The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by janelovely001, 2022-04-24 23:45:17

แผน ป.4

แผน ป.4

แผนการจัดการเรียนรู้
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1

รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ลเทคโนโลยี

หนว่ ยการเรยี นรู้เรอื่ ง ประเภทของวสั ดุ ระดับชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 4

ภาคเรยี นที่ 2 จานวน 3 คาบสปั ดาห์

เรอ่ื ง วสั ดุและสสาร เวลา 2 คาบ

ผสู้ อน นางสาว ชลธิชา เพง็ อาํ ไพ วันที่ 15 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564

โรงเรียน บา้ นปากคะยาง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ดั

ว 2.1 ป.4/1 เปรยี บเทยี บสมบตั ทิ างกายภาพดา้ นความแข็ง สภาพยดื หยนุ่ การนําความร้อน และ
การนําไฟฟ้าของวสั ดุโดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษจ์ ากการทดลองและระบกุ ารนําสมบตั ิเรื่อง
ความแข็งสภาพยดื หยุ่น การนาํ ความรอ้ น และการนาํ ไฟฟ้าของวสั ดไุ ปใชใ้ นชวี ิตประจาํ วัน
ผา่ นกระบวนการออกแบบชน้ิ งาน
ป.4/2 แลกเปลย่ี นความคิดกับผอู้ ื่นโดยการอภปิ รายเกย่ี วกับสมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุ
อยา่ งมเี หตผุ ลจากการทดลอง

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1) อธบิ ายประเภทของวสั ดตุ า่ ง ๆ ได้ (K)
2) สังเกตและจําแนกประเภทของวสั ดตุ า่ ง ๆ ได้ (P)
3) ยกตัวอย่างความสําคัญประเภทของวสั ดุตา่ งๆ ทน่ี ํามาใชใ้ นชวี ิตประจําวนั ตามความเหมาะสม

ในการใชง้ าน (A)

3. สาระการเรยี นรู้

วัสดแุ บง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คอื โลหะ เซรามิก และพอลเิ มอร์

4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

ประเภทของวสั ดุ คือ สิง่ ทีน่ ํามาใช้ทาํ วตั ถหุ รือส่ิงของเครื่องใช้ต่างๆ ท่อี ยรู่ อบตัวเรา ซึ่งทํามาจากวสั ดุ
หลากหลายประเภท ดงั นน้ั การเลอื กวัสดเุ พื่อนาํ มาทําเป็นวัตถุหรือสงิ่ ของเคร่อื งใช้ตา่ ง ๆตอ้ งคาํ นึงถงึ สมบตั ิ
ทางกายภาพของวสั ดแุ ตล่ ะชนิดเพ่ือใหเ้ หมาะสมกับการใช้งาน

5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

1) ความสามารถในการสอื่ สาร
2) ความสามารถในการคดิ
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. กระบวนการสบื เสาะหาความรู้

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : 5Es Instructional Model

1.ข้นั นา ชวั่ โมงท่ี 1
1. นักเรียนทาํ แบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1เร่ือง วสั ดแุ ละสสาร เพื่อเขา้ ใจระดับ
ความรู้เดมิ ของนักเรียนก่อนเข้าส่กู ิจกรรม

กระตุน้ ความสนใจ
1. นักเรียนดภู าพสถานท่ี 3 ภาพและตอบคาํ ถามตอ่ ไปน้ี

 ภาพที่ 1 คือภาพอะไร
(แนวคําตอบ ห้องครัว)

 บตั รภาพทน่ี ักเรยี นเห็นมวี ัตถุอะไรบา้ ง และวัสดทุ ี่นํามาใช้ทําวัตถชุ นิดนั้นคืออะไร
(แนวคําตอบ ผนังบ้านทําจากอิฐฉาบด้วยปนู ถว้ ยจานทาํ จากดินเหนยี ว ประตทู ําจากไม้ หม้อทําจาก
โลหะ ผา้ เช็ดมอื ทาํ มาจากผ้า เปน็ ต้น)

 ภาพที่ 2 คือภาพอะไร
(แนวคําตอบ ห้องนอน)

 บัตรภาพทน่ี ักเรยี นเห็นมวี ัตถุอะไรบา้ ง และวัสดุที่นํามาใช้ทาํ วตั ถชุ นิดนนั้ คืออะไร
(แนวคาํ ตอบ หน้าตา่ งกระจก ทํามาจากแก้ว ส่วนขอบหน้าต่างทาํ มาจากอลูมเิ นียม เตียงนอน ผา้ ปทู ่ี
นอน ผา้ มา่ น หมอน ผา้ ห่ม ทํามาจากเสน้ ใยสงั เคราะห์ เปน็ ตน้ )

 ภาพที่ 3 คือภาพอะไร
(แนวคาํ ตอบ ห้องน้ํา)

 บัตรภาพทนี่ กั เรยี นเห็นมวี ตั ถุอะไรบ้าง และวสั ดทุ ่ีนาํ มาใช้ทําวัตถุชนดิ นัน้ คืออะไร
(แนวคาํ ตอบ ประตูทํามาจากไม้ อา่ งลา้ งมือและซกั โครกทํามาจากดินเหนียวขวดใส่สบทู่ ํามาจาก

พลาสติก)

2. ครสู นทนากบั นักเรียนว่า ส่ิงท่ีนักเรยี นได้ตอบมานน้ั มวี ัสดุท่ีหลากหลายชนดิ เชน่ ไม้ ยาง ดิน
เหนยี ว พลาสตกิ ใยสังเคราะห์ โลหะต่าง ๆ แต่สงิ่ ทตี่ อบมาคือวัสดุทน่ี าํ มาใช้ทําวตั ถุหรือส่งิ ของ
เครือ่ งใชต้ ่าง ๆ จากกิจกรรมทใี่ ห้ทํานักเรยี นจะรจู้ กั วสั ดุที่นาํ มาใช้ทําวัตถุหรือส่งิ ของเคร่ืองใช้ แต่
ยงั ไม่สามารถจําแนกประเภทของวัสดุ ซ่ึงในแผนการจัดการเรียนรู้นี้ นักเรียนจะไดเ้ รยี นเรอื่ ง
ประเภทของวสั ดุและจําแนกประเภทของวัสดุ

2.ข้ันสอน
ขัน้ สารวจคน้ หา
1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 4-5 คน แล้วศึกษาข้นั ตอนการทํากจิ กรรมพฒั นาทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรท์ ่ี 1 วัสดรุ อบตวั เรา ในหนงั สอื เรยี นชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4
2. 2.นกั เรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรมพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่ 1 วัสดรุ อบตวั เรา โดยปฏบิ ัติ
ดงั นี้
1.) สืบคน้ ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ (หนังสือเรียนหรืออนิ เทอรเ์ น็ต) เกี่ยวกบั วัสดุ 3 ประเภท คือ
โลหะ เซรามกิ และพอลิเมอร์ พรอ้ มรว่ มกันอภิปรายภายในกลุ่มและสรปุ ความรู้ทไ่ี ด้ ลงในตาราง
บนั ทึกผลการจําแนกประเภทวัสดุทใ่ี ช้ทําวัตถุ ในหนงั สือเรียนชุดแม่บทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4
2.) แตล่ ะกลมุ่ สํารวจวตั ถตุ ่าง ๆ ภายในหอ้ งเรียนแล้วแสดงความคดิ เหน็ ว่าวตั ถนุ ้ันทํามาจากวัสดุ
ประเภทใดจาํ แนกประเภทของวัตถุที่สาํ รวจไดต้ ามประเภทของวสั ดุ การจาํ แนกประเภทวัสดุ
ทใ่ี ช้ทําวัตถุและสรปุ ผลการทํากจิ กรรม ลงในตารางบันทึกผลการจําแนกประเภทของวสั ดุทใ่ี ชท้ าํ วัตถุ
ในหนังสือเรยี นชดุ แม่บทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4

ข้นั สอน [ต่อ] ชวั่ โมงที่ 2
ขั้นอธิบายความรู้
1. นักเรียนตอบคําถามเพ่ือทบทวนความรเู้ ดมิ นักเรียนว่า วัสดุมที ง้ั หมดก่ีประเภท อะไรบ้าง

(แนวคาํ ตอบ 3 ประเภทคือ โลหะ เซรามิก และพอลเิ มอร์)
2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนําเสนอผลการทํากิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ท่ี 1 เรอ่ื ง วสั ดุ
รอบตัวเรา
3. จากกิจกรรมท่นี กั เรียนทําเรื่อง“วัสดรุ อบตัวเรา” ทําให้นักเรยี นได้รูว้ า่ วัตถุหรือสิง่ ของเครื่องใชต้ า่ ง ๆ ทใี่ ช้

ในชีวิตประจาํ วนั สามารถจาํ แนกประเภทของวัสดไุ ด้ 3 ประเภท คอื โลหะ เซรามิก และพอลิเมอร์ จากนน้ั
นกั เรียนตอบคาํ ถามวา่ วสั ดปุ ระเภทโลหะต้องมีสมบตั ิอย่างไร
(แนวคําตอบ แข็งแรง ทนทาน แวววาวและมีความเหนียวสูง)

4. ครอู ธิบายเพม่ิ เติมเกีย่ วกับวสั ดุประเภทโลหะ คือวสั ดทุ ี่ไดม้ าจากการนาํ แรธ่ าตุท่ีมสี ่วนผสมของแร่โลหะมา
ถลุง ซ่ึงโลหะเป็นวสั ดุท่มี ีความแข็งแรง ทนทาน แวววาวและมีความเหนียวสูง เมื่อโลหะได้รบั ความร้อน

สามารถนํามาตีใหเ้ ปน็ แผ่นเรียบหรอื ดงึ ให้เป็นเสน้ ได้ นอกจากน้โี ลหะยังสามารถนําความรอ้ นและนาํ ไฟฟ้าได้ดี
วสั ดปุ ระเภทโลหะไดแ้ ก่ เหลก็ สังกะสี ตะกั่ว เงิน ทองแดง ทองคํา อะลูมิเนยี ม นกิ เกลิ ดีบุก เป็นต้น
5. นักเรยี นตอบคําถามวา่ นกั เรียนคดิ ว่าวสั ดปุ ระเภทเซรามิก ต้องมสี มบัติอยา่ งไร

(แนวคาํ ตอบ แข็งแรงแต่ค่อนข้างเปราะงา่ ยและแตกหักงา่ ยเม่ือถกู แรงกระแทกหรือหลน่ )
6. ครอู ธิบายเพ่มิ เติมเกีย่ วกบั วสั ดุประเภทเซรามิก คอื วัสดุที่ไดจ้ ากการนาํ วตั ถุดบิ มาขน้ึ รปู และผา่ นความร้อน
สงู เพื่อให้เกิดความแขง็ แรง เซรามิก เปน็ วสั ดทุ ีม่ ีความแขง็ แรงแตค่ ่อนข้างเปราะงา่ ยและแตกหักไดง้ ่ายเมือ่
ถูกแรงกระแทกหรือหล่น เปน็ วัสดุที่ไม่นาํ ไฟฟ้า แต่นาํ ความร้อนได้ดี วตั ถดุ ิบทีน่ ํามาทาํ เซรามิกได้แก่ ดิน
เหนียว ดนิ ขาว หินฟันมา้ ทราย เป็นต้น
7. นักเรยี นตอบคําถามว่า วัสดุประเภทพอลเิ มอร์ต้องมสี มบัตอิ ยา่ งไร

(แนวคาํ ตอบ น้ําหนักเบา มีความใส และย้อมสีไดห้ ลายสี)
8. ครอู ธิบายเพ่มิ เติมเกย่ี วกับวัสดปุ ระเภทพอลิเมอร์ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคอื วสั ดุทไ่ี ด้จากธรรมชาติ
ได้แก่ ยางพารา ไม้ ฝา้ ย ไหม เส้นใยธรรมชาติ เปน็ ต้น และวัสดทุ ีไ่ ด้จากการสงั เคราะห์ได้แก่ ยาง สน้ ใย
สงั เคราะห์ พลาสติก เป็นต้น เปน็ วสั ดุทไี่ ม่นําไฟฟ้าแตเ่ ปน็ ฉนวนความร้อนได้ดี
9. ครูอธิบายเพ่มิ เตมิ วา่ ประเภทของวสั ดคุ ือ สงิ่ ที่นํามาใช้ทําวตั ถุหรือสิ่งของเคร่อื งใช้ต่างๆท่อี ยู่รอบตัวเรา
ทาํ มาจากวสั ดหุ ลากหลายชนิด ซ่ึงการเลือกวัสดุ เพื่อนํามาทาํ เป็นวัตถหุ รอื สิ่งของเครื่องใชต้ า่ ง ๆ ตอ้ ง
คํานงึ ถึงความเหมะสมของวสั ดทุ ี่จะนํามาใชง้ าน

ขัน้ ขยายความเข้าใจ
1. นักเรียนดตู วั อย่างวสั ดุ เชน่ กุญแจ แกว้ น้ํา แจกนั ตะเกียบ จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นจําแนกประเภทวสั ดุ
ตวั อยา่ งที่ครูเตรียมมา
2. นกั เรยี นยกตัวอย่างวัสดุแต่ละประเภท โดยครใู ชค้ ําถามดังน้ี
 ใหน้ กั เรียนยกตัวอย่างสง่ิ ของทที่ าํ มาจากวสั ดปุ ระเภทโลหะ

(แนวคาํ ตอบ หมอ้ ลวด แหวน เหรยี ญ ลกู กญุ แจ ตะปู เป็นตน้ )

 ใหน้ ักเรียนยกตวั อย่างสิ่งของทีท่ าํ มาจากวสั ดปุ ระเภทเซรามิก

(แนวคาํ ตอบ แจกนั กาน้ําชา กระถางตน้ ไม้ ชกั โครก โอ่งมังกร กระปุกสนิ เปน็ ต้น)

 ใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งส่ิงของที่ทํามาจากวสั ดปุ ระเภทพอลเิ มอร์

(แนวคําตอบ รถของเล่น กล่องลงั พลาสติก ผา้ พันคอ ทัพพีไม้ กระดุม เป็นต้น)

