The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by janelovely001, 2022-04-24 23:45:17

แผน ป.4

แผน ป.4

ขั้นสอน [ตอ่ ] ชั่วโมงท่ี 3

ข้ันขยายความเข้าใจ
1. นกั เรียนนาํ งานทม่ี อบหมาย งานกลับบ้านไปสังเกตวัตถุท่ีเป็นตัวนําความร้อน และวัตถุที่เป็นฉนวนความร้อนน้ันออกมา

แลว้ นักเรียนแตล่ ะคน เขียนชอ่ื วตั ถลุ งในสมุด โดยแบ่งสมดุ ดงั นี้

ตัว นํา คว า ม ฉนวนความ
ร้อน รอ้ น

2. นักเรยี นตอบคําถามวา่ ให้นักเรยี นยกตัวอยา่ งประเภทของวัตถุท่ีเปน็ ตวั นําความร้อน และประเภทของวัตถทุ ี่เปน็ ฉนวน
ความรอ้ น อย่างละ 3 ประเภท จากท่เี ขยี นลงสมดุ

(แนวคําตอบ ขึ้นอยกู่ บั คําตอบของนกั เรยี น)

3. นักเรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน พร้อมสง่ ตวั แทนออกมารบั ใบงานท่ี 4.4 ตัวนาํ ความร้อน ฉนวนนาํ ความร้อนในบ้าน
ของเรา จากนั้นนกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอน ดังนี้
1) นกั เรยี นแตก่ ลุ่มรว่ มกนั อภปิ ราย ว่าในบา้ นของนกั เรียนแตล่ ะคนมีวัตถุใดที่เป็นตัวนาํ ความรอ้ น และวตั ถใุ ดเป็น
ฉนวนนําความรอ้ น ให้เลอื กท่ีเหมอื นกนั ในกลุม่ มากทีส่ ดุ เขยี นลงในสมดุ ไว้ก่อน
2) นักเรียนแตล่ ะกลุ่มทีเ่ ลือกวตั ถทุ ่ีเหมอื นกนั ไว้ นาํ มาทาํ ในใบกิจกรรมที่ 4.4 ตัวนาํ ความรอ้ น ฉนวนความรอ้ น
ในบ้านของเรา โดยการเขยี นช่ือวัตถุ พร้อมวาดภาพวตั ถแุ ตล่ ะประเภทและระบายสใี หส้ วยงาม

4.นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานาํ เสนอหนา้ ชน้ั เรยี น
5.ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ เกยี่ วกับการนาํ ความรอ้ นของวัสดุ ดังนี้ วัตถุทีน่ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มไดต้ อบในใบงานที่ 4.4 ตัวนําความร้อน

ฉนวนนาํ ความรอ้ นในบ้านของเรานั้น สว่ นใหญจ่ ะเกยี่ วข้องกับชวี ิตประจําวันในบ้านของเราอยแู่ ล้ว เพียงแตว่ ่านกั เรยี นได้
เรยี นรูว้ า่ การจาํ แนกประเภทของวตั ถชุ นิดใดเปน็ ตวั นาํ ความร้อน และวตั ถุชนิดใดเปน็ ฉนวนความร้อน ซ่งึ ส่วนใหญว่ ัตถทุ ่ี
นาํ ความรอ้ นจะทําจากโลหะ สว่ นวตั ถทุ ่เี ป็นฉนวนความร้อนส่วนใหญ่จะทําจากพวกพอลิเมอร์ เช่น
ภาชนะทใี่ ช้ในการหุงต้ม เชน่ ตัวกระทะ หรือ หม้อหงุ ต้ม ท่ีต้องการให้ความรอ้ นส่งผา่ นไปยังอาหารท่ปี รุงไดร้ วดเรว็
จะทาํ ดว้ ยโลหะ สแตนเลส หรอื อลูมเิ นียมแตส่ ่วนด้ามจบั ภาชนะหรอื หูหว้ิ จะเป็นวสั ดปุ ระเภทไม้หรอื พลาสตกิ ซงึ่ เปน็
ฉนวนความร้อน
ภาชนะท่ใี ช้สาํ หรบั เกบ็ อาหารที่ปรุงแลว้ ตอ้ งเปน็ ภาชนะทเี่ ปน็ ฉนวนความร้อน เพอ่ื ใหส้ ามารถเกบ็ ความร้อนไวไ้ ดน้ าน
เชน่ พลาสติก แกว้ และโฟม เป็นตน้
หน้าของเตารดี จะทาํ ด้วยโลหะ ท่ีจะนาํ ความร้อนไปสผู่ ้า ที่ตอ้ งการรีด แตม่ อื จบั เตารดี จะทาํ ดว้ ยพลาสติกซงึ่ เปน็ ฉนวน
ความร้อน กล่องบรรจุอาหารนยิ มใช้สไทโรโฟมซ่งึ เปน็ ฉนวนความร้อน ช่วยป้องกนั อาหารทเี่ ก็บรักษาไมใ่ หส้ ญู เสียความรอ้ นไป
หรอื ป้องกนั ไม่ใหค้ วามร้อนจากภายนอกเข้าไปข้างในได้ กรณีทต่ี อ้ งการเกบ็ รกั ษาอาหารใหเ้ ยน็

ขน้ั สอน [ตอ่ ] ชั่วโมงที่ 3

ขนั้ ขยายความเข้าใจ

6. นกั เรียนเลน่ เกม“ทายซฉิ นั วัตถอุ ักษร น หรือ ฉ”เพอ่ื ทบทวนความรูท้ ี่ไดเ้ รยี นมาของแผนการจัดการเรยี นร้นู ้ี โดยนกั เรยี น
แบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 4-5 คน สง่ ตัวแทนออกมารบั บตั รคาํ วตั ถุและปฏบิ ตั ิตามขั้นตอน ดังน้ี

1) นกั เรียนจาํ แนกประเภทของบตั รคาํ วัตถุ ว่าวตั ถไุ หนควรจะอยตู่ วั อักษร “น” วัตถไุ หนจะอยูต่ ัวอกั ษร “ฉ”โดยครูถาม
นักเรียน
 อกั ษร“น” มาจากคาํ ว่าอะไร
(แนวคําตอบ ตวั นําความร้อน)

 อกั ษร“ฉ” มาจากคาํ วา่ อะไร
(แนวคําตอบ ฉนวนความรอ้ น)

2) นกั เรียนแต่ละกล่มุ จําแนกประเภทบตั รคาํ วตั ถุ กลมุ่ ไหนเสรจ็ กอ่ นใหย้ กมือขนึ้

7. นักเรยี นรว่ มเฉลยพร้อมกนั บนกระดาน โดยครูแบ่งกระดานดงั นี้

ตัวอย่าง นฉ

ครสู มุ่ ถามคาํ ตอบนกั เรียนทลี ะกลมุ่ ว่าบัตรคาํ ไหน คืออกั ษร “น”หรอื “ฉ” อาจจะใหแ้ ตล่ ะกลุม่ ตอบ 3 คํา โดยครเู ขียนบน
กระดานในแตล่ ะช่อง
หมายเหตุ : เฉลยเกม“ทายซิฉนั น หรือ ฉ” แนบท้ายแผน ฯ

8. นักเรยี นกลุ่มทตี่ อบถูกหมดหรอื ได้คะแนนมากทสี่ ุดตอบคาํ ถามวา่ นักเรียนรูอ้ ยา่ งไรวา่ วตั ถุไหนคืออักษร“น”หรอื “ฉ”
(แนวคาํ ตอบ ขึ้นอยูก่ บั คาํ ตอบนกั เรียน ครูพจิ ารณาคาํ ตอบ)

3.ข้นั สรุป

1. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ เรื่อง การนําความรอ้ นของวัสดุ เป็นความสามารถของวสั ดุในการถ่ายโอนความร้อนจาก
วัสดหุ นึง่ ไปยังอีกวัสดหุ นึ่ง ซึง่ วสั ดแุ ต่ละอยา่ งน้ันมคี วามสามารถในการนําความรอ้ นได้แตกต่างกัน

4.ขน้ั ตรวจสอบ

ขนั้ ตรวจสอบ
6. ให้นกั เรยี นตรวจสอบตารางบนั ทกึ ผล การสงั เกตการนําความร้อนของวัสดุ ในหนังสอื เรียนชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์

ป.4 หนา้ 152 ว่าถกู ต้องหรอื ไม่และให้แกไ้ ขให้ถูกต้อง
7. ครูตรวจตารางบันทกึ ผล การสังเกตการนําความร้อนของวสั ดุ ในหนงั สอื เรยี นชุดแมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า

152

7. ส่ือ/ แหล่งการเรียนรู้
7.1 ส่ือการเรยี นรู้
9) หนังสอื เรียนชุดแม่บทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 วัสดแุ ละสสาร
10) วัสดุ-อุปกรณใ์ นกจิ กรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 4 วัสดใุ ดนาํ ความร้อน
11) ใบงานที่ 4.4 ตวั นาํ ความร้อน ฉนวนความร้อนในบา้ นของเรา
12) บตั รภาพวตั ถุ (บัตรภาพรปู กระทะ รูปกาต้มนํ้ารอ้ น)
13) บัตรคาํ วตั ถุ เกมทายซิฉนั วตั ถุอกั ษร“น”หรอื “ฉ”
7.2 แหลง่ การเรยี นรู้
4) หอ้ งเรยี น
5) อนิ เทอรเ์ นต็
6) หอ้ งสมดุ

8.การวัดและประเมินผล

รายการวัด วธิ ีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ

1) กจิ กรรมพฒั นาทักษะ - ตรวจ กิจกรรมพฒั นา - หนังสอื เรยี นชดุ แมบ่ ท - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
กระบวนการทาง ทักษะกระบวนการทาง มาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์
วทิ ยาศาสตรท์ ี่ 4 วทิ ยาศาสตรท์ ี่ 4 ป.4 หน้า 152
วัสดใุ ดนําความร้อน วสั ดใุ ดนาํ ความร้อน

2) ใบงานท่ี 4.4 - ตรวจใบงานที่ 4.4 - ใบงานท่ี 4.4 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

ตัวนาํ ความร้อน ฉนวน ตัวนาํ ความร้อน ฉนวน ตัวนําความร้อน ฉนวน

ความร้อนในบ้านของเรา ความร้อนในบ้านของเรา ความร้อนในบ้านของเรา

3) พฤติกรรมการทํางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพดี

รายบคุ คล การทาํ งานรายบุคคล การทํางานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์

4) พฤติกรรมการทาํ งาน - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพดี
กลมุ่ การทํางานกลมุ่
การทํางานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์

ใบงานที่ 4.4

ตัวนาความรอ้ น ฉนวนความรอ้ นในบา้ นของเรา

คาชี้แจง : ให้นักเรียนระบชุ ือ่ วตั ถุที่เปน็ ตวั นําความรอ้ น ฉนวนความรอ้ น และวาดภาพประกอบตกแต่งให้

สวยงาม

บตั รภตัวานพาคววตัามถร้อุ น ฉนวนความรอ้ น

1........................................................ 1........................................................
.............. ..............

2........................................................ 2........................................................
.............. ..............

3........................................................ 3........................................................
.............. ..............



