้ึนไป ตั้งแตระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 1-6

และ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1-6 อยูที่รอยละ 55.05 และ 55.84 ตามลำดับ ผลการทดสอบความสามารถ
ดานการอาน (Reading Test : RT) คาเฉล่ียรอยละ 46.05 ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเรียน
ระดับชาติ NT คาเฉล่ียรอยละ 33.20 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น
ประถมศึกษาปท่ี 6 ผลการสอบเฉล่ียเพ่ิมข้ึนจากปการศึกษา 2563 ในรายวิชาคณิตศาสตร เพิ่มขึ้นรอยละ
6.36 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3 ผลการสอบเฉลี่ย
เพ่ิมขึ้นจากปการศึกษา 2563 ในรายวิชาวิทยาศาสตร เพิ่มขึ้นรอยละ 3.14 ผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ผลการสอบเฉล่ียเพิ่มขึ้นจากปการศึกษา 2563
ในรายวิชาภาษาไทย เพ่ิมขน้ึ รอยละ 3.34 และวิชาสังคมศึกษา เพ่มิ ข้นึ รอ ยละ 7.57

2.แนวทางพฒั นาคุณภาพใหส งู ข้นึ กวา เดมิ
สงเสริม สนับสนุน ผูเรียนในกิจกรรม โครงการท้ังในและนอกสถานศึกษา ใหมีการจัดกิจกรรม
เพ่ือเพ่ิมชั่วโมงการสอนในรายวิชาท่ีจะยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ รียนเพิ่มข้ึนรอยละ 3 คาเฉลี่ยผลการ
สอบวดั ระดบั ชาติ O-NET ระดับ ป.6 ม.3 และ ม.6 มพี ัฒนาการสูงขึ้น ผูเรยี นมคี วามรู ทักษะ และเจตคติทีดี
พรอ มที่จะศึกษาตอในระดับช้นั ทส่ี ูงขึ้น

1.2 คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงคข องผูเรียน
1.ผลการดำเนนิ การ

จากคา เฉลี่ยของนักเรยี นท่ีมีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคของผูเรียน มดี งั น้ี
ระดบั ดีเยีย่ ม รอ ยละ 18.04
ดี รอ ยละ 64.04
ผาน รอยละ 15.85
ไมผา น รอยละ 2.04

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบานแมสลดิ หลวงวิทยา 7

2.แนวทางพฒั นาคณุ ภาพใหสงู ขนึ้ กวาเดิม
โรงเรียนจะสงเสริมนักเรียนในดานกีฬา กรีฑา การดูแลสุขภาพและใหหางไกลจากยาเสพติดฝก
ใหนักเรียนมีสวนรวมในทุกกิจกรรมของโรงเรียนใหมากข้ึนเพ่ือเปนการฝกความกลาแสดงออกมนุษยสัมพันธ
และการใหเกียรติผูอื่นของนักเรียนอยางตอเน่ือง ครูและบุคลากรภายในโรงเรียนช้ีแนะปฏิบัติใหดู
และสอดแทรกใหนักเรียนมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคท้ัง 8 ประการ รวมถึงคณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามวัฒนธรรม
ประเพณีโรงเรียนสงเสริมและปลูกจิตสานึกความเปนประชาธิปไตยในโรงเรียนเพื่อฝกความรับผิดชอบ
การเปนผูน ำและผูตามการยอมรบั ความคดิ เห็น

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คณุ ภาพ : ดี
1.ผลการดำเนินการ
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยามีการกำหนดเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจที่กำหนดไวตรง

กับแผนการศึกษาชาติ และสอดคลองกับความตองการของชุมชนทองถ่ิน พัฒนาวิชาการที่เนนผูเรียน
ทุกกลุมเปาหมาย ทุกคน และดำเนิน ครปู ฏิบัติหนาทีต่ ามมาตรฐาน ดวยความมุงม่ัน ทุมเทการสอนอยางเต็ม
เวลา และเต็มความสามารถ มีการวางแผนการบริหารและการจัดการขอมูลสารสนเทศอยางเปนระบบ
การวางแผนและจดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสงั คมที่เออื้ ตอ การจัดการเรียนรอู ยางมีคณุ ภาพ ผูเ กย่ี วขอ ง
ทุกฝายมีสวนรว มและมีเครือขายความรว มมือในการรวมรับผิดชอบตอผลการจัดการศกึ ษาใหมคี ุณภาพและได
มาตรฐาน สถานศึกษามีการกำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาอยางเหมาะสม
ชดั เจน และเปดโอกาสใหผ ูเ ก่ียวของมีสวนรวม

2.แนวทางพัฒนาคณุ ภาพใหส ูงขึ้นกวา เดิม
กำหนดแผนพัฒนาครูยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนรู เพ่ือสรางความเขาใจในการพัฒนา
สถานศึกษา ชวยใหโรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธที่ดีข้ึนชุมชนเขาใจการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ของโรงเรียนมากยงิ่ ข้นึ และคณะกรรมการสถานศกึ ษา ชมุ ชนเขามามีสวนรวมมากยง่ิ ขน้ึ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนนผูเรียนเปน สำคญั ระดับคณุ ภาพ : ดี
1.ผลการดำเนนิ การ
โรงเรียนจัดใหผูเรียนมีสวนรวมในการวิเคราะหตนเอง กำหนดเน้ือหาสาระกิจกรรมที่สอดคลอง

กับความสนใจและความถนัดเปนรายบุคคล เปด โอกาสใหผูเรียนเรยี นรูโดยผานกระบวนการคิด ไดป ฏิบัติจริง
ดวยวิธีการและแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดฝกทักษะแสดงออก นำเสนอผลงานแสดง
ความคิดเห็นคดิ เปน รจู กั การแสวงหาความรูจากส่อื เทคโนโลยีดวยตนเอง จดั ใหมีส่อื การเรยี นและอำนวยความ
สะดวกที่เอ้ือตอการเรียนรู ผูเรียนไดเรียนรู จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากแหลงเรียนรูและภูมิปญญา
ทองถ่ินในการจัดการเรียนการสอน ชุมชนมีสว นรวมแสดงความคิดเห็นหรือรวมจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
มีประเมินผูเรียนจากสภาพจริง มีข้ันตอนตรวจสอบและประเมินอยางเปนระบบ ใชเคร่ืองมือและวิธีการวัด

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 8

และประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับเปาหมายและการจัดการเรียนการสอนนักเรยี นและผูมสี วนเกี่ยวของมีสวนรวม
ในการวัดและประเมนิ ผลใหขอ มูลยอนกลบั แกผเู รียนและผูเรียนนำไปใชพ ัฒนาตนเอง

2.แนวทางพัฒนาคณุ ภาพใหสูงข้นึ กวาเดมิ
เปดโอกาสใหผปู กครองไดมีสวนรว มในการเสนอความคดิ เห็นมากยิ่งข้ึนในการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนา
ผูเรียน และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสำคัญ มีการจัดการเรียนรู
ผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยกุ ตใชในชีวิตได

สรุปผลการดำเนนิ งาน

จดุ เดน จดุ ควรพัฒนา

1. มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนท่ีหลากหลาย 1. อุปสรรคทางดานเทคโนโลยีและการส่ือสารดาน

โดยทุกฝายมีสวนรวม กำหนดคาเปาหมาย กำหนด ภาษาท่ีนักเรียนสวนใหญยังใชภาษาถ่นิ ในการสื่อสาร

บทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของบุคลากรอยาง จงึ ทำใหข าดความเขา ใจในดานการใชภาษามาตรฐาน

ชัดเจน

2. มีการบริหารและการจัดการอยางเปนระบบ 2. เพ่มิ การเปดโอกาสใหผูปกครองไดมสี ว นรวมในการ

หลากหลายวิธี มีการประชุมแบบมีสวนรวม ประชุม เสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา

เพื่อใหทุกฝายมีสวนรวมในการกำหนดวิสัยทัศน พันธ ผูเรียน พัฒนาการสรางเครอื ขายความรวมมือของผูมี

กจิ เปาหมายท่ชี ดั เจน สวนเก่ียวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ใหมี

ความ เขมแข็ง มีสวนรวมรับผิดชอบตอผลการจัด

การศึกษา และการขับเคล่ือนคุณ ภาพการจัด

การศกึ ษา

3. มีการปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา 3.เพ่ิมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการประเมิน

แผนปฏิบัติการประจำปท่ีสอดคลองกับผลการจัด คุณภาพภายในแลวนำมาสูการระดมความคิดเพ่ือ

การศึกษา สภาพปญหา ความตองการพัฒนาและ พัฒนาสถานศกึ ษาอยา งเปนระบบ

นโยบายปฏิรปู การศกึ ษาท่ีมุงเนน การพัฒนาให ผูเรียน

มี คุ ณ ภ า พ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร เรี ย น รู ข อ ง ห ลั ก สูต ร

สถานศึกษา

4. ครูมีการวิเคราะหขอมูลผูเรียนเปนรายบุคคลและ 4. นำภูมิปญญาทองถ่ินใหเขามามีสวนรวมในการจัด

นำผลจากการวิเคราะหมาใชในการออกแบบการ กิจกรรมใหนักเรียนไดเรียนรู และนำวิทยากรทองถ่ิน

จดั การเรียนรู และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู ปราชญในชมุ ชน เขามามสี วนรว มในกจิ กรรม

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 9

จุดเดน จุดควรพฒั นา
5. จัดกิจกรรมการเรียนรูตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัดของ 5. แหลงเรียนรู สื่อ เทคโนโลยีท่ีใชในการเรียนรู
หลักสูตรสถานศึกษาที่เนน ใหผูเรียนเกิดกระบวนการ เน่ืองจากโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยาเปน
คิดวิเคราะห สังเคราะหคิดสรางสรรค ฯลฯ และการ โรงเรยี นขนาดใหญพ ิเศษ มนี ักเรียนจำนวนมาก จึงไม
ปฏิบัติจริงผานการทำโครงงาน/กิจกรรม/การฝก เพียงพอตอจำนวนนักเรยี น
ปฏิบัติในสถานการณจริง และนักเรียนขยายความคิด
นำไปใชชีวิตได

ทศิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวิทยา มแี นวทางในการพัฒนาท่มี งุ เนน การพฒั นาสัมฤทธขิ์ องผูเรียนในการ

ทดสอบตาง ๆ ทง้ั การทดสอบระดับชาติ คะแนนการทดสอบ O – NET ,NT ,การทดสอบการอา นการเขียน RT
การทดสอบขอสอบมาตรฐานกลาง ใหม ีผลคะแนนท่ีเพิ่มขึ้น โดยสรา งความตระหนักรถู งึ ความสำคัญใหนักเรยี น
ในการทดสอบตาง ๆ แลวนำผลการทดสอบในแตละดานมาพัฒนาใหตรงจุด เพ่ือผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ
ผูเรียนเพม่ิ ขนึ้ รอยละ 3 คา เฉลี่ยผลการสอบวัดระดับชาติ O-NET ระดับ ป.6 ม.3 และ ม.6

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบานแมสลดิ หลวงวิทยา 10

มพี ัฒนาการสูงขึน้ ผเู รยี นมคี วามรู ทักสษว่ะนแลทะี่เ2จตขคตอ้ ทิ มดี ตีลู อพกานื้ รศฐึกาษนาในระดับชนั้ ทีส่ งู ขึ้น

2.1 ข้อมลู ทัว่ ไปของสถานศึกษา

2.1.1 ขอ มูลพื้นฐานของสถานศกึ ษา
1) ชื่อผบู ริหารโรงเรยี น นายระพิน เกษแกว โทรศพั ท 085-603-9306
2) ช่ือสถานศกึ ษา โรงเรยี นบานแมสลดิ หลวงวิทยา
ตำบล แมส อง อำเภอ ทาสองยาง จังหวัด ตาก รหสั ไปรษณยี  63150
e-mail [email protected] website https://mslw.ac.th

3) แผนที่ (ใช Google map จาก สพป. ตาก เขต 2 ถึง ร.ร.)