3. ครสู นทนากบั นกั เรียนวา่ วัสดปุ ระเภท พอลเิ มอร์นั้น นักเรียนรูว้ า่ แหล่งที่มาของวสั ดปุ ระเภทน้ี คือ
วสั ดุทีไ่ ดจ้ ากธรรมชาติและวัสดุที่ได้จากการสงั เคราะห์ จากนัน้ ครแู บ่งตารางบนกระดานออกเปน็ 2 ช่อง
คอื ชอ่ งวัสดจุ ากธรรมชาติ และช่องวัสดุสังเคราะห์ จากนนั้ ให้นักเรยี นแต่ละคนคิดคําตอบวสั ดุทม่ี าจาก
ตามธรรมชาติ และวสั ดุท่มี าจากการสงั เคราะห์

(แนวคําตอบ วัสดุท่ีมาจากธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ไม้ ยาง ดนิ เหนียว ขนสัตว์ หนงั สตั ว์ หนิ กรวด ทราย
เปน็ ต้นและวสั ดทุ ีม่ าจากการสงั เคราะห์ ไดแ้ ก่ พลาสติก โฟม ยางสังเคราะห์ กระเบื้องยาง เป็นต้น)

4. นักเรียนทาํ แบบฝกึ พัฒนาการเรยี นรู้ท่ี 1 ในหนงั สือเรียนชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4

3.ขั้นสรปุ
1. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั ร่วมกันสรุปความรู้ เรอ่ื ง ประเภทของวสั ดุวา่ ส่ิงทนี่ าํ มาใช้วตั ถหุ รอื สงิ่ ของ
เครื่องใชต้ า่ งๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ทาํ มาจากวสั ดหุ ลากหลายชนดิ ซึง่ การเลือกวสั ดุเพื่อนาํ มาทําเปน็ วัตถุ
หรือส่ิงของเคร่ืองใชต้ ่างๆ ต้องคํานึงถึงคุณสมบัตขิ องวัสดุ ความเหมาะสมในการใชง้ าน และการ
นําไปใช้ประโยชน์
2. จากนนั้ ครูให้คําถามทง้ิ ท้ายเพื่อใหน้ ักเรยี นกลับไปหาคาํ ตอบวา่ สมบตั ิทางกายภาพของวัสดทุ ีส่ ามารถ
สังเกตและทดสอบไดม้ ีอะไรบ้าง

7.ขนั้ ประเมนิ

ข้ันตรวจสอบ
1. ครูใหน้ กั เรียนตรวจสอบตารางบันทกึ ผล การจาํ แนกประเภทของวสั ดทุ ่ีใชท้ ําวัตถุ ในหนังสอื เรียนชุด
แมบ่ ทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 ที่ทาํ ต้นช่ัวโมงวา่ ถูกตอ้ งหรอื ไม่และให้แก้ไขให้ถูกต้อง
2. ครตู รวจกจิ กรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ท่ี 1 วสั ดุรอบตวั เรา ในหนังสือเรียนชดุ
แม่บทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4. ครูตรวจแบบฝึกพฒั นาการเรยี นรู้ท่ี 1 ในหนงั สือเรยี นชดุ แมบ่ ท
มาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4

8. ส่ือ/ แหล่งการเรียนรู้

8.1 สอ่ื การเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี นชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 วสั ดุและสสาร
2) บัตรภาพสถานที่
3) วสั ดตุ วั อย่าง

8.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) อินเทอร์เนต็

9. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วิธีการ เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
1) กจิ กรรมพัฒนาทักษะ - ตรวจตารางบนั ทึกผล
กิจกรรมพัฒนาทักษะ - หนังสอื เรยี นชุดแม่บท - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กระบวนการทาง กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ท่ี 1 วทิ ยาศาสตรท์ ี่ 1 มาตรฐาน วิทยาศาสตร์
วสั ดรุ อบตัวเรา วัสดุรอบตัวเรา
- ตรวจแบบฝกึ ป.4 หนา้ 138
2) แบบฝึกพฒั นาการ
- หนังสือเรียนชดุ แม่บท - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

เรียนรทู้ ี่ 1 พฒั นาการเรียนรู้ที่ 1 มาตรฐาน

วิทยาศาสตร์

ป.4 หน้า 142

3) พฤติกรรมการทาํ งาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่าน

รายบุคคล การทาํ งานรายบุคคล การทาํ งานรายบุคคล เกณฑ์

4) พฤติกรรมการทํางาน - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน
กลมุ่ การทาํ งานกลมุ่
การทาํ งานกลมุ่ เกณฑ์

เกณฑก์ ารประเมินผล ระดบั คณุ ภาพ
ประเดน็ การวัดและ
ระดบั 4 ระดับ 3 ระดบั 2 ระดบั 1
ประเมนิ ผล (ดมี าก) (ต้องปรับปรุง)
(ดี) (พอใช้)
- ยกตวั อยา่ งวัสดมุ ี
ทัง้ หมดก่ปี ระเภทได้ ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 60 ขน้ึ ไป

- อธิบายเพ่ิมเติมเกย่ี วกับ 1.บนั ทกึ ผลไดช้ ัดเจน มีผลการเรียนร้ตู าม มผี ลการเรียนรตู้ าม มีผลการเรียนรู้ตาม
ประเภทวัสดุได้ ถกู ต้อง คําอธบิ ายเป็นรายข้อ คําอธิบายเป็นราย คําอธิบายเป็นราย
ดงั ทก่ี าํ หนดระดับดี ข้อดังทีก่ าํ หนด ขอ้ ดงั ทก่ี าํ หนดระดับ
2. บันทึกผลไดค้ รบทุก มากข้อใด ๆ จาํ นวน ระดับดมี ากข้อใด ดีมากข้อใด ๆ น้อย
ประเดน็ สอดคลอ้ งกบั 4 ขอ้ ๆ จาํ นวน 3 ข้อ กว่า 2 ขอ้
เนื้อหา

3.ทาํ งานเสรจ็ ตรงเวลา
ที่กําหนด

4.นําเสนอผลงานได้

อย่างถูกต้อง ออกเสียง

ถ้อยชดั คาํ

3. มีความมงุ่ มนั่ ต้งั ใจใน 1. ตั้งใจทาํ งาน มีผลการเรยี นร้ตู าม มผี ลการเรียนรูต้ าม มีผลการเรียนรู้ตาม
การเรยี น (A)
2. เพียรพยายาม คําอธบิ ายเป็นรายขอ้ คาํ อธบิ ายเปน็ ราย คําอธิบายเป็นราย
ข้อดงั ท่กี ําหนดระดับ
ดังท่กี ําหนดระดบั ดี ข้อดังทีก่ ําหนด ดีมากข้อใด ๆ น้อย
3.เอาใจใสต่ ่อการปฏบิ ัติ มากข้อใด ๆ จาํ นวน ระดบั ดีมากข้อใด กวา่ 2 ข้อ
หนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย 4 ข้อ
ๆ จํานวน 3 ขอ้

4.มีความพยายามใน

การแกป้ ัญหาในการ

ทาํ งานให้สําเร็จ

*นกั เรยี นท่มี ีผลการเรยี นไมต่ ํ่ากว่าระดับ 2 ถือว่าผา่ น

เกณฑก์ ารประเมินระดบั คณุ ภาพผลการเรียนรู้
กาํ หนดระดับคณุ ภาพผลการเรยี นรรู้ ่วมกันทกุ ด้านเป็น 4 ระดบั คือ ดีมาก ดี พอใช้ และต้องปรับปรงุ

แตล่ ะระดับกาํ หนดเกณฑ์ประเมนิ ตามคะแนนเกณฑร์ บู ริคส์ ดงั นี้
คะแนนร้อยละ 80 – 100 ของจํานวนคะแนนทัง้ หมด หมายถงึ ดีมาก
คะแนนรอ้ ยละ 70 – 79 ของจํานวนคะแนนทงั้ หมด หมายถึง ดี
คะแนนรอ้ ยละ 60 – 69 ของจํานวนคะแนนทัง้ หมด หมายถงึ พอใช้
คะแนนต่ํากว่ารอ้ ยละ 60 ของจํานวนคะแนนท้ังหมด หมายถึง ต้องปรับปรุง

เกณฑ์ประเมนิ ผ่าน
ระดับบุคคล นักเรียนมผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดับ ดี ขน้ึ ไปถอื ว่า ผ่าน เกณฑก์ ารประเมนิ
ระดบั กลมุ่ นักเรยี นมผี ลการประเมินอยใู่ นระดับ ดี ไม่ตํ่ากว่ารอ้ ยละ 60 ของจาํ นวนนักเรยี นทงั้ หมด

ถอื ว่าการจัดประสบการณก์ ารเรียนรตู้ ามแผนการจดั การเรียนร้ปู ระสบผลสาํ เรจ็
เกณฑ์การตัดสินคะแนนเกบ็

จํานวนคะแนนท่เี ก็บของแผนเท่ากบั 10 คะแนน จากคะแนนรวมทงั้ หมด 18 คะแนน เกณฑต์ ัดสนิ
จํานวนคะแนนเกบ็ รายบคุ คลคํานวณโดย 10 x จํานวนคะแนนของผ้เู รยี นแตล่ ะคนได้ 18 = จาํ นวน
คะแนนเกบ็ ท่ผี เู้ รยี นรายนัน้ ได้ กําหนดวิธีการคิดคะแนนเก็บ ดังน้ี

จํานวนคะแนนเกบ็ = (จาํ นวนคะแนนเก็บทต่ี ้องการ x จาํ นวนคะแนนรวมทุกกิจกรรมของ
นักเรยี นแต่ละคน) คะแนนรวมทกุ กิจกรรมท้งั หมดของทุกกิจกรรม

ตารางประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
คาช้ีแจง ทาเครอื่ งหมาย √ ลงในระดบั พฤตกิ รรมท่นี กั เรียนแสดงออกตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด

ด้าน K ดา้ น P ด้าน A ผา่ น/
(ผ่าน60%) ไม่ผา่ น
ช่ือ-นามสกุล 10 ผ/มผ (ผา่ นระดับ2) (ผ่านระดบั 2) รวม

1.เดก็ ชายกฤษณะ อนิ ทะขัน 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ

2.เดก็ ชายกติ ติศักดิ์ ขอบทอง

3.เดก็ ชายจารุเดช แกว้ วงค์

4.เดก็ ชายจริ ายุ พนม

5.เด็กชายธนกฤต แต้มไชยสง

6.เด็กชายธนภทั ร์ หินหลา่ ย

7.เด็กชายพงศกร บุญทาวงค์

8.เดก็ ชายศวิ ัช แก้ววันทา

9.เด็กชายกิตติเดช สุขสอน

10.เด็กชายเมธี เกดิ ทวี

11.เด็กชายภมู ติ ะวนั ดาน้อย

12.เดก็ หญิงกนกวรรณ ชูเพชร

13.เด็กหญิงกิตตกิ านต์ อภวิ งค์

14.เดก็ หญงิ เกสศา ดนตรี

15.เด็กหญงิ จิดาภา สตี อง

16.เดก็ หญงิ ณิชานนั ท์ คําดําหริ

17.เดก็ หญิงจริ ัชญา ญาณปัญญา

18.เด็กหญงิ ณฎั ฐณชิ า บัวผัด

19.เดก็ หญงิ ณัฏฐมณฑ์ วงคจ์ ันทร์

ชื่อ-นามสกุล ดา้ น K ดา้ น P ดา้ น A รวม ผา่ น/
(ผา่ น60%) (ผ่านระดบั 2) (ผ่านระดบั 2) ไม่ผ่าน
20.เด็กหญิงธนชั ญาน์ ชา่ งลวดลาย
21.เด็กหญงิ ธชั พร สวุ รรณเอย้ 10 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ
22.เดก็ หญงิ พลอยขวญั ชาวผดุง
23.เด็กหญิงวรทั ยา ดวงเดือน
24.เด็กหญงิ สภุ ตั ตรา วงศเ์ ครือคาํ
25.เด็กหญิงอมรรตั น์ ศาลาคาม
26.เด็กหญงิ ณิชาภทั ร ปกั ษี
27.เด็กหญิงสุณิศา เลศิ นา

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ หมายถึง ระดับคุณภาพ
ชว่ งคะแนน หมายถงึ ดมี าก
14 – 18 หมายถงึ ดี
9 – 13 หมายถึง พอใช้
4–8
ตาํ่ กวา่ 3 ควรปรบั ปรงุ



บตั รภาพสถานที่



บตั รภาพสถานที่



รายวิชา วิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 2
หน่วยการเรียนรู้เรอื่ ง วัสดุและสสาร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ลเทคโนโลยี
ภาคเรยี นที่ 2 ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4
เร่อื ง ความแขง็ ของวัสดุ จานวน 2 คาบสัปดาห์
ผู้สอน นางสาว ชลธชิ า เพง็ อําไพ เวลา 3 คาบ
โรงเรียน บา้ นปากคะยาง วนั ท่ี 17 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564

6. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั
ว 2.1 ป.4/1 เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนําความร้อน และ
การนําไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและระบุการนําสมบัติเรื่อง
ความแข็งสภาพยืดหยุ่น การนําความร้อน และการนําไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจําวัน
ผ่านกระบวนการออกแบบชน้ิ งาน
ป.4/2 แลกเปล่ียนความคิดกับผู้อื่นโดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุ
อย่างมเี หตผุ ลจากการทดลอง

7. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
4) อธบิ ายสมบตั ทิ างกายภาพด้านความแข็งของวัสดไุ ด้ (K)
5) ทดลองสมบตั ิทางกายภาพดา้ นความแขง็ ของวสั ดุได้ (P)
6) นําความรเู้ รอื่ งวสั ดุที่มคี วามแขง็ ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาํ วันได้ (A)

8. สาระการเรียนรู้
สมบตั ทิ างกายภาพดา้ นความแข็งของวัสดุ

9. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
ความแข็งของวัสดุ จะมีคุณสมบัติที่มีความทนทานต่อแรงขูดขีด แต่ความแข็งของวัสดุแต่ละชนิดจะมี