ตวั อย่างบตั รคาวตั ถุ เกมทายซิฉนั วตั ถุอกั ษร “น”หรือ
“ฉ”



เฉลย

ตวั อย่างบตั รคาวตั ถุ เกมทายซิฉนั วตั ถุอกั ษร “น”หรือ

“ฉ” อักษร “น” อกั ษร “ฉ”

ลวด แก้วพลาสติก

กรรไกร หลอด

ทองแดง โฟม

อะลูมิเนียม เชือกฟาง

เหล็ก ยางลบ

ลวดเสียบกระดาษ ถงุ พลาสติก

เขม็ กลดั ดินสอ

ทีค่ บี อาหารโลหะ ไมไ้ อศกรมี

หมอ้ เส้อื ผา้

ชอ้ นโลหะ ลูกโปง่

ตารางประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
คาช้ีแจง ทาเครอ่ื งหมาย √ ลงในระดบั พฤตกิ รรมท่นี กั เรียนแสดงออกตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด

ด้าน K ดา้ น P ด้าน A ผา่ น/
(ผ่าน60%) ไม่ผา่ น
ช่ือ-นามสกุล 10 ผ/มผ (ผา่ นระดับ2) (ผ่านระดบั 2) รวม

1.เด็กชายกฤษณะ อนิ ทะขัน 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ

2.เด็กชายกิตติศักดิ์ ขอบทอง

3.เดก็ ชายจารุเดช แกว้ วงค์

4.เด็กชายจริ ายุ พนม

5.เด็กชายธนกฤต แต้มไชยสง

6.เดก็ ชายธนภทั ร์ หินหลา่ ย

7.เดก็ ชายพงศกร บุญทาวงค์

8.เดก็ ชายศวิ ัช แก้ววันทา

9.เด็กชายกิตติเดช สุขสอน

10.เด็กชายเมธี เกดิ ทวี

11.เด็กชายภมู ติ ะวนั ดาน้อย

12.เด็กหญิงกนกวรรณ ชูเพชร

13.เด็กหญิงกติ ตกิ านต์ อภิวงค์

14.เด็กหญงิ เกสศา ดนตรี

15.เด็กหญงิ จิดาภา สตี อง

16.เด็กหญงิ ณิชานนั ท์ คําดาํ หริ

17.เด็กหญิงจิรัชญา ญาณปัญญา

18.เดก็ หญงิ ณฎั ฐณชิ า บัวผัด

19.เดก็ หญงิ ณฏั ฐมณฑ์ วงค์จันทร์

ชื่อ-นามสกุล ดา้ น K ดา้ น P ดา้ น A รวม ผา่ น/
(ผา่ น60%) (ผ่านระดบั 2) (ผ่านระดบั 2) ไม่ผ่าน
20.เด็กหญิงธนชั ญาน์ ชา่ งลวดลาย
21.เด็กหญงิ ธชั พร สวุ รรณเอย้ 10 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ
22.เดก็ หญงิ พลอยขวญั ชาวผดุง
23.เด็กหญิงวรทั ยา ดวงเดือน
24.เด็กหญงิ สภุ ตั ตรา วงศเ์ ครือคาํ
25.เด็กหญิงอมรรตั น์ ศาลาคาม
26.เด็กหญงิ ณิชาภทั ร ปกั ษี
27.เด็กหญิงสุณิศา เลศิ นา

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ หมายถึง ระดับคุณภาพ
ชว่ งคะแนน หมายถงึ ดมี าก
14 – 18 หมายถงึ ดี
9 – 13 หมายถึง พอใช้
4–8
ตาํ่ กวา่ 3 ควรปรบั ปรงุ



รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5
หน่วยการเรียนร้เู รอ่ื ง วสั ดแุ ละสสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ลเทคโนโลยี
ภาคเรียนท่ี 2 ระดับช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 4
เร่ือง การนาไฟฟ้า จานวน 2 คาบสัปดาห์
ผ้สู อน นางสาว ชลธชิ า เพ็งอําไพ เวลา 2 คาบ
โรงเรยี น บา้ นปากคะยาง วันที่ 24 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
คะแนนเก็บ คะแนน

21. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ว 2.1 ป.4/1 เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนําความร้อนและ
การนาํ ไฟฟา้ ของวัสดโุ ดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและระบุการนําสมบัติ เรื่อง
ความแข็งสภาพยืดหยุ่น การนําความร้อน และการนําไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจําวัน
ผา่ นกระบวนการออกแบบช้นิ งาน
ป.4/2 แลกเปลี่ยนความคิดกับผู้อ่ืนโดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุ
อยา่ งมีเหตผุ ลจากการทดลอง

22. จุดประสงค์การเรยี นรู้
13) อธิบายสมบัติทางกายภาพด้านการนาํ ไฟฟ้าของวสั ดุได้ (K)
14) ทดลองสมบตั ทิ างกายภาพดา้ นการนาํ ไฟฟ้าของวัสดุได้ (P)
15) นําความรู้เร่อื งสมบตั กิ ารนําไฟฟ้าของวสั ดุไปใช้ในชวี ติ ประจาํ วนั ได้ (A)

23. สาระการเรยี นรู้
สมบัตทิ างกายภาพด้านการนาํ ไฟฟา้ ของวสั ดุ

24. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การนําไฟฟา้ ของวสั ดุ คือ สมบัตขิ องวัสดทุ พี่ ลงั งานไฟฟ้าสามารถถ่ายโอนผ่านวัสดุชนิดนั้นได้ วัสดุต่าง

ชนดิ กนั มสี มบัตกิ ารนาํ ไฟฟ้าทีแ่ ตกต่างกนั หากใช้สมบัตกิ ารนาํ ไฟฟ้าของวสั ดเุ ป็นเกณฑ์ สามารถจําแนกวัสดุได้
2 ประเภท ได้แก่ วัสดุท่ีให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี เรียกว่า ตัวนําไฟฟ้า และวัสดุที่ไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้า
ไหลผา่ น เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า
25. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน

1) ความสามารถในการสอ่ื สาร
2) ความสามารถในการคิด

3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : 5Es Instructional Model
1.ข้ันนา ชัว่ โมงที่ 1
ข้นั กระตุน้ ความสนใจ
1. นกั เรียนตอบคําถามตอ่ ไปนี้
 จากแผนการจัดการเรยี นร้ทู ่แี ล้วนกั เรยี นได้เรียนเกี่ยวกับเร่ืองอะไร

(แนวคําตอบ การนําความร้อนของวัสด)ุ

 การนําความร้อนของวัสดจุ าํ แนกกีป่ ระเภท อะไรบ้าง
(แนวคําตอบ ตวั นําความรอ้ น และ ฉนวนความร้อน)

 ยกตัวอยา่ งวัสดทุ เี่ ป็นตวั นําความรอ้ นมา 3 ชนดิ
(แนวคาํ ตอบ ทองแดง เหลก็ อลูมเิ นียม)

 นักเรยี นยกตัวอย่างวัสดุทเ่ี ป็นฉนวนความร้อนมา 3 ชนิด
(แนวคาํ ตอบ ไม้ ยาง ผ้า)

 นกั เรียนคดิ ว่าสมบตั ิทางกายภาพของวัสดุท่เี ราสามารถสงั เกตและทดสอบได้ นอกจากความแขง็ ของ
วัสดุ สภาพยดื หยนุ่ ของวัสดุ การนาํ ความร้อนของวัสดุท่เี รียนมาแลว้ นน้ั นักเรยี นคิดวา่ ยงั มอี ะไรอีก
บ้าง
(แนวคาํ ตอบ การนาํ ไฟฟา้ ของวสั ด)ุ

 นกั เรยี นคิดว่าวสั ดุอะไรที่มีสมบตั กิ ารนาํ ไฟฟ้าได้บ้าง
(แนวคาํ ตอบ ขน้ึ อยู่กบั คาํ ตอบนกั เรียนแตล่ ะคน ครูอาจเขียนคําตอบไว้บนกระดาน แลว้ มาเฉลยตอนทา้ ย
ชั่วโมง)

2. ครบู อกวา่ จากสมบตั ทิ างกายภาพท่ไี ดเ้ รียนมาแลว้ น้ัน เร่ืองความแขง็ ของวสั ดุ สภาพยืดหยุ่นของวสั ดุ การ
นาํ ความรอ้ นของวสั ดุ ในแผนการจดั การเรียนรูน้ ี้ นกั เรยี นจะไดร้ ู้เร่ืองสมบตั ิทางกายภาพทส่ี ามารถทดสอบ
และสงั เกตได้อีกอย่างหนงึ่ คือ การนาํ ไฟฟา้ ของวัตถุ

3. นักเรียนดูตวั ปลัก๊ ไฟที่ครูเตรียมมา และตอบคําถามตอ่ ไปนี้

 นกั เรยี นคิดว่าปลั๊กไฟประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
(แนวคาํ ตอบ ทองแดง อะลูมเิ นยี ม พลาสติกหมุ้ )

 นักเรยี นคดิ วา่ เพราะเหตุใด บรษิ ทั ทผ่ี ลติ ปลกั๊ ไฟจงึ นําวัสดุเหล่านม้ี าผลติ เปน็ ปลอกสายไฟ หรือเป็น
สายไฟ

(แนวคําตอบ ทองแดงและอะลมู ิเนยี มเปน็ ตวั นําไฟฟา้ เพราะสามารถนําไฟฟา้ ได้ พลาสติก เปน็ ฉนวนห้มุ
เพราะไมน่ าํ ไฟฟ้า ช่วยให้ไฟฟ้าไมล่ ัดวงจร และเกิดอันตรายกับตวั เราได้)
2.ข้นั สอน
1. นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ออกเป็นกลมุ่ ละ 4-5 คน แล้วศกึ ษาข้ันตอนการทาํ กิจกรรมพฒั นาทกั ษะกระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร์ท่ี 5 วสั ดุใดนําไฟฟา้ ในหนังสอื เรยี นชดุ แม่บทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 154-155
2. นกั เรียนปฏิบตั กิ ิจกรรมพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ่ี 5 วัสดใุ ดนาํ ไฟฟา้ โดยปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

1) กําหนดปัญหาและต้ังสมมติฐานเกย่ี วกับสมบตั ิ การนําไฟฟ้าของวสั ดชุ นิดตา่ ง ๆ
2) สังเกตวัสดุที่นํามาใชใ้ นการทดลองว่า ทํามาจากวสั ดุชนดิ ใด แล้วบนั ทกึ ลงในตารางสังเกตการนําไฟฟา้

ของวสั ดุ ในหนงั สอื เรียนชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 156
3) นักเรียนทดลองเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ านดังน้ี

3.1 ตอ่ หลอดไฟเขา้ กับวงจรไฟฟ้า แลว้ นาํ คีมปากจระเข้ท้งั 2 ขา้ งมาแตะกัน จากนั้นสังเกตหลอดไฟ
สวา่ งหรอื ไม่ เพื่อทดสอบการใช้งานกอ่ นไปทดสอบกับวัตถุอื่นทจ่ี ะใช้ทาํ การทดสอบ

3.2 คาดคะเนวัตถแุ ตล่ ะชนดิ ทจี่ ะนาํ มาใช้ในการทดสอบ เม่อื นํามาแตะกับคมี ปากจระเข้ทง้ั 2 ข้าง พร้อม
กนั ดูวา่ หลอดไฟสว่างหรอื ไม่

3.3 ทดสอบเพื่อตรวจสอบผลการคาดคะเน โดยการนําคมี ปาดจระเข้มาหนบี กบั เส้นลวดท้ัง 2 ข้าง สังเกต
ความสวา่ งของหลอดไฟ และบนั ทกึ ผลในตาราง

3.4 ทาํ การทดสอบซาํ้ โดยการเปลีย่ นวตั ถุจนครบตามลาํ ดับ
4) นักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันอภปิ รายและสรุปผลการทํากิจกรรมภายในกลุ่ม

ขน้ั อธิบายความรู้
1. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานาํ เสนอหน้าช้ันเรยี นและรว่ มสรปุ กจิ กรรม
ขัน้ สอน [ต่อ] ชั่วโมงที่ 2
ขัน้ อธิบายความรู้