4) ทต่ี ั้ง ประวัตสิ ถานศกึ ษาโดยสังเขป
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา ทตี่ ้งั เลขท่ี 72 หมทู ่ี 2 ตำบลแมสอง อำเภอทาสองยาง จงั หวัดตาก
รหสั ไปรษณีย 63150 สงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กอต้ังเมื่อวนั ท่ี 10 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ.2511 เปด สอนต้ังแตร ะดับอนุบาลศกึ ษาปที่ 2
ถงึ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 6 ปจ จุบนั มีนกั เรยี นจำนวน 2,607 คน

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 11

5) สภาพชุมชน เศรษฐกจิ และสงั คมของสถานศึกษา
สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเปนกลุมเครือญาติและชุมชนชาวกะเหร่ียง มีวิถีชีวิต
ที่ผกู พันกบั แมน ้ำเมยทใี่ ชใ นการอปุ โภค บรโิ ภค และการเกษตร มปี ระชากรประมาณ 10,095 คน อาศัยบรเิ วณ
ใกลเคียง อาชีพหลักของชุมชน ทำไร ทำนา รับจาง ประชากรสวนใหญนับถือศาสนา พุทธ ประเพณีทองถ่ิน
ทเ่ี ปนทีร่ ูจกั โดยท่วั ไป คอื ประเพณีปใหมก ระเหรยี่ ง, ประเพณีมัดขอมือ, ประเพณีบวชลูกแกว

2.1.2 วสิ ัยทัศน/ พันธกิจ/อตั ลักษณ/เอกลักษณ
วสิ ัยทัศน

โรงเรยี นนา อยู นักเรยี นเปน คนดี สุขภาพดี มคี ุณธรรม นำวิชาการ บนพน้ื ฐานความเปนไทย
ใสใ จหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง พรอมกา วไกลสูอาเซียน
พนั ธกจิ

1. สง เสรมิ และพฒั นานักเรียนใหมีคุณลักษณะที่พ่งึ ประสงค บนพ้ืนฐานความเปน ไทย
2. สง สง เสรมิ และพฒั นานักเรียนใหไ ดร บั การศกึ ษาอยางมคี ุณภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษา
3. สงเสรมิ และพัฒนานกั เรยี นใหมีสุขภาพรา งกาย สมบรู ณแข็งแรง
4. พฒั นาสภาพแวดลอมในโรงเรยี นใหสวยงามและมีบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการจัดการเรียนรู
5. พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการท่เี นนการมสี ว นจากทุกฝา ย เพือ่ เสริมสรา งความรบั ผดิ ชอบตอ การ
พัฒนาคณุ ภาพผูเรยี น
อตั ลกั ษณ
รกั การออม
เอกลักษณ
แหลง บม เพาะคนดี ตามวิถเี ศรษฐกจิ พอเพยี ง

2.1.3 โครงสรา งการบริหารของสถานศึกษา
โรงเรยี นบานแมสลิดหลวงวทิ ยา ไดกำหนดโครงสรา งการบริหารงานของโรงเรียน โดยยึดตามแนวทาง

ซ่งึ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานกำหนดไว 4 งาน คอื
1. งานบรหิ ารวชิ าการ
2. บริหารงบประมาณและสินทรพั ย
3. บริหารทั่วไป
4. บริหารบุคคล

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 12
แผนผงั โครงสรา งการบรหิ ารของสถานศึกษา

คณะกรรมการสถาน ึศกษา งานบริหารวิชาการ - งานทะเบียน วัดผล ประเมินผลและงานพัฒนากระบวนการ
บรหิ ารงบประมาณ และแหลงเรยี นรู
ูผอํานวยการโรงเรียน - งานนิเทศและสง เสริมการศกึ ษา งานประกนั คณุ ภาพ
และสินทรพั ย การศกึ ษา
บรหิ ารทว่ั ไป - งานกลุมสาระการเรียนรู/การศึกษาปฐมวัย งานการศึกษา
บริหารบุคคล สาํ หรบั เดก็ พเิ ศษ
- งานโครงการพระราชดาํ ริ จัดทาํ แผนพฒั นาการศึกษา
- ระบบดแู ลชวยเหลือนกั เรยี น งานเครือขายผูปกครองนักเรยี น
- งานกิจการนกั เรียน งานปองกนั ยาเสพตดิ กจิ กรรมพัฒนา
ผูเ รียน

- งานการเงนิ งานบัญชี งานระดมทรพั ยากรและการลงทุนเพื่อ
การศกึ ษา
- งานพัสดุ ฝา ยนโยบายและแผน งานควบคมุ ภายใน
- งานระบบ GFMIS งานสารบรรณฝายบรหิ ารงบประมาณและ
สินทรพั ย
- งานธรุ การ งานเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศึกษาฯ
- งานประสานและพัฒนาเครอื ขายการศึกษา
- งานประสานราชการกับเขตพน้ื ท่ีฯ
- งานอนามยั โรงเรยี น งานโภชนาการอาหาร
- งานรกั ษาความปลอดภยั งานจัดบา นพกั
- งานบรหิ ารจดั การอาคารสถานทฯี่ งานกจิ กรรม 5 ส
- งานปฏิคม งานธนาคารโรงเรียน, งานสหกรณโ รงเรยี น

- งานพฒั นาบคุ ลากร งานวินัย
- งานสงเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม
- งานสารบรรณฝา ยบริหารงานบคุ คล
- งานลกู จา งประจาํ และลกู จา งทั่วไป

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยา 13

2.1.4 ขอมลู ขา ราชการและบุคลากรทางการศึกษา 3 ปยอนหลัง

ตารางที่ 1 แสดงจำนวนขาราชการและบุคลากรทางการศึกษา 3 ปยอนหลัง

รายการ 2562 2563 2564
ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง
1-
ผบู รหิ ารและรองผูบริหาร - 1 1 -
-8
ระดบั ปฐมวยั -1
--
ขาราชการครู - 13 - 13 --

อัตราจา ง -1-1 17 40
2 14
พนักงานราชการ ---- 11
-1
ครพู เี่ ล้ียง ---- 3-

ระดับขั้นพน้ื ฐาน

ขาราชการครู 26 68 21 48

อตั ราจา ง 3 16 2 14

พนักงานราชการ 231 -

ธุรการโรงเรยี น -1-1

นกั การภารโรง 2-3-

2.1.5 ขอ มูลจำนวนนกั เรียนแยกเปนระดับชัน้

ตารางที่ 2 แสดงจำนวนนักเรียนแยกเปน ระดบั ชัน้
จำนวนนกั เรยี นทง้ั หมด 2,607 คน แยกเปน ระดบั ช้นั ดงั น้ี

ชั้น จำนวน จำนวนนกั เรยี นทั้งหมด จำนวน
หอ งเรยี น เดก็ พเิ ศษ
ชั้นอนบุ าลปท ี่ 1 ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
ชน้ั อนบุ าลปท ี่ 2 - --- --
ชั้นอนบุ าลปที่ 3 11 138 119 257 --
10 137 113 250 --
รวม 21 275 232 507 --
ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 1 12 164 172 336 --
ชั้นประถมศึกษาปท่ี 2 11 138 121 259 --
ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 3 12 142 172 314 --

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 14

ชนั้ จำนวน จำนวนนักเรียนทง้ั หมด จำนวน
หอ งเรยี น เดก็ พเิ ศษ
ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 5 7 118 100 218 --
ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 6 6 103 118 221 --
5 94 86 180 --
รวม 53 759 769 1,528 --
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 1 4 70 101 171 --
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 4 50 74 124 --
ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 3 4 43 76 116 --
12 163 251 411 --
รวม 2 18 42 60 --
ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 2 19 36 55 --
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 2 20 26 46 --
ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 6 6 57 104 161 --

รวม

ตารางที่ 3 แสดงอตั ราสวนจำนวนครูตอนักเรียน

ระดบั ชัน้ จำนวนครู จำนวนนกั เรียน อตั ราสวน
507
ระดบั ปฐมวัย 14 1:24
1,528 1:26
ระดับขน้ั พ้นื ฐาน 50
572 1:21
ระดบั มธั ยม 17

2.1.6 ขอ มูลผเู รยี นและรอยละผูส ำเร็จการศึกษา (เทียบกบั แรกเขา)

ตารางที่ 4 แสดงขอมูลผูเรยี นและรอ ยละผสู ำเร็จการศกึ ษา

ระดับชั้น แรกเขา ผสู ำเรจ็ การศึกษา รอ ยละ
ผสู ำเร็จการศกึ ษา
ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 6 180 178
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 3 116 103 98.88
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 6 46 46
88.79
100

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวิทยา 15

2.1.7 ขอมลู หลักสูตรทีจ่ ดั การเรียนการสอน

ตารางท่ี 5 แสดงโครงสรางหลักสตู รสถานศกึ ษา

เวลาเรยี น(ช่ัวโมง/ป)

กลุม สาระการเรยี นร/ู กิจกรรม ระดบั ประถมศึกษา

ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

 กลมุ สาระการเรยี นรู 200 200 200 160 160 160
ภาษาไทย 160
คณิตศาสตร 200 200 200 160 160 80
วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 80
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 40
ประวตั ศิ าสตร 80
สุขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 80
ศลิ ปะ 80
การงานอาชีพ 40 40 40 40 40 80
ภาษาตา งประเทศ 840
40 40 40 80 80
รวมเวลาเรยี น (พื้นฐาน) 40
 รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 40 40 40 80 80 40
40
ภาษาไทย 40 40 40 80 80 40
วิทยาการคำนวณ 40
ภาษาตา งประเทศ 120 120 120 80 80 200
พ้นื ฐานงานเกษตร
วทิ ยาศาสตร 840 840 840 840 840 40
รวมเวลาเรยี น (เพม่ิ เตมิ )
 กิจกรรมพฒั นาผเู รียน 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40
กิจกรรมนักเรียน 80 80 80 40 40 40
- กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ 40 40 40 40 40 40
สาธารณประโยชน - - - 40 40 160
- ชมุ นมุ 200 200 200 200 200 1,200
- PLC
รวมเวลากิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น 40 40 40 40 40

รวมเวลาเรียนทงั้ หมด 40 40 40 40 40

40 40 40 40 40
40 40 40 40 40
160 160 160 160 160
1,200 1,200 1,200 1,200 1,200

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 16

เวลาเรยี น(ชว่ั โมง/ป)

กลมุ สาระการเรยี นรู/ กิจกรรม ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน

 กลุมสาระการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 มัธยมศึกษาปท ่ี 2 มัธยมศึกษาปท่ี 3
ภาคเรียนท่ี ภาคเรยี นที่ ภาคเรยี นที่
ภาษาไทย 12 12 12
คณิตศาสตร 60 60 60 60
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 60 60 60 60 60 60
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 60 60 60 60 60 60
ประวัตศิ าสตร 60 60 60 60 60 60
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 20 20 20 20 60 60
ศิลปะ 40 40 40 40 20 20
การงานอาชีพ 40 40 40 40 40 40
ภาษาตางประเทศ 40 40 40 40 40 40
รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) 60 60 60 60 40 40
 รายวชิ าเพม่ิ เติม 60 60
ภาษาไทย 440 440 440 440 440 440
คณติ ศาสตร
วทิ ยาศาสตร 20 20 - - - -
วิทยาการคำนวณ
คอมพิวเตอร 40 40 40 40 40 40
ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร
ภาษาจนี 20 20 20 20 - -
งานเกษตร
รวมเวลาเรยี น (เพ่มิ เติม) 20 20 20 20 20 20
 กิจกรรมพฒั นาผูเรียน
กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมนักเรยี น
- กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี/สาธารณประโยชน 40 40 40 40 40 40
- ชมุ นุม
- PLC - - 20 20 20 20
รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผเู รียน
- - - - 20 20
รวมเวลาเรียนทง้ั หมด
180 180 180 180 180 180

20 20 20 20 20 20

20 20 20 20 20 20
20 20 20 20 20 20
20 20 20 20 20 20
80 80 80 80 80 80
700 700 700 700 700 700

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 17

เวลาเรียน(ชว่ั โมง/ป)

กลุมสาระการเรยี นร/ู กิจกรรม ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายสายวิทย-คณติ

 กลุม สาระการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 6
ภาคเรยี นท่ี ภาคเรยี นที่ ภาคเรยี นท่ี
ภาษาไทย 12 12 12
คณติ ศาสตร
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 40 40 40 40 40 40
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40 40 40 40 40 40
ประวัติศาสตรไ ทย 40 40 40 40 40 40
ประวัตศิ าสตรสากล 40 40 40 40 40 40
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 20 20 -- --
ศิลปะ 20 20 --
การงานอาชพี -- 20 20 20 20
ภาษาตา งประเทศ 20 20 20 20
รวมเวลาเรียน (พ้ืนฐาน) 20 20 20 20 20 20
 รายวชิ าเพิม่ เติม 20 20 40 40 40 40
คณติ ศาสตร 20 20 280 280 260 260
ฟส กิ ส 40 40
เคมี 280 280
ชวี วิทยา
ภาษาไทย 80 80 80 80 80 80
ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร
ภาษาองั กฤษเพ่ือการอา น-เขยี น 80 80 80 80 80 80
ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร
วิทยาการคำนวณ 60 60 60 60 60 60
ระบบเครอื ขา ยคอมพวิ เตอรและการสรางเว็บไซต
รวมเวลาเรียน (เพม่ิ เตมิ ) 60 60 60 60 60 60
 กิจกรรมพัฒนาผูเ รยี น
20 20 20 20 20 20
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนกั เรยี น 40 40 - - - -
- กิจกรรมลกู เสอื /เนตรนารี/สาธารณประโยชน
- ชมุ นมุ - - 40 40 - -

รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู รยี น - - - - 40 40
รวมเวลาเรียนทงั้ หมด
20 20 20 20 40 -

- - - - - 40

360 360 360 360 380 380

20 20 20 20 20 20

20 20 20 20 20 20
20 20 20 20 20 20

60 60 60 60 60 60
700 700 700 700 700 700

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบานแมสลดิ หลวงวิทยา 18

เวลาเรียน(ช่ัวโมง/ป)

กลุมสาระการเรยี นรู/ กิจกรรม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายสายศิลป

 กลมุ สาระการเรียนรู มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 มัธยมศกึ ษาปท่ี 5 มัธยมศึกษาปท ี่ 6
ภาคเรียนที่ ภาคเรียนท่ี ภาคเรียนที่
ภาษาไทย
คณิตศาสตร 12 12 12
วิทยาศาสตร 40 40 40 40 40 40
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40 40 40 40 40 40
ประวตั ิศาสตรไ ทย 40 40 40 40 40 40
ประวตั ิศาสตรส ากล 40 40 40 40 40 40
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 20 20 -- --
ศิลปะ 20 20 --
การงานอาชพี และเทคโนโลยี -- 20 20 20 20
ภาษาตา งประเทศ 20 20 20 20
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 20 20 20 20 20 20
 รายวชิ าเพิม่ เติม 20 20 40 40 40 40
วิทยาการคำนวณ 20 20 280 280 260 260
คอมพิวเตอรส รา งสรรค 40 40
ระบบเครอื ขายคอมพวิ เตอรและการสรา งเว็บไซต 280 280
งานเกตษร/งานชางพื้นฐาน/คหกรรม
ภาษาไทย 20 20 20 20 40 -
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร
ภาษาอังกฤษเพ่ือการอา น-เขยี น 60 60 60 60 - -
ภาษาจีน
ภาษาพมา - - - - - 40
กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู
การเมืองการปกครอง/เศรษฐกิจพอเพยี ง 60 60 40 40 80 80
รวมเวลาเรียน (เพ่มิ เตมิ )
 กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น 40 40 40 40 40 40

กิจกรรมแนะแนว 60 60 - - 60 60
กิจกรรมนักเรียน
- กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี/สาธารณประโยชน - - 60 60 - -
- ชุมนมุ
80 80 40 40 60 60
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู รยี น
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด - - 60 60 60 60

40 40 - - - -

- - 40 40 40 40

360 360 360 360 380 380

20 20 20 20 20 20

20 20 20 20 20 20

20 20 20 20 20 20

60 60 60 60 60 60

700 700 700 700 700 700

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 19

2.1.8 จำนวนวนั ท่เี ปดเรียนจริง

ตารางที่ 6 แสดงจำนวนวนั ที่เปดเรยี นจรงิ

ระดับช้ัน ระยะเวลาเปดภาคเรยี น จำนวนวนั เรียน จำนวนวันปดภาคเรียน
100 20
ภาคเรยี นที่ 1/2564 100 100 50
200 70
ภาคเรียนท่ี 2/2564 100

สรุปเวลาเรยี นตลอดป 200

2.1.9 ขอ มลู อาคารสถานที่ จำนวนหอ ง
21
ตารางท่ี 7 แสดงขอมูลอาคารสถานท่ี 66
อาคารสถานท่ี 7
94
หองเรยี นระดบั ปฐมวยั
หองเรียนระดับข้นั พ้ืนฐาน
หองปฏบิ ตั ิการ

รวม

2.1.10 ขอ มลู แหลงเรยี นรูภายในและภายนอกสถานศกึ ษา/ภูมิปญ ญาทอ งถ่นิ
1) จำนวนนักเรยี นท่ีใชแหลงเรยี นรภู ายใน/ภายนอกโรงเรียน ปการศึกษา 2564

ตารางที่ 8 แสดงจำนวนนักเรียนทใ่ี ชแ หลงเรยี นรูภ ายใน/ภายนอกโรงเรยี น ปการศกึ ษา 2564

แหลง เรียนรู จำนวนนกั เรียน รอ ยละ

สวนพฤกษศาสตรในโรงเรยี น 1,430 54.89

วดั พระธรรมจารกิ สลดิ หลวง 2,000 76.78

2) จำนวนนกั เรยี นทใี่ ชภ มู ิปญ ญาทองถิ่น

ตารางท่ี 9 แสดงจำนวนนักเรียนท่ีใชภูมปิ ญญาทองถ่นิ

ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ กจิ กรรม จำนวนนักเรยี น
507
ผาทอชนเผา ทอผอปกาเกอะญอ 570

ใชทรพั ยากรธรรมชาติทม่ี ใี นทองถน่ิ ทำหลงั คาตองตึง

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 20

2.1.11 ขอ มูลดานงบประมาณ จำนวน/บาท

ตารางท่ี 10 แสดงขอมูลดานงบประมาณ 5,874,700
รายรบั 988,080
953,945
เงินงบประมาณ 1,481,035
งบจัดการเรยี นการสอน 1,175,500
เครอื่ งแบบนักเรียน 10,473,260
อุปกรณการเรียน
กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น
ปจ จยั พ้ืนฐานยากจน
รวมรายรบั

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวิทยา 21

2.2 ผลการทดสอบระดบั ชาติของผ้เู รียน

2.2.1 ผลพัฒนาการของนักเรียนระดบั ชั้นอนบุ าล ดังน้ี
1) ผลพัฒนาการของนกั เรยี นระดบั ชั้น อนบุ าล 2

ตารางท่ี 11 ผลพัฒนาการของนกั เรยี นระดบั ชั้น อนุบาล 2

ป 2562 นักเรยี น 289 คน ป 2563 นักเรียน 250 คน ป 2564 นักเรยี น 257 คน

พฒั นา ดี พอใช ปรบั ปรงุ ดี พอใช ปรับปรงุ ดี พอใช ปรบั ปรุง
ดา น (3) (2) (1) (3) (2) (1) (3) (2) (1)

จำนวน
รอยละ
จำนวน
จำนวน
รอยละ
จำนวน
จำนวน
รอยละ
จำนวน
จำนวน
รอยละ
จำนวน
จำนวน
รอยละ
จำนวน
จำนวน
รอยละ
จำนวน

รา งกาย 262 90.69 27 9.34 0 0 234 93.16 10 4.00 6 2.40 250 97.27 7 2.7 0 0
3.46 0 4.40 8 2 0
3.46 0 5.60 12 0
อารมณ 279 96.53 10 0 231 92.04 11 2.20 247 96.10 10 3.8 0 0
25.95 34 34.80 13 9
0
สงั คม 279 96.53 10 10.5 0 224 89.60 14 12.2 4.80 247 96.10 10 3.8 0
5 0 9

สตปิ ญญ 183 63.32 75 11.7 150 60.00 87 5.20 209 81.32 48 18. 0
า 6 67

รวม 86.7 2.94 83.7 3.65 92.6 7.2
เฉลี่ย 6 0 9 9
ท้งั หมด

จากตารางแสดงผลพัฒนาการของนักเรียนระดับช้ัน อนุบาล 2 ในปการศึกษา 2564 พบวา ผลการ
ประเมนิ พัฒนาการดาน รางกาย ในปก ารศึกษา 2564 มีจำนวนนักเรียนที่ผานเกณฑในระดับดีเพ่ิมข้ึนจากผล
การประเมินพัฒ นาการปการศึกษา 2563 รอยละ 4.11 ผลการประเมินพัฒ นาการดาน อารมณ
ในปการศึกษา 2564 มีจำนวนนักเรียนทผ่ี านเกณฑในระดับดีเพ่ิมข้ึนจากผลการประเมนิ พัฒนาการปก ารศึกษา

2563 รอยละ 4.06 ผลการประเมินพัฒนาการดานสังคม ในปการศึกษา 2564 มีจำนวนนกั เรียนท่ผี า นเกณฑ
ในระดับดีเพิ่มข้ึนจากผลการประเมินพัฒนาการปการศึกษา 2563 รอยละ 6.5 ผลการประเมินพัฒนาการ
ดานสติปญญา ในปการศึกษา 2564 มีจำนวนนักเรียนท่ีผานเกณฑในระดับดีเพ่ิมขึ้นจากผลการประเมิน

พัฒนาการปก ารศกึ ษา 2563 รอ ยละ 21.32

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบานแมสลดิ หลวงวิทยา 22

2) ผลพัฒนาการของนักเรียนระดบั ชนั้ อนุบาล 3

ตารางที่ 12 ผลพัฒนาการของนักเรยี นระดบั ชนั้ อนุบาล 3

ป 2562 นักเรียน 222 คน ป 2563 นกั เรียน 247 คน ป 2564 นกั เรียน 250 คน

พฒั นา ดี พอใช ปรบั ปรงุ ดี พอใช ปรับปรุง ดี พอใช ปรบั ปรุง
ดาน (3) (2) (1) (3) (2) (1) (3) (2) (1)

จำนวน
รอยละ
จำนวน
จำนวน
รอยละ
จำนวน
จำนวน
รอยละ
จำนวน
จำนวน
รอยละ
จำนวน
จำนวน
รอยละ
จำนวน
จำนวน
รอยละ
จำนวน

รา งกาย 218 98.1 4 1.8 0 0 242 97.9 2 0.80 3 1.2 245 98 5 20 0
9 0 7 1 0
0
อารมณ 215 96.8 7 3.1 0 0 242 97.9 2 0.80 3 1.2 250 100 0 00 0
4 5 7 1
0
สงั คม 215 96.8 7 3.1 0 0 239 96.7 6 2.42 2 0.8 249 99. 1 0.4 0
4 3 6 06

สติปญ 177 79.7 21 9.4 24 10.8 171 69.2 65 26.3 11 4.4 234 93. 16 6.4 0
ญา 2 5 13 1 56

รวม 92.8 4.3 2.70 89.7 7.58 7.6 97. 2.2 3
เฉล่ีย 9 8 78

ทั้งหมด

จากตารางแสดงผลพัฒนาการของนักเรียนระดับชั้น อนุบาล 3 ในปการศึกษา 2564 พบวา ผลการ
ประเมินพัฒนาการดา น รางกาย ในปการศึกษา 2564 มีจำนวนนักเรียนที่ผานเกณฑในระดับดีเพิ่มขึ้นจากผล
การประเมินพัฒนาการปก ารศึกษา 2563 รอ ยละ 0.03 ผลการประเมนิ พัฒนาการดานอารมณ ในปก ารศกึ ษา
2564 มีจำนวนนักเรียนท่ีผานเกณฑในระดับดีเพ่ิมขึ้นจากผลการประเมินพัฒนาการปการศึกษา 2563
รอยละ 2.03 ผลการประเมินพัฒนาการดาน สังคม ในปการศึกษา 2564 มีจำนวนนักเรียนท่ีผานเกณฑ

ในระดับดีเพ่ิมข้ึนจากผลการประเมินพัฒนาการปการศึกษา 2563 รอยละ 2.84 ผลการประเมินพัฒนาการ
ดาน สติปญญา ในปการศึกษา 2564 มีจำนวนนักเรียนท่ีผานเกณฑในระดับดีเพิ่มขึ้นจากผลการประเมิน
พัฒนาการปการศกึ ษา 2563 รอ ยละ 24.37

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยา 23

2.2.2 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนระดับโรงเรยี น
1) รอยละของผเู รียนทมี่ ีผลการเรยี นระดบั ดีขึ้นไป แตละรายวิชาระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 1-6

ตารางท่ี 13 รอยละของผเู รยี นที่มีผลการเรียนระดับดขี ้ึนไป ปการศึกษา 2562

สาระการเรยี นรู จำนวน ระดับคณุ ภาพดีข้นึ ไป (คน) ป.6 รวม รอยละ
นกั เรียน (137คน)
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 615 43.52
(348คน) (266คน) (258คน) (199คน) (250คน) 83 495 35.03
66 656 46.43
1. ภาษาไทย 1,413 161 99 91 75 106 51 578 40.70
72 662 46.85
2. คณิตศาสตร 1,413 171 117 92 10 39 73 1,000 70.77
137 696 49.25
3. วิทยาศาสตร 1,413 180 88 99 159 79 69 983 69.56
134 367 25.97
4. สังคมศกึ ษา 1,413 146 101 101 68 90 35
6,052 47.56
5. ประวัติศาสตร 1,413 202 83 162 46 96 720