ความแข็งไมเ่ ทา่ กัน ทาํ ให้วสั ดุทแี่ ขง็ มากเมือ่ ถูกขีดดว้ ยวสั ดุอนื่ จะไมเ่ กิดรอยหรือรอยน้อย
10. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน

1) ความสามารถในการส่ือสาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : 5Es Instructional Model
1.ขั้นนา ชว่ั โมงท่ี 1

ขนั้ กระตนุ้ ความสนใจ

1. นักเรียนตอบคําถามทบทวนความรเู้ ดมิ วา่ จากแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรยี นเรอื่ งเก่ียวกับอะไร
(แนวคาํ ตอบ ประเภทของวสั ด)ุ

2. นกั เรยี นตอบคําถามทคี่ ําถามท้ิงทา้ ยในช่วั โมงท่ีผา่ นมาว่า สมบัติทางกายภาพของวัสดุท่ีสามารถสงั เกต
และทดสอบได้มอี ะไรบ้าง มีใครกับไปหาคาํ ตอบมาบ้างยกมอื ข้ึนหรือครูอาจสุ่มนักเรียนในการตอบ

(แนวคาํ ตอบ ความแข็งของวัสดุ สภาพยดื หยุ่นของวสั ดุ การนาํ ความร้อนของวัสดุ และการนําไฟฟ้าของ
วสั ด)ุ

3. จากนนั้ ครูสนทนากับนักเรียนว่า ส่งิ ของที่อย่รู อบๆ ตัวเรา ทํามาจากทแ่ี ตกตา่ งกนั โดยวสั ดแุ ต่ละชนดิ
อาจมสี มบตั ิบางประการท่ีเหมือนกนั หรือแตกตา่ งกนั ซึ่งเราสามารถสังเกตและทดสอบสมบัตทิ างกายภาพ
ของวสั ดทุ ี่ตา่ งกนั ได้ เชน่ ความแขง็ ของวัสดุ สภาพยืดหยุน่ การนําความร้อน การนาํ ไฟฟ้า เปน็ ตน้
ในแผนการจัดการเรยี นรนู้ ี้จะเรยี นเก่ยี วกับสมบตั ทิ างกายภาพความแขง็ ของวัสดุ โดยการทํากิจกรรม ต่าง


ขน้ั สารวจคน้ หา

1. นกั เรยี นดนู ทิ าน เรื่อง ลกู หมสู ามตวั ใน YouTube หรือฟังนทิ านจากทีค่ รเู ลา่

นิทานเร่ืองลกู หมูสามตัว

กาลครง้ั หน่ึงนานมาแล้วมลี ูกหมูสามตัวเป็นพน่ี ้องกนั พวกมนั ออกเดินทางเพอ่ื จะหาทส่ี ร้างบ้านคนละหลัง
และเดินทางมาถึงชายป่าแห่งหนึ่ง พวกมันตัดสินใจจะสร้างบ้านบริเวณนี้ใกล้ ๆ กัน และเดินทางไปตลาด
เพอ่ื ซอ้ื ของสร้างบ้าน

พีใ่ หญ่ซ้ือฟางไปสร้างบ้านจะได้ไม่เหนื่อยและไม่หนักด้วย พี่รองซ้ือเศษไม้ไปสร้างบ้านตอกตะปูไม่กี่ทีก็
เสรจ็ แลว้ นอ้ งเล็กซอ้ื อฐิ มาสรา้ งบ้าน พใ่ี หญ่พรี่ องเห็นหัวเราะ

พี่รอง : “ทาํ ไมเจา้ โง่อยา่ งนี้ กวา่ จะแบกไป กว่าจะสรา้ งบา้ นเสรจ็ ก็ใชเ้ วลานาน”

น้องเล็ก: “แต่ถ้าเราใช้อิฐสร้างบา้ น มันกจ็ ะแขง็ แรงและทนทานกว่านะพี่ใช้ฟางกับเศษไม้จะไม่ปลอดภัยนะ
พ”ี่

และทง้ั 3 พ่นี อ้ งก็แบกของกลับบ้าน พอถึงชายป่าต่างคนก็ต่างแยกย้ายมาสร้างบ้านของใครของมัน ลูก
หมูตัวท่ีหน่ึงสร้างบ้านด้วยฟางใช้เวลาไม่นานนักก็เสร็จ ส่วนลูกหมูตัวท่ีสองสร้างบ้านด้วยเศษไม้ใช้เวลาไม่

นานก็สร้างบา้ นเสร็จและทั้งสองไปดูน้องเล็กสร้างบ้านซึ่งยังไม่เสร็จน้องเล็กต้องค่อย ๆ ก่ออิฐทีละก้อนทีละ
อนั กว่าจะสร้างเสร็จกอ็ กี หลายวันเพราะอยากได้บา้ นทแี่ ขง็ แรงและปลอดภัยน้องเล็กจึงไม่เช่ือพ่ี ๆ ท้ังสอง ท่ี
บอกให้เปลี่ยนมาใช้ฟางกับเศษไม้ลูกหมูท้ังสองจึงออกไปวิ่งเล่นว่ายน้ําส่วนน้องเล็กก็ตั้ งหน้าต้ังตาสร้างบ้าน
จนเสร็จ ตกดึกท้ังสามตัวก็เข้านอนบ้านใครบ้านมันจนกระทั่งคืนหน่ึงมีเจ้าหมาป่ามาซุ่มดู หวังจะมาจับลูก
หมทู ง้ั 3 ตวั มาเปน็ อาหารและไปบา้ นลูกหมูที่สร้างบ้านดว้ ยฟางกอ่ นพอมันมาถึงประตู มันกพ็ ูดขึน้ ว่า ...

หมาป่า : เจา้ ลกู หมนู อ้ ยออกมาให้ข้ากินดีกว่านะ

พใี่ หญ:่ ไม่ฉนั ไมเ่ ปดิ ประตูให้แกหรอก ไปๆ ให้พ้นนะ

หมาป่า : ไมเ่ ปิดไม่เป็นไร บา้ นฟางแบบนี้ข้าเปา่ กพ็ ังแล้ว

ขน้ั สารวจคน้ หา

1. นักเรียนดูนทิ าน เรอื่ ง ลกู หมสู ามตัว ใน YouTube หรือฟงั นทิ านจากท่ีครูเล่า

นทิ านเรอ่ื งลูกหมสู ามตัว

กาลครงั้ หนึง่ นานมาแล้วมีลูกหมสู ามตวั เปน็ พน่ี อ้ งกัน พวกมนั ออกเดนิ ทางเพื่อจะหาทสี่ ร้างบา้ นคนละหลงั
และเดนิ ทางมาถึงชายปา่ แห่งหน่งึ พวกมนั ตัดสินใจจะสรา้ งบ้านบริเวณน้ีใกล้ ๆ กัน และเดนิ ทางไปตลาด
เพื่อซ้ือของสรา้ งบ้าน

พีใ่ หญซ่ ื้อฟางไปสรา้ งบ้านจะได้ไมเ่ หนื่อยและไมห่ นักดว้ ย พี่รองซอื้ เศษไม้ไปสร้างบ้านตอกตะปูไม่กี่ทกี ็
เสร็จแลว้ น้องเลก็ ซ้ืออิฐมาสร้างบ้าน พี่ใหญ่พีร่ องเห็นหวั เราะ

พรี่ อง : “ทาํ ไมเจ้าโง่อยา่ งน้ี กว่าจะแบกไป กว่าจะสร้างบา้ นเสรจ็ กใ็ ช้เวลานาน”

นอ้ งเลก็ : “แต่ถ้าเราใช้อฐิ สร้างบ้าน มนั ก็จะแข็งแรงและทนทานกวา่ นะพใี่ ช้ฟางกับเศษไม้จะไม่ปลอดภัยนะ
พ่ี”

และทงั้ 3 พี่น้องก็แบกของกลบั บ้าน พอถึงชายปา่ ตา่ งคนกต็ า่ งแยกย้ายมาสร้างบ้านของใครของมัน ลกู
หมตู ัวทห่ี น่ึงสร้างบ้านด้วยฟางใช้เวลาไม่นานนักกเ็ สรจ็ สว่ นลกู หมตู ัวที่สองสรา้ งบ้านด้วยเศษไมใ้ ช้เวลาไม่
นานกส็ รา้ งบ้านเสรจ็ และทั้งสองไปดนู ้องเล็กสร้างบ้านซึ่งยังไม่เสรจ็ น้องเล็กต้องค่อย ๆ ก่ออฐิ ทลี ะก้อนทีละ
อนั กว่าจะสร้างเสรจ็ กอ็ ีกหลายวนั เพราะอยากไดบ้ า้ นท่ีแข็งแรงและปลอดภยั นอ้ งเล็กจงึ ไมเ่ ช่ือพี่ ๆ ทั้งสอง ที่
บอกใหเ้ ปลีย่ นมาใชฟ้ างกับเศษไมล้ ูกหมทู ั้งสองจงึ ออกไปวิ่งเล่นวา่ ยน้าํ สว่ นน้องเล็กก็ต้ังหน้าตง้ั ตาสร้างบ้าน
จนเสรจ็ ตกดึกทั้งสามตัวก็เข้านอนบา้ นใครบ้านมนั จนกระท่ังคืนหนึ่งมเี จา้ หมาปา่ มาซุ่มดู หวงั จะมาจบั ลูก
หมทู ัง้ 3 ตัวมาเป็นอาหารและไปบ้านลูกหมทู ่สี รา้ งบ้านดว้ ยฟางก่อนพอมันมาถึงประตู มนั ก็พูดข้นึ ว่า ...

หมาปา่ : เจา้ ลูกหมนู ้อยออกมาให้ข้ากินดีกวา่ นะ

พ่ใี หญ่: ไม่ฉันไมเ่ ปดิ ประตูใหแ้ กหรอก ไปๆ ให้พ้นนะ

หมาป่า : ไม่เปดิ ไมเ่ ปน็ ไร บา้ นฟางแบบน้ีข้าเปา่ ก็พังแลว้

พใ่ี หญ่ : แย่แลว้ บ้านฟางของฉันพังหมดแลว้
หมาปา่ : มามะมาให้พีห่ มาปา่ กนิ ดีกว่า
เจ้าลูกหมูรบี วงิ่ ไปหาน้องรองท่สี รา้ งบ้านดว้ ยเศษไม้
และเจ้าหมาปา่ กม็ าเคาะที่ประตแู ลว้ บอกให้เปิด
ลูกหมูบอก ...ไมม่ ที างขา้ ไม่ยอมเปดิ ประตใู ห้หมาป่าใจร้ายเด็ดขาดหมาป่า : ออ๋ เหรอ บา้ นไม้ที่ไมแ่ ขง็ แรง
แบบนีแ้ ค่ข้ากระโด กระแทกประตูสองที มันก็พงั แลว้ ล่ะเอาล่ะนะ 1 2 3
แล้วเจ้าหมาปา่ ก็พงั ประตเู ข้ามาได้ เจ้าหมูท้ังสองรบี วงิ่ ไปบ้านอิฐของนอ้ งเล็ก โดยทีม่ เี จา้ หมาป่าวงิ่ มาติด ๆ
และเล่าให้นอ้ งเลก็ ฟังวา่ บ้านทั้งสองหลังถูกหมาป่าพังไปแล้ว
เจา้ หมาปา่ ก็มาถงึ บ้านน้องเล็ก และเคาะประตู
แล้วพดู ขึ้นวา่ ....
หมาปา่ : เปดิ ใหข้ ้าเข้าไปกินเดีย๋ วน้นี ะไม่เปิดจะพังบ้านอกี หลังนะ นอ้ งเล็กตะโกนบอก กลับไปเจ้าหมาปา่
น้องเล็ก : เจา้ ไม่มีทางพงั บา้ นหลงั น้ีได้หรอก
หมาปา่ : เดี๋ยวจะเป่าใหบ้ า้ นพังไปเลย
หมาป่ารวบรวมลมเป่า แตบ่ ้านก็ไมย่ อมพัง
หมาปา่ : ได้ข้าจะกระโดดกระแทกใหบ้ า้ นพังไปเลย 1 2 3 โอย๊ ใครกไ็ ดช้ ่วยหมาปา่ ด้วย
เจา้ หมาป่ากระโดดกระแทกกับประตูบ้านอฐิ อยา่ งแรง แตด่ ้วยความท่เี ป็นบ้านแข็งแรงมาก มนั จึงเจบ็ จนเปน็
บาดเจ็บไปส่วนเจ้าหมทู ้ังสามตวั ต่างก็ปลอดภัยในบ้านอฐิ ของนอ้ งเล็ก รุ่งเช้าพวกมันทง้ั สามตวั กไ็ ปตลาดเพื่อ
ซ้ืออิฐมาสร้างบา้ น
2. นักเรียนตอบคําถามเกยี่ วกับนิทานเรอ่ื งลูกหมสู ามตวั

 วสั ดุท่ลี กู หมูแต่ละตวั ใช้สร้างบ้านมีอะไรบ้าง
(แนวคําตอบ ลูกหมตู ัวท่ี 1 ใช้กองฟางสรา้ งบา้ น , ลกู หมตู วั ที่ 2 ใช้ไม้สร้างบา้ น , ลกู หมตู ัวท่ี 3 ใชอ้ ฐิ
สร้างบ้าน)

 นักเรียนคดิ ว่าวสั ดแุ ต่ละชนิดทใี่ ช้สรา้ งบ้านมสี มบัติทางกายภาพแตกต่างกันหรือไม่ เพราะอะไร
(แนวคาํ ตอบ แตกต่างกนั เพราะวัสดุของลูกหมตู วั ท่ี 1 และ 2 เป็นวสั ดจุ ากธรรมชาติ มีความแขง็ แรงน้อย ไม่
ทนทาน แต่ของลูกหมูตวั ท่ี 3 เปน็ วัสดทุ ม่ี นุษยส์ ร้างข้ึน มีความแขง็ แรงมาก ทนทาน และไม่ทําใหเ้ กิดรอยขดู
ขีดงา่ ย)