2. นกั เรียนตอบคําถามเพื่อทบทวนความรเู้ ดิมวา่ จากชั่วโมงที่ 1 นกั เรยี นทาํ การทดลองวตั ถุใดนําไฟฟา้ นัน้
นักเรียนคิดวา่ วตั ถุ แต่ละชนดิ สามารถนาํ ไฟฟ้าได้เหมือนกันหรือไม่

(แนวคําตอบ ไมเ่ หมือนกนั เพราะ สมบัติของวัสดุท่ีนาํ ไฟฟ้าไดน้ ั้นตอ้ งสามารถถ่ายโอนพลังงานไฟฟ้าผ่านวสั ดุ
ได)้

3. ครูอธิบายเพม่ิ เตมิ ว่า จากการท่นี กั เรียนทดลองนั้น จะเห็นวา่ เส้นลวด กบั เหรียญซึง่ เป็นวัสดุประเภทโลหะ
สามารถเป็นตวั นําไฟฟา้ ทาํ ให้หลอดไฟเกดิ ความสวา่ งได้ ดงั น้นั ครูจะอธิบายให้นกั เรยี นฟังเรอื่ งของการนาํ
ไฟฟ้าของวสั ดุเพ่ือใหน้ ักเรียนเข้าใจมากขึ้น

4. ครูอธิบายว่า การนาํ ไฟฟา้ ของวสั ดุ เปน็ สมบัติของวัสดทุ ี่พลงั งานไฟฟา้ สามารถถา่ ยโอนผา่ นวัสดุชนดิ น้ันได้
วัสดุแตล่ ะชนิดมสี มบัติการนาํ ไฟฟ้าได้แตกต่างกนั หากเราใชส้ มบตั ิ การนาํ ไฟฟ้ามาเป็นเกณฑ์ในการ
จาํ แนกประเภทของวสั ดุ จะจาํ แนกวสั ดไุ ด้ 2 ประเภท คือ

1) วสั ดุที่นาํ ไฟฟ้า คือ วสั ดทุ ใ่ี ห้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี เรียกวา่ ตัวนําไฟฟ้า สว่ นใหญ่จะเปน็ วัสดปุ ระเภท
โลหะ ต่าง ๆ เชน่ ทองแดง เงิน สแตนเลส เหล็ก จงึ นยิ มนํามาเปน็ ส่วนประกอบของเครื่องไฟฟ้า เชน่
ทองแดงทาํ สายไฟหรือปลกั๊ เสียบ

2) วัสดทุ ไี่ มน่ าํ ไฟฟ้า คือ วัสดทุ ่ีกระแสไฟฟา้ ไหลผ่านไม่ได้ เรยี กวา่ ฉนวนไฟฟา้ โดยส่วนใหญจ่ ะไม่ใช่วสั ดุ ที่
เป็นประเภทโลหะ เช่น ยาง ไม้ ผ้า พลาสตกิ เป็นต้น จงึ นิยมนาํ มาใชท้ ําเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ในสว่ นทตี่ อ้ งการ
ป้องกันไฟรั่วหรือไฟฟ้าดดู เชน่ ใชพ้ ลาสตกิ หุ้มสายไฟ เพอื่ ปอ้ งกนั ไฟฟา้ รัว่ หรอื ไฟฟ้าดูด เป็นต้น

5. นักเรยี นทาํ กิจกรรม เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ของฉนั โดยนักเรยี นปฏบิ ตั ิดงั น้ี

1) วาดภาพเคร่อื งใช้ไฟฟา้ ทีอ่ ยู่ในบา้ นของนักเรียนมา 1 อยา่ ง พร้อมระบายสใี ห้สวยงาม ลงในสมดุ
ประจาํ ตัวนักเรียน

2) โยงเสน้ บอกสว่ นไหนเป็นตวั นําไฟฟ้า และสว่ นไหนเปน็ ฉนวนไฟฟา้

6. ครูส่มุ ใหน้ กั เรยี นออกมานําเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี นจากนนั้ นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้

 เครื่องใช้ไฟฟา้ ท่ีนักเรียนนาํ เสนอน้ัน นาํ ไปใชป้ ระโยชนอ์ ะไรบ้าง

(แนวคําตอบ ขนึ้ อยู่กับรปู ภาพของนกั เรยี น ตัวอยา่ งเชน่ ถ้านักเรยี นวาดภาพหม้อหุงข้าว ใชใ้ นการหุง
ขา้ ว)

 นักเรียนคิดว่าในภาพทีน่ กั เรียนนําเสนอ นาํ วัสดทุ เ่ี ป็นตัวนําไฟฟา้ ไปใช้ประโยชน์อย่างไร

(แนวคาํ ตอบ ใช้ทองแดงทําสายปลก๊ั ไฟ)

 นาํ วัสดทุ ี่เป็นฉนวนไฟฟา้ ไปใช้ประโยชนอ์ ย่างไร

(แนวคําตอบ ใชท้ ําเป็นอปุ กรณเ์ พื่อป้องกนั ไฟรวั่ หรอื ไฟฟ้าดูด)

หมายเหตุ : ในขณะทนี่ ักเรียนแต่ละคนนําเสนอจบ ให้ครูถามคาํ ถามดา้ นบน
ขั้นขยายความเข้าใจ
1. ครูสนทนากับนกั เรียนว่าจากการท่ีเรยี นเรื่อง วัสดใุ นชวี ติ ประจําวันนน้ั นักเรียนไดร้ ูจ้ ักประเภทของวัสดุท่ี
เป็นโลหะ เซรามิก พอลิเมอร์ เรียนรู้เรอื่ งสมบัติทางกายภาพของวสั ดุ คอื ความแข็งของวัสดุ สภาพยืดหยุ่นของ
วัสดุ การนาํ ความรอ้ นของวสั ดุ และในแผนนเี้ รียนเรื่องเก่ียวกับการนาํ ไฟฟ้าของวัสดนุ ้นั ในช่ัวโมงตอ่ ไปครจู ะ
ให้นกั เรยี นออกแบบสงิ่ ประดิษฐเ์ ปน็ ผลงานมา 1 ช้นิ จากวัสดุทเ่ี หลอื ใชท้ ีน่ าํ มาใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจําวนั ได้
โดยการนําความรเู้ ร่ืองสมบตั ิทางกายภาพของวสั ดมุ าใช้ในการเลอื กวสั ดุสาํ หรบั ประดิษฐ์ผลงาน

2. นกั เรียนแบ่งกลุม่ ออกเป็นกล่มุ ละ 4-5 คน ทํากิจกรรม ส่งิ ประดษิ ฐจ์ ากวัสดเุ หลอื ใช้ โดยปฏบิ ตั ิดงั นี้
1) แต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนมารับใบงานท่ี 4.5 ส่ิงประดิษฐ์จากวสั ดเุ หลือใช้
2) ออกแบบส่ิงประดษิ ฐเ์ ป็นผลงานมา 1 ชิ้น วา่ จะประดษิ ฐผ์ ลงานท่ีมีรูปรา่ งลกั ษณะไหนตกแตง่ ให้
สวยงาม จากวสั ดทุ เี่ หลือใชท้ ี่นํามาใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาํ วนั ได้ โดยการนําความร้เู รื่องสมบตั ิทาง
กายภาพของวสั ดมุ าใชใ้ นการเลือกวัสดสุ าํ หรับประดิษฐ์ผลงาน
3) แบ่งหนา้ ท่ใี นการเตรยี มอุปกรณ์เพื่อมาทําส่งิ ประดิษฐ์ในชว่ั โมงหน้า

ข้นั สอน [ต่อ] ชว่ั โมงที่ 3
ขั้นขยายความเข้าใจ
3. นักเรยี นแต่ละกลุ่มลงมือประดิษฐผ์ ลงานจากวัสดุเหลือใชท้ ี่เตรยี มมา ตามท่ีออกแบบไว้
4. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนาํ เสนอผลงาน ในประเด็นต่อไปนี้

1) บอกชอ่ื ผลงาน
2) แรงบนั ดาลใจในการประดิษฐ์ผลงาน
3) สมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุท่ีนกั เรียนนาํ มาใช้ พร้อมเหตผุ ลในการเลือกใช้
4) สง่ิ ประดษิ ฐม์ ีประโยชนอ์ ย่างไรบา้ ง
5. นักเรียนทําแบบฝึกพัฒนาการเรียนรทู้ ่ี 2 ในหนังสือเรียนชุดแมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 157-
158

6. นักเรยี นทํากจิ กรรมพฒั นาทักษะการคดิ ประจาํ เรื่องที่ 1 ในหนงั สอื เรยี นชุดแมบ่ ทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์
ป.4 หน้า 160-162

3.ข้ันสรปุ

1. นักเรยี นและครูร่วมกันสรุปความรู้ เรอ่ื ง วัสดใุ นชีวิตประจาํ วัน

2. นักเรียนแต่ละคนเขียนแผนผงั ตาราง หรอื เขียนบรรยายเพอ่ื สรุป เร่อื ง วสั ดใุ นชีวิตประจําวัน ลงใน
หนังสอื เรยี นชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 159 ในชว่ั โมงหรอื นํากลบั ไปทําเป็นการบ้าน
แลว้ นาํ มาสง่ ในชัว่ โมงถัดไป

4.ข้นั ประเมิน

ขน้ั ตรวจสอบ

8.ครูตรวจกจิ กรรมพฒั นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 5 วสั ดใุ ดนาํ ไฟฟ้าในหนงั สือเรียนชดุ แมบ่ ท
มาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 155

9.ตรวจใบงานที่ 4.5 สิ่งประดิษฐจ์ ากวสั ดเุ หลอื ใช้

10. ตรวจกิจกรรม เครื่องใชไ้ ฟฟ้าของฉนั ในสมุดประจําตวั นกั เรยี น

4. ตรวจสรปุ สาระสําคญั ประจําเรอื่ งท่ี 1 ในหนังสือเรยี นชุดแมบ่ ทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน้า 159

5. ครตู รวจแบบฝกึ พฒั นาการเรียนรทู้ ี่ 2 ในหนังสือเรียนชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 157-158

6. ครตู รวจกิจกรรมพฒั นาทักษะการคดิ ประจําเรื่องที่ 1 ในหนังสือเรียนชุดแมบ่ ทมาตรฐาน

วิทยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 160-162

7. ประเมินผลงานสง่ิ ประดิษฐ์จากวัสดุเหลอื ใช้
7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้

7.1 สอื่ การเรยี นรู้
14) หนังสือเรยี นชุดแมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 4 วัสดแุ ละสสาร
15) วสั ดุ-อุปกรณใ์ นกิจกรรมพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ี่ 5 วัสดุใดนําไฟฟ้า
16) ใบงานท่ี 4.5 สง่ิ ประดิษฐจ์ ากวัสดุเหลือใช้
17) สมุดประจาํ ตัวนักเรยี น

7.2 แหลง่ การเรียนรู้
7) หอ้ งเรียน
8) อินเทอรเ์ น็ต
9) หอ้ งสมุด

8.การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมนิ
- ประเมนิ ผลงาน - แบบประเมนิ ผลงาน
รายการวดั - ระดับคณุ ภาพ พอใช้
ผา่ นเกณฑ์
1) ผลงาน สิ่งประดษิ ฐ์
จากวสั ดเุ หลอื ใช้

2) กิจกรรมพฒั นาทักษะ - ตรวจบนั ทึกผล - หนงั สือเรยี นชุดแม่บท - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กระบวนการทาง กจิ กรรมพฒั นาทักษะ มาตรฐาน - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
วทิ ยาศาสตร์ที่ 5 กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ ป.4
วัสดุใดนาํ ไฟฟ้า วิทยาศาสตรท์ ี่ 5 หน้า 156
วัสดใุ ดนาํ ไฟฟา้
3) ใบงานท่ี 4.5 - ใบงานท่ี 4.5
ส่งิ ประดิษฐจ์ ากวสั ดุ - ตรวจใบงานที่ 4.5 สิง่ ประดิษฐ์จากวสั ดุ
เหลอื ใช้ สิ่งประดษิ ฐ์จากวสั ดุ เหลอื ใช้
เหลอื ใช้