6. สขุ -พลศึกษา 1,413 275 224 199 65 100

7. ศลิ ปะ 1,413 277 165 78 45 42

8. การงานอาชพี 1,413 295 200 190 91 73

9. ภาษาตา งประเทศ 1,413 122 84 40 30 56

รวมจำนวน 100 1,829 1,161 1,052 589 681
(คน/ รอ ยละ)

ตารางท่ี 14 รอยละของผเู รยี นที่มผี ลการเรียนระดบั ดขี ึ้นไป ปก ารศกึ ษา 2563

สาระการเรยี นรู จำนวน ระดบั คณุ ภาพดีขนึ้ ไป (คน) ป.6 รวม รอ ยละ
นักเรยี น (190คน)
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5
(296คน) (326คน) (245คน) (224คน) (192คน)

1. ภาษาไทย 1,473 114 170 102 80 135 44 645 43.78

2. คณติ ศาสตร 1,473 135 168 108 111 52 102 676 45.89

3. วทิ ยาศาสตร 1,473 161 104 122 52 59 155 653 44.33

4. สงั คมศกึ ษา 1,473 148 200 97 95 77 71 688 46.70

5. ประวตั ศิ าสตร 1,473 102 184 95 91 70 69 611 41.47

6. สขุ -พลศึกษา 1,473 160 219 196 94 82 100 851 57.77

7. ศิลปะ 1,473 101 198 189 124 118 109 839 56.95

8. การงานอาชพี 1,473 105 200 196 117 122 112 852 57.84

9. ภาษาตา งประเทศ 1,473 105 199 86 165 88 39 682 46.30

รวมจำนวน 100 1,088 1,643 1,191 843 723 788 6,276 47.34
(คน/ รอ ยละ)

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 24

ตารางที่ 15 รอยละของผเู รียนทม่ี ผี ลการเรยี นระดับดขี ้นึ ไป ปก ารศึกษา 2564

สาระการเรยี นรู จำนวน ระดบั คุณภาพดีขนึ้ ไป (คน) ป.6 รวม รอ ยละ
นักเรยี น (180คน)
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5
(336คน) (259คน) (314คน) (218คน) (221คน)

1. ภาษาไทย 1,562 126 104 143 39 58 41 511 32.71

2. คณิตศาสตร 1,562 133 109 97 122 126 60 647 41.42

3. วิทยาศาสตร 1,562 276 113 183 215 102 167 1,056 67.60

4. สงั คมศึกษา 1,562 151 115 114 86 117 38 651 41.67

5. ประวตั ศิ าสตร 1,562 176 92 115 100 123 52 658 42.12

6. สุข-พลศกึ ษา 1,562 248 212 256 216 213 127 1,272 81.43

7. ศลิ ปะ 1,562 304 304 274 220 191 166 1,379 88.28

8. การงานอาชพี 1,562 187 186 246 186 194 150 1.149 73.55

9. ภาษาตางประเทศ 1,562 83 86 100 36 71 40 416 26.63

รวมจำนวน 100 1,684 1,321 1,528 1,220 1,195 841 6,591 55.05
(คน/ รอยละ)

2) รอยละของผเู รียนท่ีมีผลการเรยี นระดบั ดีขนึ้ ไป แตล ะรายวิชาระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 1-6

ตารางท่ี 16 รอยละของผเู รยี นทม่ี ีผลการเรียนระดับดีขึน้ ไป ปก ารศกึ ษา 2562

สาระการเรยี นรู จำนวน ระดับคณุ ภาพดีขนึ้ ไป (คน) ม.6 รวม รอ ยละ
นกั เรยี น (44คน)
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5
(125คน) (107คน) (94คน) (45คน) (47คน)

1. ภาษาไทย 462 17 43 68 34 44 25 231 50.00

2. คณติ ศาสตร 462 64 33 31 6 29 36 199 43.01

3. วทิ ยาศาสตรแ ละ 462 22 21 71 27 11 39 191 41.34
เทคโนโลยี

4. สงั คมศกึ ษา 462 75 88 55 39 16 29 301 65.15

5. ประวัตศิ าสตร 462 70 26 65 23 16 0 200 43.29

6. สขุ -พลศกึ ษา 462 115 104 94 43 44 44 444 69.10

7. ศลิ ปะ 462 9 104 90 43 13 44 303 65.58

8. การงานอาชพี 462 116 70 94 37 41 48 404 87.87

9. ภาษาตา งประเทศ 462 65 33 22 28 15 19 182 39.39

รวมจำนวน 100 553 522 590 280 229 283 273 59.08
(คน/ รอยละ)

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยา 25

ตารางที่ 17 รอยละของผเู รยี นทม่ี ผี ลการเรยี นระดับดขี ึ้นไป ปการศึกษา 2563

สาระการเรยี นรู จำนวน ระดบั คุณภาพดีขึ้นไป (คน) ม.6 รวม รอยละ
นักเรียน (44คน)
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5
(128คน) (123คน) (104คน) (59คน) (45คน)

1. ภาษาไทย 496 40 58 61 43 43 43 288 58.06

2. คณิตศาสตร 496 67 54 26 0 44 10 201 40.52

3. วทิ ยาศาสตรและ 496 89 96 47 8 45 25 310 62.5
เทคโนโลยี

4. สังคมศกึ ษา 496 57 34 88 49 45 40 313 63.10

5. ประวัติศาสตร 496 54 38 84 46 42 38 302 60.88

6. สุข-พลศกึ ษา 496 111 110 97 55 43 43 459 92.54

7. ศลิ ปะ 496 87 82 89 43 40 39 380 76.61

8. การงานอาชพี 496 86 86 89 45 39 43 388 78.22

9. ภาษาตา งประเทศ 496 27 10 41 20 28 19 145 29.23

รวมจำนวน 100 618 568 622 309 369 300 2,786 62.41
(คน/ รอ ยละ)

ตารางท่ี 18 รอยละของผเู รียนท่มี ผี ลการเรยี นระดับดีขึ้นไป ปก ารศกึ ษา 2564

สาระการเรยี นรู จำนวน ระดับคุณภาพดขี นึ้ ไป (คน) ม.6 รวม รอยละ
นักเรียน (46คน)
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5
(171คน) (124คน) (116คน) (60คน) (55คน)

1. ภาษาไทย 572 39 43 40 33 32 39 216 37.76

2. คณติ ศาสตร 572 31 22 32 44 51 38 218 38.11

3. วทิ ยาศาสตรแ ละ 572 9 47 47 37 28 45 213 37.23
เทคโนโลยี

4. สงั คมศกึ ษา 572 40 40 59 37 36 44 256 44.75

5. ประวัตศิ าสตร 572 45 43 59 42 35 - 224 39.16

6. สุข-พลศกึ ษา 572 67 124 97 60 29 46 423 73.95

7. ศลิ ปะ 572 171 124 116 60 55 46 572 100

8. การงานอาชพี 572 171 123 116 60 28 46 544 95.10

9. ภาษาตางประเทศ 572 46 17 58 31 30 27 209 36.53

รวมจำนวน 100 619 583 624 404 324 331 2,875 55.84
(คน/ รอ ยละ)

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 26

2.2.3 ผลการทดสอบระดับชาตขิ องผเู รียน
1) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถดา นการอา น (Reading Test : RT)

ช้นั ประถมศึกษาปที่ 1 ปก ารศึกษา 2562 – 2564

ตารางที่ 20 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถดานการอา น (Reading Test : RT) ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 1

คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ

สมรรถนะ ป 2562 ป 2563 ผลตา ง ป 2563 ป 2564 ผลตา ง
(+/-) (+/-)

การอา นออกเสยี ง 34.67 40.85 +6.18 40.85 36.06 -4.79

การอานรเู ร่ือง 49.41 54.68 +5.27 54.68 56.04 +1.36

รวม 2 สมรรถนะ 42.04 47.76 +5.72 47.76 46.05 -1.71

กราฟ แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถดา นการอาน (Reading Test : RT)
ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 1 ปการศกึ ษา 2562-2564

54.68 56.04

49.41 47.76 46.05

40.85 42.04

34.67 36.06

การอา่ นออกเสียง การอ่านรูเ้ รอื ง รวม 2 สมรรถนะ

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

จากตารางแสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถดานการอาน (Reading Test : RT)
ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 1 ปการศึกษา 2562 - 2564 พบวา ผลการทดสอบดานการอานออกเสยี ง ในปการศกึ ษา
2564 ลดลงจากปการศกึ ษา 2563 มผี ลตาง -4.79 และผลการทดสอบดานการอานรเู รือ่ งในปการศึกษา 2564
เพิ่มข้ึนจากปการศึกษา 2563 มีผลตาง +1.36 และผลการทดสอบรวมทั้ง 2 สมรรถนะ ในปการศึกษา 2564

ลดลงจากปก ารศกึ ษา 2563 มีผลตาง -1.71

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 27

2) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผเู รียนระดบั ชาติ NT
ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 3 ปการศกึ ษา 2562 – 2564

ตารางท่ี 20 แสดงผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเรยี นระดบั ชาติ NT

ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 3

คะแนนเฉล่ยี รอ ยละ

สมรรถนะ ป 2562 ป 2563 ผลตาง ป 2563 ป 2564 ผลตา ง
(+/-) (+/-)
-4.37
ความสามารถดานภาษา 26.96 36.69 +9.73 36.69 32.32 -4.62
-4.49
ความสามารถดานคำนวณ 26.99 38.69 +11.7 38.69 34.07

รวมคะแนนเฉล่ีย 3 ดาน 26.57 37.69 +11.12 37.69 33.20

กราฟ แสดงการเปรยี บเทยี บผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของ
ผูเรียนระดับชาติ (NT) ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2562-2564

36.69 38.69 37.69
26.57
32.32 34.07 33.2

26.96 26.99

ความสามารถดา้ นภาษา ความสามารถดา้ นคาํ นวณ รวมคะแนนเฉลยี 3 ดา้ น
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

จากตารางแสดงการเปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเรียน
ระดบั ชาติ (NT) ระดับชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 3 ปการศกึ ษา 2562-2564 พบวา ผลการทดสอบทงั้ 2 ดา น ลดลง
จากปก ารศกึ ษา 2563

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 28

3) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2562-2564

ตารางท่ี 22 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 6

สมรรถนะ ป 2562 คะแนนเฉลีย่ รอ ยละ ป 2564
ป 2563

ภาษาไทย 38.54 40.06 32.26

คณติ ศาสตร 24.74 22.93 29.29

วิทยาศาสตร 29.51 30.90 27.89

ภาษาอังกฤษ 26.00 31.42 26.86

รวมคะแนนเฉล่ยี ทง้ั หมด 29.70 31.33 29.08

กราฟ แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET)
ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2562-2564

38.54 40.06 29.29 29.51 30.9 27.89 31.42
32.26 24.74 22.93 26 26.86

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

จากตารางแสดงการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ระดับช้ัน

ประถมศึกษาปท่ี 6 ปการศึกษา 2562 – 2564 พบวาผลการทดสอบเฉล่ียของปการศึกษา 2564 ต่ำกวาป
การศึกษา 2563 เม่ือพิจารณารายกลุมสาระการเรยี นรู พบวา วชิ าคณิตศาสตร มีผลการทดสอบเพิ่มขึ้นจากป
การศึกษา 2562-2563 ในสวนวิชาภาษาไทย, วิทยาศาสตร และภาษาอังกฤษ มีผลการทดสอบลดลงจากป
การศึกษา 2563

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 29

ตารางท่ี 23 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 3

สมรรถนะ ป 2562 คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ ป 2564
ป 2563

ภาษาไทย 45.13 50.08 37.34

คณติ ศาสตร 21.06 25.59 22.96

วิทยาศาสตร 27.31 26.63 29.77

ภาษาอังกฤษ 27.51 29.61 28.48

รวมคะแนนเฉลย่ี ทัง้ หมด 30.25 32.98 29.64

กราฟ แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET)
ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาที่ 3 ปการศึกษา 2562-2564

50.08
45.13

37.34

21.06 25.59 22.96 27.31 26.63 29.77 27.51 29.61 28.48

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

จากตารางแสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ปการศึกษา 2562 – 2564 พบวา ผลการทดสอบเฉล่ียของปการศึกษา 2564
ต่ำกวาปการศึกษา 2563 เมื่อพิจารณารายกลุมสาระการเรียนรู พบวา วิชาวิทยาศาสตร มีผลการทดสอบ
เพ่ิมข้ึนจากปการศึกษา 2562-2563 ในสวนวิชาภาษาไทย, คณิตศาสตร และภาษาอังกฤษ มีผลการทดสอบ
ลดลงจากปการศึกษา 2563