3. ครูสนทนากบั นักเรยี นวา่ วัสดแุ ตล่ ะชนิดน้ัน จะมีความแข็งไม่เท่ากัน การที่จะนาํ มาสร้างบา้ นต้องใช้วัสดุท่ี
แขง็ แรงทนทาน เม่ือขูดขีดแล้วไม่เป็นรอย และครถู ามนกั เรียนต่อวา่ ถา้ นักเรยี นเปน็ ลูกหมนู กั เรียนจะเลือก
สร้างบ้านเหมอื นกับลูกหมูตัวไหน

(แนวคําตอบ ลกู หมูตวั ท่ี 3 เพราะอฐิ มคี วามแขง็ และทนทาน)

4. นกั เรยี นแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 4-5 คน จากนน้ั ให้นักเรยี นศึกษาข้ันตอนการทํากจิ กรรมพัฒนาทกั ษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 2 เรอ่ื ง วสั ดุใดมีความแข็ง ในหนังสอื เรียนชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์
ป.4 หน้า 144-145

5. นกั เรยี นปฏิบตั กิ จิ กรรมพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ี 2 เรื่อง วสั ดุใดมีความแขง็ โดยปฏบิ ตั ิ
ดงั นี้

1) นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ สงั เกตวสั ดุที่ครูแจกให้ คือ ไม้บรรทัดโลหะ ขวดหรือถ้วยพลาสติกและ

แผ่นไม้ จากน้นั ให้นกั เรยี นภายในกล่มุ แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั ความแข็งของวัสดเุ หลา่ นนั้

2) นกั เรยี นระบุปัญหาและต้ังสมมตฐิ าน ลงในใบกิจกรรม

3) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มทดสอบความแข็งของวสั ดเุ พ่ือตรวจสอบสมมติฐานตามขั้นตอนดังน้ี

3.1 ใชไ้ ม้บรรทัดโลหะขดู ขีดกบั ขวดหรือถว้ ยพลาสติก

3.2 ใชไ้ ม้บรรทัดโลหะขูดขดี กบั แผ่นไม้

3.3 ใชข้ วดหรอื ถว้ ยพลาสติกขูดขดี กับไม้บรรทัดโลหะ

3.4 ใชข้ วดหรอื ถ้วยพลาสตกิ ขูดขีดกบั แผน่ ไม้

3.5 ใช้แผน่ ไม้ขูดขีดกบั ไม้บรรทดั โลหะ

4) ใช้แผน่ ไม้ขูดขดี กับขวดหรือถ้วยพลาสติก (ให้สงั เกตการเกดิ รอยขูดขีดบนวัสดแุ ต่ละชนิด)

5) จากนัน้ ให้นักเรยี นบันทึกผลการทดลองลงในตารางบันทึกผล การทดสอบความแขง็ แรงของวัสดุท่ีใช้ทํา
วัตถุ ในหนงั สอื เรียนชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 146

6) ให้นกั เรยี นนาํ ขอ้ มลู จากการทํากจิ กรรมมาเปรยี บเทียบและสรุปผลลงในตาราง
หมายเหตุ : ครูอาจจะอธิบายขั้นตอนในการทําใหน้ ักเรยี นทําตามไปทีละข้อ

ขน้ั อธิบายความรู้
1. ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ นาํ เสนอผลการทดลองกิจกรรม “วสั ดุใดมีความแขง็ ”หนา้ ชั้นเรียนหลังจากท่ี
นกั เรียนนาํ เสนอหนา้ ชน้ั เรียนแลว้ ครบู อกจากกจิ กรรม นักเรียนจะทราบวา่ วัสดทุ ี่มีความแขง็ จะมีความ
ทนทานต่อแรงขูดขีด และเม่ือนาํ วสั ดทุ ม่ี คี วามแข็งมากขูดขีดกบั วัสดอุ ่นื ท่ีมีความแขง็ น้อยกวา่ วัสดนุ นั้ จะไม่
เกิดรอยหรือเกดิ รอยน้อยมาก

ขัน้ สอน [ต่อ] ชวั่ โมงที่ 2
ขน้ั อธิบายความรู้
1.ครบู อกจากชว่ั โมงทีแ่ ล้วที่ไดท้ ําการทดสอบความแข็งของวัสดไุ ปนั้น “ความแข็งวัสดุ เปน็ สมบตั ขิ องวัสดทุ ีม่ ี
ความทนทานต่อแรงขดู ขีด วสั ดทุ เี่ กิดรอยจากการขูดขดี ได้งา่ ยจะมีความแข็งนอ้ ย วสั ดแุ ตล่ ะชนิดนั้นมคี วาม
แขง็ ท่ีแตกต่างกัน ซ่ึงเราสามารถตรวจสอบสมบัติความแขง็ ของวัสดไุ ดโ้ ดยการนําวสั ดุต่าง ๆ มาขดู ขีดกนั เพ่ือ
หาความทนทานตอ่ การขดู ขดี ดงั นั้นถา้ ต้องการให้สิง่ ของเครื่องใชม้ ีความแข็ง ทนทาน และไม่เกิดรอยได้งา่ ย
เราตอ้ งเลือกใชว้ สั ดุทีม่ ีความแข็ง
2. นักเรยี นตอบคําถามว่า วัสดุท่มี ีความแข็งไดแ้ ก่อะไรบ้าง
(แนวคําตอบ โลหะ แก้ว กระเบอ้ื ง เปน็ ตน้ )
ขั้นขยายความเขา้ ใจ
1. นักเรียนตอบคําถามตอ่ ไปน้ี

 ถา้ ตอ้ งการทาํ บา้ นให้สนุ ขั ให้มีความแขง็ แรงและทนทาน จึงเลอื กใชว้ สั ดทุ ี่เป็นไม้และโลหะต่าง ๆ
มาประกอบกนั นักเรยี นเห็นด้วยหรอื ไม่
(แนวคาํ ตอบ ขนึ้ อยู่กบั คําตอบทน่ี ักเรยี นตอบ ครคู อยชี้แนะ)

 ถ้าฝ่ังโรงเรียนไม่มีถนนแต่ติดแม่นํ้า อีกฝ่งั เป็นวดั ไม่มีถนน นักเรียนคดิ ว่าเราควรจะสรา้ งสง่ิ กอ่ สร้าง
ใดเพ่ือใหม้ าโรงเรยี นสะดวก
(แนวคาํ ตอบ สะพานข้ามแม่นํา้ )

 นักเรยี นคิดวา่ สะพานทเี่ ราควรสรา้ งต้องทาํ จากวัสดใุ ด เพราะเหตใุ ด
(แนวคาํ ตอบ โครงเหลก็ (โลหะ) เพราะมีความแขง็ ของวัสดุทาํ ให้ทนทานตอ่ การใชป้ ระโยชน์ไดน้ าน)

ดังน้ันครูจะใหน้ ักเรยี นนักเรียนออกแบบสะพานข้ามแมน่ า้ เพื่อที่จะมาโรงเรียนได้สะดวก โดยการออกแบบ
สะพานนักเรียนตอ้ งสามารถสร้างแบบจําลองได้
2. นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน (อาจใช้กลุ่มเดิม) พร้อมสง่ ตัวแทนมารับใบงานที่ 4.1 “สะพานของฉัน

1” พร้อมอุปกรณช์ ุด “สะพานของฉนั ” โดยนกั เรียนปฏิบัตดิ งั นี้ นกั เรยี นแต่ละกลุ่มออกแบบสะพาน
พร้อมตง้ั ชอ่ื สะพานของกล่มุ ตนเอง โดยมีเงื่อนไขดงั นี้ สะพานที่นักเรียนออกแบบนั้นแต่ละกลุ่มจะไดห้ ลอด
จํานวน 25 อัน และเทปใส 1 มว้ น ให้นกั เรยี นออกแบบว่าจะนาํ วัสดุนไี้ ปสร้างสะพานได้อยา่ งไร โดยการ

วาดรปู สะพานจาํ ลองโดยนักเรียนต้องคํานึงถงึ วสั ดทุ ี่ครมู ใี ห้ พร้อมวาดรูปลงในใบกิจกรรม และต้องใชว้ ัสดุ
ใหน้ ้อยทส่ี ดุ สะพานต้องแขง็ แรง เพื่อทส่ี ามารถวางดนิ นํ้ามนั จํานวน 20 ก้อนได้
หมายเหตุ : ดินน้าํ มนั 1 ก้อน เทา่ กับ 100 กรัม

3. นักเรียนสร้างสะพานจากอุปกรณ์ชุด“สะพานของฉัน”ตามแบบที่แต่ละกลุ่มได้ออกแบบ พรอ้ มทดลอง
ความแข็งแรงของสะพานท่แี ต่ละกลุ่มไดป้ ระดิษฐข์ นึ้ มา โดยการนาํ โตะ๊ เรยี น 2 ตวั มาวางหา่ ง 20
เซนตเิ มตร กาํ หนดให้ฝงั่ หน่ึงเปน็ บา้ น อีกฝง่ั เปน็ วดั ขา้ งล่างเป็นแม่นํา้ และใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ นํา
แบบจาํ ลองสะพานมาวางเชื่อมเพ่ือทดลอง โดยการท่ีครใู ห้นักเรียนนําดนิ นํ้ามนั วางเรียงบนสะพานจาํ ลอง
จํานวน 20 กอ้ น และบันทกึ ผลครัง้ ที่ 1

หมายเหตุ : ครบู อกนกั เรยี นว่า อปุ กรณ์ชดุ “สะพานของฉัน”
มีแค่ 1ชุด แตน่ ักเรยี นต้องทําการทดลอง 2 ครั้ง นักเรยี นจะต้องรักษาอุปกรณ์ไว้ใหค้ งอยู่ในสภาพทีส่ ามารถนาํ
กลับไปใชท้ ดลองครั้งท่ี 2 ได้

4. นักเรยี นออกมานาํ เสนอผลงาน “สะพานของฉนั ” โดยใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ปฏิบตั ิดงั นี้
1) บอกชื่อสะพาน
2) บอกจาํ นวนหลอดและดินนํ้ามันทวี่ างเรยี งบนแบบจําลองสะพาน
3) แรงบันดาลใจการออกแบบจาํ ลองสะพาน
4) ระบุปัญหาของกิจกรรมแบบจาํ ลองสะพานครั้งท่ี 1

5. เม่อื นกั เรียนนาํ เสนอผลงานแล้ว ตอบคาํ ถามวา่ นักเรียนมีวธิ ีการแกป้ ัญหาการประดิษฐส์ ะพานอย่างไร
เพือ่ ให้รับนา้ํ หนกั ดินนาํ้ มนั จาํ นวน 20 กอ้ นได้

(แนวคาํ ตอบ ข้นึ อยู่กับคาํ ตอบของนักเรียนแต่ละกลุ่ม)

6. ครูบอกว่าคําตอบทน่ี กั เรียนตอบน้นั ในชว่ั โมงต่อไปครจู ะให้นักเรยี นจะแก้ไขสะพานจําลอง เพ่ือแกป้ ญั หา
ให้รับน้ําหนักได้ โดยครจู ะให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มจะได้ทดลองอีกครง้ั

หมายเหตุ : คําถามจะขน้ึ อยู่กบั กลมุ่ ที่ไม่สามารถรบั นา้ํ หนักดนิ นํา้ มันได้ท้งั หมด 20 กอ้ น

ขนั้ สอน [ต่อ] ช่วั โมงที่ 3

ข้นั ขยายความเข้าใจ

7. นกั เรยี นนั่งรวมกลมุ่ (กลมุ่ เดิมจากช่ัวโมงท่ี 2) ที่ทํากิจกรรม“สะพานของฉัน” พร้อมส่งตวั ออกมารับใบงานท่ี
4.2 “สะพานของฉนั 2” นักเรียนจะตอ้ งแก้ปญั หาใหส้ ะพานจําลอง สามารถรบั น้าํ หนักดินนาํ้ มนั ไดท้ ้ังหมด
20 กอ้ น โดยทาํ การทดลองเหมือนคร้ังแรก นักเรยี นจะต้องออกแบบก่อนท่จี ะลงมือแก้สะพานจาํ ลอง

หมายเหตุ : ชุดอปุ กรณ์“สะพานของฉนั ” ใหใ้ ชช้ ดุ เดมิ ของ แต่ละกลมุ่ ในการแก้ไข โดยครูจะใหเ้ วลาในการ
ทํานอ้ ยกว่าครัง้ ที่ 1

8. นักเรียนออกมานําเสนอ โดยปฏิบตั ดิ ังนี้

1) บอกช่อื สะพาน

2) บอกจาํ นวนหลอดและดินนํา้ มนั ท่ีวางเรยี งบนแบบจาํ ลองสะพาน

3) แรงบนั ดาลใจการออกแบบจาํ ลองสะพาน

4) บอกวธิ กี ารแก้ไขการสรา้ งสะพานจาํ ลอง

9. จากนั้นครบู อกนกั เรยี นว่าสะพานที่นักเรียนออกแบบและสร้างแบบจําลองมาน้ัน ถ้าเราออกแบบใหว้ างดนิ
นํา้ มนั 20 ก้อนได้ กเ็ หมอื นกบั ทีจ่ ะสรา้ งสะพานขา้ มแม่นํ้ามาโรงเรียน เพราะถา้ ออกแบบและใช้วัสดทุ ี่มี
ความแข็งแรงสะพานก็สามารถใช้ประโยชน์ไดแ้ ต่ถา้ ออกแบบมาไม่ดีและไมใ่ ช้วสั ดุทม่ี ีความแขง็ แรง สะพาน
จะไมส่ ามารถใชป้ ระโยชน์ได้ อาจทาํ ใหเ้ กิดอันตราย เชน่ สะพานทรดุ เสาหกั เปน็ ตน้

3.ขั้นสรปุ

1. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เร่ือง ความแข็งของวสั ดุวา่ ความแขง็ เปน็ สมบตั ิของวัสดเุ กย่ี วข้องกบั
ความสามารถในการทนทานต่อแรงขูดขีด ถ้าเราต้องการให้สิ่งของเคร่อื งใช้มคี วามแข็งแรง ทนทาน และไม่
เกดิ รอยได้ง่าย เราต้องเลือกใช้วสั ดทุ ีม่ คี วามแขง็ ทนทาน และไมเ่ กดิ รอยได้ง่าย เชน่ โลหะ แก้ว กระเบอื้ ง