4) กิจกรรม - ตรวจกจิ กรรม - สมุดประจาํ ตัวนกั เรียน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

เคร่อื งใช้ไฟฟ้าของฉัน เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ของฉัน

5) แบบฝกึ พฒั นาการ - ตรวจแบบฝกึ - หนังสอื เรยี นชุดแม่บท - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เรียนรู้ท่ี 2 พัฒนาการเรยี นรู้ที่ 2 มาตรฐาน
วทิ ยาศาสตร์ ป.4
หนา้ 157-158

6) กิจกรรมพฒั นาทักษะ - ตรวจกิจกรรมพัฒนา - หนังสือเรียนชดุ แม่บท - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
การคิด ประจําเร่อื ง ทกั ษะการคดิ ประจาํ มาตรฐาน
ท่ี 1 เรือ่ งท่ี 1 วิทยาศาสตร์ ป.4
หนา้ 160-162

7) สรุปสาระประจาํ เรื่อง - สรปุ สาระประจําเรื่อง - หนงั สอื เรยี นชุด แม่บท - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ที่ 1 วัสดใุ น ที่ 2 วสั ดใุ น มาตรฐานวทิ ยาศาสตร์
ชวี ิตประจาํ วนั ชีวติ ประจําวนั ป.4 หน้า 159

รายการวดั วิธีการ เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน

8) พฤติกรรมการทํางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพดี
รายบุคคล การทํางานรายบคุ คล การทํางานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์

9) พฤติกรรมการทํางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพดี
กล่มุ การทาํ งานกลมุ่
การทาํ งานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์

ตารางประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
คาช้ีแจง ทาเครอื่ งหมาย √ ลงในระดบั พฤตกิ รรมท่นี กั เรียนแสดงออกตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด

ด้าน K ดา้ น P ด้าน A ผา่ น/
(ผ่าน60%) ไม่ผา่ น
ช่ือ-นามสกุล 10 ผ/มผ (ผา่ นระดับ2) (ผ่านระดบั 2) รวม

1.เด็กชายกฤษณะ อนิ ทะขัน 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ

2.เด็กชายกิตติศักดิ์ ขอบทอง

3.เดก็ ชายจารุเดช แกว้ วงค์

4.เด็กชายจริ ายุ พนม

5.เด็กชายธนกฤต แต้มไชยสง

6.เดก็ ชายธนภทั ร์ หินหลา่ ย

7.เดก็ ชายพงศกร บุญทาวงค์

8.เดก็ ชายศวิ ัช แก้ววันทา

9.เด็กชายกิตติเดช สุขสอน

10.เด็กชายเมธี เกดิ ทวี

11.เด็กชายภมู ติ ะวนั ดาน้อย

12.เด็กหญิงกนกวรรณ ชูเพชร

13.เด็กหญิงกิตตกิ านต์ อภวิ งค์

14.เด็กหญงิ เกสศา ดนตรี

15.เด็กหญงิ จิดาภา สตี อง

16.เด็กหญงิ ณิชานนั ท์ คําดําหริ

17.เด็กหญิงจริ ัชญา ญาณปัญญา

18.เดก็ หญงิ ณฎั ฐณชิ า บัวผัด

19.เดก็ หญงิ ณัฏฐมณฑ์ วงคจ์ ันทร์

ชื่อ-นามสกุล ดา้ น K ดา้ น P ดา้ น A รวม ผา่ น/
(ผา่ น60%) (ผ่านระดบั 2) (ผ่านระดบั 2) ไม่ผ่าน
20.เด็กหญิงธนชั ญาน์ ชา่ งลวดลาย
21.เด็กหญงิ ธชั พร สวุ รรณเอย้ 10 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ
22.เดก็ หญงิ พลอยขวญั ชาวผดุง
23.เด็กหญิงวรทั ยา ดวงเดือน
24.เด็กหญงิ สภุ ตั ตรา วงศเ์ ครือคาํ
25.เด็กหญิงอมรรตั น์ ศาลาคาม
26.เด็กหญงิ ณิชาภทั ร ปกั ษี
27.เด็กหญิงสุณิศา เลศิ นา

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ หมายถึง ระดับคุณภาพ
ชว่ งคะแนน หมายถงึ ดมี าก
14 – 18 หมายถงึ ดี
9 – 13 หมายถึง พอใช้
4–8
ตาํ่ กวา่ 3 ควรปรบั ปรงุ



ใบงานที่ 4.5
สงิ่ ประดิษฐจ์ ากวสั ดเุ หลือใช้

คาชีแ้ จง : ให้นักเรียนออกแบบผลงานจากวัสดุเหลือใช้

รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 6
หน่วยการเรียนรเู้ รอ่ื ง วัสดุและสสาร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ลเทคโนโลยี
ภาคเรียนท่ี 2 ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4
เร่ือง วสั ดแุ ละสสาร จานวน 2 คาบสัปดาห์
ผู้สอน นางสาว ชลธิชา เพง็ อําไพ เวลา 2 คาบ
โรงเรียน บา้ นปากคะยาง วันที่ 26 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564
คะแนนเกบ็ คะแนน

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชว้ี ัด
ว 2.1 ป.4/3 เปรียบเทียบสมบัติของสสารท้ัง3 สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมว ล
การตอ้ งการทอ่ี ยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร
ป.4/4 ใช้เครือ่ งมือเพ่อื วัดมวล และปรมิ าตรของสสารทง้ั 3 สถานะ

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1) อธิบายสมบตั ขิ องของแข็งได้ (K)
2) ใชเ้ ครื่องมือเพอื่ วดั มวล และปริมาตรของสสารท่อี ยู่ในสถานะของแข็งได้ (P)
3) ยกตัวอย่างการใช้สมบัตขิ องของแข็งมาใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจําวนั ได้ (A)

3. สาระการเรียนรู้
สมบัตขิ องของแข็ง มีมวล และตอ้ งการที่อยู่ มีรูปรา่ งและปริมาตรคงที่

4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
สมบัตขิ องของแข็ง คอื มีมวล ตอ้ งการทอี่ ยู่ สามารถสมั ผัสได้ มีรปู ร่างและปริมาตรคงที่ มีอนุภาค

ยดึ
กันอยา่ งหนาแน่น เรยี งชิดกัน ไม่สามารถเคล่ือนที่ได้

5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
1) ความสามารถในการสือ่ สาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : 5Es Instructional Model
1.ข้นั นา ช่ัวโมงท่ี 1

กระตนุ้ ความสนใจ

1.ทบทวนเรื่องสถานะของสสารโดยนกั เรียนดูภาพสสาร แล้วตอบคําถามวา่ ในภาพมกี ่ีสถานะอะไรบ้าง
(แนวคาํ ตอบ 3 สถานะ ได้แก่สถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ )

2.นกั เรยี นมองหาวัตถรุ อบๆ ตวั ที่มสี ถานนะของแขง็ คนละ 1 ช้นิ โดยนักเรียนบอกคาํ ตอบว่าวสั ดทุ ่ีมี
สถานะของแข็งทน่ี ักเรียนมองเห็นคอื อะไร จากนน้ั นักเรยี นตอบคาํ ถามวา่ นักเรยี กทราบไดอ้ ย่างไรวา่ วัตถุ
นนั้ มสี ถานะเป็นของแข็ง

(แนวคําตอบ เพราะวัตถมุ รี ูปร่างและปริมาตรคงที)่

2.ขน้ั สอน

ขั้นสารวจคน้ หา

1. นกั เรียนสงั เกตลกู แกว้ ขนาดใหญ่ แล้วรว่ มกนั พจิ ารณาวา่ ลูกแกว้ มสี มบัตเิ ปน็ อย่างไรบ้าง

(แนวคําตอบ เชน่ มคี วามแขง็ มนี ้าํ หนัก รูปร่างคงที่ เปน็ ต้น)

2. นักเรียนแบ่งกลมุ่ ออกเป็นกล่มุ ละ 4-5 คน แล้วศกึ ษาข้ันตอนการทาํ กิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ท่ี 1 ของแข็งมสี มบตั ิอยา่ งไร ในหนังสือเรยี นชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 165-
166

3. นกั เรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ี 1 ของแขง็ มีสมบัติอยา่ งไร ตอนที่ 1
โดยปฏิบตั ิดังน้ี

1) สังเกตและคาดคะเนมวลของลูกแกว้ แลว้ บันทึกผลลงในตารางตอนที่ 1 การสงั เกตมวลและการ
ต้องการทอ่ี ยู่ ของลูกแก้ว ในหนงั สอื เรยี นชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 167

2) นําลกู แก้วไปช่ังหามวลบนเคร่ืองช่ังดจิ ทิ ลั เพื่อตรวจสอบผลการคาดคะเน แล้วบันทึกผลลงในตาราง
ตอนที่ 1

3) เทน้ําลงในแก้วพลาสตกิ ใสคร่ึงแกว้ แล้วทําสัญลักษณบ์ อกระดบั นํ้าไวด้ า้ นนอก จากนนั้ คาดคะเนวา่
เมื่อหย่อนลกู แก้วลงไปจะเกดิ ผลอยา่ งไร และบนั ทึกผล

4) ตรวจสอบผลการคาดคะเน โดยหยอ่ นลูกแกว้ ลงในแก้วพลาสตกิ ใสจากนนั้ สังเกตและบนั ทกึ ผล

ขัน้ อธบิ ายความรู้

1. นกั เรียนตอบคําถามตอบนี้

 ลูกแก้วมมี วลหรอื ไม่ ทราบได้อยา่ งไร
(แนวคาํ ตอบ ลกู แกว้ มีมวล โดยเมือ่ นําไปช่ังน้ําบนเคร่ืองช่ังดจิ ทิ ลั จะบอกค่า

 เพราะเหตุใดเม่ือหย่อนลูกแก้วลงในนํา้ นํา้ จึงมปี ริมาณเพ่มิ สงู ขนึ้
(แนวคําตอบ เพราะลกู แกว้ ต้องการที่อยู่จึงไปแทนทีน่ าํ้ ทําใหเ้ รามองเหน็ วา่ นํา้ สูงข้ึน แตค่ วามจริงนํา้ มปี ริมาณ
เท่าเดิม )

2. นกั เรียนรว่ มกนั อภิปราย และสรปุ ผลเกี่ยวกบั มวลและการตอ้ งการท่อี ยู่ของลกู แกว้

ขั้นสารวจคน้ หา

1. นกั เรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ี 1 ของแข็งมีสมบตั ิอยา่ งไร ตอนท่ี 2
โดยปฏบิ ตั ดิ งั นี้

1) นําลูกแก้วไปวางลงในถาดพลาสติก แก้วพลาสติกใส และบนโต๊ะตามลําดบั สงั เกตรูปร่างของลูกแกว้
แล้วบันทกึ ผลโดยการวาดรปู ร่างของลกู แกว้ ในหนงั สอื เรียนชดุ แม่บทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หนา้
167

2) รว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกบั รปู ร่างของลกู แก้ว เมอ่ื วางในทต่ี ่างกัน

ขน้ั สอน [ตอ่ ] ชั่วโมงท่ี 2

ขั้นสารวจค้นหา

1. นักเรียนตอบคําถามเพ่ือทบทวนความรู้เดมิ นักเรยี นว่า เม่ือวางลูกแก้วในทตี่ ่างกนั รปู รา่ งของลูกแก้วมีการ
เปลีย่ นแปลงหรอื ไม่อยา่ งไร