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 30

ตารางท่ี 24 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษา
ปท ่ี 6

สมรรถนะ ป 2562 คะแนนเฉลีย่ รอ ยละ ป 2564
31.82 ป 2563 34.43
ภาษาไทย 15.68 31.00 14.68
คณิตศาสตร 24.92 15.25 24.83
วทิ ยาศาสตร 30.66 25.85 17.79
ภาษาองั กฤษ 21.82 30.07 30.01
สงั คมศึกษา 24.98 22.44 24.35
24.92
รวมคะแนนเฉล่ยี ท้งั หมด

กราฟ แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET)
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาท่ี 6 ปการศกึ ษา 2562-2564

34.43 30.66 30.07 30.01
31.82 31 17.79 21.82 22.44

24.92 25.85 24.83

15.68 15.25 14.68

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา
ปี 2564
ปี 2562 ปี 2563

จากตารางแสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ปการศึกษา 2562 – 2564 พบวา ผลการทดสอบเฉล่ียของปการศึกษา 2564
ตำ่ กวา ปก ารศึกษา 2563 เมื่อพิจารณารายกลุม สาระการเรยี นรู พบวา วชิ าภาษาไทยและสังคมศึกษา มีผลการ
ทดสอบเพ่มิ ข้ึนจากปก ารศึกษา 2562-2563 ในสวนวชิ าคณิตศาสตร, วิทยาศาสตร และภาษาองั กฤษ มีผลการ

ทดสอบลดลงจากปการศกึ ษา 2562-2563

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยา 31

2.2.4 ขอมลู ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค ปการศกึ ษา 2564

ตารางท่ี 25 ตารางแสดงขอ มูลผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ปก ารศกึ ษา 2564

จำนวน จำนวนนกั เรียนตามระดับคุณภาพ

ระดับชั้น นกั เรยี น (คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค)

ท้ังหมด ดเี ย่ียม ดี ผา น ไมผาน

ประถมศกึ ษาปที่ 1 336 59 231 43 3

ประถมศึกษาปท ี่ 2 259 36 167 55 1

ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 314 53 196 63 2

ประถมศึกษาปท ี่ 4 218 24 156 28 10

ประถมศกึ ษาปที่ 5 221 43 130 37 11

ประถมศึกษาปท่ี 6 180 63 95 20 2

มธั ยมศึกษาปที่ 1 171 36 101 34 -

มัธยมศึกษาปที่ 2 124 20 82 21 1

มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 116 13 75 15 13

มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 60 20 31 9 -

มัธยมศึกษาปที่ 5 55 7 43 5 -

มัธยมศึกษาปที่ 6 46 5 38 3 -

รวม 2,100 379 1,345 333 43

เฉลย่ี รอ ยละ 18.04 64.04 15.85 2.04

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 32

2.2.5 ขอมลู ผลการประเมนิ การอาน คดิ วเิ คราะห และเขียน ปก ารศกึ ษา 2564

ตารางท่ี 26 ตารางแสดงขอมูลผลการประเมินการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียน ปก ารศกึ ษา 2564

จำนวน จำนวนนักเรียนตามระดับคณุ ภาพ

ระดบั ช้นั นักเรียน (การอา นคิด วิเคราะห และเขยี น)

ทั้งหมด ดีเย่ยี ม ดี ผาน ไมผ าน

ประถมศกึ ษาปท่ี 1 336 15 169 149 3

ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 259 44 122 92 1

ประถมศึกษาปท่ี 3 314 26 201 85 2

ประถมศกึ ษาปที่ 4 218 25 145 50 10

ประถมศกึ ษาปที่ 5 221 27 124 59 11

ประถมศกึ ษาปท่ี 6 180 31 101 46 2

มัธยมศึกษาปท่ี 1 171 19 128 24 -

มธั ยมศึกษาปท่ี 2 124 26 60 37 1

มธั ยมศึกษาปท ี่ 3 116 30 32 29 13

มัธยมศึกษาปท ่ี 4 60 15 30 15 -

มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 55 11 32 12 -

มธั ยมศกึ ษาปท่ี 6 46 7 31 8 -

รวม 2,100 276 1,175 606 43

เฉล่ยี รอ ยละ 13.14 55.95 28.85 2.04

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวิทยา 33

2.2.6 ขอมูลผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปการศึกษา 2564

ตารางท่ี 27 ตารางแสดงขอ มูลผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผูเรียน ปก ารศกึ ษา 2564

จำนวน จำนวนนักเรียนตามระดับคณุ ภาพ

ระดับชัน้ นักเรียน (กจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น)

ทั้งหมด ผา น ไมผาน

ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 336 333 3

ประถมศกึ ษาปท่ี 2 259 258 1

ประถมศึกษาปท ่ี 3 314 312 2

ประถมศึกษาปท ี่ 4 218 208 10

ประถมศกึ ษาปท่ี 5 221 210 11

ประถมศึกษาปท ี่ 6 180 178 2

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 171 171 -

มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 124 123 1

มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 116 103 13

มัธยมศกึ ษาปที่ 4 60 60 -

มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 55 55 -

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6 46 46 -

รวม 2,100 2,057 43

เฉลยี่ รอ ยละ 97.95 2.04

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 34

2.3 ผลการประเมนิ ภายนอก

ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563)

2.3.1 ระดับการศึกษาปฐมวัย

ตารางที่ 28 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบส่ี (พ.ศ.2559-2563) ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั

มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานท่ี 3
คุณภาพของเด็ก
ชื่อโรงเรียน กระบวนการบริหารและ การจดั ประสบการณท่ี

การจัดการ เนนเด็กเปนสำคัญ

โรงเรยี นบานแมสลดิ ดี ดี ดี
หลวงวิทยา

2.3.2 ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

ตารางที่ 29 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

ช่ือโรงเรียน มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานที่ 3
คุณภาพของผเู รียน กระบวนการบรหิ ารและ กระบวนการจัดการ
เรียนการสอนท่ีเนน
การจัดการ ผูเ รียนเปนสำคญั

โรงเรยี นบานแมส ลดิ ดี ดี ดี
หลวงวทิ ยา

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวิทยา 35

ส่วนที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

3.1 ระดบั การศึกษาปฐมวัย

มาตรฐาน ระดับคุณภาพ
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดี
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท ี่เนนเด็กเปนสำคัญ ดี
ดี

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก
ระดับคุณภาพ: ดี

1. ผลการดำเนินงาน
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา กำหนดคาเปาหมายใหผูเรียนมีการพัฒนาดานรางกาย แข็งแรง
มีสุขนสิ ัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเอง มีการพัฒนาดานอารมณ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง
อารมณ มีการพัฒนาการดานสังคม ชวยแหลือตนเอง และเปนสมาชิกท่ีดีของสังคม มีพัฒนาการดาน
สติปญญาสือ่ สารไดมีทกั ษะการคดิ พน้ื ฐานและแสวงหาความรมู ากกวา รอยละ 60 ของนักเรยี นท้ังหมด

โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยามีกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยเริ่มจากการ
ดำเนินการ PLC ของคณะครูแตละชวงชั้นเพื่อปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมในเด็กปฐมวัย มีกระบวนการพัฒนา
คุณภาพผูเรียน โดยมีการจัดกิจกรรมตาง ๆ ไดแก การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน กิจกรรมเคล่ือนไหว จังหวะ
กิจกรรมเสริมประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรางสรรค กิจกรรมการเลนกลางแจง และกิจกรรมเกมการศึกษา
ที่ใชแหลงเรียนรูภายในโรงเรียนเปนฐาน พรอมท้ังสงเสริมดานภูมิปญญาทองถิ่นและทักษะการส่ือสารโดย
โรงเรียนดำเนินการจัดโครงการตาง ๆ เพ่ือชวยสงเสริมและพัฒนาผูเรียนชวงช้ันอนุบาล อาทิเชน โครงการ
ประเมนิ พัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรทักษะการสื่อสารสูตรการศกึ ษาปฐมวัย โครงการสงเสริมพัฒนาการ
และสรา งวินัยเชิงบวกโดยครอบครวั มสี ว นรว ม โครงการวิชาการปฐมวัย โครงการหนนู อยนักคดิ รวมถงึ สงเสริม
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมสำหรับเด็กปฐมวยั เปน ตน

ในปการศึกษา 2564 นี้ โรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยา ระดบั ชวงช้นั อนุบาลไดจัดการเรียนการสอน
ท้ังรูปแบบ On-site , On-hand โดยในชวงที่เปดการเรยี นการสอนแบบ On-site โรงเรยี นไดสงเสริมในเร่ือง

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 36

การดูแลและปองกันตนเองจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
ใหน กั เรียนมีแนวปฏิบตั ิแบบ New Normal นักเรยี นจะปฏบิ ัตดิ งั น้ี

1. ตรวจวัดอุณหภูมิรา งกายกอนเขา โรงเรยี นหรือหอ งเรยี น
2. ลางมือบอยๆโดยใชสบูและน้ำ ตามจุดที่โรงเรียนจัดวางไว หรือเจลลางมือที่มีสวนผสมหลักเปน
แอลกอฮอล
3. ไมสมั ผสั ตา จมกู หรอื ปาก
4. รกั ษาระยะหา งทีป่ ลอดภยั จากเพอ่ื นและผูอืน่
5. สวมหนากากอนามัยทุกครง้ั เมือ่ ออกจากบาน
6. ปดจมูกและปากดวยขอ พับดานในขอศอกหรอื กระดาษชำระเมอ่ื ไอหรือจาม
7. หากมไี ข ไอ และหายใจลำบาก แจง ครหู รือผูป กครอง และไปพบแพทย

ทั้งนี้กอนที่นักเรียนจะออกจากบาน หรือไปโรงเรียน เด็กจะตองประเมินตนเองวามีความ พรอม
หรือไม และหลังจากกลับมาบาน เด็กและผปู กครองจะตอ งประเมินและตดิ ตามผลอาการของตนเอง
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา ระดับชวงช้ันอนุบาล ไดจัดการเรียนการสอนรูปแบบ On-site, On-hand
ใหแกเด็กในชวงที่มีการระบาดอยางหนัก โดยใชสื่อ เชน ใบความรู แบบฝกหัด ใหเด็กไดนำกลับไปศึกษาดวย
ตนเองที่บาน ซ่ึงจะจัดใหเด็กมารับและสงแบบฝกหัดสัปดาหละ 1 คร้ัง ทั้งน้ีเพ่ือความสะดวกในการ
ติดตอส่ือสารกับเด็กและผูปกครอง ครูผูสอนในระดับช้ันอนุบาล ไดเปดกลุมแอปพลิเคชันตาง ๆ เชน กลุม
ผปู กครองใน Messenger, กลุมผูป กครองใน Line เพ่อื เขาถึงเด็กและผปู กครองใหไดม ากที่สดุ

ผลจากการดำเนินกิจกรรมตางๆ เพ่ือสงเสริมคุณภาพผูเรียน ไดบรรลุเปาหมายท่ีกำหนดไวในภาพ
รวมอยูในระดับ ดี ผลพัฒนาการของนักเรียนระดับชั้น อนุบาล 2 ในปการศึกษา 2564 ผลการประเมิน
พัฒนาการดา นรา งกาย ผานเกณฑในระดับดีเพ่มิ ขึ้น รอยละ 4.11 พัฒนาการดาน อารมณ ผานเกณฑในระดับ
ดีเพิ่มขึ้น รอยละ 4.06 พัฒนาการดานสังคม ผา นเกณฑในระดับดีเพิ่มข้ึนจาก รอยละ 6.5 ผลการประเมิน
พัฒนาการดานสติปญญา ผานเกณฑในระดับดีเพ่ิมข้ึนจากผลการประเมินพัฒนาการ รอยละ 21.32
ผลพฒั นาการของนักเรียนระดบั ชน้ั อนุบาล 3 ในปการศึกษา 2564 ผลการประเมินพัฒนาการดาน รางกาย ท่ี
ผานเกณฑในระดับดเี พ่ิมข้ึน รอ ยละ 0.03 ผลการประเมินพัฒนาการดานอารมณ ทผี่ านเกณฑใ นระดับดีเพ่มิ ข้ึน
รอยละ 2.03 ผลการประเมินพัฒนาการดาน สังคม ที่ผานเกณฑในระดับดีเพิ่มขึ้น รอยละ 2.84 ผลการ
ประเมินพัฒนาการดาน สติปญญา ที่ผานเกณฑในระดับดเี พิ่มขึ้น รอยละ 24.37 ทำใหนักเรียนมีพัฒนาการ
ดา นรางกาย อารมณ จิตใจ สงั คม พฒั นาการสตปิ ญญา บรรลุตามเปา หมายท่ี สถานศกึ ษากำหนด