4.ขนั้ ประเมิน

ขน้ั ตรวจสอบผล

1.ครูใหน้ ักเรยี นตรวจสอบตารางบนั ทึกผล การทดสอบความแขง็ แรงของวัสดุ ในหนงั สือเรียนชุดแมบ่ ท
มาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน้า 146 ที่ทาํ ต้นชว่ั โมงว่าถูกต้องหรือไม่และให้แก้ไขใหถ้ ูกตอ้ ง

2.ครูตรวจตารางบันทึกผล การทดสอบความแขง็ แรงของวสั ดุ ในหนงั สือเรียนชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์
ป.4 หน้า 146

7. สอื่ / แหล่งการเรียนรู้
7.1 สอื่ การเรียนรู้
1) หนงั สือเรียนชดุ แม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 4 วัสดแุ ละสสาร
2) วสั ดุ-อุปกรณใ์ นกิจกรรมพฒั นาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ี 2 วัสดใุ ดมีความแขง็
3) ใบงานที่ 4.1 สะพานของฉัน 1
4) ใบงานที่ 4.2 สะพานของฉัน 2
5) วสั ดุ-อุปกรณท์ ํากจิ กรรม “สะพานของฉนั ” (หลอด 25 อนั , เทปใส 1 ม้วน)
6) ดินน้าํ มัน 20 ก้อน

7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งเรยี น
2) อินเทอร์เนต็

8. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วิธกี าร เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ
- หนงั สือเรยี นชดุ แม่บท - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
1) กิจกรรมพฒั นา - ตรวจตารางบันทึกผล
ทักษะกระบวนการ กิจกรรมพัฒนาทักษะ มาตรฐาน - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ทางวิทยาศาสตร์ที่ 2 กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ป.4
วัสดุใดมีความแขง็ วทิ ยาศาสตร์ท่ี 2 วัสดุ หน้า 146
ใดมีความแข็ง
- ใบงานที่ 4.1
2) ใบงานท่ี 4.1 - ตรวจใบงานที่ 4.1 สะพานของฉนั 1
สะพานของฉนั 1 สะพานของฉัน 1

3) ใบงานที่ 4.2 - ตรวจใบงานที่ 4.2 - ใบงานท่ี 4.2 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สะพานของฉนั 2 สะพานของฉัน 2 สะพานของฉัน 2

4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพดี
ทํางานรายบุคคล การทํางานรายบุคคล การทาํ งานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์

5) พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพดี
การทาํ งานกลุ่ม การทาํ งานกลุ่ม
การทํางานกลุม่ ผา่ นเกณฑ์

เกณฑก์ ารประเมินผล ระดับคุณภาพ
ประเดน็ การวัดและ
ระดบั 4 ระดับ 3 ระดบั 2 ระดบั 1
ประเมนิ ผล (ดมี าก) (ต้องปรับปรุง)
(ดี) (พอใช้)
- ยกตวั อยา่ งวัสดมุ ี
ทัง้ หมดก่ปี ระเภทได้ ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 60 ขน้ึ ไป

- อธิบายเพ่ิมเติมเกย่ี วกับ 1.บนั ทกึ ผลไดช้ ัดเจน มีผลการเรียนร้ตู าม มผี ลการเรียนรตู้ าม มีผลการเรียนรู้ตาม
ประเภทวัสดุได้ ถกู ต้อง คําอธบิ ายเป็นรายข้อ คําอธิบายเป็นราย คําอธิบายเป็นราย
ดงั ทก่ี าํ หนดระดับดี ข้อดังทีก่ าํ หนด ขอ้ ดงั ทก่ี าํ หนดระดับ
2. บันทึกผลไดค้ รบทุก มากข้อใด ๆ จาํ นวน ระดับดมี ากข้อใด ดีมากข้อใด ๆ น้อย
ประเดน็ สอดคลอ้ งกับ 4 ขอ้ ๆ จาํ นวน 3 ข้อ กว่า 2 ขอ้
เนื้อหา

3.ทาํ งานเสรจ็ ตรงเวลา
ที่กําหนด

4.นําเสนอผลงานได้

อย่างถูกต้อง ออกเสียง

ถ้อยชดั คาํ

3. มีความมงุ่ มนั่ ต้งั ใจใน 1. ตั้งใจทาํ งาน มีผลการเรยี นร้ตู าม มผี ลการเรียนรูต้ าม มีผลการเรียนรู้ตาม
การเรยี น (A)
2. เพียรพยายาม คําอธบิ ายเป็นรายข้อ คาํ อธบิ ายเปน็ ราย คําอธิบายเป็นราย
ข้อดงั ท่กี ําหนดระดับ
ดังท่กี ําหนดระดบั ดี ข้อดังทีก่ ําหนด ดีมากข้อใด ๆ น้อย
3.เอาใจใสต่ ่อการปฏบิ ัติ มากข้อใด ๆ จาํ นวน ระดบั ดีมากข้อใด กวา่ 2 ข้อ
หนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย 4 ข้อ
ๆ จํานวน 3 ขอ้

4.มีความพยายามใน

การแกป้ ัญหาในการ

ทาํ งานให้สําเร็จ

*นกั เรยี นท่มี ีผลการเรยี นไมต่ ํ่ากว่าระดับ 2 ถือว่าผา่ น

เกณฑก์ ารประเมินระดบั คณุ ภาพผลการเรียนรู้
กาํ หนดระดับคณุ ภาพผลการเรยี นรรู้ ่วมกันทกุ ด้านเป็น 4 ระดบั คือ ดีมาก ดี พอใช้ และต้องปรับปรงุ

แตล่ ะระดับกาํ หนดเกณฑ์ประเมนิ ตามคะแนนเกณฑร์ บู ริคส์ ดังนี้
คะแนนร้อยละ 80 – 100 ของจํานวนคะแนนทัง้ หมด หมายถงึ ดีมาก
คะแนนรอ้ ยละ 70 – 79 ของจํานวนคะแนนทงั้ หมด หมายถึง ดี
คะแนนรอ้ ยละ 60 – 69 ของจํานวนคะแนนทัง้ หมด หมายถงึ พอใช้
คะแนนต่ํากว่ารอ้ ยละ 60 ของจํานวนคะแนนท้ังหมด หมายถึง ต้องปรับปรุง

เกณฑ์ประเมนิ ผ่าน
ระดับบุคคล นักเรียนมผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดับ ดี ขึน้ ไปถอื ว่า ผ่าน เกณฑก์ ารประเมนิ
ระดบั กลมุ่ นักเรยี นมผี ลการประเมินอยใู่ นระดับ ดี ไม่ตํ่ากว่ารอ้ ยละ 60 ของจาํ นวนนักเรยี นทงั้ หมด

ถอื ว่าการจัดประสบการณก์ ารเรียนรตู้ ามแผนการจดั การเรียนร้ปู ระสบผลสาํ เรจ็
เกณฑ์การตัดสินคะแนนเกบ็

จํานวนคะแนนท่เี ก็บของแผนเท่ากบั 10 คะแนน จากคะแนนรวมทงั้ หมด 18 คะแนน เกณฑต์ ัดสนิ
จํานวนคะแนนเกบ็ รายบคุ คลคํานวณโดย 10 x จํานวนคะแนนของผ้เู รยี นแตล่ ะคนได้ 18 = จาํ นวน
คะแนนเกบ็ ท่ผี เู้ รยี นรายนัน้ ได้ กําหนดวิธีการคิดคะแนนเก็บ ดังน้ี

จํานวนคะแนนเกบ็ = (จาํ นวนคะแนนเก็บทต่ี ้องการ x จาํ นวนคะแนนรวมทุกกิจกรรมของ
นักเรยี นแต่ละคน) คะแนนรวมทกุ กิจกรรมท้งั หมดของทุกกิจกรรม

ตารางประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
คาช้ีแจง ทาเครอื่ งหมาย √ ลงในระดบั พฤตกิ รรมท่นี กั เรียนแสดงออกตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด

ด้าน K ดา้ น P ด้าน A ผา่ น/
(ผ่าน60%) ไม่ผา่ น
ช่ือ-นามสกุล 10 ผ/มผ (ผา่ นระดับ2) (ผ่านระดบั 2) รวม

1.เด็กชายกฤษณะ อนิ ทะขัน 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ

2.เดก็ ชายกิตติศักดิ์ ขอบทอง

3.เดก็ ชายจารุเดช แกว้ วงค์

4.เดก็ ชายจริ ายุ พนม

5.เด็กชายธนกฤต แต้มไชยสง

6.เด็กชายธนภทั ร์ หินหลา่ ย

7.เด็กชายพงศกร บุญทาวงค์

8.เดก็ ชายศวิ ัช แก้ววันทา

9.เด็กชายกิตติเดช สุขสอน

10.เด็กชายเมธี เกดิ ทวี

11.เด็กชายภมู ติ ะวนั ดาน้อย

12.เดก็ หญิงกนกวรรณ ชูเพชร

13.เด็กหญิงกิตตกิ านต์ อภวิ งค์

14.เด็กหญงิ เกสศา ดนตรี

15.เด็กหญงิ จิดาภา สตี อง

16.เดก็ หญงิ ณิชานนั ท์ คําดําหริ

17.เดก็ หญิงจริ ัชญา ญาณปัญญา

18.เดก็ หญงิ ณฎั ฐณชิ า บัวผัด

19.เดก็ หญงิ ณัฏฐมณฑ์ วงคจ์ ันทร์

ชื่อ-นามสกุล ดา้ น K ดา้ น P ดา้ น A รวม ผา่ น/
(ผา่ น60%) (ผ่านระดบั 2) (ผ่านระดบั 2) ไม่ผ่าน
20.เด็กหญิงธนชั ญาน์ ชา่ งลวดลาย
21.เด็กหญงิ ธชั พร สวุ รรณเอย้ 10 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ
22.เดก็ หญงิ พลอยขวญั ชาวผดุง
23.เด็กหญิงวรทั ยา ดวงเดือน
24.เด็กหญงิ สภุ ตั ตรา วงศเ์ ครือคาํ
25.เด็กหญิงอมรรตั น์ ศาลาคาม
26.เด็กหญงิ ณิชาภทั ร ปกั ษี
27.เด็กหญิงสุณิศา เลศิ นา

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ หมายถึง ระดับคุณภาพ
ชว่ งคะแนน หมายถงึ ดมี าก
14 – 18 หมายถงึ ดี
9 – 13 หมายถึง พอใช้
4–8
ตาํ่ กวา่ 3 ควรปรบั ปรงุ



ใบงานท่ี 4.1
สะพานของฉนั 1

ตอนที่ 1 ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกแบบสะพานทจี่ ะข้ามแมน่ าํ้ เพื่อมาโรงเรยี น โดยมเี งื่อนไขวา่ “สะพานท่ี
นกั เรยี นออกแบบน้ันแต่ละกลุ่มจะไดห้ ลอดจํานวน 25 อนั และเทปใส 1 มว้ น ใหน้ ักเรยี นออกแบบว่าจะนํา
วัสดนุ ีไ้ ปสร้างสะพานได้อยา่ งไร โดยการวาดรูปสะพานจําลองโดยนกั เรยี นต้องคํานึงถงึ วัสดุทคี่ รมู ใี ห้ พรอ้ มวาด
รูปลงในใบกจิ กรรม และต้องใชว้ สั ดุใหน้ อ้ ยทส่ี ุด สะพานต้องแขง็ แรง เพ่ือท่ีสามารถวางดินน้าํ มนั จาํ นวน 20
กอ้ นได้”

ชือ่ สะพาน......................................

ตอนท่ี 2 ให้นกั เรยี นนําหลอดจํานวน 25 หลอดและเทปใสสร้างสะพานจาํ ลองจากการออกแบบและทดลอง
ครั้งท่ี 1 และบันทึกผลการทดลอง

ภาพสะพานทวี่ างดนิ น้ามัน จานวนหลอด (อัน) จานวนดินนา้ มัน (ก้อน)

เฉลย

ใบงานท่ี 4.1
สะพานของฉนั 1

ตอนท่ี 1 ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกแบบสะพานทีจ่ ะขา้ มแม่นํ้าเพ่ือมาโรงเรยี น โดยมีเงื่อนไขวา่ “สะพานที่
นกั เรยี นออกแบบน้นั แต่ละกลุ่มจะได้หลอดจาํ นวน 25 อนั และเทปใส 1 ม้วน ให้นักเรียนออกแบบว่าจะนํา
วสั ดุน้ไี ปสร้างสะพานได้อย่างไร โดยการวาดรปู สะพานจําลองโดยนกั เรียนต้องคํานงึ ถึงวัสดุที่ครมู ใี ห้ พร้อมวาด
รปู ลงในใบกิจกรรม และต้องใช้วสั ดใุ หน้ ้อยทส่ี ุด สะพานต้องแข็งแรง เพ่ือท่ีสามารถวางดินนา้ํ มัน จาํ นวน 20
กอ้ นได้”

ชอื่ สะพาน......................................