(แนวคําตอบ รูปร่างของลูกแก้วไม่มกี ารเปลี่ยนแปลง)

2. นักเรยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ่ี 1 ของแข็งมีสมบตั ิอย่างไร ตอนที่ 3
โดยปฏิบัติดังน้ี
1) นักเรียนคาดคะเนว่า หากหย่อนลกู แกว้ ลงไปในถ้วยยรู กี า จะเกิดผลอย่างไร
2) นําบีกเกอร์มาวางรองรบั ทีป่ ากถ้วยยรู กี า แล้วเตมิ นํา้ ลงในถ้วยจนเต็มพอดี
3) นาํ ลกู แก้วใส่ในถว้ ยยูรีกา แล้วสังเกตนํ้าทีล่ ้นออกมา จากน้ันนาํ นํา้ ในบกี เกอรเ์ ทลงในกระบอกตวง อา่ น
ค่าปรมิ าตรของลูกแกว้ และบันทึกผลลงในตารางตอนท่ี 3 การสงั เกตรปู ร่างของลกู แกว้ ในหนงั สือเรียน
ชดุ แม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 167
4) ทาํ การทดลองข้อ 3 ซ้ําอีก 2 ครัง้ และนําคา่ ปรมิ าตรของลูกแกว้ ท่ีไดท้ ัง้ 3 คร้ัง มาหาค่าเฉล่ีย

หมายเหตุ : การหาคา่ เฉลย่ี ทําไดโ้ ดยนําคา่ ท่หี าได้ทั้งหมดบวกกันแล้วหารดว้ ยจาํ นวนครง้ั

ข้นั อธบิ ายความรู้

1. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนําเสนอผลการทํากิจกรรมดังนี้
1) ผลการสังเกตรปู ร่างของลูกแก้ว
2) การหาปริมาตรของลูกแกว้

2. นักเรียนร่วมกันสรุปผลการทํากจิ กรรมวา่ ลกู แกว้ เป็นสสารท่ีอยูใ่ นสถานะของแขง็ มีสมบตั ดิ ังน้ี มมี วล
ตอ้ งการท่ีอยู่สามารถสัมผสั ได้ มีรปู ร่างคงท่ี เปลย่ี นแปลงรปู ร่างไดย้ าก มปี ริมาตรคงท่ี ไม่สามารถกดหรือบบี
ใหป้ รมิ าตรลดลงได้

ข้ันสอน [ตอ่ ] ชว่ั โมงท่ี 3

ขั้นขยายความเขา้ ใจ

1. นักเรียนตอบคําถามเพ่ือทบทวนความรู้เดิมนักเรียนว่า ของแข็งมสี มบตั ิอย่างไร

(แนวคําตอบ มีมวล ตอ้ งการท่อี ยู่ สามารถสัมผสั ได้ มีรปู รา่ งคงท่ี เปล่ียนแปลงรูปร่างได้ยาก มีปรมิ าตรคงท่ี)

2. ครนู าํ ดินน้ํามันมาให้นักเรยี นสงั เกต และทดลองบีบหรือกด จากนนั้ ครตู ัง้ ประเดน็ ปัญหาวา่ ดนิ นาํ้ มนั มี
สถานะเปน็ ของแข็งใช่หรือไม่

(แนวคาํ ตอบ ตามความคดิ เห็นของนักเรยี น)

3. นกั เรียนแตแ่ บ่งกลุ่มออกเป็นกลมุ่ ละ 4-5 คน เพอื่ ทํากิจกรรม ใช่ของแข็งใชห่ รอื ไม่ โดยให้นักเรยี นปฏบิ ตั ิ
ดงั น้ี
1) นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มทาํ การทดลองเพ่ือตรวจสอบคุณสมบัติของดนิ นาํ้ มนั ว่า ดนิ นํ้ามันมสี ถานะเป็น
ของแข็งหรือไม่ โดยเลือกใชว้ ิธีการจากพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 1 ของแข็งมสี มบัติ
อยา่ งไร วิธใี ดวธิ หี นง่ึ
2) รว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ และสรุปความคิดรวบยอดของกลุ่ม

4. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนาํ เสนอผลสรุปความคดิ ของกลมุ่ เกีย่ วกับการทดสอบว่า ดินนา้ํ มันมีสถานะเปน็ ของแข็ง
ใช่หรือไม่ โดยใช้ผลการทดลองประกอบการอธบิ าย

5. นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายเพื่อหาข้อสรุปว่าดินนํ้ามันมีสถานะเปน็ ของแขง็ หรือไม่ จนได้ข้อสรุปวา่ ดนิ น้าํ มันมี
สถานะเป็นของแขง็ เพราะ มมี วล ตอ้ งการท่ีอยู่ สามารถสมั ผัสได้ มีปรมิ าตรคงท่ี

6. นกั เรยี นยกตัวอย่างสสารรอบตวั ท่มี ีสถานะเปน็ ของแข็ง พร้อมบอกคณุ สมบตั ขิ องสสารชนิดนนั้

3.ข้ันสรปุ

1. นักเรยี นรว่ มกันร่วมกนั สรุปความรู้ เรื่อง สมบตั ิของของแขง็ วา่ สสารท่ีอยูใ่ นสถานะของของแข็ง มีสมบัติ
ดงั น้ี มวล ต้องการทีอ่ ยู่ สามารถสัมผัสได้ รูปรา่ งคงที่ เปลีย่ นแปลงรปู ร่างได้ยาก มีปริมาตรคงท่ี ไมส่ ามารถ
กดหรือบีบให้ปริมาตรลดลงได้ อนุภาคยดึ กนั อย่างหนาแน่น เรยี งตัวชดิ กนั ทาํ ใหไ้ ม่สามารถเคล่อื นที่ได้

4.ข้นั ประเมิน

ข้นั ตรวจสอบ

1. ครูตรวจตารางบนั ทึกผลกิจกรรมพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ี 1 ของแขง็ มสี มบัตอิ ย่างไร ใน
หนังสือเรียนชดุ แม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 167

7. ส่อื / แหล่งการเรียนรู้
7.1 สอ่ื การเรยี นรู้
1) หนังสือเรียนชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 วสั ดุและสสาร
2) วัสดุ-อุปกรณใ์ นกจิ กรรมพฒั นาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ 1 ของแขง็ มสี มบตั ิอยา่ งไร
3) บตั รภาพสสาร
7.2 แหลง่ การเรียนรู้
10) หอ้ งเรียน
11) อินเทอรเ์ น็ต
12) หอ้ งสมุด

8.การวดั และประเมินผล วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมิน
รายการวดั - ตรวจตารางบันทึกผล - หนังสือเรียนชดุ แม่บท - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

1) กิจกรรมพัฒนาทักษะ กจิ กรรมพัฒนาทักษะ มาตรฐาน - ระดบั คุณภาพดี
กระบวนการทาง กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ป.4 ผา่ นเกณฑ์
วิทยาศาสตร์ที่ 1 วิทยาศาสตร์ท่ี 1 หนา้ 167
ของแขง็ มีสมบตั ิ ของแขง็ มีสมบตั ิ
อย่างไร อย่างไร - แบบสงั เกตพฤติกรรม
- สังเกตพฤติกรรม การทาํ งานรายบคุ คล
2) พฤติกรรมการทํางาน การทํางานรายบุคคล
รายบุคคล

3) พฤติกรรมการทาํ งาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพดี
กลุ่ม การทํางานกลมุ่
การทาํ งานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์

ตารางประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
คาช้ีแจง ทาเครอื่ งหมาย √ ลงในระดบั พฤตกิ รรมท่นี กั เรียนแสดงออกตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด

ด้าน K ดา้ น P ด้าน A ผา่ น/
(ผ่าน60%) ไม่ผา่ น
ช่ือ-นามสกุล 10 ผ/มผ (ผา่ นระดับ2) (ผ่านระดบั 2) รวม

1.เด็กชายกฤษณะ อนิ ทะขัน 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ

2.เด็กชายกิตติศักดิ์ ขอบทอง

3.เดก็ ชายจารุเดช แกว้ วงค์

4.เด็กชายจริ ายุ พนม

5.เด็กชายธนกฤต แต้มไชยสง

6.เดก็ ชายธนภทั ร์ หินหลา่ ย

7.เดก็ ชายพงศกร บุญทาวงค์

8.เดก็ ชายศวิ ัช แก้ววันทา

9.เด็กชายกิตติเดช สุขสอน

10.เด็กชายเมธี เกดิ ทวี

11.เด็กชายภมู ติ ะวนั ดาน้อย

12.เด็กหญิงกนกวรรณ ชูเพชร

13.เด็กหญิงกิตตกิ านต์ อภวิ งค์

14.เด็กหญงิ เกสศา ดนตรี

15.เด็กหญงิ จิดาภา สตี อง

16.เด็กหญงิ ณิชานนั ท์ คําดําหริ

17.เด็กหญิงจริ ัชญา ญาณปัญญา

18.เดก็ หญงิ ณฎั ฐณชิ า บัวผัด

19.เดก็ หญงิ ณัฏฐมณฑ์ วงคจ์ ันทร์

ชื่อ-นามสกุล ดา้ น K ดา้ น P ดา้ น A รวม ผา่ น/
(ผา่ น60%) (ผ่านระดบั 2) (ผ่านระดบั 2) ไม่ผ่าน
20.เด็กหญิงธนชั ญาน์ ชา่ งลวดลาย
21.เด็กหญงิ ธชั พร สวุ รรณเอย้ 10 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ
22.เดก็ หญงิ พลอยขวญั ชาวผดุง
23.เด็กหญิงวรทั ยา ดวงเดือน
24.เด็กหญงิ สภุ ตั ตรา วงศเ์ ครือคาํ
25.เด็กหญิงอมรรตั น์ ศาลาคาม
26.เด็กหญงิ ณิชาภทั ร ปกั ษี
27.เด็กหญิงสุณิศา เลศิ นา

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ หมายถึง ระดับคุณภาพ
ชว่ งคะแนน หมายถงึ ดมี าก
14 – 18 หมายถงึ ดี
9 – 13 หมายถึง พอใช้
4–8
ตาํ่ กวา่ 3 ควรปรบั ปรงุ



บตั รภาพสสาร

รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7
หนว่ ยการเรียนรู้เร่อื ง วัสดุและสสาร กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ลเทคโนโลยี
ภาคเรยี นท่ี 2 ระดับชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 4
เรือ่ ง สมบัตขิ องของเหลว จานวน 2 คาบสปั ดาห์
ผ้สู อน นางสาว ชลธชิ า เพ็งอาํ ไพ เวลา 2 คาบ
โรงเรียน บา้ นปากคะยาง วันท่ี 26 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
คะแนนเกบ็ คะแนน

6. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั

ว 2.1 ป.4/3 เปรียบเทียบสมบัติของสสารท้ัง 3 สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมวล การ
ตอ้ งการ ทีอ่ ยู่ รปู รา่ งและปรมิ าตรของสสาร
ป.4/4 ใช้เครอื่ งมอื เพอ่ื วัดมวล และปริมาตรของสสารท้งั 3 สถานะ

7. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

4) สังเกตและอธบิ ายสมบตั ิของของเหลวได้ (K) (P)
5) ใช้เคร่อื งมือเพอ่ื วดั มวล และปริมาตรของสสารท่อี ยู่ในสถานะของเหลวได้ (P)
6) นําความร้เู รอ่ื งสมบตั ขิ องของเหลวมาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจําวันได้ (A)

8. สาระการเรยี นรู้

สมบตั ขิ องของเหลว มมี วล และตอ้ งการท่ีอยู่ มีรปู ร่างเปล่ียนแปลงตามภาชนะทีบ่ รรจุ มีปริมาตรคงท่ี

9. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

สมบัตขิ องของเหลว คือ มีมวล ตอ้ งการท่ีอยู่ สามารถสัมผัสได้ มีรูปร่างเปล่ียนแปลงตามภาชนะท่ี
บรรจุ มีปริมาตรคงท่ี มอี นุภาคอยหู่ า่ งกนั มากกว่าของแข็ง ทําให้เคล่ือนไหวได้มากข้ึน และระดับผิวหน้า
ของของเหลวจะอยู่ในแนวราบเสมอ
10. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
1) ความสามารถในการส่ือสาร
2) ความสามารถในการคดิ
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา
4) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : 5Es Instructional Model
1.ขั้นนา ช่วั โมงท่ี 1

ขนั้ กระตนุ้ ความสนใจ
1. นกั เรยี นจบั ค่เู พ่ือทํากจิ กรรมเขาวงกตของแข็ง ของเหลว โดยให้นกั เรยี นปฏิบตั ดิ ังน้ี

1) นกั เรยี นหาเส้นทางออกภายในเขาวงกต โดยมีเงือ่ นไขวา่ เรมิ่ ต้นจากช่องทางเขา้ แลว้ ผ่านชอ่ งทมี่ ีท้ังวตั ถุที่มีสถานะเป็น
ของแขง็ และวัตถทุ ี่มีสถานะเปน็ ของเหลวตามลําดับเท่าน้ัน เดินตามช่องไปจนถงึ ทางออก

2) ค่ทู ่ีหาเส้นทางไดส้ ้ันทส่ี ดุ ถอื วา่ เปน็ ผชู้ นะ
2. นกั เรียนตอบคําถามตอ่ ไปน้ี

 นกั เรยี นทราบได้อยา่ งไรวา่ วตั ถนุ ้นั มสี ถานะเปน็ ของเหลว
(แนวคาํ ตอบ สังเกตจากลกั ษณะของน้ําท่เี ปลีย่ นรปู ร่างตามภาชนะ)

 ของแขง็ มสี มบตั อิ ย่างไรบา้ ง
(แนวคาํ ตอบ มีมวล ต้องการทอี่ ยู่ สามารถสัมผัสได้ มรี ปู รา่ งคงที่ เปล่ียนแปลงรปู ร่างไดย้ าก มีปรมิ าตรคงท)ี่

 ของแข็งมสี มบตั ิแตกตา่ งจากของเหลวอยา่ งไรบ้าง
(แนวคําตอบ ตอบตามความคิดเหน็ ของนกั เรียนอยา่ งอสิ ระ)

2.ข้นั สอน

ขั้นสารวจค้นหา
1. นกั เรียนแบ่งกลุ่มออกเปน็ กลมุ่ ละ 4-5 คน แลว้ ศกึ ษาขัน้ ตอนการทาํ กิจกรรมพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 2
ของเหลวมสี มบัติอยา่ งไร ในหนงั สอื เรยี นชุดแม่บทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน้า 169-170
2. นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมพฒั นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ่ี 2 ของเหลวมสี มบตั ิอยา่ งไร ตอนท่ี 1 โดยปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

5) เทนํา้ เปลา่ ปริมาตร 50 มลิ ลิลติ ร ใส่แก้วพลาสติกใสจากนั้นคาดคะเนมวลของน้ําแล้วบนั ทึกผลลงในตารางตอนท่ี 1 การ
หามวลและปริมาตรของของเหลว

6) ตรวจสอบผลการคาดคะเน โดยการนํานํ้าในแกว้ ไปชั่งบนเครื่องชง่ั ดจิ ทิ ัลเพอื่ หามวลของนา้ํ แลว้ บนั ทึกผล
7) เทนํา้ ลงในแก้วพลาสติกใสให้เลยกน้ แก้วเลก็ น้อย แล้วคาดคะเนว่า นา้ํ เปล่าทีอ่ ย่ใู นแกว้ พลาสติกใสมปี รมิ าตรเท่าไร
8) นาํ นาํ้ เปลา่ จากกน้ แกว้ พลาสตกิ ใสใส่ลงในกระบอกตวง แล้วสงั เกตและบันทึกผล

3. นกั เรยี นปฏิบตั กิ จิ กรรมพฒั นาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ี 2 ของเหลวมีสมบตั อิ ย่างไร ตอนท่ี 2 โดยปฏบิ ตั ดิ ังน้ี
1) เทน้ําเปล่าปรมิ าตร 30 มลิ ลิลติ ร ใสบ่ กี เกอร์ขนาด 100 มลิ ลลิ ติ ร
2) คาดคะเนวา่ เมื่อเทน้าํ หวานสีแดงปริมาตร 20 มิลลลิ ติ ร ใส่ลงในบกี เกอร์ข้อท่ี 1 จะเกดิ ผลอยา่ งไร
3) เทนํ้าหวานสีแดงปริมาตร 20 มิลลิลติ ร ใส่ลงในบีกเกอร์ จากนั้นสงั เกตและบันทึกผลตารางตอนท่ี 2 การสังเกตการ
ตอ้ งการท่ีอยูข่ องของเหลว

ขน้ั อธิบายความรู้
1. นักเรียนตอบคาํ ถามตอ่ ไปน้ี

 เม่อื นาํ น้าํ เปล่าไปชง่ั บนเครื่องชัง่ ดจิ ทิ ลั ผลทไ่ี ดเ้ ป็นอย่างไร
(แนวคําตอบ ค่าตวั เลขบนเครื่องชง่ั ดจิ ทิ ัลแสดงจํานวนมวลของนา้ํ เปลา่ )

 นักเรียนเทนํา้ ใสก่ ระบอกตวงเพ่ือหาปรมิ าตร ผลการทดลองของนกั เรยี นนาํ้ มปี รมิ าตรเทา่ ไร
(แนวคาํ ตอบ ขึ้นอยู่กบั ผลการทดลองของนักเรยี น)

 จากการทาํ กจิ กรรมตอนที่ 2 เมอื่ เทน้ําหวานสแี ดงลงในบกี เกอรท์ ม่ี นี า้ํ เปล่า เพราะเหตใุ ดปรมิ าณของนํ้าเปลา่ ในบกี
เกอร์จงึ เพม่ิ ขึน้ เปน็ 50 มิลลิลติ ร

(แนวคําตอบ เพราะนํ้าหวานสแี ดงตอ้ งการที่อยู่ )

2. นักเรียนร่วมสรปุ ผลการทํากจิ กรรมในตอนที่ 1-2 วา่ ของเหลว มีมวล มีปรมิ าตร และต้องการที่อยู่

ขั้นสอน [ตอ่ ] ช่วั โมงที่ 2

ขั้นสารวจค้นหา
1. ทบทวนความรูเ้ ดิมของนกั เรยี นโดยนกั เรยี นสังเกตนา้ํ เปล่าทอี่ ยู่ในกระบอกตวงแลว้ อ่านค่า จากน้นั ครตู ั้งประเดน็ ปญั หาวา่

ถา้ เทนาํ้ ใส่ในบีกเกอร์ นักเรยี นคดิ วา่ ปรมิ าตรของน้ําจะเปลีย่ นไปหรอื ไม่ แลว้ รปู รา่ งนํา้ จะเปลย่ี นไปหรอื ไม่
(แนวคาํ ตอบ นาํ้ เปล่ามรี ูปร่างเปลย่ี นแปลงตามภาชนะท่ีบรรจุ แต่มปี รมิ าตรคงที่)
2. นักเรยี นแบ่งกลุ่มออกเปน็ กลมุ่ ละ 4-5 คน (ใชก้ ลมุ่ เดิม) ปฏิบตั ิกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ี 2

ของเหลวมีสมบัตอิ ย่างไร ตอนที่ 3 โดยปฏิบตั ิ ดงั นี้
1) เทน้ําเปลา่ ลงในขวดพลาสตกิ ใสคร่ึงขวด แล้วปิดฝาใหส้ นิท
2) จบั ขวดพลาสตกิ ใสวางในลกั ษณะตา่ ง ๆ สังเกตระดับผิวหน้าของน้ําเปลา่ แล้วบันทกึ ผลตารงตอนที่ 3 การสงั เกตระดบั

ผวิ หน้าของของเหลวในภาชนะในหนังสือเรยี นชุดแมบ่ ทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน้า 171

3. นกั เรียนปฏิบตั กิ ิจกรรมพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ี่ 2 ของเหลวมสี มบัติอยา่ งไร ตอนที่ 4 โดยปฏิบัตดิ งั น้ี
1) คาดคะเนวา่ หากเทนํ้าเปล่าใสล่ งในบีกเกอร์ ขวดพลาสตกิ ใสและถว้ ยพลาสติก จนเกือบเต็มทุกภาชนะ รปู รา่ งของน้ํา
จะเปน็ อย่างไร
2) ทดลองเพื่อตรวจสอบผลการคาดคะเน โดยการเทนาํ้ เปลา่ ใส่ลงในบกี เกอร์ ขวดพลาสตกิ ใส และถ้วยพลาสติก จากน้ัน
สังเกตรปู ร่างของนาํ้ เปลา่ ทีอ่ ย่ใู นภาชนะต่างๆ แลว้ บันทกึ ผลตารางตอนที่ 4 การสังเกตรปู รา่ งของของเหลว ใน
หนงั สอื เรียนชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 172

ขน้ั อธิบายความรู้
1. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาํ เสนอผลการทาํ กจิ กรรมหน้าชัน้ เรยี นทีละกลุ่ม
2. นักเรียนทุกคนร่วมกันอภปิ รายและสรุปผลการทาํ กิจกรรมใหไ้ ดว้ า่ น้ําอยู่ในสถานะของเหลว มมี วล ต้องการท่ีอยู่ มี

ปรมิ าตรคงท่ี และมรี ูปรา่ งเปลย่ี นแปลงตามภาชนะท่ีบรรจุ

ข้นั สอน [ต่อ] ชว่ั โมงที่ 3

ข้ันขยายความเขา้ ใจ
1. ครเู ขียนช่อื สสารต่างๆ บนกระดาน ได้แก่ ลกู โปง่ น้ําสม้ สายชู เกา้ อ้ี นาํ้ มนั พชื ขนมปงั นํา้ มนั ดีเซล แอลกอฮอล์ นํา้ ปลา

เกลอื น้าํ นม กลอ่ งนม นํา้ ผึ้ง แก้วพลาสตกิ น้ําอดั ลม จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นเลน่ เกม “บิงโกของเหลว” โดยนกั เรียนปฏิบัติ ดังน้ี
1) รับตารางบงิ โกคนละ 1 แผน่
2) เขยี นชอ่ื สสารบนกระดานลงในตารางบงิ โก โดยใหเ้ ขยี นเฉพาะสสารทม่ี สี ถานะเป็นของเหลว
3) ครสู ุ่มหยิบสลากบิงโดของเหลวขึ้นมาทีละไป ถ้าสลาทค่ี รหู ยบิ ข้นึ มาตรงกับท่นี ักเรยี นเขยี นไวใ้ นตารางใหก้ ากบาททบั