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวิทยา 37

โรงเรียนมีการแจงผลการประเมินคุณภาพของนักเรียนใหแกผูปกครองปการศึกษาละ 2 คร้ังและได
ประชาสัมพันธกิจกรรมและผลการดำเนินงานกิจกรรม โครงการตางๆ ผานส่ือสังคมออนไลน ไดแก ไลนกลุม
ผูปกครอง เฟซบุกโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา การประชุมผูปกครอง การประชุมคณะกรรมการ
สถานศึกษาข้ันพนื้ ฐานเปนตน

2. หลกั ฐาน/รองรอย/เอกสารสนบั สนุน
- โครงการสงเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั
- โครงการสง เสรมิ พัฒนาการและสรางวนิ ยั เชิงบวกโดยครอบครัวมีสว นรวม (Triple P)
- โครงการทศั นศึกษานอกสถานท่ีระดบั ปฐมวยั
- โครงการการประเมนิ พัฒนาการนกั เรยี นทจี่ บหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั
- โครงการบณั ฑิตนอย
- โครงการสงเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมสำหรับเดก็ ปฐมวัย
- โครงการวชิ าการปฐมวยั
- โครงการสงเสริมสขุ ภาพอนามัยเดก็ ปฐมวัย
- โครงการหนูนอยนักคิด
- โครงการพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัย
- สรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงการระดับปฐมวัย

3. จุดเดน
โรงเรยี นบา นแมส ลิดหลวงวทิ ยา มีการวิเคราะหผ ลการประเมินพัฒนาการและไดก ำหนดเปนเปา หมาย
ทางการเรียนโดยใชขอมูลฐาน 3 ปยอนหลังเปนเปาหมายคุณภาพนักเรียนใหพัฒนาสูงข้ึน มีกระบวนการ
พัฒนาคุณภาพผูเรียนที่หลากหลาย โดยทุกฝายมีสวนรวม กำหนดคาเปาหมาย กำหนดบทบาทหนาท่ี
ความรับผิดชอบของบุคลากรอยางชัดเจน มีการประชุมวางแผนกอนการดำเนินงาน ออกแบบวิธีการ
หรือนวัตกรรมใหเหมาะสมกับนักเรียนสรางเคร่ืองมือ หรือนวัตกรรมท่ีออกแบบไว ดำเนินการจัดกิจกรรม
พฒั นาตามเครอื่ งมอื ทส่ี รางข้นึ มา โดยเปนกจิ กรรมทเ่ี ติมการสอนใหมีความเขมขน ในกิจกรรมการเรยี นการสอน
และมีกระบวนการพฒั นาอยางเปนระบบ มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาอยางตอเนือ่ ง โดยมีคำสง่ั
และบันทึกการนิเทศท้ังในระดับบุคคลและระดับสถานศึกษา มีการแตง ตั้งคณะกรรมการนิเทศการสอนของครู
ผูบรหิ ารทำการนิเทศ กำกับ ตดิ ตามอยางจริงจงั และตอเนื่อง

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวิทยา 38

4. จุดควรพัฒนา
การจัดกิจกรรมการเรยี นรทู เ่ี นนการพัฒนาผเู รียนเปน รายบุคคลใหชัดเจนข้ึน สงเสริมใหมีการจัดสถานที่
ที่เอือ้ ตอการเรียนรูอยา งปลอดภัย การทำกิจกรรมเสริมสติปญ ญาใหเ หมาะสมตามวัย ปลูกฝง ในเรอื่ งสขุ นสิ ยั ทดี่ ี
เชน การลางมือกอนรับประทานอาหาร ลา งมือกอนออกจากหองน้ำ หองสวม และการเลอื กรับประทานอาหาร
ทม่ี ปี ระโยชน ใหเปนนสิ ัย การใชคำพดู ขอบคุณ ขอโทษ สวัสดี

5. ขอเสนอแนะ
- การจดั กจิ กรรมการเรียนรูที่เนนการพฒั นาผเู รยี นเปน รายบุคคลใหชัดเจนขึ้น

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
ระดับคณุ ภาพ: ดี

1. ผลการดำเนนิ งาน
การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยาไดมีการกำหนดเปาหมาย วิสัยทัศน
และพันธกิจของสถานศึกษาไวอยางชัดเจน มีองคประกอบที่สำคัญเพื่อที่จะขับเคล่ือนการศึกษาระดับปฐมวัย
ไดแก การพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ไดมีการพัฒนา
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยใหสอดคลองกับบรบิ ทของทองถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณของเด็ก
โดยเปน หลักสูตรท่ีมุงพัฒนาเด็กทุกดาน ทั้งดานรางกาย อารมณจ ิตใจ สังคม และสตปิ ญญา เพ่ือใหผูเรียน
มีความสุขในการเรียนรู มีการพัฒนาครูและบุคลากรใหมีศักยภาพ สำหรับดานระบบกลไก การเสริมสราง
ความตระหนักรับรู และความเขาใจการจัดการศกึ ษาปฐมวัย โดยใหผูมสี วนรวมทุกฝายไดม บี ทบาทในการมี
สวนรวมการจัดการศึกษา โดยใหมีการประสานความรวมมือเพ่ือรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพไดจัดสิ่ง
อำนวยความสะดวกท่ีจำเปนซ่ึงเอ้ือประโยชน และอำนวยความสะดวกตอการพัฒนาเด็ก ทั้งดานรางกาย
อารมณและจิตใจ สังคม และสติปญ ญา จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพที่เอ้ือตอการเรียนรูอยางมีคุณภาพ
เชน จัดใหมีอุปกรณ ของเลน ของใช เคร่ืองนอน เคร่ืองอำนวยความสะดวกตางๆ ใหเพียงพอกับเด็ก
โดยจัดใหเหมาะสม สะอาด ปลอดภัย ใหมีมุมหนังสือที่จำเปนตอพัฒนาการของเด็ก ใหเพียงพอ
และเหมาะสมกับเด็ก จัดใหมีพื้นที่สำหรับแปรงฟน ลางมือ ทำความสะอาดรางกาย หองน้ำหองสวม
พรอมอุปกรณทจ่ี ำเปน และเหมาะสมกับเด็ก มีหลักสตู รปฐมวัยท่ียดื หยุน และสอดคลอ งกบั หลักสตู รสถานศกึ ษา
เปนรูปแบบการจัดประสบการณท่ีกอใหเกิดการเตรียมความพรอม เนนการเรียนรูผานการเลนและการลงมือ
ปฏิบัติดวยตนเอง สอดคลองกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และทองถิ่นจัดครูท่ีเหมาะสมกับการจัด
ประสบการณการเรยี นรู มีครูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวยั และมีครูพ่ีเล้ียงที่ผานการอบรมทางดานการ
ดูแลเด็กปฐมวัย สง บุคลากรเขา รบั การอบรมเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพอยา งตอ เนือ่ งพฒั นาคณุ ภาพครดู านการศกึ ษา

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 39

ปฐมวัยอยางตอเน่ือง ซ่ึงสงผลใหครูดานการศึกษาปฐมวัยทุกคนลวนมีความรูความสามารถในการวิเคราะห
และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาที่สอดคลองกับ
มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณท่ีสถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ
ที่สอดคลองกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำป มีการนำผลการ
ประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา โดยทุกฝายมีสวนรวม พรอ มท้ังรายงานผลการประเมินตนเอง
ใหห นวยงานตน สังกดั อยางตอ เนื่อง

ในการดำเนินงานและการจัดการคุณภาพการศึกษาของผูบริหารสถานศึกษา ไดดำเนินงานโดยจัดทำ
แผนปฏิบัติการประจำป และดำเนินกิจกรรมตามแผนงานที่กำหนดไว ใน 4 กลุมงาน ไดแก กลุมงานบริหาร
วิชาการ กลุมงานบริหารบุคลากร กลุมงานบริหารการเงินและพัสดุ และกลุมงานบริหารท่ัวไป ซ่ึงในการนำ
แผนปฏิบัติการไปใช จะใชจัดกิจกรรมใหสอดคลองกับความตองการในการพัฒนาผูเรียน บุคลากร อาคาร
สถานท่ี และความสัมพันธกับชุมชน รวมถึงกิจกรรมที่เก่ียวของกับหนวยงานอื่นๆ เม่ือเสร็จส้ินโครงการหรือ
กิจกรรม จะมีการรายงานผลการดำเนินโครงการ กิจกรรมใหผูบริหารไดรับทราบผลการดำเนินกิจกรรม
ปญหา อุปสรรค และแนวทางในการแกไขปญหาในปตอไป เปาหมายเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะตาม
ที่หลักสูตร สถานศึกษากำหนด จากการดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการผลคือ ไดจัดทำโครงการ
คิดเปน รอยละ 80 โดยมีการสรปุ ผลการดำเนินงานโครงการทุกโครงการ

โรงเรียนไดสงเสริมสนับสนุนครูใชส่ือเทคโนโลยีทางการศึกษา โดยการจัดระบบเครอื ขายอินเทอรเน็ต
ความเร็วสูง มีสัญญาณ WI-FI ครอบคลุมพ้ืนท่ีบริเวณโรงเรียน และไดอำนวยความสะดวกแกครูผูสอนใหมี
หองเรียนคอมพิวเตอร และจอโทรทัศนสำหรบั หองเรียนช้ันประถมศึกษาทุกหอง ครูทุกคนสามารถใชจัดการ
เรยี นรูจากสื่อตาง ๆ ทุกกลุมสาระการเรียนรู ในปการศกึ ษา 2564 ทางโรงเรียนไดบริหารจัดการเก่ียวกับการ
ปองกันการแพรระบาดการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยมีการประชุมปรึกษาหารือเพ่ือเตรียมการ
และดำเนินการ เพื่อปองกันไมใหนักเรียน ครู และ บุคลากรปลอดภัยจากการเสี่ยงและติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 พรอมท้งั สงเสริมให ครแู ละบุคลากรมีความรูและมี วิธีการปองกันไมใหตนเองและบคุ คลรอบขางติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 ซ่ึงทางโรงเรียนมีมาตรการใหนักเรียน ครูและบุคลากรปฏิบัติตนอยางเครงครัด และลด
ความเสี่ยงจากการแพรระบาดของโรค ดวยการส่ือสารกับนักเรียน ผูปกครอง ประชาสัมพันธผานผูนำชุมชน
และชอ งทาง เฟสบกุ ของโรงเรยี น และมกี ารเตรยี มพรอ ม ตามมาตรการ ดังนี้

1. มมี าตรการคัดกรองวดั ไข และอาการเส่ียงกอ นเขาโรงเรยี น
2. ใหน กั เรียน และบุคลากรทุกคนสวมใสหนา กากอนามัย หรอื หนา กากผา ตลอดเวลาเมือ่ อยโู รงเรยี น
3. มจี ุดบรกิ ารลางมือดว ยสบู หรอื แอลกอฮอลเจลอยางเพยี งพอ

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นแมสลดิ หลวงวิทยา 40

4. จัดใหมีการเวนระยะหาง การยืนเขาแถวหนาเสาธง การนั่งในหองเรียน การเขาแถวรบั อาหารและน่ัง
รบั ประทานอาหาร

5. ทำความสะอาดพ้ืนผิวสมั ผัสทมี่ กี ารใชร วมกันบอย
6. ลดความแออัด ไมจัดกจิ กรรมทมี่ ีการสัมผสั รวมกัน
7. ไมอนุญาตใหผูปกครองหรือบุคคลภายนอกที่จะติดตอราชการ เขามาในโรงเรียน โดยใหติดตอทาง
โทรศพั ท เฟสบกุ หรอื ชองทางอ่ืนๆ
8. เตรียมมาตรการรองรับ หากมนี กั เรียนและบคุ ลากรเจบ็ ปว ย ทงั้ นก้ี อนทนี่ กั เรียน ครแู ละบคุ ลากร
จะออกจากบาน หรือไปโรงเรียน จะตองประเมินตนเองวามีความ พรอมหรือไม นักเรียนและบุคลากรจะตอง
ประเมินและติดตามผลอาการของตนเองในแตล ะวัน
ในสวนของการดำเนินงานมีปญหาหรืออุปสรรคเกิดขึ้นบาง ไดแก การแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 ทำใหการดำเนินการตามแผนปฏบิ ัติเกิดประสบกับปญหา ตองมีการปรับแกไขกิจกรรมใหสอดคลอ งกับ
สถานการณ เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอผูเรียนมากท่ีสดุ เมื่อสิ้นสุดโครงการหรือกิจกรรมไดมี
การสรุปโครงการหรือกิจกรรม และนำเสนอตอผูบริหาร และประชาสัมพันธการจัดกิจกรรมโครงการผานสื่อ
สงั คมออนไลน เชน เฟสบกุ การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน เปนตน