เฉลย

ตอนท่ี 2 ให้นกั เรียนนําหลอดจํานวน 25 หลอดและเทปใสสรา้ งสะพานจาํ ลองจากการออกแบบและทดลอง
ครั้งที่ 1 และบันทกึ ผลการทดลอง

ภาพสะพานทว่ี างดนิ น้ามนั จานวนหลอด (อัน) จานวนดนิ น้ามนั (ก้อน)

รายวิชา วิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3
หน่วยการเรยี นรเู้ รอื่ ง วสั ดแุ ละสสาร กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ลเทคโนโลยี
ภาคเรยี นท่ี 2 ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4
เรือ่ ง สภาพยืดหยนุ่ ของวัสดุ จานวน 2 คาบสปั ดาห์
ผ้สู อน นางสาว ชลธชิ า เพง็ อําไพ เวลา 3 คาบ
โรงเรยี น บ้านปากคะยาง วนั ท่ี 22 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564

11. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชี้วัด
ว 2.1 ป.4/1 เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนําความร้อนและ
การนําไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและระบุการนําสมบัติเรื่อง
ความแข็งสภาพยืดหยุ่น การนําความร้อน และการนําไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจําวัน
ผา่ นกระบวนการออกแบบชน้ิ งาน
ป.4/2 แลกเปล่ียนความคิดกับผู้อื่นโดยการอภิปรายเก่ียวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุ
อยา่ ง มเี หตผุ ลจากการทดลอง

12. จุดประสงค์การเรียนรู้
7) อธบิ ายสมบตั ทิ างกายภาพด้านสภาพยืดหย่นุ ของวสั ดไุ ด้ (K)
8) ทดลองสภาพยดื หย่นุ ของวสั ดุได้ (P)
9) นําความรู้เร่ืองสภาพยืดหยนุ่ ของวัสดปุ ระยุกต์ใช้ในชีวิตประจาํ วันได้ (A)

13. สาระการเรยี นรู้
สมบัติทางกายภาพดา้ นสภาพยดื หยุ่นของวัสดุ

14. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
สภาพยืดหยุ่นของวัสดุ จะมีคุณสมบัติของวัสดุเม่ือออกแรงกระทําแล้วทําให้วัสดุเปล่ียนขนาดหรือ

รูปร่าง
แตเ่ ม่อื หยุดออกแรงวสั ดุจะกลับคืนสสู่ ภาพเดมิ หรอื ใกลเ้ คียง

15. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
1) ความสามารถในการส่อื สาร
2) ความสามารถในการคดิ
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา

4) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6.กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : 5Es Instructional Model
1.ข้นั นาเข้าส่บู ทเรียน ช่ัวโมงที่ 1

ขน้ั กระตุ้นความสนใจ
1. ครถู ามนักเรยี นว่า

 จากแผนการจดั การเรียนรทู้ แ่ี ลว้ นักเรียนไดเ้ รยี นเกยี่ วกบั เร่ืองอะไร
(แนวคาํ ตอบ ความแข็งของวัสด)ุ

 นกั เรยี นคิดวา่ สมบัติทางกายภาพท่ีเราสามารถสังเกตและทดสอบจากความแข็งของวสั ดแุ ล้วน้ัน ยังมี
สมบตั ิทางกายภาพอะไรอีกบ้าง
(แนวคาํ ตอบ สภาพยดื หยุน่ ของวสั ด)ุ

 นกั เรียนคิดว่าวัสดอุ ะไรที่มีสภาพยดื หยุ่นได้บ้าง
(แนวคาํ ตอบ ขน้ึ อยู่กบั คําตอบนกั เรียนแตล่ ะคนครูอาจจะเขียนคําตอบไวบ้ นกระดาน แลว้ มาเฉลยตอนท้าย
ชัว่ โมง)

2.ขั้นสอน
ข้ันสารวจค้นหา
1. ครนู าํ กล่องปริศนามา จากนนั้ ครูบอกนักเรยี นว่า ในกล่องจะมวี สั ดอุ ยู่หลายชนดิ ใหน้ ักเรยี นนํามอื เข้าไป

หยิบวัสดุคนละ 1 อยา่ ง โดยมีเงอ่ื นไขดงั นี้
1) ใหน้ กั เรยี นทุกคนหลับตา
2) ใหน้ ักเรยี นนํามือเข้าไปหยิบวสั ดใุ นกลอ่ งปริศนาขน้ึ มา 1 อยา่ ง โดยทยี่ งั ไมล่ มื ตา (ครูเตรียม
กล่องต้องมลี ักษณะทบึ มีชอ่ งตรงกลางเพือ่ ทจ่ี ะนาํ วสั ดใุ ส่ลงไปได้)

3) จากนน้ั ครอู าจจะสมุ่ ถามนกั เรยี นว่า วสั ดทุ ่นี กั เรยี นหยิบมานัน้ มีลักษณะอย่างไรและบอกช่อื วัสดุ
4) จากน้ันใหน้ กั เรยี นลมื ตาและสังเกตวัสดุที่อยูใ่ นมือ
หมายเหตุ : วสั ดทุ ม่ี ีในกล่องปรศิ นา คือ ลูกโป่ง แกว้ พลาสติกและดนิ สอ
2. นกั เรยี นซ้ําคนเดิมตอบคาํ ถามว่า จากท่ีสุ่มถามตง้ั แต่ตอนหลับตา วา่ คาํ ตอบทนี่ ักเรยี นตอบเหมือนกบั ท่ี
ลืมตาแลว้ เห็นหรอื ไม่
(แนวคาํ ตอบ อาจจะเหมือนหรือไมเ่ หมอื นก็ได้ขึน้ อย่กู ับคําตอบ)

3. นกั เรยี นทไ่ี ดว้ ัสดุเหมือนกันรวมกลุ่มกัน จากนั้นครถู ามนกั เรียนแตล่ ะกลุ่มเกีย่ วกบั วสั ดกุ ลุ่มทีน่ ักเรยี นมี
ดังนี้
 กลุ่มท่ไี ดล้ ูกโปง่ นักเรียนคิดวา่ ลักษณะของลูกโป่งเปน็ อย่างไร
(แนวคําตอบ ลักษณะเป็นยาง เมือ่ ใชม้ ือดงึ รปู ร่างเปล่ียน เมื่อหยุดดึงจะกลบั สสู่ ภาพเดิม)

 กลมุ่ ทีไ่ ดแ้ กว้ นาํ้ พลาสติก นักเรยี นคดิ ว่าลกั ษณะของแก้วนา้ํ พลาสตกิ เป็นอยา่ งไร
(แนวคาํ ตอบ ทําจากพลาสติก เมอื่ ใช้มือดึงรปู ร่างไมเ่ ปลี่ยน ไม่มคี วามยืดหยนุ่ )

 กลุ่มทไี่ ดด้ นิ สอนักเรยี นคดิ ว่าลักษณะของดนิ สอเป็นอย่างไร
(แนวคําตอบ ลักษณะแขง็ ทําจากไม้ สว่ นดา้ นบนทีล่ บได้ทําจากยาง)

หมายเหตุ : ใหค้ รูถามนักเรียนทีละกลมุ่ โดยการถามทีละวัสดุ
4. นักเรียนแบง่ กลุ่มจากวสั ดุที่นกั เรยี นมี โดยมีเง่ือนไขดังนี้ครใู ห้นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ โดยในกลุม่ จะต้องมีสิ่งของ

ครบทั้ง 3 ชนิด 2 ชน้ิ ต่อกลุ่ม คอื ลกู โปง่ แก้วพลาสตกิ และดนิ สอ
5. นักเรยี นศึกษาขั้นตอนการทาํ กจิ กรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่ 3 เรื่อง วัสดใุ ดมีสภาพ

ยืดหย่นุ ในหนังสือเรียนชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 148-149 จากนัน้ ใหน้ ักเรียนแต่
ละกลมุ่ ปฏิบัติตามขั้นตอน ดงั นี้
1) นกั เรียนสังเกตลักษณะของวัสดแุ ตล่ ะชนิด
2) กาํ หนดปญั หาและตั้งสมมติฐานเกี่ยวกบั การทดสอบด้านสภาพยืดหยนุ่ ของวสั ดุ
3) ทดสอบสภาพยืดหยุ่นของวสั ดุแตล่ ะชนดิ เพ่ือตรวจสอบสมมตฐิ านตามข้ันตอน โดยการออกแรงดึงและ

หยุดออกแรง สังเกตและบันทึกผลในตารางการทดสอบสภาพยืดหยุ่นของวสั ดุในหนงั สือเรยี นชุดแมบ่ ท
มาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน้า 149
4) ร่วมกนั สรุปผลการทํากจิ กรรม พร้อมนําเสนอหน้าชัน้ เรียน
หมายเหตุ : ถา้ การนําเสนอหน้าช้นั เรียนไมค่ รบทุกกลุ่มเวลาหมดก่อน ครูสามารถให้กลุม่ ท่ีเหลือ นําเสนอใน
ชัว่ โมงถดั ไปได้

ขั้นสอน [ตอ่ ] ชั่วโมงท่ี 2
ขน้ั อธบิ ายความรู้
1. ครบู อกนักเรยี นว่าจากชวั่ โมงท่ี 1 ท่ีได้ทํากิจกรรม วัสดุใดท่ีมสี ภาพยดื หยุน่ นกั เรียนจะพบวา่ วสั ดทุ ี่มีสภาพ
ยืดหยนุ่ จะเปลี่ยนแปลงรปู รา่ งเม่ือถูกแรงกระทํา และสามารถกลบั คืนสสู่ ภาพเดิมไดเ้ มื่อหยุดแรงกระทาํ ซงึ่ ท่ี
นักเรียนไดท้ ําการทดลองจะพบวา่ วัสดทุ ม่ี ีสภาพยดื หย่นุ จะทํามาจากยาง เช่น ลูกโปง่ เปน็ ตน้ และบอก

นักเรียนวา่ นกั เรียนจะได้รู้ว่าวสั ดุที่มสี ภาพยืดหยุ่นน้ัน จะมีความยืดหย่นุ ได้ขนาดเท่าใดจากกจิ กรรมที่จะใหท้ าํ
ในชัว่ โมงน้ี
2. จากนนั้ ครูถามนักเรียนวา่ ยกตวั อยา่ งวัสดุที่มีความแขง็
(แนวคาํ ตอบ โลหะ แกว้ กระเบื้อง เป็นต้น)

ขนั้ สารวจคน้ หา
1. นักเรียนแบง่ กลมุ่ เพื่อทาํ กิจกรรม (ใชก้ ล่มุ เดมิ จากชวั่ โมงท่ี 1) จากนนั้ สง่ ตวั แทนมารับใบงานท่ี 4.3

ทดสอบสภาพยดื หยุ่นของวัสดุ พรอ้ มวสั ดใุ นการทดสอบ (วสั ดทุ ่ีใชจ้ ากช่ัวโมงท่ี 1 คอื ลูกโป่งแก้วนา้ํ
พลาสติกและดินสอ) แลว้ ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ปฏบิ ัติตามขั้นตอนดงั นี้
1) ให้นกั เรียนนาํ วัสดุแต่ละชนดิ มาวัดความยาว โดยการใช้ไม้บรรทัดวัด พร้อมบนั ทกึ ผลลงในตารางชอ่ ง

กอ่ นดงึ
2) ให้นกั เรยี นนาํ วัสดุแต่ละชนดิ โดยการใช้มือกดปลายของวัสดแุ ต่ละชนิดจากน้ันใชม้ ือดึงวัสดอุ ีกดา้ น

หนงึ่ ใหต้ ึง แล้วให้เพ่ือนชว่ ยวดั ความยาวของวัสดชุ นดิ ในขณะดงึ พร้อมบันทึกผลลงในตารางช่องขณะ
ดงึ
3) ใหน้ กั เรียนปลอ่ ยมอื วัสดแุ ตล่ ะชนิด แล้ววดั ความยาวของวัสดุชนดิ นน้ั อีกรอบ พรอ้ มบันทึกผลลงใน
ตารางช่องหลังปล่อยมอื
4) ร่วมกนั สรปุ ผลการทาํ กิจกรรม พร้อมนาํ เสนอหนา้ ช้ันเรียน

ขน้ั อธิบายความรู้
1. นกั เรยี นตอบคําถามตอ่ ไปนี้

 จากกจิ กรรมท่นี กั เรยี นทาํ วสั ดชุ นิดใดบ้างท่ีขนาดออกแรงดึงแล้วความยาวเปล่ียนไป
(แนวคําตอบ ลกู โป่ง)

 นักเรียนคดิ ว่าทําไมความยาวขณะดงึ วัสดไุ มเ่ ท่ากัน
(แนวคาํ ตอบ เพราะวัสดแุ ตล่ ะชนดิ มีคุณสมบัตดิ า้ นความยืดหย่นุ ไม่เทา่ กนั )

 วัสดมุ สี ภาพอย่างไรถา้ ความยาวของวสั ดุก่อนออกแรงกระทําเท่ากับความยาวของวสั ดุหลงั ออกแรง
กระทาํ
(แนวคาํ ตอบ วัสดุมสี ภาพยดื หยุน่ )

 วัสดมุ สี ภาพอย่างไร ถ้าความยาวของวสั ดุหลังออกแรงกระทํายาว กว่าก่อนออกแรงกระทํา

(แนวคาํ ตอบ วัสดไุ มม่ ีสภาพยืดหยนุ่ )

 จากกจิ กรรมท่นี ักเรียนไดท้ ดลองแลว้ วา่ วสั ดุลกั ษณะใดเหมาะสมกับการนํามารดั ถุงใส่แกง เพราะ
อะไร

(แนวคาํ ตอบ วสั ดุทีม่ ีความยดื หยุ่น เพราะมสี ภาพของความยดื หยุ่น สามารถรัดถุงไดแ้ นน่ )

2. ครอู ธบิ ายว่าจากกจิ กรรมที่นกั เรียนไดท้ ําทงั้ 2 กิจกรรมน้ัน จะพบวา่ สภาพยดื หย่นุ ของวสั ดุ เป็นสมบัติ
ของวัสดุเม่ือไดร้ บั แรงกระทํา เช่นบบี กด ดึง กระแทก จะส่งผลให้วสั ดุเปลยี่ นขนาดหรือรูปร่างรูปร่าง แต่
เม่ือหยุดออกแรงกระทาํ ต่อวสั ดุ วัสดจุ ะกลับคนสู่สภาพเดมิ หรอื ใกล้เคียงสภาพเดมิ วัสดุท่มี สี ภาพยืดหยุ่น
สงู มักจะเปน็ วัสดุจาํ พวกยาง ซึง่ จัดเปน็ วัสดุประเภท พอลเิ มอร์จงึ นิยมนาํ มาทําสงิ่ ของต่าง ๆ