เล่นเกมไปเรื่อยๆ จนกวา่ จะมคี นบงิ โก
หมายเหตุ : นักเรยี นจะบงิ โกกต็ อ่ เม่อื

 กากบาทได้เป็นแถวยาวขนานกันทง้ั แถว

 กากบาทเป็นแนวตง้ั ชันทง้ั ยังแถว

 กากบาทเปน็ รปู มมุ 4 มมุ ใหญ่หรอื รูปมมุ 4 มมุ เลก็ ก่ึงกลาง

 กากบาทเปน็ แนวทแยงมุมซา้ ยหรอื แถวทแยงมุมขวา
2. นักเรียนตอบคาํ ถามว่าจากการทํากิจกรรม สสารใดบ้างอยู่ในสถานะของเหลวเพราะเหตุใด
(แนวคาํ ตอบ น้าํ สม้ สายชู นํ้ามันพชื น้ํามนั ดีเซล แอลกอฮอล์ นํา้ ปลา นา้ํ นม นาํ้ ผึง้ นา้ํ อัดลม เปน็ สสารทีอ่ ยู่ในสถานะของเหลว
เพราะมมี วล ต้องการทีอ่ ยู่ สามารถ สมั ผสั ได้ มีรปู รา่ งเปลย่ี นแปลงตามภาชนะทบี่ รรจุ มปี รมิ าตรคงที่ และระดับผวิ หน้าของ
ของเหลว จะอยใู่ นแนวราบเสมอ )
3. นักเรยี นยกตัวอยา่ งของเหลวท่ีพบเจอในชวี ิตประจําวนั มา คนละ 1 ชนดิ

4. ครใู ห้นกั เรียนดูบตั รภาพว้นุ แลว้ ครถู ามนักเรยี นวา่ นกั เรยี นคดิ ว่าเพราะอะไรวุ้นจงึ มรี ูปร่างลกั ษณะทส่ี วยงามดังภาพ
(แนวคําตอบ เพราะใชแ้ มพ่ ิมพ์ ตอนท่ีวุ้นยังมีสถานะเป็นของเหลวเม่อื เทใสแ่ ม่พมิ พ์ว้นุ จะมีรปู ร่างเปลยี่ นตามภาชนะ )

3.ข้นั สรุป

1. นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ความรู้ เร่อื ง สมบัตขิ องของเหลววา่ สสารที่อยู่ในสถานะของของเหลวมสี มบตั ดิ งั นี้ มมี วล ตอ้ งการที่อยู่
สามารถสมั ผสั ได้ มรี ูปรา่ งเปลยี่ นแปลงตามภาชนะทบี่ รรจุ มีปริมาตรคงท่ี ไมส่ ามารถกดหรอื บบี ให้ปรมิ าตรลดลงได้
ระดับผวิ หน้าของของเหลวจะอยใู่ นแนวราบเสมอ มอี นุภาคจบั ตัวกนั อย่างหลวมๆ อยู่หา่ งกนั มากกวา่ ของแข็ง ทาํ ให้
เคลอื่ นทไี่ ดม้ ากขึน้

4.ขน้ั ประเมิน

ข้นั ตรวจสอบ

11. ครูตรวจตารางบนั ทึกผลกิจกรรมพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ 2 ของเหลวมสี มบตั อิ ย่างไร ในหนงั สือ
เรยี นชุดแมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 171-172

7. ส่อื / แหล่งการเรยี นรู้
7.1 ส่อื การเรียนรู้
18) หนังสอื เรยี นชดุ แม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 วัสดแุ ละสสาร
19) วสั ดุ-อุปกรณใ์ นกจิ กรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่ 2 ของเหลวมีสมบัติอยา่ งไร
20) บัตรภาพเขาวงกตของแขง็ ของเหลว
21) บัตรภาพวนุ้
22) ตารางบงิ โกของเหลว
23) สลากบงิ โกของเหลว

7.2 แหล่งการเรยี นรู้
13) ห้องเรียน
14) อนิ เทอร์เนต็
15) ห้องสมุด

8.การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
รายการวดั - หนงั สอื เรยี นชุดแมบ่ ท - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจตารางบนั ทกึ ผล
5) กจิ กรรมพัฒนาทักษะ การกิจกรรมพฒั นา มาตรฐาน - ระดับคุณภาพดี
กระบวนการทาง ทักษะกระบวนการ วิทยาศาสตร์ ป.4 ผ่านเกณฑ์
วทิ ยาศาสตร์ที่ 2 ทางวิทยาศาสตร์ท่ี 2 หนา้ 171-172
ของเหลวมสี มบัติ ของเหลวมสี มบตั ิ
อยา่ งไร อย่างไร - แบบสงั เกตพฤติกรรม
การทาํ งานรายบุคคล
6) พฤติกรรมการทํางาน - สังเกตพฤตกิ รรม
รายบุคคล การทํางานรายบุคคล

7) พฤติกรรมการทาํ งาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพดี
กลุ่ม การทํางานกลุม่
การทาํ งานกลุม่ ผ่านเกณฑ์

บตั รภาพเขาวงกตของแข็งของเหลว
แลทะาบงเตัข้ารภาพสภาพวสั ดุที่ไม่มสี ภาพ

ทางออก

บตั รภาพวุน้
และบตั รภาพ



ตารางบงิ โกของเหลว

คาช้แี จง ตดั ตามรอยปะ
ช่ือ-นามสกุล.................................ห้อง...................... ช่ือ-นามสกุล.................................หอ้ ง......................

ชอ่ื -นามสกลุ .................................หอ้ ง......... ............. ช่อื -นามสกลุ .................................หอ้ ง......................

สลากบงิ โกของเหลว 

นา้ สม้ สายชู
น้ามันพชื
นา้ มนั ดเี ซล
แอลกอฮอล์
น้าปลา
นา้ นม
นา้ อัดลม

น้าผง้ึ

ตารางประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
คาช้ีแจง ทาเครอื่ งหมาย √ ลงในระดบั พฤตกิ รรมท่นี กั เรียนแสดงออกตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด

ด้าน K ดา้ น P ด้าน A ผา่ น/
(ผ่าน60%) ไม่ผา่ น
ช่ือ-นามสกุล 10 ผ/มผ (ผา่ นระดับ2) (ผ่านระดบั 2) รวม

1.เด็กชายกฤษณะ อนิ ทะขัน 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ

2.เด็กชายกิตติศักดิ์ ขอบทอง

3.เดก็ ชายจารุเดช แกว้ วงค์

4.เด็กชายจริ ายุ พนม

5.เด็กชายธนกฤต แต้มไชยสง

6.เดก็ ชายธนภทั ร์ หินหลา่ ย

7.เดก็ ชายพงศกร บุญทาวงค์

8.เดก็ ชายศวิ ัช แก้ววันทา

9.เด็กชายกิตติเดช สุขสอน

10.เด็กชายเมธี เกดิ ทวี

11.เด็กชายภมู ติ ะวนั ดาน้อย

12.เด็กหญิงกนกวรรณ ชูเพชร

13.เด็กหญิงกิตตกิ านต์ อภวิ งค์

14.เด็กหญงิ เกสศา ดนตรี

15.เด็กหญงิ จิดาภา สตี อง

16.เด็กหญงิ ณิชานนั ท์ คําดําหริ

17.เด็กหญิงจริ ัชญา ญาณปัญญา

18.เดก็ หญงิ ณฎั ฐณชิ า บัวผัด

19.เดก็ หญงิ ณัฏฐมณฑ์ วงคจ์ ันทร์

ชื่อ-นามสกุล ดา้ น K ดา้ น P ดา้ น A รวม ผา่ น/
(ผา่ น60%) (ผ่านระดบั 2) (ผ่านระดบั 2) ไม่ผ่าน
20.เด็กหญิงธนชั ญาน์ ชา่ งลวดลาย
21.เด็กหญงิ ธชั พร สวุ รรณเอย้ 10 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ 4 3 2 1 ผ/มผ
22.เดก็ หญงิ พลอยขวญั ชาวผดุง
23.เด็กหญิงวรทั ยา ดวงเดือน
24.เด็กหญงิ สภุ ตั ตรา วงศเ์ ครือคาํ
25.เด็กหญิงอมรรตั น์ ศาลาคาม
26.เด็กหญงิ ณิชาภทั ร ปกั ษี
27.เด็กหญิงสุณิศา เลศิ นา

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ หมายถึง ระดับคุณภาพ
ชว่ งคะแนน หมายถงึ ดมี าก
14 – 18 หมายถงึ ดี
9 – 13 หมายถึง พอใช้
4–8
ตาํ่ กวา่ 3 ควรปรบั ปรงุ



รายวชิ า วิทยาศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 8
หนว่ ยการเรียนรเู้ ร่อื ง วัสดุและสสาร กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์แลเทคโนโลยี
ภาคเรียนท่ี 2 ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
เรื่อง สมบัตขิ องแกส๊ จานวน 2 คาบสปั ดาห์
ผ้สู อน นางสาว ชลธิชา เพง็ อาํ ไพ เวลา 2 คาบ
โรงเรียน บ้านปากคะยาง วนั ท่ี 26 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564
คะแนนเก็บ คะแนน

11. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั
ว 2.1 ป.4/3 เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง 3 สถานะ จากข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตมวล การ
ต้องการท่ีอยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร
ป.4/4 ใช้เครือ่ งมอื เพอ่ื วัดมวล และปรมิ าตรของสสารทั้ง 3 สถานะ

12. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
7) สงั เกตและอธบิ ายสมบัติของแก๊สได้ (K) (P)
8) ใชเ้ ครื่องมือเพือ่ วัดมวล และปริมาตรของสสารทอี่ ยู่ในสถานะของแกส๊ ได้ (P)
9) นาํ ความร้เู ร่อื งสมบัติของของแกส๊ มาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาํ วันได้ (A)

13. สาระการเรียนรู้
สมบัติของแกส๊ มีมวล ต้องการที่อยู่ มีรูปรา่ งและปริมาตรเปลยี่ นไปตามภาชนะท่แี ก๊สบรรจุ

14. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
สมบัติของแกส๊ คือ มีมวล ต้องการท่ีอยู่ สามารถสัมผัสได้ มีรูปร่างและปริมาตรเปล่ียนแปลงตาม

ภาชนะทบ่ี รรจุ มีอนภุ าคกระจายห่างจากกนั มากกว่าของเหลว ทําให้เคล่ือนท่ีไดท้ ุกทศิ ทาง
15. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น

1) ความสามารถในการส่อื สาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : 5Es Instructional Model
1.ข้ันนา ชว่ั โมงท่ี 1

ขั้นกระตุ้นความสนใจ
1. ครูแจกลกู โปง่ ใหน้ ักเรียนคนละ 1 ใบ จากนนั้ นกั เรียนเป่าลูกโปง่ แลว้ สงั เกตลูกโป่ง
หมายเหตุ ครเู ตรยี มลูกโปง่ สลี ะ 4-5 ใบ
2. นกั เรยี นตอบคําถามตอ่ ไปน้ี

 ลกู โป่งมกี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งไรเมื่อเป่า
(แนวคําตอบ ลูกโป่งขยายใหญข่ ้ึน)

 เพราะเหตุใดลกู โป่งจงึ ขยายใหญข่ ึ้น
(แนวคําตอบ เพราะมีการเปา่ ลมเขา้ ไปช้างในลุกโปง่ )

 ในลกู โป่งท่เี ปา่ แลว้ มีอะไรอยู่ขา้ งใน และ อยู่ในสถานะใด
(แนวคาํ ตอบ อากาศ อยู่ในสถานะแกส๊ )

 นกั เรียนทราบได้อย่างไรว่าส่ิงทอี่ ยใู่ นลกู โปง่ มีสถานะเป็นแก๊ส แก๊สมีสมบัตอิ ย่างไร
(แนวคาํ ตอบ ตอบตามความคิดเห็นของนักเรยี นอย่างอิสระ)

2.ขัน้ สอน
ขั้นสารวจค้นหา
1. นักเรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน จากน้ันให้นักเรียนศึกษาขนั้ ตอนการทํากิจกรรมพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่ 3 แกส๊ มีสมบัติอย่างไร ในหนงั สอื เรียนชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4
หน้า 174-175
2. นักเรยี นปฏบิ ตั ิกิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 3 แกส๊ มีสมบตั ิอย่างไร ตอนท่ี 1 โดย