2. หลกั ฐาน/รอ งรอย/เอกสารสนับสนนุ
- รายงานผลการอบรมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
- เกยี รตบิ ตั รของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
- แผนปฏิบตั กิ ารประจำป 2564
- สรุปผลโครงการ/กจิ กรรม
- แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาสถานศกึ ษา

3. จดุ เดน
ผบู รหิ ารมวี ิสยั ทัศน ภาวะผูนำและความคิดรเิ รม่ิ ที่เนนการพัฒนาผเู รียนมีการบรหิ ารงานอยางเปน ระบบ
ไดใชเ ทคนิคการประชุมหลากหลายวธิ ี มกี ารปรบั แผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจำป
ท่ีสอดคลองกับผลการจัดการศึกษา สภาพปญหาพัฒนา ความตองการพัฒนา มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม
ประเมินผล การดำเนินงาน และไดด ำเนินการปรับปรงุ ภูมทิ ัศนของโรงเรียนใหน าอยยู ิ่งข้ึน

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 41

4. จดุ ควรพัฒนา
- การจัดหาหรือมีการปรับเปลี่ยนหองจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสมกับเด็กใหมีความปลอดภัย
และอยใู นสภาพแวดลอ มที่เอ้ือตอ การเรียนรูและพฒั นาตอตัวเด็ก
- จดั หาเครอ่ื งเลน สนามเพ่ือพฒั นาเดก็ ไดอยางเต็มศักยภาพ

5. ขอเสนอแนะ
ควรมีผูดูแลเด็กปฐมวัยเพิ่ม อยางนอยเด็กปฐมวัยตองมีครูและผูดูแลเด็กเพ่ือไดรับการดูแลอยางทั่วถึง
ซึ่งจำนวนเดก็ 15-20 ตอ ครู 1 คน

6. วิธีปฏบิ ัติท่ดี ี/นวตั กรรม (ถามี)
- จัดหาบรเิ วณที่ปลอดภัยและอุปกรณข องเลน ตางๆใหเพยี งพอตอเด็กเพอื่ ทดแทน

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณทีเ่ นน เด็กเปน สำคญั
ระดับคุณภาพ: ดี

1. ผลการดำเนินงาน
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา ไดจัดใหครูไดมีการวางแผนการสอนทุกวิชา โดยมีการวิเคราะห
หลักสูตรและจัดทำแผนการสอน โดยมุงเนนความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ดาน ทั้งทางดานรางกาย
สุขภาพรางกายสมบูรณแข็งแรง อารมณจิตใจราเริงแจมใส สังคมสามารถอยูรวมกับเพ่ือนๆและครู
อยางมีความสุข และสติปญญาสามารถคิดวิเคราะหแยกแยะสิ่งตางๆได มีความรู คุณธรรม จริยธรรม
และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึง่ เปนการจัดประสบการณการเรยี นรูที่เนนผูเรยี นเปนสำคญั เพ่ือสามารถอยู
รวมกับผูอ่ืนไดอยางเปนสุข ภายใตคำวา เกง ดี มีสุข ประสบการณในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู
แบบเรียนผานการเลน เพ่ือใหเด็กไดประสบการณตรง เกิดการเรียนรูและมีการพัฒนาท้ังทางดานรางกาย
อารมณจิตใจ สังคม และสติปญญา ซึ่งสามารถยืดหยุนไดความเหมาะสมและสอดคลองกับหลักสูตรปฐมวัย
ทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน จัดประสบการณการเรียนรูท่คี รอบคลุมพัฒนาการในทุกๆดานใหเหมาะสม
กับวัย ดังนี้
ดานรางกาย พัฒนาการเคล่ือนไหวทางรา งกาย เด็กเคล่ือนไหวอยางเหมาะสมตามจินตนาการเพ่ือให
รางกายทุกสวนทั้งกลามเน้ือมัดใหญมัดเล็กใหทำงานอยางมีประสทิ ธิภาพ ดา นอารมณ จิตใจ เด็กมีพัฒนาการ
ดานอารมณความรูสึกไดอยางเหมาะสม รูจักยับยั้งชั่งใจ รูจักการรอคอย กลาแสดงออก ชวยเหลือแบงปน
มีความรับผิดชอบ ดานสังคม เด็กชวยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได มีวินัยในตนเอง
เลนรว มกบั ผูอน่ื ได มีสมั มาคารวะตอผูใหญด านสติปญญา มีความคดิ รว มยอด รจู ักการแกปญหา สอ่ื สารและมี

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยา 42

ทกั ษะความคดิ พื้นฐานแสวงหาความรูไดอ ยางเหมาะสมตามวัย จัดประสบการณการเรียนรูที่สงเสริม
ใหเด็กไดประสบการณโดยตรง จากการเรียนผานการเลนโดยลงมือปฏิบัติจริงดวยตนเองและการเรียนรูราย
กลุมเพ่ือกอใหเกิดความมีน้ำใจ สามัคคี การแบงปนและการรอคอยเพื่อสงผลใหเด็กเกิดการเรียนรูไดอยาง
มีความสุข

จัดบรรยากาศในช้ันเรียนท่ีสงเสริมความสนใจใหแกผูเรียน ช้ันเรียนมีบรรยากาศเต็มไปดวยความ
อบอุน ความเห็นอกเห็นใจ มีความเอื้อเผ่ือเผื่อแตตอกนั และกัน ซงึ่ เปนแรงจูงใจภายนอกท่ีกระตุนใหผเู รียนรัก
การอยูรว มกันในชั้นเรียน และปลกู ฝงคุณธรรม จริยธรรม ใหแกเด็กนักเรียนหองเรยี นมีบรรยากาศเอื้ออำนวย
ตอการเรียนรู กวางขวางพอเหมาะ มีมุมสงเสริมประสบการณการเรียนรู มีการตกแตงหองเรียนใหสดใส
และมีส่ือการเรียนรูท่ีเอื้อตอการจัดประสบการณการเรียนการสอน การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
จากการจัดประสบการณการเรียนรู และการจัดกิจวัตรประจำวัน ดวยเคร่ืองมือและวิธีการที่หลากหลาย
เชน การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะหผลพัฒนาการของเด็ก โดยใหผูปกครองมีสวน
รวม เพื่อไดนำผลการประเมินไปพฒั นาศักยภาพของเดก็ และพฒั นาการจัดประสบการณการเรยี นรใู นช้ันเรียน
เพื่อพัฒนาครูอยางเพียงพอและทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดคลอง
กับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ
ท่ีสอดคลองกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำป มีการนำผลการ
ประเมินไปปรับปรงุ พฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา โดยทุกฝายมสี ว นรวม พรอ มทง้ั รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
ใหหนวยงานตนสังกัดอยางตอเนื่องเด็กมีพฤติกรรมราเริงสดช่ืนแจมใสแสดงออกถึงการยอมรับและชื่นชม
ความสามารถและผลงานของตนเองไดเหมาะสมในหลายๆสถานการณ เด็กมีพฤติกรรมมั่นใจในตนเองกลาพูด
กลาทำกลาแสดงออกในการปฏิบัติกิจกรรมตางๆดวยตนเองเปนบางคร้ัง เด็กมีพฤติกรรมควบคุมอารมณ
ไดเหมาะสมตามวัยในทุกสถานการณ เด็กเลนและทำงานรวมกับผูอ่ืนยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นปฏิบัติ
ตามขอ ตกลงและเปนผนู ำผูตามทดี่ ีเกอื บทุกคร้งั

มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวกท้ังในรูปแบบ On-site และ On-hand โดยใชสื่อที่จัดทำขึ้นเอง
หรือเทคโนโลยีตาง ๆ ท่ีสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนรูในทุกกลุมสาระ ปะกอบดวย ใบงาน ใบความรู
แบบฝกทักษะ บัตรคำ บัตรภาพ เกม และสื่อตางๆ เพ่ือใหผูเรียนรักการเรียนรูและเรียนรูรวมกันอยางมี
ความสุข

มีการจดั คาบ PLC วันละ 1 ช่ัวโมงใหครแู ตละกลุม สาระการเรยี นรรู วมแลกเปลย่ี นเรยี นรูและนำขอมูล
มารวมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู ซ่ึงครูแตละช้นั แตละวิชาจะนำปญหา หรือขอบกพรองท่ีคนพบมา
เปนประเด็นในการแลกเปล่ียนเรียนรู และจัดทำงานวิจัยในชั้นเรยี นเพื่อแกไขปญหาจากการแลกเปล่ยี นเรียนรู

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา 43

ปก ารศกึ ษาละ 1 เรื่อง นอกจากน้คี รทู ุกคนเขา รบั การอบรมพัฒนาความรูและนำกลบั มาพัฒนาการจดั การเรยี น
การสอนตอไป

2. หลกั ฐาน/รองรอย/เอกสารสนับสนนุ
- แผนการจัดการเรยี นรู
- สรปุ ผลพฒั นาการผูเรยี น
- งานวจิ ัยในช้นั เรยี น
- เอกสารในชัน้ เรยี น

3. จดุ เดน
- มหี ลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทัง้ 4 ดาน สอดคลองกบั บริบทของทอ งถนิ่
- ครตู ้ังใจ มงุ มน่ั ในการพัฒนาการเรยี นการสอน
- ครจู ัดกิจกรรมใหผเู รยี นแสวงหาความรจู ากสือ่ เทคโนโลยีดวยตนเองอยางตอเนื่อง
- ครใู หผเู รยี นมีสวนรวมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ มท่เี ออื้ ตอการเรียนรู
- ครจู ดั กจิ กรรมใหผูเรยี นเรยี นรโู ดยการคิดและปฏิบตั ิจรงิ ดวยวิธีการท่หี ลากหลาย

4. จดุ ควรพัฒนา
- ควรจัดหาส่อื การเรียนการสอนท่ีทำมาจากวัสดธุ รรมชาตหิ รอื วัสดทุ ห่ี าไดใ นชมุ ชน
- ควรมกี ารพัฒนาแหลง เรยี นรูเ พ่ิมข้ึนและใหชมุ ชนมามสี วนรว มในการพัฒนา
- จัดทำแหลง เรยี นรู ท้งั ภายในและภายนอกใหม มี ากย่งิ ขนึ้
- ควรนำภูมปิ ญ ญาทองถน่ิ ใหเขามามีสวนรว มในการจัดกิจกรรมใหนักเรียนได
- จดั สภาพแวดลอมและสื่อเพือ่ การเรยี นรู อยางปลอดภัย และพอเพียง

5. ขอ เสนอแนะ
- ควรมีการใหคำแนะนำจัดทำสอ่ื และของเลน ใหแ กผูปกครอง
- ควรมีการจัดกิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรูการทำของเลนพ้ืนบานในชุมชน (ตามแบบภูมิปญญา
ทอ งถิน่ )
- พัฒนาแหลงเรียนรูเพ่ิมขึ้นและใหชุมชนมามีสวนรวมในการพัฒนา จัดทำแหลงเรียนรู ทั้งภายในและ
ภายนอกใหมมี ากยิ่งข้ึน

6. วิธีปฏบิ ัติท่ีดี/นวัตกรรม (ถาม)ี
- มีการรว มทำกิจกรรมรว มกับชุมชนอยา งสมำ่ เสมอตามวาระและโอกาส

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบานแมสลดิ หลวงวิทยา 44

3.2 ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

มาตรฐาน ระดับคุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู รียน ดี
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผูบรหิ าร ดี
สถานศึกษา
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี น ดี
เปน สำคัญ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู รียน

ระดับคุณภาพ: ดี

1. ผลการดำเนนิ งาน

โรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยา กำหนดคา เปา หมายใหผ ูเรียนมีความสามารถในการส่ือสารภาษาไทย
ไดเหมาะสมตามเกณฑของแตละระดบั ชั้น ผูเรียนมีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษไดเหมาะสมตาม
เกณฑของแตละระดับชั้น ผูเรียนมีความสามารถในการคิดคำนวณตามเกณฑของแตละระดับชั้น ผูเรียน
มีความสามารถในการคดิ วิเคราะหค ดิ วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและแกปญหา และนำไป
ประยุกตใชในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม ผูเรียนมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสารไดอยางเหมาะสม ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ผูเรียนมีความกาวหนาจากพ้ืนฐานเดิม
ในแตละปในดานความรูความเขาใจและทักษะตางๆ ตามหลักสูตรสถานศึกษาอยางเปนรปู ธรรม และตอเนอ่ื ง
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนเพ่ิมขึน้ รอยละ 3 คา เฉลี่ยผลการสอบวัดระดับชาติ O-NET ระดับ ป.6 ม.3
และ ม.6 มีพัฒนาการสูงขึ้น ผูเรียนมีความรู ทักษะ และเจตคติทีดี พรอมท่ีจะศึกษาตอในระดับช้ันท่ีสูงขึ้น
ผเู รยี น มคี วามรู ทักษะในการทำงานและประกอบอาชีพเหมาะสมกบั ชวงวยั