ข้นั สอน [ต่อ] ชัว่ โมงที่ 3
ข้นั ขยายความเข้าใจ
1.นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ 4-5 คน เพือ่ เล่นเกม “รู้จรงิ หรือไม่” โดยครอู ธบิ ายวธิ กี ารเลน่ ดังนี้

1) ครูใหน้ กั เรยี นสง่ ตวั แทนออกมารับบัตรภาพ
2) ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ จาํ แนกบตั รภาพ ภาพไหนคือวสั ดทุ ี่มีสภาพยดื หยุ่น และภาพไหนคือวสั ดทุ ่ีไม่มี

สภาพยดื หยุ่น
3) นักเรยี นกลุ่มไหนจาํ แนกบัตรภาพเสรจ็ กอ่ นใหย้ กมือขึ้น
4) ครกู ับนกั เรียนเฉลยพร้อมกัน
หมายเหตุ : ให้นักเรียนทําเสร็จทุกกลมุ่ ก่อน ครกู บั นักเรยี นค่อยเฉลยพร้อมกัน

2. นกั เรยี นตอบคําถามครู โดยใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ชบู ัตรภาพขนึ้
 บตั รภาพใดคือของเลน่
(แนวคําตอบ ลูกบอลยาง ตุ๊กตายาง ลูกโป่ง)

 บัตรภาพใดคือของใช้
(แนวคาํ ตอบ ยางลบ ยางรถยนต์ หนังยาง ถุงมือยาง สายยาง)

ครบู อกว่าจากบัตรภาพทนี่ กั เรียนเหน็ นนั้ ส่วนใหญ่จะเป็นวัสดุท่ีมสี ภาพยดื หย่นุ สูง และทํามาจากพวก
ยางพารา จงึ นยิ มนํามาทําผลติ ภณั ฑ์ชนดิ ต่าง ๆ ซ่ึงทําเป็นของเลน่ และของใชไ้ ด้ ตามความเหมาะสมกับการใช้
งาน

3.ข้ันสรปุ

1. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรู้ เรื่อง สภาพยืดหยนุ่ ของวัสดุ เป็นสมบัตเิ ม่ือไดร้ บั แรงกระแทก เช่น บีบ
กด ดึง กระแทก เป็นต้น แลว้ ส่งผลให้รปู รา่ งหรอื ขนาดของวสั ดเุ ปลี่ยนแปลงไปและเมื่อหยุดออกแรงกระทํา
ตอ่ วัสดุ วัสดจุ ะกลับคนื สู่สภาพเดมิ ได้

4.ขนั้ ประเมิน

ขัน้ ตรวจสอบ

3.นกั เรยี นตรวจสอบตารางบนั ทึกกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 3 วสั ดุใดมสี ภาพ
ยืดหยุ่น ในหนงั สอื เรียนชดุ แม่บทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน้า 149 ท่ีทาํ ต้นชว่ั โมงวา่ ถกู ต้องหรือไมแ่ ละ
ใหแ้ กไ้ ขให้ถูกต้อง

4.ครตู รวจกจิ กรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ท่ี 3 วัสดุใดมสี ภาพยดื หยุ่นในหนังสอื เรียนชุด
แม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 149

5.ครูตรวจใบงานท่ี 4.3 ทดสอบสภาพยืดหยนุ่ ของวสั ดุ

7. สอ่ื / แหล่งการเรียนรู้
7.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนงั สอื เรยี นชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร
2) วัสดุ-อปุ กรณใ์ นกิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่ 3 วัสดใุ ดมีสภาพยืดหยุ่น
3) ใบงานท่ี 4.3 ทดสอบสภาพยืดหยนุ่ ของวัสดุ
4) บตั รภาพวสั ดทุ ่ีมีสภาพยืดหยุ่น และวสั ดุที่ไม่มสี ภาพยดื หยุ่น
5) กลอ่ งทบึ
6) ลูกโป่ง
7) แกว้ พลาสติก
8) ดินสอ

7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรยี น
2) อนิ เทอร์เน็ต
3) ห้องสมดุ

8.การวัดและประเมินผล วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
รายการวดั - หนังสอื เรียนชุดแม่บท - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจบนั ทกึ ผล
1) กจิ กรรมพัฒนาทักษะ กิจกรรมพัฒนาทักษะ มาตรฐาน - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กระบวนการทาง กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ป.4
วทิ ยาศาสตร์ที่ 3 วทิ ยาศาสตร์ที่ 3 หนา้ 149
วสั ดใุ ดมีสภาพยืดหยุ่น วัสดุใดมสี ภาพยืดหยนุ่
- ใบงานท่ี 4.3
2) ใบงานท่ี 4.3 - ตรวจใบงานที่ 4.3 ทดสอบสภาพยดื หยุ่น
ทดสอบสภาพยดื หยนุ่ ทดสอบสภาพยดื หยุ่น ของวสั ดุ
ของวสั ดุ ของวัสดุ

3) พฤติกรรมการทํางาน - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพดี

รายบคุ คล การทาํ งานรายบคุ คล การทํางานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์

4) พฤติกรรมการทํางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพดี
กลุ่ม การทาํ งานกลุ่ม
การทํางานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ระดับคุณภาพ
ประเดน็ การวัดและ
ระดับ 4 ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1
ประเมินผล (ดีมาก) (ต้องปรบั ปรุง)
(ดี) (พอใช)้
- ยกตวั อยา่ งวสั ดุมี
ทัง้ หมดกป่ี ระเภทได้ ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 ขน้ึ ไป

- อธบิ ายเพิ่มเติมเกยี่ วกบั 1.บนั ทกึ ผลได้ชัดเจน มผี ลการเรียนร้ตู าม มผี ลการเรยี นรูต้ าม มีผลการเรียนรู้ตาม
ประเภทวัสดุได้ ถูกต้อง คาํ อธิบายเป็นรายขอ้ คาํ อธบิ ายเปน็ ราย คําอธิบายเป็นราย
ดังที่กาํ หนดระดบั ดี ข้อดงั ท่ีกําหนด ขอ้ ดงั ทก่ี าํ หนดระดับ
2. บันทกึ ผลไดค้ รบทุก มากข้อใด ๆ จาํ นวน ระดับดมี ากข้อใด ดีมากข้อใด ๆ น้อย
ประเด็นสอดคลอ้ งกบั 4 ขอ้ ๆ จาํ นวน 3 ขอ้ กวา่ 2 ขอ้
เน้อื หา

3.ทํางานเสรจ็ ตรงเวลา
ทีก่ ําหนด

4.นําเสนอผลงานได้

อย่างถูกต้อง ออกเสียง

ถ้อยชัดคํา

3. มีความมุ่งมั่นตัง้ ใจใน 1. ต้ังใจทํางาน มีผลการเรยี นรตู้ าม มผี ลการเรยี นรูต้ าม มีผลการเรียนรู้ตาม
การเรียน (A)
2. เพียรพยายาม คําอธบิ ายเปน็ รายข้อ คาํ อธิบายเปน็ ราย คําอธิบายเป็นราย
ข้อดงั ท่ีกาํ หนดระดับ
ดงั ที่กําหนดระดับดี ข้อดงั ท่ีกําหนด ดีมากข้อใด ๆ น้อย
3.เอาใจใส่ต่อการปฏบิ ัติ มากข้อใด ๆ จํานวน ระดบั ดมี ากข้อใด กว่า 2 ข้อ
หนา้ ที่ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 4 ข้อ
ๆ จาํ นวน 3 ขอ้

4.มีความพยายามใน

การแก้ปัญหาในการ

ทาํ งานใหส้ าํ เร็จ

*นักเรียนท่ีมีผลการเรียนไม่ตํ่ากว่าระดับ 2 ถือว่าผา่ น

เกณฑ์การประเมนิ ระดับคุณภาพผลการเรียนรู้
กําหนดระดับคุณภาพผลการเรยี นร้รู ่วมกนั ทกุ ด้านเปน็ 4 ระดับ คือ ดมี าก ดี พอใช้ และตอ้ งปรบั ปรงุ

แต่ละระดับกําหนดเกณฑป์ ระเมินตามคะแนนเกณฑ์รบู รคิ ส์ ดงั นี้
คะแนนร้อยละ 80 – 100 ของจํานวนคะแนนทัง้ หมด หมายถึง ดีมาก
คะแนนร้อยละ 70 – 79 ของจาํ นวนคะแนนท้ังหมด หมายถงึ ดี
คะแนนรอ้ ยละ 60 – 69 ของจํานวนคะแนนทง้ั หมด หมายถึง พอใช้

คะแนนตาํ่ กว่าร้อยละ 60 ของจาํ นวนคะแนนท้งั หมด หมายถงึ ต้องปรบั ปรุง

เกณฑ์ประเมินผา่ น
ระดับบุคคล นักเรียนมีผลการประเมินอยใู่ นระดบั ดี ขนึ้ ไปถอื วา่ ผ่าน เกณฑ์การประเมิน
ระดบั กล่มุ นักเรยี นมผี ลการประเมินอยู่ในระดับ ดี ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 60 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด

ถือว่าการจัดประสบการณ์การเรยี นรตู้ ามแผนการจดั การเรียนรปู้ ระสบผลสาํ เรจ็
เกณฑก์ ารตดั สนิ คะแนนเก็บ

จาํ นวนคะแนนท่เี ก็บของแผนเท่ากับ 10 คะแนน จากคะแนนรวมท้ังหมด 18 คะแนน เกณฑ์ตัดสิน
จาํ นวนคะแนนเก็บรายบุคคลคาํ นวณโดย 10 x จาํ นวนคะแนนของผเู้ รียนแตล่ ะคนได้ 18 = จาํ นวน
คะแนนเก็บท่ผี ู้เรียนรายน้นั ได้ กาํ หนดวิธีการคดิ คะแนนเก็บ ดังน้ี

จํานวนคะแนนเกบ็ = (จาํ นวนคะแนนเก็บทต่ี ้องการ x จาํ นวนคะแนนรวมทุกกิจกรรมของ
นกั เรยี นแต่ละคน) คะแนนรวมทกุ กจิ กรรมทั้งหมดของทกุ กิจกรรม

ตารางประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
คาช้ีแจง ทาเครอื่ งหมาย √ ลงในระดบั พฤตกิ รรมท่นี กั เรียนแสดงออกตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด

ด้าน K ดา้ น P ด้าน A ผา่ น/
(ผ่าน60%) ไม่ผา่ น
ช่ือ-นามสกุล 10 ผ/มผ (ผา่ นระดับ2) (ผ่านระดบั 2) รวม

1.เด็กชายกฤษณะ อนิ ทะขัน 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ

2.เด็กชายกิตติศักดิ์ ขอบทอง

3.เดก็ ชายจารุเดช แกว้ วงค์

4.เด็กชายจริ ายุ พนม

5.เด็กชายธนกฤต แต้มไชยสง

6.เดก็ ชายธนภทั ร์ หินหลา่ ย

7.เดก็ ชายพงศกร บุญทาวงค์

8.เดก็ ชายศวิ ัช แก้ววันทา

9.เด็กชายกิตติเดช สุขสอน

10.เด็กชายเมธี เกดิ ทวี

11.เดก็ ชายภมู ติ ะวนั ดาน้อย

12.เด็กหญิงกนกวรรณ ชูเพชร

13.เด็กหญิงกิตตกิ านต์ อภวิ งค์

14.เด็กหญงิ เกสศา ดนตรี

15.เด็กหญงิ จิดาภา สตี อง

16.เด็กหญิงณิชานนั ท์ คําดําหริ

17.เด็กหญิงจิรัชญา ญาณปัญญา

18.เดก็ หญงิ ณฎั ฐณชิ า บัวผัด

19.เดก็ หญงิ ณัฏฐมณฑ์ วงคจ์ ันทร์

ชื่อ-นามสกุล ดา้ น K ดา้ น P ดา้ น A รวม ผา่ น/
(ผา่ น60%) (ผ่านระดบั 2) (ผ่านระดบั 2) ไม่ผ่าน
20.เด็กหญิงธนชั ญาน์ ชา่ งลวดลาย
21.เด็กหญงิ ธชั พร สวุ รรณเอย้ 10 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ
22.เดก็ หญงิ พลอยขวญั ชาวผดุง
23.เด็กหญิงวรทั ยา ดวงเดือน
24.เด็กหญงิ สภุ ตั ตรา วงศเ์ ครือคาํ
25.เด็กหญิงอมรรตั น์ ศาลาคาม
26.เด็กหญงิ ณิชาภทั ร ปกั ษี
27.เด็กหญิงสุณิศา เลศิ นา

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ หมายถึง ระดับคุณภาพ
ชว่ งคะแนน หมายถงึ ดมี าก
14 – 18 หมายถงึ ดี
9 – 13 หมายถึง พอใช้
4–8
ตาํ่ กวา่ 3 ควรปรบั ปรงุ



ใบงานที่ 4.3
ทดสอบสภาพยืดหยนุ่ ของวัสดุ

คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนปฏบิ ัติตามข้นั ตอนและบันทึกผล

ข้ันตอน

1) นกั เรียนแบ่งกล่มุ ออกเปน็ กลุ่มละ 4-5 คน
2) นกั เรียนนาํ วัสดุได้แก่ ลกุ โปง่ แก้วพลาสติก และดนิ สอไม้ มาวดั ความยาว โดยการใช้ไม้บรรทดั วัด
พรอ้ มบันทกึ ผลลงในตารางช่องก่อนดงึ
3) ให้นกั เรียนนําวัสดแุ ตล่ ะชนดิ โดยการใชม้ อื กดปลายของวัสดุแตล่ ะชนิดจากน้นั ใชม้ ือดงึ วสั ดุอีก
ด้านหนึง่ ใหต้ ึง แลว้ ใหเ้ พ่ือนช่วยวัดความยาวของวัสดุชนดิ ในขณะดึง พร้อมบนั ทึกผลลงในตารางชอ่ ง
ขณะดงึ
4) ให้นกั เรยี นปล่อยมอื วัสดแุ ต่ละชนิด แล้ววัดความยาวของวัสดชุ นิดนัน้ อีกรอบ พรอ้ มบันทกึ ผลลง
ในตารางช่องหลงั ปล่อยมือ