ปฏิบตั ิ ดังนี้
9) ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับสสารท่อี ยูใ่ นสถานะแกส๊ ว่า มมี วลหรอื ไม่ อยา่ งไร
10) ทาํ การทดลองเพอ่ื สังเกตมวลของสสารท่ีอยู่ในสถานะแก๊ส โดยนาํ ลูกโป่ง 1 ลูก ท่ียังไม่ได้เป่ามาชง่ั บน

เครอื่ งชง่ั ดิจทิ ัล แลว้ บันทึกผลลงในตารางตอนท่ี 1 การสังเกตมวลของแกส๊ ในหนังสือเรียนชดุ แม่บท
มาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หน้า 176

11) จากนนั้ เป่าลมใสล่ ูกโป่งลกู เดิม และนาํ ไปช่งั บนเคร่ืองช่งั ดิจิทัลอกี คร้ัง แลว้ บนั ทกึ ผล
12) ให้นําคา่ ท่ีไดจ้ ากการชัง่ ลกู โป่งท่เี ป่าลม ลบกับค่าที่ไดจ้ ากการชงั่ ลกู โป่งท่ีไม่ได้เปา่ ลม แล้วบันทึกผล

3. นักเรยี นปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ี่ 3 แกส๊ มีสมบัติอยา่ งไร ตอนท่ี 2
ปฏิบัตดิ งั นี้
4) คาดคะเนว่า รปู รา่ งของสสารที่อยูใ่ นสถานะแกส๊ มีลกั ษณะอยา่ งไร แลว้ แสดงความคดิ เห็นรว่ มกนั
5) ทาํ การทดลองเพื่อสังเกตรูปร่างของสสารทอ่ี ยูใ่ นสถานะแก๊ส โดยเปา่ ลมใสล่ ูกโปง่ ทม่ี ีรปู ร่างแตกต่างกนั 3
ใบ จากน้นั ใชห้ นังยางรัดปากลกู โป่งให้แน่น
6) สังเกตรปู รา่ งของอากาศในลกู โป่งท้ัง 3 ใบ แล้วบนั ทึกผลโดยวาดภาพรปู ร่างอากาศในลกู โปง่ ทั้ง 3 ใบ ลง
ในช่องว่างตารางตอนท่ี 2 การสงั เกตรูปรา่ งของแกส๊ หนังสือเรียนชดุ แม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4
หน้า 176

4. นกั เรียนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ี่ 3 แกส๊ มีสมบตั ิอย่างไร ตอนที่ 2 โดย
ปฏบิ ตั ิ ดังน้ี
1) คาดคะเนวา่ รปู รา่ งของสสารทีอ่ ยูใ่ นสถานะแก๊สมีลักษณะอย่างไร แล้วแสดงความคดิ เห็นรว่ มกัน
2) ทําการทดลองเพือ่ สังเกตรปู ร่างของสสารท่ีอยใู่ นสถานะแก๊ส โดยเปา่ ลมใสล่ ูกโปง่ ที่มีรปู ร่างแตกตา่ งกัน
3 ใบ จากน้ันใช้หนังยางรัดปากลกู โป่งให้แน่น
3) สังเกตรปู รา่ งของอากาศในลูกโป่งท้ัง 3 ใบ แล้วบันทกึ ผลโดยวาดภาพรปู ร่างอากาศในลูกโปง่ ทง้ั 3 ใบ
ลงในชอ่ งวา่ งตารางตอนท่ี 2 การสังเกตรปู รา่ งของแก๊ส หนังสอื เรยี นชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์
ป.4 หน้า 176

ข้ันอธิบายความรู้
1. นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้

 อากาศท่ีอยใู่ นลกู โป่งมนี ้ําหนักหรอื ไม่ อย่างไร
(แนวคาํ ตอบ มีน้ําหนกั สังเกตไดจ้ ากเมอื่ ชง่ั ลกู โป่งที่ เปา่ ลมแล้วมีนํ้าหนักมากกวา่ ลูกโป่งทยี่ งั ไมไ่ ด้เป่า
ลม

 จากกิจกรรมตอนที่ 2 นักเรียนคดิ วา่ แก๊สมรี ปู ร่างอย่างไร
(แนวคําตอบ เปลีย่ นไปตามภาชนะ)

2. นกั เรยี นร่วมสรปุ ผลการทํากจิ กรรมในตอนท่ี 1- 2 ว่า แกส๊ มมี วล และรปู รา่ งเปลี่ยนแปลงตามภาชนะ
ขัน้ สอน [ตอ่ ] ช่ัวโมงท่ี 2
ขน้ั สารวจคน้ หา
1. ทบทวนความรเู้ ดิมของนักเรียนโดยตอบคาํ ถามวา่ ถา้ นาํ แกส๊ ในลูกโปง่ ลกู ท่ี 1 ไปเตมิ ใส่ในลกู โป่งรูปท่ี 2

นักเรยี นคิดวา่ แก๊สจะมีรปู ร่างอยา่ งไร และปริมาตรของแกส๊ คงที่หรือไม่
(แนวคาํ ตอบ แก๊สมปี ริมาตรเปล่ียนแปลงตามภาชนะท่บี รรจุ)

2. นักเรียนแบ่งกลุม่ ออกเป็นกลุม่ ละ 4-5 คน (ใชก้ ล่มุ เดิม) ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมพัฒนาทกั ษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรท์ ี่ 3 แกส๊ มสี มบตั อิ ยา่ งไร ตอนที่ 3 โดยปฏิบัติ ดงั น้ี
3) รว่ มกนั แสดงความคิดเห็นวา่ สสารทอ่ี ยู่ในสถานะแก๊สต้องการทีอ่ ยู่หรือไม่
4) ทาํ การทดลองเพื่อสังเกตการต้องการท่ีอยู่ของสสารที่อยู่ในสถานะแก๊ส โดยใหข้ ยาํ กระดาษหนงั สือพิมพ์
ใหเ้ ป็นกอ้ นกลมแล้วนาํ ไปอดั ไวท้ ก่ี น้ แก้วพลาสติกให้แน่น
5) นําแกว้ พลาสตกิ ท่มี ีกระดาษอยู่ภายในควํา่ ลงในกะละมังทม่ี ีนํ้าอยู่ โดยระมดั ระวงั ไมใ่ หแ้ ก้วพลาสติกเอียง
ไปขา้ งใดข้างหนึ่ง จากนน้ั กดแก้วลงในกะละมังท้งิ ไว้ 1 นาที ยกแกว้ ขน้ึ ในแนวตรง โดยระมัดระวังไม้ให้
แกว้ เอยี ง สังเกตก้อนกระดาษทอ่ี ยูภ่ ายในแกว้ วา่ เปียกหรอื ไม่ แลว้ บันทึกผลตารางตอนท่ี 3 การสังเกต
การต้องการที่อยขู่ องแก๊สในในหนังสอื เรยี นชดุ แม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 176
6) รว่ มกนั อภิปรายผลการทดลอง แลว้ สรุปเกีย่ วกบั สมบตั ิของสสารทีอ่ ยู่ในสถานะแกส๊

ข้ันอธิบายความรู้
1. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนออกมานําเสนอผลการทํากจิ กรรมหน้าช้ันเรียนทลี ะกลุ่ม
2. นกั เรยี นทุกคนรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ ผลการทํากิจกรรมว่า จากการทาํ กจิ กรรม พบวา่ อากาศที่อยู่ใน

ลูกโปง่ อยู่ในสถานะแก๊ส แกส๊ มสี มบตั ิคือ มีมวล ต้องการท่ีอยู่ มีรปู รา่ งและปริมาตรไมค่ งที่ เนื่องจากแก๊ส
สามารถเปลีย่ นรูปร่างไปตามภาชนะ
3. นกั เรียนทาํ แบบฝึกพัฒนาการเรยี นรทู้ ่ี 1 ในหนงั สือเรียนชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 หน้า 181
4. นักเรียนทํากจิ กรรมพัฒนาทกั ษะการคดิ ประจาํ เรื่องที่ 2 ในหนงั สือเรยี นชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน
วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 183-184

ข้ันสอน [ตอ่ ] ชัว่ โมงที่ 3
ขน้ั ขยายความเขา้ ใจ

1. นักเรยี นตอบคําถามตอ่ ไปนี้
 นํา้ แข็งในภาพอยู่ในสถานะใด เม่ือนํา้ แขง็ ละลายจะมสี ถานะใด
(แนวคําตอบ น้ําแขง็ มีสถานะเป็นของแข็ง เม่ือละลายจะมีสถานะเป็นของเหลว)

 เพราะเหตุใดนํา้ แขง็ จึงละลาย
(แนวคาํ ตอบเพราะนา้ํ แขง็ ได้รับความร้อน จงึ ทําใหเ้ ปล่ยี นสถานนะ)

2. ครสู นทนากับนกั เรียนวา่ นักเรียนเรยี นร้เู ร่ืองสมบัติของสาร ท้ัง 3 สถานะไปแล้ว แตส่ ารบางอย่างกม็ ีการ
เปลยี่ นแปลงสถานะได้เชน่ น้ําแขง็ มสี ถานะเปน็ ของแข็ง เมื่อละลายกลายเป็นน้าํ จะมีสถานะเป็นของเหลว
นน่ั ก็คือน้ํา เม่ือนํ้าได้รับความรอ้ นกจ็ ะกลายเปน็ ไอ มีสถานะเปน็ แก๊ส

3. นักเรียนแบ่งกล่มุ ออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน เพอื่ ทาํ กจิ กรรมเรื่องสถานะของสสาร โดยให้ปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
1) ส่งตัวแทนกลุ่มออกมารับอุปกรณ์
2) สงั เกตสถานะของสสารดังนี้ นํา้ เชื่อม นาํ้ ผลไม้ เกลือ นาํ้ แข็ง บนั ทึกผลลงในใบงานท่ี 4.6 สถานะของ
สสาร

3) นําน้ําผลไม้ นํ้าเช่อื ม เทใสถ่ งุ ซปิ ล็อคให้เกือบเต็ม ปดิ ใหส้ นิท แลว้ ใส่ในถังที่เตรียมไว้ จากนน้ั นาํ น้ําแข็ง
ใส่ถงั ใหเ้ ต็ม โรยเกลือลงไป 2 ถุง แล้วหมุนถังไปมาประมาณ 5 นาที

4) สงั เกตการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสารดงั น้ี น้ําเช่ือม น้ําผลไม้ เกลือ นํ้าแขง็ แล้วบนั ทึกผล
4. นกั เรียนตอบคําถามต่อไปน้ี จากกิจกรรม นํ้าเชื่อม น้ําผลไม้ เกลือ นํา้ แขง็ มีการเปลยี่ นแปลงอย่างไร

(แนวคาํ ตอบ นํา้ เช่อื ม และน้ําผลไม้มีสถานะเป็นของเหลว แลว้ เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เกลือและ
นา้ํ แขง็ มสี ถานะเปน็ ของแข็ง แล้วเปลีย่ นสถานะเปน็ ของเหลว )

3.ข้นั สรปุ
1. นักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ เรื่อง สมบตั ิของแก๊สวา่ แก๊สมีสมบัติ คือ มมี วล ต้องการที่อยู่ มีรปู ร่าง

และมปี รมิ าตรไม่คงที่ เน่ืองจากแกส๊ สามารถเปลี่ยนแปลงรูปรา่ งและปรมิ าตรไปตามภาชนะท่บี รรจุได้
4.ข้ันประเมนิ
ขน้ั ตรวจสอบ
12. ครตู รวจบันทึกกิจกรรมพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 3 แกส๊ มสี มบตั ิอยา่ งไร ใน

หนังสอื เรยี นชุดแม่บทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 หนา้ 176


Click to View FlipBook Version