โรงเรยี นบานแมสลิดหลวงวิทยา มกี ระบวนการพัฒนาคุณภาพผเู รยี น โดยเรมิ่ จากการดำเนนิ การ PLC
ของคณะครูแตละกลุมสาระการเรียนรูจนถึงคณะผูบริหารเพ่ือสรางความตระหนักถึงความสำคัญ วิเคราะห
สภาพปญหาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียนในปท่ีผานมาโดยทุกฝายมีสวนรวม โดยโรงเรียนดำเนินการจัด
โครงการตา งๆเพ่ือชว ยสง เสริมและพัฒนาผเู รียนทกุ ชวงช้ัน อาทิเชน โครงการสงเสรมิ ความเปน เลศิ ทางวิชาการ
โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการทดสอบทางการศึกษาแหงชาติข้ันพ้ืนฐาน โครงการพัฒนาผูเรียน
ใหม ที ักษะในการแสวงหาความรูดวยตนเอง โครงการสง เสริมกระบวนการคดิ พัฒนาทกั ษาชวี ิตอยา งสรา งสรรค
โครงการสงเสริมกิจกรรมรักการอานในทุกระดับช้ัน รวมถึงโครงการที่ชวยสงเสริมมาตรฐานทางดาน
คุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน เชน โครงการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะพึง
ประสงค เปน ตน

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นแมสลดิ หลวงวิทยา 45

ในปการศึกษา 2564 น้ี โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา ไดจัดการเรียนการสอนทั้งรูปแบบ
On-site,On-hand และ Online โดยในชวงที่เปดการเรยี นการสอนแบบ On-site โรงเรยี นไดสงเสริมในเร่ือง
การดูแลและปองกันตนเองจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
ใหน ักเรยี นมีแนวปฏิบัติแบบ New Normal นักเรียนจะปฏิบตั ดิ งั น้ี

1. ตรวจวดั อณุ หภูมริ า งกายกอ นเขา โรงเรียนหรอื หองเรยี น
2. ลางมือบอยๆโดยใชสบูและน้ำ ตามจุดท่ีโรงเรียนจัดวางไว หรือเจลลางมือท่ีมีสวนผสมหลักเปน
แอลกอฮอล
3. ไมสัมผสั ตา จมูก หรือ ปาก
4. รกั ษาระยะหา งท่ปี ลอดภัยจากเพอ่ื นและผอู น่ื
5. สวมหนา กากอนามัยทกุ คร้งั เม่ือออกจากบาน
6. ปดจมกู และปากดว ยขอพบั ดา นในขอ ศอกหรือกระดาษชำระเมือ่ ไอหรอื จาม
7. หากมไี ข ไอ และหายใจลำบาก แจงครูหรอื ผูป กครอง และไปพบแพทย ทั้งนก้ี อนท่ีนักเรยี นจะออก
จากบาน หรือไปโรงเรียน นักเรียนจะตองประเมินตนเองวามีความ พรอมหรือไม และหลังจากกลับมาบาน
นกั เรียนและผปู กครองจะตอ งประเมินและตดิ ตามผลอาการของตนเอง
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา ไดจัดการเรยี นการสอนรปู แบบ ออนไซต, ออนแฮนด และออนไลน
ใหแกนักเรียนทุกระดับช้ันในชวงที่มีการระบาดอยางหนัก โดยใชส่ือ เชน ใบความรู แบบฝกหัด ใหนักเรียน
ไดน ำกลับไปศกึ ษาดวยตนเองทบี่ าน ซึง่ จะจัดใหนักเรียนมารับและสง แบบฝกหัดสัปดาหละ 1 คร้ัง และสำหรับ
นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาทางโรงเรยี นไดจัดตารางเรียนสำหรับการเรียนการสอนแบบออนไลน เพื่ออำนวย
ความสะดวกใหแกครแู ละนักเรียน โดยครผู ูสอนจะใชแอปพลิเคชั่นตาง ๆ เพื่อชวยในการสอน เชน Google
Meet, Zoom, Line หรอื จัดตั้งกลุมหองเรยี นในเฟซบกุ เพ่ือเขาถึงนกั เรยี นไดม ากท่ีสุด
ผลจากการดำเนินกิจกรรมตางๆ เพื่อสงเสริมคุณภาพผูเรียน ไดบรรลุเปาหมายท่ีกำหนดไวในภาพ
รวมอยูในระดับ ดี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับคุณภาพดีข้ึนไปของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 1-6
รอยละ 55.05 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1-6 รอยละ 55.84 ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET
ในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ถึงมัธยมศึกษาปท่ี 6 ผลการทดสอบยังถือวาคอนขางต่ำเม่ือเทียบกับป
การศกึ ษาทผี่ า นมา
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยาไดจัดประชุมเพื่อทบทวนและสรุปผลการดำเนินงานท่ีผานมา
และชวยกันระดมความคิด วิเคราะหสภาพปญหาผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผูเรียนในปที่ผานมาโดยทุกฝาย
มีสวนรวม โดยทางโรงเรียนจะสงเสริมในดานโครงการสงเสริมความเปนเลิศทางวิชาการ โครงการยกระดับ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการทดสอบทางการศกึ ษาแหงชาติขนั้ พนื้ ฐานมากข้ึน
โรงเรียนมีการแจงผลการประเมินคุณภาพของนักเรียนใหแกผูปกครองปการศึกษาละ 2 คร้ัง
และไดประชาสัมพันธกิจกรรมและผลการดำเนินงานกิจกรรม โครงการตางๆ ผานส่ือสังคมออนไลน ไดแก

รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยา 46

เฟซบุกโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา การประชุมผูปกครอง การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน เปน ตน

2. หลักฐาน/รอ งรอย/เอกสารสนบั สนนุ
1.โครงการสง เสรมิ ความเปนเลิศทางวิชาการ
2. โครงการพฒั นาผเู รียนใหมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะพงึ ประสงค
3. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์กิ ารทดสอบทางการศึกษาแหงชาติขั้นพ้นื ฐาน
4. โครงการสงเสรมิ สขุ ภาพ
5. โครงการพฒั นากลมุ บริหารกจิ การนักเรยี น
6. โครงการพฒั นาผูเ รยี นใหมีทักษะในการแสวงหาความรูด วยตนเอง
7. โครงการพัฒนาหลักสตู ร จัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียน
8. โครงการพฒั นาผูเ รยี นใหมีทกั ษะในการทำงาน เพ่ือการประกอบอาชพี
9. โครงการสง เสริมกระบวนการคิด พฒั นาทักษะชีวิตอยางสรางสรรค
10. โครงการสงเสริมจุดเนนเพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี น
11. โครงการสงเสรมิ กจิ กรรมรักการอา น
12. โครงการเสรมิ สรางและพฒั นาศกั ยภาพของนกั เรยี นของโรงเรยี นในโครงการพระราชดำรฯิ สมเด็จ
พระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
13. โครงการสวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น
14. โครงการ การจัดกจิ กรรมการสอนทางไกลในสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID - 19)

3. จุดเดน
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา มีการวิเคราะหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและไดกำหนดเปนเปาหมาย
ท างการเรียน โดย ใช ข อมู ลฐาน 3 ปย อน ห ลังเปน เป าห มายคุณ ภ าพ นั ก เรีย น ให พัฒ น าสูงข้ึน
มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนท่ีหลากหลาย โดยทุกฝายมีสวนรวม กำหนดคาเปาหมาย กำหนดบทบาท
หนา ที่ความรบั ผิดชอบของบุคลากรอยางชัดเจน มีการประชุมวางแผนกอนการดำเนนิ งาน ออกแบบวธิ กี ารหรือ
นวัตกรรมใหเหมาะสมกับนักเรียนสรางเครื่องมือ หรือนวัตกรรมท่ีออกแบบไว ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา
ตามเคร่ืองมือทสี่ รางข้ึนมา โดยเปนกิจกรรมท่ีเติมการสอนใหมีความเขมขน ในเนอ้ื หาวชิ าที่เรยี นยากขึ้นและมี
กระบวนการพัฒนาอยางเปนระบบและขั้นตอนจากงา ยไปหายาก และมีกิจกรรมเสริมวิชาการโดยเปน การจัด
กิจกรรมการเรยี นรูใหนักเรยี นท้ังในและนอกเวลาเรียนตามท่ีโรงเรยี นกำหนด มกี ารติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
การศกึ ษาอยางตอเนื่อง โดยมีคำสั่งและบันทึกการนิเทศทั้งในระดับบุคคลและระดับสถานศกึ ษา มีการแตงต้ัง
คณะกรรมการนเิ ทศการสอนของครู ผบู รหิ ารทำการนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตามอยา งจริงจังและตอเนือ่ ง

รายงานประเมินตนเอง (SAR) ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวิทยา 47

4. จุดควรพฒั นา
สภาพแวดลอมทางกายภาพ และสังคมในบริเวณชุมชนเปนชาวปาเกอญอ มีภาษาถิ่นและวัฒนธรรม
ประเพณีที่เอกลักษณ การใชภาษาไทยในการส่ือสารยังขาดความเขาใจ ทำใหเปนปญหาและอุปสรรคในการ
เรยี นรูข องนักเรยี น จงึ ควรพัฒนาทักษะดา นการใชภาษาไทยใหมากข้ึนโดยจัดกิจกรรมท่สี งเสริมทักษะดานการ
อา น การเขียนใหเพิ่มขน้ึ และดวยสภาพแวดลอมทางกายภาพเปน ภูเขา พื้นท่บี างสว นจึงไมมีสัญญาณโทรศพั ท
เขา ถงึ จึงทำใหไ มส ามารถเรยี นออนไลนไ ดอยางมปี ระสิทธภิ าพ

5. ขอ เสนอแนะ
- ควรจดั กิจกรรมพฒั นาความสามารถในการอาน การเขยี น การส่อื สารและการคดิ คำนวณของผูเรยี นใน
แตละระดบั ชน้ั
- ควรจัดกิจกรรมเพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา โดยควรมีการวิเคราะห
ผลสัมฤทธ์ิ และจดั กิจกรรมพัฒนาใหสอดคลองกบั ผลการวิเคราะห โดยมีการตดิ ตาม ประเมินผลอยางตอเน่ือง

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผูบริหารสถานศึกษา
ระดับคุณภาพ: ดี

1. ผลการดำเนินงาน
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยามีการกำหนดเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจท่ีกำหนดไวตรงกับ
แผนการศึกษาชาติ โดยมีการกำหนดบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของบุคลากรอยางชัดเจน มีการประชุม
วางแผนกอนการดำเนินงานที่สงผลตอคุณภาพผูเรียนอยางเปนรูปธรรม มีขั้นตอนอยางชัดเจน และมีความ
เปนไปไดในการปฏิบัติ ผูเกี่ยวของทุกฝายใหความรวมมือในการวางระบบและดำเนินงาน พอแม ผูปกครอง
คณะกรรมการสถานศึกษา ชมุ ชน/ทองถิ่น และผูม สี ว นเกี่ยวของ มีความพึงพอใจตอ ระบบการบรหิ ารและการ
จดั การของสถานศึกษา ผูเกี่ยวของทุกฝายมีสวนรวมและมีเครือขายความรวมมือในการรวมรับผิดชอบตอผล
การจัดการศึกษาใหมีคุณภาพและไดมาตรฐาน สถานศึกษามีการกำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหาร
และการจัดการศึกษาอยางเหมาะสม ชัดเจน และเปดโอกาสใหผูเก่ียวของมีสวนรวมพัฒนาบุคลากรทาง
การศึกษาใหมีความรูความสามารถ สามารถจัดกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณภาพการศึกษาไดอยาง
มีประสิทธิภาพ เนนผูเรียนทุกกลุมเปาหมาย ทุกคน และดำเนิน อยางเปนรูปธรรม เปดโอกาสใหบุคลากร
ทางการศึกษาเขารวมการอบรม ประชุม จากหนวยงานอ่ืนตามความสนใจ สงเสริมใหบุคลากรทางการศึกษา
ศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น สนับสนุนสงเสริมใหบุคลากรมีวิธีปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Best Practice) นวัตกรรม
ผลงานวิจัย มีผลงานในการพัฒนาคณุ ภาพ ตลอดจนไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติ สงเสริมครูและบุคลากร
นำผลจากการเขารับการพัฒนาตนเองใหดานตาง ๆ ไปใชประโยชน ดังน้ี ตอตนเอง คือ พัฒนาใหมีความรู


Click to View FlipBook Version