ตารางบันทึกผล ทดสอบสภาพยืดหยุ่นของวสั ดุ

วัสดุ ความยาวของวัสดุ (เซนติเมตร)
1. ลกู โปรง่
กอ่ นดงึ ขณะดึง หลังปล่อย

2. แก้วนา้ พลาสติก

3. ดินสอไม้

ตวั อย่างบตั รภาพสภาพวสั ดุทีส่ ภาพยืดหย่นุ
และบตั รภาพสภาพวสั ดุทีไ่ ม่มสี ภาพยดื หย่นุ



รายวชิ า วิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
หนว่ ยการเรียนรู้เร่ือง วสั ดุและสสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์แลเทคโนโลยี
ภาคเรยี นท่ี 2 ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
เรื่อง การนาํ ความรอ้ น จานวน 2 คาบสัปดาห์
ผูส้ อน นางสาว ชลธิชา เพ็งอําไพ เวลา 2 คาบ
โรงเรยี น บา้ นปากคะยาง วนั ท่ี 24 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
คะแนนเก็บ คะแนน

16.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด

ว 2.1 ป.4/1 เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนําความร้อนและ
การนําไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและระบุการนําสมบัติเร่ือง
ความแข็งสภาพยืดหยุ่น การนําความร้อน และการนําไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจําวัน
ผา่ นกระบวนการออกแบบชนิ้ งาน
ป.4/2 แลกเปลี่ยนความคิดกับผู้อื่นโดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุ
อย่าง มเี หตุผลจากการทดลอง

17.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

10) อธิบายสมบตั ิทางกายภาพดา้ นการนําความร้อนของวัสดไุ ด้ (K)
11) ทดลองสมบัติทางกายภาพด้านการนาํ ความรอ้ นของวัสดุได้ (P)
12) นําความร้เู รอื่ งสมบตั กิ ารนําความร้อนของวัสดุไปใชใ้ นชีวติ ประจําวนั ได้ (A)

18. สาระการเรียนรู้

สมบัตทิ างกายภาพด้านการนาํ ความร้อนของวสั ดุ

19. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การนําความร้อนของวัสดุ คือ สมบัติของวัสดุท่ีพลังงานความร้อนสามารถถ่ายโอนผ่านวัสดุได้ หาก
วัสดุ ด้านหนึ่งได้รับความร้อน ความร้อนนั้นจะถูกถ่ายโอนไปยังอีกด้านหน่ึงของวัสดุ ทําให้วัสดุด้านท่ีไม่ได้
รบั ความร้อนโดยตรงจะไดร้ ับความรอ้ นด้วย วสั ดุแต่ละชนดิ จะมสี มบัตกิ ารนาํ ความรอ้ นที่แตกตา่ งกนั

ดังน้ัน สมบัติการนําความร้อนของวัสดุ สามารถจําแนกประเภทของวัสดุได้ 2 ประเภท คือ วัสดุท่ี
นาํ ความร้อนและวัสดุท่ไี มน่ ําความร้อน
20. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น

1) ความสามารถในการสื่อสาร

2) ความสามารถในการคิด

3) ความสามารถในการแก้ปัญหา
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : 5Es Instructional Model

1.ขน้ั นา ช่ัวโมงที่ 1

ขัน้ กระตนุ้ ความสนใจ
1. นกั เรยี นตอบคาํ ถามต่อไปนี้

 จากแผนการจดั การเรียนรูท้ ่ีแลว้ นักเรยี นได้เรียนเกย่ี วกบั เรือ่ งอะไร
(แนวคําตอบ สภาพยดื หยุ่นของวสั ดุ )

 วสั ดแุ ตล่ ะชนดิ มสี ภาพยดื หยนุ่ เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร
(แนวคําตอบ ไม่ เพราะวตั ถุบางชนิดไมม่ คี วามยดื หยนุ่ )

 นักเรียนคิดวา่ สมบตั ิทางกายภาพที่เราสามารถสงั เกตและทดสอบจากความแข็งของวัสดุ สภาพยดื หยนุ่ ของวสั ดุ แล้ว
ยงั มอี ะไรอกี บ้าง
(แนวคาํ ตอบ การนาํ ความรอ้ นของวสั ดุ)

 นกั เรียนคิดวา่ วสั ดุอะไรท่มี ีสมบัตกิ ารนําความร้อนบา้ ง
(แนวคาํ ตอบ ข้นึ อยกู่ ับคาํ ตอบนักเรยี นแตล่ ะคน ครอู าจจะเขยี นคาํ ตอบไวบ้ นกระดาน แลว้ มาเฉลยตอนท้ายชั่วโมง)

จากนั้นครบู อกว่าจากสมบตั ิทางกายภาพที่ได้เรยี นมาน้นั เร่ืองความแขง็ ของวัสดุ และสภาพยดื หยุน่ ของวสั ดุ ในแผนการจดั การ
เรียนรนู้ ีน้ กั เรียนจะได้รเู้ ร่อื งสมบตั ทิ างกายภาพทส่ี ามารถทดสอบและสงั เกตได้อีกอยา่ งหน่งึ คอื การนําความรอ้ นของวสั ดุ

2.ขน้ั สอน

1. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน แล้วศกึ ษาขนั้ ตอนการทาํ กจิ กรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 4
วัสดใุ ดนําความรอ้ น ในหนังสอื เรยี นชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 151-152

2. นกั เรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมพฒั นาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ี 4 วัสดุใดนาํ ความร้อน โดยปฏิบตั ิ ดงั น้ี
1) นกั เรยี นแต่กลมุ่ สังเกตวา่ ไม้ไอศกรมี ช้อนโลหะ แทง่ แกว้ คนสาร และชอ้ นพลาสตกิ ทํามาจากวัสดุชนดิ ใด พร้อม
บันทึกผลลงในตารางบันทกึ ผล การสงั เกตการนาํ ความรอ้ นของวสั ดุ
2) กําหนดปญั หาและตงั้ สมมตฐิ านเก่ยี วกบั สมบตั กิ ารนาํ ความรอ้ นของวัสดุชนดิ ต่าง ๆ
3) นักเรียนทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐานดังนี้

3.1 ใชม้ อื สัมผัสปลายของวสั ดุทัง้ 2 ด้านตามลาํ ดบั พร้อมบันทึกผลลงในตารางบนั ทกึ ผล การสงั เกตการนาํ ความ
ร้อนของวัสดุ

3.2 ครเู ทนาํ้ รอ้ นจดั ใสใ่ นบกี เกอร์ จากน้นั ใหน้ กั เรยี นนาํ วสั ดุแตล่ ะชนดิ นําปลายดา้ นใดด้านหน่งึ จุ่มลงในบกี เกอร์และ
ทงิ้ ไว3้ -5 นาที

3.3 นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ใชม้ ือสมั ผสั ปลายวัสดทุ ไ่ี มไ่ ด้จ่มุ ลงไปในบกี เกอร์ ทงั้ 4 ชนดิ ขณะแช่อยใู่ นบกี เกอร์ พรอ้ ม
บนั ทกึ ผลลงในตารางบนั ทกึ ผล การสงั เกตการนําความรอ้ นของวัสดุ

4) นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันอภปิ รายและสรุปผลการทาํ กจิ กรรมภายในกลุม่

ข้ันอธบิ ายความรู้
1. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาํ เสนอหน้าชัน้ เรยี น จากน้ันรว่ มกันสรปุ ผลเกีย่ วกับการนาํ ความร้อนของวัสดุแต่ละชนดิ
2. นักเรียนตอบคาํ ถามต่อไปน้ี

 จากทที่ ํากิจกรรม“วัสดุใดนาํ ความร้อน” นกั เรยี นจะทราบว่า วสั ดแุ ตล่ ะชนดิ สามารถนําความร้อนไดเ้ หมือนกัน
หรือแตกต่างกัน
(แนวคาํ ตอบ แตกต่างกนั )

 วสั ดุทีน่ กั เรยี นได้ทดลอง วสั ดุชนดิ ใดนาํ ความร้อนได้ดีทสี่ ุด
(แนวคําตอบ โลหะ)

 นกั เรยี นคิดวา่ การนําความรอ้ นคอื อะไร
(แนวคําตอบ การทพ่ี ลงั งานความรอ้ นสามารถถ่ายโอนผ่านวัสดุได้ เมอื่ วสั ดไุ ดร้ บั ความรอ้ นจากปลายด้านหนึ่ง
ความร้อนจะถ่ายโอนไปสู่ปลายอีกด้านหนึง่ ได้ และเมื่อจบั วัสดนุ ั้นจะรสู้ กึ รอ้ น)

 สมบตั กิ ารนาํ ความรอ้ นของวัสดจุ าํ แนกไดก้ ปี่ ระเภท มอี ะไรบา้ ง
(แนวคาํ ตอบ 2 ประเภทคือวัสดทุ น่ี าํ ความรอ้ น และวัสดุทไี่ มน่ ําความรอ้ น)

3.จากน้ันครบู อกนกั เรยี นว่าในชว่ั โมงตอ่ ไป จะไดเ้ รยี นรสู้ มบตั ิการนาํ ความร้อนแตล่ ะประเภท

ข้ันสอน [ตอ่ ] ช่วั โมงที่ 2

ขน้ั อธบิ ายความรู้
4. นักเรียนตอบคาํ ถามเพ่อื ทบทวนกจิ กรรมชั่วโมงที่แลว้ วา่ ยกตัวอยา่ งวสั ดุทสี่ ามารถนําความรอ้ นได้
(แนวคาํ ตอบ โลหะ)
5. ครูนําบตั รภาพวัตถุ (กระทะและกาต้มนา้ํ รอ้ น) ติดบนกระดาน สมุ่ นกั เรยี นออกมาโยงเสน้ ลกู ศรพรอ้ มเขียนวา่ ตรงไหนคือ

วัสดุที่นําความรอ้ น และตรงไหนคอื วสั ดุทีไ่ ม่นาํ ความร้อนทัง้ 2 ภาพ

6. นักเรยี นตอบคําถามตอ่ ไปน้ี

 นักเรียนรไู้ ด้อยา่ งไรวา่ ส่วนไหนของวสั ดุที่นําความรอ้ นได้
(แนวคําตอบ วสั ดุส่วนที่นําความร้อนไดด้ สี ่วนมากจะเป็นประเภทโลหะ)

 ทําไมส่วนทีน่ าํ ความรอ้ นจึงตอ้ งทํามาจากโลหะ
(แนวคาํ ตอบ เพราะเปน็ วสั ดุทีค่ วามร้อนผา่ นไดด้ ี)

 นกั เรยี นรไู้ ด้อยา่ งไรว่าสว่ นไหนของวสั ดทุ ่ีไม่นาํ ความรอ้ น
(แนวคําตอบ วัสดุส่วนทไ่ี ม่นําความรอ้ นส่วนมากจะเปน็ ประเภทพอลเิ มอร์)

 ทําไมสว่ นทไี่ มน่ ําความร้อนจงึ ตอ้ งทาํ มาจากพอลเิ มอร์
(แนวคําตอบ เพราะเป็นวสั ดุทค่ี วามร้อนผา่ นไดไ้ มด่ ีหรือผา่ นไมไ่ ด้)

7. ครูอธิบายวา่ การนาํ ความร้อน เป็นสมบตั ขิ องวสั ดุท่ีพลังงานความรอ้ นสามารถถา่ ยโอนผ่านวสั ดไุ ด้ เม่อื วสั ดไุ ด้รบั
ความร้อนจากปลายดา้ นหนง่ึ ความร้อนจะถ่ายโอนไปสปู่ ลายอกี ดา้ นหนึง่ เมือ่ จบั วสั ดุนน้ั จะรสู้ ึกรอ้ น ทัง้ ๆ ท่ปี ลายดา้ นน้ี
อย่หู า่ งจากบริเวณที่ไดร้ ับความร้อน วสั ดแุ ตล่ ะชนดิ มสี มบตั กิ ารนาํ ความร้อนทีแ่ ตกตา่ งกัน ดงั น้นั จึงนาํ สมบตั ิ การ
นําความร้อนมาจําแนกประเภทของวัสดไุ ด้ 2 ประเภท คือ
1) วสั ดุทน่ี าํ ความรอ้ น เปน็ วัสดุประเภทโลหะ เช่น เหล็ก ทองแดง สแตนเลส เป็นต้น ซง่ึ วสั ดุประเภทโลหะจะ ให้
ความรอ้ นผ่านไดด้ ี เราเรียกว่า ตัวนาํ ความรอ้ น จงึ นยิ มนํามาใชท้ าํ ภาชนะหงุ ต้มในส่วนทตี่ อ้ งการให้มีความรอ้ น
เชน่ ตวั กระทะ
2) วัสดุทไ่ี มน่ าํ ความร้อน เป็นวัสดปุ ระเภทพอลิเมอร์ เช่น ไม้ ผา้ ยาง พลาสตกิ เปน็ ตน้ เปน็ วสั ดุที่ไมย่ อมให้ ความ
รอ้ นนน้ั ผ่านหรอื ผา่ นไดไ้ มด่ ี เรียกวัสดุนีว้ า่ ฉนวนความรอ้ น นิยมนํามาใช้ทาํ ส่วนประกอบ ของภาชนะหงุ
ตม้ ในส่วนท่ไี มต่ ้องการให้มีความร้อน เช่นด้ามจับกาตม้ นา้ํ รอ้ น

8. นักเรียนไดร้ ับมอบหมายงานจากครู ดังน้ี “เม่อื กลับไปถงึ บา้ น ให้นักเรยี นสังเกตวตั ถุทีเ่ ป็นตวั นําความร้อน และวตั ถุ ท่ี
เป็นฉนวนความร้อนมา แลว้ ในชั่วโมงตอ่ ไปเรามาดกู ันวา่ ทบ่ี ้านของนกั เรียนมีวัตถชุ นดิ ใดบ้างทีเ่ ปน็ ตัวนาํ ความรอ้ น
และวัตถุชนดิ ใดบา้ งทีเ่ ปน็ ฉนวนความร้อน”


Click to View FlipBook Version